35
รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : .ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 1 MPA21BK Learning Aid Team Summa ry Version วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ .ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต นโยบายสาธารณะและการวางแผน เปนกรอบแนวความคิด ทฤษฎีวาดวยกระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ ระบบและกระบวนการ วางแผน ตั้งแตแผนกลยุทธจนถึงแผนปฏิบัติการ ลําดับชั้นของเจตจํานงเชิงกลยุทธ ตั้งแตวิสัยทัศน พันธกิจ หรือความมุงหมายพื้นฐาน จุดมุงหมาย และวัตถุประสงค ตลอดจนกลยุทธจนถึงแผนปฏิบัติ การ การแปลงกลยุทธไปสูการปฏิบัติ และควบคุมเชิงกลยุทธ การวิเคราะหและการปรับแผนใหสอด คลองกับสภาพแวดลอมในบริบทตาง การวางแผนและการควบคุมเชิงกลยุทธ เปนบทบาทหนาที่ที่สําคัญของการจัดการเชิงกลยุทธในสถานภาพและในบริบทตาง แนวคิด และทฤษฎีการวางแผน ความสัมพันธของจุดมุงหมาย การวางแผนและแผนในระดับตาง กระบวน การบริหารกลยุทธแปลงไปสูการวางแผนพัฒนา องคประกอบที1 : หลักพื้นฐานเกี่ยวกับการวางแผนในสถานภาพและบริบทตาง สถานภาพของ การวางแผนในกระบวนการบริหารและความสัมพันธกับภารกิจการบริหารอื่น การวางแผน ในฐานะที่เปนภารกิจของการบริหาร กับภารกิจการบริหารอื่น POSCROB โดย Luther Gulick & Urwick ไดประมวลบทบาทหนาที่ทางการบริหารออกมา เปน POSCROB แตในที่สุดไดรับการวิจารณวา เปนแนวคิดที่ยุงยากมาก POLE เปนแนวคิดที่อธิบายถึงบทบาทหนาที่ทางการบริหารที่ไมสมบูรณ เพราะจริงๆ แลวใน ตําราทางการบริหารมีแค POL ตัว E เปนกิจกรรมหนึ่งในการบริหาร จริงๆ ตองเปน C คือ Controlling เพราะจะเปนกิจกรรมที่วาดวย Monitoring คือ เปนการตรวจสอบความกาวหนาของการดําเนินงาน ทําให เกิดการเรียนรูและการเปลี่ยนแปลง และ E คือ Evaluating ถือเปนกิจกรรมหนึ่งในการควบคุม เพราะเปน การประเมินผล และนอกจากนี้ควรมี I คือ Improving คือ การปรับปรุงแกไข ดังนั้น POLE จึงไมถูกตอง ตองเปน POLC POLC จึงจะเปนแนวคิดสรุปรวบยอดของกระบวนการบริหาร ความหมายของ POLC P = Planning (and decision Making) หรือการวางแผน เปนบทบาทหนาที่ทางการ บริหารหรือ Management function ที่สําคัญอยางยิ่งยวด ซึ่งนักบริหารที่จะประสบความสําเร็จจะตอง มีการวางแผนเปน หรือมีทักษะในการวางแผนและนักบริหารจะประสบความสําเร็จจะตองมีทักษะการ บริหารเชิงกลยุทธ ตลอดจนการนํากลยุทธไปปฏิบัติ ความหมายสรุปยอดของการวางแผน คือ การ กําหนดทางเลือกในทางปฏิบัติ ดังนั้น นักบริหารจะประสบความสําเร็จตองมีการกําหนดทางเลือกทีเหมาะสม

วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 1 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version

วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต

นโยบายสาธารณะและการวางแผน เปนกรอบแนวความคิด ทฤษฎีวาดวยกระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ ระบบและกระบวนการวางแผน ตั้งแตแผนกลยุทธจนถึงแผนปฏิบัติการ ลําดับชั้นของเจตจํานงเชิงกลยุทธ ตั้งแตวิสัยทัศน พันธกิจ หรือความมุงหมายพื้นฐาน จุดมุงหมาย และวัตถุประสงค ตลอดจนกลยุทธจนถึงแผนปฏิบัติการ การแปลงกลยุทธไปสูการปฏิบัติ และควบคุมเชิงกลยุทธ การวิเคราะหและการปรับแผนใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมในบริบทตาง ๆ การวางแผนและการควบคุมเชิงกลยทุธ เปนบทบาทหนาที่ที่สําคัญของการจัดการเชิงกลยุทธในสถานภาพและในบริบทตาง ๆ แนวคิดและทฤษฎีการวางแผน ความสัมพันธของจุดมุงหมาย การวางแผนและแผนในระดับตาง ๆ กระบวนการบริหารกลยุทธแปลงไปสูการวางแผนพัฒนา องคประกอบที่ 1 : หลักพื้นฐานเก่ียวกับการวางแผนในสถานภาพและบริบทตาง ๆ สถานภาพของ “การวางแผน” ในกระบวนการบริหารและความสัมพันธกับภารกิจการบริหารอ่ืน ๆ การวางแผน ในฐานะที่เปนภารกิจของการบริหาร กับภารกิจการบริหารอ่ืน ๆ POSCROB โดย Luther Gulick & Urwick ไดประมวลบทบาทหนาที่ทางการบริหารออกมาเปน POSCROB แตในที่สุดไดรับการวิจารณวา เปนแนวคิดที่ยุงยากมาก POLE เปนแนวคิดที่อธิบายถึงบทบาทหนาที่ทางการบริหารที่ไมสมบูรณ เพราะจริงๆ แลวในตําราทางการบริหารมีแค POL ตัว E เปนกิจกรรมหนึ่งในการบริหาร จริงๆ ตองเปน C คือ Controlling เพราะจะเปนกิจกรรมที่วาดวย Monitoring คือ เปนการตรวจสอบความกาวหนาของการดําเนินงาน ทําใหเกดิการเรียนรูและการเปลี่ยนแปลง และ E คือ Evaluating ถือเปนกิจกรรมหนึ่งในการควบคุม เพราะเปนการประเมินผล และนอกจากนี้ควรมี I คือ Improving คือ การปรับปรุงแกไข ดังน้ัน POLE จึงไมถูกตอง ตองเปน POLC POLC จึงจะเปนแนวคิดสรุปรวบยอดของกระบวนการบริหาร ความหมายของ POLC P = Planning (and decision Making) หรือการวางแผน เปนบทบาทหนาที่ทางการบริหารหรือ Management function ที่สําคัญอยางยิ่งยวด ซ่ึงนักบริหารที่จะประสบความสําเร็จจะตองมีการวางแผนเปน หรือมีทักษะในการวางแผนและนักบริหารจะประสบความสําเร็จจะตองมีทักษะการบริหารเชิงกลยุทธ ตลอดจนการนํากลยุทธไปปฏิบัติ ความหมายสรุปยอดของการวางแผน คือ การกําหนดทางเลือกในทางปฏิบัติ ดังน้ัน นักบริหารจะประสบความสําเร็จตองมีการกําหนดทางเลือกที่เหมาะสม

Page 2: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 2 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version O = Organizing การจัดองคการ เปนบทบาทหนาที่ทางการบริหารที่วาดวยการจัดระบบความสัมพันธเพ่ือประสานกิจกรรมตาง ๆ และทรัพยากรบริหารตาง ๆ ทั้งในแนวราบและแนวดิ่ง การจัดองคการก็มีความสําคัญอยางยิ่งยวดสําหรับองคการที่จะดําเนินการในลักษณะใดจึงจะเหมาะสมสําหรับกิจกรรมที่ดําเนินงานอยู และตองมีความสามารถในการบริหารทรัพยากรโดยเฉพาะทรัพยากรมนุษยซ่ึงจะตองถือวามนุษยเปนทรัพยากรที่สําคัญที่สุด L = Leading การนํา เปนบทบาทหนาที่ทางการบริหารที่วาดวยภาวะผูนํา วาผูบริหารจะเลือกใชภาวะผูนําแบบใด หรือการเลือกเปนภาวะผูนําแบบใดที่จะเหมาะสม และผูนําที่จะประสบความสําเร็จตองสามารถสรางแรงจูงใจในการทํางาน สามารถสื่อสาร นําขอมูลหรือวิสัยทัศน และรูจักรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน ความหมายของผูนํา ก็คือ การบริหารคนและการจัดการคน ใชงานคนใหเหมาะสม C = Controlling การควบคุม กํากับ ตรวจสอบและติดตามประเมินผลเพื่อนํามาปรับปรุงแกไข การจัดการในภูมิทัศนการแขงขันใหม เปนแนวคิดจากหนังสือของ Bateman และ Snell ที่บอกวา ปจจัยที่เปนบอเกิดของภูมิทัศนการแขงขัน ประกอบดวย

1. อินเตอรเน็ต เปนเครื่องมือสําหรับการปรับปรุงการบริหารและเปนองคประกอบหนึ่งในปจจัยในสภาพแวดลอมทางการบริหารที่นักบริหารตองใหความสําคัญควบคูไปกับการตัดสินใจและการปฏิบัติการตางๆ

2. โลกาภิวัตน เปนกระบวนการในการสรางหรือกอใหเกิดอิทธิพลไปทั่วโลกเพื่อใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน ซ่ึงมีทั้งเชิงบวกและเชิงลบ ซ่ึงสงผลกระทบใหเกิดขึ้นในภูมิทัศนการแขงขันใหมในดานการตลาด

3. การบริหารความรู มีความสําคัญมากตอการเปลี่ยนแปลงการบริหาร โดยเฉพาะอยางยิ่งบริษัทที่ผลิตสินคานามธรรม เพราะระบบเศรษฐกิจไดเปลี่ยนแปลงจากการขับเคลื่อนดวยมือ เปนขับเคลื่อนดวยหัว ปญญาถือเปนสิ่งสําคัญที่สุดในการพัฒนาองคการ นวัตกรรมที่ประสบความสําเร็จคือสิ่งที่ทําใหอยูรอดไดและมีกําไร

4. ความรวมมือกันขามพรมแดนภายในและระหวางองคการ การสื่อสารเปนสิ่งที่เชื่อมโยงกันทั้งแนวนอนและแนวดิ่ง จึงมีการสรางผูบริหารตัว T ขึ้น ในการทําหนาที่ทําลายกําแพงขวางกั้นระหวางหนวยงานในระนาบเดียวกันใหมีสวนสรางสรรคความคิด และไมเพียงแตภายใน แตรวมระหวางองคการดวย เชน การจางบริษัทที่ปรึกษา บริษัทโฆษณา

ในความคิด อ.กฤษ มองวา ในความเปนจริง มีองคประกอบอ่ืนๆ ที่ไมควรมองขาม ไดแก 1. ทุนซื้ออํานาจรัฐ ซ่ึงเปนที่ประจักษในหลายประเทศ เปนการทําลายระบบทุนนิยมซึ่งไมใช

นัยยะของ Adam Smith ที่ทุกอยางเกิดขึ้นภายใตความยุติธรรมและศีลธรรม ทุนนิยมสมัยน้ีใชการเมืองในการกระจายผลประโยชนเปนของตน

Page 3: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 3 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version 2. การทับซอนของผลประโยชน เพราะการมีคนไมกี่ตระกูลแตมีผลตอการครอบครองอํานาจรัฐถือวาเปนเรื่องที่แย ทําใหเกิดการกระจุกตัวของผลประโยชน เชน Hamburger Crisis ที่เกิดจากนายทุนไมกี่คน การบริหารเพื่อความไดเปรียบในการแขงขัน เพ่ือความอยูรอดและการประสบชัยชนะ นักบริหารตองทําใหองคการของตนไดเปรียบเหนือองคการของผูอ่ืน ทําใหธุรกิจมีกําไรและอยูรอด ในวงจรชีวิตขององคการ ถาไมสามารถสรางความไดเปรียบเพ่ือความอยูรอดได ก็จะเขาไปสูยุค Decline ดังน้ัน พลังขับเคลื่อนขั้นพ้ืนฐานที่ตองนํามาพิจารณาคือ 1. นวัตกรรม คือการแนะนําสินคาและบริการใหมๆ เพ่ือการปรับตัวใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลง 2. คุณภาพ คือความเปนเลิศของผลิตภัณฑและบริการ โดยพิจารณาวาคุณภาพ 3. ความรวดเร็ว เปนปจจัยที่แบงแยกผูชนะจากผูแพในโลกแหงการแขงขัน ตองตอบสนองอยางฉับไวตอการทาทายของคูแขง 4. ความสามารถในเชิงแขงขันดานตนทุน ตองสามารถเสนอสินคาที่พึงปรารถนาในราคาที่ต่ํา บทบาทหนาที่ทางการบริหาร การบริหารตามแนวคิดของ Bateman และ Snell คือ กระบวนการของการทํางานกับคนและทรัพยากรการบริหารตางๆ เพ่ือใหบรรลุผลสัมฤทธิ์ในจุดมุงหมายขององคการ ดังน้ัน ในโลกของการแขงขัน นักบริหารตองปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมของการเปลี่ยนแปลงใหเหมาะสมและประยุกตหลักการบริหารตางๆ มาใช คือ การบริหารแบบประเพณีนิยม 4 ประการ คือ 1. การวางแผน (Planning) คือ การสงมอบคุณคาเชิงกลยุทธ (delivering strategic value) เปนกระบวนการที่มีลักษณะพลวัต ที่บุคลากรทั้งองคการใชสมองของตนผนึกกับสมองของลูกคาและผูรับบริการ stakeholder ตางๆ เพ่ือวิเคราะห SWOT วาจะทําอยางไรจึงจะธํารงไวซ่ึงความยั่งยืนของการไดเปรียบในโลกการแขงขัน เพ่ือสรางคุณคาสําหรับลูกคาใหมากขึ้นเรื่อยๆ ในขณะเดียวกันตองมองผูประกอบการอื่นๆ ในฐานะคูแขงขันที่นาเกรงขามและผูกพันธมิตรเพ่ือความรวมมือในเรื่องตางๆ 2. การจัดองคการ (Organizing) คือ การสรางองคการที่มีลักษณะพลวัต (building a dynamic organization) นักบริหารที่มีประสิทธิภาพจะใชรูปแบบใหมในการจัดองคการ มีทัศนคติตอบุคลากรวาเปนทรัพยากรที่มีคุณคามากที่สุด โดยตองสรางองคการที่มีความยืดหยุน ปรับตัวได 3. การนํา (Leading) คือ การระดมกําลังคน (mobilizing people) เดิมหมายถึง ภาวะผูนํา แตในปจจุบันคือ การระดมกําลังคน โดยตองมีความสามารถในการกระตุนและสรางแรงจูงใจใหบุคลากรสรางผลงานในระดับสูง สามารถนําเสนอความคิดของตนใหบุคลากรใชสมองมากกวาในอดีต ผูที่มีภาวะผูนําคือ ผูที่สามารถใชคนโดยที่คนที่ถูกใชไมรูสึกถึงอํานาจที่ใช คือ การไมใชอํานาจบังคับ ใหบุคลากรสัมผัสอํานาจนอยที่สุด

Page 4: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 4 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version 4. การควบคุม (Controlling) คือ การเรียนรูและการเปลี่ยนแปลง (learning and changing) ในความหมายเดิม คือ การตรวจสอบเพื่อจับผิด บางครั้งทําใหไดขอมูลที่ไมใชขอมูลทั้งหมด ก็จะทําใหการแกไขปรับปรุงเปนไปในทิศทางที่ไมถูกตอง เบี่ยงเบน ทั้ง 1 – 3 ขางตนจะไมถือเปนการจัดการที่ดี ถาขาดการควบคุม จะไมเกิดประโยชนใด เพราะการควบคุมจะทําใหไดมีการตรวจสอบความกาวหนาในการดําเนินงาน เพ่ือนําไปสูการเรียนรูและปอนกลับ แกไขเทาที่จําเปนหากมีการเบี่ยงเบน ดังน้ัน องคการไมวาขนาดเล็กหรือใหญ จําเปนตองใหความสนใจกับการควบคุม ในระบบราชการมักไมใหความสําคัญ เชน เม่ือมีการโยกยายไปเปนผูตรวจราชการ มักมองวาเปนการแขวนไมใหมีอํานาจ และทิศทางก็มักจะเปนไปในลักษณะนี้ ระดับการบริหารและทักษะตางๆ 1. นักบริหารระดับสูง เปนผูรับผิดชอบตอการบริหารทั้งมวลขององคการ อาจเรียกไดวาเปน นักบริหารเชิงกลยุทธ เน่ืองจากเปนผูรับผิดชอบตอประเด็นระยะยาวและมีจุดเนนไปที่ความอยูรอดได ความเติบโต และประสิทธิผลทั้งมวลขององคการ 2. นักบริหารระดับกลาง อาจเรียกไดวาเปน “นักบริหารเชิงกลวิธี” (technical managers) ซ่ึงรับผิดชอบตอการแปลงสภาพจุดมุงหมายทั่วไปและแผนในระดับกลยุทธไปสูวัตถุประสงคและกิจกรรมตางๆ ที่มีลักษณะเฉพาะยิ่งขึ้น ถือเปนสะพานเชื่อมชองวางระหวางนักบริหารระดับสูงและระดับตน คือ เปน administrative controller เพราะเปนตัวค้ําประกันความสําเร็จของบริษัท 3. นักบริหารระดับตน หรือนักบริหารระดับปฏิบัติการ จะทํางานเกี่ยวของโดยตรงกับบุคลากรตางๆ เปนผูนําแผนที่พัฒนารวมกับนักบริหารระดับกลางไปปฏิบัติ ตําแหนงน้ีถือเปนจุดเชื่อมโยงระหวางฝายบริหารและบุคลากรที่ไมใชนักบริหาร นิยาม ความหมาย และแนวคดิทั่วไปเกี่ยวกับการวางแผน และองคประกอบหรือแงมุมตาง ๆ ของการวางแผน แนวทางอารยธรรมตะวันตกสรางอัตราเรงในการลมสลายของธรรมชาติไดเร็วกวาเดิม เพราะคิดไมถี่ถวน มักใชวิธีมองออกไปนอกตัวตน มองเขาตัวตนอยางคับแคบ พยายามแยกตัวตนออกจากธรรมชาติ การวางแผน เปนกระบวนการนําความคิด การกระทําที่ตั้งอยูบนความคิดนั้นๆ เปนการคิดลวงหนาเกี่ยวกับอนาคต เม่ือมนุษยไมสามารถในการระบุปญหาในปจจุบันไดถูกตอง ไมสามารถประเมินไดอยางแมนตรง นําไปสูการมองอนาคตอยางมืดมน (black box) ซ่ึงจะทําใหชีวิตเต็มไปดวยความเสี่ยงและความไมแนนอน การแกปญหาตองประเมินความตองการอยางสมเหตุสมผล ตองเก็บขอมูลสถานการณปญหาใหได โดยการใชสติปญญา คือ การใชพลังแหงความเขาใจและการคงไวซ่ึงเหตุผล ตองมองอนาคตดวยฐานขอมูลปจจุบัน อาจทําใหลดสถานะจากดําเปนเทา ความเสี่ยงและความไมแนนอนอาจยังมีอยู ก็ตองใชวิธีทบทวนขอมูลในอดีตดวยมิติตางๆ ที่หลากหลาย

Page 5: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 5 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version ในการวางแผนที่ดีตองใชวิธี “สนธิสาม” คือ นําอดีตมาพิจารณาเปนฐานขอมูล เพ่ือทําปจจุบัน ใหไปสูอนาคตที่พึงประสงค การนํามาประมวลกันจะนําไปสูการประมวลลักษณะปญหาที่แมนตรง ไมถูกครอบงําดวยอวิชชาตะวันตก ดังน้ี

1. ตองรูสภาวะปจจุบัน เกี่ยวกับปญหา สถานการณที่เกิด ความจําเปนตอการตอบสนองตอกลุมเปาหมาย

2. มองไปในอนาคต เพ่ือกําหนดเปาหมายวาจะตอบสนองตอความจําเปนไดหรือไม 3. ทบทวนอดีต ทบทวนปญหาที่เกิดขึ้น โดยขอมูลตองไมมีความลําเอียง อคติ

Dror บอกวา การวางแผน คือ กระบวนการตระเตรียมชุดของขอวินิจฉัยตาง ๆ สําหรับการปฏิบัติในอนาคตโดยมุงไปสูการบรรลุจัดมุงหมายดวยวิถีทาง หรือ มรรควิธีที่เหมาะสม ซ่ึงคํานิยามดังกลาวมีองคประกอบอยู 7 ประการดวยกัน ดังน้ี 1. การวางแผน คือ กระบวนการ เปนกระบวนการที่เปนกิจกรรมตอเน่ือง ซ่ึงเกิดขึ้นภายในขอบเขตที่แนนอนและมีความตองการปจจัยนําเขาทั้งดานทรัพยากรตาง ๆ และพลังงาน มีการปอนกลับ feedback มีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธกัน เปนมรรควิธี (Mean & ends) 2. การตระเตรียม การวางแผนโดยทั่วไปเปนการตระเตรียมตามการกําหนดของชวงเวลา 3. ชุด เปนการตระเตรียมชุดที่ประกอบดวยขอปฏิบัติ ระบบของทางเลือกในการปฏิบัติ 4. ของขอวินิจฉัยตาง ๆ สําหรับการปฏิบัติ เปนทางเลือกของทางปฏิบัติที่จะตองผานกระบวนการวินิจฉัยสั่งการ หรือการตัดสินใจ หรือความเปนชุด อาจจะมีความหมายอีกประการหนึ่งวาในขั้นตอนการวางแผนผูบริหารอาจจะวางแผนตระเตรียมทางเลือกอยางนอย ๒ ทางเลือกขึ้นไปเพื่อที่ (1) เพ่ือประโยชนตอการวิเคราะหเปรียบเทียบและงายตอการตัดสินใจเลือก (2) ทางเลือกที่จะใหเลือกในขั้นตอนนี้ อาจจะนําไปเปนทางเลือกตามสถานการณ หรือทางเลือกกันสํารอง Contingency plan ในการนําทางเลือกไปปฏิบัติแลวทางเลือกนั้นอาจจะไมเปนสําเร็จ จึงตองนําทางเลือกกันสํารองมาใชใหทันเหตุการณ 5. ในอนาคต การวางแผนมุงไปที่อนาคตสําคัญที่สุดเพราะเปนการนําเอาองคประกอบตาง ๆ มาวางแผนได 6. เพ่ือมุงไปสูการบรรลุจุดมุงหมาย 7. ดวยวิถีทางที่เหมาะสม หรือ มรรควิธี เปนการใชทรัพยากรอยางมีคุณคา โดยแทจริงแลวตองอาศัยความสัมพันธระหวางวิถีทางและจุดมุงหมาย (means & ends) เพ่ือมุงไปสูวิถีทางที่เหมาะสมสําหรับการบรรลุจุดมุงหมาย Dror : แนวคิดของ ดอรว ใหคํานิยามและองคประกอบของการวางแผน เปนพ้ืนฐานในการเสนอมิติหรือแงมุม (facet) ของการวางแผน (P) โดยเสนอวาการวางแผนเปนผลผลิตของมิติปฐมภูมิ A B C และ D มิติปฐมภูมิ A = สภาพแวดลอมทั่วไปของกระบวนการวางแผน มิติปฐมภูมิ B = เน้ือหาสาระของกระบวนการวางแผน

Page 6: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 6 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version มิติปฐมภูมิ C = หนวยงานของแผน มิติปฐมภูมิ D = รูปแบบของแผน การวางแผน ประกอบดวย = สภาพแวดลอม X เน้ือหาสาระ X หนวยงานของแผน X รูปแบบของแผน P = A x B x C x D ในขณะเดียวกันมิติปฐมภูมิของแตละมิติยังประกอบดวย ผลผลิตของมิติทุติยภูมิอีกจํานวนหนึ่ง คือ A = A1 xA2 xA3 x A4 B = B1 x B2 x B3……B9 C = C1 x C2 x C3……C7 D = D1 x D2 xD3 กลาวโดยสรุป มิติปฐมภูมิ A จะมีมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับเนื้อหาสาระของการวางแผน ปจจัยสภาพแวดลอม A จะมีมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับเนื้อหาสาระของ B วามีเน้ือหาสาระ มีความครอบคลุมปญหาองคการ ปญหาสังคมมากนอยเพียงใด หรืออาจจะขึ้นอยูกับ C วาองคการวางแผนมีสถานการณใดในระบบ ชั้นภูมิและสถานภาพของการวางแผนในบริบทตาง ๆ หลักการที่ตองเรียนรูคือ ความสมเหตุสมผลของกลไกตลาดที่ครอบงําโลกในทุกวันน้ีและเปนมาหลายรอยปแลว คือ มนุษยมีเสรีภาพในการหาประโยชนสวนตนใหไดประโยชนสูงสุด ความมีเสรีภาพดังกลาวจะนําไปสูผลประโยชนของสังคมสูงสุด แนวคิดของนักคิดกลุม Adam Smith น้ีไดนําไปสูการวางรากฐานของระบบทุนนิยมที่ที่มีการกําหนดกฎเกณฑเบาๆ มากํากับกลไกตลาด (lightly regulated) ถือเปนแนวคิดของเศรษฐศาสตรแนวนีโอคลาสสิก หรือภายใตฉันทานุมัติวอชิงตัน เชน มาตรการกันสํารอง 30% เกิดขึ้นเพ่ือปองกันการเก็งกําไรคาเงินบาท เพ่ือจํากัดขอบเขตความโลภของกลุมทุน ซ่ึงนําไปสูการกระจุกตัวของความมั่งคั่ง ดังน้ัน ถายิ่งปลอยเสรีก็จะยิ่งกระจุกตัวมากขึ้น นําไปสูการเรงวัฏจักรธุรกิจใหเกิดเร็วยิ่งขึ้น ในทัศนะของ อ.กฤษ กลไกตลาดจะปลอยเสรีไมได จะตองจํากัดขอบเขตของกลุมทุนจะดวยมาตรการที่แยบยลอะไรก็ได ทั้งการเก็บภาษีในอัตรากาวหนา ภาษีมรดก ภาษีทรัพยสิน กฎหมาย ฯลฯ รวมทั้งนําสิ่งที่ใหสัมปทานเอกชนไปกลับมาเปนของรัฐ (Nationalize) ไมควรใหทรัพยสินอะไรไปเปนของเอกชน ขณะน้ีหมดเวลาของอารยธรรมตะวันตกแลว อารยธรรมตะวันออกตองเขามาแทนที่ เม่ือรัฐตองใชอํานาจมากขึ้น การวางแผนจึงมีความสําคัญ ตราบใดที่รัฐไมมีสันติสุข รัฐตองวางแผนความมั่นคง เศรษฐกิจไมดีก็ตองวางแผน สังคมไมดีก็ตองวางแผน เพ่ือใหไดความสมเหตุสมผลเกิดขึ้น ตองพยายามลดบทบาทนายทุนลง ทุนนิยมที่จะเปนแบบอุดมคติ คนจะตองมีศีลธรรม นักเศรษฐศาสตรเสรีเชื่อวารัฐที่ดีตองเปนแบบ “เทคโนคราธิปไตย” (Technocrat) คือ ผูเชี่ยวชาญทางเทคนิค คือ การที่ระบบสังคมมีนักปกครองแบบผูเชี่ยวชาญทางเทคนิค ที่สําคัญตองมีคุณธรรม

Page 7: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 7 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version ความสมเหตุสมผลของระบบตลาดและความสมเหตุสมผลทางสังคม ความสมเหตุสมผลของระบบตลาด หมายถึง ความสัมพันธระหวางมรรควิธีและจุดหมายปลายทาง จะเกิดขึ้นไดก็ตอเม่ือไดดําเนินการใด ๆ ที่มุงตอบสนองตอผลประโยชนสวนตน (เปนกลไกที่สําคัญของระบบตลาด) จึงเปนที่มาของการวางแผนวารัฐตองวางแผน เพ่ือเพ่ิมพูนความสมเหตุสมผลทางสังคม ความสมเหตุสมผลทางสังคม หมายถึง การกําหนดมาตรการที่วาดวย “ รัง ” ที่ปลอดภัยของสังคมตาง ๆ (หมายถึงรัฐทุนนิยม) แตถาหากรฐัตั้งอยูบนพ้ืนฐานรัฐนิยมจะเนนในเรื่องการวางแผนการผลิต วางแผนการกระจายผลประโยชน เพ่ือเพ่ิมพูนความสมเหตุสมผลทางสังคม จะพบในประเทศทุนนิยมโดยรัฐ เชน ในประเทศสังคมนิยม หรือคอมมิวนิสต และยังสามารถพบในประเทศดอยพัฒนาหรือรัฐทุนนิยม เชนประเทศไทย ที่เกิดขึ้นในสมัยจอมพลสฤษฎิ์ , จอมพลแปลก พิบูลสงคราม (ที่นําลัทธิฟาสซิสต นาซียิสต) เชน กรณีกระแสการเชื่อผูนํา ชาติพนภัย , กระแสการเลียนแบบตะวันตก จนถึงปจจุบันที่พบคือกระแสอุมผูนําพนการโอนหุน เปนตน ประเภทของการวางแผนในสังคมระบบตลาด สังคมระบบทุนนิยมเอกชน ประเทศไทยไมเปนเพราะวาถูกครอบงําโดยทุนนิยมโดยรัฐ ระบบสังคมไทยไมใชระบบตลาดทุนนิยมเอกชนแบบสมบูรณแบบ แตเปนระบบ Mix Economic system น่ันคือ มีการธํารงอยูดวยทุนนิยมโดยรัฐสวนหนึ่ง และทุนนิยมเอกชน ซ่ึงเกิดขึ้นภายใตลัทธิเสรีนิยมโดย จอมพลสฤษฎิ์ ตั้งแต ป พ.ศ. 2503 เรียกวาทุนนิยมสมบูรณ เปนการวางแผนที่เกิดขึ้นในระบบตลาดโดยทุนนิยมเอกชนสมบูรณ คือ สหรัฐอเมริกา ดังน้ัน การพิจารณาประเภทของการวางแผนมีดังน้ี 1. การวางแผนความมั่นคงของชาติ ประเทศไทยมี สมช. กรมตํารวจ ทหาร แตยังไมสามารถปองกันไดเต็มที่ 2. การวางแผนทางเศรษฐกิจ ประเทศไทยไดรับอิทธิพลแนวคิดทางวิชาการตะวันตก โดยการวางแผนเศรษฐกิจไดรับอิทธิพลจากประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศอังกฤษ โดยการถายทอดจากนักวิชาการ รวมถึงการยอมรับ IMF และกระแสธนาคารโลก โดยการใชตัวแบบ EAEM ซ่ึงเปนการมอง ที่มองออกไปนอกประเทศโดยการสรางแรงจูงใจใหตางชาตินําเงินเขามาลงทุน และเปนการมองไปขางนอก มองแบบปฐมภูมิและทุติยภูมิ เม่ือพิจารณาจากขอมูลที่วาดวยการนําเขาและการสงออกแลว EAEM ก็เปนตัวแบบเศรษฐกิจเอเซียตะวันออก ที่มุงเนนการมองไปขางนอกแบบทุติยภูมิ ก็ คือ การสงเสริม หรือสรางแรงจูงใจใหตางชาติมาลงทุนในอุตสาหกรรมการผลิตที่เปนความชํานาญของตางชาติ ก็คือ สินคา อิเลคทรอนิคส คอมพิวเตอร เครื่องใชไฟฟา รถยนต ซ่ึงไดพิสูจนแลววาในชวงเศรษฐกิจปจจุบัน ตัวแบบ EAEM เปนตัวแบบที่ใชไมได เพราะสถานการณตลาดของประเทศสหรัฐอเมริกาหดตัว ทําใหยอดการสงออกลดลง

EAEM มาจากคําวา E = EAST , A = ASIN , E = ECONOMIC , M = MODE ดังน้ัน ตัวแบบการพัฒนาเศรษฐกิจแบบตะวนัออกจะมีรัฐแบบทุนนิยมอุปถัมภนายทุน จะมีการวางแผนการลงทุนสําหรับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เชน การลดอัตราดอกเบี้ย การเพิ่มอัตราดอกเบี้ย เพ่ือกระตุนโดยการกําหนดเปนนโยบายการเงินวาเม่ือมีการลงทุนก็จะมีการจางงาน ทําใหเกิดเปนวงจร

Page 8: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 8 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version ของการสรางความสมเหตุสมผลของระบบตลาด การวางแผนเศรษฐกิจจึงเกี่ยวของกับการวางแผนเพื่อกําหนดนโยบายการคา เชน การกําหนดพิกัดอัตราภาษีศุลกากร การวางแผนเพื่อการกระจายรายไดไปสูกลุมเปาหมายเฉพาะ การวางแผนเพื่อกระตุนการจางงาน โดยการขยายโอกาสทางการศึกษา และการปฏิรูปการศึกษา 3. การวางแผนทางสังคม ในรัฐทุนนิยมของประเทศสหรัฐอเมริกา ไดวางแผนเพื่อการสราง “ รัง ” ที่ปลอดภัย เพ่ือโอบอุม “ เหยื่อ ” ของความสมเหตุสมผลของระบบตลาด “ เหยื่อ ” ของความสมเหตุสมผลของระบบตลาด คือ การวางงาน การประกันภัย การชดเชยคนวางงาน การปลดคนงานออก ตามหลักเศรษฐศาสตรทุนนิยมถือวามีความสมเหตุสมผล เพราะเปนการเปลี่ยนแปลงสัดสวนของระบบทุนกับแรงงาน เพ่ือเพ่ิมการผลิตใหมีประสิทธิภาพโดยลดตนทุนใหต่ําลง เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขัน แตระบบทุนนิยมของประเทศอเมริกา เม่ือคนตกงาน รัฐจะมีเงินสวัสดิการให แตของประเทศไทยไมมีตรงจุดนี้จึงถือวาเปนจุดออนของประเทศไทย การวางแผนสังคมตองประกอบไปดวยการใหบริการ รัฐสวัสดิการทางสังคมและการโอนเงินที่ตอบสนองตอความจําเปนในการดํารงชีวิตของสวนบุคคลและกลุม เชน การสาธารณสุข , การศึกษา 4. การวางแผนสิ่งแวดลอม ประเทศไทยไดวางแผนการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมที่ปลายเหตุ (output orientation) โดยมุงการแกไขปญหาที่ปลายเหตุ มิไดจัดการกับปญหาที่ตนเหตุโดยตรง (input orientation) เชน ราคาพืชผลเกษตรตกต่ํา รัฐก็จัดสรรงบประมาณเขาไปแทรกแซงราคา น่ันคือการแกไขปญหาที่ปลายเหตุ หากแกไขปญหาที่ตนเหตุควรกระทําดวยวิธี การใหเกษตรกรกูเงินดวยอัตราดอกเบี้ยต่ํา การควบคุมราคาปุยใหมีตนทุนที่ต่ําลง การอุดหนุนเมล็ดพันธพืช การควบคุมราคาวัสดุกอสรางในชนบทใหมีราคาต่ําลง ควรควบคุมปจจัยนําเขาใหมีราคาต่ํา เปนการแกไขปญหาที่ตนเหตุ ที่ตรงกับคําวา “ สมุทัย ” ดังน้ัน การจัดการสิ่งแวดลอม ไมวาจะเปนการบําบัดน้ําเสีย การกําจัดขยะ ดําเนินการไปตามแนวตะวันตก และทุนตางชาติที่มุงแตขายเทคโนโลยีให 5. การวางแผนผังเมือง ประเทศไทยทุกวันนี้ที่พบเห็นจะมีการละเมิดกฎหมายผังเมืองกันมาก เชน กรณี ภัตตาคารนางนวล พัทยา เปนตน ทั้ง ๆ ที่ประเทศไทยมีกฎหมายผังเมือง ที่มี กรมการผังเมือง เปนผูดูแลโดยตรง 6. การวางแผนพัฒนาภาค ปจจุบัน ประเทศไทยมิไดใชแลว แตใชเปนแนวคิด การวางแผนพัฒนาพื้นที ่ โดยเริ่มตั้งแตแผนพัฒนาฉบับที่ 5 เปนตนมา โดยแทจริงแลว จุดมุงหมายของการพัฒนาภาคมีความหมายเพื่อเปนการพัฒนาทรัพยากรธรมชาติ เชน กรมชลประทาน เขื่อนพลังนํ้า เปนการพัฒนาชนบทแบบผสมผสาน คือ แบบบูรณาการที่ราบลุมแมนํ้า หรือการวางแผนเศรษฐกิจระหวางภาคก็เพ่ือลดความไมเทาเทียมกันระหวางภาค เพ่ือแกไขพ้ืนที่ที่มีปญหาเฉพาะ ตลอดจนลดการไมสมดุลกันระหวางเมืองกับชนบท การวางแผนพัฒนาภาคยังเกี่ยวของกับการกําหนดนโยบายการอพยพและการยายถิ่นฐาน การกําหนดแหลงที่ตั้งของแหลงอุตสาหกรรมและโยกยายแหลงที่ตั้งของอุตสาหกรรม ตลอดจนการพัฒนาการขนสงระหวางภาคและการพัฒนาชนบทแบบบูรณาการ

Page 9: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 9 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version ดังน้ัน การวางแผนจึงเปนเครื่องมือของรัฐ เพ่ือธํารงไวซ่ึงความสมเหตุสมผลทางสังคมสวนหน่ึง และเพื่อสงเสริมความสมเหตุสมผลของระบบตลาดอีกสวนหนึ่งทั้งของรัฐ และเอกชน ประโยชนของการวางแผน 1. เปนการตอบสนอง สอดคลองกับประเภทของการวางแผน แลวนํามาประมวลวารัฐใดก็ตามไมวาประเทศสหรัฐอเมริกา หรือทุนนิยมแบบผสม (ประเทศไทย) ตางก็ใชการวางแผนเปนเครื่องมือชี้นําในการมีศักยภาพทางเศรษฐกิจ 2. การจัดใหบริการสาธารณในการตอบสนองตอความจําเปนของประชาชน 3. การลงทุนในพื้นที่ที่เปนที่สนใจนอยของภาคเอกชนและใหผลตอบแทนต่ํา การกระจายประโยชน และการลงทุนที่มีผูมีความตองการสูง เชน สาธารณูปโภคพื้นฐาน ทางหลวง การขนสง

4. การอุดหนุน หรือเกื้อหนุนการลงทุนของภาคเกษตรกร ชาวนา การพัฒนาพื้นที่ การยกระดับฝมือแรงงาน

5. การปองกันปญหากลุมความยากจน เชน การจัดพื้นที่ทํากิน การจัดโซน รวมทั้งการปองกันมลพิษ การวางแผนในประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบผสม ประเทศไทยถูกครอบงําโดยลัทธิเสรีนิยม รัฐนิยม และแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงจะเปนกระแสที่แตกตางกันกับ ๒ ลัทธิ จึงเหมือนเปนทางสามแพรง เม่ือเปนเชนน้ัน การที่จะวางแผนอยางไรเพ่ือที่จะใหตอบสนองกับทุกคน ดังน้ัน การวางแผนเศรษฐกิจแบบผสม จะจําแนกตามลัทธิตาง ๆ ลัทธิรัฐนิยม เสรีนิยม ทุนนิยม เพ่ือสอดคลองกับความสมเหตุสมผลของระบบตลาด การวางแผนกับอุดมการณ ภายใตลัทธิรัฐนิยม การวางแผนเปนเครื่องมือที่เสริมอุดมการณรัฐนิยม ภายใตลัทธิเสรีนิยม การวางแผนเปนเครื่องมือที่ตอบสนองอุดมการณเสรีนิยม ภายใตลัทธิสวัสดิการ การวางแผนจึงตอบสนองภายใตอุดมการณที่แตกตางกัน การวางแผนกับจุดมุงหมายของสังคมและอํานาจ 1. การวางแผนกับประสิทธิภาพ เปนการวางแผนเพื่อบรรลุจุดมุงหมายสูงสุด คือ ประสิทธิภาพ 2. การวางแผนกับความเทาเทียมกับทางสังคม เปนการวางแผนใชเปนเครื่องมือบรรลุจุดมุงหมายการเทาเทียมกันของสังคมนิยม หรือรัฐสวัสดิการ 3. การวางแผนกับการรวมศูนยอํานาจและการกระจายอํานาจ องคประกอบที่ 2 : แนวความคิดและทฤษฎีการวางแผน วิวัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการวางแผนกับแนวคิดและทฤษฎีการบริหารการจัดการ เพ่ือตระหนักถึงการวิเคราะหทฤษฎีการบริหาร การจัดการตาง ๆ ในหลักสูตรนี้ ตองเขาใจวาสวนใหญเปนองคความรูที่เกิดขึ้นภายใตอารยธรรมตะวันตก และถูกนําเขาโดยกระแสการเลาเรียนจากตางประเทศ เชน นักวิชาการตาง ๆ ที่เปนผูนํามาสอนและเผยแพรในประเทศไทย และมีความเชื่อวาวัฒน

Page 10: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 10 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version ธรรมตะวันตกเปนสิ่งที่ดีและถูกตอง ยึดถือทฤษฎีตะวันตกโดยปราศจากขอวิจารณของผูอ่ืน สวนนักวิชาการอีกกระแสหนึ่งมีความเห็นคัดคานวาทฤษฎีตะวันตกไมเหมาะกับสังคมไทย เน่ืองจากนักเศรษฐศาสตรแนวนีโอคลาสสิค นักวิชาการกลุมน้ีตั้งขอสงสัยวาทฤษฎีตาง ๆ น้ีแฝงดวยคานิยมที่ลําเอียงไปทางชนชั้น ที่คิดและสรางทฤษฎีขึ้นมา และนอกจากนั้นยังนํามาซึ่งความลําเอียงของผลประโยชนไปสูสังคมตะวันตก ดังน้ัน นักวิชาการมีการตั้งขอสงสัยและพยายามแสวงหาความรูที่เหมาะสมสําหรับสังคมไทย เพ่ือนํามาปรับกับสังคมไทย ดังน้ันในสวนนี้ที่จะศึกษาแนวความคิดของทฤษฎี จึงควรมีการทบทวนทฤษฎีตาง ๆ ที่ไดศึกษามาแลว การทบทวน คือ การทําความเขาใจใหถองแทวาสาระสําคัญของทฤษฎีมีอะไรบาง มีฐานคติเปนอยางไร สรางขึ้นโดยใคร เกิดในสังคมใด ยุคใด แฝงดวยอุดมการณการเมืองอยางไร รับใชใครในสังคม ประชาชนหรือผูมีอํานาจทางสังคมหรือรัฐ เม่ือทําความเขาใจในทฤษฎีอยางทองแทแลว ขั้นตอนตอไป คือการวิเคราะหเชิงแยง โดยมีกระบวนการทบทวนดังน้ี Thesis = คือการศึกษาทบทวนทฤษฎี Anti-thesis = คือการวิเคราะหเชิงแยง เพ่ือใหสังคมไทยพนจากการถูกครอบงํา โดยกลุมชนชั้นผูมีอํานาจทางสังคม Synthesis = เม่ือทฤษฎีที่ศึกษาทําใหสังคมไทยถูกครอบงํา จึงนําไปสูการสังเคราะหศึกษาหาวิธีวามีวิธีใดบางที่จะทําใหสังคมไทยพนจากการถูกครอบงํา วิธีการนี้เรียกวา ตรรกะวิภาษวิธี (Dialectic Logic) ตามตําราสังคมตะวันตก กลาววา Hekel ในสมัยจักรพรรดิ์ไกเซอร เปนผูสราง และ Karl Marx เปนผูนําแนวความคิดนี้มาพัฒนา ดังน้ัน ตรรกะที่สรางโดย Hekel น้ันมองวา รับใชชนชั้นศักดินา แต Karl Marx นํามาใชดัดแปลง เปนรับใชชนชั้นกรรมาชีพ อ. กฤษ มีความแยงวา องคความรูทางตะวันตกนั้น แทจริงแลว เปนประดิษฐกรรมทางตะวันออก ที่พระพุทธเจาใชในการแสวงหาพุทธธรรมในการคนพบอริยสัจสี่ (ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค) ดังน้ี Thesis = คือมูลเหตุที่พระพุทธเจาไดทําการศึกษาอยางถองแทในลัทธิพราหมณ ฮินดูตามวรรณะกษัตริยที่ไดถูกหมกมุนใหอยูกับโลกโลกียวิสัย คือความสุขสบายทางโลก ที่เปนทางสายหยอน และเม่ือทรงไดรับการประสูติกาล พระราหุล จึงเริ่มมีความเห็นแยงในเรื่อง การเกิด แก เจ็บ ตาย Antithesis = คือการที่ไดเห็นความตรงกันขามกับความสุขสบาย จึงมีความเห็นเชิงแยงนําไปสูการบําเพญ็ทุกขกริยา คนพบสูทางสายตึง จึงเกิดการวิเคราะหเชิงแยง โดยการบําเพ็ญเพียร และสังเคราะหองคความรูจากประสบการณที่ไดรับมาจากทางสายหยอนและทางสายตึง Synthesis = จากการนําองคความรูมาสังเคราะหที่ได ทรงพบและเห็น จึงคนพบสิ่งที่เรียกวา ทางสายกลาง สองศตวรรษของทฤษฎีการวางแผน Friedman ไดทําการศึกษาวิวัฒนาการองคความรูตาง ๆ หรือ เรียกวา ธรรมเนียมปฏิบัติในทางปญญา ระยะเวลาเริ่มตั้งแตปลายศตวรรษที่ 18 จนถึงปจจุบันโดยเริ่มจากปลายศตวรรษที่ ๑๘ - ปจจุบัน

Page 11: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 11 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version โดยแบงองคความรู เปน 10 สํานักวิชาการจากการศึกษาสํานักความคิด 10 สํานักดังกลาว สามารถทําความเขาใจไดทั้งแนวดิ่งและแนวราบ การทําความเขาใจในแนวดิ่ง หมายความวา ในแตละสํานักความคิดมีนักปรัชญา นักทฤษฎี สํานักอะไรบาง อยูในหวงเวลาใดบางในชวงสองทศวรรษของระบบทุนนิยม เปนการทําความเขาใจวานักทฤษฎีเหลานี้มีองคความรูอะไรขึ้นมา ซ่ึงเปนพ้ืนฐานในการสรางองคความรูทางสังคมศาสตร เชน การคนพบของ Charle Darwin ถูกนําความคิดมาสรางเปนพ้ืนฐานการคิดคนดานสังคมศาสตร หรือขอคนพบของ เซอร ไอแซค นิวตัน ที่คนพบแรงโนมถวงของโลก คนพบระเบียบของสุริยจักรวาล จึงมีอิทธิพลทําให Adam Smith นํามาพัฒนาเปนแนวคิดกฎของสังคม ระเบียบของสังคม คือ self interest หรือ ผลประโยชนสวนตน ซ่ึงเปนตัวจัดระเบียบทางสังคม การทําความเขาใจในแนวราบ หมายความวา องคความรูที่มีอิทธิพลตอสังคมประเทศตะวันตก และครอบงําสังคมไทยเกือบสมบูรณแบบโดยผานกระแสนิยมอารยธรรมตะวันตก ในแนวคิด เปนมิติของเวลาที่เกิดขึ้น ในการศึกษาของนักซิชาการตาง ๆ ซ่ึงจากการศึกษาถึง ทฤษฎีความเปนมาของ USA เพ่ือใชในการศึกษาเปรียบเทียบในประเทศไทยแผนภูมิของวิวัฒนาการของภูมิปญญาที่มีตอทฤษฎีการวางแผน ในสังคมอเมริกัน มี 10 สํานักความคิด ดังน้ี John Friedman ศึกษาวาในสองศตวรรษมีการเกิดการวิวัฒนาการอะไรบาง ในสองศตวรรษนี้ คือ สองศตวรรษของลัทธิจักรวรรดินิยม หรือ ลัทธิลาอาณานิคมในศตวรรษที่ 19 และลัทธิการพัฒนาในศตวรรษที่ 20 ซ่ึงเริ่มแตปลายศตวรรษที่ 18 จนกระทั่งถึงศตวรรษที่ 21 ปจจุบัน เปนการแสดงใหเห็นถึงองคความรูที่ครอบงําสังคมอเมริกัน วามีอยู 10 สํานัก แตสํานักใดจะเปนกระแสหลัก

ในการศึกษาจะตองศึกษาถึง Original สิ่งที่เปนตนกําเนิดขององคความรู ที่มาครอบงําประเทศไทย เพราะอิทธิพลของ USA ที่เกิดขึ้นหลัง WWII ทําใหไทยถูกครอบงําโดยวัฒนธรรมของอเมริกันเปนสําคัญ ยกตัวอยาง จอมพลสฤษดิ์ ที่ไดนําไทยไปรับความชวยเหลือจาก USA ในหลาย ๆ รูปแบบ เชน การทหาร การศึกษา การพัฒนาเศรษฐกิจ เชน ทุนการศึกษาตาง ๆ ทําใหเขาใจถึงแกน เชิงวิจารณ เชิงคําถาม

การจัดแบงสํานักความคิด/สํานักทางวิชาการ เปนดังน้ี 1. แนวคิดสํานักวิศวกรรม (Systems Engineering) จะประกอบดวย 2 สวน คือ

1.1 Systems Engineering “วิศวกรรมระบบ” จากชวงเวลาเปรียบเทียบ WWI จึงเกิด “วิศวกรรมระบบ” ในชวงสังคมโลกครั้งที่ 1

พบวา โลกทั้งใน USA - The World great Clepression ภาวะเศรษฐกิจตกต่ําครั้งยิ่งใหญทั่วโลกทําให ในUSA นาน 13 ป เปนภาวะกดดันภายในสังคม คัดตานวัตกรรมตาง ๆ ขึ้นมาจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ํานี้ นักวิชาการตองคัดคาน “นวัตกรรมใหม ๆ” เพ่ือมาแกไขปญหาระบบเศรษฐกิจหรือฟนฟูระบบเศรษฐกิจ เชน Keynes พบขอที่ชวยแกไขปญหาเศรษฐกิจ โดยการใชมาตรวัดของ Kuznets กําหนดมาตรการใน WWII กอนสงครามเวียดนามจะมีการพบแนวคิดใหม คือ การ

Page 12: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 12 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version วิเคราะหระบบ (Systems analysis) ซ่ึงจดจําในทฤษฎีระบบ (System Theory) ของ David Easton ในเรื่องของ Input process , output Feedback เปนตน

1.2 Systems Analysis “การวิเคราะหระบบ” โดย Churchman / Ackoff เปนสถาปนิก ถูกเกณฑไปในสังคม WWII พันธมิตรมี

ปญหาถูกโจมตีเรื่องดําน้ําจากเยอรมัน โดย Ackoff ไดรับมอบหมายใหหาตําแหนงของเรือ โดยใชความรูทางสถาปตยกรรม ผนวกกับทฤษฎี Probability วิชาชีพคณิต โดยการแบงพ้ืนที่มหาสมุทร ตารางหมากรุก หาตําแหนงที่นาจะเปนไปได (probability) โดยนําเรือพันธมิตรตาง ๆ จึงสามารถหาตําแหนงหรือดําน้ําของเยอรมันได จึงนํามาพัฒนาเปน ความรู เรียกวา OR = Operation Research การวิจัยเชิงปฏิบัติการ เชน ขอคนพบของชารล ดารวิน ในเรื่อง ทฤษฎีวิวัฒนาการของมนุษย มีอิทธิพลตอการสรางทฤษฎีวิวัฒนาการของสังคม ที่เปนทฤษฎีขั้นตอนแบบเสนตรง (Evolutionary Theory) หรือ ปรัชญาเสรีนิยม ก็มีอิทธิพลตอ Adam smith และชารล ดารวิน ดวยคือ สังคมที่จะอยูรอดได ตองมีความเหมาะสมที่สุด หรือ แนวโนมการเกิดรัฐนิยม หรือ กระแสรรัฐเสรี (Liberal Statism)

2. แนวคิดสํานัก Neo-Classical Economics ใน คศ. 1770 โดย Adam Smith ไดตีพิมพหนังสือ The Wealth of the nation (1978) เสนอสนธิสัญญาที่วาดวยการพัฒนาของระบบทุนนิยม ถือเปนระบบทุนนิยมในอุดมคติ หลักการของระบบทุนนิยม ตลาดเสรี มีดังน้ี -Invisible Hand -Leiiez faire -Indivition of Labour จนกระทั่งถึง นักวิชาการ John.S.Mill หรือ David Recado ที่เสนอทฤษฎีการคาและการเงินระหวางประเทศและอาจารยนําเอาทฤษฎีความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบของการคาเสรีที่ตั้งอยูพ้ืนฐานของปจจัยตัวแปรเดียว คือ ตนทุนดานการคาในชวงนี้เราเรียกทฤษฎีเศรษฐศาสตรน้ีวา ทฤษฎีเศรษฐศาสตรแนวคลาสสิค (Classic) และไดพัฒนาเปน ทฤษฎีเศรษฐศาสตรแนว Neo-classic ในชวงตอมา ซ่ึงมีนักเศรษฐศาสตรตาง ๆ ดังน้ี Walras Marshall Bohm-Bawerk Pigou จนกระทั่ง Keynes : ซ่ึงเสนอทฤษฎีอัตราดอกเบี้ย (Interest rate) ภาวะกับสภาพคลอง (Liquidity trap) ซ่ึงในประเทศไทยก็ประสบปญหานี้จากมาตรฐานการ 21 สิงหาคม 2541 จนถึงปจจุบัน (เงินสภาพคลอง เงินฝาก 800,000 ลานบาท) และไดเสนอเกี่ยวกับนโยบายเพื่อกระตุนการคลัง-การจางงาน (Fiscal policy and Employment) แตมาตราวัดที่วาดวย GNP =Y=I+C+G+CX-M เสนอโดย Simon Kuznets ถือวาเปน Father of GNP ซ่ึงเปนนักเศรษฐศาสตรพัฒนาหรือนักเศรษฐศาสตรสถาบันของสํานักประวัติศาสตรเยอรมัน จากแนวคิดของ Keynes ไดมีรัฐบาลหลายประเทศนํามาใช เชน ไทย ญ่ีปุน จีน เปนตน

Page 13: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 13 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version จากนั้นไดพัฒนามาเปน Welfare and Social Choice สวัสดิการสังคมและทางเลือกสังคมหรือ Public choice โดยนักเศรษฐศาสตร Arrow ไดรับรางวัลโนเบล ที่ไดเสนอ ผลงานที่วาดวย Social voice” คือ สวัสดิการสังคมและทางเลือกสังคม หรือทางเลือกสายกลาง ตอมาไดพัฒนามาเปน Policy science (นโยบายศาสตร) ในสํานักนี้ จะไดศึกษาทฤษฎีการตัดสินแบบ สมเหตุสมผล (Rationalism) ภายใตนโยบายศาสตร มีนักวิชาการ Dror หรือ จะเปนการศึกษาในเรื่องของ นโยบายสาธารณะ ซ่ึงจะมีตวัแบบตาง ๆ ของการนํานโยบายไปปฏิบัติ Implementation Model หรือ บางคนเสนอ PISAN “ S Model ซ่ึงนโยบายสาธารณะ เปนตัวแบบนําไปปฏิบัติได Implementation Model

3.แนวคิดสํานัก Public Administration โดยใน คศ.1880 ประธานาธิบดี Woodrow Wilson ผูประมวลองคความรูวาดวย

รัฐประศาสนศาสตร รวบรวมสมาชิกเพื่อวางระบบกลยุทธใหพรรคพวกเปนครองอํานาจใหญใน USA จนพัฒนาเปน CFR (Coucil of Four Relation) ซ่ึงเปนสภาความสัมพันธระหวางประเทศ รวมทั้งพวกนายทุนใหญ คาเงิน คาอาวุธ บริษัทยักษใหญขามชาต ิญ่ีปุน ยุโรป ซ่ึง CFR เปนผูอยูเบื้องหลัง การโจมตีคาเงินของ จอรส โซรอส กรณีไทย – พมา กรณีอินโดนีเซีย และไดพัฒนาจนมาถึง -Gulick of Urwick เสนอ POSDCORB

-Walker -Herbert Simon เสนอ Boundless Rationality -Lasswell -Appleby จนกระทั่งพัฒนามาเปน New PA.= New Public Administration 4. แนวคิดสํานัก Scientific Management & Organization Development ป คศ. 1900 Fenderick Taylor ทําการทดลอง time and Motion study (เวลาและการ

เคลื่อนไหว) ซ่ึงนําไปสูการหาหนทางที่ดีที่สุด (The one best way) และเกิดผลิตภาพ (Productivity) สูงสุด

จาก Taylor นําไปสู Organization Development ที่เชื่อในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่มีการวางแผน โดยเนนแกไขพฤติกรรมของคนในองคการเปนหลัก

- Mayo การทดลอง Hawthrone study ในโรงงานผลิตไฟฟา : Haw throne Effect

-Urwick Barnard สายนี้เปนสายของนักวิชาการ : พฤติกรรมศาสตร ซ่ึงมีนักวิชาการตาง ๆ เชน Lawin ,

Trist , lippitt , Bennis , Benne and chin Argyris , Lawrence & Lorsch

Page 14: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 14 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version

จนกระทั่ง Michael Hammer ที่เสนอแนวคิด Re-engineering การรื้อระบบใหม โดยการ rethinking , redesigning , retooling, retraining ซ่ึงเปนองคประกอบของการ re-engineering ของ Dr.Hammer ที่ Bank กสิกรไทยนํามาใชในการรื้อปรับระบบองคการของตน ในสํานักนี้เปนการพัฒนาในเรื่องขององคการและการจัดการ

5. แนวคิดสํานักสังคมวิทยา (Sociology) โดย Saint Simon , Comte , Dorkheim และ Max Weber เปนผูที่เสนอทฤษฎี

Theory of Bureaucracy ทฤษฎีของระบบองคการขนาดใหญวาจะตองมีคุณสมบัติอะไรบาง จากนั้นก็ถึงยุคของ Mannheim Popper, Dahl และ Lindblom โดย Dahl of Lindblom เปนผูเสนอทฤษฎีการตัดสนิใจแบบเพิ่มสวน หรือ Incrementalism จากนั้นจนถึงยุคของ Etzioni ซ่ึงเสนอผลงาน ชื่อ “Active Society” โดยไดพยายามบูรณาการทฤษฎีการตัดสินใจแบบมีเหตุมีผล (Rationalism) กับทฤษฎีการตัดสินใจแบบเพิ่มสวน (Incrementalism) กลายมาเปนการตัดสินใจแบบกลั่นกรองผสม (Mix Scanning) ซ่ึงใชในการพัฒนาชนบท

6. แนวคิดสํานักประวัติศาสตรเยอรมัน (German Historical School) วิวัฒนาการไดเปลี่ยนมาเปนสํานักเศรษฐศาสตรสถาบัน ในตน คศ.ที่ 20 (Institutional

Economic) ซ่ึงจะมีความแตกตางจากแนว Neo-classic ฐานคติ คือ กลไกตลาดไมสมบูรณ รัฐจะตองมาแทรกแซง บูรณาการการตัดสินใจทาง

เศรษฐกิจมุงเพ่ือมวลชนสวนใหญใหไดรับการปรับปรุงชีวิตโดยใหความรูแกคนสวนใหญ ตอมา ประมาณป คศ.1945 นักเศรษฐศาสตร Simon Kuznets เปนชาวรัสเซีย อพยพไป

ใน USA ศึกษาเรื่องปญหาความเติบโตและความยากจน เกิดสมมติฐานตัวยู และความสัมพันธของตัวแปร x = y โดย

x = ระดับความเติบโตทางเศรษฐกิจ ตามอนุกรมของเวลา ของประเทศใดประเทศ หน่ึง

y = ความแตกตางของรายได จากต่ําไปสูง โดย Simon Kuznets ไดรับสมญานาม Father of GDP GNP คือ ผูสรางมาตรวัดที่วา

ดวยอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจ คือ y = C + I +G + (X-M) ซ่ึงกลับไปสนับสนุนสงเสริมให สมการเคนสดีขึ้น เปนจริงมากขึ้น มีคนยอมรับมากขึ้น ทําใหชวยในการประเมินคาของ Keynes โดยรัฐบาลจะตองจัดสรรงบประมาณรายจายเพื่อไปชวยใหเกิดการกระตุนการจางงาน นําไปสูการบริโภคสูงมากขึ้น ทําใหมีงบลงทุนมากขึ้น จะมีการเพิ่มเฉพาะคา G (Government Expenditure) โดยที่การลงทุน I ไมเพ่ิมขึ้นไหลออกไป C เพ่ิมขึ้นเล็กนอย ไมกอใหเกิดผลิตภาพ ดุลบัญชีเดินสะพัดติดลบ

Page 15: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 15 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version 7. แนวคิดสํานักปฏิบัตินิยม (Pragmatism) ระบบใดระบบหนึ่งจะไดมาซึ่งอธิปไตยจะตองอาศัยจากการทดสอบทางสังคม (Social experimentation) โดยสายปฏิบัตินิยมนี้จะเปนสายทางปรัชญาทางการศึกษา หรือการปฏิรูปทางการศึกษา เชน พรบ.การศึกษาของไทย ในวิชาหลัก ๆ 12 วิชา จะกําหนดสวนกลาง ในวิชาเลือกศึกษาในวิชาทองถิ่นสอดคลองจากภูมิปญญาในทองถิ่น หรือแนวคิดนี้ในภาคอีสาน วิชาการทําปลาแดก เปนวัฒนธรรมทองถิ่น จากประวัติ และพันธุปลาในความอุดมสมบูรณในทองถิ่น ทําใหนักเรียนไดเรียนรูถึงภูมิปญญาของชาวบาน ของทองถิ่นที่เกิดขึ้นและมีรกรากในทองถิ่นนั้น โดยในความหลากหลายทางชีวภาพ เปนบอเกิดของวัฒนธรรม สิ่งตาง ๆ เหลานี้ เปนการเรียนรูแหงการทดลองในโลกความเปนจริง เรียนไปดวยปฏิบัติไปดวย

8. แนวคิดของสํานักวัตถุนิยมประวัติศาสตร (Historical Materialism) โดยศึกษาอาศัยตรรกะวิภาษวิธี จากสํานักเศรษฐศาสตรการเมือง ซ่ึงผูที่สรางแนวคดิ

สํานักนี้ คือ โดย Karl Marx และ Hekel ไดวิเคราะหใหเห็นภาพลักษณของระบบทุนนิยม 2 ดาน ที่ตรงกันขามกัน คือ

ดานที่ 1 ประสิทธิภาพ ดานที่ 2 ความไมเทาเทียมทางสังคม ความไมยุติธรรมในสังคม และชี้ใหเห็นวาความ

ขัดแยงทางชนชั้น 2 ชนชั้น เปนความขัดแยงแหงบอเกิดพัฒนาการทางสังคม จนถึง จุดอ่ิมตัว ภาวะสุกงอม ความมีวุฒิภาวะจะเปนผลการผลิตแบบทุนนิยม ที่ทรงประสิทธิภาพมากสุดและ ผูใชแรงงาน ถูกเอาเปรียบมากที่สุดถูกดขี่มากที่สุด เชน ไทย ประกอบกับ รัฐบาลมุงการพัฒนาแบบออกนอกประเทศ “ตติยภูมิ” โดยมุงสงแรงงานไปนอกประเทศขายแรงงาน

ดังน้ัน Over Through โดยสถาปนา สังคมนิยมขึ้นใหม (Neo - Marxism) ทําลายรัฐทุนนิยมเปลี่ยนวิถีการผลิตแบบทุนนิยม วิถีการผลิตแบบสังคมนิยมเพ่ือความเทาเทียมกันทางสังคม จากน้ัน Lenin นําไปปฏิวัติในรัสเซีย เปนประเทศสังคมนิยม และ เหมาเจอตุง นําไปปฏิวัติในประเทศจีน ปูอํานาจฐานใหประเทศจีน เปนมหาอํานาจในปจจุบัน โดยใชนโยบายกาวกระโดดทําใหคนจีนทองอ่ิมได และ เติ้งเสี่ยงผิงทําใหคนจีนรวยขึ้น

สํานักวัตถุนิยมประวัติศาสตร พ้ืนฐานทําใหเกิดแนวคิด การปฏิวัติการพึ่งพาระหวางประเทศแนวคิดนี้ ตองการปลดแอก “ไทย” ใหหลุดจากอํานาจของจักรวรรดินิยม โดยทฤษฎีของ อ.กฤษ มีตนกําเนิดรากฐานจากแนวคิดวัตถุนิยมประวัติศาสตร แนวทางการวิเคราะหเศรษฐศาสตรการเมืองก็มาจากแนวคิดสํานักนี้

จากนั้นก็ไดวิวัฒนาการมาเปน Neo-Manxism จากแนวทางที่อาจารยวิเคราะห ชี้ใหเห็นชนชั้นที่ครองอํานาจแลวดําเนินการใดๆ เพ่ือผล

ประโยชนของใคร เชน กองทัพ ไดมีความขัดแยงแตกแยกกับรัฐบาล หรือในกองทัพเอง

Page 16: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 16 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version

ฉะนั้น แนวทางที่เกิดภายใตสํานักวัตถุนิยมประวัติศาสตร คือ ตองทําการปลดแอกประเทศไทย ออกใหพนจากการครอบงําของจักรวรรดินิยม

9. แนวคิดสํานัก แฟรงเฟรต (Frankfurt School) เปนนักวิชาการกลาววิพากษวิจารณวัฒนธรรมที่เฉพาะหนาของระบบทุนนิยม นักทฤษฎี

ที่เปนนักทฤษฎีที่วิภากษทั้ง ทุนนิยมและสังคมนิยมวากอใหเกิดองคการขนาดใหญ (Bureaucracy) และ Bureaucracy ในระบบทุนนิยมก็คือสิ่งที่หลอกลวง ในขณะที่ระบบสังคมนิยม เปนอุปสรรคขวางกั้น ของการไดมาซึ่งสังคมสรางสรรค

10. แนวคิดสํานึกยูโทเปยนหรือพวกอนาธิปไตย (Utopians , Social Anarchists and Radicals)

Utopian เปนการแสวงหาสังคมในอุดมคติ สังคมที่ดีงาม Social Anarchists อธิปไตยทางสังคม , Radicals คือ พวกที่มีหัวกาวหนา โดย Robert Owen ME. เปนการทดลองที่ทุกคน อยูรวมกันในสังคมอยางสันติสุข ที่ปราศจากลําดับชั้น ทุกคนมีจิตใจสูง ตางคนตางทํางาน ไมมีลําดับชั้น ทํางานปฏิบัติงานไดตามความสามารถของคนแตละคน แตจะเอาประโยชนไปตามความจําเปนในการดํารงชีวิตเทานั้น มองเห็นทรัพยสินวาไมมีความหมาย จิตใจสูง ไมขี้เกียจ ไมเพิกเฉย เอาประโยชนไปตามที่ใช ตามความตองการ (Needs) โดยไมสะสมเลย ละวางทรัพยสินสวนตนได ไมมี Social Hierarchy โดยมองวา รัฐทางทุนนิยม รัฐทางสังคมนิยม เปนเพียงเปนเครื่องมือของชนชั้นเทานั้น ดังน้ัน สังคม Utopians คือ สังคมที่ปราศจากรัฐ คือสังคมที่ดีงาม และสังคมในอุดมคติ สรุป นักทฤษฎีที่ถูกจัดอยูในสังกัดสํานักความคิดที่ 1-4 สรางและพัฒนาองคความรูที่แฝงทางสังคม ซ่ึงยืนยันจะผลิตซ้ําวิถีการผลิตและโครงสรางที่สังคมดํารงอยู นักทฤษฎีตั้งแตที่ 5-10 สรางและพัฒนาองคความรู ซ่ึงนําไปสูการเปลี่ยนแปลงวิถีการดํารงชีวิตของคนสวนใหญ จนถึงการเปลี่ยนแปลงโครงสรางการผลิตและโครงสรางทางสังคม หากพิจารณาแนวทางการบริหารภายใตภูมิทัศนการแขงขันใหม องคความรูดังกลาวสังกัดอยูใน 2 สํานักแรก คือ การวิเคราะหระบบเศรษฐศาสตรนีโอคลาสสิค และสํานักที่ 4 คือ วิทยาการจัดการและพัฒนาองคการ จุดมุงหมายของทฤษฎีการบริหารในบริบทของระบบทุนนิยมและผลลัพธ ระบบทุนนิยมแมจะทําใหวามเจริญเติบโตทางดานวัตถุอยางที่ไมมียุคไหนเทาเทียม แตในขณะเดียวกันทุนนิยมก็กอใหเกิดปญหาตางๆ อยางมากมาย เน่ืองจากจิตวิญญาณของระบบทุนนิยมที่มุงเนนการแสวงหากําไรเพื่อความอยูรอด ทฤษฎีเหลานี้จึงมีความคิดที่คับแคบเกี่ยวกับคน ดังน้ันสรุปไดวา ระบบทุนนิยมไดกอใหเกิดปญหามากมาย หรืออาจเรียกไดวา “หลมความทุกขทางประวัติศาสตร 6 ประการ” ดังน้ี 1. ความอยุติธรรมทางสังคม กอใหเกิดการกระจายรายไดที่ไมเทาเทียมกัน ขาดความเทาเปนประเทศทุนนิยม จะเกิดปญหาวา สังคมถูกแบงออกเปน 2 สวน อยางชัดเจนโดยมีที่ตั้งอยูบนฐานของ

Page 17: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 17 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version รายไดและสิ่งตางๆ ที่มาจากรายได เชน การศึกษา คือแบงเปนคนรวยกับคนจน คนมีกับคนไมมี เปนตน 2. ปญหาทางสังคม ความเจ็บปวยทางสังคมและการขาดความสุข ระบบทุนนิยมไดกอใหเกิดปญหาตางๆ ดังกลาวอยางกวางขวางและเชิงลึก เชน การขาดโอกาสทางการศึกษา การกดขี่ทางเพศ จริยธรรมเสื่อมถอย แมในสังคมตะวันตกรายไดตอหัวเพ่ิมขึ้น แตก็ไมไดทําใหคนมีความสุขเพ่ิมขึ้น เพราะเกิดภาวการณไรความสุข คนติดเหลา อาชญากรรม คอนขางสูงพอควร 3. การคอรรัปชั่น นายทุนการเมืองใชอํานาจรัฐในลักษณะที่เรียกวา การทับซอนของผลประโยชน คือ การคอรรัปชั่นเชิงนโยบาย และยังมีเศรษฐกิจใตดินเกิดขึ้นอีกมากมาย 4. ความไรซ่ึงเสถียรภาพ จากการเปนระบบเศรษฐกิจแบบเก็งกําไรจึงทําใหระบบเศรษฐกิจเคลื่อนยายไปตามวัฏจักรธุรกิจ เกิดเศรษฐกิจฟองสบู 5. ความไรซ่ึงความยั่งยืน เพราะมีการขมขืนธรรมชาติ นําเอาผลผลิตทางธรรมชาติไปใชในทางผิดๆ หรือแมแตถูกแตก็ใชตนุ 6. ความไรซ่ึงสันติสุขและสันติภาพ คือ เต็มไปดวยความขัดแยงและสงคราม องคประกอบที่ 3 : การกําหนดจุดมุงหมายขององคการ การวางแผนและแผน หลักพื้นฐานและองคประกอบหลักสําหรับการวางแผนองคการ

Bovee et.al 1993 & Bortol and Martin หนังสือประกอบการสอน บทความ ๘ และ ๙ คํานิยาม การวางแผน

ในฐานะที่เปนที่หน่ึงของบทบาทหนาที่ 4 ประการที่ประกอบกันขึ้นเปนกระบวนการบริหาร การวางแผนเปนกระบวนการในการกําหนดที่ซ่ึงองคการควรจะไปในอนาคต เปนทางเลือกและการตัดสินใจเลือกจากทางเลือก หรือชุดของการปฏิบัติ หรือทางเลือกที่คาดวามีประสิทธิภาพมากที่สุด และนําทางเลือกที่เลือกแลวนําไปปฏิบัติเพ่ือบรรลุถึงภาวะในอนาคต ถึงแมวาบทบาทหนาที่ทางการบริหารอีก ๓ ประการ คือ การจัดองคการ การนํา (ภาวะผูนํา) และการควบคุม ตางก็เกี่ยวของกับการความพยายามในการบรรลุจุดมุงหมายที่กําหนดขึ้นมาในกระบวนการวางแผน ดังน้ัน การวางแผนจึงถือวาเปนขั้นพ้ืนฐานมากที่สุดของกระบวนการในการบริหาร หรือถือวากระบวนการวางแผนมีความสําคัญมากที่สุด

ในทัศนะของ อ.กฤษ การวางแผนจะมีเหตุผล 3 ประการ คือ 1. แกไขปญหา 2. แกไขสถานการณหรือเพ่ือใหไดมาซึ่งสถานการณที่ปรารถนา 3. ตอบสนองตอความจําเปน (Need) ผูบริหารวางแผนเพื่อสะทอนถึงจุดมุงหมายขององคการที่กําหนดขึ้นมา และจะสามารถบรรลุถึง

จุดมุงหมายไดกต็อเม่ือมีการตัดสินใจลวงหนาในการปฏิบัติเพ่ือบรรลุถึงผลลัพธที่พึงปรารถนาขององคการในวันตอไป

Page 18: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 18 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version จุดมุงหมาย หรือวัตถุประสงค และความสําคัญ จุดมุงหมาย คือ เปาหมาย หรือภาวะในอนาคตที่องคการปรารถนาที่จะบรรลุหรือปรารถนาที่จะมีประสิทธิผล โดยการสรางความชอบธรรมในการดํารงอยู จุดมุงหมายมีความสําคัญดวยเหตุผลอยางนอย 4 ประการ ดังน้ี 1. จุดมุงหมายเปนตัวนิยามหรืออธิบายองคการวาองคการคืออะไร ทําอะไร โดยการระบุถึงจุดหมายปลายทางที่องคการคาดหวังวาจะบรรลุ 2. จุดมุงหมายเปนเปาหมายที่ชัดเจนที่เปนตัวสราง หรือเปนปจจัยสรางแรงจูงใจเพื่อชี้นําผูบริหารและบุคลากรในองคการเพื่อดําเนินกิจกรรมภายในองคการ 3. จุดมุงหมายเปนเครื่องมือในการกําหนดทิศทางขององคการ เปนเครื่องมือในการตัดสินใจขององคการ 4.จุดมุงหมายจะสรางกรอบใหผูบริหารขององคการใหความสนใจในภาวะของอนาคตที่พึงปรารถนาและสรางกรอบแนวทางที่จะบรรลุในอนาคต ผลลัพธที่พึงปรารถนาที่สะทอนจากจุดมุงหมายขององคการสามารถนํามาใช หรือเปนมาตรฐานเพ่ือวัดผลการดําเนินงานขององคการ หรือการนํามาสรางเปน Benchmark

แผน คือ เพ่ือบรรลุ หรือการไปถึงจุดหมายปลายทางที่สะทอนจากจุดหมายขององคการ ผูบริหารตองตระเตรียมแผน แผนเปนเครื่องมือในการระบุถึงมรรควิธี เพ่ือใชในการบรรลุจุดมุงหมาย ดังน้ัน แผนจึงเปนสะพานที่เชื่อมชองวางทางการบริหารระหวางภาวะในปจจุบันและภาวะในอนาคต ในขณะปจจุบัน ผูบริหารขององคการจะตองเลือกทางเลือกที่หลากหลาย แผนจะเปนตัวที่คาดการณในทางปฏิบัติที่จําเปน สําหรับบรรลุจุดมุงหมายนั้น ๆ ในการเปดโอกาสใหผูบริหารทั้งหมดขององคการดําเนินการตัดสินใจลวงหนาเกี่ยวกับการปฏิบัติและทุกระดับในองคการ แผนจึงถูกใชเปนเครื่องมือในการกําหนดทิศทาง เปนเครื่องมือในการประสานงานกิจกรรมตาง ๆ เพ่ือที่วาจุดมุงหมายสามารถมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ซ่ึงแทจริงแลวประสิทธิภาพตองมากอนประสิทธิผล ซ่ึงเปนมิติการวัดผลในการดําเนินการขององคการ ประสิทธิภาพ หมายถึง การวัดความสามารถในการดําเนินการขององคการ กับการใชทรัพยากรการบริหาร หรือ “ Doing think right ” ประเภทของแผน (Type of Plans) Weihrich & Koontz กลาวถึงความลมเหลวของนักบริหารสวนหนึ่ง ในประเด็นที่วาแผนมีหลายประเภทดวยกัน ซ่ึงการที่ไมยอมรับประเด็นน้ี เปนสาเหตุใหเกิดอุปสรรค ตอการกระทําใหการวางแผนมีประสิทธิผล เพราะแนวทางสําหรับการปฏิบัติในอนาคตหลาย ๆ ประการคือแผน นอกจากจุดมุงหมายซึ่งเปนแผนประเภทหนึ่ง หนังสือแสดงเจตจํานงก็คือแผนเชนกัน แผนครอบคลุมแนวทางสํารับการปฏิบัติในอนาคต ดังน้ี 1. เปาประสงคหรือพันธกิจ (Mission) กพ. แปล Mission วาภาระกิจแตความหมาย เชิงภาษาคือ ความมุงหมายพื้นฐาน (Basic goal) และนักวิชาการบางกลุมบอกวา Mission เปน Top most goal เปนจุดมุงหมายสูงสุดขององคการ นักวิชาการดานการบริหารธุรกิจแปลวาพันธกิจ

Page 19: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 19 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version

2. กลยุทธ คือแผน 3. นโยบาย คือแผน กระบวนการวิธีการทํางาน กระบวนวิธีการผลิต กระบวนวิธีการใหการบริการ ขอบังคับหรือกฎ แผนงาน โปรแกรม งบประมาณ ไมวาจะเปนงบประมาณยืดหยุน งบประมาณแผนงานคือแผนทั้งสิ้น กระบวนการวางแผนองคการและขั้นตอนในการวางแผน Bovee และคณะ ใหความหมายวา กระบวนการวางแผนครอบคลุมการพัฒนาพันธกิจหรือความมุงหมายพื้นฐานขององคการ ฉะนั้น คือการกําหนดจุดมุงหมาย และจึงพัฒนาหรือสรางแผนขึ้นมา ซ่ึงมีขั้นตอนรายละเอียด ดังน้ี

1. ผูบริหารเริ่มตนกระบวนการวางแผนดวยการสรางสรรค ปรับปรุงหรือยืนยันพันธกิจวา จะ เปลี่ยนหรือไม โดยการนําเอาจุดมุงหมายสูงสุดขององคการมาพิจารณา ซ่ึงจะเปนตัวอธิบายเปาหมายตาง ๆ ขององคการ

2. ผูบริหารกําหนดใชพันธกิจเพ่ือชี้นําการสรางจุดมุงหมายในระดับตาง ๆ 3. กําหนดเคาโครงของแผนที่จําเปน 4. นําแผนที่จําเปนไปปฏิบัติเพ่ือบรรจุลุจุดมุงหมายที่กําหนดในขั้นตน กระบวนการวางแผนเปนขั้นตอนของการนําไปสูการปรับปรุง เรียนรู แกไข เปลี่ยนแปลง

ความสําคัญ กระบวนการวางแผนมีความสําคัญสําหรับองคการที่ปฏิบัติการในสภาพแวดลอมขององคการที่งายและมั่นคงเทาๆ กับองคการที่ปฏิบัติการในสภาพแวดลอมที่สลับซับซอนและเปนพลวัต พลวัตคือ มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว เชน พวกคอมพิวเตอร ถาอยูในสภาพแวดลอมที่งายและม่ันคง เชน ภาคเกษตรกรรมแทบไมเปลี่ยนแปลง แตปจจุบันภาคเกษตรกรรมก็เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงเชนกัน เพราะการพิจารณาในประเด็นที่วาดํารงอยูในหรือปฏิบัติการในสภาพแวดลอมประเภทใดจะมีความหมายถึงการกําหนดชวงเวลา (Time prospective) โดยการประยุกตใชกระบวนการวางแผน คือ การทํางานหรือการบริหารงานอยางเปนกระบวนการ ผูบริหารขององคการตองหม่ันทบทวนพันธกิจขององคการวา เม่ือพิจารณาปจจัยในสภาพแวดลอม ควรจะปรับปรุงหรือไม ควรสรางสรรคขึ้นใหมหรือไม ถาตองสรางสรรคหรือปรับปรุงใหมก็ตองนําไปเปลี่ยนแปลงจุดมุงหมายในแตละระดับ เพ่ือเปนพ้ืนฐานในการกําหนดแผน และทํางานอยางเปนขั้นตอนเกี่ยวเนื่องสัมพันธกัน เพราะการทํางานเปนกระบวนการ ผูบริหารขององคการสามารถจะเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดลอมไมวาจะเปนขนาดเล็กหรือใหญ เพราะการทํางานเปนกระบวนการ ก็จะเปนการวางกรอบใหผูบริหารขององคการสนใจไปในผลลัพธที่ตรงกับกรณี มากกวาจะพิจารณากิจกรรมประจําวันอยางสะเปะสะปะ เพราะตัวแปรหรือปจจัยในสภาพแวดลอมมีมากมายที่จะสงกระทบตอองคการ หรือที่ไมสงผลกระทบตอองคการ ถาไมทํางานอยางเปนกระบวนการคือเปนขั้นเปนตอนที่เกี่ยวเน่ืองสัมพันธกันแลว ฐานคติที่วาดวยความสมเหตุสมผลที่มีขอบเขตจํากัด ผูบริหารขององคการไมไดเปน Rational man คือ ไมตองเปนเลิศ ไมตองจําไดทุกเรื่อง

Page 20: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 20 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version ความเชื่อมโยงของกระบวนการวางแผนกับการควบคุม ถึงกระบวนการวางแผนจะเกี่ยวของกับการกําหนดทางเลือกสําหรับการปฏิบัติ เพ่ือใหบรรลุถึงจุดมุงหมายขององคการ แตกระบวนการวางแผนก็มีความเชื่อมโยงอยางใกลชิดกับภารกิจการบริหารที่วาดวยการควบคุม เพราะผูบริหารขององคการจะตองใชวิธีการควบคุม ตองใชมาตรการในการควบคุมเพ่ือตรวจสอบความกาวหนาที่มุงไปสูการบรรลุจุดมุงหมายที่ไดกําหนดขึ้นมากอนหนานี้ จากนั้นตองใชกลไก Feedback Mechanism คือ กลไกในการปอมปราม ในรูปของรายงานในรูปการวัดผลในการดําเนินงาน เพ่ือที่จะดําเนินการแกไขเทาที่จําเปน ตองใชการควบคุมเพ่ือใหม่ันใจวาแผนถูกนําไปปฏิบัติอยางเหมาะสม และตองธํารงไวซ่ึงความสอดคลองตองกันของกิจกรรมตาง ๆ ความสอดคลองตองกันของขอวินิจฉัยตางๆ ในทุกๆ ระดับขององคการ ขั้นตอนในการวางแผน (น.32 รูป น.34) ของ Weihrich & Koontz 1. ตระหนักถึงโอกาส ผูบริหารองคการตองดําเนินการวิเคราะห Swot หรือ Swot analysis ดําเนินการ คือ ผูบริหารตอดงมองออกไปขางนอก Look outward เพ่ือดูโอกาส (Opportunities) ในการขยายตลาด โอกาสในการขยายผูรับบริการในกรณีของภาครัฐ ดูคูแขง อุปสรรค การคุมคามจากคูแขง (Threats) ดูวาลูกคาผูรับบริการตองการอะไร แลวจึงดูขางใน Look Inward ดูจุดแข็ง (Strengths) และจุดออน (Weakness) ขององคการ

2. กําหนดจุดมุงหมาย องคการตองไปไหน ตองการสัมฤทธิ์อะไรและเม่ือไร 3. พิจารณาฐานคติของการวางแผน ตองตระหนักวาแผนหรือจุดมุงหมายที่กําหนดจะไปปฏิบัติ

ในสภาพแวดลอมอะไร สภาพแวดลอมที่อยูภายนอกองคการหรือภายในองคการแลวจึงกําหนดทางเลือกตาง ๆ มีการพิจารณาวาอะไรจะเปนทางเลือกวามีโอกาสถึงความสําเร็จมากที่สุด ทางเลือกที่กําหนดขึ้นมาไมใชทางเลือกเดียวตองมีอยางนอย 2 ทางเพื่อประโยชนตอการเปรียบเทียบทางเลือกตาง ๆ (Comparing Alternative) 4. ในการเลือกทางเลือกซึ่งเปนขั้นตอนตอจากการกําหนดทางเลือกสําหรับการปฏิบัติ เปนการเปรียบเทียบทางเลือกตาง ๆ โดยตั้งอยูบนพ้ืนฐานของจุดมุงหมายที่ตองการบรรลุ ทางเลือกใดที่จะใหโอกาสที่ดีที่สุดในการบรรลุจุดมุงหมายแลวจึงนําไปสูทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ง 5. อะไรเปนทางเลือกที่มีโอกาสประสบความสําเร็จในอนาคตมากที่สุด มีโอกาสบรรลุจุดมุงหมายขององคการมากที่สุด 6. ควรมีทางเลือกสํารองไว

7. กําหนดแผนสนับสนุน 8. การจัดสรรงบประมาณ คือใหคาตัวเลขของแผนตาง ๆ

ธรรมชาติหรือลักษณะของจุดมุงหมายขององคการ จุดมุงหมายมีประโยชนคือ เพ่ือชี้นํา หรือกําหนดแนวทางในการใชทรัพยากรการบริหารขององคการ ตลอดจนกระตุนความพยายาม (Effort) ผูกําหนดจุดมุงหมายขึ้นกับแบบฉบับหรือวัฒนธรรมขององคการ

Page 21: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 21 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version ระดับของจุดมุงหมาย 1. จุดมุงหมายเชิงกลยุทธ เปน จุดมุงหมายระดับบน (Strategic goal) ถูกกําหนดโดย Top management ผูบริหารระดับสูง เปนเปาหมายที่กําหนดขึ้นมาอยางกวาง ๆ สําหรับผลลัพธโดยรวมขององคการ จุดมุงหมายระดับน้ีจะเปนขอความอยางเปนทางการ ที่จะกลาวถึงสิ่งที่องคการตองการมีประสิทธิผลหรือตองการบรรลุ 2. จุดมุงหมายเชิงกลวิธี เปน จุดมุงหมายระดับกลาง (Tactical goal) จุดมุงหมายระดับน้ีจะกําหนดรวมกนัโดยผูบริหารระดับสูง จะเรียกผูบริหารระดับกลางมากําหนดรวมกันวา ระดับสูงมีนโยบายอยางนี้ ระดับกลางจะมีอยางไร จะมาประสานกัน ทําใหเกิดความสอดคลองตองกัน (Internal consistency) จุดมุงหมายระดับน้ีตองการบรรลุสําหรับหนวยยอยในระดับกลาง ซ่ึงใชเปนพ้ืนฐานในการสนับสนุนความมีสัมฤทธิ์ผลของจุดมุงหมายเชิงกลยุทธ 3. จุดมุงหมายระดับปฏิบัติการ หรือระดับตน (Operational goal) เม่ือมีจุดมุงหมายระดับกลางแลวก็จะเรียกผูบริหารระดับตนมากําหนดจุดมุงหมายระดับน้ีดวยกัน ทําใหเกิดความสอดคลองตองกันในแนวดิ่ง จุดมุงหมายในระดับน้ีมักครอบคลุมผลลัพธในระยะสั้น ชวงเวลาระยะสั้นที่จําเปนตอการสนับสนุนจุดมุงหมายเชิงกลวิธี และจุดมุงหมายเชิงกลยุทธ ลําดับชั้นของจุดมุงหมาย

ดู Organization chart แผนภูมิองคการ (น.36) แสดงถึงลําดับชั้นของจุดมุงหมายขององคการ โดยทั่วไปมีการกลาววาจุดมุงหมายตาง ๆ ที่หลากหลายก็กอตัวเปนลําดับชั้นของจุดมุงหมายในลักษณะที่จุดมุงหมายในระดับที่สูงกวาเปนพ้ืนฐานของจุดมุงหมายในระดับที่ต่ํากวา ในขณะเดียวกันก็กอตัวเปนความสัมพันธของจุดมุงหมายปลายทางกับมรรควิธี หรือ Ends means relationship โดยที่จุดมุงหมายในระดับลางสุดหรือปฏิบัติการเปน means เพ่ือบรรลุถึง ends คือ Tactical goal ในทํานองเดียวกัน Tactical goal ก็กลายเปน means เพ่ือบรรลุถึง end คือ Strategic goal ตัว Strategic goal ก็จะเปน means เพ่ือบรรลุถึง Mission ลักษณะของจุดมุงหมายที่มีประสิทธิผลและจุดมุงหมายควรเอื้อประโยชนตอการทํางาน

Bartol & Martin เสนอองคประกอบหลักตาง ๆ ที่จะเสริมสรางการปฏิบัติงานขององคการไว 3 องคประกอบ คือ

1. เน้ือหาสาระของจุดมุงหมาย เน้ือหาสาระของจุดมุงหมาย (Goal content)ที่มีประสิทธิผลตอการทํางาน คือ

SMART+4C ไดแก 1. Challenging มีลักษณะทาทายเพื่อกระตุนความอยากทํางานของคนในองคการ หรือประเทศ

2. Attainable จุดมุงหมายตองบรรลุได ถาไมไดก็เปนแบบยูโทเปย เปนยาหอมทาง การเมือง

3. Specific and Measurable เฉพาะเจาะจงและวัดได

Page 22: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 22 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version

4. Time – Limited or Time defined มีกรอบเวลา 5. Relevant ตรงกับกรณีไมใชกําหนดขึ้นมาสะเปะสะปะ 6. Consistency มีความสอดคลองตองกันในระดับแนวดิ่ง(สมเหตุสมผล)

7. Coordinating มีการประสานกันไดแนวราบ โดยเฉพาะองคการที่ตัดตั้งแบบมีการ จัดองคการไปตามบทหนาที่

8. Controllable ควบคุมได 2. พันธสัญญา หรือขอผูกมัดตอจุดมุงหมายหรือ Goal commitment มีการกําหนดอํานาจหนาที่ในการตรวจสอบ การติดตาม Supervisor authority 1. มีการสรางแรงกดดันของเพ่ือนรวมงานและกลุมใหแขงขันกัน Peer and group

presssure 2. มี Public display แสดงหรือประกาศวาใครเปนผูรับผิดชอบหรือมีพันธสัญญาตอจุดมุง

หมายนี้ใหรับรูกันในองคการ 3. ผูนําขององคการตองสรางจิตวิทยาใหเกิดความคาดหวังถึงความสําเร็จ Expectation of

success 3. พฤติกรรมในการทํางาน 1. ผูบริหารที่ดีตองกําหนดทิศทางขององคการใหแนนอน (Direction) 2. ตองมีการกระตุนเพ่ือใหใชความพยายาม (Effort) เชน ความขยันขันแข็ง ความอดทน 3. มีความตอเน่ืองและม่ันคง (Persistence)

4. บุคลากรในองคการตองวางแผนในการทํางาน (Planning) ตองจัดลําดับความสําคัญของจุดมุงหมายและทาํใหเกิดความสอดคลองตองกันของจุดมุง

หมายใหได บางครั้งอาจจะตองเอาใครคนหนึ่งหรืออะไรสักอยางหนึ่งเปนตัวตั้ง เพ่ือนําไปสู Benchmark นอกจากนี้ตองใหความสําคัญเรื่องเวลาและสถานที่ และการจะบรรลุจุดมุงหมายไดตองมีความสัมพันธที่เกื้อกูลกันกับบุคคลอื่น 6 ทิศ และตองสรางความสัมพันธกับธรรมชาติทั้งมวลดวย ความเชื่อมโยงของจุดมุงหมายกับแผนในการวางแผนองคการ

จุดมุงหมายที่กําหนดจะไมมีความหมายถาไมมีมรรควิธี (means) แผนและการวางแผนตองมีระดับ ซ่ึงเปนตามระดับของจุดมุงหมาย (น.38 หัวขอ 4.1) มี 3 ระดับ

1. ระดับที่ตอบสนองตอจุดมุงหมายเชิงกลยุทธ เรียก แผนกลยุทธ 2. ระดับที่ตอบสนองตอจุดมุงหมายเชิงกลวิธี เรียก แผนกลวิธี 3. ระดับที่ตอบสนองตอจุดมุงหมายระดับปฏิบัติ เรียก แผนปฏิบัติการ

กรอบเวลาของการวางแผนและจุดมุงหมายของแผน (น.39 หัวขอ 4.2) ระดับที่แตกตางกันของจุดมุงหมายและแผนมีความสําคัญกับกรอบเวลา (น.39) แบงเปน 1. จุดมุงหมายเชิงปฏิบัติการหรือจุดมุงหมายระดับตน ตามหลักวิชาการวางแผนแลวครอบ

คลุมในระยะเวลา 1 ป เรียกวาแผนระยะสั้น Short range plan

Page 23: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 23 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version

2. จุดมุงหมายระดับกลวิธีครอบคลุมเวลา 1-5 ป เรียกวาแผนระยะกลาง 3. จุดมุงหมายเชิงกลยุทธครอบคลุมเวลา 5 ป ขึ้นไป เรียกวาแผนระยะยาว อยางไรก็ตามระยะเวลาในการวางแผนนั้น โดยเฉพาะอยางยิ่งแผนระยะยาว กลาวกันวามี

ระยะเวลามากกวาหาปในอนาคต แตเราตองตระหนักวา กรอบเวลา หรือระยะเวลาของแผนนั้นเปรเปลี่ยนไปตามองคการ ทั้งน้ีขึ้นอยูกับสภาพแวดลอมที่องคการนั้นดํารงอยูหรือปฏิบัติการอยูอยางภายใตสภาพแวดลอมที่มีลักษณะพลวัต ที่มีลักษณะซับซอน ผูบริหารอาจจะไมสามารถวางแผนระยะยาวที่เกินกวาหาปได จะเห็นวาแผนระยะยาวขึ้นอยูกับการกําหนดกรอบเวลาของแผน ผูบริหารขององคการตองจับ Temper of change : จังหวะของการเปลี่ยนแปลงไป เชน ตองดูเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป สภาวะการแขงขัน

ฉะนั้น ผูบริหารอาจจะกําหนดกรอบเวลาแผนกลยุทธที่ต่ํากวาหาป เพราะวาไมเชนน้ัน แผนระยะกลางและระยะสั้นก็ตองไมมีดุลยภาพ ถาปฏิบัติการในสภาพแวดลอมที่งายและมั่นคง แลวทําไมแผนชาติเราจึงเปนแผนหาป อาจเปนเพราะยังเปนแผนระยะกลาง เม่ือมีการประเมินครึ่งแผน (Midterm evaluation) ยังสามารถปรับไดทัน แผนชาติจะเปนระยะยาวไมได เพราะประเทศไทยอยูในสภาพแวดลอมที่มีการแขงขันกันอยางสูง แตไทยเรายังขาดแนวทางหรือแผนกลยุทธในระยะยาว ซ่ึงทําใหเราไมทราบทิศทางที่แนนอน เหมาะสม แผนระดับยุทธศาสตรในระดับจังหวัดวางไว 5 ป จังหวัดที่งายที่ไมซับซอนก็วาง 5 ป เชียงใหม ภูเก็ต ชลบุรีก็ 5 ป ซ่ึงขัดตอหลักการวางแผนกลยุทธ

การแบงประเภทของแผนของ Weihrich & Koontz ยังไมครอบคลุมทั้งหมด นักวิชาการ 2 กลุมคือ Bovee และคณะ กับ Barton & Martin ก็ไดจัดประเภทและระบบของแผนที่คลายคลึงกันโดยเฉพาะอยางยิ่งตั้งบนพื้นฐานของความตองการในการใชแผนเพื่อรองรับสถานการณ สถานการณ

มี 3 ประเภท คือ 1. สถานการณที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวและไมเกิดขึ้นอีก 2. สถานการณที่เกิดขึ้นซํ้า ๆ เปนประจํา 3. สถานการณที่แทบไมเกิดขึ้นเลย Bovee จึงไดแบงแผนตามสถานการณดังน้ี

1. แผนที่ใชรองรับสถานการณที่เกิดขึ้นครั้งเดียวและไมเกิดขึ้นอีก (Single use plan) แผนที่ใชครั้งเดียว ไดแก 1.1 แผนงาน เม่ือกําหนดขึ้นแลวมีการระบุวันเวลาที่แนนอน ระบุทรัพยากรบริหารที่ใชในหวง

เวลานั้นที่แนนอนเม่ือใชแลวจะนําไปใชตอไปไมไดถาไมมีการปรับ 1.2 โครงการ (Project) มีการระบุการลงทุนที่แนนอน 2. แผนประจํา (Standing plan) มี 3 ชนิด ไดแก

2.1 นโยบาย กําหนดขึ้นมาแลวอาจจะใชไดยาวนาน

Page 24: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 24 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version

2.2 กระบวนวิธีการทํางาน เชน กระบวนการสอน 2.3 กฎขอบังคับ กฎหมาย

3. แผนตามสถานการณ เพ่ือรองรับสถานการณที่แทบไมเกิดขึ้นเลย แตคาดวาสถานการณอาจจะเกิด หรือเคยเกิดขึ้นนานแลว และเกรงวาจะเกิดขึ้นอีก เชน สงคราม การปดชายแดน องคประกอบที่ 4 : กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ การแปลงกลยุทธไปสูการปฏิบัติและการควบคุม เชิงกลยุทธ ภาพโดยทั่วไปของการจัดการเชิงกลยุทธ การศึกษาการจัดการเชิงกลยุทธ การจัดการเชิงกลยุทธจึงเปนบทบาทหนาที่ทางการบริหารประการหนึ่งที่จําเปนตองศึกษาและดําเนินบทบาทหนาที่ จึงเปนสวนหนึ่งของวิชานี้ การบริหารกลยุทธแตกตางจากการบริหารประเภทอื่น ๆ อยางไรการบริหารกลยุทธมีความแตกตางกับการบริหารประเภทอื่น ดังน้ี 1. การบริหารเชิงกลยุทธเปนการบริหารที่บูรณาการบทบาทหนาที่ทางการบริหารเฉพาะอยางตาง ๆ เขาดวยกัน 2. การบริหารเชิงกลยุทธมุงสูบรรลุจุดมุงหมายขององคการโดยรวม ในขณะที่บทบาทหนาที่เฉพาะอยางมุงไปสูบทบาทหนาที่เฉพาะหนวยยอยของตน 3. การบริหารเชิงกลยุทธมุงไปสูถึงการบรรลุถึงผลการดําเนินการขององคการในแงมุมของประสิทธิภาพและประสิทธิผล 4. การบริหารเชิงกลยุทธเปนการบริหารที่ครอบคลุมระยะเวลาเชิงทวีภาค (เปนการบริหารระยะยาวที่คลอบคลุมการบริหารระยะกลางและระยะสั้นดวย) 5. การบริหารเชิงกลยุทธตองนําเอาชุดของผูที่สวนไดสวนเสียผูกพันขององคการหรือ Stakeholders เขามาพิจารณาอยางกวางขวาง ฉะนั้น นักบริหารที่จะประสบความสําเร็จจะตองรู เขาใจวา Stakeholders ที่จะเกี่ยวของกับการบริหารมีอะไรบาง นักบริหารประเภทที่ตองการทัศนะภาพเชิงกลยุทธ เม่ือทราบถึงลักษณะหรือคุณลักษณะที่สําคัญของการจัดการเชิงกลยุทธแลววาเปนมีคุณลักษณะ ๓ ประการดังน้ี - การจัดการเชิงบูรณาการ - การจัดการระดับสูง - การจัดการระยะยาว จึงเปนการกําหนดกรอบของนักบริหารที่จะตองมีทัศนะภาพเชิงกลยุทธวาตองเปนนักบริหารระดบัสูง แตถาในองคการนั้นมีการกระจายอํานาจ กระตุนการมีสวนรวมของบุคลากรในองคการ บุคลากรนั้น ๆ ก็ตองมีทัศนะภาพเชิงกลยุทธดวย ดังน้ัน การที่นักบริหารประเภทใดที่ตองการทัศนะภาพเชิงกลยุทธจึงขึ้นอยูกับการบริหารขององคการนั้น ๆ โดยเฉพาะการรวมศูนยอํานาจหรือกระจายอํานาจ

Page 25: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 25 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version ลักษณะและความจําเปนสําหรับการจัดการเชิงกลยุทธ กลยุทธ คือ เทคนิคที่ผูบริหารใชเพ่ือบรรลุจุดมุงหมายขององคการความหมายในเชิงการบริหาร กลยุทธมี 2 ความหมาย

1. กลยุทธในฐานะเปนแผนสําหรับอนาคต 2. กลยุทธในฐานะที่เกิดขึ้นแลว

คํานิยามของการจัดการเชิงกลยุทธ Miller : การจัดการเชิงกลยุทธ คือ กระบวนการของกิจกรรมตาง ๆ ที่มีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธกันอยางนอย 3 กิจกรรมดวยกัน คือ (1) การวิเคราะหกลยุทธ (2) การกําหนดกลยุทธ (3) การนํากลยุทธไปปฏิบัติ Certo & Peter : การจัดการเชิงกลยุทธ คือ กระบวนการที่มีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธกันและมีจุดเริ่มตน มีจุดสิ้นสุด เปนการสรางความสําเหนียกใหเห็นถึงความสําคัญของปจจัยในสภาพแวดลอมขององคการทั้งภายในและภายนอก และจะจัดการกับปจจัยน้ันไดอยางไรจึงจะเหมาะสม กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ

Feedback

Production/operations Finance Marketing Analysis ข้ันตอนที่ 1 ประกอบดวยการวิเคราะหสภาพแวดลอม นักบริหารที่จะประสบความสําเร็จจะตองมีทักษะในการวิเคราะหสภาพแวดลอมทั้งภายนอกและภายใน ตองมีกรอบแนวคิด ตองทบทวนอยางเปนกระบวนการ โดยเฉพาะจุดมุงหมายขององคการ เพราะจุดมุงหมายขององคการจะเปนตัวกําหนดถึงความอยูรอดขององคการ และเปนตัวหนดวาปจจัยในสภาพแวดลอมภายนอกองคการอะไรที่องคการพึงเอาใจใสอยางยิ่ง ข้ันตอนที่ 2 ตองกําหนดทิศทางขององคการ หรือกําหนดลําดับชั้นของเจตนจํานงเชิงกลยุทธ ข้ันตอนที่ 3 การกําหนดกลยุทธ ข้ันตอนที่ 4 การแปลงกลยุทธไปสูการปฏิบัติ ข้ันตอนที่ 5 การควบคุมเชิงกลยุทธ หมายเหตุ ขั้นตอนที่ 1-3 เปนขั้นตอนเกี่ยวกับการคิด Thinking

ขั้นตอนที่ 4-5 เปนขั้นตอนเกี่ยวกับการทํา Doing

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 2

Page 26: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 26 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version การแปลงกลยุทธไปสูการปฏิบัต ิ ผลลัพธ 4 ประการของความสัมพันธระหวางการกําหนดกลยุทธและการนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติ 1. success คิดดีทําดี รอยกลยุทธสําเร็จ หมายความวาผูบริหารใหความเอาใจใสในการกําหนดกลยุทธ การใหมีสวนรวม เกิดแรงจูงใจใหเกิดความสําเร็จ 2. roulette คิดเลวทําดี รอยกลยุทธเสี่ยงตอความสําเร็จ และความลมเหลวเทา ๆ กัน หมายความวา ผูบริหารมีฐานคติในการกําหนดกลยุทธเอง แตใหความเอาใจใสในการพัฒนาองคการ และคิดวากลยุทธที่คิดไวดีแลว ขาดการไตรตรอง 3. trouble คิดทําเลว รอยกลยุทธยุงเหยิง หรือรอยกลยุทธเดือดรอน หมายความวา ผูบริหารกําหนดกลยุทธมาใหผูปฏิบัติรับไดดําเนินการปฏิบัติตามแตมิไดใหความใสใจตอการทํา ผูปฏิบัติขาดแรงจูงใจที่จะทําใหกลยุทธน้ันประสบความสําเร็จเพราะไมมีสวนรวมในการกําหนดกลยุทธ 4. failure คิดเลวทําเลว รอยกลยุทธลมเหลว หมายความวา ผูบริหารนําเอาสิ่งที่ไมเหมาะสมมากําหนด และไมเอาใจใสในการนําไปปฏิบัติ ตัวแบบหาขั้นตอนของกระบวนการแปลงกลยุทธไปสูการปฏิบัติ Five Stage Model Strategy Implementation Process ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะหระดับการเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะหโครงสรางองคการ การวิเคราะหวัฒนธรรมองคการ ขั้นตอนที่ 4 การเลือกแนวทางในการปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 5 การนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติและการประเมินผล วิเคราะหการเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ มี 5 ระดับดังน้ี 1. การเปลี่ยนแปลงกลยุทธแบบตอเน่ืองหรือใชซํ้ากลยุทธที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ เพราะเปนการนําเอากลยุทธที่วางแผนมาแลวในขั้นตอนเดิมที่ผานมา นํามาใชใหม หรือเรียกวา การนํามาเพิ่มสวน 2. การเปลี่ยนแปลงกลยุทธแบบกิจวัตร

Page 27: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 27 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version กลยุทธที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ นอกจากการสรางภาพลักษณเพ่ือใชดึงดูดใจลูกคาหรือผูใชบริการ เชน มีการเปลี่ยนแปลงวิธีการโฆษณา เทคนิคการหีบหอ เปลี่ยนผูแทนการจัดจําหนายใหม 3. การเปลี่ยนแปลงกลยุทธแบบมีขอบเขต กลยุทธที่การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเสนอสินคาหรือบริการใหม แตเปนสินคาที่อยูในประเภทเดิม โดยอาศัยการสรางภาพลักษณทางการตลาด และยังคงยึดครองตลาดเชนเดิม เชนผลิตภัณฑเครื่องสําอาง ออกแบบผลิตภัณฑใหมที่ตอเน่ืองกัน 4.การเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธแบบเขมขน หรือแบบอนุมูล กลยุทธที่เกิดขึ้นจากการที่มีการจัดหรือเปลี่ยนแปลงโครงสรางองคการใหม แตเปนการเปลี่ยนแปลงในลักษณะที่จัดกลุมหรืออุตสาหกรรมที่มาจากประเภทเดียวกัน เชน ธนาคาร การเทคโอเวอรธนาคารมารวมกัน 5. การเปลี่ยนแปลงทิศทางขององคการ กลยุทธที่เปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงองคการ ลักษณะเดียวกับการรวมองคการ การเทคโอเวอร แตเปนการรวมกจิการที่ตางประเภทกัน และอีกลักษณะหนึ่งคือการละทิ้งกิจการเดิมไปดําเนินการกิจการใหม การวิเคราะหโครงสรางองคการ เพ่ือทําความเขาใจวาโครงสรางองคการเปนอุปสรรคหรือเปนสิ่งสงเสริมตอการนํากลยุทธไปปฏิบัติ ตามทฤษฎีมีการแบงโครงสรางองคการตามขั้นพ้ืนฐาน ออกเปน 2 หลัก คือ 1. โครงสรางองคการแบบรูปนัย (Formal Organizational Structure) เปนองคการที่สะทอนถึงความสัมพันธของทรัพยากรการบริหารที่ถูกกําหนดโดยฝายบริหารขององคการ โดยโครงการองคการสะทอนจากผังภูมิหรือผังโครงสรางองคการ 2. โครงการองคการแบบอรูปนัย (Informal Organizational Structure) เปนองคการที่สะทอนความสัมพันธทางสังคมที่ตั้งอยูบนพ้ืนฐาน มิตรภาพและผลประโยชนรวมของสมาชิกขององคการ โครงสรางองคการไมเปนไปตามผังภูมิหรือโครงสรางองคการแตจะสะทอนถึงแบบแผนของการสื่อสาร ในการนํากลยุทธไปปฏิบัติ ผูบริหารจะตองนําโครงสรางองคการทั้งสองประเภทไปพิจารณา ดวยเหตุผล 3 ประการ ดังน้ี 1. โครงสรางองคการที่ดํารงอยูน้ันจะสงเสริมหรือเปนอุปสรรคตอกันดังกลยุทธไปปฏิบัติใหประสบความสําเร็จ 2. ผูบริหารในระดับใดในองคการที่จะตองรับผิดชอบตอภารกิจในการนําไปปฏิบตัิ โดยตองดูที่การเปลี่ยนแปลงของกลยุทธ เชน การเปลี่ยนแปลงกลยุทธในระดับ กลยุทธแบบตอเน่ืองหรือใชซํ้า ,กลยุทธแบบกิจวัตร และกลยุทธแบบมีขอบเขต เปนหนาที่ของผูบริหารระดับกลางและระดับตน สวนกลยุทธแบบเขมขนและการเปลี่ยนแปลงทิศทางองคการ เปนหนาที่ของผูบริหารระดับสูง

Page 28: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 28 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version 3. ผูบริหารที่จะประสบความสําเร็จ ตองนําโครงสรางองคการแบบอรูปนัยเขามาเอื้ออํานวยความสะดวกตอการนํากลยุทธไปปฏิบัติใหประสบความสําเร็จ โครงสรางองคการแบบรูปนัย Formal Organizational Structure มี 5 ประเภท การศึกษาองคการทั้ง 5 ประเภทนั้น เพ่ือดูถึงขอไดเปรียบและขอเสียเปรียบตอการนํากลยุทธไปปฏิบัติ และโครงสรางองคการแตละประเภทจะเหมาะสมกับแตละประเภทใดและขนาดใดขององคการ ดังน้ี 1. Simple Organizational Structure โครงสรางองคการแบบงาย แสดงถึงความสัมพันธของลําดับชั้น 2 ลําดับ คือเจาของและลูกจาง ขอไดเปรียบคือ (1) เปดโอกาสใหมีการกําหนดกลยุทธและการนํากลยุทธไปปฏิบัติเปนไปอยางรวดเร็วและยืดหยุน (2) เหมาะสมกับองคการขนาดเล็ก ขอเสีย คือ (1) ความสําเร็จของการกําหนดกลยุทธและการนํากลยุทธไปปฏิบัติขึ้นอยูกับบุคคลเพียงคนเดียว (2) และมักจะไมอยูรอดในระยะยาว 2. Functional Organizational Structure โครงสรางองคการแบบบทบาทหนาที่ มีการแบงหนวยยอยในแนวราบใหเปนไปตามหนาที่ หนวยยอยหนึ่งก็ทําหนาที่หน่ึง ขอไดเปรียบ คือ บุคลากรในแตหนวยมีโอกาสที่จะพัฒนาความชํานาญเฉพาะอยาง ไดมีการเรียนรู จากการสาธิต ขอเสีย คือ ปญหาของการประสานงานระหวางหนวยยอยตาง ๆ ที่อยูในระนาบเดียวกัน เพราะแตละหนวยตางก็มีจุดมุงหมายเฉพาะในตัว ถาผูบริหารองคการบริหารไมเปนก็จะเกิดสถานการณการขาดการประสานงาน ซ่ึงถือวาจะไมประสบความสําเร็จในการนํากลยุทธไปปฏิบัติ 3. Division Organizational Structure โครงสรางองคการแบบหนวย หรือแบบโครงการ มีการแบงออกเปนหนวย โครงการตาง ๆ จะมีบุคลากรที่มีความชํานาญครบครันตามความจําเปน ขอไดเปรียบ คือ สามารถกําหนดกลยุทธและการนํากลยุทธไปปฏิบัติไดอยางรวดเร็ว มีความสําเร็จคอนขางสูงเพราะหนวยตาง ๆ มีความใกลชิดกับโอกาสและปญหาเชิงกลยุทธ ขอเสีย คือ หนวยตาง ๆ ที่แตกตางกันจะมีการแยงกันใชทรัพยากรการบริหาร ถาแบงสรรทรัพยากรไมลงตัว ผลลัพธที่จะเกิดคือความขัดแยง หากผูบริหารไมรูวิธีการแกไขปญหาความขัดแยงแลว องคการก็จะอยูไมรอด 4. Strategic Business Unit Structure = SBU โครงสรางองคการหนวยธุรกิจเชิงกลยุทธ โครงสรางองคการแบบ Divison ขยายมากขึ้น จึงเพ่ิมลําดับชั้นการบังคับบัญชา แยกสวนใหดูแล เชน ผูอํานวยการฝายภาค….(แบงตามพื้นที่)

Page 29: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 29 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version ขอไดเปรียบ คือ ภายใตการกําหนดดูแลของแตละผูอํานวยการฝายหรือแตละหนวยผลิตจะมีความคลองตัว ขอเสีย คือ การเพิ่มชั้นขององคการอาจจะทําใหการตัดสินใจลาชา การบริหารงานไมคลองตัว ถาไมมีการมอบอํานาจในการตัดสินใจจัดการและแกไขปญหา 5. Matrix Organizational Structure โครงสรางองคการแบบตารางสัมพันธ คือการนําเอาโครงสรางองคการแบบบทบาทหนาที่ Functional และ SBU และ Division มาบูรณาการเขาดวยกัน โดยที่การจัดแบงในแนวราบก็เปนไปตามบทบาทหนาที่ การจัดในแนวดิ่งก็เปนแบบ Division ขอไดเปรียบ คือ ทุก Division มีโอกาสใชบุคลากรที่มีทักษะ ขอเสีย คือ มีความสับสนของบคุลากรที่อยู ณ จุดตัดวาตองรับผิดชอบสวนใด ตองรายงานผลตอใครอํานาจการตัดสินใจควรจะเปนใคร ควรกําหนดบทบาทและความรับผิดชอบ และอํานาจการพิจารณาตัดสินใจใหชัดเจน วิเคราะหวัฒนธรรมองคการ วัฒนธรรมองคการ คือ ชุดของคานิยมและความเชื่อรวมที่มีอิทธิพลตอประสิทธิผลของการคิดและการทํา อ.กฤช มองวา วัฒนธรรมองคการ คือแบบแผนของการดําเนินชีวิตในองคการมีอิทธิพลตอประสิทธิผลของการกําหนดกลยุทธและการนํากลยุทธไปปฏิบัติ โดยสงผลอิทธิพลตอพฤติกรรมของบุคลากรขององคการและหวังวาจะสรางแรงจูงใจใหกับบุคลากรขององคการในการดําเนินการเพื่อบรรลุถึงจุดมุงหมายขององคการ Certo & Peter ไดแบงวัฒนธรรมองคการ ออกเปน 2 กลุม ดังน้ี 1. กลไกการพัฒนาวัฒนธรรมองคการแบบปฐมภูมิ ประกอบดวยกลไก 5 ประการดวยกันคือ 1.1 ผูนําขององคการใหความสนใจในการวัดและการควบคุมอยางไร 1.2 ปฏิกริยาของผูนําที่มีตอเหตุการณหรือวิกฤติการณขององคการเปนเชนไร 1.3 การดําเนินบทบาทในฐานะเปนตัวแบบอยางจงใจโดยวิธีการสอน การอบรม 1.4 เกณฑวัดในการจัดสรรรางวัลตอบแทน และสงเสริมสถานภาพ 1.5 เกณฑวัดในการรับสมัคร การคัดเลือก ในการสงเสริม และการออกจากงานของบุคลากรในองคการ 2. กลไกการพัฒนาวัฒนธรรมองคการแบบทุติยภูมิ ประกอบดวยกลไก 5 ประการ คือ 2.1 การออกแบบและโครงสรางองคการแบบไหน ซ่ึงสะทอนถึงความสัมพันธของวัฒนธรรมที่แตกตางกัน 2.2 ระบบองคการและกระบวนการทํางานมีกระบวนวิธีการทํางานอยางไร 2.3 การออกแบบรูปรางหนาตาของอาคาร พ้ืนที่ใชสอยทางกายภาพ เปนพ้ืนฐานในการกอตัวของพฤติกรรมมนุษยในองคการ 2.4 เรื่องเลา ตํานานเหตุการณที่สําคัญ และบุคคลสําคัญผูบุกเบิกขององคการ

Page 30: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 30 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version 2.5 ขอความที่เปนทางการเกี่ยวกับปรัชญาขององคการ ที่ตีพิมพเผยแพร เพ่ือใหบุคลากรขององคการไดรับการปลูกฝงแนวคิด การเลือกแนวทางนําไปปฏิบัติ เปนการแสดงถึงความสัมพันธของการกําหนดกลยุทธและการนํากลยุทธไปปฏิบัติ โดยแนวทางในการปฏิบัติจะมีอยู 5 C คือ 1. Commander Approach แนวทางแบบผูบัญชาการ แนวทางนี้สามารถกลาวถึงสาระสําคัญโดยสามัญไดวา “ ผูคิดไมไดทํา ผูทําไมไดคิด” มีความหมายวาผูบริหารสูงสดุขององคการใหความสนใจไปในการกําหนดกลยุทธ ไมมีการกระจายอํานาจ หรืออาจจะกํากับทีมงานกลยุทธ หรือวาจางบริษัทที่ปรึกษา หลังจากที่กําหนดกลยุทธเสร็จแลวผูบริหารจะสงมอบใหผูใตบังคับบัญชานําไปปฏิบัติ และไมใหความเอาใจใส ในกรณีน้ีตรงกับ คิดดีทําเลว รอยกลยุทธยุงเหยิง (Trouble) ขอไดเปรียบ คือ แนวทางนี้อาจจะไดรับกลยุทธที่ดี เพราะผูบริหารที่มีลักษณะเผด็จการมักจะเปนผูบริหารที่มีวิสัยทัศน หรือการยอมวาจางบริษัทที่ปรึกษาทําใหไดวิสัยทัศนที่ดี ขอเสียเปรียบ คือ เปนแนวทางที่ลดแรงจูงใจในการทํางาน เพราะบุคลากรขององคการจะมีความรูสึกถึงความไมมีสวนรวมในการกําหนดกลยุทธ ทั้งที่อยูใกลชิดกับกลยุทธและรูถึงปญหาของกลยุทธนั้น

2. Change Approach แนวทางการเปลี่ยนแปลง หรือเรียกวาแนวทางการเปลี่ยนแปลงโอกาส แนวทางนี้สามารถทําความเขาใจถึงสาระสําคัญโดยสามัญวา “ผูคิดใหความสนใจในการทําที่มีประสิทธิผล” หมายความวา องคการหรือผูบริหารที่จะใชแนวทางนี้น้ันมักจะเปนผูคิดสนใจการทําที่มีประสิทธิผล ผูบริหารใหความสนใจวาจะทําอยางไร ถึงจะทําใหองคการนํากลยุทธไปฏิบัติใหประสบความสําเร็จและภายใตแนวทางนี้ผูบริหารจะกําหนดกลยุทธเอง โดยมีฐานคติแบบเขาขางตัวเอง โดยมองดูภารกิจของตนเองในการเปลี่ยนแปลงโครงสรางและจะนําเทคนิคพฤติกรรมศาสตร การกระตุนจิตสํานึก ปรับปรุงวิธีการวางแผนและควบคุมใหม และใชเทคนิคในการกระตุนการเปลี่ยนแปลงองคการ บทบาทของผูบริหารที่มีลักษณะนี้คือการออกแบบระบบการบริหารสําหรับการนํากลยุทธนําไปปฏิบัติใหมีประสิทธิผล ขอไดเปรียบ คือ เครื่องมือเชิงพฤติกรรมศาสตรที่มีอํานาจอาจทําใหประสิทธิผลไดมากกวา Commander ขอเสียเปรียบ คือ - ไมทันสมัย เพราะผูบริหารสนใจแตการนําไปปฏิบัติ - ใชในองคการขนาดเล็ก - การกําหนดกลยุทธเปนแบบรวมศูนยอํานาจ Top-down คือผูบริหารคิดเองและสงมอบหรือมอบหมายใหผูใตบัญชานําไปปฏิบัติ - เกิดการขาดแรงจูงใจในการทําใหกลยุทธประสบความสําเร็จ 3. Collaborative Approach แนวทางนี้สามารถกลาวสาระสําคัญโดยสามัญไดวา “ผูคิดเปนผูประสานงานในการระดมการคิดและการทํา จากทีมผูคิดดวยกัน ” ภายใตการทํางานแบบนี้เปนการทํางานแบบรวมมือกันของฝายบริหารระดับสูง ผูบริหารที่มีหนาที่กําหนดกลยุทธก็จะระดมผูบริหารในการกําหนด

Page 31: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 31 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version กลยุทธและการนํากลยุทธไปปฏิบัติ ดังน้ัน การระดมสมองจะถูกกระตุนใหแสดงความคิด หรือแสดงภูมิปญญา บทบาทของผูบริหารก็เปนการประสานงานคือ เปนผูประสานงานในการใชความเขาใจในพลวัตรของกลุม เพ่ือใหม่ันใจวาความคิดนั้น ๆ ไดถูกนํามาตรวจสอบ สํารวจ แนวทางนี้เปนแนวทางที่สามารถขจัดขอจํากัดหลัก ๆ 2 ประการที่เกิดขึ้นมาจาก Commander และ Change ขอไดเปรียบ คือ - ผูบริหารสามารถนําขอมูลขาวสารจากผูบริหารระดับสูงที่ใกลชิดกับการปฏิบัติ มีการเปดเวทีสําหรับการแสดงออก จะทําใหขอมูลขาวสารในการกําหนดกลยุทธน้ันมีคุณภาพและมีความทันสมัย ทันตอเหตุการณ - ระดับของการมีสวนรวมเปนการเพิ่มพูนพันธะสัญญาหรือขอผูกมัดที่มีตอกลยุทธ ดังน้ันจึงตองเพ่ิมโอกาสในหารทําใหมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ขอเสียเปรียบ คือ - กลยุทธที่กําหนดขึ้นมาอาจจะไมดีก็ได เพราะเปนกลยุทธที่เกิดขึ้นมาจากการเจรจาตอรองระหวางผูบริหารที่มีทัศนตางกัน จุดมุงหมายและผลประโยชนตางกัน อาจจะมีวิสัยทัศนที่นอยกวา Commander อาจจะมีวิสัยทัศนอนุรักษนิยม - เกิดการเลมเกมส การสรางอาณาจักร การตอรอง - กลยุทธอาจจะเอนเอียงไปทางผูบริหารฝายใด ฝายหนึ่ง ทําใหกลยุทธน้ันไมเปนกลยุทธที่สะทอนถึงผลประโยชนขององคการทั้งมวล - กระบวนการเจรจาตอรองสิ้นเปลืองเวลา ใชเวลามาก อาจจะทําใหองคการเสียโอกาสที่จะมีปฏิสัมพันธใหทันทวงทีกับสภาพแวดลอมที่กําลังเปลี่ยนแปลงไป - แนวทางนี้ยังเปนแนวทางที่ยังอนุรักษหรือธํารงไวซ่ึงกําแพงขวางกั้นระหวางผูคิด และผูทํา - แตถาแนวทางนี้นํามาใชอยางถูกตองเหมาะสม จะกอใหเกิดพันธะสัญญา 4. Cultural Approach แนวทางแบบวัฒนธรรม ภายใตแนวทางนี้เปนการขยายแนวทาง collaborative เปนการนําเอาระดับลางขององคการเขามามีสวนรวม แนวทางนี้สามารถกลาวโดยสามัญไดวา “ผูคิดใหผูทําในระดับลาง กําหนดการทําในกรอบวิสัยทัศนของผูคิด” ภายใตแนวทางนี้ผูคิดจะชี้นําบงการโดยการสื่อสารวิสัยทัศนของตนใหครอบคลุมการสรางจุดมุงหมายสูงสุดขององคการ คือ vision ฉะนั้นผูบริหารก็จะเปดโอกาสใหบุคลากรตาง ๆ ในระลับลางออกแบบกิจกรรมงานของตนใหสอดคลองกับ vision ดังกลาว ผูบริหารดําเนินการเหมือนผูใหการฝกอบรม หรือ โคช เครื่องมือที่ใชในการนํากลยุทธไปปฏิบัติก็คือการสรางวัฒนธรรมองคการใหเขมแข็ง เชน แตงเพลงขององคการ , การใสเสื้อขององคการ ขอไดเปรียบ คือ - แนวทางแบบวัฒนธรรมกลาววาเปนแนวทางที่ทําลายแนวทางที่ขวางกั้นระหวางผูคิดและผูทําเพราะสมาชิกแตละบุคลากรสามารถเขามามีสวนรวมในการกําหนดกลยุทธและการนํากลยุทธไปปฏิบัติ - แนวทางนี้จะเปนการเพิ่มพูนพันธะสัญญาขององคการและแรงจูงใจในการทํากลยุทธใหประสบความสําเร็จมีสูง

Page 32: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 32 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version - แนวทางนี้จะทํางานไดดีในองคการที่มีทรัพยากร มีเงินเพียงพอ ที่จะรองรับตนทุนในการสรางและธํารงไวซ่ึงระบบคานิยมที่สนับสนุน - เหมาะสําหรับองคการที่มีการเติบโตสูงและใชเทคโนโลยีสูง ขอเสียเปรียบ คือ - แนวทางนี้จะทํางานไดดีก็ตอเม่ือองคการนั้นประกอบดวยบุคลากรที่มีความเฉลียวฉลาด - ใชเวลานานสําหรับการสรางวัฒนธรรม - กอใหความรูสึกที่เขมขนของเอกลักษณขององคการ จนกลายเปนจุดออนหรืออุปสรรคเมื่อสภาพแวดลอมเปลี่ยนแปลงไป 5. Crescive Approach แนวทางนี้สามารถกลาวโดยสามัญไดวา “ผูคิดสนับสนุนผูทําในการคิดและการทําพรอมกัน” ภายใตแนวทางนี้ ผูบริหารขององคการจะทําและคิดพรอมกัน แตผูบริหารไมไดดําเนินบทบาทนี้เอง แตจะสงเสริมผูใตบังคับบัญชาในการพัฒนา ในการคิดและการทําดวยตนเอง แนวทางนี้จึงมีความแตกตางกับแนวทางอื่น ๆ ตรงที่วา 5.1 โดยปกติกลยุทธจะถูกสงมอบจากสวนบนลงสูเบื้องลาง แตแนวทางนี้กลยุทธถูกสงจากเบื้องลางสูสวนบน แสดงถึงมีการกระจายอํานาจคอนขางสูง 5.2 กลยุทธกลายเปนผลรวมของขอเสนอสวนบุคคลของผูทํางานตลอดป กลยุทธจึงทันสมัยทันตอเหตุการณ เพราะมีการปรับเปลี่ยนไปตามสภาพของปญหาและโอกาสทางเชิงกลยุทธ 5.3 ผูบริหารขององคการเปนผูกําหนดฐานคติของบุคลากร 5.4 ผูบริหารเปนผูตัดสิน วินิจฉัยขอเสนอของบุคลากรวาสอดคลองกับวิสัยทัศน ตองปรับเปลี่ยนอยางไร ขอไดเปรียบ คือ - สงเสริมใหผูบริหารระดับกลางและลางในการกําหนดกลยุทธที่มีประสิทธิผลของตนเองและมีโอกาสที่จะนํากลยุทธไปปฏิบัติดวยแผนของตนเอง อํานาจอิสระ Autonomy ที่เกิดขึ้นจะเพ่ิมแรงจูงใจใหการนํากลยุทธไปปฏิบัติใหประสบผลสําเร็จยิ่งขึ้น - กลยุทธที่กําหนดขึ้นมาในลักษณะนี้ทําใหใกลชิดกับโอกาสและปญหาเชิงกลยุทธ ทําใหกลยุทธดี สามารถนําไปใชไดเหมาะสมเหตุการณและลมเหลวยาก ขอเสียเปรียบ คือ - ตองมีเงินทุนเพียงพอที่จะสงเสริมใหคนในองคการพัฒนานําความคิดดี ๆ ออกมา - ตองมีความอดทน สําหรับองคการที่มีระบบการรวมศูนยอํานาจเมื่อตองมาเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม ตองมีการปรับตัว - เปนองคการที่ทําไดยาก และมีการลงทุนสูงและใชระยะเวลานาน - เหมาะสมกับองคการที่มีความซับซอน และดํารงอยูในอุตสาหกรรมที่มีม่ันคง การนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติและการประเมินผลลัพธ คือการควบคุมเชิงกลยุทธ

Page 33: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 33 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version ทักษะการบริหารที่สําคัญตอการนํากลยุทธไปปฏิบัติอยางมีสัมฤทธิ์ผล 4 ประการ

Bonoma ไดเสนอทักษะไวดังน้ี Interacting Allocating Monitoring Background + Oranizing + Leadership = Quality Practice

ตองดูภูมิหลัง background เชน ภูมิหลังการศึกษา ครอบครัว และทักษะตาง ๆ ทักษะ ในที่น้ีหมายความวา ความสามารถในการคาดการณผลลัพธที่พึงจะเกิดขึ้นในอนาคตโดยรวมกับการใชภาวะผูนํา เชน ทักษะการบริหาร ทักษะการปฏิสัมพันธกับผูอ่ืน ทักษะในการมีมนุษยสัมพันธทักษะในการจัดสรรทรัพยากรในการบริหาร ที่สําคัญคือความพยายาม และเวลา (effort & time) ที่เปนทรัพยากรที่สําคัญยิ่ง ทักษะในการจัดองคการ ทักษะในการตัดสินใจ ทักษะในการใชขอมูลขาวสารใหเปนประโยชน และยังตองมีทักษะในการพยากรณ การควบคุมกลยุทธ การควบคุมองคการและการควบคุมกลยุทธ Certo & Peter ใหความหมายครอบคลุมวา การทําบางสิ่งบางอยางใหเกิดขึ้นไปตามที่ไดวางแผนไว กิจกรรมตาง ๆ ที่วาดวยการตรวจสอบ การประเมินผล และการปรับปรุง หรือการแกไขเทาที่จําเปน ความหมายของการควบคุมโดยทั่วไป : นักบริหารจะตองมีความเขาใจอยางชัดเจนถึงผลลัพธที่พึงจะเกิดขึ้นจากการดําเนินงานตามจุดมุงหมายที่กําหนดขึ้นมา และเพื่อใหม่ันใจวาแผนกลายเปนความจริงขึ้นมาได ความหมายของการควบคุมกลยุทธ : เปนการควบคุมที่มีลักษณะพิเศษประเภทหนึ่งของการควบคุมองคการซึ่งมีจุดเนนที่การติดตาม การประเมินผล กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธเพ่ือใหม่ันใจวากระบวนการนี้ดําเนินไปอยางเหมาะสม และบังเกิดเปนรูปธรรมที่ชัดเจน จุดมุงหมายพื้นฐานของการควบคุมเชิงกลยุทธ คือการชวยใหผูบริหารบรรลุจุดมุงหมายขององคการโดยอาศัยการติดตาม การประเมินผล และการแกไขหรือปรับปรุงกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ ตัวแบบของกระบวนการควบคุมกลยุทธ ตัวแบบโดยทั่วไป (A General Model) การควบคุมเริ่มตน ณ จุดที่มีการวัดผลการดําเนินงานขององคการ เม่ือวัดแลวใหดําเนินการเปรียบเทียบผลการวัดกับมาตรฐานหรือกับตัวตั้งหรือ Benchmark ณ จุดนี้จะเปนจุดที่แสดงใหเห็นถึงจุดเชื่อมโยงระหวางการวางแผนกับการควบคุม หรือระหวางการคิดและการทํา ผลการวัดสามารถกอใหเกิดผลลัพธหรือขอสรุป 2 ประการหลักดังน้ี (1) ผลการดําเนินงานตรงกับมาตรฐาน หรือตรงกับตัวตั้ง (เอาผลการดําเนินงานขององคการอื่นที่ดําเนินธุรกิจประเภทเดียวกันเปนตัวตั้งเพ่ือเปนคูแขง) ถาผลการดําเนินงานตรงกับเกณฑมาตรฐานหรือตัวตั้งก็ดําเนินกิจการตอไป (2) ผลการวัดเบี่ยงเบนออกไปจากมาตรฐานหรือตัวตั้ง การเบี่ยงเบนในที่น้ี มีได 2 รูปแบบ คือ

Page 34: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 34 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version - เกินกวามาตรฐาน หากเกินกวามาตรฐาน ตองปอนกลับเขามาพิจารณาใหมกวาเหตุใดจึงเกินกวามาตรฐานที่กําหนดไวต่ําไปหรือไม ถาไมต่ํากวาตองมีการตรวจสอบปจจัยอ่ืน อาจจะเปนการดําเนินการตามแผน แรงจูงใจมีสวนกระตุนใหทํามากขึ้นหรือไม - ต่ํากวามาตรฐาน แตถาหากต่ํากวามาตรฐานตองนํากลับมาตรวจสอบวากําหนดมาตรฐานสูงเกินไปหรือไม กระบวนการควบคุมกลยุทธ ประกอบดวยขั้นตอนดังน้ี ขั้นตอนที่ 1 วัดผลการดําเนินงานขององคการ 1. The Strategic audit : การตรวจสอบเชิงกลยุทธ แบงไดเปน 3 ระยะ ระยะที่ 1 Diagnosis การทําการวินิจฉัยปญหา ระยะที่ 2 Focused analysis การวิเคราะหอยางมีกรอบ มีจุดเนน ระยะที่ 3 Recommendation การใหขอเสนอแนะ 2. Strategic audit measurement methods : การวัดการตรวจสอบเชิงกลยุทธ แบงเปน 2 วิธี ดังน้ี - การวัดองคการเชิงคุณภาพ โดยอาศัยขอมูลที่เปนอัตวิสัย คือ ขอวินิจฉัยของมนุษย เชน การสืบคนจากคําถาม แนวคําถาม แบบสอบถาม แลวนํามาประมวลผล หรือการสังเกตการณ (สังเกตแบบมีสวนรวมและไมมีสวนรวม) - การวัดองคการเชิงปริมาณ โดยอาศัยขอมูลที่เปนตัวเลข จะวัดไดก็ตอเม่ือในขั้นตอนของการวางแผนไดสรางคามาตรฐานเปนตัวเลข เชน การวิเคราะหโครงการ หรือหาคา ROI (ผลตอบแทนจากการลงทุน) ขั้นตอนที่ 2 เปรียบเทียบผลการดําเนินงานขององคการกับจุดมุงหมาย และมาตรฐานตาง ๆ มาตรฐาน 8 ประการที่องคการเลือกใช ดังน้ี 1. มาตรฐานในการสรางผลกําไร 2. มาตรฐานในการสรางผลิตภาพ เชน ตนทุนคาแรงงานสามารถสรางมูลคาเพิ่มของงานเทาไร 3. มาตรฐานที่วาดวยตําแหนงทางการตลาด เชน สวนแบงตลาดเทาไร 4. ผูนําทางดานผลิตภัณฑ 5. มาตรฐานวาดวยการพัฒนาบุคลากร วัดโดยเชิงปริมาณ จากจํานวนงบประมาณที่ใชในการพัฒนาบุคลากร 6. ทัศนคติของบุคลากร 7. ความรับผิดชอบตอสาธารณะโดยดูจากการจัดสรรงบประมาณคืนตอบตอกิจกรรมสังคม 8. มาตรฐานที่สะทอนถึงความมีดุลยภาพระหวางจุดมุงหมายในระยะสั้นและระยะยาว

Page 35: วิชา รศ.640 นโยบายสาธารณะ¸£ศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจ ดการเช

รศ.640 นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ : ศ.ดร.กฤษ เพิ่มทันจิตต หนา 35 MPA21BK Learning Aid Team Summary Version ขั้นตอนที่ 3 ดําเนินการแกไขที่จําเปนจากผลการเปรียบเทียบ โดย 1. สอดคลองกับมาตรฐาน 2. ต่ํากวามาตรฐาน 3. สูงกวามาตรฐาน การบริหารระดับสูงและการควบคุมกลยุทธ ผูบริหารระดับสูงตองใหความเอาใจใสตอการ ควบคุมเชิงกลยุทธ เพราะการควบคุมน้ันจะทําใหการบริหารเชิงกลยุทธทั้งกระบวนการประสบความสําเร็จหรือไม ขึ้นอยูกับ 1. ขอผูกมัดของผูบริหารระดับสูง 2. การจัดสรรทรัพยากรการบริหาร 3. วิธีการควบคุม ที่จะนําไปสูการเปนกลไกการกอตัวของวฒันธรรมองคการ