214
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 ชั้นมัธยมศึกษาปที4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ออกแบบการเรียนรูโดยใชมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดชวงชั้นเปนเปาหมาย ออกแบบการจัดการเรียนรูโดยเนนนักเรียนเปนศูนยกลาง ใชแนวคิด Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรูตาง ๆ อยางหลากหลาย ออกแบบการเรียนรูเพื่อพัฒนาสมรรถนะสําคัญของนักเรียนในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชทักษะชีวิต และการใชเทคโนโลยี แบงแผนการจัดการเรียนรูเปนรายชั่วโมง สะดวกในการใช มีองคประกอบครบถวนตามแนวทางการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูของสถานศึกษา นําไปพัฒนาเปนผลงานทางวิชาการเพื่อเลื่อนวิทยฐานะได

2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4

ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 4

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

• ออกแบบการเรียนรูโดยใชมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัดชวงช้ันเปนเปาหมาย

• ออกแบบการจัดการเรียนรูโดยเนนนักเรียนเปนศูนยกลาง

• ใชแนวคิด Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรูตาง ๆ อยางหลากหลาย

• ออกแบบการเรียนรูเพ่ือพัฒนาสมรรถนะสําคัญของนักเรียนในการส่ือสาร การคิด

การแกปญหา การใชทักษะชีวิต และการใชเทคโนโลยี

• แบงแผนการจัดการเรียนรูเปนรายช่ัวโมง สะดวกในการใช

• มีองคประกอบครบถวนตามแนวทางการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูของสถานศึกษา

• นําไปพัฒนาเปนผลงานทางวิชาการเพ่ือเล่ือนวิทยฐานะได

Page 2: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4

ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 4

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผูเรียบเรียง

ผศ. ดร.อํานวย เดชชัยศรี กศ.บ., ศษ.ม., กศ.ด.

ณัฐกานต ภาคพรต ศษ.บ. (เกียรตินิยม), ศษ.ม.

คณะบรรณาธิการ

สุระ ดามาพงษ กศ.บ., กศ.ม.

อรุณี ลิมศิริ กศ.บ., กศ.ม.

ISBN xxx-xxx-xx-xxxx-x

พิมพที่ บริษัท โรงพิมพวัฒนาพานิช จํากัด นายเริงชัย จงพิพัฒนสุข กรรมการผูจัดการ

ส่ือการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

ชวงช้ันที่ 3

หนังสือเรียน–แบบฝกทักษะ–ฉบับสมบูรณแบบ–แผนฯ (CD) การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เลม 1.............

ดร.อรุณี ลิมศิริ และคณะ

หนังสือเรียน–แบบฝกทักษะ–ฉบับสมบูรณแบบ–แผนฯ (CD) การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เลม 2.............

ดร.อรุณี ลิมศิริ และคณะ

หนังสือเรียน–แบบฝกทักษะ–ฉบับสมบูรณแบบ–แผนฯ (CD) การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 2 เลม 1.............

ดร.อรุณี ลิมศิริ และคณะ

หนังสือเรียน–แบบฝกทักษะ–ฉบับสมบูรณแบบ–แผนฯ (CD) การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 2 เลม 2.............

ดร.อรุณี ลิมศิริ และคณะ

หนังสือเรียน–แบบฝกทักษะ–ฉบับสมบูรณแบบ–แผนฯ (CD) การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 3 เลม 1... ดร.

อมรรัตน เจริญชัย และคณะหนังสือเรียน–แบบฝกทักษะ–ฉบับสมบูรณแบบ–แผนฯ (CD) การงานอาชีพและ

เทคโนโลยี ม. 3 เลม 2... ดร.อมรรัตน เจริญชัย และ

คณะหนังสือเรียน–แบบฝกทักษะ–แผนการจัดการเรียนรู (CD) เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 1–2–3................ผศ. ดร.

อํานวย เดชชัยศรี และคณะ

Page 3: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ชวงช้ันที่ 4

หนังสือเรียน–แบบฝกทักษะ–ฉบับสมบูรณแบบ–แผนฯ (CD) การดํารงชีวิตและครอบครัว ม. 4–6.......... ดร.

อมรรัตน เจริญชัย และคณะ

หนังสือเรียน–แบบฝกทักษะ–ฉบับสมบูรณแบบ–แผนฯ (CD) การออกแบบและเทคโนโลยี ม. 4–6......................

สุรพงษ ศรีวินิจ และคณะ

หนังสือเรียน–แบบฝกทักษะ–ฉบับสมบูรณแบบ–แผนฯ (CD) การอาชีพ ม. 4–6....................................ดร.มณ

กาญจน ทองใย และคณะ

หนังสือเรียน–แบบฝกทักษะ–แผนการจัดการเรียนรู (CD) เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4–5–6................ผศ. ดร.

อํานวย เดชชัยศรี และคณะ

Page 4: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

คํานํา

คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4–6 ชุดนี้ เปนส่ือการเรียนรูที่จัดทําขึ้นเพ่ือใช

เปนแนวทางในการจัดการเรียนรู โดยยึดหลักการออกแบบการจัดการเรียนรูแบบ Backward Design ที่เนน

นักเรียนเปนศูนยกลาง (Child Centered) ตามหลักการยึดผูเรียนเปนสําคัญ สงเสริมใหนักเรียนมีสวนรวมใน

กิจกรรมและกระบวนการเรียนรู สามารถสรางองคความรูไดดวยตนเอง ทั้งเปนรายบุคคลและรายกลุม โดยครูมี

บทบาทหนาที่เอ้ืออํานวยความสะดวกใหนักเรียนประสบผลสําเร็จ สนับสนุนใหนักเรียนมีโอกาสฝกปฏิบัติงาน

ทั้งในหองเรียนและนอกหองเรียน สามารถเช่ือมโยงความรูในกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน ๆ ไดในเชิงบูรณาการดวย

วิธีการที่หลากหลาย เนนกระบวนการคิดวิเคราะห สังเคราะห และสามารถสรางองคความรูไดดวยตนเอง ทําให

นักเรียนไดรับการพัฒนาสมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงคตามที่หลักสูตรกําหนด นําไปสูการอยู

รวมกันในสังคมอยางสันติสุข

การจัดทําคูมือครู แผนการจัดการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศชุดนี้ ไดจัดทําตามหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงครอบคลุมสาระการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

ภายในเลมไดนําเสนอแผนการจัดการเรียนรูเปนรายช่ัวโมงตามหนวยการเรียนรู เพ่ือใหครูนําไปใชในการจัดการ

เรียนรูไดสะดวกย่ิงขึ้น นอกจากนี้ แตละหนวยการเรียนรูยังมีการวัดและประเมินผลการเรียนรูทั้ง 3 ดาน ไดแก

ดานความรู ดานทักษะ/กระบวนการ และดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม ทําใหทราบผลการเรียนแตละ

หนวยการเรียนรูของนักเรียนไดทันท ี

คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู นําเสนอเนื้อหาแบงเปน 3 ตอน คือ

ตอนท่ี 1 คําช้ีแจงการจัดการแผนการจัดการเรียนรู ประกอบดวยแนวทางการใชแผนการจัดการเรียนรู

สัญลักษณลักษณะกิจกรรมการเรียนรู แนวคิดการออกแบบการเรียนรูแบบ Backward Design (BwD) เทคนิคและ

วิธีการจัดการเรียนรู–การวัดและประเมินผลการเรียนรู ตารางวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัดช้ันป และ

โครงสรางการแบงเวลารายช่ัวโมงในการจัดการเรียนรู

ตอนท่ี 2 แผนการจัดการเรียนรู ไดเสนอแนะแนวทางการจัดการเรียนรูแตละหนวยการเรียนรู โดยมีผัง

มโนทัศนแสดงเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู และแบงเปนแผนยอย

รายช่ัวโมง ซ่ึงแผนการจัดการเรียนรูแตละแผนมีองคประกอบครบถวนตาม

แนวทางการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูของสถานศึกษา

ตอนท่ี 3 เอกสาร/ความรูเสริมสําหรับครู ประกอบดวยแบบทดสอบ ไดแก แบบทดสอบ

กอนเรียนและหลังเรียน แบบทดสอบปลายภาค แบบประเมินผลงาน แบบประเมินพฤติกรรมและคุณลักษณะที่พึง

ประสงคดานตาง ๆ ของนักเรียน และความรูเสริมสําหรับครู ซ่ึงบันทึกลงในซีดี ( CD) เพ่ืออํานวยความสะดวก

ใหแกครูหรือผูสอน

คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4–6 ชุดนี้ ไดออกแบบการเรียนรูดวยเทคนิค

และวิธีการสอนอยางหลากหลาย หวังวาจะเปนประโยชนตอการนําไปประยุกตใชในการจัดการเรียนรูให

เหมาะสมกับสภาพแวดลอมของนักเรียนตอไป

คณะผูจัดทํา

Page 5: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

สารบัญ

ตอนท่ี 1 คําช้ีแจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู.......................................................... 1

1. แนวทางการใชแผนการจัดการเรียนรู........................................................................ 2

2. สัญลักษณลักษณะกิจกรรมการเรียนรู..................................................................... 5

3. การออกแบบการเรียนรูแบบ Backward Design (BwD)............................................ 6

4. เทคนิคและวิธีการจัดการเรียนรู–การวัดและประเมินผลการเรียนรู.............................. 17

5. ตารางวิเคราะหสาระมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัดชวงช้ัน........................................... 19

6. โครงสรางการแบงเวลารายช่ัวโมงในการจัดการเรียนรู................................................ 20

ตอนท่ี 2 แผนการจัดการเรยีนรู............................................................................ 22

Page 6: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

หนวยการเรียนรูท่ี 1 ระบบสารสนเทศ...................................................................... 23

* ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน. ............................................ 23

* ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู.......................................................................... 23

แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ........................ 24

แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 ประเภทของระบบสารสนเทศ................................................ xx

แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 องคประกอบของระบบสารสนเทศ

(ฮารดแวรและซอฟตแวร).................................................. xx

แผนการจัดการเรียนรูที่ 4 องคประกอบของระบบสารสนเทศ

(บุคลากรและขอมูล)......................................................... xx

แผนการจัดการเรียนรูที่ 5 องคประกอบของระบบสารสนเทศ

(ขั้นตอนการปฏิบัติงาน).................................................. xx

หนวยการเรียนรูท่ี 2 คอมพิวเตอร......................................................................... xx

* ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน............................................... xx

* ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู........................................................................... xx

แผนการจัดการเรียนรูที่ 6 ระบบการทํางานของคอมพิวเตอร....................................... xx

แผนการจัดการเรียนรูที่ 7 ฮารดแวรและซอฟตแวร...................................................... xx

แผนการจัดการเรียนรูที่ 8 ขอมูล ผูใช และกระบวนการ.............................................. xx

Page 7: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

หนวยการเรียนรูท่ี 3 การส่ือสารขอมูล...................................................................... xx

* ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน.................................................. xx

* ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู............................................................................ xx

แผนการจัดการเรียนรูที่ 9 ระบบการส่ือสารขอมูล........................................................ xx

แผนการจัดการเรียนรูที่ 10 รูปแบบของการถายโอนขอมูล.............................................. xx

แผนการจัดการเรียนรูที่ 11 ตัวกลาง............................................................................. xx

แผนการจัดการเรียนรูที่ 12 ระบบบัส............................................................................ xx

แผนการจัดการเรียนรูที่ 13 เครือขายคอมพิวเตอร.......................................................... xx

หนวยการเรียนรูท่ี 4 อินเทอรเน็ต............................................................................ xx

* ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน............................................... xx

* ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู............................................................................ xx

แผนการจัดการเรียนรูที่ 14 ความหมายและลักษณะของอินเทอรเน็ต.............................. xx

แผนการจัดการเรียนรูที่ 15 การสืบคนขอมูลและมารยาทในการใชงานอินเทอรเน็ต........... xx

หนวยการเรียนรูท่ี 5 โครงงานคอมพิวเตอร................................................................. xx

* ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน................................................. xx

* ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู............................................................................ xx

แผนการจัดการเรียนรูที่ 16 โครงงานคอมพิวเตอร........................................................... xx

หนวยการเรียนรูท่ี 6 จริยธรรมและความปลอดภัย......................................................... xx

* ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน.................................................. xx

* ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู.............................................................................. xx

แผนการจัดการเรียนรูที่ 17 จริยธรรมและพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร........................ xx

แผนการจัดการเรียนรูที่ 18 อาชญากรรมคอมพิวเตอรและแนวทางการปองกัน.................. xx

Page 8: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ตอนท่ี 1

คําช้ีแจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

Page 9: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

1. แนวทางการใชแผนการจัดการเรียนรู

คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศเลมนี้ จัดทําขึ้นเพ่ือเปนแนวทางใหครูใช

ประกอบการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 ชวงช้ันที่ 3

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงการแบงหนวยการเรียนรูสําหรับจัดแผนการ

จัดการเรียนรูรายช่ัวโมงในคูมือครู แผนการจัดการเรียนรูเลมนี้ แบงเนื้อหาเปน 5 หนวย สามารถใชควบคูกับ

หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 ประกอบดวยหนวยการเรียนรู

ดังนี ้

หนวยการเรียนรูที่ 1 ระบบสารสนเทศ

หนวยการเรียนรูที่ 2 คอมพิวเตอร

หนวยการเรียนรูที่ 3 การส่ือสารขอมูล

หนวยการเรียนรูที่ 4 อินเทอรเน็ต

หนวยการเรียนรูที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร

หนวยการเรียนรูที่ 6 จริยธรรมและความปลอดภัย

แผนการจัดการเรียนรูนี้ไดนําเสนอรายละเอียดไวครบถวนตามแนวทางการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู

ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนใหนักเรียนไดพัฒนา

องคความรู สมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคไวอยางครบถวนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงครูควรศึกษาแผนการจัดการเรียนรูนี้ใหละเอียด เพ่ือปรับใชใหสอดคลองกับ

สภาพแวดลอม สถานการณ และสภาพของนักเรียน

ในแตละหนวยการเรียนรูจะแบงแผนการจัดการเรียนรูออกเปนรายช่ัวโมง ซ่ึงมีจํานวน มากนอยไม

เทากันขึ้นอยูกับความยาวของเนื้อหาสาระ และในแตละหนวยการเรียนรูมีองคประกอบดังนี ้

1. ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน แสดงขอบขายเนื้อหาการจัดการเรียนรูที่

ครอบคลุมความรู ทักษะ/กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม คานิยม และภาระงาน/ช้ินงาน

2. กรอบแนวคิดการออกแบบการจัดการเรียนรู BWD (Template Backward Design) เปนผังแสดง

แนวคิดในการจัดการเรียนรูของแตละหนวยการเรียนรู แบงเปน 3 ขั้น ไดแก

ขั้นท่ี 1 ผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน

ขั้นท่ี 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซ่ึงเปนหลักฐานที่แสดงวานักเรียนมี

ผลการเรียนรูตามที่กําหนดไวอยางแทจริง

ขั้นท่ี 3 แผนการจัดการเรียนรูจะระบุวาในหนวยการเรียนรูนี้แบงเปนแผนการจัดการเรียนรูก่ี

แผน และแตละแผนใชเวลาในการจัดกิจกรรมก่ีช่ัวโมง

3. แผนการจัดการเรียนรูรายช่ัวโมง เปนแผนการจัดการเรียนรูตามกรอบแนวคิดการออกแบบการ

จัดการเรียนรูแบบ BwD ประกอบดวย

3.1 ช่ือแผนการจัดการเรียนรู ประกอบดวยลําดับที่ของแผน ช่ือแผน และเวลาเรียน เชน

แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 เร่ือง ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ เวลา 2 ช่ัวโมง

3.2 สาระสําคัญ เปนความคิดรวบยอดของเนื้อหาที่นํามาจัดการเรียนรูในแตละแผนการจัดการ

เรียนรู

Page 10: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

3.3 ตัวช้ีวัดช้ันป เปนตัวช้ีวัดที่ใชตรวจสอบนักเรียนหลังจากเรียนจบเนื้อหาที่นําเสนอในแตละ

แผนการจัดการเรียนรูนั้น ๆ ซ่ึงสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตร

3.4 จุดประสงคการเรียนรู เปนสวนที่บอกจุดมุงหมายที่ตองการใหเกิดขึ้นแกนักเรียน

ภายหลังจากการเรียนจบในแตละแผนการจัดการเรียนรู ทั้งในดานความรู ( K) ดานคุณธรรม จริยธรรม และ

คานิยม ( A) ดานทักษะ/กระบวนการ ( P) ซ่ึงสอดคลองสัมพันธกับตัวช้ีวัดช้ันปและเนื้อหาในแผนการจัดการ

เรียนรูนั้น ๆ

3.5 การวัดและการประเมินผลการเรียนรู เปนการตรวจสอบผลการจัดการเรียนรูวา หลังจาก

จัดการเรียนรูในแตละแผนการจัดการเรียนรูแลว นักเรียนมีพัฒนาการ มีผลสัมฤทธ์ิทาง

การเรียนตามเปาหมายที่คาดหวังไวหรือไม และมีส่ิงที่จะตองไดรับการพัฒนา ปรับปรุง หรือสงเสริมในดาน

ใดบาง ดังนั้น ในแตละแผนการจัดการเรียนรูจึงไดออกแบบวิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผลการ

เรียนรูดานตาง ๆ ของนักเรียนไวอยางหลากหลาย เชน การทําแบบทดสอบ การตอบคําถามส้ัน ๆ การตรวจผลงาน

การสังเกตพฤติกรรมทั้งที่เปนรายบุคคลและเปนกลุม เปนตน โดยเนนการปฏิบัติใหสอดคลองและเหมาะสมกับ

ตัวช้ีวัดและมาตรฐานการเรียนรู

วิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผลการเรียนรูเหลานี้ครูสามารถนําไปใชประเมิน

นักเรียนได ทั้งในระหวางการจัดการเรียนรูและการทํากิจกรรมตาง ๆ ตลอดจนการนําความรูไปใชใน

ชีวิตประจําวัน

3.6 สาระการเรียนรู เปนหัวขอยอยที่นํามาจัดการเรียนรูในแตละแผนการจัดการเรียนรู ซ่ึง

สอดคลองกับสาระการเรียนรูแกนกลาง

3.7 แนวทางบูรณาการ เปนการเสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูในเรื่องที่เรียนของ

แตละแผนใหเช่ือมโยงสัมพันธกับสาระการเรียนรูอ่ืน ๆ ไดแก ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษา

ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ และภาษาตางประเทศ เพ่ือใหการเรียนรูสอดคลองและ

ครอบคลุมสถานการณจริง

3.8 กระบวนการจัดการเรียนรู เปนการเสนอแนวทางจัดกิจกรรมการเรียนรูในเนื้อหาแตละเรื่อง

โดยใชแนวคิดและทฤษฎีการเรียนรูตาง ๆ ตามความเหมาะสม ทั้งนี้เพ่ือใหครูนําไปใชประโยชนในการวาง

แผนการจัดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ ซ่ึงกระบวนการจัดการเรียนรูประกอบดวย 5 ขั้น ไดแก

ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป

ขั้นที่ 4 ขั้นฝกฝนนักเรียน

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช

3.9 กิจกรรมเสนอแนะสําหรับกลุมสนใจพิเศษและฝกทักษะเพิ่มเติม เปนกิจกรรมเสนอแนะ

สําหรับใหนักเรียนไดพัฒนาเพ่ิมเติมในดานตาง ๆ นอกเหนือจากที่ไดจัดการเรียนรูมาแลวในช่ัวโมงเรียน

กิจกรรมเสนอแนะมี 2 ลักษณะ คือ กิจกรรมสําหรับผูที่มีความสามารถพิเศษและตองการศึกษาคนควาในเนื้อหา

นั้น ๆ ใหลึกซ้ึงกวางขวางย่ิงขึ้น และกิจกรรมสําหรับการเรียนรูใหครบตามเปาหมาย ซ่ึงมีลักษณะเปนการซอม

เสริมความรูใหแกนักเรียน

Page 11: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

3.10 ส่ือ/แหลงการเรียนรู เปนรายช่ือส่ือการเรียนรูทุกประเภทที่ใชในการจัดการเรียนรูซ่ึงมีทั้ง

ส่ือธรรมชาติ ส่ือส่ิงพิมพ ส่ืออิเล็กทรอนิกส และส่ือบุคคล เชน หนังสือ เอกสารความรู รูปภาพ เครือขาย

อินเทอรเน็ต วีดิทัศน ปราชญชาวบาน เปนตน

3.11 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู เปนสวนที่ใหครูบันทึกผลการจัดการเรียนรูวาประสบ

ความสําเร็จหรือไม มีปญหาหรืออุปสรรคอะไรเกิดขึ้นบาง ไดแกไขปญหาและอุปสรรคนั้นอยางไร และ

ขอเสนอแนะสําหรับการจัดการเรียนรูครั้งตอไป

นอกจากนี้ยังอํานวยความสะดวกใหครู โดยจัดทําแบบทดสอบ แบบประเมินผลการจัดกิจกรรมตาง

ๆ และความรูเสริมสําหรับครูบันทึกลงในซีดี (CD) ประกอบดวย

1) แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เปนแบบทดสอบเพ่ือใชวัดและประเมินผลนักเรียน

กอนการจัดการเรียนรูและหลังการจัดการเรียนรู

2) แบบทดสอบปลายภาค เปนแบบทดสอบเพ่ือใชวัดและประเมินผลการเรียนรูปลายภาคเรียน

ซ่ึงประเมินผล 3 ดาน ไดแก

(1) ดานความรู มีแบบทดสอบทั้งที่เปนแบบปรนัยและอัตนัย

(2) ดานทักษะ/กระบวนการ เปนตารางประเมิน

(3) ดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม เปนตารางประเมิน

3) แบบประเมินผลการจัดกิจกรรมตาง ๆ เชน แบบประเมินผลงาน แบบบันทึกความรู

4) ความรูเสริมสําหรับครู เปนการนําเสนอความรูในเรื่องตาง ๆ แกครู เชน

(1) หลักการจัดทําแฟมสะสมผลงาน ( Portfolio) และวิธีการคัดเลือกผลงานเพ่ือเก็บในแฟม

สะสมผลงาน

(2) ความรูเรื่องโครงงาน

5) แบบฟอรมโครงสรางแผนการจัดการเรียนรู ที่ออกแบบการเรียนรูแบบ Backward Design

ครูควรศึกษาแผนการจัดการเรียนรูเพ่ือเตรียมการสอนอยางมีประสิทธิภาพ จัดกิจกรรมใหนักเรียนได

พัฒนาครบทุกสมรรถนะสําคัญที่กําหนดไวในหลักสูตร กลาวคือ สมรรถนะในการส่ือสาร การคิด การแกปญหา

การใชทักษะชีวิต และการใชเทคโนโลยี รวมถึงคุณลักษณะอันพึงประสงคตามหลักสูตร และกิจกรรมเสนอแนะ

เพ่ิมเติมใหเต็มตามศักยภาพของนักเรียนแตละคน ซ่ึงไดกําหนดไวในแผนการจัดการเรียนรูนี้แลว

นอกจากนี้ ครูสามารถปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูใหสอดคลองกับสภาพความพรอมของ

นักเรียน และสถานการณเฉพาะหนา ซ่ึงจะใชเปนผลงานเพ่ือเล่ือนวิทยฐานะได แผนการจัดการเรียนรูนี้ไดอํานวย

ความสะดวกใหครู โดยไดพิมพโครงสรางแผนการจัดการเรียนรูที่ออกแบบการเรียนรูแบบ Backward Design ให

ครูเพ่ิมเติมเฉพาะสวนที่ครูปรับปรุงเองไวดวยแลว

Page 12: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

2. สัญลักษณลักษณะกิจกรรมการเรียนรู

สัญลักษณลักษณะกิจกรรมการเรียนรูเปนเครื่องหมายที่ปรากฏอยูในส่ือการเรียนรู เทคโนโลยี-

สารสนเทศและแบบฝกหัด เทคโนโลยีสารสนเทศทุกเลม โดยกําหนดสัญลักษณกํากับกิจกรรมการเรียนรูไวทุก

กิจกรรม เพ่ือชวยใหครูและนักเรียนทราบลักษณะที่ตองการเนนของกิจกรรมนั้น ๆ เพ่ือที่จะจัดกิจกรรมใหบรรลุ

เปาหมาย สัญลักษณลักษณะกิจกรรมการเรียนรูมีดังนี ้

1. สัญลักษณหลักของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

โครงงาน เปนกิจกรรมที่มุงเนนพัฒนาการคิด การวางแผน และการแกปญหา

การพัฒนากระบวนการคิด เปนกิจกรรมที่กําหนดใหนักเรียนไดใชกระบวนการคิดเพ่ือเพ่ิมพูน

ทักษะการคิดดานตาง ๆ ของตนเอง

การประยุกตใชในชีวิตประจําวัน เปนกิจกรรมที่กําหนดใหนักเรียนไดนําความรูและทักษะไปใช

แกปญหาในสถานการณจริงในชีวิตประจําวัน

การปฏิบัติจริง/ฝกทักษะ เปนกิจกรรมที่กําหนดใหนักเรียนไดฝกปฏิบัติเพ่ือใหเกิดทักษะซ่ึงจะชวย

ใหการเรียนรูเปนไปตามเปาหมายและเกิดความเขาใจที่คงทน

การคิดสรางสรรค เปนกิจกรรมที่กําหนดใหนักเรียนไดพัฒนาความคิดสรางสรรคลักษณะตาง ๆ

ไดแก ความคิดริเริ่ม ความคลองในการคิด ความยืดหยุนในการคิด และความคิดละเอียดลออ

2. สัญลักษณเสริมของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

การทําประโยชนใหสังคม เปนกิจกรรมที่กําหนดใหนักเรียนนําความรูไปปฏิบัติในการทํา

ประโยชนแกสวนรวม เพ่ือใหอยูรวมกันในสังคมอยางมีความสุข

การศึกษาคนควา/สืบคน เปนกิจกรรมที่กําหนดใหนักเรียนศึกษาคนควาหรือสืบคนขอมูลจาก

แหลงการเรียนรูตาง ๆ เพ่ือสรางองคความรูดวยตนเอง

การสํารวจ เปนกิจกรรมที่กําหนดใหนักเรียนสํารวจและรวบรวมขอมูล เพ่ือนํามาศึกษาวิเคราะหหา

เหตุ หาผล และสรุปขอมูล เพ่ือใหเกิดองคความรูดวยตนเอง

การสังเกต เปนกิจกรรมที่กําหนดใหนักเรียนรูจักสังเกตส่ิงที่ตองการเรียนรูจนสามารถสรางองค

ความรูไดอยางเปนระบบและมีเหตุผล

ภาพ

โครงงาน

ภาพ

กระบวนการ

คิด

ภาพ

ประยุกตใช

ภาพฝก

ทักษะ

ภาพ

สรางสรรค

ภาพทํา

ประโยชน

ภาพสืบคน

ภาพฝก

ทักษะ

ภาพสังเกต

ภาพทักษะ

การพูด

Page 13: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ทักษะการพูด เปนกิจกรรมที่กําหนดใหนักเรียนไดพัฒนาทักษะการพูดประเภทตาง ๆ

กิจกรรมสําหรับกลุมพิเศษ เปนกิจกรรมสําหรับใหนักเรียนใชพัฒนาการเรียนรูเพ่ือเติมเต็มศักยภาพ

การเรียนรูของตนเอง

กิจกรรมสําหรับซอมเสริม เปนกิจกรรมสําหรับใหนักเรียนใชเรียนซอมเสริมเพ่ือใหเกิดการเรียนรู

ตามตัวช้ีวัดช้ันป

3. การออกแบบการเรียนรูแบบ Backward Design (BwD)

การจัดการเรียนรูหรือการสอนเปนงานที่ครูทุกคนตองใชกลวิธีตาง ๆ มากมายเพ่ือใหนักเรียนสนใจที่จะ

เรียนรูและเกิดผลตามที่ครูคาดหวัง การจัดการเรียนรูจัดเปนศาสตรที่ตองใชความรูความสามารถตลอดจน

ประสบการณอยางมาก ครูบางคนอาจจะละเลยเรื่องของการออกแบบการจัดการเรียนรูหรือการออกแบบการสอน

ซ่ึงเปนงานที่ครูจะตองทํากอนการเขียนแผนการจัดการเรียนรู

การออกแบบการจัดการเรยีนรูทําอยางไร ทําไมจึงตองออกแบบการจัดการเรียนรู

ครูทุกคนผานการศึกษาและไดเรียนรูเก่ียวกับการออกแบบการเรียนรูมาแลว ในอดีตการออกแบบการ

เรียนรูจะเริ่มตนจากการกําหนดจุดประสงคการเรียนรู การวางแผนการจัดการเรียนรู การดําเนินการจัดการเรียนรู

และการวัดและประเมินผลการเรียนรู ปจจุบันการเรียนรูไดมีการเปล่ียนแปลงไปตามสภาพแวดลอม เศรษฐกิจ

และสังคม รวมทั้งการเปล่ียนแปลงดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่เขามามีบทบาทตอการเรียนรูของนักเรียน

ซ่ึงนักเรียนสามารถเรียนรูไดจากส่ือและแหลงเรียนรูตาง ๆ ที่มีอยูรอบตัว ดังนั้นการออกแบบการจัดการเรียนรูจึง

เปนกระบวนการสําคัญที่ครูจําเปนตองดําเนินการใหเหมาะสมกับศักยภาพของนักเรียนแตละบุคคล

วิกกินสและแม็คไท นักการศึกษาชาวอเมริกันไดเสนอแนวคิดเก่ียวกับการออกแบบการจัดการเรียนรูที่

เขาเรียกวา Backward Design ซ่ึงเปนการออกแบบการจัดการเรียนรูที่ครูจะตองกําหนดผลลัพธปลายทางที่

ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียนกอน โดยเขาทั้งสองใหช่ือวา ความเขาใจที่คงทน (Enduring Understanding) เม่ือ

กําหนดความเขาใจที่คงทนไดแลว ครูจะตองบอกใหไดวาความเขาใจที่คงทนของนักเรียนนี้เกิดจากอะไร นักเรียน

จะตองมีหรือแสดงพฤติกรรมอะไรบาง ครูมีหรือใชวิธีการวัดอะไรบางที่จะบอกวานักเรียนมีหรือแสดงพฤติกรรม

เหลานั้นแลว จากนั้นครูจึงนึกถึงวิธีการจัดการเรียนรูที่จะทําใหนักเรียนเกิดความเขาใจที่คงทนตอไป

แนวคิด Backward Design

Backward Design เปนการออกแบบการจัดการเรียนรูที่ใชผลลัพธปลายทางเปนหลัก ซ่ึงผลลัพธ

ปลายทางนี้จะเกิดขึ้นกับนักเรียนก็ตอเม่ือจบหนวยการเรียนรู ทั้งนี้ครูจะตองออกแบบการจัดการเรียนรู โดยใช

กรอบความคิดที่เปนเหตุเปนผล มีความสัมพันธกัน จากนั้นจึงจะลงมือเขียนแผนการจัดการเรียนรู ขยาย

รายละเอียดเพ่ิมเติมใหมีคุณภาพและประสิทธิภาพตอไป

กรอบความคิดหลักของการออกแบบการจัดการเรียนรู Backward Design มีขั้นตอนหลักที่สําคัญ 3

ขั้นตอน คือ

ขั้นที่ 1 กําหนดผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน

ภาพกลุม

พิเศษ

ภาพ

ซอมเสริม

Page 14: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ขั้นที่ 2 กําหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซ่ึงเปนหลักฐานที่แสดงวานักเรียนมีผลการ

เรียนรูตามที่กําหนดไวอยางแทจริง

ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรียนรู

ขั้นท่ี 1 กําหนดผลลัพธปลายทางท่ีตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน

กอนที่จะกําหนดผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียนนั้น ครูควรตอบคําถามสําคัญตอไปนี้

– นักเรียนควรจะมีความรู ความเขาใจ และสามารถทําส่ิงใดไดบาง

– เนื้อหาสาระใดบางที่มีความสําคัญตอการสรางความเขาใจของนักเรียน และความเขาใจที่คงทน

(Enduring Understanding) ที่ครูตองการจัดการเรียนรูใหแกนักเรียนมีอะไรบาง

เม่ือจะตอบคําถามสําคัญดังกลาวขางตน ใหครูนึกถึงเปาหมายของการศึกษา มาตรฐานการเรียนรูดาน

เนื้อหาระดับชาติที่ปรากฏอยูในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 รวมทั้งมาตรฐานการ

เรียนรูระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาหรือทองถ่ิน

การทบทวนความคาดหวังของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เนื่องจากมาตรฐานแตละระดับ

จะมีความสัมพันธกับเนื้อหาสาระตาง ๆ ซ่ึงมีความแตกตางลดหล่ันกันไป ดวยเหตุนี้ขั้นที่ 1 ของ Backward

Design ครูจึงตองจัดลําดับความสําคัญและเลือกผลลัพธปลายทางของนักเรียน ซ่ึงเปนผลการเรียนรูที่เกิดจากความ

เขาใจที่คงทนตอไป

ความเขาใจท่ีคงทนของนักเรียน

ความเขาใจที่คงทนคืออะไร ความเขาใจที่คงทนเปนความรูที่ลึกซ้ึง ไดแก ความคิดรวบยอด

ความสัมพันธ และหลักการของเนื้อหาและวิชาที่นักเรียนเรียนรู หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง คือ เปนความรูที่อิงเนื้อหา

ความรูนี้เกิดจากการสะสมขอมูลตาง ๆ ของนักเรียน และเปนองคความรูที่นักเรียนสรางขึ้นดวยตนเอง

การเขียนความเขาใจท่ีคงทนในการออกแบบการจัดการเรียนรู

ถาความเขาใจที่คงทนหมายถึงสาระสําคัญของส่ิงที่จะเรียนรูแลว ครูควรจะรูวาสาระสําคัญหมายถึง

อะไร คําวา สาระสําคัญ มาจากคําวา Concept ซ่ึงนักการศึกษาของไทยแปลเปนภาษาไทยวา สาระสําคัญ ความคิด

รวบยอด มโนทัศน มโนมติ และสังกัป ซ่ึงการเขียนแผนการจัดการเรียนรูนิยมใชคําวา สาระสําคัญ

สาระสําคัญเปนขอความที่แสดงแกนหรือเปาหมายเก่ียวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เพ่ือใหไดขอสรุปรวมและ

ขอแตกตางเก่ียวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยอาจครอบคลุมขอเท็จจริง กฎ ทฤษฎี ประเด็น และการสรุปสาระสําคัญ

และขอความที่มีลักษณะรวบยอดอยางอ่ืน

ประเภทของสาระสําคัญ

1. ระดับกวาง ( Broad Concept)

2. ระดับการนําไปใช ( Operative Concept หรือ Functional Concept)

ตัวอยางสาระสําคัญระดับกวาง

– การสรางส่ิงของเครื่องใชควรสรางตามขั้นตอนของกระบวนการเทคโนโลยี

ตัวอยางสาระสําคัญระดับการนําไปใช

Page 15: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

– การสรางส่ิงของเครื่องใชควรสรางตามขั้นตอนของกระบวนการเทคโนโลยี ไดแก กําหนดปญหา

หรือความตองการ รวบรวมขอมูล เลือกวิธีการแกปญหา ออกแบบและปฏิบัติ ประเมิน และปรับปรุงหรือพัฒนา

แนวทางการเขียนสาระสําคัญ

1. ใหเขียนสาระสําคัญของทุกเรื่อง โดยแยกเปนขอ ๆ (จํานวนขอของสาระสําคัญจะเทากับจํานวน

เรื่อง)

2. การเขียนสาระสําคัญที่ดีควรเปนสาระสําคัญระดับการนําไปใช

3. สาระสําคัญตองครอบคลุมประเด็นสําคัญครบถวน เพราะหากขาดสวนใดไปแลวจะทําใหนักเรียน

รับสาระสําคัญที่ผิดไปทันที

4. การเขียนสาระสําคัญที่จะใหครอบคลุมประเด็นสําคัญวิธีการหนึ่งคือ การเขียนแผนผังสาระสําคัญ

ตัวอยางการเขียนแผนผังสาระสําคัญ

กระบวนการทํางาน

ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ ตัวอยางระบบสารสนเทศ

ลักษณะของ

ระบบสารสนเทศที่ดี

ระบบสารสนเทศ ประเภทของระบบสารสนเทศ

ฮารดแวร

ซอฟตแวร

องคประกอบของระบบสารสนเทศ บุคลากร

ขอมูล

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

สาระสําคัญของระบบสารสนเทศ : แบงออกเปน 3 หัวขอ ไดแก ความหมายและลักษณะของระบบ

สารสนเทศ ประเภทของระบบสารสนเทศ และองคประกอบของระบบสารสนเทศ

5. การเขียนสาระสําคัญเก่ียวกับเรื่องใดควรเขียนลักษณะเดนที่มองเห็นไดหรือนึกไดออกมาเปนขอ ๆ

แลวจําแนกลักษณะเหลานั้นเปนลักษณะจําเพาะและลักษณะประกอบ

6. การเขียนขอความเปนสาระสําคัญ ควรใชภาษาที่มีการขัดเกลาอยางดี เล่ียงคําที่มีความหมายกํากวม

หรือฟุมเฟอย

Page 16: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ตัวอยางการเขียนสาระสําคัญ เรื่อง ระบบสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศ ลักษณะจําเพาะ ลักษณะประกอบ

เกิดจากการจัดการขอมูลจํานวนมาก –

ผานกระบวนการทํางาน –

มีการแสดงผลเปนแผนภูมิแทง –

ชวยในการประมวลผลไดอยางถูกตองแมนยํา –

สาระสําคัญของระบบสารสนเทศ: ระบบสารสนเทศเกิดจากการจัดการขอมูลจํานวนมากนํามาผาน

กระบวนการทํางาน มักแสดงผลเปนแผนภูมิแทง เพ่ือชวยในการคนหา ประมวลผล และแสดงผลขอมูลไดรวดเร็ว

และมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น

ขั้นท่ี 2 กําหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานท่ีแสดงวานักเรียนมีผลการ

เรียนรูตามท่ีกําหนดไวอยางแทจริง

เม่ือครูกําหนดผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียนแลว กอนที่จะดําเนินการขั้นตอไปขอให

ครูตอบคําถามสําคัญตอไปนี ้

– นักเรียนมีพฤติกรรมหรือแสดงออกในลักษณะใด จึงทําใหครูทราบวานักเรียนบรรลุผลลัพธ

ปลายทางตามที่กําหนดไวแลว

– ครูมีหลักฐานหรือใชวิธีการใดที่สามารถระบุไดวา นักเรียนมีพฤติกรรมหรือแสดงออกตามผลลัพธ

ปลายทางที่กําหนดไว

การออกแบบการจัดการเรียนรูตามหลักการ Backward Design เนนใหครูรวบรวมหลักฐานการวัดและ

ประเมินผลการเรียนรูที่จําเปนและมีหลักฐานเพียงพอที่จะกลาวไดวา การจัดการเรียนรูทําใหนักเรียนเกิดผล

สัมฤทธ์ิแลว ไมใชเรียนแคใหจบตามหลักสูตรหรือเรียนตามชุดของกิจกรรมการเรียนรูที่ครูกําหนดไวเทานั้น

วิธีการ Backward Design ตองการกระตุนใหครูคิดลวงหนาวา ครูควรจะกําหนดและรวบรวมหลักฐานเชิง

ประจักษอะไรบางกอนที่จะออกแบบหนวยการเรียนรู โดยเฉพาะอยางย่ิงหลักฐานดังกลาวควรจะเปนหลักฐานที่

สามารถใชเปนขอมูลยอนกลับที่มีประโยชนสําหรับนักเรียนและครูไดเปนอยางดี นอกจากนี้ครูควรใชวิธีการวัด

และประเมินแบบตอเนื่องอยางไมเปนทางการและเปนทางการ ตลอดระยะเวลาที่ครูจัดกิจกรรมการเรียนรูใหแก

นักเรียน ซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดที่ตองการใหครูทําการวัดและประเมินผลการเรียนรูระหวางการจัดกิจกรรมการ

เรียนรูที่เรียกวา สอนไปวัดผลไป

จึงกลาวไดวา ขั้นนี้ครูควรนึกถึงพฤติกรรมหรือการแสดงออกของนักเรียน โดยพิจารณาจากผลงานหรือ

ช้ินงานที่เปนหลักฐานเชิงประจักษ ซ่ึงแสดงใหเห็นวานักเรียนเกิดผลลัพธปลายทางตามเกณฑที่กําหนดไวแลว

และเกณฑที่ใชประเมินควรเปนเกณฑคุณภาพในรูปของมิติคุณภาพ (Rubrics) อยางไร

ก็ตาม ครูอาจจะมีหลักฐานหรือใชวิธีการอ่ืน ๆ เชน การทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน การสัมภาษณ การศึกษา

คนควา การฝกปฏิบัติขณะเรียนรูประกอบดวยก็ได

การกําหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานท่ีแสดงวานักเรียนมีผลการเรียนรู

ตามผลลัพธปลายทางท่ีกําหนดไวแลว

Page 17: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

หลังจากที่ครูไดกําหนดผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียนแลว ครูควรกําหนดภาระงาน

และวิธีการประเมินผลการเรียนรู ซ่ึงเปนหลักฐานที่แสดงวานักเรียนมีผลการเรียนรูตามผลลัพธปลายทางที่

กําหนดไวแลว

ภาระงาน หมายถึง งานหรือกิจกรรมที่กําหนดใหนักเรียนปฏิบัติ เพ่ือใหบรรลุตามจุดประสงคการ

เรียนรู/ตัวช้ีวัดช้ันป/มาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไว ลักษณะสําคัญของงานจะตองเปนงานที่สอดคลองกับชีวิต

จริงในชีวิตประจําวัน เปนเหตุการณจริงมากกวากิจกรรมที่จําลองขึ้นเพ่ือใชในการทดสอบ ซ่ึงเรียกวา งานที่

ปฏิบัติเปนงานที่มีความหมายตอนักเรียน ( Meaningful Task) นอกจากนี้งานและกิจกรรมจะตองมีขอบเขตที่

ชัดเจน สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู/ตัวช้ีวัดช้ันป/มาตรฐานการเรียนรูที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน

ทั้งนี้เม่ือไดภาระงานครบถวนตามที่ตองการแลว ครูจะตองนึกถึงวิธีการและเครื่องมือที่จะใชวัดและ

ประเมินผลการเรียนรูของนักเรียนซ่ึงมีอยูมากมายหลายประเภท ซ่ึงครูจะตองเลือกใหเหมาะสมกับภาระงานที่

นักเรียนปฏิบัติ

ตัวอยางภาระงานเรื่อง หนวยความจํา (หนวยความจําสํารอง) รวมทั้งการกําหนดวิธีการวัดและ

ประเมินผลการเรียนรูของนักเรียน (ดังตาราง)

Page 18: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ตัวอยาง ภาระงาน/ผลงาน แผนการจัดการเรยีนรูเรื่อง ระบบสารสนเทศ

สาระท่ี 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร มาตรฐาน ง 3.1

จุดประสงค

การเรียนรู

สาระ

การเรียนรู

กิจกรรม

การเรียนรู ภาระงาน/ผลงาน

การวัดและประเมินผล ส่ือการเรียนรู

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ

อธิบาย

ความหมายและ

ลักษณะของ

ระบบ

สารสนเทศได

ความหมายและ

ลักษณะของ

ระบบ

สารสนเทศ

– วิเคราะหระบบ

สารสนเทศที่ใชใน

โรงเรียน

– ออกแบบและ

อธิบายผังงาน

กระบวนการ

ทํางานของระบบ

สารสนเทศ

– ยกตัวอยางระบบ

สารสนเทศใน

กระบวนการ

ทํางานของระบบ

สารสนเทศที่ใชใน

โรงเรียน

– การตั้งคําถาม

และตอบคําถาม

– ผังงาน

กระบวนการ

ทํางาน

– การอธิบาย

– การตอบคําถาม

– ซักถามความรู

– ตรวจผลงาน

– สังเกตการอธิบาย

– แบบตรวจสอบ

ผลงาน

– แบบประเมินการ

นําเสนอผลงาน

– เกณฑคุณภาพ 4

ระดับ

1. ตัวอยางแผนผังกระบวนการทํางาน

ของระบบสารสนเทศ

2. แบบบันทึกขอมูลการสรางคําถาม

ของนักเรียนจากประเด็นปญหาที่ศึกษา

3. แบบบันทึกขอมูลการอภิปรายจาก

ประเด็นปญหาที่ศึกษา

4. แบบบันทึกความรู

5. แบบทดสอบ เร่ือง ระบบสารสนเทศ

Page 19: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

การสรางความเขาใจท่ีคงทน

ความเขาใจที่คงทนจะเกิดขึ้นได นักเรียนจะตองมีความสามารถ 6 ประการ ไดแก

1. การอธิบาย ช้ีแจง เปนความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการอธิบายหรือช้ีแจงในส่ิงที่เรียนรูได

อยางถูกตอง สอดคลอง มีเหตุมีผล และเปนระบบ

2. การแปลความและตีความ เปนความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการแปลความและตีความได

อยางมีความหมาย ตรงประเด็น กระจางชัด และทะลุปรุโปรง

3. การประยุกต ดัดแปลง และนําไปใช เปนความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการนําส่ิงที่ได

เรียนรูไปสูการปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิผล มีประสิทธิภาพ และคลองแคลว

4. การมีมุมมองท่ีหลากหลาย เปนความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการมีมุมมองที่นาเช่ือถือ

เปนไปได มีความลึกซ้ึง แจมชัด และแปลกใหม

5. การใหความสําคัญและใสใจในความรูสึกของผูอื่น เปนความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดย

เปดเผย รับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน และระมัดระวังที่จะไมใหเกิดความกระทบกระเทือนตอผูอ่ืน

6. การรูจักตนเอง เปนความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการมีความตระหนักรู สามารถประมวลผล

ขอมูลจากแหลงที่หลากหลาย ปรับตัวได รูจักใครครวญ และมีความเฉลียวฉลาด

นอกจากนี้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ไดกําหนดสมรรถนะสําคัญของ

นักเรียนหลังจากสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรไว 5 ประการ ดังนี้

1. ความสามารถในการส่ือสาร เปนความสามารถของนักเรียนในการรับ–สงสาร การถายทอดความคิด

ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเอง เพ่ือแลกเปล่ียนขอมูลขาวสารและประสบการณอันจะเปน

ประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอรองเพ่ือขจัดและลดปญหาความขัดแยงตาง ๆ การ

เลือกที่จะรับและไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการส่ือสารที่มี

ประสิทธิภาพ โดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีตอตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถของนักเรียนในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด

อยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพ่ือนําไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศ

เพ่ือการตัดสินใจเก่ียวกับตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถของนักเรียนในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่

เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธ

และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไข

ปญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอตนเอง สังคม และส่ิงแวดลอม

4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถของนักเรียนในการนํากระบวนการ

ตาง ๆ ไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การทํางาน และการอยูรวมกันในสังคมดวยการ

สรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัว

ใหทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเล่ียงพฤติกรรม ไมพึงประสงคที่สงผล

กระทบตอตนเองและผูอ่ืน

Page 20: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถของนักเรียนในการเลือกและใชเทคโนโลยี

ดานตาง ๆ ทั้งดานวัตถุ แนวคิด วิธีการ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม

ในดานการเรียนรู การส่ือสาร การทํางาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคุณธรรม

นอกจากสมรรถนะสําคัญของนักเรียนหลังจากสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่กลาวขางตนแลว

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ยังไดกําหนดคุณลักษณะที่พึงประสงค 8 ประการ

เพ่ือใหนักเรียนสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมไดอยางมีความสุขทั้งในฐานะพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ดังนี ้

1. รักชาติ ศาสน กษัตริย

2. ซ่ือสัตยสุจริต

3. มีวินัย

4. ใฝเรียนรู

5. อยูอยางพอเพียง

6. มุงม่ันในการทํางาน

7. รักความเปนไทย

8. มีจิตสาธารณะ

ดังนั้นการกําหนดภาระงานใหนักเรียนปฏิบัติ รวมทั้งการเลือกวิธีการและเครื่องมือประเมินผลการ

เรียนรูนั้น ครูควรคํานึงถึงความสามารถของนักเรียน 6 ประการ ตามแนวคิด Backward Design สมรรถนะสําคัญ

และคุณลักษณะที่พึงประสงคของนักเรียนหลังจากสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่ไดกลาวไวขางตน เพ่ือใหภาระ

งาน วิธีการ และเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรูครอบคลุมส่ิงที่สะทอนผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิด

ขึ้นกับนักเรียนอยางแทจริง

โดยสรุปการออกแบบการเรียนรูตามแนวคิด Backward Design ในขั้นที่ 2 นี้ ครูจะตองคํานึงถึงภาระ

งาน วิธีการ เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรูที่มีความเที่ยงตรง ความเช่ือถือได มีประสิทธิภาพ ตรงกับ

สภาพจริง มีความยืดหยุน และใหความสบายใจแกนักเรียนเปนสําคัญ

ขั้นท่ี 3 วางแผนการจัดการเรียนรู

เม่ือครูมีความรูความเขาใจที่ชัดเจนเก่ียวกับการกําหนดผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน

รวมทั้งกําหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซ่ึงเปนหลักฐานที่แสดงวานักเรียนเกิดการเรียนรูตามที่

กําหนดไวอยางแทจริงแลว ขั้นตอไปครูควรนึกถึงกิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ ที่จะจัดใหแกนักเรียน โดยครูควรตอบ

คําถามสําคัญตอไปนี ้

– ถาครูตองการจะจัดการเรียนรูใหนักเรียนเกิดความรูเก่ียวกับขอเท็จจริง ความคิดรวบยอด หลักการ

และทักษะกระบวนการตาง ๆ ที่จําเปนสําหรับนักเรียน ซ่ึงจะทําใหนักเรียนเกิดผลลัพธปลายทางตามที่กําหนดไว

รวมทั้งเกิดเปนความเขาใจที่คงทนตอไปนั้น ครูสามารถจะใชวิธีการงาย ๆ อะไรบาง

– กิจกรรมการเรียนรูที่จะชวยเปนส่ือนําใหนักเรียนเกิดความรูและทักษะที่จําเปนมีอะไรบาง

– ส่ือและแหลงการเรียนรูที่เหมาะสมและดีที่สุด ซ่ึงจะทําใหนักเรียนบรรลุตามมาตรฐานของหลักสูตร

มีอะไรบาง

– กิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ ที่กําหนดไว ควรจัดกิจกรรมใดกอน และควรจัดกิจกรรมใดภายหลัง

– กิจกรรมตาง ๆ ออกแบบไวเพ่ือตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคลของนักเรียนหรือไม เพราะ

เหตุใด

Page 21: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ เพ่ือใหนักเรียนเกิดผลลัพธปลายทางตามแนวคิด Backward Design นั้น

วิกกินสและแม็คไทไดเสนอแนะใหครูเขียนแผนการจัดการเรียนรูโดยใชแนวคิด WHERE TO (ไปทีไ่หน) ซ่ึงมี

รายละเอียดดังนี ้

W แทน กิจกรรมการเรียนรูที่จัดใหนั้นจะตองชวยใหนักเรียนรูวาหนวยการเรียนรูนี้จะดําเนินไปใน

ทิศทางใด (Where) และส่ิงที่คาดหวังคืออะไร (What) มีอะไรบาง ชวยใหครูทราบวานักเรียนมีความรูพ้ืนฐานและ

ความสนใจอะไรบาง

H แทน กิจกรรมการเรียนรูควรดึงดูดความสนใจนักเรียนทุกคน (Hook) ทําใหนักเรียนเกิดความสนใจ

ในส่ิงที่จะเรียนรู (Hold) และใชส่ิงที่นักเรียนสนใจเปนแนวทางในการจัดการเรียนรู

E แทน กิจกรรมการเรียนรูควรสงเสริมและจัดให (Equip) นักเรียนไดมีประสบการณ (Experience)

ในแนวคิดหลัก/ความคิดรวบยอด และสํารวจ รวมทั้งวินิจฉัย (Explore) ในประเด็นตาง ๆ ที่นาสนใจ

R แทน กิจกรรมการเรียนรูควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดคิดทบทวน (Rethink) ปรับ (Revise) ความ

เขาใจในความรูและงานที่ปฏิบัต ิ

E แทน กิจกรรมการเรียนรูควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดประเมิน (Evaluate) ผลงานและส่ิงที่

เก่ียวของกับการเรียนรู

T แทน กิจกรรมการเรียนรูควรออกแบบ (Tailored) สําหรับนักเรียนเปนรายบุคคล เพ่ือใหสอดคลอง

กับความตองการ ความสนใจ และความสามารถที่แตกตางกันของนักเรียน

O แทน การจัดกิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ ใหเปนระบบ (Organized) ตามลําดับการเรียนรูของนักเรียน

และกระตุนใหนักเรียนมีสวนรวมในการสรางองคความรูตั้งแตเริ่มแรกและตลอดไป ทั้งนี้เพ่ือการเรียนรูที่มี

ประสิทธิผล

อยางไรก็ตาม มีขอสังเกตวา การวางแผนการจัดการเรียนรูที่มีการกําหนดวิธีการจัดการเรียนรู การลําดับ

การเรียน รวมทั้งส่ือและแหลงการเรียนรูที่เฉพาะเจาะจงนั้นจะประสบผลสําเร็จไดก็ตอเม่ือครูไดมีการกําหนด

ผลลัพธปลายทาง หลักฐาน และวิธีการวัดและประเมินที่แสดงวานักเรียนมีผลการเรียนรูตามที่กําหนดไวอยาง

แทจริงแลว การจัดกิจกรรมการเรียนรูเปนเพียงส่ือที่จะนําไปสูเปาหมายความสําเร็จที่ตองการเทานั้น ดวยเหตุนี้ถา

ครูมีเปาหมายที่ชัดเจนก็จะชวยทําใหการวางแผนการจัดการเรียนรูและการจัดกิจกรรมการเรียนรูสามารถทําให

นักเรียนเกิดผลสัมฤทธ์ิตามที่กําหนดไวได

โดยสรุปจึงกลาวไดวา ขั้นนี้เปนการคนหาส่ือการเรียนรู แหลงการเรียนรู และกิจกรรมการเรียนรูที่

สอดคลองเหมาะสมกับนักเรียน กิจกรรมที่กําหนดขึ้นควรเปนกิจกรรมที่จะสงเสริมใหนักเรียนสามารถสรางและ

สรุปเปนความคิดรวบยอดและหลักการที่สําคัญของสาระที่เรียนรู กอใหเกิดความเขาใจที่คงทน รวมทั้งความรูสึก

และคานิยมที่ดีไปพรอม ๆ กับทักษะความชํานาญ

Page 22: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู

หนวยการเรียนรูท่ี

ขั้นท่ี 1 ผลลัพธปลายทางท่ีตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน

ตัวช้ีวัดช้ันป

1.

ความเขาใจท่ีคงทนของนักเรียน

นักเรียนจะเขาใจวา...

1.

2.

คําถามสําคัญท่ีทําใหเกิดความเขาใจท่ีคงทน

ความรูของนักเรียนท่ีนําไปสูความเขาใจท่ีคงทน

นักเรียนจะรูวา…

1.

2.

3.

ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนท่ีนําไปสูความเขาใจท่ีคงทน

นักเรียนจะสามารถ...

1.

2.

3.

ขั้นท่ี 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานท่ีแสดงวานักเรียนมีผลการเรียนรูตามท่ี

กําหนดไวอยางแทจริง

1. ภาระงานท่ีนักเรียนตองปฏิบัติ

2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู

วิธีการประเมินผลการเรียนรู

เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู

3. ส่ิงท่ีมุงประเด็น

ขั้นท่ี 3 แผนการจัดการเรียนรู

รูปแบบแผนการจัดการเรียนรูรายช่ัวโมงจากการออกแบบการจัดการเรียนรูตามแนวคิด Backward

Design เขียนโดยใชรูปแบบของแผนการจัดการเรียนรูแบบเรียงหัวขอ ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี ้

ช่ือแผน... (ระบุช่ือและลําดับที่ของแผนการจัดการเรียนรู)

ช่ือเรื่อง... (ระบุช่ือเรื่องที่ตองการจัดการเรียนรู)

สาระท่ี... (ระบุสาระที่ใชจัดการเรียนรู)

Page 23: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

เวลา... (ระบุระยะเวลาที่ใชในการจัดการเรียนรูตอ 1 แผน)

ช้ัน... (ระบุระดับช้ันที่จัดการเรียนรู)

หนวยการเรียนรูท่ี... (ระบุช่ือและลําดับที่ของหนวยการเรียนรู)

สาระสําคัญ... (เขียนความคิดรวบยอดหรือมโนทัศนของหัวเรื่องที่จัดการเรียนรู)

ตัวช้ีวัดช้ันป... (ระบุตัวช้ีวัดช้ันปที่ใชเปนเปาหมายของแผนการจัดการเรียนรู)

จุดประสงคการเรียนรู... กําหนดใหสอดคลองกับสมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะที่พึงประสงคของ

นักเรียนหลังจากสําเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงประกอบดวย

ดานความรู (Knowledge: K)

ดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (Affective: A)

ดานทักษะ/กระบวนการ (Performance: P)

การวัดและประเมินผลการเรียนรู... (ระบุวิธีการและเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับ

จุดประสงคการเรียนรูทั้ง 3 ดาน)

สาระการเรียนรู... (ระบุสาระและเนื้อหาที่นํามาจัดการเรียนรู อาจเขียนเฉพาะหัวเรื่องก็ได)

กระบวนการจัดการเรียนรู... (กําหนดใหสอดคลองกับธรรมชาติของกลุมสาระและการ

บูรณาการขามสาระ)

กิจกรรมเสนอแนะ... (ระบุรายละเอียดของกิจกรรมที่นักเรียนควรปฏิบัติเพ่ิมเติม)

แนวทางบูรณาการ... (เสนอแนะและระบุกิจกรรมของกลุมสาระอ่ืนที่บูรณาการรวมกัน)

ส่ือ/แหลงเรียนรู... (ระบุส่ือ อุปกรณ และแหลงเรียนรูที่ใชในการจัดการเรียนรู)

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู... (ระบุรายละเอียดของผลการจัดการเรียนรูตามแผนที่กําหนดไว อาจ

นําเสนอขอเดนและขอดอยเพ่ือใหเปนขอมูลที่สามารถนําไปใชเปนสวนหนึ่งของการทําวิจัยในช้ันเรียนได)

ในสวนของการเขียนกิจกรรมการเรียนรูนั้น ใหครูนําขั้นตอนหลักของวิธีการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียน

เปนสําคัญ เชน การเรียนแบบแกปญหา การศึกษาเปนรายบุคคล การอภิปรายกลุมยอย/กลุมใหญ การฝกปฏิบัติ

การสืบคนขอมูล ฯลฯ มาเขียนในขั้นสอน โดยคํานึงถึงธรรมชาติของกลุมสาระการเรียนรูเปนสําคัญ

การใชแนวคิดของการออกแบบการจัดการเรียนรูตามแนวคิด Backward Design จะชวยใหครูมีความ

ม่ันใจในการจัดการเรียนรูและใชแผนการจัดการเรียนรูของ บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด ในการจัดการ

เรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป

4. เทคนิคและวิธีการจัดการเรียนรู–การวัด

และการประเมินผลการเรียนรู

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 24 (2) และ (3) ไดระบุแนวทางการจัดการเรียนรู

โดยเนนการฝกทักษะกระบวนการคิด การฝกทักษะการแสวงหาความรูดวยตนเองจากแหลงเรียนรูที่หลากหลาย

การฝกปฏิบัติจริง และการประยุกตใชความรูเพ่ือการปองกันและแกปญหา ดังนั้น เพ่ือใหการจัดการเรียนรู

สอดคลองกับนโยบายดังกลาวนี้ การจัดทําแผนการจัดการเรียนรูใน คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู เทคโนโลยี

สารสนเทศ ชุดนี้ จึงยึดแนวทางการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ( Child Centered) เนนการเรียนรูจากการ

ปฏิบัติจริง และเนนการเรียนรูแบบบูรณาการที่ผสมผสานเช่ือมโยงสาระการเรียนรูตาง ๆ กับหัวขอเรื่องหรือ

Page 24: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ประเด็นที่สอดคลองกับชีวิตจริง เพ่ือใหนักเรียนเกิดการพัฒนาโดยองครวม เปนธรรมชาติ สอดคลองกับสภาพ

และปญหาที่เกิดในวิถีชีวิตของนักเรียน

แนวทางการจัดการเรียนรูที่เนนผูนักเรียนเปนสําคัญ ไดเปล่ียนแปลงบทบาทของครูจากการเปนผูช้ีนํา

หรือถายทอดความรูไปเปนผูชวยเหลือ อํานวยความสะดวก และสงเสริมสนับสนุนนักเรียนโดยใชวิธีการตาง ๆ

อยางหลากหลายรูปแบบ เพ่ือใหนักเรียนเกิดการสรางสรรคความรูและนําความรูไปใชอยางมีประสิทธิภาพ คูมือ

ครู แผนการจัดการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ ชุดนี้ จึงไดนําเสนอทฤษฎีและเทคนิควิธีการเรียนการสอนตาง ๆ

มาเปนแนวทางในการจัดการเรียนรู เชน

การจัดการเรียนรูโดยใชสมองเปนฐาน ( Brain - Based Learning–BBL) เปนวิธีการจัดการเรียนรูที่อิง

ผลการวิจัยทางประสาทวิทยา ซ่ึงไดเสนอแนะไววา ตามธรรมชาตินั้นสมองเรียนรูไดอยางไร โดยไดกลาวถึง

โครงสรางที่แทจริงของสมองและการทํางานของสมองมนุษยที่มีการแปรเปล่ียนไปตามขั้นของการพัฒนา ซ่ึง

สามารถนํามาใชเปนกรอบแนวคิดของการสรางสรรคการจัดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ

การจัดการเรียนรูแบบใชปญหาเปนฐาน ( Problem Based Learning–PBL) เปนวิธีการจัดการเรียนรูที่

ใชปญหาที่เกิดขึ้นเปนจุดเริ่มตนและเปนตัวกระตุนใหเกิดกระบวนการเรียนรู โดยใหนักเรียนรวมกันแกปญหา

ภายใตการแนะนําของครู ใหนักเรียนชวยกันตั้งคําถามและชวยกันคนหาคําตอบ โดยอาจใชความรูเดิมมา

แกปญหา หรือศึกษาคนควาเพ่ิมเติมสําหรับการแกปญหา นําขอมูลที่ไดจากการคนความาสรุปเปนขอมูลในการ

แกปญหา แลวชวยกันประเมินการแกปญหาเพ่ือใชในการแกปญหาครั้งตอไปสําหรับขั้นตอนการจัดการเรียนรู

การจัดการเรียนรูแบบพหุปญญา ( Multiple Intelligences) เปนการพัฒนาองครวมของนักเรียน ทั้ง

สมองดานซายและสมองดานขวา บนพ้ืนฐานความสามารถและสติปญญาที่แตกตางกันของแตละบุคคล โดยมุง

หมายใหนักเรียนสามารถแกปญหาหรือสรางสรรคส่ิงตาง ๆ ภายใตความหลากหลายของวัฒนธรรมหรือ

สภาพแวดลอม

การจัดการเรียนรูแบบรวมมือ ( Cooperative Learning) เปนการจัดสถานการณและบรรยากาศให

นักเรียนเกิดการเรียนรูรวมกัน ฝกใหนักเรียนที่มีลักษณะแตกตางกันทั้งสติปญญาและความถนัด รวมกันทํางาน

เปนกลุม รวมกันศึกษาคนควา

การจัดการเรียนรูแบบใชหมวกความคิด 6 ใบ (Six Thinking Hats) เปนการใหนักเรียนฝกตั้งคําถามและ

ตอบคําถามที่ใชความคิดในลักษณะตาง ๆ โดยสามารถอธิบายเหตุผลประกอบหรือวิเคราะหวิจารณได

การจัดการเรียนรูแบบกระบวนการแกปญหา ( Problem Solving) เปนการฝกใหนักเรียนเรียนรูจากการ

แกปญหาที่เกิดขึ้น โดยการทําความเขาใจปญหา วางแผนแกปญหา ดําเนินการแกปญหา และตรวจสอบหรือมอง

ยอนกลับ

การจัดการเรียนรูแบบโครงงาน ( Project Work) เปนวิธีการจัดการเรียนรูรูปแบบหนึ่งที่สงเสริมให

นักเรียนเรียนรูดวยตนเองจากการลงมือปฏิบัติ โดยใชกระบวนการแสวงหาความรูหรือคนควาหาคําตอบในส่ิงที่

นักเรียนอยากรูหรือสงสัยดวยวิธีการตาง ๆ อยางหลากหลาย

การจัดการเรียนรูท่ีเนนการปฏิบัติ ( Active Learning) เปนการใหนักเรียนไดทดลองทําดวยตนเอง เพ่ือ

จะไดเรียนรูขั้นตอนของงาน และรูจักวิธีแกปญหาในการทํางาน

การจัดการเรียนรูแบบสรางผังความคิด ( Concept Mapping) เปนการสอนดวยวิธีการจัดกลุมความคิด

รวบยอด เพ่ือใหเห็นความสัมพันธกันระหวางความคิดหลักและความคิดรองลงไป โดยนําเสนอเปนภาพหรือเปน

แผนผัง

Page 25: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

การจัดการเรียนรูจากประสบการณ ( Experience Learning) เปนการจัดกิจกรรมหรือจัดประสบการณ

ใหนักเรียนเกิดการเรียนรูจากการปฏิบัติ แลวกระตุนใหนักเรียนพัฒนาทักษะ

ใหม ๆ เจตคติใหม ๆ หรือวิธีการคิดใหม ๆ

การเรียนรูโดยการแสดงบทบาทสมมุติ ( Role Playing) เปนการจัดกิจกรรมที่ใหนักเรียนไดแสดง

บทบาทในสถานการณที่สมมุติขึ้น โดยอาจกําหนดใหแสดงบทบาทสมมุติที่เปนพฤติกรรมของบุคคลอ่ืน หรือ

แสดงพฤติกรรมในบทบาทของตนเองในสถานการณตาง ๆ

การเรียนรูจากเกมจําลองสถานการณ (Simulation Gaming) เปนเทคนิคการจัดการเรียนรูที่คลายกับการ

แสดงบทบาทสมมุติ โดยใหนักเรียนเลนเกมจําลองสถานการณ โดยครูนําสถานการณจริงมาจําลองไวในหองเรียน

โดยการกําหนดกฎ กติกา เงื่อนไขสําหรับเกมนั้น ๆ แลวใหนักเรียนไปเลนเกมหรือกิจกรรมในสถานการณจําลอง

นั้น

การจัดการเรียนรูตองจัดควบคูกับการวัดและการประเมินผลตามภาระและช้ินงานที่สอดคลองกับ

ตัวช้ีวัด แผนการจัดการเรียนรูนี้ไดเสนอการวัดและการประเมินผลครบทั้ง 3 ดาน คือ ดานความรู ดานทักษะ/

กระบวนการ และดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม เนนวิธีการวัดที่หลากหลายตามสถานการณจริง การดู

รองรอยตาง ๆ ควบคูไปกับการดูกระบวนการทํางานและผลผลิตของงาน โดยออกแบบการประเมินกอนเรียน

ระหวางเรียน หลังเรียน และแบบทดสอบประจําหนวย พรอมแบบฟอรมและเกณฑการประเมิน เพ่ืออํานวยความ

สะดวกใหครูไวพรอม ทั้งนี้ครูอาจเพ่ิมเติมโดยการออกแบบการวัดและประเมินดวยมิติคุณภาพ (Rubrics)

Page 26: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

5. ตารางวิเคราะหสาระมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัดชวงช้ัน

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ัน ม. 4

สาระท่ี 3: เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

มาตรฐาน ง 3.1: เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล การเรียนรู การส่ือสาร การแกปญหาการทํางานและอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมี

คุณธรรม

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ตัวช้ีวัดชวงช้ัน

หนวย

การเรียนรูท่ี 1

หนวย

การเรียนรูท่ี 2

หนวย

การเรียนรูท่ี 3

หนวย

การเรียนรูท่ี 4

หนวย

การเรียนรูท่ี 5

หนวย

การเรียนรูท่ี 6

สรุปผลการประเมิน

ผาน ไมผาน

1. อธิบายองคประกอบของระบบสารสนเทศ

2. อธิบายองคประกอบและหลักการทํางานของคอมพิวเตอร

3. อธิบายระบบส่ือสารขอมูลสําหรับเครือขายคอมพิวเตอร

4. บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวง

5. พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร

6. ติดตอส่ือสาร คนหาขอมูลผานอินเทอรเน็ต

7. ใชคอมพิวเตอรในการประมวลผลขอมูลใหเปนสารสนเทศเพ่ือ

ประกอบการตัดสินใจ

8. ใชคอมพิวเตอรชวยสรางช้ินงานหรือโครงงานอยางมีจิตสํานึก

และความรับผิดชอบ

Page 27: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

9. บอกขอควรปฏิบัติสําหรับผูใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

Page 28: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

6. โครงสรางการแบงเวลารายช่ัวโมงในการจัดการเรยีนรู

หนวยการเรียนรูท่ี 1 ระบบสารสนเทศ 10 ช่ัวโมง

แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ 2 ชม.

แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 ประเภทของระบบสารสนเทศ 2 ชม.

แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 องคประกอบของระบบสารสนเทศ (ฮารดแวรและซอฟตแวร) 2 ชม.

แผนการจัดการเรียนรูที่ 4 องคประกอบของระบบสารสนเทศ (บุคลากรและขอมูล) 2 ชม.

แผนการจัดการเรียนรูที่ 5 องคประกอบของระบบสารสนเทศ (ขั้นตอนการปฏิบัติงาน) 2 ชม.

หนวยการเรียนรูท่ี 2 คอมพิวเตอร 6 ช่ัวโมง

แผนการจัดการเรียนรูที่ 6 ระบบการทํางานของคอมพิวเตอร 2 ชม.

แผนการจัดการเรียนรูที่ 7 ฮารดแวรและซอฟตแวร 2 ชม.

แผนการจัดการเรียนรูที่ 8 ผูใช ขอมูล และกระบวนการ 2 ชม.

หนวยการเรียนรูท่ี 3 การส่ือสารขอมูล 12 ช่ัวโมง

แผนการจัดการเรียนรูที่ 9 ระบบการส่ือสารขอมูล 2 ชม.

แผนการจัดการเรียนรูที่ 10 รูปแบบของการถายโอนขอมูล 2 ชม.

แผนการจัดการเรียนรูที่ 11 ตัวกลาง 2 ชม.

แผนการจัดการเรียนรูที่ 12 ระบบบัส 2 ชม.

แผนการจัดการเรียนรูที่ 13 เครือขายคอมพิวเตอร 4 ชม.

หนวยการเรียนรูท่ี 4 อินเทอรเน็ต 6 ช่ัวโมง

แผนการจัดการเรียนรูที่ 14 ความหมายและลักษณะของอินเทอรเน็ต 2 ชม.

แผนการจัดการเรียนรูที่ 15 การสืบคนขอมูลและมารยาทในการใชงานอินเทอรเน็ต 4 ชม.

หนวยการเรียนรูท่ี 5 โครงงานคอมพิวเตอร 2 ช่ัวโมง

แผนการจัดการเรียนรูที่ 16 โครงงานคอมพิวเตอร 2 ชม.

หนวยการเรียนรูท่ี 6 จรยิธรรมและความปลอดภัย 4 ช่ัวโมง

Page 29: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 17 จริยธรรมและพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร 2 ชม.

แผนการจัดการเรียนรูที่ 18 อาชญากรรมคอมพิวเตอรและแนวทางการปองกัน 2 ชม.

รวม 40 ช่ัวโมง

ตอนท่ี 2

แผนการจัดการเรยีนรู

Page 30: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

หนวยการเรียนรูท่ี 1 ระบบสารสนเทศ 10 ช่ัวโมง

ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน

ระบบสารสนเทศ

คุณธรรม จริยธรรม และ

คานิยม .

• มีเจตคติที่ดีตอระบบ

สารสนเทศ • มีความรับผิดชอบ • มีความขยันและอดทน • มีความรอบคอบ • มีมารยาทในการทํางาน

ภาระ/ชิ้นงาน .

• ออกแบบแผนผังกระบวนการ

ทํางาน • สรุปลักษณะของระบบ

สารสนเทศตามประเภทลงใน

ตาราง • สัมภาษณบุคลากรที่ทําหนาที่

ในระบบสารสนเทศ

ความรู • .ความหมายและลักษณะ

ของระบบสารสนเทศ • ประเภทของระบบ

สารสนเทศ • องคประกอบของระบบ

สารสนเทศ

ทักษะ/กระบวนการ .

• ทักษะการจัดการ • ทักษะการนําเสนอผลงาน

• ทักษะกระบวนการทํางาน • ทักษะการแสวงหาความรู

Page 31: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

การออกแบบการจัดการเรียนรู

หนวยการเรียนรูท่ี 1 ระบบสารสนเทศ

ขั้นท่ี 1 ผลลัพธปลายทางท่ีตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน

ตัวช้ีวัดช้ันป

1. อธิบายองคประกอบของระบบสารสนเทศ (ง 3.1 ม. 4–6/1)

2. ใชคอมพิวเตอรในการประมวลผลขอมูลใหเปนสารสนเทศเพ่ือประกอบการตัดสินใจ (ง 3.1

ม. 4–6/10)

ความเขาใจท่ีคงทนของนักเรียน

นักเรียนจะเขาใจวา...

1. ระบบสารสนเทศ คือ กระบวนการรวบรวม

บันทึก ประมวลผลขอมูลใหเปนสารสนเทศ และ

แจกจายสารสนเทศ เพ่ือชวยในการวางแผน ควบคุม

และสนบัสนุนการตัดสินใจ

2. ระบบสารสนเทศมีหลายประเภท ทั้งนี้ขึ้นอยู

กับจุดประสงคและลักษณะของงานที่นําไปใช

3. องคประกอบของระบบสารสนเทศ

เหมือนกับองคประกอบของระบบคอมพิวเตอร

เนื่องจากระบบสารสนเทศมีการนําเครื่องคอมพิวเตอร

มาชวยในการจัดการขอมูล

4. ระบบสารสนเทศในทุกองคประกอบมี

ความสําคัญเทากัน เนื่องจากประสิทธิภาพของ

สารสนเทศที่ไดขึ้นอยูกับประสิทธิภาพของ

องคประกอบของระบบสารสนเทศ

คําถามสําคัญท่ีทําใหเกิดความเขาใจท่ีคงทน

- ระบบสารสนเทศหมายถึงอะไร

- ระบบสารสนเทศมีประโยชนอยางไร

- ระบบสารสนเทศมีลักษณะอยางไร

- ระบบสารสนเทศมีก่ีประเภท อะไรบาง

- องคประกอบของระบบสารสนเทศมีอะไรบาง

- องคประกอบใดของระบบสารสนเทศมี

ความสําคัญมากที่สุด เพราะเหตุใด

- การพัฒนาระบบสารสนเทศสามารถปฏิบัติได

อยางไร

ความรูของนักเรียนท่ีนําไปสูความเขาใจท่ีคงทน

นักเรียนจะรูวา…

1. คําที่ควรรู ไดแก ฟงกชัน กูคืนขอมูล เงื่อนไข

สํารองขอมูล ภูมิศาสตร การประชุมทางไกล ทรัพยากร

กลองดิจิทัล สแกนเนอร ไมโครโฟน ตรรกะ ซีมอส

โปรเซสเซอร ไมโครโปรเซสเซอร เมนบอรด แรม รอม

ไวรัส เซลล แผนสไลด ฐานขอมูล ขอสนเทศ และโมดูล

2. ระบบสารสนเทศมีกระบวนการทํางานเปน

การนําเขาขอมูล การประมวลผลขอมูล การแสดงผล

และการจัดเก็บขอมูล

3. ระบบสารสนเทศแบงเปน TPS MIS DSS

GDSS GIS EIS AI และ OAS

ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนท่ีนําไปสูความเขาใจ

ท่ีคงทน

นักเรียนจะสามารถ...

1. อธิบายความหมายและลักษณะของระบบ

สารสนเทศได

2. สรางแผนผังกระบวนการทํางานของระบบ

สารสนเทศได

3. แยกและยกตัวอยางสารสนเทศที่เกิดจาก

ระบบสารสนเทศในแตละประเภทได

4. อธิบายหนาที่องคประกอบของระบบ

สารสนเทศได

5. ยกตัวอยางองคประกอบของระบบ

Page 32: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

4. องคประกอบของระบบสารสนเทศ ไดแก

ฮารดแวร ซอฟตแวร บุคลากร ขอมูล และขั้นตอนการ

ปฏิบัติงาน

สารสนเทศได

ขั้นท่ี 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานท่ีแสดงวานักเรียนมีผลการเรียนรูตามท่ี

กําหนดไวอยางแทจริง

1. ภาระงานท่ีนักเรียนตองปฏิบัติ

– ออกแบบแผนผังกระบวนการทํางานของระบบสารสนเทศ

– ยกตัวอยางระบบสารสนเทศในกระบวนการทํางานของระบบสารสนเทศจากระบบสารสนเทศที่ใชใน

โรงเรียน

– เลาประสบการณการใชระบบสารสนเทศในชีวิตประจําวัน

– สรุปลักษณะของระบบสารสนเทศในแตละประเภทลงในตาราง

– นําเสนอขอมูลที่ไดจากการคนควาเพ่ิมเติม

– โตวาทีในญัตติ ฮารดแวรหรือซอฟตแวรที่จําเปนตอระบบสารสนเทศมากกวากัน

– สัมภาษณบุคลากรที่ทําหนาที่เก่ียวกับระบบสารสนเทศ

– ทํารายงานสรุปขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณ

– เขียนขั้นตอนการปฏิบัติงานเพ่ือพัฒนาระบบสารสนเทศในชีวิตประจําวัน

2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู

วิธีการประเมินผลการเรียนรู

– การอภิปรายและตอบคําถาม

– การสรุปผล การนําเสนอหนาช้ันเรียน และ

การทํารายงาน

– การทดสอบ

– การฝกปฏิบัติระหวางเรียน

– การประเมินตนเองของนักเรียน

เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู

– แบบบันทึกผลการอภิปราย

– แบบประเมินการนําเสนอผลงาน

– แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน

– แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรู

– ใบงาน

– แบบประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม

– แบบประเมินดานทักษะ/กระบวนการ

3. ส่ิงท่ีมุงประเมิน

– ความสามารถในการอธิบายและนําเสนอขอมูล

– ความสามารถในการวิเคราะหและสรุปขอมูลที่ไดจากการคนหา

– การคนหาขอมูลจากการสัมภาษณผูอ่ืน

– พฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมเปนรายบุคคลและรายกลุม

– การมีความรับผิดชอบ ขยัน อดทน และมีมารยาทในการทํางาน

ขั้นท่ี 3 แผนการจัดการเรียนรู

แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ 2 ช่ัวโมง

แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 ประเภทของระบบสารสนเทศ 2 ช่ัวโมง

Page 33: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 องคประกอบของระบบสารสนเทศ (ฮารดแวรและซอฟตแวร) 2 ช่ัวโมง

แผนการจัดการเรียนรูที่ 4 องคประกอบของระบบสารสนเทศ (บุคลากรและขอมูล) 2 ช่ัวโมง

แผนการจัดการเรียนรูที่ 5 องคประกอบของระบบสารสนเทศ (ขั้นตอนการปฏิบัติงาน) 2 ช่ัวโมง

Page 34: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 1

ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยการเรียนรูที่ 1 ระบบสารสนเทศ เวลา 2 ช่ัวโมง

1 สาระสําคัญ

ระบบสารสนเทศ เปนกระบวนการรวบรวม บันทึก ประมวลผลขอมูลใหเปนสารสนเทศ และเผยแพรสารสนเทศ เพ่ือ

ใชในการวางแผน การทํางาน และการตัดสินใจ โดยมีกระบวนการทํางานดวยการนําขอมูลเขา การประมวลผลขอมูล การ

แสดงผล และการจัดเก็บขอมูล ซ่ึงสามารถศึกษาไดจากตัวอยางระบบสารสนเทศ โดยระบบสารสนเทศที่ดีจะตองเช่ือถือได เขาใจ

งาย ทันตอเวลา คุมราคา ตรวจสอบได ยืดหยุน สอดคลองกับความตองการ สะดวกในการเขาถึง และปลอดภัย

2 ตัวช้ีวัดช้ันป

1. อธิบายองคประกอบของระบบสารสนเทศ (ง 3.1 ม. 4–6/1)

2. ใชคอมพิวเตอรในการประมวลผลขอมูลใหเปนสารสนเทศเพ่ือประกอบการตัดสินใจ

(ง 3.1 ม. 4–6/10)

3 จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศได (K)

2. เห็นประโยชนของระบบสารสนเทศและใชงานไดในชีวิตประจําวัน ( A)

3. มีทักษะในการสรางแผนผังกระบวนการทํางานของระบบสารสนเทศ (P)

4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม

และคานิยม (A) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1. สังเกตจากการยกตัวอยางระบบ

สารสนเทศ

2. ตรวจแผนผังกระบวนการทํางาน

ของระบบสารสนเทศ

3. ตรวจการทําแบบทดสอบกอน

เรียน (Pre-test)

1. สังเกตความตั้งใจและความ

รับผิดชอบในการปฏิบัติ

กิจกรรม

2. สังเกตความกระตือรือรนและ

ความคิดสรางสรรคในการ

ปฏิบัติกิจกรรม

1. สังเกตจากการยกตัวอยางระบบ

สารสนเทศ

2. สังเกตพฤติกรรมในการ

แสวงหาขอมูลและนําเสนอ

ผลงาน

5 สาระการเรียนรู

ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ

– กระบวนการทํางาน – ลักษณะของระบบสารสนเทศที่ดี

– ตัวอยางระบบสารสนเทศ

Page 35: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

6 แนวทางบูรณาการ

ภาษาไทย เขียนส่ือสารระบบสารสนเทศในรูปแบบของแผนผังกระบวนการ

ทํางาน

คณิตศาสตร การประมวลผลขอมูลดวยวิธีการทางคณิตศาสตร

วิทยาศาสตร ใชระบบสารสนเทศชวยวิเคราะหปญหาและสาเหตุของปญหาส่ิงแวดลอมและ

ทรัพยากรธรรมชาติ

สุขศึกษาฯ ใชระบบสารสนเทศจัดการขอมูลสถิติการแขงขันกีฬาในโรงเรียน

ภาษาตางประเทศ อธิบายความหมายและลักษณะคําศัพทภาษาอังกฤษที่เก่ียวกับ

ระบบสารสนเทศ

7 กระบวนการจัดการเรียนรู

ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. ครูเขียนคําสําคัญเก่ียวกับระบบสารสนเทศบนกระดานดํา เชน ขอมูล ขอมูลดิบ สารสนเทศ การประมวลผล

กระบวนการ และระบบสารสนเทศ

2. นักเรียนรวมกันทบทวนความรูเดิมเก่ียวกับคําสําคัญที่ครูเขียนใหบนกระดานดํา จากนั้นจดบันทึกความหมายและ

ลักษณะของคําสําคัญนั้นตามความเขาใจของนักเรียน

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

1. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน ( Pre-test) จํานวน 20 ขอ เวลา 15 นาท ี

2. นักเรียนศึกษาเรื่อง ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ หนวยการเรียนรู

ที่ 1 ระบบสารสนเทศ จากหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยี

สารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4

3. นักเรียนรวมกันวิเคราะหระบบสารสนเทศที่ใชในโรงเรียน เชน ระบบสารสนเทศสําหรับการยืม–คืนหนังสือที่

หองสมุด ระบบสารสนเทศที่ใชเก็บขอมูลหรือประวัติสวนตัวของนักเรียน และระบบสารสนเทศที่ใชเก็บคะแนนของนักเรียน

4. นักเรียนออกแบบผังงานกระบวนการทํางานของระบบสารสนเทศตามความคิดเห็นของนักเรียนลงในกระดาษ

ขนาด A4 แลวนําไปติดบนกระดานดํา โดยนักเรียนคนที่ออกไปติดแผนผังกระบวนการทํางานทีหลังเพ่ือนใหตรวจสอบวา

แผนผังของตนเหมือนกับที่เพ่ือนออกแบบไวหรือไม ถาเหมือนก็ไมตองนําไปติดบนกระดานดํา

ตัวอยางแผนผังกระบวนการทํางานของระบบสารสนเทศ

Storage

Input Process Output

Storage

Input Process Output

Page 36: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

5. ครูสุมเลือกนักเรียนใหออกมาอธิบายเหตุผลของการออกแบบแผนผังกระบวนการทํางานของระบบสารสนเทศ

หนาช้ันเรียน 2–3 คน

6. นักเรียนยกตัวอยางระบบสารสนเทศในกระบวนการทํางานของระบบสารสนเทศจากระบบสารสนเทศที่ใชใน

โรงเรียน

7. นักเรียนรวมกันวิเคราะหวากระบวนการทํางานของระบบสารสนเทศที่เพ่ือนยกตัวอยางเปนระบบสารสนเทศที่ดี

หรือไม เพราะเหตุใด

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป

1. นักเรียนรวมกันสรุปลักษณะของระบบสารสนเทศที่ดีจากตัวอยางของระบบสารสนเทศที่ใชในโรงเรียน

2. นักเรียนตรวจสอบและสรุปความหมายและลักษณะของคําสําคัญที่บันทึกไวในขั้นนําเขาสูบทเรียน

ขั้นที่ 4 ขั้นฝกฝนนักเรียน

1. นักเรียนรวบรวมขอมูลเก่ียวกับอายุ สวนสูง และน้ําหนักของเพ่ือนในช้ันเรียน แลวนําขอมูลมาจัดระบบสารสนเทศ

ตามกระบวนการทํางาน

2. นักเรียนสัมภาษณผูใชงานระบบสารสนเทศในโรงเรียนโดยใหเปรียบเทียบวา กอนและนําเครื่องคอมพิวเตอรมาใช

กับระบบสารสนเทศมีความแตกตางกันหรือไม อยางไร

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช

1. นักเรียนยกตัวอยางระบบสารสนเทศตามกระบวนการทํางานของระบบสารสนเทศได

2. นักเรียนอธิบายลักษณะของระบบสารสนเทศที่ใชในปจจุบันได

8 กิจกรรมเสนอแนะ

1. กิจกรรมสําหรับกลุมสนใจพิเศษ

นักเรียนยกตัวอยางระบบสารสนเทศที่ใชในชีวิตประจําวัน กําหนดลงในแผนผังกระบวนการทํางาน แลวรวมกัน

วิเคราะหวาระบบสารสนเทศที่ใชในชีวิตประจําวันนั้นเปนระบบสารสนเทศที่ดีหรือไม อยางไร

2. กิจกรรมสําหรับฝกทักษะเพ่ิมเติม

นักเรียนยกตัวอยางระบบสารสนเทศ 1 อยาง พรอมเขียนบรรยายลักษณะของระบบสารสนเทศที่ดีของระบบ

สารสนเทศนั้น

9 ส่ือ/แหลงการเรียนรู

1. กระดาษขนาด A4 และกระดาษกาวสําหรับติดกระดาษบนกระดานดํา

2. ส่ือส่ิงพิมพ เชน หนังสือ บทความ และเอกสารประกอบการเรียนการสอนเก่ียวกับความหมายและลักษณะของ

ระบบสารสนเทศ

3. ส่ืออิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอรชวยสอน เว็บไซตทางการศึกษา และ Hyperbook ที่นําเสนอเก่ียวกับ

ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ

Page 37: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

4. สถานที่ เชน พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร หองสมุดโรงเรียน ฝายทะเบียนในโรงเรียน หรือสถานที่ที่มีการใชระบบ

สารสนเทศเพ่ือจัดการขอมูล

5. บุคคล เชน ผูปกครอง ครู นักวิชาการ เจาหนาที่หองสมุด เจาหนาที่ฝายทะเบียน และผูเช่ียวชาญทางดานระบบ

สารสนเทศ

6. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

7. ส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

10 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู..........................................................................

แนวทางการพัฒนา............................................................................................

2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู....................................................................

3. ส่ิงที่ไมไดปฏิบัติตามแผน...................................................................................

เหตุผล.............................................................................................................

4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู......................................................................

ลงช่ือ........................................(ผูสอน)

Page 38: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 2

ประเภทของระบบสารสนเทศ

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยการเรียนรูที่ 1 ระบบสารสนเทศ เวลา 2 ช่ัวโมง

1 สาระสําคัญ

ระบบสารสนเทศสามารถจําแนกตามลักษณะการดําเนินงานไดหลายประเภท ซ่ึงจะมีวัตถุประสงคและหนาที่ตาง ๆ

ไดแก ระบบสารสนเทศประมวลผลรายการธุรกรรม ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ ระบบสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการ

ตัดสินใจ ระบบสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุม ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ระบบสารสนเทศสนับสนุนการ

ตัดสินใจของผูบริหารระดับสูง ปญญาประดิษฐ และระบบสารสนเทศสํานักงาน

2 ตัวช้ีวัดช้ันป

1. อธิบายองคประกอบของระบบสารสนเทศ (ง 3.1 ม. 4–6/1)

2. ใชคอมพิวเตอรในการประมวลผลขอมูลใหเปนสารสนเทศเพ่ือประกอบการตัดสินใจ

(ง 3.1 ม. 4–6/10)

3 จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายลักษณะการดําเนินงานของระบบสารสนเทศประเภทตาง ๆ ได ( K)

2. เห็นประโยชนของระบบสารสนเทศและใชงานไดในชีวิตประจําวัน ( A)

3. มีทักษะในการคนหาขอมูลเก่ียวกับประเภทของระบบสารสนเทศ ( P)

4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม

และคานิยม (A) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1. ตรวจการนําเสนอขอมูลหนาช้ัน

เรียน

2. ตรวจตารางสรุปประเภทของ

ระบบสารสนเทศ

1. สังเกตจากความรับผิดชอบและ

ความรอบคอบในการปฏิบัติ

กิจกรรม

2. สังเกตความรวมมือและการ

ชวยเหลือผูอ่ืนในขณะปฏิบัติ

กิจกรรมกลุม

1. สังเกตทักษะในการวางแผนและ

แบงงานเพ่ือคนหาขอมูล

2. สังเกตพฤติกรรมในการ

ปฏิบัติงานรวมกับผูอ่ืน

5 สาระการเรียนรู

ประเภทของระบบสารสนเทศ

6 แนวทางบูรณาการ

Page 39: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ภาษาไทย การสรุปลักษณะของระบบสารสนเทศจากการนําเสนอขอมูล

คณิตศาสตร การประมวลผลตัวเลขดวยระบบสารสนเทศ เพ่ือสนับสนุนการ

ตัดสินใจ

วิทยาศาสตร การใชปญญาประดิษฐสงเสริมการทดลองทางวิทยาศาสตร

สังคมศึกษาฯ การใชระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจชวยวิเคราะหผล

ทางเศรษฐศาสตร

ภาษาตางประเทศ การใชคําสําคัญเพ่ือคนหาขอมูล

ศิลปะ หลักการออกแบบสารสนเทศที่ไดจากระบบสารสนเทศเพ่ือส่ือ

ความหมายในรูปแบบตาง ๆ

7 กระบวนการจัดการเรียนรู

ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. นักเรียนผลัดกันเลาประสบการณการใชระบบสารสนเทศในชีวิตประจําวัน เชน การฝากและถอนเงินกับธนาคาร

การจัดเก็บคะแนนสอบ และการคิดคาบริการโทรศัพทในแตละเดือน

2. นักเรียนคนอ่ืน ๆ ซักถามและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประสบการณที่เพ่ือนเลา

3. นักเรียนรวมกันวิเคราะหลักษณะของสารสนเทศที่ใชจากประสบการณที่เพ่ือนเลาวาเหมือนหรือแตกตางกัน

หรือไม อยางไร

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

1. นักเรียนศึกษาเรื่อง ประเภทของระบบสารสนเทศ หนวยการเรียนรูที่ 1 ระบบสารสนเทศ จากหนังสือเรียนสาระ

การเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4

2. ครูแจกตาราง สรุปประเภทของระบบสารสนเทศใหนักเรียนทุกคน คนละ 1 แผน แลวเปดโอกาสใหนักเรียน

ซักถามเก่ียวกับตาราง สรุปประเภทของระบบสารสนเทศ และตอบคําถามนักเรียนทุกขอ

ตาราง สรุปประเภทของระบบสารสนเทศ

ประเภท TPS MIS DSS GDSS GIS EIS AI OAS

ลักษณะเดน

ลักษณะดอย

ลักษณะผูใช

ลักษณะโปรแกรม

แหลงขอมูล

Page 40: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

3. แบงนักเรียนเปน 8 กลุม ใหตวัแทนกลุมออกมาจับสลากเลือกประเภทของระบบสารสนเทศ

4. สมาชิกแตละกลุมใชขอมูลจากตาราง สรุปประเภทของระบบสารสนเทศประกอบการวางแผนและแบงงาน เพ่ือ

คนหาขอมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับประเภทของระบบสารสนเทศที่ตัวแทนกลุมจับสลากไดภายในเวลา 30 นาท ี

5. กอนหมดเวลา 5 นาที ใหครูเตือนนักเรียน 1 ครั้ง เม่ือหมดเวลาใหนักเรียนเลิกจับกลุม แลวแยกยายกันนั่งประจําที่

ของตน

6. ครูสุมเลือกสมาชิกแตละกลุม กลุมละ 1–2 คน ออกมานําเสนอขอมูลประเภทของสารสนเทศที่กลุมตนเองคนหา

หนาช้ันเรียน และใหนักเรียนคนอ่ืน ๆ ซักถามตามความสนใจ

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป

1. นักเรียนรวมกันสรุปประเภทของระบบสารสนเทศลงในตาราง

2. นักเรียนรวมกันสรุปปญหาและแนวทางการแกปญหาที่พบจากการคนหาขอมูลเก่ียวกับประเภทของระบบ

สารสนเทศ

ขั้นที่ 4 ขั้นฝกฝนนักเรียน

1. นักเรียนจับคูกับเพ่ือนผลัดกันถามและตอบเก่ียวกับประเภทของระบบสารสนเทศ

2. นักเรียนยกตัวอยางสารสนเทศที่ไดจากระบบสารสนเทศในแตละประเภท

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช

นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะและสรุปประเภทของระบบสารสนเทศได

8 กิจกรรมเสนอแนะ

1. กิจกรรมสําหรับกลุมสนใจพิเศษ

นักเรียนวิเคราะหระบบสารสนเทศที่ใชในชีวิตประจําวันวาเปนระบบสารสนเทศประเภทใด มีลักษณะเดน

ลักษณะดอย ลักษณะผูใช และลักษณะโปรแกรมเปนอยางไร

2. กิจกรรมสําหรับฝกทักษะเพ่ิมเติม

นักเรียนนําตัวอยางของสารสนเทศในแตละประเภทมาจัดทําในรูปแบบของแผนผังกระบวนการทํางาน แลว

สรุปวาระบบสารสนเทศประเภทนั้นเปนระบบสารสนเทศที่ดีหรือไม อยางไร

9 ส่ือ/แหลงเรียนรู

1. สลากรายช่ือประเภทของระบบสารสนเทศ และนาฬิกาจับเวลา

2. ตาราง สรุปประเภทของระบบสารสนเทศ

3. ส่ือส่ิงพิมพ เชน หนังสือ บทความ และเอกสารประกอบการเรียนการสอนเก่ียวกับประเภทของระบบสารสนเทศ

4. ส่ืออิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอรชวยสอน เว็บไซตทางการศึกษา และ Hyperbook ที่นําเสนอเก่ียวกับประเภท

ของระบบสารสนเทศ

Page 41: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

5. สถานที่ เชน พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสาร และสถานที่ที่ใชระบบสารสนเทศประเภทตาง ๆ

6. บุคคล เชน ผูปกครอง ครู นักวิชาการ และผูเช่ียวชาญทางดานระบบสารสนเทศ

7. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

8. ส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

10 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู..........................................................................

แนวทางการพัฒนา............................................................................................

2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู....................................................................

3. ส่ิงที่ไมไดปฏิบัติตามแผน...................................................................................

เหตุผล.............................................................................................................

4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู......................................................................

ลงช่ือ........................................(ผูสอน)

Page 42: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 3

องคประกอบของระบบสารสนเทศ (ฮารดแวรและซอฟตแวร)

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยการเรียนรูที่ 1 ระบบสารสนเทศ เวลา 2 ช่ัวโมง

1 สาระสําคัญ

องคประกอบของระบบสารสนเทศประกอบดวยฮารดแวร ซอฟตแวร บุคลากร ขอมูล และขั้นตอนการปฏิบัติงาน ซ่ึง

ฮารดแวรและซอฟตแวรในระบบสารสนเทศสามารถแบงไดตามหลักการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร

2 ตัวช้ีวัดช้ันป

1. อธิบายองคประกอบของระบบสารสนเทศ (ง 3.1 ม. 4–6/1)

2. ใชคอมพิวเตอรในการประมวลผลขอมูลใหเปนสารสนเทศเพ่ือประกอบการตัดสินใจ (ง 3.1 ม. 4–6/10)

3 จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายหนาที่ของฮารดแวรและซอฟตแวรในระบบสารสนเทศได ( K)

2. เห็นความสําคัญของฮารดแวรและซอฟตแวรที่ใชในระบบสารสนเทศ ( A)

3. ยกตัวอยางฮารดแวรและซอฟตแวรที่ใชในระบบสารสนเทศได ( P)

4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม

และคานิยม (A) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1. สังเกตจากการนาํเสนอขอมูล

และการโตวาที

2. ตรวจผลงานการทํา

ใบงานที่ 1

1. สังเกตความตั้งใจ ความขยัน

และความอดทนในการ

นําเสนอขอมูล

2. สังเกตจากการยอมรับฟง

ความคิดเห็นของผูอ่ืน

1. สังเกตการใหความรวม-

มือในการทํากิจกรรมกลุม

2. สังเกตการยกตัวอยาง

ฮารดแวรและซอฟตแวรที่ใช

ในระบบสารสนเทศ

5 สาระการเรียนรู

องคประกอบของระบบสารสนเทศ

– ฮารดแวร – ซอฟตแวร

6 แนวทางบูรณาการ

ภาษาไทย การโตวาทีและการสรุปประเด็นสําคัญที่ไดจากการฟง

คณิตศาสตร การศึกษาวิธีการคํานวณของหนวยประมวลผลกลางของ

ฮารดแวรในระบบสารสนเทศ

Page 43: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

วิทยาศาสตร การศึกษากระบวนการทํางานของฮารดแวรและซอฟตแวรใน

แงมุมของวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร

สุขศึกษาฯ การเลือกใชฮารดแวรและซอฟตแวรที่สอดคลองกับกายภาพของ

มนุษยเพ่ือสงเสริมการเคล่ือนไหวของรางกาย

สังคมศึกษาฯ การใชระบบสารสนเทศแกปญหาขององคกร

ภาษาตางประเทศ การศึกษาหนาที่ของฮารดแวรและซอฟตแวรจากเอกสาร

ภาษาตางประเทศ

7 กระบวนการจัดการเรียนรู

ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. นักเรียนรวมกันแลกเปล่ียนความรูเก่ียวกับฮารดแวรและซอฟตแวรจากความรูเดิม โดยรวมกันตอบคําถามวาใช

หรือไมเก่ียวกับฮารดแวรและซอฟตแวรตอไปนี ้

– ซอฟตแวรคือชุดคําส่ัง (ใช)

– ซอฟตแวรสามารถมองเห็นได (ไมใช)

– ฮารดแวรไมสามารถจับตองได (ไมใช)

– ฮารดแวรคือสวนหนึ่งของคอมพิวเตอร (ใช)

– ซอฟตแวรคือสวนหนึ่งของคอมพิวเตอร (ใช)

– ฮารดแวรไมสามารถทํางานไดโดยมีซอฟตแวร (ใช)

– ซอฟตแวรสามารถทํางานไดโดยไมมีฮารดแวร (ไมใช)

– ฮารดแวรคืออุปกรณตาง ๆ ที่ใชในการปฏิบัติงาน (ใช)

– ซอฟตแวรคือสวนประกอบภายในของคอมพิวเตอร (ไมใช)

– ฮารดแวรคือสวนประกอบภายนอกของคอมพิวเตอร (ไมใช)

2. แบงนักเรียนเปน 2 กลุม แตละกลุมชวยกันตรวจสอบสมาชิกที่สามารถตอบคําถามไดถูกตองทุกขอ

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

1. นักเรียนศึกษาเรื่อง องคประกอบของระบบสารสนเทศ ในหัวขอฮารดแวรและซอฟตแวร หนวยการเรียนรูที่ 1

ระบบสารสนเทศ จากหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ

สมบูรณแบบ ม. 4

2. กําหนดใหกลุมที่ 1 คนหาความรูเพ่ิมเติมเก่ียวกับฮารดแวร และกลุมที่ 2 คนหาความรูเพ่ิมเติมเก่ียวกับซอฟตแวร

3. ครูสุมเลือกตัวแทนจากสมาชิกแตละกลุม กลุมละ 5 คน โดยใหคนแรกนําเสนอขอมูลที่ไดจากการคนหาเพ่ิมเติม

คนที่สองนําเสนอตัวอยางฮารดแวรหรือซอฟตแวรตามที่กลุมตนเองรับผิดชอบ

4. ตัวแทนกลุมคนที่ 3–5 ใหโตวาทีในญัตติ ฮารดแวรหรือซอฟตแวรที่จําเปนตอระบบสารสนเทศมากกวากัน

5. ครูชวยจับเวลา สวนนักเรียนคนอ่ืน ๆ ชวยกันจดประเด็นสําคัญที่ไดจากการโตวาที

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป

Page 44: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

1. นักเรียนรวมกันสรุปวา ทั้งฮารดแวรและซอฟตแวรลวนแลวแตมีความสําคัญตอระบบสารสนเทศเทากัน

2. นักเรียนสรุปหนาที่ของฮารดแวรและซอฟตแวรแตละประเภทลงในใบงานที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 เรื่อง

ตาราง สรุปหนาที่ หนวยการเรียนรูที่ 1 ระบบสารสนเทศ

ขั้นที่ 4 ขั้นฝกฝนนักเรียน

1. นักเรียนคนหาตัวอยางของฮารดแวรและซอฟตแวรแตละประเภทเพ่ิมเติม แลวนําขอมูลมารวมกันวิเคราะหถึง

หนาที่ของฮารดแวรและซอฟตแวรนั้นกับเพ่ือน

2. นักเรียนตั้งคําถามเก่ียวกับฮารดแวรและซอฟตแวรคนละ 10 คําถาม แลวแลกเปล่ียนกับเพ่ือนเพ่ือตอบคําถาม แลว

รวมกันตรวจคําตอบ

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช

1. นักเรียนอธิบายหนาที่และยกตัวอยางฮารดแวรและซอฟตแวรที่ใชในระบบสารสนเทศได

2. นักเรียนอธิบายความสําคัญของฮารดแวรและซอฟตแวรที่ใชในระบบสารสนเทศได

8 กิจกรรมเสนอแนะ

1. กิจกรรมสําหรับกลุมสนใจพิเศษ

สํารวจระบบสารสนเทศในโรงเรียนวาประกอบดวยฮารดแวรและซอฟตแวรใดบาง และรวมกันวิเคราะหวา

ฮารดแวรและซอฟตแวรนั้นทําหนาที่อะไรในระบบสารสนเทศของโรงเรียน

2. กิจกรรมสําหรับฝกทักษะเพ่ิมเติม

เขียนแผนผังประเภทของฮารดแวรและซอฟตแวรในระบบสารสนเทศ แลวนํามาแลกเปล่ียนกันศึกษากับเพ่ือน

9 ส่ือ/แหลงเรียนรู

1. ตัวอยางฮารดแวรและซอฟตแวรที่ใชในระบบสารสนเทศ

2. ส่ือส่ิงพิมพ เชน หนังสือ บทความ และเอกสารประกอบการเรียนการสอนเก่ียวกับฮารดแวรและซอฟตแวรของ

ระบบสารสนเทศ

3. ส่ืออิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอรชวยสอน เว็บไซตทางการศึกษา และ Hyperbook ที่นําเสนอเก่ียวกับฮารดแวร

และซอฟตแวรของระบบสารสนเทศ

4. สถานที่ เชน พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสาร

5. บุคคล เชน ผูปกครอง ครู นักวิชาการ และผูเช่ียวชาญทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

6. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 1 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

7. ส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

10 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู..........................................................................

แนวทางการพัฒนา............................................................................................

Page 45: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู....................................................................

3. ส่ิงที่ไมไดปฏิบัติตามแผน...................................................................................

เหตุผล.............................................................................................................

4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู......................................................................

ลงช่ือ........................................(ผูสอน)

Page 46: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 4

องคประกอบของระบบสารสนเทศ (บุคลากรและขอมูล)

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยการเรียนรูที่ 1 ระบบสารสนเทศ เวลา 2 ช่ัวโมง

1 สาระสําคัญ

บุคลากรและขอมูลเปนองคประกอบของระบบสารสนเทศ โดยบุคลากรจะหมายถึงบุคคลที่ปฏิบัติงานหรือผูที่เก่ียวของ

กับระบบสารสนเทศ แบงเปนนักวิเคราะหระบบ โปรแกรมเมอร เจาหนาที่ฝายปฏิบัติงานเครื่อง และผูใช สวนขอมูลจะหมายถึง

ขอเท็จจริงที่อยูในรูปแบบตาง ๆ ที่ใชในระบบสารสนเทศ ซ่ึงมีทั้งขอมูลที่ไมผานการประมวลผลหรือขอมูลดิบ และขอมูลที่ผาน

การประมวลผลแลวหรือสารสนเทศนั่นเอง

2 ตัวช้ีวัดช้ันป

1. อธิบายองคประกอบของระบบสารสนเทศ (ง 3.1 ม. 4–6/1)

2. ใชคอมพิวเตอรในการประมวลผลขอมูลใหเปนสารสนเทศเพ่ือประกอบการตัดสินใจ

(ง 3.1 ม. 4–6/10)

3 จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายหนาที่ของบุคลากรที่เก่ียวของกับระบบสารสนเทศได ( K)

2. อธิบายลักษณะของขอมูลที่ใชในระบบสารสนเทศได ( K)

3. เห็นความสําคัญของบุคลากรและขอมูลที่ใชในระบบสารสนเทศ ( A)

4. คนหาขอมูลจากการสัมภาษณได ( P)

4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม

และคานิยม (A) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1. สังเกตจากการเปรียบเทียบ การ

วิเคราะห และการแสดงความ

คิดเห็น

2. ตรวจรายงานสรุปขอมูลที่ได

จากการสัมภาษณ

1. สังเกตจากความกระตือรือรน

และมารยาทในการสัมภาษณ

ผูอ่ืน

2. สังเกตความรับผิดชอบและใน

การทํางาน

1. สังเกตการมีทักษะในการวาง

แผนการดําเนินงานและการ

แบงงาน

2. สังเกตพฤติกรรมขณะ

ปฏิบัติงานรวมกับผูอ่ืน

Page 47: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

5 สาระการเรียนรู

องคประกอบของระบบสารสนเทศ

– บุคลากร

– ขอมูล

6 แนวทางบูรณาการ

ภาษาไทย การสรุปขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณผูอ่ืน

คณิตศาสตร การแทนคาเลขฐานสองใหเปนกลุมของบิตตามโครงสรางของ

ขอมูล

สุขศึกษาฯ การปฏิบัติงานกับผูอ่ืนโดยคํานึงถึงศักยภาพของกลุมเปนสําคัญ

สังคมศึกษาฯ การเปรียบเทียบโครงสรางทางสังคมกับโครงสรางตําแหนงของ

บุคลากรที่ทําหนาที่ในระบบสารสนเทศ

ภาษาตางประเทศ รากศัพทของช่ือตําแหนงบุคลากรที่ทําหนาที่ในระบบสารสนเทศ

เพ่ือแสดงกิริยาของงานที่ปฏิบัติ

7 กระบวนการจัดการเรียนรู

ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับบุคลากรที่เก่ียวของกับระบบสารสนเทศ แลวเขียนช่ือตําแหนงลงบน

กระดานดํา

2. นักเรียนวิเคราะหช่ือตําแหนงที่เขียนบนกระดานดําวา ตรงกับบุคลากรทานใดในระบบสารสนเทศที่ใชในโรงเรียน

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

1. นักเรียนศึกษาเรื่อง องคประกอบของระบบสารสนเทศ ในหัวขอบุคลากรและขอมูล หนวยการเรียนรูที่ 1 ระบบ

สารสนเทศ จากหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ

สมบูรณแบบ ม. 4

2. นักเรียนเปรียบเทียบ วิเคราะห และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับตําแหนงที่เขียนบนกระดานดํากับที่นําเสนอใน

หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4

หนวยการเรียนรูที่ 1 ระบบสารสนเทศ วาเหมือนหรือตางกันหรือไม อยางไร หรือมีตําแหนงใดที่นอกเหนือจากที่นําเสนอ เพราะ

เหตุใด

3. ครูกําหนดเวลาในการวางแผนการดําเนินงาน 15 นาที แลวใหนักเรียนดําเนินงานตามแผนการที่ตั้งไว 30 นาที

4. นักเรียนรวมกันวางแผนการดําเนินงานและสัมภาษณบุคลากรที่เก่ียวของกับระบบสารสนเทศ ในหัวขอหนาที่ของ

บุคลากร ความรูหรือการศึกษาของบุคลากร ปญหาที่พบในการทํางานของบุคลากร และลักษณะของขอมูลที่ใชในระบบ

สารสนเทศ

5. นักเรียนปฏิบัติตามที่ไดวางแผนการดําเนินการและแบงงานไว

6. เม่ือครบเวลาใหนักเรียนรวบรวมขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณบุคลากร สรุป แลวจัดทําเปนรายงานของหองเก่ียวกับ

บุคลากรและขอมูลในระบบสารสนเทศ

Page 48: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป

1. นักเรียนชวยกันสรุปหนาที่ของบุคลากร ความรูหรือการศึกษาของบุคลากร ปญหาที่พบในการทํางานของบุคลากร

และลักษณะของขอมูลที่ใชในระบบสารสนเทศ

2. นักเรียนสรุปปญหาและแนวทางการแกปญหาที่พบในการดําเนินงาน บันทึกเพ่ิมเติมลงในรายงาน

ขั้นที่ 4 ขั้นฝกฝนนักเรียน

สัมภาษณบุคลากรที่ปฏิบัติงานเก่ียวกับระบบสารสนเทศของบริษัทหรือสถานที่ที่ใชงานระบบสารสนเทศอ่ืน ๆ

นอกเหนือจากในโรงเรียน ในหัวขอหนาที่ของบุคลากร ความรูหรือการศึกษาของบุคลากร ปญหาที่พบในการทํางานของบุคลากร

และลักษณะของขอมูลที่ใชในระบบสารสนเทศ จากนั้นนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหรวมกันกับเพ่ือนวาเหมือนหรือแตกตางจาก

ระบบสารสนเทศในโรงเรียนหรือไม อยางไร

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช

1. นักเรียนสามารถสรุปขอมูลที่คนหาไดดวยวิธีการสัมภาษณ

2. นักเรียนอธิบายหนาที่ของบุคลากร ความรูหรือการศึกษาของบุคลากร ปญหาที่พบในการทํางานของบุคลากร และ

ลักษณะของขอมูลที่ใชในระบบสารสนเทศได

8 กิจกรรมเสนอแนะ

1. กิจกรรมสําหรับกลุมสนใจพิเศษ

วิเคราะหขอมูลจากรายงานของหองเก่ียวกับบุคลากรและขอมูลในระบบสารสนเทศวาเปนขอมูลที่ดีหรือไม

อยางไร

2. กิจกรรมสําหรับฝกทักษะเพ่ิมเติม

ศึกษาเพ่ิมเติมเก่ียวกับโครงสรางของขอมูล แลวยกตัวอยางขอมูลที่พบในชีวิตประจําวันตามโครงสรางของขอมูล

9 ส่ือ/แหลงเรียนรู

1. ส่ือส่ิงพิมพ เชน หนังสือ บทความ และเอกสารประกอบการเรียนการสอนเก่ียวกับวิธีการประมวลผลขอมูล

2. ส่ืออิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอรชวยสอน เว็บไซตทางการศึกษา และ Hyperbook ที่นําเสนอเก่ียวกับวิธีการ

ประมวลผลขอมูล

3. สถานที่ เชน พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสาร หองสมุด และสถานที่ที่ติดตั้งระบบสารสนเทศ

4. บุคคล เชน ผูปกครอง ครู นักวิชาการ บุคลากรที่ทําหนาที่เก่ียวกับระบบสารสนเทศ และผูเช่ียวชาญทางดาน

เทคโนโลยีสารสนเทศ

5. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

6. ส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

10 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

Page 49: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู..........................................................................

แนวทางการพัฒนา............................................................................................

2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู....................................................................

3. ส่ิงที่ไมไดปฏิบัติตามแผน...................................................................................

เหตุผล.............................................................................................................

4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู......................................................................

ลงช่ือ........................................(ผูสอน)

Page 50: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 5

องคประกอบของระบบสารสนเทศ (ขั้นตอนการปฏิบัติงาน)

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยการเรียนรูที่ 1 ระบบสารสนเทศ เวลา 2 ช่ัวโมง

1 สาระสําคัญ

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คือ การรวมองคประกอบของระบบสารสนเทศอ่ืน ๆ มาดําเนินงานรวมกัน เพ่ือพัฒนาระบบ

สารสนเทศเดิมหรือสรางระบบสารสนเทศใหม ดวยการกําหนดวงจรการพัฒนาระบบขึ้น โดยการวิเคราะหเชิงโครงสราง 6

ขั้นตอน คือ การวางแผนระบบ การวิเคราะหระบบ การออกแบบระบบ การพัฒนาระบบ การติดตั้งระบบ และการดูแลรักษา

ระบบ

2 ตัวช้ีวัดช้ันป

1. อธิบายองคประกอบของระบบสารสนเทศ (ง 3.1 ม. 4–6/1)

2. ใชคอมพิวเตอรในการประมวลผลขอมูลใหเปนสารสนเทศเพ่ือประกอบการตัดสินใจ

(ง 3.1 ม. 4–6/10)

3 จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายลักษณะของการปฏิบัติงานในแตละขั้นตอนได ( K)

2. เห็นความสําคัญของการกําหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานเพ่ือพัฒนาระบบสารสนเทศที่ใชในชีวิตประจําวัน ( A)

3. มีทักษะในการกําหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานเพ่ือพัฒนาระบบสารสนเทศ ( P)

4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม

และคานิยม (A) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1. ตรวจการเขียนแผนการ

ดําเนินงานใหม ตามขั้นตอน

การปฏิบัติงานของระบบ

สารสนเทศ

2. ตรวจการทําแบบทดสอบหลัง

เรียน (Post–test)

1. สังเกตความตั้งใจและความขยัน

ในการศึกษาคนควา

2. ประเมินพฤติกรรมของนักเรียน

จากแบบประเมินดานคุณธรรม

จริยธรรม และคานิยม

1. สังเกตพฤติกรรมในการคนหา

ขอมูลเพ่ิมเติม

2. ประเมินพฤติกรรมของ

นักเรียนจากแบบประเมิน

ดานทักษะ/กระบวนการ

5 สาระการเรียนรู

องคประกอบของระบบสารสนเทศ

– ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

Page 51: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

6 แนวทางบูรณาการ

ภาษาไทย การวิเคราะหภาษาในการกําหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานในระบบ

สารสนเทศ

วิทยาศาสตร การประยุกตใชขั้นตอนการปฏิบัติงานของระบบสารสนเทศเพ่ือ

แกปญหาทางวิทยาศาสตร

สุขศึกษาฯ การวิเคราะหระบบสารสนเทศโดยศึกษาถึงความปลอดภัยใน

การดําเนินงานเปนหลัก

สังคมศึกษาฯ การประยุกตใชขั้นตอนการปฏิบัติงานของระบบสารสนเทศเพ่ือ

แกปญหาสังคม

ศิลปะ วิเคราะหหลักการออกแบบขั้นตอนการปฏิบัติงานในระบบ

สารสนเทศ

7 กระบวนการจัดการเรียนรู

ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. นักเรียนทบทวนการวางแผนการดําเนินงานในการคนหาขอมูลดวยการสัมภาษณ จากแผนการเรียนรูที่ 4 วามีลําดับ

ขั้นตอน ปญหา และแนวทางแกปญหาอยางไร

2. นักเรียนนําแผนการดําเนินงานในการคนหาขอมูลดวยการสัมภาษณมาแยกองคประกอบเปรียบเทียบกับ

องคประกอบของระบบสารสนเทศวา มีฮารดแวร ซอฟตแวร บุคลากร และขอมูลใด เพ่ือใหไดรายงานที่ตองการ

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

1. นักเรียนรวมกันวิเคราะหและแสดงความคิดเห็นวา การดําเนินงานดังกลาวมีประสิทธิภาพหรือไม อยางไร

2. นักเรียนศึกษาเรื่อง องคประกอบของระบบสารสนเทศ ในหัวขอขั้นตอนการปฏิบัติงาน หนวยการเรียนรูที่ 1 ระบบ

สารสนเทศ จากหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ

สมบูรณแบบ ม. 4

3. นักเรียนซักถามครูเก่ียวกับเรื่อง องคประกอบของระบบสารสนเทศ ทั้งหมดจนเขาใจ

4. นักเรียนเขียนแผนการดําเนินงานใหม ตามขั้นตอนการปฏิบัติงานของระบบสารสนเทศ โดยอาศัยขอมูลจาก

ประสบการณในการดําเนินงานที่ผานมา

5. เม่ือเสร็จแลวนํารายงานมาเปรียบเทียบและวิเคราะหกับรายงานของเพ่ือนวา แตกตางกันหรือไม อยางไร

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป

1. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน ( Post-test) จํานวน 20 ขอ เวลา 15 นาที

2. นักเรียนสรุปขั้นตอนการปฏิบัติงานวา ในแตละขั้นตอนมีวิธีการดําเนินงานอยางไร สรุป แลวสรางเปนแผนผัง

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

ขั้นที่ 4 ขั้นฝกฝนนักเรียน

Page 52: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

1. นักเรียนกําหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานเก่ียวกับกิจกรรมที่ใชในชีวิตประจําวันของนักเรียน เชน ระบบสารสนเทศ

ขอมูลของเพ่ือนที่นักเรียนรูจักทั้งหมด ระบบสารสนเทศเอกสารประกอบการเรียนรูของนักเรียน และระบบสารสนเทศรายรับ–

รายจายของนักเรียน

2. นักเรียนคนควาเพ่ิมเติมแลวทดลองปฏิบัติตามขั้นตอนการปฏิบัติงานที่กําหนดไว จากนั้นแลกเปล่ียนความคิดเห็น

เก่ียวกับระบบสารสนเทศของนักเรียนกับเพ่ือน

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช

1. นักเรียนกําหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานเก่ียวกับกิจกรรมที่ใชในชีวิตประจําวันของนักเรียนได

2. นักเรียนวิเคราะหระบบสารสนเทศที่ใชในชีวิตประจําวันได

8 กิจกรรมเสนอแนะ

1. กิจกรรมสําหรับกลุมสนใจพิเศษ

ศึกษาและเปรียบเทียบวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศที่นําเสนอในหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน

เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 หนวยการเรียนรูที่ 1 ระบบสารสนเทศ

กับระบบสารสนเทศที่ใชจริงตามหนวยงานหรือองคกรตาง ๆ

2. กิจกรรมสําหรับฝกทักษะเพ่ิมเติม

เชิญบุคลากรที่ปฏิบัติงานในระบบสารสนเทศ มาบรรยายเก่ียวกับหนาที่ของตนเองในระบบสารสนเทศ แลวเปด

โอกาสใหนักเรียนซักถามตามความสนใจ

9 ส่ือ/แหลงเรียนรู

1. ส่ือส่ิงพิมพ เชน หนังสือ บทความ และเอกสารประกอบการเรียนการสอนเก่ียวกับองคประกอบของระบบ

สารสนเทศ

2. ส่ืออิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอรชวยสอน เว็บไซตทางการศึกษา และ Hyperbook ที่นําเสนอเก่ียวกับ

องคประกอบของระบบสารสนเทศ

3. พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร หองสมุด

และสถานที่ที่ติดตั้งระบบสารสนเทศ

4. บุคคล เชน ผูปกครอง ครู นักวิชาการ บุคลากรที่ทําหนาที่เก่ียวกับระบบสารสนเทศ และผูเช่ียวชาญทางดาน

เทคโนโลยีสารสนเทศ

5. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

6. ส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

10 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู..........................................................................

แนวทางการพัฒนา............................................................................................

2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู....................................................................

3. ส่ิงที่ไมไดปฏิบัติตามแผน...................................................................................

Page 53: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

เหตุผล.............................................................................................................

4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู......................................................................

ลงช่ือ........................................(ผูสอน)

หนวยการเรียนรูท่ี 2 คอมพิวเตอร 6 ช่ัวโมง

ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน

คอมพิวเตอร

ภาระ/ชิ้นงาน .

• อธิบายและสาธิตหลักการ

ทํางานของคอมพิวเตอร • คนหาขอมูลเก่ียวกับ

ฮารดแวรและซอฟตแวรใน

ระบบคอมพิวเตอร • ตอบคําถามและแสดงความ

คิดเห็นเก่ียวกับผูใช ขอมูล

และกระบวนการในระบบ

ความรู.

• ระบบการทํางานของ

คอมพิวเตอร • สวนประกอบของระบบ

คอมพิวเตอร

ทักษะ/กระบวนการ .

• ทักษะการจัดการ • ทักษะกระบวนการทํางาน • ทักษะการปฏิบัติงานกลุม • ทักษะการใชเทคโนโลยี

Page 54: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

คุณธรรม จริยธรรม และ

คานิยม .

• มีเจตคติที่ดีตอคอมพิวเตอร • มีความรอบคอบ • มีความขยันและอดทน • มีความรับผิดชอบ

Page 55: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

การออกแบบการจัดการเรียนรู

หนวยการเรียนรูท่ี 2 คอมพิวเตอร

ขั้นท่ี 1 ผลลัพธปลายทางท่ีตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน

ตัวช้ีวัดช้ันป

1. อธิบายองคประกอบและหลักการทํางานของคอมพิวเตอร (ง 3.1 ม. 4–6/2)

2. บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวง (ง 3.1 ม. 4–6/4)

ความเขาใจท่ีคงทนของนักเรียน

นักเรียนจะเขาใจวา...

1. คอมพิวเตอรมีการทํางานอยางเปนขั้นตอน

โดยแบงการทํางานเปน 4 หนวยหลัก แตละหนวยจะมี

หนาที่แตกตางกันและทํางานรวมกันอยางเปนระบบ

2. การทํางานของระบบคอมพิวเตอรจะตอง

ประกอบดวย 5 องคประกอบ ไดแก ฮารดแวร

ซอฟตแวร ผูใช ขอมูล และกระบวนการ

3. คอมพิวเตอรจะตองมีองคประกอบครบทั้ง 5

องคประกอบจึงจะสามารถทํางานได โดยประสิทธิภาพ

ของงานจะขึ้นอยูกับประสิทธิภาพขององคประกอบที่

ใชดวย

คําถามสําคัญท่ีทําใหเกิดความเขาใจท่ีคงทน

– คอมพิวเตอรมีหลักการทํางานอยางไร

– คอมพิวเตอรแบงการทํางานหลัก ๆ ออกเปน

ก่ีหนวย

– การทํางานของคอมพิวเตอรแบงเปนก่ี

องคประกอบ อะไรบาง

– ถาคอมพิวเตอรขาดองคประกอบหนึ่งไปจะ

สามารถทํางานไดหรือไม อยางไร

– ประสิทธิภาพขององคประกอบเก่ียวของกับ

ประสิทธิภาพของงานที่ไดจากคอมพิวเตอรอยางไร

ความรูของนักเรียนท่ีนําไปสูความเขาใจท่ีคงทน

นักเรียนจะรูวา…

1. คําที่ควรรู ไดแก พรอม แผงวงจร พีดีเอ

เคอรเซอร แดรก สรีระ บารโคด รีมูฟไดรฟ เช็ค

เว็บแคม พอรต แทร็ก จานแมเหล็ก สล็อต

วิดีโอเทเลโฟนคอล เซนเซอร ไฟลขอมูล พาณิชย

อิเล็กทรอนิกส แอดเดรสบาร ยูอารแอล คลิปอารท เว็บ

เพจ มัลติมีเดีย เว็บไซต ดาวนโหลด

2. ระบบการทํางานของคอมพิวเตอรแบงเปน 4

หนวยหลัก ๆ ไดแก หนวยรับขอมูล หนวยประมวลผล

กลาง หนวยความจํา และหนวยแสดงผล

3. ฮารดแวร คือ อุปกรณที่สามารถจับตองได ทํา

หนาที่ตามระบบการทํางานของคอมพิวเตอร

4. ซอฟตแวร คือ ชุดคําส่ังที่ส่ังใหฮารดแวร

ทํางานตามความตองการของผูใช

5. ผูใช คือ ผูนําเขาขอมูล ส่ังใหคอมพิวเตอร

ทํางาน และตรวจดูผลลัพธจากคอมพิวเตอร

ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนท่ีนําไปสูความเขาใจ

ท่ีคงทน

นักเรียนจะสามารถ...

1. อธิบายระบบการทํางานของคอมพิวเตอรได

2. เปรียบเทียบระบบการทํางานของ

คอมพิวเตอรกับมนุษยได

3. อธิบายหนาที่ของหนวยตาง ๆ ในระบบการ

ทํางานของคอมพิวเตอรได

4. อธิบายคุณลักษณะของฮารดแวร ซอฟตแวร

ผูใช ขอมูล และกระบวนการได

5. ยกตัวอยางฮารดแวรและซอฟตแวรที่ใชใน

ระบบคอมพิวเตอรได

6. นําเสนอเก่ียวกับฮารดแวรและซอฟตแวรที่

สนใจได

7. บันทึกกระบวนการที่ใชในระบบ

คอมพิวเตอรได

Page 56: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

6. ขอมูล คือ สัญญาณดิจิทัลที่อยูในเครื่อง

คอมพิวเตอร

7. กระบวนการ คือ วิธีการทํางานเพ่ือใหไดผล

ลัพธตามที่ตองการ

Page 57: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ขั้นท่ี 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานท่ีแสดงวานักเรียนมีผลการเรียนรูตามท่ี

กําหนดไวอยางแทจริง

1. ภาระงานท่ีนักเรียนตองปฏิบัติ

– อธิบายและสาธิตหลักการทํางานของคอมพิวเตอร

– คนหาขอมูลเก่ียวกับฮารดแวรและซอฟตแวรในระบบคอมพิวเตอร

– ตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับผูใช ขอมูล และกระบวนการในระบบคอมพิวเตอร

2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู

วิธีการประเมินผลการเรียนรู

– การอภิปรายและการตอบคําถาม

– การนําเสนอหนาช้ันเรียน

– การทดสอบ

– การฝกปฏิบัติระหวางเรียน

– การประเมินตนเองของนักเรียน

เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู

– แบบบันทึกผลการอภิปราย

– แบบประเมินผลงาน

– แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน

– แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรู

– ใบงาน

– แบบประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม

– แบบประเมินดานทักษะ/กระบวนการ

3. ส่ิงท่ีมุงประเมิน

– ความสามารถในการอธิบายความรูใหผูอ่ืนเขาใจ

– การทํางานตามกระบวนการ

– การใชเครื่องคอมพิวเตอรดวยความระมัดระวังและรูคุณคา

– พฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมเปนรายบุคคลและรายกลุม

– การมีความรับผิดชอบ ความรอบคอบ ความขยัน และความอดทน

ขั้นท่ี 3 แผนการจัดการเรียนรู

แผนการจัดการเรียนรูที่ 6 ระบบการทํางานของคอมพิวเตอร 2 ช่ัวโมง

แผนการจัดการเรียนรูที่ 7 ฮารดแวรและซอฟตแวร 2 ช่ัวโมง

แผนการจัดการเรียนรูที่ 8 ผูใช ขอมูล และกระบวนการ 2 ช่ัวโมง

Page 58: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 6

ระบบการทํางานของคอมพิวเตอร

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยการเรียนรูที่ 2 คอมพิวเตอร เวลา 2 ช่ัวโมง

1 สาระสําคัญ

คอมพิวเตอรเปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่มีการทํางานอยางเปนระบบ ซ่ึงสามารถแบงระบบการทํางานของคอมพิวเตอร

ตามหนาที่ของฮารดแวรที่ใชในระบบเปน 4 หนวย ไดแก หนวยรับขอมูล หนวยประมวลผลกลาง หนวยความจํา และหนวย

แสดงผล

2 ตัวช้ีวัดช้ันป

อธิบายองคประกอบและหลักการทํางานของคอมพิวเตอร (ง 3.1 ม. 4–6/2)

3 จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายหนาที่ของหนวยตาง ๆ ในระบบคอมพิวเตอรได (K)

2. เห็นความสําคัญของหนวยตาง ๆ ในระบบคอมพิวเตอร ( A)

3. มีทักษะในการวิเคราะหและแบงหนาที่ของหนวยตาง ๆ ในระบบคอมพิวเตอร ( P)

4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม

และคานิยม (A) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1. ตรวจจากการตอบคําถามและ

การแสดงความคิดเห็นเพ่ือ

เปรียบเทียบการทํางานของ

คอมพิวเตอรกับมนุษย

3. ตรวจการทําแบบทดสอบกอน

เรียน (Pre-test)

1 สังเกตจากการใหความรวมมือ

ในการปฏิบัติกิจกรรม

2. สังเกตจากความรับผิดชอบใน

การปฏิบัติกิจกรรม

1. สังเกตทักษะการใชเทคโนโลยี

สารสนเทศในการทํางาน

2. สังเกตทักษะการถามและการ

ตอบคําถามเก่ียวกับหลักการ

ทํางานของคอมพิวเตอร

5 สาระการเรียนรู

ระบบการทํางานของคอมพิวเตอร

6 แนวทางบูรณาการ

ภาษาไทย การใชคําและกลุมคําเขียนอธิบายหลักการทํางานของคอมพิวเตอร

วิทยาศาสตร การเคล่ือนที่ของขอมูลที่อยูในรูปแบบของพลังงานไฟฟา

Page 59: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

สุขศึกษาฯ การเปรียบเทียบหลักการทํางานของคอมพิวเตอรกับมนุษย

ภาษาตางประเทศ การใชช่ือของหนวยในคอมพิวเตอรเพ่ือแสดงลักษณะการทํางาน

ศิลปะ การออกแบบฮารดแวรเพ่ือสงเสริมหลักการทํางานของคอมพิวเตอร

7 กระบวนการจัดการเรียนรู

ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน ( Pre-test) จํานวน 20 ขอ เวลา 15 นาท ี

2. นักเรียนรวมกันทบทวนความรูเก่ียวกับเครื่องคอมพิวเตอรจากประสบการณเดิม โดยผลัดกันบอกขอมูลเก่ียวกับ

คอมพิวเตอรคนละ 1 ขอ

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

1. ครูถามวา ถาเปรียบเทียบการทํางานของคอมพิวเตอรกับมนุษย คอมพิวเตอรจะประกอบไปดวยก่ีหนวย แตละ

หนวยทําหนาที่อะไร

2. นักเรียนเขียนคําตอบของตนเองลงในกระดาษขนาด A4 แลวรวบรวมสงใหครูเก็บไว

3. นักเรียนศึกษาเรื่อง ระบบการทํางานของคอมพิวเตอร หนวยการเรียนรูที่ 2 คอมพิวเตอร จากหนังสือเรียนสาระการ

เรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4

4. ครูขออาสาสมัครนักเรียนจํานวน 4 คน แทนหนวยการทํางานในคอมพิวเตอร ใหแตละคนยืนเรียงลําดับการทํางาน

ของคอมพิวเตอรหนาช้ันเรียน

5. ครูสุมเลือกตัวแทนนักเรียน 1–2 คน อธิบายหลักการทํางานของคอมพิวเตอรโดยรวมดวยการใชอาสาสมัคร

นักเรียนจํานวน 4 คนที่อยูหนาช้ันเรียนประกอบการอธิบาย

6. นักเรียนผลัดกันถามและตอบคําถามเก่ียวกับหลักการทํางานของคอมพิวเตอร ถามีคําถามใดที่นักเรียนไมสามารถ

ตอบไดใหนักเรียนจดบันทึกไว

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป

1. นักเรียนแลกเปล่ียนความคิดเห็นเก่ียวกับหลักการทํางานของคอมพิวเตอร

2. นักเรียนสรุปหลักการทํางานของคอมพิวเตอรวา คอมพิวเตอรมีหลักการทํางานเปนลําดับขั้นตอนประกอบดวย 4

หนวย ไดแก หนวยรับขอมูล หนวยประมวลผลกลาง หนวยความจํา และหนวยแสดงผล

ขั้นที่ 4 ขั้นฝกฝนนักเรียน

1. นักเรียนคนหาคําตอบที่บันทึกไว แลวแลกเปล่ียนกันตรวจคําตอบกับเพ่ือน

2. ครูสลับกระดาษคําตอบขนาด A4 ที่นักเรียนไดเขียนไวเก่ียวกับหลักการทํางานของคอมพิวเตอรกับมนุษย เพ่ือให

นักเรียนตรวจคําตอบของเพ่ือน พรอมเขียนแสดงความคิดเห็นวานักเรียนเห็นดวยหรือไม อยางไรกับคําตอบของเพ่ือน

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช

1. นักเรียนอธิบายหลักการทํางานของคอมพิวเตอรได

Page 60: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

2. นักเรียนเปรียบเทียบหลักการทํางานของคอมพิวเตอรกับมนุษยได

8 กิจกรรมเสนอแนะ

1. กิจกรรมสําหรับกลุมสนใจพิเศษ

นักเรียนคนหาขอมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับหลักการทํางานในหนวยตาง ๆ ของคอมพิวเตอร แลวสรางโมดูลยอยเพ่ือ

อธิบายหลักการทํางานของคอมพิวเตอรเพ่ิมเติมจากแผนผังการทํางานรวม

2. กิจกรรมสําหรับฝกทักษะเพ่ิมเติม

นักเรียนสรางแผนผังการทํางานของคอมพิวเตอร แลวนํามาเปรียบเทียบกับเพ่ือนวาเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร

9 ส่ือ/แหลงเรียนรู

1. กระดาษขนาด A4

2. ส่ือส่ิงพิมพ เชน หนังสือ บทความ และเอกสารประกอบการเรียนการสอนเก่ียวกับหลักการทํางานของคอมพิวเตอร

3. ส่ืออิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอรชวยสอน เว็บไซตทางการศึกษา และ Hyperbook ที่นําเสนอเก่ียวกับหลักการ

ทํางานของคอมพิวเตอร

4. สถานที่ เชน พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสาร และรานจําหนายฮารดแวรและซอฟตแวรคอมพิวเตอร

5. บุคคล เชน ผูปกครอง ครู นักวิชาการ ผูเช่ียวชาญทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และผูเช่ียวชาญดานเครื่อง

คอมพิวเตอร

6. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

7. ส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

10 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู..........................................................................

แนวทางการพัฒนา............................................................................................

2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู....................................................................

3. ส่ิงที่ไมไดปฏิบัติตามแผน...................................................................................

เหตุผล.............................................................................................................

4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู......................................................................

ลงช่ือ........................................(ผูสอน)

Page 61: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 7

ฮารดแวรและซอฟตแวร

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยการเรียนรูที่ 2 คอมพิวเตอร เวลา 2 ช่ัวโมง

1 สาระสําคัญ

การทํางานของคอมพิวเตอรประกอบไปดวยฮารดแวรและซอฟตแวรหลายประเภท ทํางานดวยกันอยางเปนระบบ โดย

ทําหนาที่ตาง ๆ กันในหนวยการทํางานของคอมพิวเตอร ซ่ึงในคอมพิวเตอรแตละเครื่องอาจจะมีฮารดแวรและซอฟตแวรคนละ

ประเภทกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการใชงานคอมพิวเตอรเครื่องนั้น ๆ

2 ตัวช้ีวัดช้ันป

1. อธิบายองคประกอบและหลักการทํางานของคอมพิวเตอร (ง 3.1 ม. 4–6/2)

2. บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวง (ง 3.1 ม. 4–6/4)

3 จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายคุณลักษณะของฮารดแวรและซอฟตแวรได ( K)

2. มีความรอบคอบและใชคอมพิวเตอรโดยคํานึงถึงความสําคัญของฮารดแวรและซอฟตแวร (A)

3. เลือกใชฮารดแวรและซอฟตแวรไดเหมาะสมกับงาน (P)

4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม

และคานิยม (A) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1. สังเกตจากการนาํเสนอขอมูล

หนาช้ันเรียน

2. ตรวจการทําใบงานที่ 2

1. สังเกตความขยันและความ

อดทนในการปฏิบัติกิจกรรม

2. สังเกตความรอบคอบในการ

ใชคอมพิวเตอร

1. สังเกตทักษะในการปฏิบัติงาน

รวมกับผูอ่ืน

2. สังเกตทักษะในการคนหา

ขอมูล

5 สาระการเรียนรู

สวนประกอบของระบบคอมพิวเตอร

– ฮารดแวร – ซอฟตแวร

6 แนวทางบูรณาการ

ภาษาไทย การวิเคราะหขอมูลที่รับจากการนําเสนอมาตอบคําถาม

คณิตศาสตร การใชวิธีการทางคณิตศาสตรหาสมาชิกกลุม

สุขศึกษาฯ การวิเคราะหลักษณะของฮารดแวรและซอฟตแวรที่มีผลตอสุขภาพ

Page 62: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ภาษาตางประเทศ การศึกษาคุณลักษณะของฮารดแวรและซอฟตแวรจากคูมือการใช

งานฉบับภาษาอังกฤษ

ศิลปะ ลักษณะทางกายภาพของฮารดแวรที่ออกแบบตามหลักการทางศิลปะ

7 กระบวนการจัดการเรียนรู

ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. นักเรียนทบทวนความรูเดิมเก่ียวกับฮารดแวรและซอฟตแวรที่นักเรียนรูจัก

2. ครูเขียนหัวขอฮารดแวรและซอฟตแวรบนกระดานดํา

3. นักเรียนผลัดกันออกมาเขียนช่ือฮารดแวรและซอฟตแวรอยางละ 1 ช่ือบนกระดานดํา โดยนักเรียนคนที่ออกมาที

หลังหามเขียนซํ้ากับเพ่ือนที่ออกมาเขียนกอน

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

1. นักเรียนศึกษาเรื่อง ฮารดแวรและซอฟตแวร จากหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4

หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4

2. ตัวแทนนักเรียนออกไปขีดเสนใตช่ือฮารดแวรและซอฟตแวรที่ไมไดนําเสนอในหนังสือเรียนสาระการเรียนรู

พ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4

3. นักเรียนรวมกันแบงสมาชิกกลุมดวยการนําจํานวนนักเรียนทั้งหมดหารดวยจํานวนช่ือฮารดแวรและซอฟตแวรที่ถูก

ขีดเสนใต

4. นักเรียนคนที่เขียนช่ือฮารดแวรหรือซอฟตแวรที่ถูกขีดเสนใตเปนหัวหนากลุม โดยใหช่ือฮารดแวรหรือซอฟตแวร

นั้นเปนช่ือกลุม แลวจัดหาสมาชิกกลุมใหไดจํานวนตามที่กําหนดไว

5. สมาชิกกลุมรวมกันคนหาขอมูลเก่ียวกับฮารดแวรหรือซอฟตแวรของกลุม ภายในเวลา 15 นาที จากนั้นตั้งคําถาม

พรอมเฉลยเก่ียวกับฮารดแวรหรือซอฟตแวรของกลุมจํานวน 3 ขอ

6. ตัวแทนกลุมนําเสนอขอมูลที่ไดจากการคนหาหนาช้ันเรียน โดยเม่ือนําเสนอขอมูลเสร็จแลวใหสมาชิกกลุมอ่ืน

ซักถามตามความสนใจ

7. ตัวแทนกลุมถามคําถามเก่ียวกับฮารดแวรหรือซอฟตแวรของกลุมตนเอง ใหสมาชิกกลุมอ่ืนบันทึกและตอบคําถาม

ลงในกระดาษขนาด A4

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป

1. นักเรียนรวมกันสรุปคุณลักษณะของฮารดแวรและซอฟตแวรที่นําเสนอหนาช้ันเรียน

2. นักเรียนสรุปวา ฮารดแวรและซอฟตแวรที่ใชกับคอมพิวเตอรมีหลายชนิด แตละชนิดมีคุณลักษณะแตกตางกัน ผูใช

คอมพิวเตอรจึงควรเลือกใชใหเหมาะสมกับงานของตนเอง

ขั้นที่ 4 ขั้นฝกฝนนักเรียน

Page 63: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

1. นักเรียนทําใบงานที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 เรื่อง ฮารดแวรที่จําเปน หนวยการเรียนรูที่ 2 คอมพิวเตอร แลว

นําไปเปรียบเทียบกับเพ่ือนวาเหมือนหรือแตกตางกันหรือไม อยางไร

2. นักเรียนนํากระดาษขนาด A4 ที่บันทึกคําถามเก่ียวกับฮารดแวรและซอฟตแวรไปตรวจคําตอบ ถาไมถูกตองให

สอบถามสาเหตุและทําความเขาใจกับสมาชิกกลุมนั้น

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช

1. นักเรียนตรวจสอบฮารดแวรและซอฟตแวรที่ใชกับคอมพิวเตอรของนักเรียนวาประกอบไปดวยอะไรบาง

เหมาะสมกับงานที่นักเรียนทําหรือไม อยางไร

2. นักเรียนเลือกใชฮารดแวรและซอฟตแวรที่คิดวาเหมาะสมกับงานของนักเรียน พรอมบอกเหตุผลที่เลือกใช

ฮารดแวรและซอฟตแวรนั้น

8 กิจกรรมเสนอแนะ

1. กิจกรรมสําหรับกลุมสนใจพิเศษ

นักเรียนศึกษาเพ่ิมเติมเก่ียวกับการติดตั้งฮารดแวรและซอฟตแวรประเภทตาง ๆ แลวทดลองปฏิบัติโดยมีผูเช่ียวชาญ

ดูแลอยางใกลชิด

2. กิจกรรมสําหรับฝกทักษะเพ่ิมเติม

นักเรียนแยกฮารดแวรและซอฟตแวรที่เขียนบนกระดานดําตามหนวยตาง ๆ ในระบบการทํางานของคอมพิวเตอร

9 ส่ือ/แหลงเรียนรู

1. กระดาษขนาด A4

2. ส่ือส่ิงพิมพ เชน ใบโฆษณา หนังสือ บทความ และเอกสารประกอบการเรียนการสอนเก่ียวกับฮารดแวรและ

ซอฟตแวร

3. ส่ืออิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอรชวยสอน เว็บไซตทางการศึกษา และ Hyperbook ที่นําเสนอเก่ียวกับฮารดแวร

และซอฟตแวร

4. สถานที่ เชน พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสาร และรานจําหนายฮารดแวรและซอฟตแวร

5. บุคคล เชน ผูปกครอง ครู นักวิชาการ ผูเช่ียวชาญทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และตัวแทนจําหนายฮารดแวรและ

ซอฟตแวร

6. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

7. ส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

10 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู..........................................................................

แนวทางการพัฒนา............................................................................................

2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู....................................................................

3. ส่ิงที่ไมไดปฏิบัติตามแผน...................................................................................

Page 64: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

เหตุผล.............................................................................................................

4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู......................................................................

ลงช่ือ........................................(ผูสอน)

Page 65: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 8

ผูใช ขอมูล และกระบวนการ

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยการเรียนรูที่ 2 คอมพิวเตอร เวลา 2 ช่ัวโมง

1 สาระสําคัญ

ผูใช ขอมูล และกระบวนการเปนสวนประกอบของระบบคอมพิวเตอรที่สําคัญ หากผูใช ขอมูล และกระบวนการขาด

ประสิทธิภาพแลว งานที่ไดจากคอมพิวเตอรก็จะขาดคุณภาพตามไปดวย ดังนั้น ผูใช ขอมูล และกระบวนการที่ดีจึงควรมีความ

พรอมกอนการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร

2 ตัวช้ีวัดช้ันป

1. อธิบายองคประกอบและหลักการทํางานของคอมพิวเตอร (ง 3.1 ม. 4–6/2)

2. บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวง (ง 3.1 ม. 4–6/4)

3 จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายคุณลักษณะของขอมูล ผูใช และกระบวนการในระบบคอมพิวเตอรได ( K)

2. ใชงานคอมพิวเตอรดวยความรอบคอบและระมัดระวัง (A)

3. เขียนและปฏิบัติตามกระบวนการในระบบคอมพิวเตอรได (P)

4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม

และคานิยม (A) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1. ตรวจจากกระบวนการที่บันทึก

ไวในกระดาษขนาด A4

2. ตรวจการทําแบบทดสอบ

หลังเรียน (Post-test)

1. สังเกตใชงานคอมพิวเตอรดวย

ความรอบคอบและระมัดระวัง

2. สังเกตพฤติกรรมนักเรียนตาม

แบบประเมินดานคุณธรรม

จริยธรรม และคานิยม

1. สังเกตทักษะการปฏิบัติตาม

กระบวนการในระบบ

คอมพิวเตอร

2. สังเกตพฤติกรรมนักเรียนตาม

แบบประเมินดานทักษะ/

กระบวนการ

5 สาระการเรียนรู

สวนประกอบของระบบคอมพิวเตอร

– ผูใช

– ขอมูล

– กระบวนการ

Page 66: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

6 แนวทางบูรณาการ

ภาษาไทย การตอบคําถามเก่ียวกับกิจกรรมที่ตนเองปฏิบัติ

คณิตศาสตร การศึกษาเลขจํานวนเต็มและคาตรรกะตามหลักการทางคณิตศาสตร

วิทยาศาสตร การทดลองปฏิบัติเพ่ือหาสมมติฐานในกระบวนการของระบบ

คอมพิวเตอร

สุขศึกษาฯ การใชคอมพิวเตอรโดยคํานึงถึงความปลอดภัยเปนสําคัญ

ภาษาตางประเทศ คําศัพทที่เก่ียวของกับผูใช ขอมูล และกระบวนการที่ใชใน

คอมพิวเตอร

7 กระบวนการจัดการเรียนรู

ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. ครูเขียนคําศัพทภาษาอังกฤษหนาช้ันเรียน ไดแก Home User, Small Office User, Mobile User และ Large

Business User

2. นักเรียนรวมกันวิเคราะหคําศัพทภาษาอังกฤษที่ครูเขียนวาเก่ียวของกับตนเองอยางไร

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

1. นักเรียนศึกษาเรื่อง ผูใช ขอมูล และกระบวนการ หนวยการเรียนรูที่ 2 คอมพิวเตอร จากหนังสือเรียนสาระการ

เรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4

2. ครูสุมเลือกตัวแทนนักเรียน 2–3 คน เพ่ือตอบคําถามวา นักเรียนเปนผูใชงานประเภทใดเพราะเหตุใด

3. นักเรียนคิดกระบวนการในการตรวจสอบขอมูลในเครื่องคอมพิวเตอร บันทึกลงในกระดาษขนาด A4 แลว

แลกเปล่ียนกันตรวจสอบกับเพ่ือนวาเหมือนหรือแตกตางกันหรือไม อยางไร

4. นักเรียนปฏิบัติงานตามกระบวนการในการตรวจสอบขอมูลในเครื่องคอมพิวเตอรที่ไดบันทึกไว พรอมบันทึก

ขอมูลเก่ียวกับการปฏิบัติงานเพ่ือตอบคําถาม

5. ครูสุมเลือกนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้

– นักเรียนปฏิบัติตามกระบวนการที่ไดบันทึกไวทุกขอหรือไม อยางไร

– นักเรียนคิดวาการกําหนดกระบวนการในการปฏิบัติงานมีขอดีและขอเสียอยางไร

– นักเรียนพบแฟมขอมูลใดในคอมพิวเตอรบาง

– นักเรียนพบปญหาในการปฏิบัติกิจกรรมหรือไม แลวมีวิธีการแกปญหาอยางไร

6. นักเรียนคนอ่ืน ๆ ที่ไมไดถูกครูเลือกใหตอบคําถามดวยตนเอง ถาคําตอบของนักเรียนแตกตางจากเพ่ือนที่ถูกสุม

เลือก ใหยกมือขึ้นเพ่ือสอบถามและแสดงความคิดเห็น

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป

1. นักเรียนรวมกันสรุปลักษณะของผูใชในแตละประเภท ลักษณะของขอมูลในคอมพิวเตอร และกระบวนการในการ

ปฏิบัติงานเพ่ือใหไดผลลัพธตามที่ตองการ

2. นักเรียนรวมกันสรุปปญหาและแนวทางการแกปญหาที่พบในการปฏิบัติกิจกรรม

Page 67: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ขั้นที่ 4 ขั้นฝกฝนนักเรียน

1. นักเรียนทําแผนผังความคิดเก่ียวกับขอมูล แลวนํามาแลกเปล่ียนกันศึกษากับเพ่ือนวาเหมือนหรือแตกตางกัน

หรือไม อยางไร

2. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน ( Post-test) จํานวน 20 ขอ เวลา 15 นาที

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช

1. นักเรียนสามารถกําหนดกระบวนการเพ่ือตรวจสอบขอมูลในเครื่องคอมพิวเตอรได

2. นักเรียนตอบคําถามเก่ียวกับผูใช ขอมูล และกระบวนการในระบบคอมพิวเตอรได

8 กิจกรรมเสนอแนะ

1. กิจกรรมสําหรับกลุมสนใจพิเศษ

นักเรียนศึกษาเพ่ิมเติมแลวเขียนกระบวนการของการแบงขอมูลเปนแฟมขอมูลกอนการประมวลผล

2. กิจกรรมสําหรับฝกทักษะเพ่ิมเติม

นักเรียนสัมภาษณผูใชคอมพิวเตอรแตละประเภท แลวรวมกันสรุปวาผูใชแตละประเภทควรมีลักษณะอยางไร และ

นิยมใชคอมพิวเตอรที่มีคุณลักษณะอยางไร

9 ส่ือ/แหลงเรียนรู

1. คอมพิวเตอร

2. กระดาษขนาด A4

3. ส่ือส่ิงพิมพ เชน หนังสือ บทความ และเอกสารประกอบการเรียนการสอนเก่ียวกับผูใช ขอมูล และกระบวนการใน

ระบบคอมพิวเตอร

4. ส่ืออิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอรชวยสอน เว็บไซตทางการศึกษา และ Hyperbook ที่นําเสนอเก่ียวกับผูใช ขอมูล

และกระบวนการในระบบคอมพิวเตอร

5. สถานที่ เชน พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสาร และศูนยใหบริการคอมพิวเตอร

6. บุคคล เชน ผูปกครอง ครู นักวิชาการ ผูเช่ียวชาญทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และผูใชคอมพิวเตอรประเภทตาง

7. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

8. ส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

10 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู..........................................................................

แนวทางการพัฒนา............................................................................................

2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู....................................................................

3. ส่ิงที่ไมไดปฏิบัติตามแผน...................................................................................

เหตุผล.............................................................................................................

Page 68: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู......................................................................

ลงช่ือ........................................(ผูสอน)

หนวยการเรียนรูท่ี 3 การส่ือสารขอมูล 12 ช่ัวโมง

ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน

การส่ือสารขอมูล

ภาระ/ชิ้นงาน .

• แสดงบทบาทสมมุติทิศ

ทางการส่ือสารขอมูล • สรางโมเดลหลักการทํางาน

ของการถายโอนขอมูล • ยกตัวอยางการใชงานตัวกลาง • นําเสนอโมเดลและแผนผัง

ประกอบการอธิบาย

ความรู • .ระบบการส่ือสารขอมูล • การถายโอนขอมูล • เครือขายคอมพิวเตอร

ทักษะ/กระบวนการ .

• ทักษะการจัดการ • ทักษะการทํางานกลุม

• ทักษะกระบวนการทํางาน • ทักษะการนําเสนอผลงาน • ทักษะการแสวงหาความรู

Page 69: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

คุณธรรม จริยธรรม และ

คานิยม .

• มีเจตคติที่ดีตอการส่ือสาร

ขอมูล • มีความรับผิดชอบ • มีความขยันและอดทน • มีความรอบคอบ • มีมารยาทในการทํางาน

Page 70: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

การออกแบบการจัดการเรียนรู

หนวยการเรียนรูท่ี 3 การส่ือสารขอมูล

ขั้นท่ี 1 ผลลัพธปลายทางท่ีตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน

ตัวช้ีวัดช้ันป

อธิบายระบบส่ือสารขอมูลสําหรับเครือขายคอมพิวเตอร (ง 3.1 ม. 4–6/3)

ความเขาใจท่ีคงทนของนักเรียน

นักเรียนจะเขาใจวา...

1. การส่ือสารขอมูล คือ การรับ สง โอน ยาย

ขอมูลจากผูหนึ่งไปยังอีกผูหนึ่ง

2. ระบบการส่ือสารขอมูลสามารถแบงทิศทาง

ในการส่ือสารขอมูลไดจากการตอบสนองของผูรับ

ขอมูล โดยขอมูลที่ใชจะถูกแปลงใหเปนสัญญาณขอมูล

3. การสงสัญญาณขอมูลแบบอนุกรมเปนการสง

ขอมูลเรียงลําดับไปทีละบิต แตการสงขอมูลแบบขนาน

จะสงขอมูลเรียงลําดับไปทีละหลาย ๆ บิต ผานตัวกลาง

ทั้งแบบมีสายและไรสาย

4. การถายโอนขอมูลในคอมพิวเตอรจะตองอาศัย

ระบบบัส โดยในเครื่องคอมพิวเตอรสําหรับบุคคลทั่วไป

เรียกวา พีซีบัส

5. เครือขายคอมพิวเตอรเปนการนําคอมพิวเตอร

มาเช่ือมตอกันเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการทํางาน

คําถามสําคัญท่ีทําใหเกิดความเขาใจท่ีคงทน

– การส่ือสารหมายถึงอะไร

– ทิศทางในการส่ือสารมีความแตกตางกันอยางไร

– ขอมูลในระบบการส่ือสารมีลักษณะอยางไร

– การสงสัญญาณขอมูลแบบอนุกรมกับแบบขนาน

แตกตางกันอยางไร

– การถายโอนขอมูลจะตองกระทําผานตัวกลางที่มี

ลักษณะอยางไร

– การถายโอนขอมูลในคอมพิวเตอรจําเปนตองใช

งานระบบใด

– พีซีบัสคืออะไร

– เครือขายคอมพิวเตอรหมายถึงอะไร

– เครือขายคอมพิวเตอรมีจุดประสงคหลักเพ่ือ

อะไร

ความรูของนักเรียนท่ีนําไปสูความเขาใจท่ีคงทน

นักเรียนจะรูวา…

1. คําที่ควรรู ไดแก แชท อีเมล กราฟคล่ืนไซต

ความถ่ี รีพีตเตอร ใยแกว รีโมตคอนโทรล กิกะเฮิรตซ

แบนดวิดท บริษัทไอบีเอ็ม พีดีเอ บริษัทอินเทล บลูทูธ

ฮับ เทอรมิเนเตอร แอกเซสพอยต และแลนไรสาย

2. ระบบการส่ือสารขอมูลมีทิศทางการส่ือสาร

ขอมูลทั้งแบบทิศทางเดียว สองทิศทางสลับกัน และ

สองทิศทางพรอมกัน โดยใชสามารถใชสัญญาณไดทั้ง

แบบแอนะล็อกและดิจิทัล

3. การถายโอนขอมูล คือ การเปล่ียนขอมูลจาก

ที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งดวยวิธีการตาง ๆ ผานตัวกลาง

โดยในคอมพิวเตอรจะเรียกวา ระบบบัส

4. เครือขายคอมพิวเตอรประกอบดวย

ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนท่ีนําไปสูความเขาใจ

ท่ีคงทน

นักเรียนจะสามารถ...

1. อธิบายความหมายและลักษณะของระบบการ

ส่ือสารขอมูล การถายโอนขอมูล และเครือขาย

คอมพิวเตอรได

2. เลือกใชทิศทางการส่ือสารและชนิดของ

สัญญาณไดอยางเหมาะสม

3. เห็นความสําคัญของระบบการส่ือสาร การ

ถายโอนขอมูล และเครือขายคอมพิวเตอร

4. สรางโมเดลและผังงานประกอบการอธิบาย

เก่ียวกับการทํางานของการถายโอนขอมูลและเครือขาย

คอมพิวเตอรได

5. ยกตัวอยางการใชงานตัวกลางและเครือขาย

Page 71: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

คอมพิวเตอรหลายประเภท โดยมีการประกอบกันเปน

โครงสรางหลายรูปแบบ ซ่ึงมีทั้งชนิดที่มีขนาดเล็ก คือ

ใชคอมพิวเตอรเครื่องเดียว จนถึงชนิดที่มีขนาดใหญ

มาก คือ ใชคอมพิวเตอรจํานวนมหาศาลครอบคลุม

พ้ืนที่การใชงานทั่วโลก

คอมพิวเตอรแตละประเภทได

Page 72: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ขั้นท่ี 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานท่ีแสดงวานักเรียนมีผลการเรียนรูตามท่ี

กําหนดไวอยางแทจริง

1. ภาระงานท่ีนักเรียนตองปฏิบัติ

– แสดงบทบาทสมมุติทิศทางการส่ือสารขอมูล

– สรางโมเดลหลักการทํางานของการถายโอนขอมูล

– ยกตัวอยางการใชงานตัวกลางประเภทตาง ๆ

– สรุปลักษณะที่สําคัญ ขอดี และขอเสียของตัวกลางประเภทตาง ๆ

– นําเสนอโมเดลและแผนผังประกอบการอธิบาย

– สังเกตและศึกษาสวนประกอบของระบบบัสจากวงจรอิเล็กทรอนิกสภายในเคสคอมพิวเตอร

– วิเคราะหและเลือกใชเครื่องคอมพิวเตอร โครงสราง และชนิดของคอมพิวเตอรที่เหมาะสมในเครือขาย

คอมพิวเตอรของตนเอง

2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู

วิธีการประเมินผลการเรียนรู

– การอภิปรายและตอบคําถาม

– การสรุปผล การนําเสนอหนาช้ันเรียน และ

การทํารายงาน

– การทดสอบ

– การฝกปฏิบัติระหวางเรียน

– การประเมินตนเองของนักเรียน

เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู

– แบบบันทึกผลการอภิปราย

– แบบประเมินการนําเสนอผลงาน

– แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน

– แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรู

– ใบงาน

– แบบประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม

– แบบประเมินดานทักษะ/กระบวนการ

3. ส่ิงท่ีมุงประเมิน

– ความสามารถในการอธิบายและนําเสนอขอมูล

– ความสามารถในการวิเคราะหและสรุปขอมูลที่ไดจากการคนหา

– การแสดงบทบาทสมมุติ สรางโมเดล และแผนผังเพ่ือเปรียบเทียบและประกอบการอธิบาย

– พฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมเปนรายบุคคลและรายกลุม

– การมีความรับผิดชอบ ความคิดสรางสรรค ความขยัน ความอดทน และมีมารยาทในการทํางาน

ขั้นท่ี 3 แผนการจัดการเรียนรู

แผนการจัดการเรียนรูที่ 9 ระบบการส่ือสารขอมูล 2 ชม.

แผนการจัดการเรียนรูที่ 10 รูปแบบของการถายโอนขอมูล 2 ชม.

แผนการจัดการเรียนรูที่ 11 ตัวกลาง 2 ชม.

แผนการจัดการเรียนรูที่ 12 ระบบบัส 2 ชม.

แผนการจัดการเรียนรูที่ 13 เครือขายคอมพิวเตอร 4 ชม.

Page 73: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 9

ระบบการส่ือสารขอมูล

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยการเรียนรูที่ 3 การส่ือสารขอมูล เวลา 2 ช่ัวโมง

1 สาระสําคัญ

การส่ือสารขอมูลที่ดีจะตองมีการสงมอบที่ดี ขอมูลมีความแนนอน และอยูในชวงเวลาที่เหมาะสม การส่ือสารขอมูล

สามารถกระทําไดทั้งรูปแบบของการส่ือสารขอมูลทิศทางเดียว การส่ือสารขอมูลสองทิศทางสลับกัน และการส่ือสารขอมูล

สองทิศทางพรอมกัน การส่ือสารขอมูลในระยะทางที่ไกลขึ้นจําเปนตองเปล่ียนรูปแบบของขอมูลใหอยูในรูปแบบของสัญญาณ

ชนิดตาง ๆ เพ่ือใหการส่ือสารมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น

2 ตัวช้ีวัดช้ันป

อธิบายระบบส่ือสารขอมูลสําหรับเครือขายคอมพิวเตอร (ง 3.1 ม. 4–6/3)

3 จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายทิศทางการส่ือสารและชนิดของสัญญาณได (K)

2. เห็นความสําคัญในการส่ือสารขอมูล ( A)

3. เลือกใชทิศทางการส่ือสารและชนิดของสัญญาณไดอยางเหมาะสม (P)

4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม

และคานิยม (A) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1. สังเกตจากแสดงบทบาทสมมุติ

ทิศทางการส่ือสาร

2. สังเกตจากการถาม การตอบ

คําถาม และการยกตัวอยางเพ่ิมเติ

3. ตรวจการทําแบบทดสอบกอน

เรียน (Pre-test)

1. สังเกตจากการใหความสําคัญ

ในการส่ือสารขอมูลเม่ือ

นําเสนอในบทบาทสมมุต ิ

2. สังเกตมารยาทในการทํางาน

1. สังเกตการมีทักษะในการ

แสวงหาความรู

2. สังเกตจากพฤติกรรมในการ

ปฏิบัติงานรวมกับผูอ่ืน

5 สาระการเรียนรู

ระบบการส่ือสารขอมูล

– ทิศทางการส่ือสาร

– ชนิดของสัญญาณ

6 แนวทางบูรณาการ

Page 74: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ภาษาไทย การวิเคราะหขอมูล การตอบคําถาม และการแสดงความคิดเห็น

วิทยาศาสตร การศึกษาเพ่ิมเติมเก่ียวกับคล่ืนแมเหล็กไฟฟาของสัญญาณขอมูล

สังคมศึกษาฯ การส่ือสารขอมูลระหวางบุคคลในสังคมเพ่ือเพ่ิมความแข็งแรงใหแก

ประเทศชาติ

ศิลปะ การแสดงบทบาทสมมุติโดยใชทักษะทางนาฏศิลป

ภาษาตางประเทศ การแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับขอมูลขาวสารในชีวิตประจําวัน

7 กระบวนการจัดการเรียนรู

ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. ครูถามคําถามพ้ืนฐานเก่ียวกับการส่ือสารขอมูล เชน การส่ือสารขอมูลคืออะไร มีจุดประสงคเพ่ืออะไร และมี

ความสําคัญอยางไร

2. นักเรียนรวมกันตอบคําถามครู และยกตัวอยางวิธีการส่ือสารขอมูลที่นักเรียนรูจัก

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

1. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน ( Pre-test) จํานวน 20 ขอ เวลา 15 นาท ี

2. นักเรียนศึกษาเรื่อง ระบบการส่ือสารขอมูล หนวยการเรียนรูที่ 3 การส่ือสารขอมูล จากหนังสือเรียนสาระการ

เรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4

3. แบงนักเรียนเปน 3 กลุม แตละกลุมแสดงบทบาทสมมุติทิศทางการส่ือสารขอมูลกลุมละ 1 รูปแบบ ตัวแทนกลุม

รวมกันตกลงเพ่ือแบงรูปแบบทิศทางการส่ือสารขอมูลไมใหแสดงบทบาทสมมุติซํ้ากัน

4. สมาชิกแตละกลุมประชุมวางแผนและซอมบทบาทสมมุติในรูปแบบที่ตัวแทนกลุมตกลงไวภายในเวลา 15 นาที

5. สมาชิกแตละกลุมแสดงบทบาทสมมุติทิศทางการส่ือสารขอมูลภายในเวลา 5 นาที โดยเม่ือจบการแสดงบทบาท

สมมุติ ใหตัวแทนกลุมสรุปลักษณะของทิศทางการส่ือสารขอมูล ยกตัวอยางเพ่ิมเติม พรอมระบุชนิดของสัญญาณที่ใชในการ

ส่ือสารขอมูล

5. สมาชิกกลุมอ่ืน ๆ ดูการแสดงบทบาทสมมุติ แลวถามคําถามและแลกเปล่ียนความคิดเห็นเพ่ิมเติมเก่ียวกับทิศ

ทางการส่ือสารขอมูลและชนิดของสัญญาณที่นําเสนอในบทบาทสมมุติ

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป

1. นักเรียนรวมกันสรุปลักษณะของทิศทางการส่ือสารขอมูลในแตละประเภท

2. นักเรียนรวมกันสรุปลักษณะของสัญญาณแอนะล็อกและสัญญาณดิจิทัล

ขั้นที่ 4 ขั้นฝกฝนนักเรียน

1. นักเรียนจัดโตวาทีในญัตติ สัญญาณดิจิทัลลํ้าสมัยสดใสกวาสัญญาณแอนะล็อก

2. นักเรียนรวมกันยกตัวอยางการใชสัญญาณขอมูลในแตละประเภทเพ่ิมเติมจากที่นําเสนอในหนังสือเรียนสาระการ

เรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4

Page 75: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช

1. นักเรียนตอบคําถามและอธิบายเก่ียวกับทิศทางการส่ือสารขอมูลได

2. นักเรียนยกตัวอยางการใชงานสัญญาณในการส่ือสารขอมูลแตละชนิดได

8 กิจกรรมเสนอแนะ

1. กิจกรรมสําหรับกลุมสนใจพิเศษ

นักเรียนคนหาขอมูลเพ่ิมเติม แลวทํารายงานเก่ียวกับเทคโนโลยีที่ตอบสนองการส่ือสารขอมูลในแตละทิศทางและ

เทคโนโลยีที่ใชกับสัญญาณขอมูลแตละชนิด

2. กิจกรรมสําหรับฝกทักษะเพ่ิมเติม

นักเรียนผลัดกันบอกขอดีและขอเสียของทิศทางการส่ือสารขอมูลแตละประเภท

9 ส่ือ/แหลงเรียนรู

1. ส่ือส่ิงพิมพ เชน หนังสือ บทความ และเอกสารประกอบการเรียนการสอนเก่ียวกับระบบการส่ือสารขอมูล

2. ส่ืออิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอรชวยสอน เว็บไซตทางการศึกษา และ Hyperbook ที่นําเสนอเก่ียวกับระบบการ

ส่ือสารขอมูล

3. สถานที่ เชน พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสาร สถานีวิทยุ และสถานีโทรทัศน

4. บุคคล เชน ผูปกครอง ครู นักวิชาการ เจาหนาที่ดูแลการสงสัญญาณขอมูล และผูเช่ียวชาญทางดานระบบการ

ส่ือสารขอมูล

5. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

6. ส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

10 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู..........................................................................

แนวทางการพัฒนา............................................................................................

2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู....................................................................

3. ส่ิงที่ไมไดปฏิบัติตามแผน...................................................................................

เหตุผล.............................................................................................................

4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู......................................................................

ลงช่ือ........................................(ผูสอน)

Page 76: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 10

รูปแบบของการถายโอนขอมูล

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยการเรียนรูที่ 3 การส่ือสารขอมูล เวลา 2 ช่ัวโมง

1 สาระสําคัญ

การถายโอนขอมูล คือ การเปล่ียนขอมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่ง ซ่ึงไมจําเปนตองมีผูรับและผูสงขอมูล เพียงแตเปล่ียน

พ้ืนที่ที่มีขอมูลไปยังอีกพ้ืนที่หนึ่ง โดยมีรูปแบบของการถายโอนขอมูล 2 วิธี คือ การสงสัญญาณขอมูลแบบอนุกรมและการสง

สัญญาณขอมูลแบบซิงโครนัส

2 ตัวช้ีวัดช้ันป

อธิบายระบบส่ือสารขอมูลสําหรับเครือขายคอมพิวเตอร (ง 3.1 ม. 4–6/3)

3 จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายหลักการถายโอนขอมูลในแตละรูปแบบได ( K)

2. ปฏิบัติกิจกรรมดวยความระมัดระวัง รอบคอบ และมีระเบียบ ( A)

3. มีทักษะในการสรางโมเดลเพ่ือประกอบการบรรยายได ( P)

4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม

และคานิยม (A) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1. สังเกตจากการอธิบายหลักการ

ถายโอนขอมูลในแตละ

รูปแบบ

2. ตรวจโมเดลหลักการทํางาน

ของการถายโอนขอมูล

1. สังเกตจากการสรางโมเดลดวย

ความระมัดระวัง รอบคอบ และ

มีระเบียบ

2. สังเกตความรวมมือและการ

ชวยเหลือผูอ่ืนในขณะปฏิบัติ

กิจกรรมกลุม

1. สังเกตทักษะในการวางแผน

แบงงาน และการสรางโมเดล

2. สังเกตทักษะในการปฏิบัติงาน

รวมกับผูอ่ืน

5 สาระการเรียนรู

การถายโอนขอมูล

– รูปแบบของการถายโอนขอมูล

Page 77: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

6 แนวทางบูรณาการ

ภาษาไทย การเลือกใชภาษาที่เหมาะสมสําหรับนําเสนอขอมูล

คณิตศาสตร การใชหลักการคิดเลขเร็วชวยในการรวมรหัสแอสกี

วิทยาศาสตร การใชหลักการเคล่ือนที่ของสสารชวยในการสรางโมเดล

สุขศึกษาฯ การกําหนดแนวทางลดอุบัติเหตุและสรางเสริมความปลอดภัยในการ

สรางโมเดล

ภาษาตางประเทศ การนําขอมูลภาษาอังกฤษมาแทนดวยรหัสแอสกีเพ่ือถายโอนขอมูล

ศิลปะ การสรางโมเดลโดยคํานึงถึงความสวยงามตามหลักศิลปะ

7 กระบวนการจัดการเรียนรู

ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. ครูติดตารางรหัสแทนขอมูลแอสกีหนาช้ันเรียน แลวใหนักเรียนเปล่ียนช่ือเลนของตนเองใหเปนสัญญาณดิจิทัลโดย

ใชรหัสแอสกี

2. นักเรียนแทนช่ือเลนของตนเองเปนรหัสแอสกี จากนั้นรวมตัวเลขดิจิทัลทั้งหมดใหเปนเลขหลักเดียว เชน จอย แทน

สัญญาณดิจิทัลเปน 10101010 10101111 10111001 รวมเปน 15 นําเลข 1 + 5 จะไดเลข 6

3. นักเรียนใชหมายเลขที่ไดแบงกลุม โดยนักเรียนที่ไดตัวเลขเดียวกันอยูกลุมเดียวกัน ถากลุมใดมีสมาชิกมากกวากลุม

ตัวเลขที่มีสมาชิกนอยที่สุดเกิน 2 คน ใหแบงเปน 2 กลุม

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

1. นักเรียนศึกษาเรื่อง การถายโอนขอมูล ในหัวขอรูปแบบของการถายโอนขอมูล หนวยการเรียนรูที่ 3 การส่ือสาร

ขอมูล จากหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณ

แบบ ม. 4

2. ครูแบงกลุมนักเรียนใหกลุมของนักเรียนที่ไดตัวเลข 0–4 สรางโมเดลหลักการทํางานของการถายโอนขอมูลใน

รูปแบบการสงสัญญาณขอมูลแบบอนุกรม และกลุมของนักเรียนที่ไดตัวเลข 5–9 สรางโมเดลการทํางานของการถายโอนขอมูลใน

รูปแบบการสงขอมูลแบบขนาน

3. สมาชิกแตละกลุมรวมกันสรางโมเดลการทํางานของการถายโอนขอมูลในรูปแบบที่ไดรับมอบหมายภายในเวลา

10–15 นาที โดยขอมูลที่สงในโมเดลใหใชขอมูลช่ือเลนของสมาชิกกลุมที่แทนดวยรหัสแอสกี

4. ครูสุมเลือกตัวแทนนักเรียนกลุมละ 2 คน ออกมานําเสนอโมเดลและอธิบายหลักการสงสัญญาณขอมูลในรูปแบบ

ของโมเดลนั้นหนาช้ันเรียน กลุมละ 3–5 นาที

5. นักเรียนรวมกันวิเคราะห ถาม และตอบคําถามเก่ียวกับการถายโอนขอมูลของโมเดลที่นําเสนอ

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป

1. นักเรียนรวมกันสรุปหลักการทํางานของการสงสัญญาณขอมูลแบบอนุกรมและการสงสัญญาณขอมูลแบบขนาน

2. นักเรียนรวมกันสรุปขอดีและขอเสียของการสงสัญญาณขอมูลแบบอนุกรมและการสงสัญญาณขอมูลแบบขนาน

Page 78: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ขั้นที่ 4 ขั้นฝกฝนนักเรียน

1. นักเรียนจับคูกับเพ่ือนผลัดกันถามและตอบเก่ียวกับรูปแบบของการถายโอนขอมูล

2. นักเรียนเขียนกระบวนการทํางานของการถายโอนขอมูลแตละประเภท

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช

1. นักเรียนสามารถสรางและนําเสนอโมเดลการทํางานของการถายโอนขอมูลได

2. นักเรียนสามารถอธิบายหลักการทํางานของการถายโอนขอมูลได

8 กิจกรรมเสนอแนะ

1. กิจกรรมสําหรับกลุมสนใจพิเศษ

นักเรียนศึกษาขอมูลเพ่ิมเติมแลวศึกษาหลักการถายโอนขอมูลที่ใชงานในเครื่องคอมพิวเตอร

2. กิจกรรมสําหรับฝกทักษะเพ่ิมเติม

นักเรียนสรางตารางเปรียบเทียบการทํางาน ขอดี และขอเสียของการถายโอนขอมูลในแตละรูปแบบ

9 ส่ือ/แหลงเรียนรู

1. ตารางรหัสแทนขอมูลแอสกี

2. วัสดุและอุปกรณสําหรับสรางโมเดลการทํางานของการถายโอนขอมูล เชน กลอง ลวด แกนหมุน และกระดาษแข็ง

3. ส่ือส่ิงพิมพ เชน หนังสือ บทความ และเอกสารประกอบการเรียนการสอนเก่ียวกับรูปแบบของการถายโอนขอมูล

4. ส่ืออิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอรชวยสอน เว็บไซตทางการศึกษา และ Hyperbook ที่นําเสนอเก่ียวกับรูปแบบ

ของการถายโอนขอมูล

5. สถานที่ เชน พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสาร

6. บุคคล เชน ผูปกครอง ครู นักวิชาการ และผูเช่ียวชาญทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

7. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

8. ส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

10 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู..........................................................................

แนวทางการพัฒนา............................................................................................

2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู....................................................................

3. ส่ิงที่ไมไดปฏิบัติตามแผน...................................................................................

เหตุผล.............................................................................................................

4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู......................................................................

ลงช่ือ........................................(ผูสอน)

Page 79: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 11

ตัวกลาง

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยการเรียนรูที่ 3 การส่ือสารขอมูล เวลา 2 ช่ัวโมง

1 สาระสําคัญ

การถายโอนขอมูลจะตองกระทําการผานตัวกลางหรือส่ือ ตัวกลางสามารถแบงเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ ส่ือนําขอมูล

แบบมีสายและส่ือนําขอมูลแบบไรสาย การเลือกใชตัวกลางที่เหมาะสมจะชวยใหเกิดประสิทธิภาพในการส่ือสารดีย่ิงขึ้น

นอกจากนี้ยังเปนการชวยประหยัดตนทุนอีกดวย

2 ตัวช้ีวัดช้ันป

อธิบายระบบส่ือสารขอมูลสําหรับเครือขายคอมพิวเตอร (ง 3.1 ม. 4–6/3)

3 จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายลักษณะสําคัญ ขอดี และขอเสียของตัวกลางได ( K)

2. เลือกใชตัวกลางในการถายโอนขอมูลไดอยางเหมาะสม ( A)

3. ปฏิบัติการถายโอนขอมูลผานตัวกลางได ( P)

4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม

และคานิยม (A) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1. สังเกตจากการแสดงความ

คิดเห็น การถาม และการตอบ

คําถาม

2. ตรวจผลงานการทํา

ใบงานที่ 3

1. สังเกตความตั้งใจและความ

กระตือรือรนในการสํารวจ

คอมพิวเตอรหนาช้ันเรียน

2. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมดวย

ความละเอียด รอบคอบ

1. สังเกตทักษะในการแสดงความ

คิดเห็น การถาม และการตอบ

คําถาม

2. สังเกตทักษะในการถายโอน

ขอมูลดวยตัวกลาง

5 สาระการเรียนรู

การถายโอนขอมูล

– ตัวกลาง

Page 80: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

6 แนวทางบูรณาการ

คณิตศาสตร การศึกษาหนวยวัดความเร็วในการถายโอนขอมูลของตัวกลางแตละ

ประเภท

วิทยาศาสตร การทดลองเก่ียวกับคุณสมบัติทางกายภาพของสสารที่ใชในการถาย

โอนขอมูล

สุขศึกษาฯ การศึกษาตัวกลางที่มีผลตอสุขภาพของผูใช

สังคมศึกษาฯ การเปรียบเทียบคุณสมบัติของตัวกลางกับราคาตามหลักการทาง

เศรษฐศาสตร

ภาษาตางประเทศ การศึกษาช่ือคําศัพทเฉพาะของตัวกลางในการถายโอนขอมูล

7 กระบวนการจัดการเรียนรู

ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. นักเรียนรวมกันคิดและบอกวิธีการส่ือสารประเภทตาง ๆ เชน การโทรศัพท การเขียนจดหมาย และการแชท

2. ครูสุมเลือกตัวแทนนักเรียน 2 คน เลาประสบการณเก่ียวกับวิธีการส่ือสารที่ใชตัวกลางแบบมีสายและวิธีการส่ือสาร

ที่ใชตัวกลางแบบไรสาย

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

1. นักเรียนศึกษาเรื่อง การถายโอนขอมูล ในหัวขอตัวกลาง หนวยการเรียนรูที่ 3 การส่ือสารขอมูล จากหนังสือเรียน

สาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4

2. ครูวางคอมพิวเตอร 2 เครื่อง หนาช้ันเรียน แลวถามนักเรียนวา คอมพิวเตอรเครื่องนี้ใชการถายโอนขอมูลดวย

ตัวกลางอะไร เหตุใดจึงคิดเชนนั้น

3. นักเรียนผลัดกันออกมาสํารวจคอมพิวเตอรหนาช้ันเรียน แลวรวมกันวิเคราะห แสดงความคิดเห็น และตอบคําถาม

คร ู

4. ครูดึงสายคูบิดเกลียวดานหลังคอมพิวเตอรแบบมีสายออก แลวสุมเลือกตัวแทนนักเรียนออกมาสํารวจสายสําหรับ

เช่ือมตอวาเหมือนหรือแตกตางจากที่ไดศึกษาในหนังสือเรียนหรือไม อยางไร

5. ครูสาธิตวิธีการเช่ือมตอเครือขายคอมพิวเตอรแบบไรสายใหนักเรียนดู พรอมช้ีที่อุปกรณเช่ือมตอสัญญาณ แลวสุม

เลือกตัวแทนนักเรียนออกมาสํารวจอุปกรณเช่ือมตอสัญญาณและทดลองเช่ือมตอสัญญาณ

6. นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น ถาม และตอบคําถามเก่ียวกับตัวกลางในการถายโอนขอมูล

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป

1. นักเรียนสรุปลักษณะสําคัญ ขอดี และขอเสียของตัวกลาง

2. นักเรียนสรุปตัวกลางที่ใชในการถายโอนขอมูลของคอมพิวเตอร

ขั้นที่ 4 ขั้นฝกฝนนักเรียน

1. นักเรียนทําใบงานที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 เรื่อง ตัวกลาง หนวยการเรียนรูที่ 3 การส่ือสารขอมูล

Page 81: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

2. นักเรียนผลัดกันถามและตอบคําถามเก่ียวกับลักษณะสําคัญ ขอดี และขอเสียของตัวกลางในการถายโอนขอมูล

3. นักเรียนยกตัวอยางการใชงานตัวกลางในการถายโอนขอมูลที่นิยมใชในปจจุบัน

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช

1. นักเรียนอธิบายลักษณะของตัวกลางที่ใชกับคอมพิวเตอรในแตละประเภทได

2. นักเรียนยกตัวอยางการใชงานตัวกลางที่นิยมใชในปจจุบันได

8 กิจกรรมเสนอแนะ

1. กิจกรรมสําหรับกลุมสนใจพิเศษ

ทดลองใชงานตัวกลางในการถายโอนขอมูลแตละประเภท แลวตอบคําถามวาชอบหรือประทับใจการถายโอน

ขอมูลแบบใด เพราะเหตุใด และคุณสมบัติของตัวกลางแตละประเภทขึ้นอยูกับคุณสมบัติของสสารที่ใชหรือไม อยางไร

2. กิจกรรมสําหรับฝกทักษะเพ่ิมเติม

คนหาช่ือและลักษณะของตัวกลางที่ใชงานในเทคโนโลยีสารสนเทศปจจุบัน เชน การสนทนาผาน

โทรศัพทเคล่ือนที่ และรายการโทรทัศนโดยทั่วไป

9 ส่ือ/แหลงเรียนรู

1. คอมพิวเตอรที่เช่ือมตอเครือขายคอมพิวเตอรดวยสายคูบิดเกลียวและแบบไรสาย

2. ส่ือส่ิงพิมพ เชน หนังสือ บทความ และเอกสารประกอบการเรียนการสอนเก่ียวกับตัวกลางที่ใชในการถายโอน

ขอมูล

3. ส่ืออิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอรชวยสอน เว็บไซตทางการศึกษา และ Hyperbook ที่นําเสนอเก่ียวกับตัวกลางที่

ใชในการถายโอนขอมูล

4. สถานที่ เชน พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสาร และหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร

5. บุคคล เชน ผูปกครอง ครู นักวิชาการ และผูเช่ียวชาญทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

6. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

7. ส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

10 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู..........................................................................

แนวทางการพัฒนา............................................................................................

2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู....................................................................

3. ส่ิงที่ไมไดปฏิบัติตามแผน...................................................................................

เหตุผล.............................................................................................................

4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู......................................................................

Page 82: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ลงช่ือ........................................(ผูสอน)

Page 83: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 12

ระบบบัส

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยการเรียนรูที่ 3 การส่ือสารขอมูล เวลา 2 ช่ัวโมง

1 สาระสําคัญ

ระบบบัส คือ ระบบการทํางานของวงจรอิเล็กทรอนิกสที่ทําหนาที่รับและสงสัญญาณขอมูลระหวางฮารดแวรใน

คอมพิวเตอร เพ่ือถายโอนขอมูลและติดตอส่ือสารระหวางหนวยการทํางานตาง ๆ ภายในคอมพิวเตอร โดยมีลักษณะเปนสาย

ทองแดงวางอยูบนแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส

2 ตัวช้ีวัดช้ันป

อธิบายระบบส่ือสารขอมูลสําหรับเครือขายคอมพิวเตอร (ง 3.1 ม. 4–6/3)

3 จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายลักษณะการทํางาน สวนประกอบ และโครงสรางของระบบบัสได ( K)

2. สังเกตสวนประกอบของระบบบัสดวยความระมัดระวังและรอบคอบ ( A)

3. ยกตัวอยางช่ือพีซีบัสที่ใชกับคอมพิวเตอรในปจจุบันได ( P)

4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม

และคานิยม (A) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1. สังเกตจากการช้ีสวนประกอบ

ของระบบบัสบนแผงวงจร

อิเล็กทรอนิกส

2. ตรวจขอมูลที่ไดจากการคนหา

ช่ือพีซีบัส

1. สังเกตความรอบคอบในการ

ปฏิบัติกิจกรรม

2. สังเกตความกระตือรือรนใน

การแขงขันคนหาขอมูล

1. สังเกตพฤติกรรมในขณะปฏิบัติ

กิจกรรม

2. สังเกตการมีทักษะในการ

คนหาขอมูล

5 สาระการเรียนรู

การถายโอนขอมูล

– ระบบบัส

Page 84: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

6 แนวทางบูรณาการ

คณิตศาสตร การเปรียบเทียบและคํานวณความเร็วของบัสในพีซีบัสแตละรุน

วิทยาศาสตร การศึกษาคุณสมบัติของสายทองแดงที่ใชเปนเสนทางในการสง

สัญญาณขอมูล

สุขศึกษาฯ การสังเกตและการช้ีระบบบัสบนแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสโดย

คํานึงถึงความปลอดภัยเปนหลัก

สังคมศึกษาฯ การเช่ือมโยงพัฒนาการของระบบบัสกับเหตุการณสําคัญในอดีต

ภาษาตางประเทศ การศึกษาที่มาของตัวอักษรยอที่ระบุในพีซีบัส

7 กระบวนการจัดการเรียนรู

ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. ครูเปดเคสของคอมพิวเตอรออกเพ่ือใหเห็นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสที่อยูภายใน แลวถามนักเรียนวา ตัวกลางหรือ

ระบบใดในคอมพิวเตอรที่ทําหนาที่ถายโอนขอมูลระหวางกัน

2. นักเรียนออกมาสํารวจเคสของคอมพิวเตอรที่ครูเปดใหดู วิเคราะห และเขียนคําตอบตามความคิดของนักเรียนลงใน

กระดาษขนาด A4

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

1. ครูใชปลายปากกาช้ีที่สายหรือเสนทองแดงที่อยูบนเมนบอรด พรอมอธิบายวาคอมพิวเตอรจะถายโอนขอมูลผาน

ทางสายดังกลาว ซ่ึงเรียกวา ระบบบัส

2. นักเรียนศึกษาเรื่อง การถายโอนขอมูล หัวขอระบบบัส หนวยการเรียนรูที่ 3 การส่ือสารขอมูล จากหนังสือเรียน

สาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 บริษัท

สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

3. นักเรียนผลัดกันออกมาสังเกตและศึกษาสวนประกอบของระบบบัสจากวงจรอิเล็กทรอนิกสภายในเคสหนาช้ัน

เรียน

4. นักเรียนแขงขันกันคนหาขอมูลเก่ียวกับพีซีบัสที่คาดวาจะใชกับเครื่องคอมพิวเตอรที่สํารวจ

5. นักเรียนที่คิดวาไดคําตอบแลวใหรีบไปเขียนช่ือพีซีบัสนั้นบนกระดานดํา ครูเฉลยวาใชหรือไม โดยดูจากคูมือของ

เมนบอรดที่ติดตั้งในคอมพิวเตอรเครื่องนั้น

6. นักเรียนที่คนหาช่ือพีซีบัสที่ถูกตองใหนําเสนอขอมูลที่ตนเองคนหาได

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป

1. นักเรียนชวยกันสรุปวา ระบบบัส คือ ระบบการถายโอนขอมูลระหวางฮารดแวรในคอมพิวเตอร

2. นักเรียนสรุปลักษณะสวนประกอบของระบบบัสที่สังเกตเห็นจากแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสภายในเคสของเครื่อง

คอมพิวเตอร

ขั้นที่ 4 ขั้นฝกฝนนักเรียน

Page 85: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

1. นักเรียนเปรียบเทียบลักษณะสวนประกอบของระบบบัสจากแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสภายในเคสของเครื่อง

คอมพิวเตอรเครื่องอ่ืน ๆ วาเหมือนหรือแตกตางกันหรือไม อยางไร

2. นักเรียนคนหาขอมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับคุณสมบัติและราคาของพีซีบัสที่นิยมใชในปจจุบัน

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช

1. นักเรียนสามารถช้ีตําแหนงสวนประกอบตาง ๆ ของระบบบัสบนแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสในเคสของเครื่อง

คอมพิวเตอรได

2. นักเรียนสามารถคนหาขอมูลเก่ียวกับรุนของพีซีบัสที่ใชกับคอมพิวเตอรของตนเองได

8 กิจกรรมเสนอแนะ

1. กิจกรรมสําหรับกลุมสนใจพิเศษ

คนหาขอมูลเพ่ิมเติมและวิเคราะหลักษณะการเช่ือมตอของอุปกรณบนแผงอิเล็กทรอนิกส เพ่ือสงเสริมการถายโอน

ขอมูลระหวางหนวยตาง ๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร

2. กิจกรรมสําหรับฝกทักษะเพ่ิมเติม

รวมกันแสดงความคิดเห็นวา ระบบบัสเก่ียวของอะไรกับรถประจําทาง (Bus = รถประจําทาง) และหากเปรียบเทียบ

ระบบบัสกับรถประจําทาง สวนประกอบของระบบบัสจะเก่ียวของกับรถประจําทางอยางไร (เสนจะเปรียบเสมือนเสนทางการเดิน

รถประจําทาง ชิปควบคุมจะทําหนาที่เหมือนนายสถานีรถประจําทาง ชองเสียบตอขยายหรือสล็อตเปรียบเสมือนรถประจําทาง

สายเสริม และขอมูลเปรียบเสมือน

ผูโดยสารรถประจําทาง)

9 ส่ือ/แหลงเรียนรู

1. เครื่องคอมพิวเตอรและคูมือของเมนบอรดที่ระบุรายละเอียดของพีซีบัสที่ใช

2. ส่ือส่ิงพิมพ เชน หนังสือ บทความ และเอกสารประกอบการเรียนการสอนเก่ียวกับระบบบัสที่ใชในการถายโอน

ขอมูลของคอมพิวเตอร

3. ส่ืออิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอรชวยสอน เว็บไซตทางการศึกษา และ Hyperbook ที่นําเสนอเก่ียวกับระบบบัส

ที่ใชในการถายโอนขอมูลของคอมพิวเตอร

4. สถานที่ เชน พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสาร และหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร

5. บุคคล เชน ผูปกครอง ครู นักวิชาการ บุคลากรที่ทําหนาที่เก่ียวกับระบบสารสนเทศ และผูเช่ียวชาญทางดาน

เทคโนโลยีสารสนเทศ

6. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

7. ส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

10 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู..........................................................................

แนวทางการพัฒนา............................................................................................

Page 86: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู....................................................................

3. ส่ิงที่ไมไดปฏิบัติตามแผน...................................................................................

เหตุผล.............................................................................................................

4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู......................................................................

ลงช่ือ........................................(ผูสอน)

Page 87: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 13

เครือขายคอมพิวเตอร

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยการเรียนรูที่ 3 การส่ือสารขอมูล เวลา 4 ช่ัวโมง

1 สาระสําคัญ

เครือขายคอมพิวเตอร คือ การนําเครื่องคอมพิวเตอรตั้งแต 2 เครื่องขึ้นไปมาเช่ือมตอ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการใชงาน

คอมพิวเตอร คอมพิวเตอรที่ใชในเครือขายสามารถแบงได 2 ประเภท คือ เครื่องเซิรฟเวอรและเครื่องไคลเอนต นํามาเช่ือมตอกัน

ดวยโครงสรางเครือขายในแบบตาง ๆ เพ่ือใหเหมาะตอความตองการของผูใชงานมากที่สุด

2 ตัวช้ีวัดช้ันป

อธิบายระบบส่ือสารขอมูลสําหรับเครือขายคอมพิวเตอร (ง 3.1 ม. 4–6/3)

3 จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร โครงสราง และชนิดของเครือขายคอมพิวเตอรได (K)

2. เห็นประโยชนและความสําคัญของการใชเครือขายคอมพิวเตอร (A)

3. เลือกใชเครื่องคอมพิวเตอรและโครงสรางในเครือขายคอมพิวเตอรไดอยางเหมาะสม ( P)

4. ยกตัวอยางการใชงานเครือขายคอมพิวเตอรแตละประเภทได ( P)

4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม

และคานิยม (A) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1. ตรวจจากแผนผังเครือขาย

คอมพิวเตอร

2. สังเกตจากการอธิบายแผนผัง

เครือขายคอมพิวเตอร

3. ตรวจการทําแบบทดสอบหลัง

เรียน (Post–test)

1. สังเกตจากความรับผิดชอบและ

ความคิดสรางสรรค

2. ประเมินพฤติกรรมของนักเรียน

จากแบบประเมินดานคุณธรรม

จริยธรรม และคานิยม

1. สังเกตทักษะในการเลือกใช

วัสดุเพ่ือสรางแผนผังแบบนูน

ต่ํา

2. ประเมินพฤติกรรมของ

นักเรียนจากแบบประเมิน

ดานทักษะ/กระบวนการ

5 สาระการเรียนรู

เครือขายคอมพิวเตอร

6 แนวทางบูรณาการ

ภาษาไทย การวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการนําเสนอประกอบแผนผัง

สังคมศึกษาฯ การวิเคราะหการใชเครือขายคอมพิวเตอรที่เหมาะสมเพ่ือลดปญหาที่

Page 88: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

เกิดขึ้นในสังคม

ภาษาตางประเทศ การคนหาขอมูลคําสําคัญที่เปนภาษาตางประเทศ

ศิลปะ การสรางแผนผังเครือขายคอมพิวเตอรแบบนูนต่ํา

7 กระบวนการจัดการเรียนรู

ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. ครูติดบัตรคําสําคัญเก่ียวกับเครือขายคอมพิวเตอรบนกระดานดํา

2. นักเรียนทบทวนความรูเดิมเก่ียวกับเครือขายคอมพิวเตอร แลวผลัดกันออกมาเขียนความหมายและลักษณะเก่ียวกับ

เครือขายคอมพิวเตอรบนกระดานดํา

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

1. นักเรียนศึกษาเรื่อง เครือขายคอมพิวเตอร หนวยการเรียนรูที่ 3 การส่ือสารขอมูล จากหนังสือเรียนสาระการเรียนรู

พ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4

2. นักเรียนรวมกันสํารวจหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร โดยจดบันทึกขอมูลเก่ียวกับหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรให

ไดมากที่สุด

3. นักเรียนตอบคําถามวา หองปฏิบัติการนี้มีเครื่องพิมพก่ีเครื่อง หองปฏิบัติการคอมพิวเตอรมีคอมพิวเตอรทั้งหมดก่ี

เครื่อง เครื่องคอมพิวเตอรในหองปฏิบัติการติดตั้งซอฟตแวรระบบอะไร ในเครื่องคอมพิวเตอร 1 ชุด ประกอบไปดวยฮารดแวร

อะไรบาง และเครื่องเซิรฟเวอรติดตั้งอยูบริเวณใดในหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร นักเรียนคนที่ตอบถูกเปนคนแรกไมตองตอบ

คําถามขออ่ืนอีก

4. แบงกลุมนักเรียนเปน 5 กลุม ใหนักเรียนคนที่ตอบถูกเปนคนแรกหาสมาชิกกลุม โดยใหจํานวนสมาชิกกลุมมี

จํานวนเทาหรือใกลเคียงกันทุกกลุม

5. สมาชิกแตละกลุมออกแบบเครือขายคอมพิวเตอรในอุดมคติของนักเรียน แลวสรางเปนแผนผังแบบนูนต่ํา

6. ครูสุมเลือกตัวแทนกลุม กลุมละ 2 คน ออกมานําเสนอและอธิบายเครือขายคอมพิวเตอรจากแผนผัง ตามหัวขอ

ประเภทและจํานวนของคอมพิวเตอร ชนิด โครงสราง อุปกรณสําหรับเช่ือมตอ และประโยชนที่ไดรับจากเครือขาย

7. ตัวแทนนักเรียนนําเสนอและอธิบายเครือขายคอมพิวเตอรจากแผนผัง โดยใหสมาชิกกลุมอ่ืน ๆ ถามและรวมแสดง

ความคิดเห็นหลังการนําเสนอ

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป

1. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน ( Post-test) จํานวน 20 ขอ เวลา 15 นาที

2. นักเรียนสรุป ลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร โครงสราง และชนิดของเครือขายคอมพิวเตอร

ขั้นที่ 4 ขั้นฝกฝนนักเรียน

1. นักเรียนเปรียบเทียบขอดีและขอเสียของโครงสรางเครือขายคอมพิวเตอรในแตละประเภท จากนั้นแลกเปล่ียนกัน

ตรวจคําตอบกับเพ่ือน

2. นักเรียนกับเพ่ือนผลัดกันยกตัวอยางและเลาประสบการณในการใชงานเครือขายคอมพิวเตอรแตละชนิด

Page 89: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช

1. นักเรียนสรางแผนผังเครือขายคอมพิวเตอรตามความคิดได

2. นักเรียนเลือกใชคอมพิวเตอร โครงสราง และชนิดของเครือขายเพ่ือใชประกอบในการสรางแผนผังไดอยาง

เหมาะสม

8 กิจกรรมเสนอแนะ

1. กิจกรรมสําหรับกลุมสนใจพิเศษ

นักเรียนสัมภาษณผูดูแลรานที่ใหบริการอินเทอรเน็ต โดยมีหัวขอในการสัมภาษณเดียวกับหัวขอที่นักเรียนนําเสนอ

แผนผังในขั้นสอน นําขอมูลมาสรุปเปนแผนภูมิหรือกราฟแสดงความนิยมในการเลือกใชคอมพิวเตอร โครงสราง และชนิดของ

เครือขาย แลวนํามาวิเคราะหวาเหตุใดจึงเปนเชนนั้น

2. กิจกรรมสําหรับฝกทักษะเพ่ิมเติม

นักเรียนรวมกันวิเคราะหผลกระทบตอการใชเครือขายคอมพิวเตอร แลวคิดวิธีการลดผลกระทบดานลบหรือโทษที่

เกิดจากการใชเครือขายคอมพิวเตอร

9 ส่ือ/แหลงเรียนรู

1. บัตรคําสําคัญที่เก่ียวกับเครือขายคอมพิวเตอร เชน PAN, LAN, Access Point, Wireless Adapter, Blue tooth, Mesh

Topology, Ring Topology, Client, Workstation และ Centralized Processing

2. วัสดุและอุปกรณสําหรับสรางแผนผัง เชน กระดาษแข็ง กระดาษสี กระดาษลูกฟูก ลวด

สีตาง ๆ กาว และกรรไกร

3. ส่ือส่ิงพิมพ เชน หนังสือ บทความ และเอกสารประกอบการเรียนการสอนเก่ียวกับเครือขายคอมพิวเตอร

4. ส่ืออิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอรชวยสอน เว็บไซตทางการศึกษา และ Hyperbook ที่นําเสนอเก่ียวกับเครือขาย

คอมพิวเตอร

5. สถานที่ เชน พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสาร หองสมุด รานที่ใหบริการอินเทอรเน็ต และหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร

6. บุคคล เชน ผูปกครอง ครู นักวิชาการ บุคลากรที่ทําหนาที่เก่ียวกับระบบสารสนเทศ และผูเช่ียวชาญทางดาน

เครือขายคอมพิวเตอร

7. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

8. ส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

10 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู..........................................................................

แนวทางการพัฒนา............................................................................................

2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู....................................................................

3. ส่ิงที่ไมไดปฏิบัติตามแผน...................................................................................

เหตุผล.............................................................................................................

Page 90: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู......................................................................

ลงช่ือ........................................(ผูสอน)

หนวยการเรียนรูท่ี 4 อินเทอรเน็ต 6 ช่ัวโมง

ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน

อินเทอรเน็ต

ภาระ/ชิ้นงาน .

• ถามและตอบคําถาม

เก่ียวกับความหมายและ

ลักษณะของอินเทอรเน็ต • กําหนดกฎ กติกา และ

มารยาทในการใช

อินเทอรเน็ต • ใชเสิรชเอนจิ้นคนหาขอมูล

ความรู.

• ความหมายและลักษณะของ

อินเทอรเน็ต • การสืบคนขอมูล • มารยาทในการใชงาน

อินเทอรเน็ต

ทักษะ/กระบวนการ .

• ทักษะกระบวนการทํางาน • ทักษะการจัดการ • ทักษะการแสวงหาความรู • ทักษะการทํางานกลุม • ทักษะการใชเทคโนโลยี

Page 91: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

คุณธรรม จริยธรรม และ

คานิยม .

• มีเจตคติที่ดีตออินเทอรเน็ต • มีความรอบคอบ • มีความขยันและอดทน • มีมารยาทในการทํางาน • อนุรักษส่ิงแวดลอม ใ ใ

Page 92: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

การออกแบบการจัดการเรียนรู

หนวยการเรียนรูท่ี 4 อินเทอรเน็ต

ขั้นท่ี 1 ผลลัพธปลายทางท่ีตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน

ตัวช้ีวัดช้ันป

1. อธิบายระบบส่ือสารขอมูลสําหรับเครือขายคอมพิวเตอร (ง 3.1 ม. 4–6/3)

2. ติดตอส่ือสาร คนหาขอมูลผานอินเทอรเน็ต (ง 3.1 ม. 4–6/9)

3. ใชคอมพิวเตอรชวยสรางช้ินงานหรือโครงงานอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ (ง 3.1 ม. 4–6/12)

4. บอกขอควรปฏิบัติสําหรับผูใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง 3.1 ม. 4–6/13)

ความเขาใจท่ีคงทนของนักเรียน

นักเรียนจะเขาใจวา...

1. อินเทอรเน็ต หมายถึง กลุมของเครือขาย

คอมพิวเตอรที่เช่ือมตอเขาดวยกันทั่วโลก และอนุญาต

ใหมีการเขาถึงสารสนเทศและการบริการในรูปแบบ

ของสาธารณะ

2. อินเทอรเน็ตจะตองใชเว็บเบราวเซอรเพ่ือเช่ือม

ตอไปยังเว็บไซตที่ตองการผานบริการของไอเอสพี

3. เสิรชเอนจิ้น เปนเครื่องมือที่ใชชวยเหลือใน

การคนหาขอมูล สามารถแบงประเภทไดตามลักษณะ

ของการจัดการฐานขอมูล

4. การคนหาขอมูลไดอยางรวดเร็วและตรงตอ

ความตองการของผูใชมากที่สุดจําเปนจะตองศึกษา

เก่ียวกับเทคนิคในการคนหาขอมูล

5. การใชงานอินเทอรเน็ตผูใชตองคํานึงถึง

มารยาทในการใชงาน เพ่ือไมใหเกิดความรําคาญและ

สรางความเดือดรอนตอผูใชงานคนอ่ืน ๆ

คําถามสําคัญท่ีทําใหเกิดความเขาใจท่ีคงทน

– อินเทอรเน็ตมีความหมายและลักษณะอยางไร

– การเช่ือมตออินเทอรเน็ตตองทําใชโปรแกรม

และบริการของหนวยงานใด

– เสิรชเอนจิ้นมีลักษณะและมีประโยชน

อยางไร

– หลักการใดใชในการแบงประเภทของเสิรช

เอนจิ้น

– การคนหาขอมูลเพ่ือใหไดประสิทธิภาพมาก

ที่สุดจะตองศึกษาเก่ียวกับเรื่องใด

– การใชงานอินเทอรเน็ตผูใชตองคํานึงถึงส่ิงใด

เปนสําคัญ

– การขาดมารยาทในการใชงานอินเทอรเน็ตจะ

สงผลกระทบอยางไร

ความรูของนักเรียนท่ีนําไปสูความเขาใจท่ีคงทน

นักเรียนจะรูวา…

1. คําที่ควรรู ไดแก โลกไซเบอร ออนไลน

ดรรชนี เว็บเบราวเซอร ทีซีพี/ไอพี อายแคน บล็อก

ฟรีโปรแกรม

2. อินเทอรเน็ตเปนเครือขายคอมพิวเตอรที่ใหญ

ที่สุดในโลก มีการใชงานรวมกัน และเช่ือมตอกันผาน

อุปกรณเช่ือมตอสัญญาณและเว็บเบราวเซอร

3. การสืบคนขอมูลใหมีประสิทธิภาพสามารถทํา

ไดโดยใชเสิรชเอนจิ้น โดยเทคนิคในการคนหาขอมูล

ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนท่ีนําไปสูความเขาใจ

ท่ีคงทน

นักเรียนจะสามารถ...

1. อธิบายความหมายและลักษณะของ

อินเทอรเน็ตและเสิรชเอนจิ้นได

2. มีทักษะในการคนหาขอมูลดวยเสิรชเอนจิ้น

3. อธิบายเทคนิคในการคนหาขอมูลดวยกูเกิล

ได

4. มีทักษะในการใชงานอินเทอรเน็ตดวย

คอมพิวเตอร

Page 93: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ตาง ๆ

4. เสิรชเอนจิ้นที่นิยมใชในปจจุบัน ไดแก กูเกิล

5. ผูใชอินเทอรเน็ตที่ดีตองศึกษามารยาทในการ

ใชงานอินเทอรเน็ต

5. ใชอินเทอรเน็ตโดยคํานึงถึงมารยาทและ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับผูอ่ืน

Page 94: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ขั้นท่ี 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานท่ีแสดงวานักเรียนมีผลการเรียนรูตามท่ี

กําหนดไวอยางแทจริง

1. ภาระงานท่ีนักเรียนตองปฏิบัติ

– เลนเกมถามและตอบคําถามลูกโซเก่ียวกับความหมายและลักษณะของอินเทอรเน็ต

– วิเคราะหและปฏิบัติตามกฎ กติกา มารยาทในการใชงานอินเทอรเน็ต

– ใชคอมพิวเตอรคนหาขอมูลดวยเสิรชเอนจิ้นจากอินเทอรเน็ต

2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู

วิธีการประเมินผลการเรียนรู

– การอภิปรายและการตอบคําถาม

– การนําเสนอหนาช้ันเรียน

– การทดสอบ

– การฝกปฏิบัติระหวางเรียน

– การประเมินตนเองของนักเรียน

เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู

– แบบบันทึกผลการอภิปราย

– แบบประเมินผลงาน

– แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน

– แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรู

– ใบงาน

– แบบประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม

– แบบประเมินดานทักษะ/กระบวนการ

3. ส่ิงท่ีมุงประเมิน

– ความสามารถในการตั้งคําถามและตอบคําถาม

– ความสามารถในการวิเคราะหและสรุปขอมูลที่ไดจากการคนหา

– ความสามารถในการคนหาขอมูล

– การมีความรับผิดชอบ ความขยัน ความรอบคอบ และมีมารยาทในการทํางาน

– การมีมารยาทในการปฏิบัติงาน

ขั้นท่ี 3 แผนการจัดการเรียนรู

แผนการจัดการเรียนรูที่ 14 ความหมายและลักษณะของอินเทอรเน็ต 2 ช่ัวโมง

แผนการจัดการเรียนรูที่ 15 การสืบคนขอมูลและมารยาทในการใชงานอินเทอรเน็ต 4 ช่ัวโมง

Page 95: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 14

ความหมายและลักษณะของอินเทอรเน็ต

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยการเรียนรูที่ 4 อินเทอรเน็ต เวลา 2 ช่ัวโมง

1 สาระสําคัญ

อินเทอรเน็ต หมายถึง กลุมของเครือขายคอมพิวเตอรทั่วโลกที่เช่ือมตอเขาดวยกันและอนุญาต ใหมีการเขาถึงสารสนเทศ

และการบริการในรูปแบบของสาธารณะ อินเทอรเน็ตจึงเปนเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีการใชงานแพรหลายมากที่สุด

2 ตัวช้ีวัดช้ันป

อธิบายระบบส่ือสารขอมูลสําหรับเครือขายคอมพิวเตอร (ง 3.1 ม. 4–6/3)

3 จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายความหมายและลักษณะของอินเทอรเน็ตได (K)

2. มีเจตคติที่ดีตอการใชอินเทอรเน็ต ( A)

3. ถามและตอบคําถามเก่ียวกับอินเทอรเน็ตได ( P)

4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม

และคานิยม (A) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1. ตรวจคะแนนที่ไดจากเกมถาม

และตอบคําถามลูกโซ

2. ตรวจการทําแบบทดสอบกอน

เรียน (Pre-test)

1 สังเกตจากความขยันและอดทน

ในการปฏิบัติกิจกรรม

2. สังเกตจากความคิดสรางสรรค

ในการตั้งคําถามเก่ียวกับ

อินเทอรเน็ต

1. สังเกตทักษะการคนหาขอมูล

เก่ียวกับอินเทอรเน็ต

2. สังเกตทักษะการวิเคราะห

และจับประเด็นขอมูลจากการ

ปฏิบัติกิจกรรม

5 สาระการเรียนรู

ความหมายและลักษณะของอินเทอรเน็ต

6 แนวทางบูรณาการ

ภาษาไทย การใชคําและกลุมคําสรางคําถามไดตรงตามวัตถุประสงค

วิทยาศาสตร การศึกษาลักษณะของอินเทอรเน็ตที่มีผลตอความสัมพันธระดับโลก

สังคมฯ การศึกษาลักษณะของอินเทอรเน็ตที่มีผลตอวัฒนธรรมไทย

สุขศึกษาฯ การวิเคราะหลักษณะของคําถามกับพ้ืนฐานความรูของผูตั้งคําถาม

ภาษาตางประเทศ การศึกษาขอมูลเก่ียวกับคําสําคัญของอินเทอรเน็ตที่เปน

ภาษาตางประเทศ

Page 96: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

7 กระบวนการจัดการเรียนรู

ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. นักเรียนใชพ้ืนฐานความรูเดิมและขอมูลที่สงสัยนํามาตั้งคําถามเก่ียวกับอินเทอรเน็ต คนละ 10 คําถาม บันทึกลงใน

กระดาษขนาด A4

2. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน ( Pre-test) จํานวน 20 ขอ เวลา 15 นาที

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

1. นักเรียนศึกษาเรื่อง ความหมายและลักษณะของอินเทอรเน็ต หนวยการเรียนรูที่ 4 อินเทอรเน็ต จากหนังสือเรียน

สาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4

2. นักเรียนเลนเกมถามและตอบคําถามลูกโซ โดยครูสุมเลือกตัวแทนนักเรียนใหเปนคนเริ่มถามคําถามคนแรก

3. ตัวแทนนักเรียนถามคําถาม แลวใหเพ่ือนคนที่รูคําตอบยกมือขึ้นตอบคําถามและถามคําถามตอไป แตถาไมมี

นักเรียนคนใดตอบคําถามไดใหนักเรียนทุกคนบันทึกคําถามนั้นตอทายคําถามของตนเองในกระดาษขนาด A4

4. นักเรียนถามและตอบคําถามตอกันไปจนครบทุกคน โดยคําถามที่ถามไมควรซํ้ากับที่เพ่ือนถามไปแลว

5. ครูบันทึกคะแนนของนักเรียน โดยนักเรียนคนที่ถามคําถามที่ไมมีใครสามารถตอบคําถามได ได 1 คะแนน และ

นักเรียนคนที่สามารถตอบคําถามของเพ่ือนได ได 1 คะแนน

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป

1. นักเรียนรวมกันสรุปขอมูลเก่ียวกับอินเทอรเน็ตที่ไดจากการเลนเกมถามและตอบคําถามลูกโซ

2. นักเรียนสรุปความหมายของอินเทอรเน็ตตามความเขาใจของตนเอง

ขั้นที่ 4 ขั้นฝกฝนนักเรียน

1. นักเรียนคนหาขอมูลเพ่ิมเติมเพ่ือตอบคําถามที่ไดบันทึกไวในกระดาษ A4 โดยตองมีแหลงขอมูลอางอิงคําตอบนั้น

2. นักเรียนเขียนองคประกอบที่จําเปนเม่ือตองการเช่ือมตออินเทอรเน็ต แลวสํารวจวาคอมพิวเตอรในหองปฏิบัติการ

คอมพิวเตอรและคอมพิวเตอรของตนเองมีองคประกอบดังกลาวครบหรือไม อยางไร

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช

1. นักเรียนอธิบายความหมายของอินเทอรเน็ตตามความเขาใจของตนเองได

2. นักเรียนอธิบายและตอบคําถามเก่ียวกับอินเทอรเน็ตได

8 กิจกรรมเสนอแนะ

1. กิจกรรมสําหรับกลุมสนใจพิเศษ

นักเรียนศึกษาวิธีการตรวจสอบหมายเลขไอพีแอดเดรสของคอมพิวเตอร การตรวจสอบการเช่ือมตอเครือขายดวย

Command Prompt และการตรวจสอบอุปกรณที่ใชเช่ือมตออินเทอรเน็ต แลวรวมกับผูเช่ียวชาญตรวจสอบคอมพิวเตอรใน

หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร

2. กิจกรรมสําหรับฝกทักษะเพ่ิมเติม

Page 97: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

นักเรียนศึกษาเทคนิคการใชงานอินเทอรเน็ตจากแหลงขอมูลตาง ๆ ทดลองใช แลวนํามาเผยแพรใหเพ่ือน ๆ ปฏิบัติ

ตาม

9 ส่ือ/แหลงเรียนรู

1. กระดาษขนาด A4

2. คอมพิวเตอรที่เช่ือมตออินเทอรเน็ต

3. ส่ือส่ิงพิมพ เชน หนังสือ บทความ และเอกสารประกอบการเรียนการสอนเก่ียวกับความหมายและลักษณะของ

อินเทอรเน็ต

4. ส่ืออิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอรชวยสอน เว็บไซตทางการศึกษา และ Hyperbook ที่นําเสนอเก่ียวกับ

ความหมายและลักษณะของอินเทอรเน็ต

5. สถานที่ เชน พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสาร หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร และรานที่ใหบริการอินเทอรเน็ต

6. บุคคล เชน ผูปกครอง ครู นักวิชาการ ผูเช่ียวชาญทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และผูเช่ียวชาญดานเครื่อง

คอมพิวเตอร

7. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

8. ส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

10 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู..........................................................................

แนวทางการพัฒนา............................................................................................

2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู....................................................................

3. ส่ิงที่ไมไดปฏิบัติตามแผน...................................................................................

เหตุผล.............................................................................................................

4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู......................................................................

ลงช่ือ........................................(ผูสอน)

Page 98: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 15

การสืบคนขอมูลและมารยาทในการใชงานอินเทอรเน็ต

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยการเรียนรูที่ 4 อินเทอรเน็ต เวลา 4 ช่ัวโมง

1 สาระสําคัญ

เนื่องจากขอมูลที่อยูในอินเทอรเน็ตมีจํานวนมาก ผูคนหาขอมูลจึงตองใชเครื่องมือตาง ๆ ชวยเหลือเพ่ือใหคนหาขอมูล

ไดรวดเร็วและตรงตามความตองการมากย่ิงขึ้น ซ่ึงผูใชอินเทอรเน็ตจะตองมีมารยาทในการใชงาน และระลึกอยูเสมอวามีผูใชงาน

อินเทอรเน็ตรวมกับตนเองอยูเสมอ

2 ตัวช้ีวัดช้ันป

1. ติดตอส่ือสาร คนหาขอมูลผานอินเทอรเน็ต (ง 3.1 ม.4–6/9)

2. ใชคอมพิวเตอรชวยสรางช้ินงานหรือโครงงานอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ (ง 3.1 ม.4–6/12)

3. บอกขอควรปฏิบัติสําหรับผูใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง 3.1 ม.4–6/13)

3 จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายวิธีการใชคอมพิวเตอรคนหาขอมูลดวยเสิรชเอนจิ้นได ( K)

2. มีมารยาทในการใชงานอินเทอรเน็ต (A)

3. มีทักษะในการแกปญหาเก่ียวกับการใชงานคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต (P)

4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม

และคานิยม (A) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1. สังเกตจากการคนหาขอมูลดวย

เสิรชเอนจิ้น

2. ตรวจจากใบงานที่ 4 การคนหา

ขอมูล

3. ตรวจการทําแบบทดสอบ

หลังเรียน (Post-test)

1. สังเกตการใชงานคอมพิวเตอร

ดวยความรอบคอบและ

ระมัดระวัง

2. สังเกตพฤติกรรมการใช

อินเทอรเน็ตตามกฎ กติกา

มารยาทที่ตกลงไว

1. สังเกตทักษะในการใชงาน

คอมพิวเตอร

2. สังเกตทักษะในการคนหา

ขอมูลดวยเสิรชเอนจิ้น

3. ประเมินพฤติกรรมของนักเรียน

จากแบบประเมินดานทักษะ/

กระบวนการ

5 สาระการเรียนรู

การสืบคนขอมูล

– เสิรชเอนจิ้น – ตัวอยางการคนหาขอมูล

– เทคนิคการคนหาขอมูล

Page 99: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

6 แนวทางบูรณาการ

ภาษาไทย การพิมพขอมูลที่ไดจากการคนหาอยางถูกตองตามหลักภาษาไทย

คณิตศาสตร การใชหลักการทางคณิตศาสตรชวยแบงเวลาในการคนหาขอมูล

อยางเหมาะสม

สังคมฯ การวิเคราะหบทบาทของอินเทอรเน็ตตอการเปล่ียนแปลงทางสังคม

สุขศึกษาฯ การเคารพกฎ กติกา มารยาทในการใชงานอินเทอรเน็ต

ภาษาตางประเทศ การศึกษาขอมูลภาษาตางประเทศที่ไดจากการใชเสิรชเอนจิ้น

7 กระบวนการจัดการเรียนรู

ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. นักเรียนรวมกันทบทวนความรูพ้ืนฐานเก่ียวกับการใชงานคอมพิวเตอร การเช่ือมตออินเทอรเน็ต และการใชงาน

เว็บเบราวเซอร

2. นักเรียนจับคูกับเพ่ือนรวมกันปฏิบัติการเปดคอมพิวเตอร เช่ือมตออินเทอรเน็ต เรียกใชเว็บเบราวเซอร และใชงาน

เว็บเบราวเซอรเบื้องตน

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

1. นักเรียนศึกษาเรื่อง การสืบคนขอมูลและมารยาทในการใชงานอินเทอรเน็ต หนวยการเรียนรูที่ 4 อินเทอรเน็ต จาก

หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4

2. นักเรียนรวมกันตั้งกฎ กติกา มารยาทในการใชงานอินเทอรเน็ต บันทึกลงในกระดาษโปสเตอร แลวนําไปติดบน

กระดานดํา

3. นักเรียนรวมกันทําขอตกลงวาในขณะที่ใชงานอินเทอรเน็ตจะตองยึดและปฏิบัติตามกฎ กติกา มารยาทในการใช

งานอินเทอรเน็ตที่นักเรียนรวมกันตั้งขึ้น

4. ครูสุมเลือกตัวแทนนักเรียน 3 คน คนแรกใหออกมาสาธิตวิธีการใชงานกูเกิล สวนคนที่ 2 และคนที่ 3 เดิน

ตรวจสอบและชวยเหลือนักเรียนที่ไมสามารถเรียกใชงานกูเกิลได

5. นักเรียนคนอ่ืน ๆ ใชงานกูเกิลตามที่ตัวแทนนักเรียนสาธิต โดยมีตัวแทนนักเรียนคนที่ 2 และคนที่ 3 คอยชวยเหลือ

ครูชวยตรวจสอบวานักเรียนทุกคนสามารถใชงานกูเกิลได

6. นักเรียนนั่งประจําที่เครื่องคอมพิวเตอร แลวทําใบงานที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 เรื่อง การคนหาขอมูล หนวย

การเรียนรูที่ 4 อินเทอรเน็ต

7. นักเรียนเปล่ียนที่นั่งประจําเครื่องคอมพิวเตอร แลวตรวจสอบวาเพ่ือนคนหาขอมูลไดตรงตามเงื่อนไขที่กําหนดไว

ในใบงานที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 เรื่อง การคนหาขอมูล หนวยการเรียนรูที่ 4 อินเทอรเน็ต หรือไมอยางไร

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป

1. นักเรียนรวมกันสรุปเทคนิควิธีการในการคนหาขอมูลดวยเสิรชเอนจิ้นและมารยาทในการใชอินเทอรเน็ต

2. นักเรียนรวมกันสรุปปญหาและแนวทางการแกปญหาที่พบในการปฏิบัติกิจกรรม

Page 100: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ขั้นที่ 4 ขั้นฝกฝนนักเรียน

1. นักเรียนเปรียบเทียบขอมูลที่ไดจากการคนหาในแฟมช่ือนักเรียนกับของเพ่ือนวาเหมือนหรือตางกันหรือไม

อยางไร

2. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน ( Post-test) จํานวน 20 ขอ เวลา 15 นาที

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช

1. นักเรียนสามารถคนหาขอมูลจากเสิรชเอนจิ้นได

2. นักเรียนนํากฎ กติกา มารยาทในการใชงานอินเทอรเน็ตไปใชในชีวิตประจําวัน

8 กิจกรรมเสนอแนะ

1. กิจกรรมสําหรับกลุมสนใจพิเศษ

นักเรียนศึกษาวิธีการสรางเสิรชเอนจิ้น แลวทดลองสรางเสิรชเอนจิ้นจากฐานขอมูลภายในโรงเรียน เชน ประวัติ

โรงเรียน ช่ือนักเรียน และรายวิชาที่เปดสอน

2. กิจกรรมสําหรับฝกทักษะเพ่ิมเติม

นักเรียนสัมภาษณบุคคลทั่วไปที่ใชงานอินเทอรเน็ตวา ผูใชแตละคนใชงานอินเทอรเน็ตตามกฎ กติกา มารยาทใน

การใชงานอินเทอรเน็ตที่นักเรียนรวมกันกําหนดขึ้นหรือไม อยางไร

9 ส่ือ/แหลงเรียนรู

1. กระดาษขนาดโปสเตอร

2. คอมพิวเตอรที่เช่ือมตออินเทอรเน็ต

3. ส่ือส่ิงพิมพ เชน ใบโฆษณา หนังสือ บทความ และเอกสารประกอบการเรียนการสอนเก่ียวกับการสืบคนขอมูลและ

มารยาทในการใชงานอินเทอรเน็ต

4. ส่ืออิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอรชวยสอน เว็บไซตทางการศึกษา และ Hyperbook ที่นําเสนอเก่ียวกับการสืบคน

ขอมูลและมารยาทในการใชงานอินเทอรเน็ต

5. สถานที่ เชน พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสาร หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร และรานที่ใหบริการอินเทอรเน็ต

6. บุคคล เชน ผูปกครอง ครู นักวิชาการ ผูเช่ียวชาญทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และตัวแทนจําหนายฮารดแวรและ

ซอฟตแวร

7. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

8. ส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

10 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู..........................................................................

แนวทางการพัฒนา............................................................................................

2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู....................................................................

3. ส่ิงที่ไมไดปฏิบัติตามแผน...................................................................................

Page 101: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

เหตุผล.............................................................................................................

4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู......................................................................

ลงช่ือ........................................(ผูสอน)

หนวยการเรียนรูท่ี 5 โครงงานคอมพิวเตอร 2 ช่ัวโมง

ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน

ภาระ/ชิ้นงาน .

• คนหาขอมูลเก่ียวกับ

โครงงานคอมพิวเตอร • ยกตัวอยางโครงงาน

คอมพิวเตอรแตละประเภท • ทํารายงานเก่ียวกับโครงงาน

ความรู.

• ความหมายและความสําคัญ • ประเภทของโครงงาน

ทักษะ/กระบวนการ .

• ทักษะการแสวงหาความรู • ทักษะการทํางานกล ุ ม • ทักษะการใชเทคโนโลยี • ทักษะการจัดการ • ทักษะกระบวนการทํางาน

Page 102: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

โครงงาน

คอมพิวเตอร

คุณธรรม จริยธรรม และ

คานิยม .

• มีเจตคติที่ดีตอโครงงาน

คอมพิวเตอร • มีความขยันและอดทน • มีความรอบคอบ • มีความคิดสรางสรรค • มีความรับผิดชอบ

Page 103: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

การออกแบบการจัดการเรียนรู

หนวยการเรียนรูท่ี 5 โครงงานคอมพิวเตอร

ขั้นท่ี 1 ผลลัพธปลายทางท่ีตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน

ตัวช้ีวัดช้ันป

พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร (ง 3.1 ม. 4–6/7)

ความเขาใจท่ีคงทนของนักเรียน

นักเรียนจะเขาใจวา...

1. โครงงานคอมพิวเตอร คือ งานที่สรางจาก

ความรู ความสามารถ และประสบการณของผูทํา

โครงงานดวยคอมพิวเตอร

2. โครงงานคอมพิวเตอรที่ดีจะตองกอใหเกิด

ประโยชนตอผูทําโครงงาน สังคม และประเทศชาต ิ

3. โครงงานคอมพิวเตอรสามารถแบงไดตาม

จุดประสงคของการทําโครงงาน

คําถามสําคัญท่ีทําใหเกิดความเขาใจท่ีคงทน

– โครงงานคอมพิวเตอรมีลักษณะอยางไร

– เครื่องมือหลักในการทําโครงงาน

คอมพิวเตอรคืออะไร

– โครงงานคอมพิวเตอรที่ดีจะตองมีลักษณะ

อยางไร

– การแบงประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร

อาศัยหลักการใด

ความรูของนักเรียนท่ีนําไปสูความเขาใจท่ีคงทน

นักเรียนจะรูวา…

1. คําที่ควรรู ไดแก จิตสํานึก บูรณาการ จิตวิทยา

การศึกษา ไฮเปอรเท็กซ คอมพิวเตอรชวยสอน

2. โครงงานคอมพิวเตอร หมายถึง ภาระ ช้ินงาน

หรือกิจกรรมอิสระที่ผูทํางานสรางช้ินงานดวย

คอมพิวเตอร

3. โครงงานคอมพิวเตอรที่ดีจะตองเปดโอกาสให

เกิดการพัฒนาและแสดงความสามารถของผูทําโครงงาน

มีองคความรูในการพัฒนาตนเอง สังคม และ

ประเทศชาติในเชิงลึก กระตุนใหเกิดความสนใจในงาน

ดานคอมพิวเตอร และมีการบูรณาการ ความรู

ความสามารถ และประสบการณทั้งหมดของผูทํา

โครงงาน

4. โครงงานแบงเปนประเภทตาง ๆ ตาม

จุดประสงคของการทําโครงงาน ไดแก ดานการศึกษา

ดานเคร่ืองมือ ดานการทดลองทฤษฎี ดานการ

ประยุกตใชงาน และดานเกม

ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนท่ีนําไปสูความเขาใจ

ท่ีคงทน

นักเรียนจะสามารถ...

1. อธิบายความหมายและลักษณะของโครงงาน

คอมพิวเตอรได

2. มีทักษะในการคนหาขอมูลเก่ียวกับโครงงาน

คอมพิวเตอร

3. นําขอมูลที่ไดจากการคนหามานําเสนอและ

จัดทํารายงานได

4. ยกตัวอยางและแยกประเภทของโครงงาน

คอมพิวเตอรได

Page 104: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ขั้นท่ี 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานท่ีแสดงวานักเรียนมีผลการเรียนรูตามท่ี

กําหนดไวอยางแทจริง

1. ภาระงานท่ีนักเรียนตองปฏิบัติ

– คนหาและนําเสนอขอมูลเก่ียวกับโครงงานคอมพิวเตอร

– วิเคราะหและสรุปขอมูลโครงงานคอมพิวเตอรเพ่ือจัดทํารายงาน

– ยกตัวอยางโครงงานคอมพิวเตอรในแตละประเภท

2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู

วิธีการประเมินผลการเรียนรู

– การอภิปรายและการตอบคําถาม

– การนําเสนอหนาช้ันเรียน

– การทดสอบ

– การฝกปฏิบัติระหวางเรียน

– การประเมินตนเองของนักเรียน

เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู

– แบบบันทึกผลการอภิปราย

– แบบประเมินผลงาน

– แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน

– แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรู

– ใบงาน

– แบบประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม

– แบบประเมินดานทักษะ/กระบวนการ

3. ส่ิงท่ีมุงประเมิน

– ความสามารถในการวิเคราะหและสรุปขอมูลที่ไดจากการคนหา

– ความสามารถในการคนหาขอมูล

– มีความขยัน ความอดทน ความละเอียดรอบคอบ และความคิดสรางสรรค

– ความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมรวมกับผูอ่ืน

ขั้นท่ี 3 แผนการจัดการเรียนรู

แผนการจัดการเรียนรูที่ 16 โครงงานคอมพิวเตอร 2 ช่ัวโมง

Page 105: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 16

โครงงานคอมพิวเตอร

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยการเรียนรูที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร เวลา 2 ช่ัวโมง

1 สาระสําคัญ

โครงงานคอมพิวเตอรเปนการนําความรู ความสามารถ และประสบการณของผูทําโครงงานมาบูรณาการเพ่ือใหได

ผลงานที่กอใหเกิดประโยชนทั้งตอผูทําโครงงาน สังคม และประเทศชาติ โดยแบงประเภทของโครงงานคอมพิวเตอรตาม

จุดประสงคของการทําโครงงาน

2 ตัวช้ีวัดช้ันป

พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร (ง 3.1 ม. 4–6/7)

3 จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายความหมายและความสําคัญของโครงงานคอมพิวเตอรได (K)

2. มีความรับผิดชอบและปฏิบัติงานดวยความละเอียด รอบคอบ ( A)

3. ยกตัวอยางโครงงานคอมพิวเตอรในแตละประเภท ( P)

4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม

และคานิยม (A) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1. ตรวจจากรายงานโครงงาน

คอมพิวเตอร

2. ตรวจผลงานการทําใบงาน

ที่ 5

3. ตรวจการทําแบบทดสอบกอน

เรียน (Pre -test) และหลังเรียน

(Post-test)

1 สังเกตจากความรับผิดชอบและ

ความคิดสรางสรรคในการ

ยกตัวอยางโครงงาน

2. ประเมินพฤติกรรมของ

นักเรียนจากแบบประเมินดาน

คุณธรรม จริยธรรม และ

คานิยม

1. สังเกตทักษะการทํางานรวมกับ

ผูอ่ืน

2. สังเกตทักษะการคนหาขอมูล

การแกปญหา และการจัดทํา

รายงาน

3. ประเมินพฤติกรรมของ

นักเรียนจากแบบประเมินดาน

ทักษะ/กระบวนการ

5 สาระการเรียนรู

1. ความหมายและความสําคัญ

2. ประเภทของโครงงาน

6 แนวทางบูรณาการ

ภาษาไทย การสรุปขอมูลที่ไดจากการคนหามาจัดทําเปนรายงาน

Page 106: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

วิทยาศาสตร การยกตัวอยางโครงงานคอมพิวเตอรที่สงเสริมผลงานทาง

วิทยาศาสตร

สังคมฯ การสรางโครงงานคอมพิวเตอรเพ่ือแกปญหาทางสังคม

สุขศึกษาฯ การสรางโครงงานคอมพิวเตอรที่สงเสริมสุขภาพของตนเอง

ครอบครัว และสังคม

ภาษาตางประเทศ การศึกษาโครงงานคอมพิวเตอรที่เขียนดวยภาษาตางประเทศ

ศิลปะ การออกแบบผลงานที่ไดจากโครงงานคอมพิวเตอรตามหลักการทาง

ศลิปะ

7 กระบวนการจัดการเรียนรู

ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. นักเรียนดูตัวอยางการเขียนโครงงานคอมพิวเตอร

2. นักเรียนรวมกันวิเคราะหลักษณะช้ินงาน และคูมือของช้ินงานที่สรางจากโครงงานคอมพิวเตอรนั้น แลวยกตัวอยาง

โครงงานคอมพิวเตอรที่นักเรียนรูจัก

3. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน ( Pre-test) จํานวน 20 ขอ เวลา 15 นาที

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

1. นักเรียนศึกษาเรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร หนวยการเรียนรูที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร จากหนังสือเรียนสาระการ

เรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4

2. แบงนักเรียนเปนกลุม กลุมละ 3–4 คน ตัวแทนกลุม 5 คน จาก 5 กลุม ออกมาจับสลากช่ือประเภทของโครงงานที่

หนาช้ันเรียน เม่ือตัวแทนทั้ง 5 คน ไดช่ือประเภทของโครงงานแลวจึงใสสลากรายช่ือประเภทของโครงงานกลับลงไปในกลอง

ใหม เพ่ือใหตัวแทนกลุมอีก 5 คนมาจับสลากตอไป

3. สมาชิกแตละกลุมชวยกันคนหาขอมูลเก่ียวกับโครงงานตามหัวขอที่จับสลากได โดยขอมูลที่คนหาจะตอง

ประกอบดวยจุดประสงค ความรูที่เก่ียวของ ตัวอยางโครงงานที่ทําเสร็จแลว และขอมูล

อ่ืน ๆ

4. สมาชิกแตละกลุมนําขอมูลที่ไดจากการคนหามาเปนแนวทางในการเขียนโครงงาน พรอมวาดภาพผลงานที่คาดวา

จะไดรับ แลวจัดทําเปนรายงาน

5. ใหตัวแทนกลุมที่ทําโครงงานช่ือเดียวกันกลุมละ 1 คน ออกมานําเสนอขอมูลเก่ียวกับโครงงานประเภทนั้นรวมกัน

หนาช้ันเรียน

6. นักเรียนคนอ่ืน ๆ ถามและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับโครงงานที่เพ่ือนนําเสนอ

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป

1. นักเรียนรวมกันสรุปจุดประสงค ความรูที่เก่ียวของ ตัวอยางโครงงาน และขอมูลอ่ืน ๆ ของโครงงานทุกประเภท

2. นักเรียนรวมกันสรุปแหลงขอมูลที่นําเสนอเก่ียวกับโครงงานคอมพิวเตอร

Page 107: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ขั้นที่ 4 ขั้นฝกฝนนักเรียน

1. นักเรียนทําใบงานที่ 5 เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 เรื่อง ตัวอยางโครงงานคอมพิวเตอร หนวยการเรียนรูที่ 4

อินเทอรเน็ต

3. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน ( Post-test) จํานวน 20 ขอ เวลา 15 นาท ี

4. นักเรียนคนหาตัวอยางโครงงานคอมพิวเตอรในแตละประเภทเพ่ิมเติมจากที่เพ่ือนนําเสนอและทํารายงาน

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช

1. นักเรียนคนหาขอมูลเก่ียวกับโครงงานคอมพิวเตอรในหัวขอที่กําหนดได

2. นักเรียนเขียนรายงานเก่ียวกับโครงงานคอมพิวเตอรได

8 กิจกรรมเสนอแนะ

1. กิจกรรมสําหรับกลุมสนใจพิเศษ

ศึกษาเพ่ิมเติมเก่ียวกับโครงงานคอมพิวเตอรดานการศึกษา แลวเขียนบทความความยาว 1 หนากระดาษขนาด A4

เรื่อง ความสําคัญและแนวโนมของโครงงานคอมพิวเตอรดานการศึกษาที่มีตอนักเรียน แลวนําบทความดังกลาวไปจัดนิทรรศการ

2. กิจกรรมสําหรับฝกทักษะเพ่ิมเติม

ศึกษาเพ่ิมเติมเก่ียวกับลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอรที่ดี จากนั้นนํามาวิเคราะหรายงานของนักเรียนวาเปน

โครงงานคอมพิวเตอรที่ดีหรือไม อยางไร

9 ส่ือ/แหลงเรียนรู

1. ตัวอยางการเขียนโครงงานคอมพิวเตอร

2. สลากช่ือประเภทของโครงงาน

3. ส่ือส่ิงพิมพ เชน หนังสือ บทความ และเอกสารประกอบการเรียนการสอนเก่ียวกับโครงงานคอมพิวเตอร

4. ส่ืออิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอรชวยสอน เว็บไซตทางการศึกษา และ Hyperbook ที่นําเสนอเก่ียวกับโครงงาน

คอมพิวเตอร

5. สถานที่ เชน พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสาร และหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร

6. บุคคล เชน ผูปกครอง ครู นักวิชาการ ผูเช่ียวชาญทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และผูเช่ียวชาญดานโครงงาน

คอมพิวเตอร

7. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

8. ส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

10 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู..........................................................................

แนวทางการพัฒนา............................................................................................

2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู....................................................................

3. ส่ิงที่ไมไดปฏิบัติตามแผน...................................................................................

Page 108: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

เหตุผล.............................................................................................................

4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู......................................................................

ลงช่ือ........................................(ผูสอน)

หนวยการเรียนรูท่ี 6 จริยธรรมและความปลอดภัย 4 ช่ัวโมง

ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน

ภาระ/ชิ้นงาน .

• สรุปและระบุโทษของ

ผูกระทําความผิดตาม

พระราชบัญญัติฯ

คอมพิวเตอร • อธิบาย สาธิต และ

ปฏิบัติการตามแนวทางการ

ความรู.

• จริยธรรมและพระราช-

บัญญัติฯ คอมพิวเตอร • อาชญากรรมคอมพิวเตอร • แนวทางการปองกัน

ทักษะ/กระบวนการ .

• ทักษะกระบวนการทํางาน • ทักษะการทํางานกลุม • ทักษะการจัดการ • ทักษะการใชเทคโนโลยี • ทักษะการแสวงหาความรู

Page 109: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

จริยธรรม

และความปลอดภัย

คุณธรรม จริยธรรม และ

คานิยม .

• มีเจตคติที่ดีตอจริยธรรม

และความปลอดภัย • มีความรับผิดชอบ • มีความใสใจสวนรวม • มีมารยาทในการทํางาน

Page 110: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

การออกแบบการจัดการเรียนรู

หนวยการเรียนรูท่ี 6 จริยธรรมและความปลอดภัย

ขั้นท่ี 1 ผลลัพธปลายทางท่ีตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน

ตัวช้ีวัดช้ันป

1. ใชคอมพิวเตอรชวยสรางช้ินงานหรือโครงงานอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ (ง 3.1 ม. 4–6/12)

2. บอกขอควรปฏิบัติสําหรับผูใชเทคโนโลยี (ง 3.1 ม. 4–6/13)

ความเขาใจท่ีคงทนของนักเรียน

นักเรียนจะเขาใจวา...

1. ผูใชงานคอมพิวเตอรควรมีจริยธรรมและ

ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร

2. กฎหมายที่ทําหนาที่กํากับและดูแลการใช

คอมพิวเตอร ไดแก พระราชบัญญัติวาดวยการกระทํา

ความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550

3. ผูกระทําความผิดดานคอมพิวเตอรเรียกวา

อาชญากรคอมพิวเตอร

4. อาชญากรคอมพิวเตอรแบงเปน 3 ประเภท

ตามลักษณะของอาชญากรรมที่กอ

5. การใชคอมพิวเตอรจะตองใชดวยความ

ระมัดระวังและมีมาตรการสําหรับปองกันอาชญากรรม

คอมพิวเตอร

คําถามสําคัญท่ีทําใหเกิดความเขาใจท่ีคงทน

– จริยธรรมคอมพิวเตอรแตกตางจากกฎหมายที่

เก่ียวกับการใชคอมพิวเตอรอยางไร

– กฎหมายที่ทําหนาที่กํากับและดูแลการใช

คอมพิวเตอรช่ืออะไร

– อาชญากรคอมพิวเตอรคืออะไร เก่ียวของ

อยางไรกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร

– อาชญากรคอมพิวเตอรมีก่ีประเภท และมี

ลักษณะของการกออาชญากรรมอยางไร

– เราสามารถปองกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร

ไดอยางไร

ความรูของนักเรียนท่ีนําไปสูความเขาใจท่ีคงทน

นักเรียนจะรูวา…

1. คําที่ควรรู ไดแก พระราชบัญญัติ จิตสํานึก สภา

นิติบัญญัติ จําคุก สาธารณะ มาตรการปองกัน เครือขาย

สาธารณชน ลิขสิทธ์ิ ฟอกเงิน แทรกแซง ไวรัส

คอมพิวเตอร สมารทการด อัปเดท อุปกรณทางชีวภาพ

2. จริยธรรมคอมพิวเตอร คือ หลักศีลธรรม

หลักเกณฑ หรือมาตรฐานที่กําหนดขึ้นเพ่ือกระทําในส่ิง

ที่ถูกตองหรือหลีกเล่ียงในการกระทําผิดตอผูอ่ืน

3. พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิด

เก่ียวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 หมวด 1 กลาวถึงการ

กระทําความผิดและบทลงโทษของผูกระทําความผิด

4. อาชญากรคอมพิวเตอรแบงเปน มือสมัครเลน

แคร็กเกอร และอาชญากรมืออาชีพ

5. การปองกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร สามารถ

ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนท่ีนําไปสูความเขาใจ

ท่ีคงทน

นักเรียนจะสามารถ...

1. อธิบายความหมายและลักษณะของคําวา

จริยธรรม พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิด

เก่ียวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 อาชญากรรม และ

อาชญากร

2. บอกโทษของผูกระทําความผิดตาม

พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเก่ียวกับ

คอมพิวเตอร พ.ศ. 2550

3. วิเคราะหขาวที่เกิดจากการกระทําความผิด

เก่ียวกับการใชเทคโนโลยีสารสนเทศได

4. อธิบายแนวทางในการปองกันอาชญากรรม

คอมพิวเตอรได

Page 111: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ปฏิบัติได 4 แนวทาง คือ การปองกันขอมูลสวนตัว การ

ปองกันการเขาสูระบบคอมพิวเตอร การสํารองขอมูล

และการติดตั้งโปรแกรมคนหาและกําจัดไวรัส

คอมพิวเตอร

Page 112: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ขั้นท่ี 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานท่ีแสดงวานักเรียนมีผลการเรียนรูตามท่ี

กําหนดไวอยางแทจริง

1. ภาระงานท่ีนักเรียนตองปฏิบัติ

– แสดงความคิดเห็น และวิเคราะหปญหาที่เกิดจากการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

– สรุปและระบุโทษของผูที่กระทําความผิดตามพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร

– อธิบายและสาธิตวิธีการปองกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร

– ปฏิบัติตามแนวทางการปองกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร

2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู

วิธีการประเมินผลการเรียนรู

– การอภิปรายและการตอบคําถาม

– การนําเสนอหนาช้ันเรียน

– การทดสอบ

– การฝกปฏิบัติระหวางเรียน

– การประเมินตนเองของนักเรียน

เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู

– แบบบันทึกผลการอภิปราย

– แบบประเมินผลงาน

– แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน

– แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรู

– ใบงาน

– แบบประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม

– แบบประเมินดานทักษะ/กระบวนการ

3. ส่ิงท่ีมุงประเมิน

– ความสามารถในการอธิบายความรูใหผูอ่ืนเขาใจ

– การทํางานตามกระบวนการ

– การใชเครื่องคอมพิวเตอรดวยความระมัดระวังและรูคุณคา

– พฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมเปนรายบุคคลและรายกลุม

– การมีความรับผิดชอบ ใสใจสวนรวม และมีมารยาทในการทํางาน

ขั้นท่ี 3 แผนการจัดการเรียนรู

แผนการจัดการเรียนรูที่ 17 จริยธรรมและพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร 2 ช่ัวโมง

แผนการจัดการเรียนรูที่ 18 อาชญากรรมคอมพิวเตอรและแนวทางการปองกัน 2 ช่ัวโมง

Page 113: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 17

จริยธรรมและพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยการเรียนรูที่ 6 จริยธรรมและความปลอดภัย เวลา 2 ช่ัวโมง

1 สาระสําคัญ

ผูใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศควรมีจริยธรรมและปฏิบัติตามพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร เพ่ือไมใหเกิดผลเสียหาย

ตอตนเอง ผูอ่ืน หรือประเทศชาติ ซ่ึงผูที่กระทําความผิดตามพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอรจะมีบทลงโทษที่แตกตางกันตาม

ลักษณะของความผิดที่กอขึ้น

2 ตัวช้ีวัดช้ันป

1. ใชคอมพิวเตอรชวยสรางช้ินงานหรือโครงงานอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ

(ง 3.1 ม. 4–6/12)

2. บอกขอควรปฏิบัติสําหรับผูใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง 3.1 ม. 4–6/13)

3 จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายบทลงโทษจากการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอรได (K)

2. ใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีจริยธรรม (A)

3. ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอรในการคนหาขอมูลเพ่ิมเติมดานกฎหมายที่เก่ียวกับการกระทําความผิดใน

การใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศ (P)

4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม

และคานิยม (A) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1. สังเกตจากการวิเคราะหและสรุป

ปญหาที่เกิดจากการกระทํา

ความผิดในการใชเทคโนโลยี

สารสนเทศ

2. ตรวจการทําแบบทดสอบกอน

เรียน (Pre-test)

1. สังเกตจากความรับผิดชอบใน

การทํางาน

2. มีความตั้งใจในการคนหา

ขอมูลดานกฎหมาย

1. สังเกตการมีทักษะในการ

วิเคราะหและแกปญหา

2. สังเกตจากทักษะการคนหา

ขอมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับกฎหมาย

ในการใชงานเทคโนโลยี

สารสนเทศ

5 สาระการเรียนรู

จริยธรรมและพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร

Page 114: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

6 แนวทางบูรณาการ

ภาษาไทย การใชภาษาในส่ืออิเล็กทรอนิกส

สังคมศึกษาฯ ปญหาดานจริยธรรมที่สงผลกระทบตอสภาพสังคมในปจจุบัน

สุขศึกษาฯ การแสดงออกซ่ึงมารยาทในการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาษาตางประเทศ

กฎหมายตางประเทศที่เก่ียวของกับการใชงานเทคโนโลยี

สารสนเทศ

ศิลปะ พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร

พ.ศ. 2550 ฉบับการตูน

7 กระบวนการจัดการเรียนรู

ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน ( Pre-test) จํานวน 20 ขอ เวลา 15 นาท ี

2. นักเรียนรวมกันทบทวนมารยาทในการใชงานอินเทอรเน็ต จากนั้นพูดคุยและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับปญหาที่

เกิดจากการใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีตอตนเอง ผูอ่ืน และสังคม

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

1. นักเรียนศึกษาเรื่อง จริยธรรมและพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร หนวยการเรียนรู

ที่ 6 จริยธรรมและความปลอดภัย จากหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู

เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4

2. นักเรียนสรุปปญหาที่เกิดจากการใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีตอตนเอง ผูอ่ืน และสังคมที่ไดจากการแสดงความ

คิดเห็นรวมกับเพ่ือน ๆ ลงในกระดาษขนาด A4 โดยสรุปเปนขอ ๆ

3. นักเรียนวิเคราะหปญหาวาเกิดจากการกระทําผิดดานจริยธรรมหรือพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร โดยถาเปน

ความผิดในพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร ใหนักเรียนระบุมาตราและโทษของผูกระทําความผิด

4. นักเรียนแลกเปล่ียนผลการวิเคราะหปญหากับเพ่ือน จากนั้นตรวจสอบวาตรงกับขอสรุปที่ตนเองวิเคราะหไว

หรือไม

5. นักเรียนผลัดกันคัดลอกปญหาที่ตนเองและเพ่ือนวิเคราะหไวไมเหมือนกันเขียนไวบนกระดานดํา

6. นักเรียนทุกคนรวมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับปญหาที่อยูบนกระดานดํา

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป

1. นักเรียนรวมกันสรุปวา การกระทําความผิดที่ไมไดระบุไวในพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร แตทําใหผูอ่ืน

เดือดรอนหรือรําคาญ จัดวาเปนการกระทําผิดจริยธรรม

2. นักเรียนรวมกันสรุปวา การกระทําความผิดในบางกรณี โทษที่จะไดรับตามพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอรอาจมี

มากกวา 1 มาตรา เนื่องจากพฤติกรรมนั้นมีความเก่ียวเนื่องสัมพันธกัน

ขั้นที่ 4 ขั้นฝกฝนนักเรียน

Page 115: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

1. นักเรียนคนหาขาวเก่ียวกับการกระทําความผิดในการใชงานคอมพิวเตอร แลวนํามาวิเคราะหวาเกิดจากการกระทํา

ผิดดานจริยธรรมหรือพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร โดยถาเปนการกระทําความผิดในพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร จัดเปนการ

กระทําความผิดในมาตราใด และมีโทษอยางไร

2. นักเรียนจับกลุมกับเพ่ือน 3 คน ผลัดกันบอกมาตรา ลักษณะของการกระทําความผิด และบทลงโทษ

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช

1. นักเรียนอธิบายลักษณะการกระทําความผิดจริยธรรมและพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอรได

2. นักเรียนวิเคราะหความผิดที่เกิดจากการใชงานคอมพิวเตอรที่พบในชีวิตประจําวันได

8 กิจกรรมเสนอแนะ

1. กิจกรรมสําหรับกลุมสนใจพิเศษ

นักเรียนรวมกันคิดวิธีการแกปญหาในการกระทําความผิดจริยธรรมและพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร จากนั้น

กําหนดแนวทางการแกไขปญหาในการกระทําความผิดเปนขอ ๆ นําไปจัดทําเปนแผนพับแลวแจกใหผูใชงานในหองปฏิบัติการ

คอมพิวเตอร

2. กิจกรรมสําหรับฝกทักษะเพ่ิมเติม

นักเรียนศึกษาเพ่ิมเติมเก่ียวกับมาตรการปองกันปญหาที่เกิดจากการกระทําความผิดในการใชงานเทคโนโลยี

สารสนเทศจากหนวยงานทั้งภาครัฐบาลและเอกชน แลวนําขอมูลที่ไดมาแลกเปล่ียนความคิดเห็นกับเพ่ือน

9 ส่ือ/แหลงเรียนรู

1. ส่ือส่ิงพิมพ เชน หนังสือ บทความ และเอกสารประกอบการเรียนการสอนเก่ียวกับจริยธรรมและพระราชบัญญัติฯ

คอมพิวเตอร

2. ส่ืออิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอรชวยสอน เว็บไซตทางการศึกษา และ Hyperbook ที่นําเสนอเก่ียวกับจริยธรรม

และพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร

3. สถานที่ เชน พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสาร และสํานักงานตํารวจแหงชาติ

4. บุคคล เชน ผูปกครอง ครู นักวิชาการ ผูเช่ียวชาญทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และผูเช่ียวชาญดานกฎหมายที่

เก่ียวกับการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศ

5. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

6. ส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

10 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู..........................................................................

แนวทางการพัฒนา............................................................................................

2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู....................................................................

Page 116: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

3. ส่ิงที่ไมไดปฏิบัติตามแผน...................................................................................

เหตุผล.............................................................................................................

4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู......................................................................

ลงช่ือ........................................(ผูสอน)

Page 117: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 18

อาชญากรรมคอมพิวเตอรและแนวทางการปองกัน

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยการเรียนรูที่ 6 จริยธรรมและความปลอดภัย เวลา 2 ช่ัวโมง

1 สาระสําคัญ

อาชญากรรมคอมพิวเตอร คือ การกระทําความผิดทางกฎหมายโดยใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือ ซ่ึงผูกระทําความผิดจะ

เรียกวา อาชญากรคอมพิวเตอร การใชงานคอมพิวเตอรจึงมีมาตรการหรือแนวทางในการปองกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร เพ่ือ

ไมใหเกิดปญหาตอตนเองในอนาคต

2 ตัวช้ีวัดช้ันป

1. ใชคอมพิวเตอรชวยสรางช้ินงานหรือโครงงานอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ

(ง 3.1 ม. 4–6/12)

2. บอกขอควรปฏิบัติสําหรับผูใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง 3.1 ม. 4–6/13)

3 จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายลักษณะและวิธีการปองกันอาชญากรรมคอมพิวเตอรได ( K)

2. มีความรอบคอบและระมัดระวังในการใชคอมพิวเตอร เพ่ือปองกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร (A)

3. ปฏิบัติการตามแนวทางในการปองกันอาชญากรรมคอมพิวเตอรได (P)

4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม

และคานิยม (A) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1. สังเกตการวิเคราะห การอธิบาย

การสาธิต การตอบคําถาม และ

การแสดงความคิดเห็น

2. ตรวจการทําใบงานและ

แบบทดสอบหลังเรียน (Post-

test)

1. สังเกตความรอบคอบและ

ระมัดระวังในการใชงาน

คอมพิวเตอร

2. ประเมินพฤติกรรมของ

นักเรียนจากแบบประเมินดาน

คุณธรรม จริยธรรม และ

คานิยม

1. สังเกตการปฏิบัติการปองกัน

อาชญากรรมคอมพิวเตอร

2. ประเมินพฤติกรรมของ

นักเรียนจากแบบประเมิน

ดานทักษะ/กระบวนการ

5 สาระการเรียนรู

1. อาชญากรรมคอมพิวเตอร

– ลักษณะของการกระทําความผิด

– ลักษณะของผูกระทําความผิด

2. แนวทางปองกัน

Page 118: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

6 แนวทางบูรณาการ

ภาษาไทย สรุปขาวหรือบทความดานอาชญากรรมคอมพิวเตอรอยางมี

วิจารณญาณ

คณิตศาสตร สถิติการเกิดอาชญากรรมคอมพิวเตอรในปจจุบัน

วิทยาศาสตร การใชประโยชนดานเทคโนโลยีชีวภาพเพ่ือปองกันอาชญากรรม

คอมพิวเตอร

สังคมศึกษาฯ อาชญากรรมคอมพิวเตอรที่มีผลกระทบตอสังคม

สุขศึกษาฯ อิทธิพลของครอบครัว เพ่ือน สังคม และวัฒนธรรมที่มีผลตอ

พฤติกรรมในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

ภาษาตางประเทศ คําศัพทที่เก่ียวของกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร

7 กระบวนการจัดการเรียนรู

ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. ครูเขียนคําสําคัญภาษาอังกฤษเก่ียวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอรบนกระดานดํา เชน Computer Crime, Cyber

Crime, Hacking, Cracking, Illegal Interception, Data and System Interference, Computer Misuse และ Computer Related Crime

2. นักเรียนรวมกันคิดวิธีการคนหาความหมายและลักษณะของคําสําคัญที่ครูเขียนไวบนกระดานดําใหเร็วที่สุดแลวลง

มือปฏิบัต ิ

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

1. นักเรียนศึกษาเรื่อง อาชญากรรมคอมพิวเตอรและแนวทางปองกัน หนวยการเรียนรูที่ 6 จริยธรรมและความ

ปลอดภัย จากหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 หรือส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณ

แบบ ม. 4

2. ครูสุมเลือกนักเรียนใหบอกความหมายและลักษณะของคําสําคัญ พรอมชวยกันตรวจสอบและวิเคราะหวา

ความหมายและลักษณะของคําสําคัญที่ตัวแทนนักเรียนบอกนั้นถูกตองหรือไมอยางไร

3. แบงนักเรียนเปน 4 กลุม แลวใหตัวแทนแตละกลุมออกมาจับสลากหัวขอแนวทางการปองกัน

4. สมาชิกแตละกลุมคนหาขอมูลแลวเตรียมการสาธิตตามแนวทางการปองกันในหัวขอที่จับสลากได ดังนี้

กลุมที่ 1 อธิบายและสาธิตวิธีการตั้งรหัสเพ่ือปองกันขอมูลสวนตัว

กลุมที่ 2 อธิบายและสาธิตวิธีการตั้งรหัสเพ่ือปองกันการเขาสูระบบคอมพิวเตอร

กลุมที่ 3 อธิบายและสาธิตวิธีการสํารองขอมูล

กลุมที่ 4 อธิบายและสาธิตวิธีการสแกนไวรัสคอมพิวเตอร

5. นักเรียนสงตัวแทนกลุม กลุมละ 2 คน ออกมานําเสนอและสาธิตวิธีการปองกันในหัวขอที่กลุมจับสลากได

6. สมาชิกกลุมอ่ืน ๆ ที่ไมไดออกไปนําเสนอและสาธิตวิธีการปองกันใหศึกษาส่ิงที่เพ่ือนสาธิตและซักถามตามความ

สนใจ

7. ตัวแทนกลุมสุมเลือกสมาชิกกลุมอ่ืนใหออกมาปฏิบัติตามวิธีการปองกันที่ตัวแทนกลุมไดนําเสนอและสาธิตไป

Page 119: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป

1. นักเรียนรวมกันสรุปความสัมพันธของคําสําคัญที่เก่ียวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร

2. นักเรียนรวมกันสรุปขั้นตอนในการปองกันทั้ง 4 วิธีตามลําดับขั้น

ขั้นที่ 4 ขั้นฝกฝนนักเรียน

1. นักเรียนทําใบงานที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 เรื่อง ความคิดเห็นของนักเรียน หนวยการเรียนรูที่ 6 จริยธรรม

และความปลอดภัย

2. นักเรียนสรางแผนผังแสดงอาชญากรรมคอมพิวเตอร โดยในแผนผังจะตองมีคําสําคัญที่ครูเขียนใหบนกระดานดํา

ครบทุกคํา แลวแลกเปล่ียนกับเพ่ือนเพ่ือตรวจสอบ

3. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน ( Post-test) จํานวน 20 ขอ เวลา 15 นาที

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช

1. นักเรียนสามารถปองกันอาชญากรรมคอมพิวเตอรกับเครื่องคอมพิวเตอรของ

ตนเองได

2. นักเรียนนําเสนอและสาธิตวิธีการปองกันอาชญากรรมคอมพิวเตอรกับผูอ่ืนได

8 กิจกรรมเสนอแนะ

1. กิจกรรมสําหรับกลุมสนใจพิเศษ

นักเรียนศึกษาเพ่ิมเติมเก่ียวกับการใชเทคโนโลยีชีวภาพในการปองกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร แลวตอบคําถาม

ตอไปนี ้

– เทคโนโลยีชีวภาพนิยมใชกับอวัยวะใดของรางกายมนุษย เนื่องจากอะไร

– ปจจุบันมีการใชเทคโนโลยีชีวภาพในการปองกันอาชญากรรมในหนวยงานใดบาง

– เทคโนโลยีชีวภาพมีหลักการทํางานอยางไร

2. กิจกรรมสําหรับฝกทักษะเพ่ิมเติม

นักเรียนคนหาขอมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับวิธีการปองกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร แลวนําขอมูลมาแลกเปล่ียนกันศึกษา

กับเพ่ือน

9 ส่ือ/แหลงเรียนรู

1. ส่ือส่ิงพิมพ เชน หนังสือ บทความ และเอกสารประกอบการเรียนการสอนเก่ียวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอรและ

แนวทางการปองกัน

2. ส่ืออิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอรชวยสอน เว็บไซตทางการศึกษา และ Hyperbook ที่นําเสนอเก่ียวกับ

อาชญากรรมคอมพิวเตอรและแนวทางการปองกัน

3. สลากรายช่ือแนวทางการปองกัน

4. คอมพิวเตอรที่ติดตั้งโปรแกรมไวรัสคอมพิวเตอรและฮารดแวรสําหรับสํารองขอมูล

Page 120: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

5. สถานที่ เชน พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสาร และสํานักงานตํารวจแหงชาติ

6. บุคคล เชน ผูปกครอง ครู นักวิชาการ และผูเช่ียวชาญทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

7. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

8. ส่ือการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ สมบูรณแบบ ม. 4 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด

10 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู..........................................................................

แนวทางการพัฒนา............................................................................................

2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู....................................................................

3. ส่ิงที่ไมไดปฏิบัติตามแผน...................................................................................

เหตุผล.............................................................................................................

4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู......................................................................

ลงช่ือ........................................(ผูสอน)

ตอนที่ 3 เอกสาร/ความรูเสริมสําหรับคร ู

เอกสาร/ความรูเสริมสําหรับครู ประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี ้

1. สาระและมาตรฐานการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ

และการส่ือสาร

2. ตัวช้ีวัดช้ันปและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 3 เทคโนโลยี

สารสนเทศและการส่ือสาร

3. กระบวนการจัดการเรียนรูที่ใชในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 3 เทคโนโลยี

สารสนเทศและการส่ือสาร

4. ผังการออกแบบการจัดการเรียนรูแบบ Backward Design

5. รูปแบบแผนการจัดการเรียนรูรายช่ัวโมง

6. ใบความรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

7. ใบงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4

8. เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู

– แบบทดสอบกอนและหลังเรียน

– แบบทดสอบปลายป

– แบบบันทึกความรู

– แบบบันทึกผลการสํารวจ

– แบบบันทึกผลการอภิปราย

– แบบประเมินคุณภาพของช้ินงาน

– แบบประเมินการนําเสนอผลงาน (รายบุคคล/กลุม)

Page 121: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

9. เครื่องมือประเมินผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม

10. เครื่องมือประเมินผลการเรียนรูดานทักษะ/กระบวนการ

11. เครื่องมือประเมินสมรรถนะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และภาระงานของนักเรียนโดยใชมิติคุณภาพ ( Rubrics)

– แบบประเมินแฟมสะสมผลงาน ( Portfolio)

– แบบประเมินโครงงาน

– แบบประเมินการนําเสนอผลงาน

Page 122: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

สาระและมาตรฐานการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

1. สาระและมาตรฐานการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสาร

มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล การเรียนรู การ

ส่ือสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

2. เรียนรูอะไรในการงานอาชีพและเทคโนโลยี

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี มุงพัฒนาผูเรียนแบบองครวม เพ่ือใหมีความรูความสามารถ มีทักษะ

ในการทํางาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีสาระสําคัญเก่ียวกับกระบวนการ

เทคโนโลยีสารสนเทศ การติดตอส่ือสาร การคนหาขอมูล การใชขอมูลและสารสนเทศ การแกปญหาหรือการสรางงาน คุณคา

และผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

Page 123: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ตัวช้ีวัดช้ันปและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ

และเทคโนโลยี ม. 4–6

ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. อธิบายองคประกอบของ

ระบบสารสนเทศ

* องคประกอบของระบบสารสนเทศ ไดแก ฮารดแวร ซอฟตแวร ขอมูล

บุคลากร และขั้นตอนการปฏิบัติงาน

2. อธิบายองคประกอบและ

หลักการทํางานของ

คอมพิวเตอร

* การทํางานของคอมพิวเตอรประกอบดวยหนวยสําคัญ 5 หนวย ไดแก

หนวยรับเขา หนวยประมวลผลกลาง หนวยความจําหลัก หนวยความจํา

รอง และหนวยสงออก

– หนวยประมวลผลกลาง ประกอบดวยหนวยควบคุม และหนวย

คํานวณและตรรกะ

– การรับสงขอมูลระหวางหนวยตาง ๆ จะผานทางระบบขนสงขอมูล

หรือบัส

3. อธิบายระบบส่ือสารขอมูล

สําหรับเครือขาย

คอมพิวเตอร

* ระบบส่ือสารขอมูล ประกอบดวย ขาวสาร ผูสง ผูรับ ส่ือกลาง

โพรโทคอล

* เครือขายคอมพิวเตอรจะส่ือสารและรับสงขอมูลกันไดตองใช

โพรโทคอลชนิดเดียวกัน

* วิธีการถายโอนขอมูลแบบขนานและอนุกรม

4. บอกคุณลักษณะของ

คอมพิวเตอรและอุปกรณ

ตอพวง

* คุณลักษณะ ( specification) ของอุปกรณคอมพิวเตอร และอุปกรณตอพวง

เชน ความเร็วและความจุของฮารดดิสก

5. แกปญหาดวยกระบวนการ

เทคโนโลยีสารสนเทศอยาง

มีประสิทธิภาพ

* แกปญหาโดยใชขั้นตอนดังนี ้

– การวิเคราะหและกําหนดรายละเอียดของปญหา

– การเลือกเคร่ืองมือและออกแบบขั้นตอน

– การดําเนินการแกปญหา

– การตรวจสอบและการปรับปรุง

* การถายทอดความคิดในการแกปญหาอยางมีขั้นตอน

6. เขียนโปรแกรมภาษา * ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมมี 5 ขั้นตอน ไดแก การวิเคราะหปญหา การ

ออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม และการ

จัดทําเอกสารประกอบ

* การเขียนโปรแกรม เชน ซี จาวา ปาสคาล วิชวลเบสิก ซีชารป

* การเขียนโปรแกรมในงานดานตาง ๆ เชน การจัดการขอมูล การวิเคราะห

ขอมูล การแกปญหาในวิชาคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร การสรางช้ินงาน

Page 124: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

7. พัฒนาโครงงาน

คอมพิวเตอร

* โครงงานคอมพิวเตอร แบงตามวัตถุประสงคของการใชงานดังนี้

– การพัฒนาส่ือเพ่ือการศึกษา

– การพัฒนาเครื่องมือ

– การทดลองทฤษฎี

– การประยุกตใชงาน

– การพัฒนาโปรแกรมประยุกต

* พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอรตามขั้นตอนตอไปนี้

– คัดเลือกหัวขอที่สนใจ

– ศึกษาคนควาเอกสาร

– จัดทําขอเสนอโครงงาน

– พัฒนาโครงงาน

– จัดทํารายงาน

– นําเสนอและเผยแพร

8. ใชฮารดแวรและซอฟตแวร

ใหเหมาะสมกับงาน

* การเลือกคุณลักษณะของฮารดแวรและซอฟตแวรใหเหมาะสมกับงาน เชน

คอมพิวเตอรที่ใชในงานส่ือประสม ควรเปนเครื่องที่มีสมรรถนะสูง และ

ใชซอฟตแวรที่เหมาะสม

9. ติดตอส่ือสาร คนหาขอมูล

ผานอินเทอรเน็ต

* ปฏิบัติการติดตอส่ือสาร คนหาขอมูลผานอินเทอรเน็ต

* คุณธรรมและจริยธรรมในการใชอินเทอรเน็ต

10. ใชคอมพิวเตอรในการ

ประมวลผลขอมูลใหเปน

สารสนเทศเพ่ือ

ประกอบการตัดสินใจ

* ใชเทคโนโลยีสารสนเทศชวยในการตัดสินใจของบุคคล กลุมองคกรใน

งานตาง ๆ

11. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

นําเสนองานในรูปแบบที่

เหมาะสม ตรงตาม

วัตถุประสงคของงาน

* ใชเทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองานในรูปแบบโดยพิจารณา

วัตถุประสงคของงาน

12. ใชคอมพิวเตอรชวยสราง

ช้ินงานหรือโครงงาน

อยางมีจิตสํานึกและความ

รับผิดชอบ

* ใชคอมพิวเตอรชวยสรางช้ินงานหรือโครงงานตามหลักการทําโครงงาน

* ศึกษาผลกระทบดานสังคมและส่ิงแวดลอมที่เกิดจากงานที่สรางขึ้น เพ่ือหา

แนวทางปรับปรุงและพัฒนา

13. บอกขอควรปฏิบัติสําหรับ

ผูใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

* ขอปฏิบัติสําหรับผูใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน ส่ือสารและปฏิบัติตอ

ผูอ่ืนอยางสุภาพ ปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับของระบบที่ใชงาน ไมทําผิด

กฎหมายและศีลธรรม แบงปนความสุขใหกับผูอ่ืน

Page 125: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

กระบวนการจัดการเรียนรูที่ใชในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีเปนกลุมสาระที่ชวยพัฒนาใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจ มีทักษะ

พ้ืนฐานที่จําเปนตอการดํารงชีวิต และรูเทาทันการเปล่ียนแปลง สามารถนําความรูเก่ียวกับการดํารงชีวิต การอาชีพ และเทคโนโลยี

มาใชประโยชนในการทํางานอยางมีความคิดสรางสรรค เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทํางาน มีเจตคติที่ดีตอการ

ทํางาน และสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางเพียงพอและมีความสุข วิธีการหรือเทคนิคที่นํามาใชในกระบวนการจัดการ

เรียนรูมีอยูหลายวิธี แตละวิธีจะมีประสิทธิผลในการสรางความรู เจตคติ ทักษะ และประสบการณที่แตกตางกันออกไป ดังนั้นใน

การพิจารณาเลือกวิธีการใดมาใช ครูตองวิเคราะหตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรูแกนกลางกอนวาตองการใหนักเรียนเกิดพฤติกรรม

ใด ในระดับใด จึงจะนํามาปรับใชใหเหมาะสมกับนักเรียน ทั้งนี้เพ่ือใหการเรียนรูของนักเรียนบรรลุตามจุดประสงคการเรียนรูที่

กําหนด

ในคูมือครู แผนการจัดการเรียนรูเลมนี้ ไดบูรณาการเทคนิควิธีการจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับสาระการเรียนรูการงาน

อาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ไวเพ่ือใหครูเลือกใชใหเหมาะสมกับเนื้อหาที่สอน ซ่ึงแตละ

วิธีการจัดการเรียนรูมีสาระพอสังเขป ดังนี ้

1. ทักษะกระบวนการทํางาน

ทักษะกระบวนการทํางานเปนการลงมือทํางานดวยตนเอง โดยมุงเนนการฝกวิธีการทํางานอยางสมํ่าเสมอ ทั้งการ

ทํางานเปนรายบุคคลและการทํางานเปนกลุม เพ่ือใหสามารถทํางานไดบรรลุเปาหมาย โดยขั้นตอนของกระบวนการทํางานมีดังนี ้

1) การวิเคราะหงาน นักเรียนแตละคนหรือแตละกลุมจะตองศึกษารายละเอียดของงานที่จะทําวามีลักษณะ

อยางไร มีรายละเอียดปลีกยอยอยางไรบาง เพ่ือนําขอมูลเหลานี้ไปใชในการกําหนดวัตถุประสงค การเตรียมวัสดุ อุปกรณ และ

เคร่ืองมือในการทํางาน พรอมกับกําหนดวิธีการทําในขั้นการวางแผนในการทํางาน

2) การวางแผนในการทํางาน นักเรียนแตละคนหรือแตละกลุมควรรวมกันวางแผนการทํางาน เพ่ือกําหนด

แนวทางในการปฏิบัติงานไวลวงหนาวาจะทําอะไร ทําเม่ือไร ทําวิธีใด ใครเปนผูทํา กําหนดงานเสร็จเม่ือใด แลวจึงกําหนดภาระ

งานหรือหนาที่ความรับผิดชอบของแตละคน ไดแก รายการงานที่ตองปฏิบัติ เวลาปฏิบัติงาน และผูรับผิดชอบ

3) การปฏิบัติงาน เม่ือนักเรียนแตละคนหรือแตละกลุมไดรับมอบหมายหนาที่และความรับผิดชอบแลวใหลงมือ

ปฏิบัติงานจริงตามแผนที่วางไว

4) การประเมินผลการทํางาน หลังจากนักเรียนแตละคนหรือแตละกลุมปฏิบัติงานเสร็จแลวใหรวมกันตรวจสอบ

ผลการปฏิบัติงานวาเปนไปตามแผนที่วางไวหรือไม ผลงานมีขอดีหรือขอบกพรองอยางไร และควรปรับปรุงผลงานสวนใดบาง

ถาพบขอบกพรองในสวนใดจะตองรวมกันหาวิธีการปรับปรุงแกไขทันท ี

2. ทักษะกระบวนการเทคโนโลยี

กระบวนการเทคโนโลยี เปนกระบวนการที่เก่ียวของกับการคิดแกปญหา การคิดริเริ่มสรางสรรค การออกแบบ เพ่ือ

นําไปสูการประดิษฐ การสรางส่ิงของเครื่องใช อุปกรณ และผลิตภัณฑซ่ึงเปนการปฏิบัติที่ทําใหมนุษยใชสอยประโยชนไดตาม

ความตองการ และชวยเพ่ิมพูนประสิทธิภาพในการทํากิจกรรมตาง ๆ อีกดวย กระบวนการเทคโนโลยีมี 6 ขั้นตอน ดังนี ้

1) การกําหนดปญหาหรือความตองการ โดยใหนักเรียนศึกษาและกําหนดปญหาที่ตองการแกไข หรือกําหนด

ความตองการที่จะสรางส่ิงตาง ๆ โดยการรวมกันแสดงความคิดเห็นแลวคัดเลือกปญหาหรือความตองการที่แทจริงและชัดเจนเพ่ือ

นํามาตั้งเปนวัตถุประสงค

2) การรวบรวมขอมูล เปนขั้นตอนที่นักเรียนรวมกันสํารวจ คนหา หรือแสวงหาขอมูลแลวรวบรวมขอมูลตาง ๆ

นํามาสรางทางเลือกหลาย ๆ ทางเลือกเพ่ือนําไปสูการแกปญหา

Page 126: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

3) การเลือกวิธีการแกปญหา เปนการพิจารณาทางเลือกแตละทางเลือกวา มีขอดีและขอเสียอยางไรบาง การนํา

ทางเลือกนี้มาใชแกปญหาจะทําไดหรือไม แลวจึงตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด

4) การออกแบบและปฏิบัติ เปนการใหนักเรียนรวมกันนําทางเลือกที่ไดเลือกไวแลวมาลําดับความคิดเพ่ือกําหนด

แนวทางการแกปญหาหรือเพ่ือสรางช้ินงาน และถายทอดความคิดออกมาเปนภาพที่มีรายละเอียด โดยใชความรูดานการออกแบบ

เขียนเปนภาพราง 3 มิติ หรือแผนที่ความคิด จากนั้นจึงลงมือปฏิบัติการสรางตามขั้นตอนของการออกแบบจนสําเร็จเปนช้ินงาน

5) การประเมินผล เปนการตรวจสอบประสิทธิภาพของช้ินงานที่สรางหรือประดิษฐเสร็จแลว โดยใหนักเรียนนํา

ช้ินงานไปทดลองใช แลวประเมินผลการใชงานวา มีขอบกพรองหรือไม อยางไร

6) การปรับปรุงหรือพัฒนา เปนการใหนักเรียนนําขอบกพรองของช้ินงานหรือปญหาที่พบมาดําเนินการปรับปรุง

แกไขใหดีขึ้น หรือนําผลงานที่ดีแลวมาพัฒนาใหมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้น

3. ทักษะการจัดการ

ทักษะการจัดการเปนความพยายามของบุคคลที่จะจัดระบบงาน (ทํางานเปนรายบุคคล) และจัดระบบคน (ทํางาน

เปนกลุม) เพ่ือใหทํางานสําเร็จตามเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ ซ่ึงทักษะการจัดการเปนวิธีการหรือรูปแบบในการปฏิบัติงาน

เพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุด ซ่ึงประกอบดวยขั้นตอนตอไปนี ้

1) การตั้งเปาหมาย เปนการกําหนดวาส่ิงที่กลุมหรือองคกรตองการคืออะไร แตละกลุมหรือองคกรจะตองมี

เปาหมายเดียวกัน ซ่ึงเปาหมายจะมีทั้งเปาหมายระยะส้ันและระยะยาว และเปาหมายที่ตั้งขึ้นอาจมีการเปล่ียนแปลงได

2) การวิเคราะหทรัพยากร เปนการใหพิจารณาวาทรัพยากรที่มีอยู ไดแก คน วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ งบประมาณ

และเวลา จะสามารถทําใหบรรลุเปาหมายที่ตั้งไวหรือไม ถามีทรัพยากรใดไมเพียงพอจะตองรีบจัดหาทรัพยากรนั้นมาเตรียมไวให

พรอมและเพียงพอ

3) การวางแผนและการกําหนดทรัพยากร เปนการใหนักเรียนกําหนดกิจกรรมไวลวงหนาวาจะตองทําอะไร ส่ิง

ใดบาง เพ่ือใหบรรลุเปาหมายที่ตั้งไว โดยใชทรัพยากรที่มีอยูใหเหมาะสม และใชใหเกิดประโยชนสูงสุด ไดแก การจัดคนทํางาน

ในหนาที่ตาง ๆ การคนหาหรือจัดซ้ือวัสดุ อุปกรณ และเครื่องมือเพ่ิมเติม การจัดสรรเงิน เพ่ือใชในการดําเนินงานดานตาง ๆ

รวมทั้งการบริหารเวลาในการทํางานเพ่ือใหงานเสร็จตามกําหนด

4) การปฏิบัติตามแผนและการปรับแผน โดยใหนักเรียนแตละคนหรือแตละกลุมตองลงมือปฏิบัติงานตามแผน

และควบคุมใหเปนไปตามแผนที่วางไวดวย แตถาพบปญหาในขณะที่ปฏิบัติงาน อาจมีการปรับเปล่ียนแผนที่วางไว เพ่ือหลีกเล่ียง

ปญหาหรือขอบกพรองที่อาจจะเกิดขึ้นได

5) การประเมินผล เปนการตรวจสอบเพ่ือใหทราบวาการปฏิบัติงานของตนเองหรือกลุมบรรลุเปาหมายที่กําหนด

ไวหรือไม ซ่ึงการประเมินผลนั้นสามารถทําไดในทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงานตามแผน ถาประสบความสําเร็จเร็วก็แสดงใหเห็น

วาการจัดการของกลุมเปนการจัดการที่ดี แตถาไมประสบผลสําเร็จกลุมจะตองนําปญหาหรือขอบกพรองเหลานั้นมาปรับปรุง

แกไข เพ่ือใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงานในครั้งตอไป

Page 127: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

4. การสาธิต

การสาธิตเปนวิธีการสอนเพ่ือใหนักเรียนเกิดการเรียนรูตามเปาหมายที่กําหนด โดยครูแสดงหรือทําส่ิงที่ตองการให

นักเรียนเรียนรู แลวนักเรียนสังเกต ซักถาม อภิปราย และสรุปความรูที่ไดจากการเรียนรู ซ่ึงมีวิธีการดังนี ้

1) การเตรียมตัวครู ครูควรเตรียมความพรอมของตนเองโดยวางแผนการสาธิต ทดลองทํากอนที่จะสาธิตให

นักเรียนดู และจัดเตรียมส่ิงตาง ๆ ไดแก วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ และเตรียมสถานที่ที่จะใชในการสาธิต เพ่ือใหการสาธิตดําเนินไป

อยางราบรื่น ปองกันปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได

2) การเตรียมตัวนักเรียน ครูควรใหความรูเก่ียวกับเรื่องที่สาธิตแกนักเรียนอยางเพียงพอ เพ่ือใหนักเรียนเกิดความ

เขาใจในส่ิงที่สาธิตไดดีย่ิงขึ้น และควรใหคําแนะนําวิธีการหรือเทคนิคการสังเกตหรือบันทึกการสาธิต

3) ลงมือสาธิต ในขณะที่ครูกําลังสาธิต ครูควรบรรยายประกอบการสาธิตเปนลําดับขั้นตอนพรอมกับซักถาม

นักเรียนเปนระยะ ๆ เพ่ือกระตุนความสนใจของนักเรียน ในกรณีที่การสาธิตอาจเกิดอันตรายตอนักเรียน ครูควรมีวิธีการปองกัน

เพ่ือไมใหเกิดอันตรายตอนักเรียนไวใหเรียบรอย และควรใชเวลาในการสาธิตใหเหมาะสมกับเรื่องที่สาธิต

4) การสรุปผลการสาธิต เม่ือครูสาธิตเสร็จควรสรุปและเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามขอสงสัย หรือใหนักเรียน

แตละคนแสดงความคิดเห็น หรือครูอาจเตรียมคําถามไวถามนักเรียนเพ่ือกระตุนใหนักเรียนคิด แลวใหนักเรียนรวมกันสรุปความรู

ที่ไดจากการชมการสาธิตของครู

5. การฝกปฏิบัติ

การฝกปฏิบัติเปนวิธีการสอนที่เนนใหนักเรียนไดรับประสบการณตรงจากสถานการณจริงและการแกปญหาทําให

นักเรียนไดฝกคิด ฝกลงมือทํา ฝกการแกปญหา ฝกการทํางานรวมกัน ซ่ึงจะสงผลใหนักเรียนเรียนรูอยางมีความสุข เกิดการพัฒนา

รอบดาน มีอิสระที่จะเลือกการเรียนรูที่เหมาะสมกับตนเอง และยังสามารถนําความรูที่ไดรับไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันได

ดวย ซ่ึงมีวิธีการจัดการเรียนรูดังนี ้

1) การนําเขาสูเนื้อหา กอนจัดการเรียนรูครูจะตองกระตุนนักเรียนใหเกิดความกระตือรือรนและสนใจอยาก

คนควาหาความรูดวยวิธีการตาง ๆ เชน การซักถามเก่ียวกับความสําคัญของเรื่องที่จะเรียน หรือการทบทวนความรูเดิมเพ่ือ

เช่ือมโยงความรูเดิมกับความรูใหมที่นักเรียนจะตองเรียนรู ครูควรแจงจุดประสงคการเรียนรูและรวมกันกําหนดขอบขายหรือ

ประเด็นความรูใหม

2) การศึกษา/วิเคราะห เปนการแบงกลุมนักเรียนเพ่ือทํากิจกรรมกลุมรวมกัน โดยการแสวงหาความรู แสดงความ

คิดเห็น รวมกันวิเคราะห และหาขอสรุปในประเด็นที่ตั้งไว ซ่ึงครูจะตองออกแบบกลุมใหเหมาะสมเพ่ือใหนักเรียนทุกคนมีสวน

รวมมากที่สุด พรอมกับเปดโอกาสใหนักเรียนไดกําหนดบทบาทหนาที่ของสมาชิกในกลุม

3) การปฏิบัติ นักเรียนฝกปฏิบัติตามขั้นตอน ฝกคิดวิเคราะห จินตนาการ สรางสรรค โดยมีครูคอยอํานวยความ

สะดวกในดานตาง ๆ เพ่ือใหนักเรียนเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว

4) การสรุป/เสนอผลการเรียนรู เปนขั้นที่นักเรียนแตละกลุมนําผลที่ไดจากการปฏิบัติมาวิเคราะห สังเคราะห เปน

ความรูใหม วิธีการใหม สรุปและนําเสนอความรูใหมตอกลุมใหญในรูปแบบที่หลากหลาย ซ่ึงเปนการแลกเปล่ียนความรูซ่ึงกัน

และกัน ทําใหเกิดการขยายเครือขายความรูอยางกวางขวางมากขึ้น

Page 128: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

5) การปรับปรุงการเรียนรู/การนําไปใชประโยชน เปนขั้นที่นักเรียนแตละกลุมนําขอบกพรองหรือปญหาที่พบ

จากการนําเสนอผลงานมาปรับปรุงแกไขหรือพัฒนาผลงานของตนเองใหดีขึ้น รวมถึงการไดรับแนวคิดจากขอเสนอแนะของครู

มาประยุกตสรางผลงานใหม ๆ ที่สามารถนําไปใชประโยชนในชีวิตไดจริง

6) การประเมินผล เปนการนําวิธีการวัดผลประเมินตามสภาพจริงมาใช โดยเนนการวัดผลจากการปฏิบัติจริง จาก

แฟมสะสมผลงาน ช้ินงาน/ผลงาน ผูประเมินอาจเปนครู นักเรียนประเมินตนเอง สมาชิกในกลุม หรือผูปกครอง

6. การอภิปรายกลุมยอย

วิธีนี้เปนกระบวนการที่ครูใชในการชวยใหนักเรียนเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงคที่กําหนดโดยการจัดนักเรียน

เปนกลุมเล็ก ๆ ประมาณ 4–8 คน ใหนักเรียนในกลุมพูดคุยแลกเปล่ียนขอมูลความคิดเห็น และประสบการณในเรื่องหรือประเด็น

ที่กําหนด แลวสรุปผลการอภิปรายออกมาเปนขอสรุปของกลุม ซ่ึงการจัดการเรียนรูโดยใชการอภิปรายกลุมยอยนี้ จะชวยให

นักเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูอยางทั่วถึง มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและแลกเปล่ียนประสบการณ จะชวยใหนักเรียน

เกิดการเรียนรูในเรื่องที่เรียนกวางขึ้น

ขั้นตอนของการจัดการเรียนรูโดยใชการอภิปรายกลุมยอย มีดังนี้

1) การจัดกลุม ครูจัดนักเรียนออกเปนกลุมยอย ๆ ประมาณ 4–8 คน ควรเปนกลุมที่ไมเล็กเกินไปและไมใหญ

เกินไป เพราะถากลุมเล็กจะไมไดความคิดที่หลากหลายเพียงพอ ถากลุมใหญสมาชิกกลุมจะมีโอกาสแสดงความคิดเห็นไดไม

ทั่วถึง ซ่ึงการแบงกลุมอาจทําไดหลายวิธี เชน วิธีสุมเพ่ือใหนักเรียนมีโอกาสไดรวมกลุมกับเพ่ือนไมซํ้ากัน จําแนกตามเพศ วัย

ความสนใจ ความสามารถ หรือเลือกอยางเจาะจงตามปญหาที่มีก็ได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของครูและส่ิงที่จะอภิปราย

2) กําหนดประเด็น ครูหรือนักเรียนกําหนดประเด็นในการอภิปราย ใหมีวัตถุประสงคของการอภิปรายที่ชัดเจน

โดยที่การอภิปรายแตละครั้งไมควรมีประเด็นมากจนเกินไป เพราะจะทําใหนักเรียนอภิปรายไดไมเต็มที ่

3) อภิปราย นักเรียนเริ่มอภิปรายโดยการพูดคุยแลกเปล่ียนความคิดเห็นและประสบการณกันตามประเด็นที่กําหนด

ในการอภิปรายแตละครั้ง ควรมีการกําหนดบทบาทหนาที่ที่จําเปนในการอภิปราย เชน ประธานหรือผูนําในการอภิปราย

เลขานุการ ผูจดบันทึก และผูรักษาเวลา เปนตน นอกจากนี้ครูควรบอกใหสมาชิกกลุมทุกคนทราบถึงบทบาทหนาที่ของตน ให

ความรู ความเขาใจ หรือคําแนะนําแกกลุมกอนการอภิปราย และควรยํ้าถึงความสําคัญของการใหสมาชิกทุกคนในกลุมมีสวนรวม

ในการอภิปรายอยางทั่วถึง เพราะวัตถุประสงคหลักของการอภิปรายคือ การใหนักเรียนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นอยางทั่วถึง

และไดรับฟงความคิดเห็นที่หลากหลาย ซ่ึงจะชวยใหนักเรียนมีความคิดที่ลึกซ้ึง และรอบคอบขึ้น ในกรณีที่มีหลายประเด็น ควรมี

การจํากัดเวลาของการอภิปรายแตละประเด็นใหมีความเหมาะสม

4) สรุปผลการอภิปราย นักเรียนสรุปสาระที่สมาชิกในกลุมไดอภิปรายรวมกันเปนขอสรุปของกลุม ครูควรให

สัญญาณแกกลุมกอนหมดเวลา เพ่ือที่แตละกลุมจะไดสรุปผลการอภิปรายเปนขอสรุปของกลุม หลังจากนั้นอาจใหแตละกลุม

นําเสนอผลการอภิปรายแลกเปล่ียนกันหรือดําเนินการในรูปแบบอ่ืนตอไป

5) สรุปหนวยการเรียนรู หลังจากการอภิปรายส้ินสุดลง ครูจําเปนตองเช่ือมโยงความรูที่นักเรียนไดรวมกันคิดกับ

หนวยการเรียนรูที่กําลังเรียนรู โดยนําขอสรุปของกลุมมาใชในการสรุปหนวยการเรียนรูดวย

Page 129: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

7. โครงงาน

โครงงานเปนการจัดการเรียนรูที่สงเสริมใหนักเรียนไดศึกษาคนควาและลงมือปฏิบัติดวยตนเอง ตามแผนการ

ดําเนินงานที่นักเรียนไดจัดทําขึ้น โดยครูชวยใหคําปรึกษา แนะนํา กระตุนใหคิด และติดตามการปฏิบัติงานจนบรรลุเปาหมาย

โครงงานแบงออกเปน 4 ประเภท คือ

– โครงงานประเภทสํารวจ รวบรวมขอมูล

– โครงงานประเภททดลอง คนควา

– โครงงานประเภทศึกษาความรู ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดใหม

– โครงงานประเภทส่ิงประดิษฐ

การเรียนรูดวยโครงงานมีวิธีการดังนี ้

1) กําหนดหัวขอที่จะทําโครงงาน โดยใหนักเรียนคิดหัวขอโครงงาน ซ่ึงอาจไดมาจากปญหา คําถามจากความ

อยากรูอยากเห็นของนักเรียนเอง หรือไดจากการอานหนังสือ บทความ การไปทัศนศึกษาดูงาน เปนตน โดยนักเรียนตองตั้งคําถาม

วา “จะศึกษาอะไร” “ทําไมตองศึกษาเรื่องดังกลาว”

2) ศึกษาเอกสารที่เก่ียวของ เปนการศึกษาเอกสารตาง ๆ ที่เก่ียวของกับหัวขอที่ทําโครงงาน การขอคําปรึกษาจาก

ครูหรือผูที่มีความรูความเช่ียวชาญในสาขานั้น ๆ รวมถึงการสํารวจวัสดุ อุปกรณ และเครื่องมือตาง ๆ ที่เก่ียวของดวย ซ่ึงการศึกษา

เอกสารที่เก่ียวของนี้จะชวยใหนักเรียนไดแนวคิดที่จะกําหนดขอบขายของเรื่องที่จะศึกษาใหเฉ29พ29าะเจาะจงมากขึ้น

3) เขียนเคาโครงของโครงงานหรือสรางแผนผังความคิด โดยทั่วไปเคาโครงของโครงงานจะประกอบดวยหัวขอ

ตาง ๆ ดังนี ้

− ช่ือโครงงาน

− ช่ือผูทําโครงงาน

− ช่ือที่ปรึกษาโครงงาน

− หลักการและเหตุผลของโครงงาน

− จุดประสงค/วัตถุประสงคของโครงงาน

− สมมุติฐานของการศึกษา (ในกรณีที่เปนโครงงานทดลอง)

− ขั้นตอนการดําเนินงาน

− แผนปฏิบัติงาน (ระบุรายการงานที่ปฏิบัติและระยะเวลาดําเนินการ)

− ผลที่คาดวาจะไดรับ

− เอกสารอางอิง/บรรณานุกรม

4) การปฏิบัติโครงงาน เปนการลงมือปฏิบัติงานตามแผนงานและขั้นตอนที่กําหนดไว โดยจัดเตรียมวัสดุ

อุปกรณ เครื่องมือ และสถานที่ใหพรอม ในระหวางปฏิบัติงานควรคํานึงถึงความประหยัด ความปลอดภัยในการทํางาน และมี

ความรอบคอบ รวมทั้งมีการจดบันทึกขอมูลตาง ๆ ไวอยางละเอียดวาทําอยางไร ไดผลอยางไร มีปญหาหรืออุปสรรคอะไร และมี

แนวทางแกไขอยางไร

5) การเขียนรายงาน เปนการรายงานสรุปผลการดําเนินงาน เพ่ือใหผูอ่ืนไดทราบแนวคิด วิธีดําเนินงาน ผลที่

ไดรับ และขอเสนอแนะตาง ๆ เก่ียวกับโครงงาน ซ่ึงการเขียนรายงานนี้ควรใชภาษาที่ส่ือความเขาใจไดงาย ชัดเจน และครอบคลุม

ประเด็นที่ศึกษา

Page 130: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

6) การแสดงผลงาน เปนการนําผลของการดําเนินงานโครงงานมาเสนอ เพ่ือใหผูอ่ืนรับรูและเขาใจ โดยจัดได

หลายรูปแบบ เชน การอธิบาย การบรรยาย การเขียนรายงาน การจัดนิทรรศการ การทําเปนส่ือส่ิงพิมพ ส่ือมัลติมีเดีย การสาธิต

ผลงาน เปนตน

Page 131: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

8. กระบวนการเรียนรูแบบรวมแรงรวมใจ

วิธีการนี้เปนการผสมผสานหลักการอยูรวมกันในสังคมและความสามารถทางวิชาการเขาดวยกัน โดยใหนักเรียนที่

มีความรูความสามารถแตกตางกันมาทํางานรวมกัน คนที่เกงกวาจะตองชวยเหลือคนที่ออนกวา ทุกคนตองมีโอกาสไดแสดง

ความสามารถ รวมแสดงความคิดเห็น และปฏิบัติจริง โดยถือวาความสําเร็จของแตละบุคคล คือ ความสําเร็จของกลุม การเรียน

แบบรวมแรงรวมใจมีดังนี ้

1) ขั้นเตรียม นักเรียนแบงกลุม แนะนําแนวทางในการทํางานกลุม บทบาทหนาที่ของสมาชิกในกลุม และแจง

วัตถุประสงคของการทํางาน

2) ขั้นสอน นําเขาสูบทเรียน แนะนําเนื้อหาสาระ แหลงความรู แลวมอบหมายงานใหนักเรียนแตละกลุม

3) ขั้นทํากิจกรรม นักเรียนรวมกันทํากิจกรรมในกลุมยอย โดยสมาชิกแตละคนมีบทบาทหนาที่ตามที่ไดรับ

มอบหมาย ซ่ึงในการทํากิจกรรมกลุมครูจะใชเทคนิคตาง ๆ เชน คูคิด เพ่ือนเรียน ปริศนาความคิด กลุมรวมมือ เปนตน การทํา

กิจกรรมแตละครั้งจะตองเลือกเทคนิคใหเหมาะสมกับวัตถุประสงคในการเรียนแตละเรื่อง โดยอาจใชเทคนิคเดียวหรือหลาย

เทคนิครวมกันก็ได

4) ขั้นตรวจสอบผลงาน เม่ือทํากิจกรรมเสร็จแลว ตองมีการตรวจสอบการปฏิบัติงานวา ถูกตองครบถวนหรือไม

โดยเริ่มจากการตรวจภายในกลุมและระหวางกลุม เพ่ือนําขอบกพรองในการปฏิบัติงานไปปรับปรุงใหดีขึ้น

5) ขั้นสรุปบทเรียนและประเมินผล ครูและนักเรียนชวยกันสรุปบทเรียน ครูอธิบายเพ่ิมเติมในสวนที่นักเรียนยัง

ไมเขาใจ และชวยกันประเมินผลการทํางานกลุมวา จุดเดนของงานคืออะไร และอะไรคือส่ิงที่ควรปรับปรุงและแกไข

ตัวอยางเทคนิคการเรียนแบบรวมแรงรวมใจ

(1) เพ่ือนเรียน (Partners) ใหนักเรียนเตรียมจับคูกันทําความเขาใจเนื้อหาและสาระสําคัญของเรื่องที่ครู

กําหนดให โดยคูที่ยังไมเขาใจอาจขอคําแนะนําจากครูหรือคูอ่ืนที่เขาใจดีกวา เม่ือคูนั้นเกิดความเขาใจดีแลว ก็ถายทอดความรูให

เพ่ือนคูอ่ืนตอไป

(2) ปริศนาความคิด (Jigsaw) แบงกลุมนักเรียนโดยคละความสามารถ

เกง–ออน เรียกวา “กลุมบาน” (Home Groups) ครูแบงเนื้อหาออกเปนหัวขอยอย ๆ เทากับจํานวนสมาชิกกลุม ใหสมาชิกในกลุม

ศึกษาหัวขอที่แตกตางกัน นักเรียนที่ไดรับหัวขอเดียวกันมารวมกลุมเพ่ือรวมกันศึกษา เรียกวา “กลุมผูเช่ียวชาญ” (Expert Groups)

เม่ือรวมกันศึกษาจนเขาใจแลว สมาชิกแตละคนออกจากกลุมผูเช่ียวชาญกลับไปกลุมบานของตนเอง จากนั้นถายทอดความรูที่ตน

ศึกษามาใหเพ่ือน ๆ ในกลุมฟงจนครบทุกคน

(3) กลุมรวมมือ (Co-op) แบงนักเรียนออกเปนกลุมคละความสามารถกัน แตละกลุมเลือกหัวขอที่จะศึกษา เม่ือ

ไดหัวขอแลวสมาชิกในกลุมชวยกันกําหนดหัวขอยอย แลวแบงหนาที่กันรับผิดชอบ โดยศึกษาคนละ 1 หัวขอยอย จากนั้นสมาชิก

นําผลงานมารวมกันเปนงานกลุม ชวยกันเรียบเรียงเนื้อหาใหสอดคลองกัน และเตรียมทีมนําเสนอผลงานหนาหองเรียน เม่ือ

นําเสนอผลงานแลว ทุกกลุมชวยกันประเมินผลการทํางานและผลงานกลุม

9. กระบวนการคิดสรางสรรค

ความคิดสรางสรรคเปนความสามารถทางสมองของมนุษยที่คิดไดกวางไกล หลายแงมุม และนําไปสูการคิด

ประดิษฐส่ิงใหม ๆ เพ่ือนําไปใชประโยชนไดอยางเหมาะสม ความคิดสรางสรรคจึงถือวาเปนคุณลักษณะทางความคิดอยางหนึ่งที่

มีความสําคัญตอนักเรียน ความคิดสรางสรรคมีองคประกอบที่สําคัญ 4 อยาง ไดแก

1) ความคิดคลอง หมายถึง ความสามารถในการคิดตอบสนองตอส่ิงเราใหไดมากที่สุดเทาที่จะมากได หรือ

ความสามารถคิดหาคําตอบที่เดนชัดและตรงประเด็นมากที่สุด ซ่ึงจะนับปริมาณความคิดที่ไมซํ้ากันในเรื่องเดียวกัน

Page 132: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

2) ความคิดยืดหยุน หมายถึง ความสามารถในการปรับสภาพของความคิดในสถานการณตาง ๆ ได ความยืดหยุน

เนนในเรื่องของปริมาณที่เปนประเภทใหญ ๆ ของความคิดแบบคลองแคลว ความคิดยืดหยุนจึงเปนตัวเสริมและเพ่ิมคุณภาพของ

ความคิดคลองแคลวใหมากขึ้นดวยการจัดเปนหมวดหมูและมีหลักเกณฑมากขึ้น

3) ความคิดริเร่ิม หมายถึง ความสามารถในการคิดแปลกใหม แตกตางจากความคิดธรรมดาหรือความคิดงาย ๆ

ความคิดริเริ่มอาจจะเกิดจากการนําความรูเดิมมาดัดแปลงและประยุกตใหเกิดเปนส่ิงใหมขึ้น

4) ความคิดละเอียดลออ หมายถึง ความสามารถในการมองเห็นรายละเอียดในส่ิงที่คนอ่ืนมองไมเห็น และยัง

รวมถึงการเช่ือมโยงสัมพันธส่ิงตาง ๆ อยางมีความหมาย

การจัดการเรียนการสอนที่สงเสริมใหนักเรียนเกิดกระบวนการคิดสรางสรรคมีวิธีการดังนี ้

1) ขั้นสรางความตระหนัก เปนขั้นที่ครูจะตองกระตุนใหนักเรียนเกิดความอยากรูอยากเห็นดวยวิธีการหรือ

เทคนิคตาง ๆ เชน เกม เพลง นิทาน

2) ขั้นระดมพลังความคิด ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนกระบวนการคิด เชน คิดจินตนาการ คิด

วิเคราะห คิดแปลกใหมและหลากหลาย เพ่ือดึงศักยภาพของนักเรียนโดยมีครูคอยอํานวยความสะดวกทุกขั้นตอน

3) ขั้นสรางสรรคงาน เม่ือนักเรียนไดผานกระบวนการเรียนรูแลว ครูควรจัดกิจกรรมที่ใหนักเรียนไดสรางสรรค

ช้ินงานดวยตนเองหรือทําเปนกลุม เชน ประดิษฐช้ินงานประเภทตาง ๆ

4) ขั้นนําเสนอผลงาน เปนขั้นที่เปดโอกาสใหนักเรียนไดนําช้ินงานที่สรางเสร็จแลวมาแสดงใหคนอ่ืนไดรับรู

วิพากษวิจารณ แสดงความคิดเห็นผลจากการนําเสนอของผูอ่ืน ซ่ึงเปนขั้นที่สงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงค

การรูจักการยอมรับ การมีเหตุผล การประยุกต การนําไปใช ทําใหนักเรียนเกิดความภาคภูมิใจ

5) ขั้นวัดและประเมินผล ครูประเมินผลนักเรียนตามสภาพจริงและใหเกิดความหลากหลายพรอมกับเปดโอกาส

ใหนักเรียนไดประเมินผลรวมกับผูอ่ืน มีการยอมรับ แกไข บนพ้ืนฐานของหลักการทางประชาธิปไตย

6) ขั้นเผยแพรผลงาน เปนการจัดกิจกรรมที่เปดโอกาสใหนักเรียนไดนําช้ินงานมาเผยแพรในรูปแบบตาง ๆ เชน

การจัดนิทรรศการ และการนําผลงานสูสาธารณชน ซ่ึงเปนการนําเสนอความรูและความคิดสรางสรรคของนักเรียนเพ่ือใหเพ่ือน

ผูปกครอง ชุมชน และบุคคลที่เก่ียวของไดช่ืนชมผลงานของนักเรียนเอง

Page 133: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แฟมสะสมผลงาน (Portfolio)

แฟมสะสมผลงาน หมายถึง แหลงรวบรวมเอกสาร ผลงาน หรือหลักฐาน เพ่ือใชสะทอนถึงผลสัมฤทธ์ิ ความสามารถ

ทักษะ และพัฒนาการของนักเรียน มีการจัดเรียบเรียงผลงานไวอยางมีระบบ โดยนําความรู ความคิด และการนําเสนอมา

ผสมผสานกัน ซ่ึงนักเรียนเปนผูคัดเลือกผลงานและมีสวนรวมในการประเมิน แฟมสะสมผลงานจึงเปนหลักฐานสําคัญที่จะทําให

นักเรียนสามารถมองเห็นพัฒนาการของตนเองไดตามสภาพจริง รวมทั้งเห็นขอบกพรองและแนวทางในการปรับปรุงแกไขใหดี

ขึ้นตอไป

ลักษณะสําคัญของการประเมินผลโดยใชแฟมสะสมผลงาน

1. ครูสามารถใชเปนเครื่องมือในการติดตามความกาวหนาของนักเรียนเปนรายบุคคลไดเปนอยางดี เนื่องจากมีผลงาน

สะสมไว ครูจะทราบจุดเดน จุดดอยของนักเรียนแตละคนจากแฟมสะสมผลงาน และสามารถติดตามพัฒนาการไดอยางตอเนื่อง

2. มุงวัดศักยภาพของผูเรียนในการผลิตหรือสรางผลงาน มากกวาการวัดความจําจากการทําแบบทดสอบ

3. วัดและประเมินโดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง คือ ผูเรียนเปนผูวางแผน ลงมือปฏิบัติงาน รวมทั้งประเมินและ

ปรับปรุงตนเอง ซ่ึงมีผูสอนเปนผูช้ีแนะ เนนการประเมินผลยอยมากกวาการประเมินผลรวม

4. ฝกใหผูเรียนรูจักการประเมินตนเอง และหาแนวทางปรับปรุงพัฒนาตนเอง

5. ผูเรียนเกิดความม่ันใจและภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง รูวาตนเองมีจุดเดนในเรื่องใด

6. ชวยในการส่ือความหมายเก่ียวกับความรู ความสามารถ ตลอดจนพัฒนาการของผูเรียนใหผูที่เก่ียวของทราบ เชน

ผูปกครอง ฝายแนะแนว ตลอดจนผูบริหารของโรงเรียน

ขั้นตอนการประเมินผลโดยใชแฟมสะสมผลงาน

การจัดทําแฟมสะสมผลงานมี 10 ขั้นตอน ซ่ึงแตละขั้นตอนมีรายละเอียด ดังนี ้

1. การวางแผนจัดทําแฟมสะสมผลงาน การจัดทําแฟมสะสมผลงานตองมีสวนรวมระหวางครู นักเรียน และ

ผูปกครอง

คร ูการเตรียมตัวของครูตองเริ่มจากการศึกษาและวิเคราะหหลักสูตร คูมือครู คําอธิบายรายวิชา วิธีการวัดและ

ประเมินผลในหลักสูตร รวมทั้งครูตองมีความรูและเขาใจเก่ียวกับการประเมินโดยใชแฟมสะสมผลงาน จึงจะสามารถวางแผน

กําหนดช้ินงานได

นักเรียน ตองมีความเขาใจเก่ียวกับจุดประสงคการเรียนรู เนื้อหาสาระ การประเมินผลโดยใชแฟมสะสมผลงาน การมี

สวนรวมในกิจกรรมการเรียนรู การกําหนดช้ินงาน และบทบาทในการทํางานกลุม โดยครูตองแจงใหนักเรียนทราบลวงหนา

ผูปกครอง ตองเขามามีสวนรวมในการคัดเลือกผลงาน การแสดงความคิดเห็น และรับรูพัฒนาการของนักเรียนอยาง

ตอเนื่อง ดังนั้นกอนทําแฟมสะสมผลงาน ครูตองแจงใหผูปกครองทราบหรือขอความรวมมือ รวมทั้งใหความรูในเรื่องการ

ประเมินผลโดยใชแฟมสะสมผลงานแกผูปกครองเม่ือมีโอกาส

2. การรวบรวมผลงานและจัดระบบแฟม ในการรวบรวมผลงานตองออกแบบการจัดเก็บหรือแยกหมวดหมูของ

ผลงานใหดี เพ่ือสะดวกและงายตอการนําขอมูลออกมาใช แนวทางการจัดหมวดหมูของผลงาน เชน

– จัดแยกตามลําดับ วัน เวลา ที่สรางผลงานขึ้นมา

– จัดแยกตามความซับซอนของผลงาน เปนการแสดงถึงทักษะหรือพัฒนาการของผูเรียนที่มากขึ้น

– จัดแยกตามวัตถุประสงค เนื้อหา หรือประเภทของผลงาน

ผลงานที่อยูในแฟมสะสมผลงานอาจมีหลายเรื่อง หลายวิชา ดังนั้นผูเรียนจะตองทําเครื่องมือในการชวยคนหา เชน

สารบัญ ดัชนีเรื่อง จุดสี แถบสีติดไวที่ผลงานโดยมีรหัสที่แตกตางกัน เปนตน

Page 134: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

3. การคัดเลือกผลงาน ในการคัดเลือกผลงานนั้นควรใหสอดคลองกับเกณฑหรือมาตรฐานที่โรงเรียน ครู หรือนักเรียน

รวมกันกําหนดขึ้นมา และผูคัดเลือกผลงานควรเปนนักเรียนเจาของแฟมสะสมผลงาน หรือมีสวนรวมกับครู เพ่ือน และผูปกครอง

ผลงานที่เลือกเขาแฟมสะสมผลงานควรมีลักษณะดังนี้

– สอดคลองกับเนื้อหาและวัตถุประสงคของการเรียนรู

– เปนผลงานช้ินที่ดีที่สุด มีความหมายตอนักเรียนมากที่สุด

– สะทอนใหเห็นถึงพัฒนาการของนักเรียนในทุกดาน

– เปนส่ือที่จะชวยใหนักเรียนมีโอกาสแลกเปล่ียนความคิดเห็นกับครู ผูปกครอง และเพ่ือน ๆ

สวนจํานวนช้ินงานนั้นใหกําหนดตามความเหมาะสม ไมควรมีมากเกินไป เพราะอาจจะทําใหผลงานบางช้ินไมมี

ความหมาย แตถามีนอยเกินไปจะทําใหการประเมินไมมีประสิทธิภาพ

4. สรางสรรคแฟมสะสมผลงานใหมีเอกลักษณของตนเอง โครงสรางหลักของแฟมสะสมผลงานอาจเหมือนกัน แต

นักเรียนสามารถตกแตงรายละเอียดยอยใหแตกตางกัน ตามความคิดสรางสรรคของแตละบุคคล โดยอาจใชภาพ สี สติกเกอร

ตกแตงใหสวยงามเนนเอกลักษณของเจาของแฟมสะสมผลงาน

5. การแสดงความคิดเห็นหรือความรูสึกตอผลงาน ในขั้นตอนนี้นักเรียนจะไดรูจักการวิพากษวิจารณ หรือสะทอน

ความคิดเก่ียวกับผลงานของตนเอง ตัวอยางขอความที่ใชแสดงความรูสึกตอผลงาน เชน

– ไดแนวคิดจากการทําผลงานช้ินนี้มาจากไหน

– เหตุผลที่เลือกผลงานช้ินนี้คืออะไร

– จุดเดน จุดดอยของผลงานช้ินนี้คืออะไร

– รูสึกพอใจกับผลงานช้ินนี้มากนอยเพียงใด

– ไดขอคิดอะไรจากการทําผลงานช้ินนี้

6. ตรวจสอบความสามารถของตนเอง เปนการเปดโอกาสใหผูเรียนไดประเมินความสามารถของตนเอง โดยพิจารณา

ตามเกณฑยอย ๆ ที่ครูและนักเรียนชวยกันกําหนดขึ้น เชน นิสัยการทํางาน ทักษะทางสังคม การทํางานเสร็จตามระยะเวลาที่

กําหนด การขอความชวยเหลือเม่ือมีความจําเปน เปนตน นอกจากนี้การตรวจสอบความสามารถตนเองอีกวิธีหนึ่ง คือ การให

นักเรียนเขียนวิเคราะหจุดเดน จุดดอยของตนเอง และส่ิงที่ตองปรับปรุงแกไข

7. การประเมินผลงาน เปนขั้นตอนที่สําคัญเนื่องจากเปนการสรุปคุณภาพของงานและความสามารถหรือพัฒนาการ

ของนักเรียน การประเมินแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ การประเมินโดยไมใหระดับคะแนน และการประเมินโดยใหระดับคะแนน

การประเมินโดยไมใหระดับคะแนน ครูกลุมนี้มีความเช่ือวา แฟมสะสมผลงานมีไวเพ่ือศึกษากระบวนการทํางาน

ศึกษาความคิดเห็น ความรูสึกของนักเรียนที่มีตอผลงานของตนเอง ตลอดจนดูพัฒนาการหรือความกาวหนาของนักเรียนอยางไม

เปนทางการ ครู ผูปกครอง และเพ่ือนสามารถใหคําช้ีแนะแกนักเรียนได ซ่ึงวิธีการนี้จะทําใหนักเรียนไดเรียนรูและปฏิบัติงานอยาง

เต็มที่ โดยไมตองกังวลวาจะไดคะแนนมากนอยเทาไร

การประเมินโดยใหระดับคะแนน มีทั้งการประเมินตามจุดประสงคการเรียนรู การประเมินระหวางภาคเรียน และ

การประเมินปลายภาค ซ่ึงจะชวยในเรื่องวัตถุประสงคดานการปฏิบัติเปนหลัก การประเมินแฟมสะสมผลงานตองกําหนดมิติการ

ใหคะแนน ( scoring rubrics) ตามเกณฑที่ครูและนักเรียนรวมกันกําหนดขึ้น การใหระดับคะแนนมีทั้งการใหคะแนนเปนรายช้ิน

กอนเก็บเขาแฟมสะสมผลงาน และการใหคะแนนแฟมสะสมผลงานทั้งแฟม ซ่ึงมาตรฐานคะแนนนั้นตองสอดคลองกับ

วัตถุประสงคการจัดทําแฟมสะสมผลงาน และมุงเนนพัฒนาการของนักเรียนแตละคนมากกวาการนําไปเปรียบเทียบกับบุคคลอ่ืน

8. การแลกเปลี่ยนประสบการณกับผูอื่น มีวัตถุประสงคเพ่ือเปดโอกาสใหนักเรียนไดรับฟงความคิดเห็นจากผูที่มีสวน

เก่ียวของ ไดแก เพ่ือน ครู และผูปกครอง อาจทําไดหลายรูปแบบ เชน การจัดประชุมในโรงเรียนโดยเชิญผูที่มีสวนเก่ียวของมา

Page 135: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

รวมกันพิจารณาผลงาน การสนทนาแลกเปล่ียนระหวางนักเรียนกับเพ่ือน การสงแฟมสะสมผลงานไปใหผูที่มีสวนเก่ียวของชวย

ใหขอเสนอแนะหรือคําแนะนํา

ในการแลกเปล่ียนประสบการณนั้นผูเรียนจะตองเตรียมคําถามเพ่ือถามผูที่มีสวนเก่ียวของ ซ่ึงจะเปนประโยชนใน

การปรับปรุงงานของตนเอง ตัวอยางคําถาม เชน

– ทานคิดอยางไรกับผลงานช้ินนี้

– ทานคิดวาควรปรับปรุงแกไขสวนใดอีกบาง

– ผลงานช้ินใดที่ทานชอบมากที่สุด เพราะอะไร

– ฯลฯ

9. การปรับเปลี่ยนผลงาน หลังจากที่ผูเรียนไดแลกเปล่ียนความคิดเห็น และไดรับคําแนะนําจากผูที่มีสวนเก่ียวของ

แลว จะนํามาปรับปรุงผลงานใหดีขึ้น ผูเรียนสามารถนําผลงานที่ดีกวาเก็บเขาแฟมสะสมผลงานแทนผลงานเดิม ทําใหแฟมสะสม

ผลงานมีผลงานที่ดี ทันสมัย และตรงตามจุดประสงคในการประเมิน

10. การประชาสัมพันธผลงานของนักเรียน เปนการแสดงนิทรรศการผลงานของนักเรียน โดยนําแฟมสะสมผลงาน

ของนักเรียนทุกคนมาจัดแสดงรวมกัน และเปดโอกาสใหผูปกครอง ครู และนักเรียนทั่วไปไดเขาชมผลงาน ทําใหนักเรียนเกิด

ความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง

ผูที่เริ่มตนทําแฟมผลสะสมงานอาจไมตองดําเนินการทั้ง 10 ขั้นตอนนี้ อาจใชขั้นตอนหลัก ๆ คือ การรวบรวมผลงาน

และการจัดระบบแฟม การคัดเลือกผลงาน และการแสดงความคิดเห็นหรือความรูสึกตอผลงาน

องคประกอบสําคัญของแฟมสะสมผลงาน มีดังนี ้

1. สวนนํา ประกอบดวย ปก คํานํา สารบัญ ประวัติสวนตัว จุดมุงหมายของการทําแฟมสะสมผลงาน

2. สวนเนื้อหาแฟม ประกอบดวย ผลงาน ความคิดเห็นที่มีตอผลงาน และ Rubrics ประเมินผลงาน

3. สวนขอมูลเพ่ิมเติม ประกอบดวย ผลการประเมินการเรียนรู การรายงานความกาวหนาโดยครู และความคิดเห็นของ

ผูที่มีสวนเก่ียวของ เชน เพ่ือน ผูปกครอง

Page 136: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรูแบบ Backward Design

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู

หนวยการเรียนรูท่ี

ขั้นท่ี 1 ผลลัพธปลายทางท่ีตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน

ตัวช้ีวัดช้ันป

ความเขาใจท่ีคงทนของนักเรียน

นักเรียนจะเขาใจวา...

1.

2.

คําถามสําคัญท่ีทําใหเกิดความเขาใจท่ีคงทน

ความรูของนักเรียนท่ีนําไปสูความเขาใจท่ีคงทน

นักเรียนจะรูวา…

1.

2.

3.

ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนท่ีนําไปสูความเขาใจท่ีคงทน

นักเรียนจะสามารถ...

1.

2.

3.

ขั้นท่ี 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานท่ีแสดงวานักเรียนมีผลการเรียนรูตามท่ี

กําหนดไวอยางแทจริง

1. ภาระงานท่ีนักเรียนตองปฏิบัติ

2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู

วิธีการประเมินผลการเรียนรู

เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู

3. ส่ิงท่ีมุงประเมิน

ขั้นท่ี 3 แผนการจัดการเรียนรู

Page 137: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ
Page 138: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

รูปแบบแผนการจัดการเรียนรูรายช่ัวโมง

เม่ือครูออกแบบการจัดการเรียนรูตามแนวคิดของ Backward Design แลว ครูสามารถเขียนแผนการจัดการเรียนรูราย

ช่ัวโมง โดยใชรูปแบบของแผนการจัดการเรียนรูแบบเรียงหัวขอ ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี ้

ช่ือแผน... (ระบุช่ือและลําดับที่ของแผนการจัดการเรียนรู)

ช่ือเรื่อง... (ระบุช่ือเรื่องที่ตองการจัดการเรียนรู)

สาระท่ี... (ระบุสาระที่ใชจัดการเรียนรู)

เวลา... (ระบุระยะเวลาที่ใชในการจัดการเรียนรูตอ 1 แผน)

ช้ัน... (ระบุระดับช้ันที่จัดการเรียนรู)

หนวยการเรียนรูท่ี... (ระบุช่ือและลําดับที่ของหนวยการเรียนรู)

สาระสําคัญ... (เขียนความคิดรวบยอดหรือมโนทัศนของหัวเรื่องที่จัดการเรียนรู)

ตัวช้ีวัดช้ันป... (ระบุตัวช้ีวัดช้ันปที่ใชเปนเปาหมายของแผนการจัดการเรียนรู)

จุดประสงคการเรียนรู...กําหนดใหสอดคลองกับสมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะที่พึงประสงคของนักเรียนหลังจาก

สําเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงประกอบดวย

ดานความรูความคิด (Knowledge: K)

ดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (Affective: A)

ดานทักษะ/กระบวนการ (Performance: P)

การวัดและประเมินผลการเรียนรู... (ระบุวิธีการและเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู

ทั้ง 3 ดาน)

สาระการเรียนรู... (ระบุสาระและเนื้อหาที่นํามาจัดการเรียนรู อาจเขียนเฉพาะหัวเรื่องก็ได)

กระบวนการจัดการเรียนรู... (กําหนดใหสอดคลองกับธรรมชาติของกลุมสาระและการ

บูรณาการขามสาระ)

กิจกรรมเสนอแนะ... (ระบุรายละเอียดของกิจกรรมที่ผูเรียนควรปฏิบัติเพ่ิมเติม)

แนวทางบูรณาการ... (เสนอแนะและระบุกิจกรรมของกลุมสาระอ่ืนที่บูรณาการรวมกัน)

ส่ือ/แหลงเรียนรู... (ระบุส่ือ อุปกรณ และแหลงเรียนรูที่ใชในการจัดการเรียนรู)

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู... (ระบุรายละเอียดของผลการจัดการเรียนรูตามแผนที่กําหนดไว อาจนําเสนอขอเดนและ

ขอดอยใหเปนขอมูลที่สามารถใชเปนสวนหนึ่งของการทําวิจัยในช้ันเรียนได)

ใบความรูท่ี 1 เรือ่ง คุณสมบัติของคอมพิวเตอร

ปจจุบันนิยมใชคอมพิวเตอรทํางานในทุก ๆ ดานมากย่ิงขึ้น เนื่องจากเม่ือมีการเปรียบเทียบการทํางานของคอมพิวเตอร

กับมนุษยแลว พบวาคอมพิวเตอรมีคุณสมบัติในการทํางานที่เหนือกวามนุษย 5 ดาน ดังนี ้

Page 139: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

1. ความเร็ว ( Speed) โดยเฉพาะอยางย่ิงทางดานการประมวลผล เนื่องจากคอมพิวเตอรจะประมวลผลตามคําส่ังที่ได

ถูกตั้งคาหรือวางผังงานไวแลว จึงไมจําเปนจะตองคิดหรือเรียนรูใหมทุกครั้งที่มีการประมวลผล

2. ความนาเช่ือถือ ( Reliability) เนื่องจากสวนประกอบทางอิเล็กทรอนิกสสมัยใหม มีการทํางานที่แนนอนมากกวายุค

คอมพิวเตอรที่ใชหลอดสุญญากาศ จึงเกิดความผิดพลาดนอยหรือไมเกิดความผิดพลาดเลย ความผิดพลาดของคอมพิวเตอรจึงมัก

เกิดจากการรับขอมูลที่ผิด ซ่ึงผูนําเขาขอมูลก็คือมนุษยนั่นเอง

3. ความเที่ยงตรงและแมนยํา ( Accuracy) เม่ือมีการเปรียบเทียบการทํางานของคอมพิวเตอรกับมนุษยในระยะ

เวลานาน ๆ มนุษยจะมีความผิดพลาดสูงขึ้น เนื่องจากความเม่ือยลาหรือความเส่ือมของมนุษย ซ่ึงปญหาดังกลาวจะเกิดขึ้นนอย

มากในเครื่องคอมพิวเตอร

4. ความสามารถในการจัดเก็บขอมูล ( Storage) คอมพิวเตอรสามารถเก็บขอมูลไวในส่ือบันทึกขอมูลสํารอง ซ่ึง

สามารถเพ่ิมปริมาณหรือพ้ืนที่จัดเก็บขอมูลไดอยางไมจํากัด นอกจากนี้ยังสามารถโอน ยาย หรือถายเทขอมูลจากที่หนึ่งไปอีกที่

หนึ่งไดงายและรวดเร็ว

5. ความสามารถในการติดตอส่ือสารและเครือขาย ( Communications and Networking) จัดเปนพัฒนาการของ

คอมพิวเตอรที่มีการเช่ือมตอระหวางคอมพิวเตอรดวยกันในเครือขาย ทําใหสามารถใชขอมูลและทรัพยากรตาง ๆ ของ

คอมพิวเตอรรวมกันในเครือขายได จึงทําใหเกิดการติดตอส่ือสารระหวางผูใชคอมพิวเตอรดวยกันผานระบบเครือขาย โดย

เครือขายที่ใหญที่สุดของคอมพิวเตอรก็คืออินเทอรเน็ตนั่นเอง

Page 140: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ใบความรูท่ี 2 เรื่องกําเนิดกูเกิล

กูเกิล (Google) คือ ช่ือของเสิรชเอนจิ้นที่นิยมใชกันมากที่สุดในปจจุบัน ซ่ึงคิดคนโดยเซอรเก บริน ( Sergey Brin) และ

ลารรี่ เพจ ( Larry Page) นักศึกษาในระดับปริญญาเอก ภาควิชาวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร ของมหาวิทยาลัยสแตนฟอรด ( Stanford

University) โดยทั้งคูไดพบกันครั้งแรกเม่ือ

เซอรเก บริน เปนอาสาสมัครในงานโอเพน เฮาส (Open House) ที่ทางมหาวิทยาลัยจัดขึ้นในป ค.ศ. 1995 เพ่ือใหผูสนใจที่จะศึกษา

ตอในมหาวิทยาลัยไดเขาชมภาควิชาตาง ๆ ในงานนี้เองที่เซอรเก บริน ไดพบกับลารรี่ เพจ ซ่ึงขณะนั้นเพ่ิงจบวิศวกรรมศาสตร

บัณฑิต จากมหาวิทยาลัยมิชิแกน ( Michigan University) ที่ไดเขามาชมงานดังกลาว โดยมีเซอรเก บรินเปนผูพาชมภาควิชา

วิทยาศาสตรคอมพิวเตอร

ตอมา ลารรี่ เพจ ก็ไดเขาศึกษาในภาควิชาวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร ของมหาวิทยาลัยสแตนฟอรด และคิดหัวขอ

วิทยานิพนธเก่ียวกับเรื่องเครือขายคอมพิวเตอรหรือเวิรดไวดเว็บ (WWW: World Wide Web) โดยมีแนวคิดแทนคอมพิวเตอรแต

ละเครื่องใหเปนจุดหนึ่งจุด ( Node) และเช่ือมโยงเครื่องคอมพิวเตอรเขาดวยกันดวยเสนตาง ๆ ทําใหเกิดกราฟ ( Graph) โดยใน

หนึ่งจุดนี้มีการเช่ือมโยงตอไปยังจุดอ่ืน ๆ และจุดอ่ืน ๆ นั้นก็จะเช่ือมโยงตอไปยังจุดอ่ืน ๆ อีก อินเทอรเน็ตจึงจัดเปนกราฟที่ขนาด

ใหญที่สุดที่มนุษยสรางขึ้น และมีการพัฒนาอยางไมมีที่ส้ินสุดตามจํานวนของคอมพิวเตอรหรือเว็บไซตที่ใชงานอินเทอรเน็ต ลาร

รี่ เพจ จึงคิดหัวขอวิทยานิพนธหรือโปรเจ็ค แบล็ครับ (Backrub Project) เพ่ือใหสามารถรูวาเว็บไซตไหนเช่ือมตอกับเว็บไซตไหน

บาง โดยตรวจสอบเช่ือมโยงไปทีละเว็บเพจ เม่ือพบการเช่ือมโยงไปยังเว็บไซตใดก็ทําการเรียงลําดับไว และเขาไปตรวจสอบการ

เช่ือมโยงในหนาที่ไดเรียงลําดับนั้นไวตอไปเรื่อย ๆ ขั้นตอนการตรวจสอบการเช่ือมโยงนี้เรียกวา ครอวเลอร ( Crawler) จากนั้น

ลารรี่ เพจ ไดเปรียบเทียบการเช่ือมโยงคอมพิวเตอรกับงานวิชาการ คือในหนึ่งหนาเว็บเพจมีการเช่ือมโยงไปที่เว็บเพจตาง ๆ

เหมือนกับผลงานวิชาการที่มีการอางอิงที่มาของทฤษฎีหรืองานวิจัยที่เปนแหลงขอมูล ผลงานวิชาการหรือแหลงขอมูลที่มีผูใช

อางอิงมากที่สุดก็จะนับวาเปนผลงานวิชาการหรือแหลงขอมูลที่นาเช่ือถือมากที่สุด ดังนั้นเว็บเพจที่มีผูเช่ือมโยงเขาไปมากที่สุดก็

จะเปนเว็บเพจที่นาเช่ือถือที่สุด แตเนื่องจากการเช่ือมโยงในอินเทอรเน็ตมีขนาดใหญ ซับซอน และพัฒนาอยูตลอดเวลา โปรแกรม

ที่จะใชในการคิดคํานวณหรือหาผลลัพธดังกลาวจึงมีความซับซอนมาก ดวยเหตุนี้เซอรเก บริน จึงเขามามีบทบาทในการชวยสราง

โปรแกรมการคํานวณดังกลาวขึ้น โดยมีช่ือระบบคิดคะแนนดังกลาววาเพจ แร็งค ( Page Rank) เพ่ือจัดลําดับความนาเช่ือถือของ

เว็บไซต

ทั้งสองไดใชหองพักนักศึกษาเปนหองเซิรฟเวอรเพ่ือเก็บขอมูลการเช่ือมโยงเว็บไซตตาง ๆ โดยการขอบริจาคเครื่อง

คอมพิวเตอรเกา ๆ ในมหาวิทยาลัยมาตอกันเปนเครื่องเซิรฟเวอร เพ่ือเก็บขอมูลเว็บไซตตาง ๆ จากนั้นจึงไดนําขอมูลดังกลาวมา

พัฒนาเปนเสิรชเอนจิ้น โดยตั้งช่ือวากูเกิล ( Google) มาจากคําวากูกอล ( Googol) ซ่ึงมีความหมายวา ตัวเลขหนึ่งตามดวยตัวเลข

ศูนยจํานวน 100 ตัว

Page 141: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ใบงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4

ใบงานที่ 1

เรื่อง ตาราง สรุปหนาที่ หนวยการเรียนรูท่ี 1 ระบบสารสนเทศ

ช่ือ ช้ัน เลขที ่

คําช้ีแจง

สรุปหนาที่ตามประเภทของฮารดแวรและซอฟตแวรลงในตาราง สรุปหนาที่ ใหสมบูรณ

ตาราง สรุปหนาท่ี

ประเภท หนาท่ี

ฮารดแวร

หนวยรับขอมูล

หนวยประมวลผลกลาง

หนวยความจํา

หนวยแสดงผล

ซอฟแวร

ซอฟตแวรระบบ

ซอฟตแวรประยุกต

Page 142: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ใบงานที่ 2

เรื่อง ฮารดแวรที่จําเปน หนวยการเรียนรูท่ี 2 คอมพิวเตอร

ช่ือ ช้ัน เลขที ่

คําช้ีแจง

1. คนหาขอมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับฮารดแวรที่จําเปนตอการทํางานของคอมพิวเตอร

2. ติดภาพฮารดแวรที่ไดจากการคนหาลงใน พรอมระบุช่ือของฮารดแวรนั้นลงในชองวางตามหนวยการทํางาน

ของคอมพิวเตอร (พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน)

หนวยรับขอมูล

หนวยประมวลผลกลาง หนวยแสดงผล

หนวยความจํา

Page 143: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ใบงานที่ 3

เรื่อง ตัวกลาง หนวยการเรียนรูท่ี 3 การส่ือสารขอมูล

ช่ือ ช้ัน เลขที ่

คําช้ีแจง

วิเคราะหและสรุปลักษณะสําคัญ ขอดี และขอเสียของตัวกลางที่ใชในการถายโอนขอมูลลงในตาราง

ตัวกลาง ลักษณะสําคัญ ขอดี ขอเสีย

สายคูบิดเกลียว

ภายในเปนสายทองแดง

พันเปนเกลียวคู ๆ โดยมี

พลาสติกหุมแตละคูกอน

หุมภายนอกรวมอีกทีหนึ่ง

มีราคาถูก น้ําหนักเบา

ติดตั้งไดงาย รองรับ

ความเร็วไดสูงถึงระดับ

กิกะบิต

ระยะทางในการเช่ือมตอ

สัญญาณคอนขางส้ัน

และตองใชอุปกรณทวน

สัญญาณ

สายตัวนํารวมแกน

หรือสายโคแอกเชียล

ภายในมีตัวนําไฟฟาเปน

แกนกลางหุมดวยฉนวน

เปนช้ัน ๆ

ปองกันสัญญาณรบกวน

ไดดี สงขอมูลไดในระยะ

ไกล สงขอมูลไดจํานวน

มาก และหลายรูปแบบ

มีราคาแพง น้ําหนักมาก

สายใยแกวนําแสง

เปนการสงสัญญาณผาน

สายใยแกว โดยขอมูลจะ

ถูกแปลงจากสัญญาณ-

ไฟฟาใหเปนคล่ืนแสง

สามารถปองกันสัญญาณ

รบกวนไดดี สงสัญญาณ

ไดในระยะไกล

มีราคาแพง การติดตั้ง

และการดูแลรักษา

สามารถทําไดยาก

แสงอนิฟราเรด

เปนการสงสัญญาณดวย

แสงอินฟราเรดไปยัง

เครื่องรับสัญญาณ

ปลายทาง

ถายโอนขอมูลรวดเร็ว ไม

ตองมีสายสงสัญญาณ

และไมมีคาใชจายในการ

สงสัญญาณ

ไมสามารถสงสัญญาณ

ผานวัตถุทึบแสงได ไม

สามารถสงขอมูลในระยะ

ทางไกลได

สัญญาณวิทยุ

เปนการสงสัญญาณไดใน

ระดับความถ่ีตาง ๆ ใน

ระยะไกล ๆ

มีการใชสัญญาณที่

หลากหลายตามความ

ตองการของผูใช โดยไม

ตองมีสายสงสัญญาณ

คุณภาพของสัญญาณ

ขึ้นอยูกับสภาพภูมิอากาศ

ไมโครเวฟ

เปนการสงสัญญาณ

คล่ืนวิทยุที่มีความถ่ีใน

ระดับกิกะเฮิรตซ ผานเสา

ไมโครเวฟ

สงสัญญาณไดในระยะ

ทางไกล ๆ ไมตองใชสาย

สงสัญญาณและสงขอมูล

ไดในปริมาณมาก

ตองติดตั้งสถานีทวน

สัญญาณ และสัญญาณ

ถูกรบกวนไดงาย

ดาวเทียม

เปนการสงสัญญาณจาก

พ้ืนโลกไปสูดาวเทียม

แลวจึงสงสัญญาณกลับมา

ยัง

พ้ืนโลกอีกทีหนึ่ง

สามารถรับและสง

สัญญาณไดตลอดเวลา มี

พ้ืนที่ครอบคลุมทั่วโลก

การสงขอมูลมีความลาชา

Page 144: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ใบงานที่ 4

เรื่อง การคนหาขอมูล หนวยการเรียนรูท่ี 4 อินเทอรเน็ต

ช่ือ ช้ัน เลขที ่

คําช้ีแจง

1. สรางแฟมขอมูลช่ือนักเรียนบน Desktop ของคอมพิวเตอร

2. คนหาขอมูลตามเงื่อนไขที่กําหนด

3. บันทึกเว็บไซตหรือไฟลงานของขอมูลที่ไดลงในแฟมขอมูลช่ือนักเรียน

4. ตอบคําถามลงในชองวาง

เงื่อนไข

1. คนหาเว็บไซตสอนวิธีการเช่ือมตออินเทอรเน็ต อยางนอย 3 เว็บไซต

2. คนหาและรวบรวมกฎ กติกา และมารยาทในการใชอินเทอรเน็ต อยางนอย 3 เว็บไซต

3. คนหาเว็บไซตที่นําเสนอความหมายของคําวา เสิรชเอนจิ้น คอมพิวเตอร การส่ือสาร โครงงาน และเทคโนโลยี

สารสนเทศ อยางละ 1 เว็บไซต

4. คนหาช่ือเว็บไซตที่ใหบริการเสิรชเอนจิ้น แลวพิมพช่ือเว็บไซตพรอมที่อยูหรือยูอารแอลลงในโปรแกรมประมวลผลคํา

ใหไดมากที่สุด บันทึกไวเปนไฟลงานช่ือเสิรชเอนจิ้น

5. คนหาช่ือหนวยงานที่มีหนาที่ควบคุมและดูแลการใชอินเทอรเน็ต แลวพิมพช่ือหนวยงานและชองทางการติดตอลงใน

โปรแกรมประมวลผลคําใหไดมากที่สุด บันทึกไวเปนไฟลงานช่ือหนวยงาน

คําถาม

1. นักเรียนพบปญหาในการคนหาขอมูลหรือไม อยางไร

2. นักเรียนคนหาขอมูลไดครบทุกขอหรือไม อยางไร

3. นักเรียนมีเทคนิคการคนหาขอมูลอยางไร

Page 145: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ใบงานที่ 5

เรื่อง ตัวอยางโครงงานคอมพิวเตอร หนวยการเรียนรูท่ี 5 โครงงานคอมพิวเตอร

ช่ือ ช้ัน เลขที ่

คําช้ีแจง

1. คนหาขอมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับโครงงานคอมพิวเตอร

2. ยกตัวอยางโครงงานคอมพิวเตอรในแตละประเภท อยางนอยประเภทละ 5 โครงงาน

3. บันทึกลงในชองวาง

ตัวอยาง

โครงงานคอมพิวเตอร

ดานการศึกษา 1. 2.

3.

4.

5.

ดานเครื่องมือ

1. 2.

3.

4.

5.

ดานการทดลองทฤษฎี 1. 2.

3.

4.

5.

ดานการประยุกตใชงาน 1. 2.

3.

4.

5.

ดานเกม 1. 2.

3.

4.

5.

Page 146: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ใบงานที่ 6

เรื่อง ความคิดเห็นของนักเรียน หนวยการเรียนรูท่ี 6 จริยธรรมและความปลอดภัย

ช่ือ ช้ัน เลขที ่

คําช้ีแจง

เขียนแสดงความคิดเห็นของนักเรียนเก่ียวกับจริยธรรมและความปลอดภัยในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศลงในชองวาง

(พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน)

1. นักเรียนคิดวาจริยธรรมในการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศมีความสําคัญหรือไม อยางไร

2. นักเรียนคิดวาแนวทางการปองกันอาชญากรรมคอมพิวเตอรใดใชไดผลมากที่สุด เพราะเหตุใด

3. นักเรียนคิดวาผูใชเทคโนโลยีสารสนเทศควรมีจริยธรรมในการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศหรือไม เพราะเหตุใด

4. นักเรียนคิดวาเหตุใดจึงมีผูกระทําความผิดจริยธรรมในการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศในปจจุบันมากย่ิงขึ้น

5. นักเรียนคิดวาโทษของผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 มี

ความเหมาะสมหรือไม อยางไร

Page 147: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แบบทดสอบกอนเรียน–หลังเรียน

เทคโนโลยีสารสนเทศ หนวยการเรียนรูท่ี 1 ระบบสารสนเทศ

ช่ือ ช้ัน เลขที ่

คําช้ีแจง เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว

11. ขอใดกลาวถึงซอฟตแวรไดถูกตอง

ก ถูกเขียนขึ้นดวยภาษาสากล

16. ขั้นตอนการปฏิบัติงานใดของระบบสารสนเทศท่ีมี

จุดมุงหมายเพื่อการตรวจสอบระบบงานเบื้องตน

1. ขอใดไมเก่ียวของกับระบบสารสนเทศในปจจุบัน

ก Data ค Computer

ข Manual ง Information

2. ขอใดคือกระบวนการประมวลผลขอมูลในระบบ

สารสนเทศ

ก การแสดงกราฟยอดขายสินคา

ข การบันทึกช่ือและที่อยูของนักเรียน

ค การบันทึกคะแนนเก็บของนักเรียน

ง การคํานวณรายไดพนักงานประจําป

3. ขอใดกลาวถึงสารสนเทศไมถูกตอง

ก มีลักษณะเหมือนกับขอมูลดิบ

ข ผานการประมวลผลขอมูลแลว

ค มักเปนกราฟ แผนภูมิ หรือตาราง

ง รูปแบบการนําเสนองายตอการนําไป

ตัดสินใจ

4. ขอใดไมใชประโยชนท่ีไดรับจากระบบสารสนเทศ

ก ชวยในการวางแผน

ข ชวยควบคุมการทํางาน

ค ชวยสนับสนุนการตัดสินใจ

ง ชวยใหเกิดความเขาใจในองคกร

5. สารสนเทศในขอใดมีความเช่ือถือได

ก มีการตรวจสอบขอมูลในทุกขั้นตอน

ข ใชผูเช่ียวชาญในการประมวลผลขอมูล

ค มีตนทุนสูง สรางความคุมคา และชวย

ประหยัดทรัพยากร

ง คํานวณดวยวิธีการเดิม 100 ครั้ง ไดผลลัพธ

เหมือนเดิมทั้ง 100 ครั้ง

6. ใครควรเลือกใชระบบสารสนเทศสํานักงานมากท่ีสุด

ก ไอซสงจดหมายธุรกิจ

ข โอศึกษากราฟยอดขายประจําป

ค อางคนหาขอมูลจากระบบผูเช่ียวชาญ

ง ออมแกปญหาแหลงน้ําเพ่ือการเกษตรแบบ

พอเพียง

7. ระบบสารสนเทศประเภทใดมีลักษณะการทํางาน

เหมือนมนุษยมากท่ีสุด

ก ปญญาประดิษฐ

ค ระบบสารสนเทศสํานักงาน

ข ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร

ง ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ

8. ขอใดคือฮารดแวรท่ีทําหนาท่ีในหนวยรับขอมูล

ของระบบสารสนเทศ

ก สแกนเนอร

ข ไมโครโปรเซสเซอร

ค กลองแสดงความคิดเห็น

ง เจาหนาที่ปฏิบัติการรับขอมูล

9. เครื่องพิมพทําหนาท่ีอะไรในระบบสารสนเทศ

ก จัดเก็บขอมูล

ข รับขอมูลเสียง

ค แสดงผลขอมูล

ง รับขอมูลการส่ันสะเทือน

10. SDLC หมายถึงอะไร

ก วงจรการปฏิบัติงาน

ข วงจรการพัฒนาระบบ

ค หนวยความละเอียดของจอภาพ

ง หนวยความจุของอุปกรณบันทึกขอมูล

Page 148: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ข เรียกอีกอยางหนึ่งวาฮารดแวร

ค ไมสามารถทํางานไดโดยไมมีฮารดแวร

ง มองเห็นไดเม่ือเปดเครื่องคอมพิวเตอรเทานั้น

12. ขอใดหมายถึงซอฟตแวรเฉพาะงาน

ก เปนซอฟตแวรที่ใชเวลาและตนทุนการผลิต

นอย

ข เปนซอฟตแวรที่สามารถใชไดกับ

คอมพิวเตอรทุกเครื่อง

ค เปนซอฟตแวรระบบที่สรางขึ้นตามความ

ตองการขององคกร

ง เปนซอฟตแวรประยุกตที่สรางขึ้นตามความ

ตองการขององคกร

13. ขอใดคือหนาท่ีของนักวิเคราะหระบบสารสนเทศ

ก สรางโปรแกรมเพ่ือแกปญหา

ข ตรวจสอบและแกไขโปรแกรม

ค ติดตั้งโปรแกรมในระบบสารสนเทศ

ง ศึกษาปญหาและหาแนวทางการแกไข

14.ใครมีหนาท่ีในการดูแลรักษาโปรแกรมในระบบ

สารสนเทศ

ก ผูใช

ข โปรแกรมเมอร

ค นักวิเคราะหระบบ

ง เจาหนาที่ฝายปฏิบัติงานเครื่อง

15. ขอใดคือลักษณะของขอมูลและสารสนเทศท่ีดี

ก มีความถูกตอง ตรงตอความตองการ ชัดเจน

และเปนปจจุบัน

ข มีความคุมคา ชวยรักษาทรัพยากร ใชบุคลากร

ในการประมวลผลนอย

ค มีความถูกตอง แมนยํา และประมวลผลจาก

เครื่องคอมพิวเตอร

ง มีความถูกตอง ยืดหยุนไดดี ทันตอเหตุการณ

และสรางโดยผูเช่ียวชาญ

ก การพัฒนาระบบ

ข การวางแผนระบบ

ค การวิเคราะหระบบ

ง การออกแบบระบบ

17. ขอใดกลาวถึงการติดตั้งระบบสารสนเทศ ไม

ถูกตอง

ก ตองมีทีมงานดานเทคนิค

ข ตองเตรียมอุปกรณตาง ๆ ใหพรอม

ค ตองจัดทําเอกสารและจัดฝกอบรมหลังการ

ติดตั้ง

ง ตองศึกษาสภาพแวดลอมกอนการติดตั้ง

ระบบ

18. การจัดทําคูมือการฝกอบรมอยูในขั้นตอนใดของ

วงจรการพัฒนาระบบ

ก การติดตั้งระบบ

ข การพัฒนาระบบ

ค การวิเคราะหระบบ

ง การดูแลรักษาระบบ

19. ขอควรคํานึงในการพัฒนาระบบคืออะไร

ก สภาพแวดลอมเหมาะสมตอการติดตั้ง

โปรแกรม

ข ใชทรัพยากรที่เหมาะสมและชวยประหยัด

ตนทุน

ค เลือกภาษาคอมพิวเตอรที่เหมาะสมและ

พัฒนาตอไดงาย

ง ฮารดแวรและซอฟตแวรมีความเหมาะสม

สอดคลองกับการออกแบบ

20. โครงสรางของขอมูลในขอใดมีขนาดใหญท่ีสุด

ก ตัวอักษร ฮ

ข เลขฐานสอง 10110

ค กลุมของตารางที่มีความสัมพันธกัน

ง โครงสรางขอมูลที่แทนตัววัตถุหนึ่งช้ิน

เทคโนโลยีสารสนเทศ หนวยการเรียนรูท่ี 2 คอมพิวเตอร

ช่ือ ช้ัน เลขที ่

Page 149: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

คําช้ีแจง เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว

1. ขอใดกลาวถึงระบบการทํางานของคอมพิวเตอร ไม

ถูกตอง

ก จะทํางานภายใตชุดคําส่ัง

ข มีการทํางานอยางเปนระบบ

ค ผูใชเปนผูกําหนดซอฟตแวรในระบบการทํางาน

ของคอมพิวเตอร

ง หนวยประมวลผลกลางจะส่ังใหหนวยอ่ืน ๆ

ทํางานอยางอัตโนมัติ

2. ขอใดคือหนาท่ีของหนวยรับขอมูล

ก ตรวจสอบรหัสผานของผูใช

ข ตรวจสอบขอมูลที่รับมาจากผูใช

ค แปลงขอมูลดิจิทัลใหเปนขอมูลรูปแบบ

อ่ืน ๆ

ง แปลงขอมูลรูปแบบอ่ืน ๆ ใหเปนขอมูล

ดิจิทัล

3. หนวยใดท่ีตองทํางานรวมกับหนวยประมวลผลกลาง

ตลอดเวลา

ก หนวยแสดงผล

ข หนวยรับขอมูล

ค หนวยความจําหลัก

ง หนวยความจําสํารอง

4. ขอมูลประเภทใดจะถูกบันทึกไวในหนวยความจําแรม

ก ประเภทของเมาส

ข คําส่ังเริ่มตนของระบบ

ค ขอมูลฮารดแวรจากโรงงาน

ง ชุดคําส่ังที่ใชขณะประมวลผล

5. อําพรสามารถดูสารสนเทศท่ีส่ังใหคอมพิวเตอร

ประมวลผลไดจากหนวยใด

ก หนวยรับขอมูล

ข หนวยแสดงผล

ค หนวยความจําสํารอง

ง หนวยประมวลผลกลาง

6. เมื่อเปลี่ยนแปนพิมพอันใหม ขอมูลใน

หนวยความจําประเภทใดท่ีจะเปลี่ยนไปโดย

อัตโนมัต ิ

ก หนวยความจํารอม

ข หนวยความจําแรม

ค หนวยความจําซีมอส

ง หนวยความจําสํารอง

7. “มีจํานวนแปนนอยกวาแบบธรรมดา มีทั้งแบบ

ติดตั้งที่ตัวเครื่องและแยกช้ินตางหาก”

ขอความดังกลาวหมายถึงแปนพิมพแบบใด

ก แปนพิมพแบบไรสาย

ข แปนพิมพเครื่องพีดีเอ

ค แปนพิมพแบบการยศาสตร

ง แปนพิมพแบบปญญาประดิษฐ

8. เครื่องสแกนรหัสสินคาท่ีใชกันโดยท่ัวไปใน

หางสรรพสินคาเปนเครื่องสแกนเนอรแบบใด

ก สแกนเนอรระนาบ

ข สแกนเนอรแบบดรัม

ค สแกนเนอรที่ใชกับเครื่องหมาย

ง สแกนเนอรที่อานขอมูลแบบบารโคด

9. ผูใชคนใดจําเปนตองมีกลองวิดีโอพีซีในการใช

งานคอมพิวเตอรมากท่ีสุด

ก จะมีเว็บไซตเปนของตนเอง

ข จุตองการติดตอกับเพ่ือนผานเว็บแคม

ค จิ๊ใชอีเมลติดตอกับเพ่ือนที่ตางประเทศ

ง จาทําธุรกิจระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

กับชาวตางประเทศ

10. ฮารดแวรใดไมไดติดตั้งบนเมนบอรด

ก เคส

ข แรม

ค ซีพียู

ง การดจอ

Page 150: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

11. จอภาพแบบใดสรางภาพดวยระบบแอนาล็อก

ก จอภาพแบบสัมผัส

ข จอภาพวีจีเอแบบซีอารที

ค จอภาพวีจีเอแบบแอลซีดี

ง จอภาพแบบกาซพลาสมา

12. ขอใด ไมใชความสามารถของยูเอสบีแฟลชไดรฟ

ก ถายภาพได

ข แกไขขอมูลได

ค รับคล่ืนวิทยุได

ง บันทึกขอมูลได

13. ซอฟตแวรระบบปฏิบัติการใดเหมาะสําหรับติดตั้ง

ในคอมพิวเตอรท่ีมีการเช่ือมตอระบบเครือขาย

ขนาดใหญมากท่ีสุด

ก ลีนุกซ

ข ไมโครซอฟตวินโดวสวิสตา

ค ไมโครซอฟตวินโดวสเอ็กซพี

ง ไมโครซอฟตวินโดวส 2000 เซิรฟเวอร

14. ขอใด ไมใชช้ินงานท่ีสรางจากอะโดบี

โฟโตชอป

ก ภาพวาด 3 มิติ

ข เว็บไซตแอนิเมชัน

ค ภาพถายโทนสีน้ําตาล

ง ตัวอักษรลายพ้ืนหินออน

15. สวนขยายใดไมใชแฟมขอมูลท่ีนําไปประมวลผล

เพื่อใหไดสารสนเทศ

ก COM

ข DOC

ค MID

ง PSD

16. ขอใดคือลักษณะของคอมพิวเตอรสําหรับผูใชงาน

ตามสํานักงานขนาดใหญ

ก ฮารดแวรมีน้ําหนักเบา พกพาสะดวก

ข ติดตั้งซอฟตแวรที่หลากหลายใชงานงาย

ค สงเสริมการทํางานระบบเครือขายขนาดใหญ

ง มีประสิทธิภาพสูง ติดตั้งซอฟตแวร

เฉพาะงาน

17. “ซอฟตแวรที่ติดตั้งมีความหลากหลาย ใชสําหรับ

ความบนัเทิงเปนหลัก” เปนลักษณะคอมพิวเตอร

ของผูใชประเภทใด

ก Home User

ข Power User

ค Mobile User

ง Small Office User

18. ขอมูลประเภทใดควรเก็บไวในแฟมหลัก

ก รายรับรายจาย

ข ประวัติทางการศึกษา

ค ยอดขายประจําสัปดาห

ง ระดับน้ําทะเลในแตละวัน

19. ขอมูลใดเปนสายอักขระ

ก รูปภาพ

ข วันและเวลา

ค จริงและเท็จ

ง รหัสเลขบัตรประชาชน

20. สวนขยาย EXE หมายถึงขอมูลประเภทใด

ก ขอมูลที่รอการประมวลผล

ข ขอมูลที่มีลักษณะเปนตัวหนังสือ

ค ขอมูลที่ใชสําหรับการประมวลผล

ง ขอมูลที่มีลักษณะเปนภาพแกไขไมได

Page 151: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

เทคโนโลยีสารสนเทศ หนวยการเรียนรูท่ี 3 การส่ือสารขอมูล

ช่ือ ช้ัน เลขที ่

คําช้ีแจง เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว

1. ขอใด ไมใชองคประกอบท่ีสําคัญของระบบการ

ส่ือสาร

ข ตัวกลาง ค เทคโนโลยี

ก ผูรับขอมูล ง โพรโทคอล

นําขอความตอไปนี้ตอบคําถามขอ 2–4 “ยุพินทํา

รายงานเรื่องเทคโนโลยี”

2. ขอใดคือผูรับขอมูล

ก ยุพิน

ข รายงานของยุพิน

ค เพ่ือน ๆ ของยุพิน

ง ผูที่ยุพินทํารายงานสง

3. ขอใดคือโพรโทคอล

ก ขั้นตอนการทํารายงาน

ข รายงานเรื่องเทคโนโลยี

ค เทคโนโลยีที่ใชทํารายงาน

ง การกําหนดตัวกลางเปนรายงานและวันที่ที่

ตองสงรายงาน

4. ขอใดทําหนาท่ีเปนตัวกลาง

ก ยุพิน

ค รายงาน

ข เทคโนโลยี

ง ผูอานรายงานของยุพิน

5. การส่ือสารในทิศทางใดท่ีผูส่ือสารจะทําหนาท่ีเปน

ผูรับและผูสงในเวลาเดียวกัน

ก การส่ือสารขอมูลทิศทางเดียว

ข การส่ือสารขอมูลสองทิศทางสลับกัน

ค การส่ือสารขอมูลทิศทางเดียวสลับกัน

ง การส่ือสารขอมูลสองทิศทางพรอมกัน

6. ขอใดกลาวถึงสัญญาณดิจิทัลไดถูกตอง

ก สัญญาณที่ใชส่ือสารระหวางมนุษยดวยกัน

ข สัญญาณที่ใชส่ือสารภายในระบบ

คอมพิวเตอร

ค สัญญาณที่ใชส่ือสารระหวางมนุษยกับ

คอมพิวเตอร

ง สัญญาณที่ใชเกิดจากการส่ันสะเทือนผานส่ือ

ที่เปนอากาศ

7. เสียงเพลงจากรายการวิทยุกรีนเวฟสงสัญญาณชนิด

ใด

ก สัญญาณขอมูล

ข สัญญาณดิจิทัล

ค สัญญาณแอนะล็อก

ง สัญญาณอะซิงโครนัส

8. รูปแบบของการถายโอนขอมูลแบบใดสงขอมูลได

เร็วท่ีสุด

ก แบบขนาน

ข แบบอนุกรม

ค แบบซิงโครนัส

ง แบบอะซิงโครนัส

9. ขอใดไมใชลักษณะของการสงสัญญาณขอมูล

แบบอะซิงโครนัส

ก มีการแบงขอมูลทีละตัวอักษร

ข มีการประสานจังหวะการทํางาน

ค ไมมีการประสานจังหวะการทํางาน

ง มีการกําหนดจุดเริ่มตนและจุดส้ินสุดของ

ตัวอักษร

10. ตัวกลางใดใชกับส่ือนําขอมูลแบบไรสาย

ก อากาศ

ค ใยแกวนําแสง

16. โครงสรางบัสประเภทใดมีจํานวนมากท่ีสุด

ก บัสขอมูล

ข บัสควบคุม

Page 152: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ง ตัวนํารวมแกน

ข สายคูบิดเกลียว

11. ขอดีของส่ือนําขอมูลแบบมีสายคือขอใด

ก มีตนทุนในการติดตั้งถูก

ข ไมตองติดตั้งตัวทวนสัญญาณ

ค สามารถสงสัญญาณไดในระยะไกล

ง สามารถกําหนดทิศทางการสงขอมูลได

12. สายคูบิดเกลียวประเภทใดนิยมใชในปจจุบัน

ก แบบใชสาย 1 คู

ข แบบใชสาย 2 คู

ค แบบมีช้ันโลหะหอหุม

ง แบบไมมีช้ันโลหะหอหุม

13. สายนําขอมูลแบบใดมีราคาแพงมากท่ีสุด

ก สายคูบิดเกลียว

ข สายโคแอกเชียล

ค สายใยแกวนําแสง

ง สายตัวนํารวมแกน

14. ขอใดคืออุปสรรคของการสงขอมูลดวยตัวกลาง

ประเภทไมโครเวฟ

ก แสง

ข เสียง

ค วัตถุทึบแสง

ง สภาพอากาศ

15. ขอใดกลาวถึงเครือขายแบบวงแหวนไดถูกตอง

ก มีการสงขอมูลในทิศทางเดียวกัน

ข ใชฮับเปนอุปกรณหลักสําหรับกระจายสัญญาณ

ค ที่ปลายสายตองใชเทอรมิเนเตอรปองกันการ

สะทอนของขอมูล

ง ถาคอมพิวเตอรเครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียยัง

สามารถใชงานเครือขายได

ค บัสตําแหนง

ง บัสประมวลผล

17. สล็อตทําหนาท่ีอะไรในระบบบัส

ก แปลงสัญญาณใหระบบบสัเขาใจ

ข ควบคุมการทํางานของระบบบัสทั้งหมด

ค บันทึกสัญญาณที่รับและสงในระบบบัส

ง รับและสงขอมูลจากการดเสริมในระบบตาง

18. โครงสรางเครอืขายแบบใดตองใชสายสงขอมูล

หลักเปนตัวกระจายขอมูล

ก เครือขายแบบบัส

ข เครือขายแบบดาว

ง เครือขายแบบตาขาย

ค เครือขายแบบวงแหวน

19. ขอใดกลาวถึงระบบบัสไดถูกตอง

ก ระบบการส่ือสารขอมูลระหวางผูใชกับ

คอมพิวเตอร

ข หนวยวัดความเร็วในการส่ือสารขอมูลใน

คอมพิวเตอร

ค ระบบการส่ือสารขอมูลระหวางฮารดแวรใน

คอมพิวเตอร

ง หนวยวัดความเร็วในการส่ือสารขอมูล

ระหวางผูใชกับคอมพิวเตอร

20. “บริษัทตั้งซ่ือตรงตองการติดตั้งเครือขายเพ่ือใช

รับความคิดเห็นจากลูกคาทั่วโลก” บริษัทตั้ง

ซื่อตรงควรใชการเช่ือมตอเครือขายชนิดใด

ก เครือขายแบบทองถ่ิน

ข เครือขายแบบสวนบุคคล

ค เครือขายแบบระยะทางไกล

ง เครือขายแบบเช่ือมโยงภายในเมืองเดียวกัน

Page 153: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

เทคโนโลยีสารสนเทศ หนวยการเรียนรูท่ี 4 อินเทอรเน็ต

ช่ือ ช้ัน เลขที ่

คําช้ีแจง เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว

1. โมเด็มทําหนาท่ีอะไรในอินเทอรเน็ต

ก แสดงขอมูลที่ไดรับจากอินเทอรเน็ต

ข รับขอมูลจากผูใชที่สงไปยังอินเทอรเน็ต

ค เปล่ียนสัญญาณดิจิทัลเพ่ือเช่ือมตอ

อินเทอรเน็ต

ง ประมวลผลขอมูลแลวสงไปยังหนวยความจํา

ในอินเทอรเน็ต

2. การเช่ือมตออินเทอรเน็ตตองกระทําผานโปรแกรม

ประเภทใด

ก เว็บกูเกิล

ข เว็บเบราวเซอร

ค เว็บการจัดการขอมูล

ง เว็บประมวลผลขอมูล

3. ยูอารแอลในแถบเอดเดรสทําหนาท่ีอะไร

ก แทนช่ือโฮมเพจในอินเทอรเน็ต

ข บอกประเภทของเว็บเบราวเซอร

ค บอกประเภทของการเช่ือมตออินเทอรเน็ต

ง แทนช่ือและที่อยูของเครื่องคอมพิวเตอร

4. ขอใดกลาวถึงหมายเลขไอพไีมถูกตอง

ก มีตัวเลข 4 ชุด คั่นแตละชุดดวยจุด

ข ตัวเลขแตละชุดมีคาระหวาง 0–255

ค ใชแสดงจํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ตใน

ขณะนั้น

ง เปนเลขชุดแทนช่ือและที่อยูของเครื่อง

คอมพิวเตอร

5. “เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอะไร” จากขอความ

ดังกลาวสามารถกําหนดเปนคําสําคัญไดในเสิรช

เอนจ้ินประเภทใด

ก การคนหาขอมูลเฉพาะทาง

ข การคนหาขอมูลจากคําสําคัญ

ค การคนหาขอมูลจากภาษาธรรมชาติ

ง การคนหาขอมูลจากหลาย ๆ เว็บไซต

6. “www.myfriend.itary.co.jp” จากระบบช่ือโดเมน

เว็บไซตดังกลาวเปนของประเทศใด

ก ประเทศไทย

ข ประเทศญ่ีปุน

ค ประเทศอิตาลี

ง ประเทศสหรัฐอเมริกา

7. บริการเสิรชเอนจ้ินทางอินเทอรเน็ตมีประโยชน

อยางไร

ก ชวยคนหาขอมูล

ข ชวยลดปริมาณเว็บไซต

ค ชวยตรวจสอบปรับปรุงขอมูล

ง ชวยจัดการฐานขอมูลในคอมพิวเตอร

8. ขอใดไมใชหลักการทํางานของเสิรชเอนจ้ิน

ก ลงทะเบียนผูใชบริการ

ข รวบรวมเอกสารเว็บไซต

ค จัดทําเปนรายการดรรชนี

ง ใชโปรแกรมสืบคนเพ่ือบริการผูใช

9. “พ่ีจิ๊กตองการคนหาเกมเตนออนไลน” พี่จ๊ิกควร

เลือกใชเสิรชเอนจ้ินประเภทใด

ก การคนหาขอมูลเฉพาะทาง

ข การคนหาขอมูลจากคําสําคัญ

ค การคนหาขอมูลจากหมวดหมู

ง การคนหาขอมูลจากภาษาธรรมชาติ

10. ขอใดคือขอเสียของการคนหาขอมูลจากหมวดหมู

ก ผูใชตองคิดหรือกําหนดคําสําคัญเอง

ข ไมมีมาตรฐานในการแบงหมวดหมูที่ชัดเจน

ค ไมเหมาะตอผูที่ตองการขอมูลที่มีลักษณะ

เฉพาะเจาะจง

ง ตองใชโปรแกรมแยกประเภทขอมูลมากกวา

2 โปรแกรม

Page 154: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

11. ขอใดกลาวถึงเทคนิคการคนหาขอมูลไดถูกตอง

ก กําหนดหัวขอในการคนหาที่ชัดเจน

ข เลือกใชเสิรชเอนจิ้นเดียวเพ่ือปองกันการ

สับสน

ค เม่ือไดขอมูลแลวไมควรคนหาซํ้าหรือ

เพ่ิมเติมอีก

ง คนหาเฉพาะเว็บไซตที่รับรองโดยหนวยงาน

ของรัฐบาล

12. คําสําคัญท่ีใชในการคนหาขอมูลควรมีลักษณะ

อยางไร

ก มีลักษณะกลาวถึงการกระทํา

ข เปนคํานามหรือคําศัพททางวิชาการ

ค เปนคําพูดอธิบายส่ิงที่ตองการคนหา

ง มีความหมายกวาง ๆ ไมเฉพาะเจาะจง

13. ขอใดคือเทคนิคการคนหาขอมูลเกี่ยวกับ

สรพงษ อาจหาญ

ก สรพงษ

ข สรพงษ*

ค สรพงษ อาจหาญ

ง “สรพงษ อาจหาญ”

14. คําใดไมควรเลือกใชเปนคําสําคัญ

ก มากมาย

ข อาชีพสุจริต

ค คอมพิวเตอร

ง ประวัติศาสตรไทย

15. เครื่องหมาย * มีความหมายแทนการคนหาขอมูล

ในเสิรชเอนจ้ินในลักษณะใด

ก เปนกลุมคําที่ผูใชไมแนใจ

ข เปนคําสําคัญทางสถิติงานวิจัย

ค เปนขอมูลที่แสดงเวลาบันทึกที่แนนอน

ง เปนคําศัพททางวิชาการที่มีความหมาย

เฉพาะเจาะจง

16. เครื่องหมายใดใชเมื่อตองการคนหาคําสําคัญ

มากกวา 1 คําในขอมูลเดียวกัน

ก – ค /

ข + ง “ ”

17. ขอใดคือลักษณะของขอมูลท่ีไดจากคําสําคัญ

“ซอฟตแวร” AND “ฮารดแวร”

ก แสดงขอมูลเฉพาะฮารดแวร

ข แสดงขอมูลเฉพาะซอฟตแวร

ค แสดงขอมูลที่ไมมีคําวาซอฟตแวรและ

ฮารดแวร

ง แสดงขอมูลที่มีทั้งคําวาซอฟตแวรและ

ฮารดแวร

18. การแสดงผลลัพธจากการคนหารูปภาพใน

กูเกิลมีลักษณะอยางไร

ก เหมือนการแสดงผลลัพธจากเว็บ

ข ไมสามารถเช่ือมโยงไปยังเว็บไซตได

ค เปนรูปภาพขนาดเล็กใหเลือกเช่ือมโยง

ง มีการเช่ือมโยงไปยังเว็บไซตของขอมูล

อัตโนมัต ิ

19. ขอใดไมสามารถกําหนดไดจากการคนหาแบบ

ละเอียดในกูเกิล

ก ภาษาที่ตองการคนหา

ข ชนิดของไฟลที่ตองการคนหา

ค ช่ือระบบโดเมนที่ตองการคนหา

ง การรับรองมาตรฐานของขอมูลที่ตองการ

คนหา

20. ขอใดไมใชส่ิงท่ีควรระลึกถึงขณะใชงาน

อินเทอรเน็ต

ก ไมมีความลับในอินเทอรเน็ต

ข เปนบริการสําหรับใชงานสวนตัว

ค ใชขอมูลของตนเองในการใชอินเทอรเน็ต

ง ผูใชงานในอินเทอรเน็ตทุกคนเปนมนุษย

ไมใชโปรแกรม

Page 155: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ
Page 156: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

เทคโนโลยีสารสนเทศ หนวยการเรียนรูท่ี 5 โครงงานคอมพิวเตอร

ช่ือ ช้ัน เลขที ่

คําช้ีแจง เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว

1. ขอใดกลาวถึงโครงงานคอมพิวเตอรไมถูกตอง

ก ภาระ ช้ินงาน หรือกิจกรรมที่กําหนดขึ้นเพ่ือ

วัดความรูของผูทําโครงงาน

ข ภาระ ช้ินงาน หรือกิจกรรมอิสระที่ผูทํา

โครงงานสามารถเลือกศึกษาไดตามความ

สนใจ

ค ภาระ ช้ินงาน หรือกิจกรรมสุดทายที่ผูทํา

โครงงานตองทํากอนจบการศึกษาตามที่

สถาบันกําหนด

ง ภาระ ช้ินงาน หรือกิจกรรมที่ผูทําโครงงานกับ

ที่ปรึกษาโครงงานรวมกันสรางและพัฒนาขึ้น

2. ขอใดกลาวถึงผูทําโครงงานไดถูกตอง เปล่ียนขอมูลใ

ก ผูที่ใชความรูและความสามารถคิดและ

พัฒนาโครงงาน

ข ผูที่กําหนดหลักการและทฤษฎีโครงงานของ

ที่ปรึกษาโครงงาน

ค ผูที่ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนดไวโดย

ที่ปรึกษาโครงงาน

ง ผูที่ปฏิบัติตามหลักสูตรทางการศึกษาของ

กระทรวงศึกษาธิการอยางเครงครัด

3. ขอใดคือส่ิงท่ีผูทําโครงงานตองปฏิบัติภายหลังการ

ทําโครงงานคอมพิวเตอร

ก สรุปและเสนอผลงาน

ข เสนอผลงานและจัดทํารายงาน

ค วิเคราะหปญหาและแกไขผลงาน

ง แกไขและสงใหที่ปรึกษาโครงงาน

4. ขอใดคือส่ิงสําคัญท่ีไดจากการสรุปโครงงาน

คอมพิวเตอร

ก ช่ือผูรับผิดชอบผลงาน

ข ผลงานที่ไดจากการทําโครงงาน

ค หลักสูตรและทฤษฎีในการทําโครงงาน

ง ระยะเวลา คาใชจาย และปญหาในการทํา

โครงงาน

5. ขอใดคือประโยชนท่ีไดรับจากการทําโครงงาน

คอมพิวเตอร

ก สงเสริมความเปนผูนํา

ข ทําใหเปนบุคลากรที่ตรงตอเวลา

ค สงเสริมความสามารถในการพัฒนาตนเอง

ง ทําใหเปนบุคลากรที่สามารถปฏิบัติตามคําส่ัง

ของผูอ่ืนได

6. ขอใด ไมใชองคประกอบของโครงงาน

คอมพิวเตอร

ก กระบวนการทํางาน

ข ความคิดริเริ่มสรางสรรค

ค การไดผลประโยชนดานการเงิน

ง การวางแผน การสรุป และการเสนอผลงาน

7. ขอใดคือหลักการสําคัญขององคประกอบในการมี

ความคิดริเริ่มสรางสรรคในการทําโครงงาน

คอมพิวเตอร

ก ไมทําโครงงานซํ้ากับผูอ่ืน

ข ปฏิบัติตามโครงงานของผูอ่ืน

ค ปฏิบัติตามความตองการของผูอ่ืน

ง ไมทําโครงงานที่ไมเปนที่ยอมรับจากผูอ่ืน

8. เหตุใดจึงกลาววาโครงงานคอมพิวเตอรชวย

พัฒนาผูทําโครงงาน

ก เพราะจะตองบูรณาการความรูทั้งหมดเพ่ือ

สรางผลงาน

ข เพราะจะตองตอบสนองตอความตองการของ

13. โปรแกรมประยุกตจัดเปนผลงานท่ีไดจาก

โครงงานคอมพิวเตอรประเภทใด

ก โครงงานคอมพิวเตอรดานเกม

ข โครงงานคอมพิวเตอรดานการศึกษา

Page 157: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

สังคม

ค เพราะจะตองปฏิบัติงานรวมกับผูเก่ียวของ

หลาย ๆ ฝาย

ง เพราะจะตองดําเนินงานตามความตองการ

ของที่ปรึกษาโครงงาน

9. โครงงานคอมพิวเตอรชวยวัดความรู

ความสามารถ และประสบการณของใคร

ก ผูทําโครงงาน

ข ผูอานโครงงาน

ค ผูอนุมัติโครงงาน

ง ที่ปรึกษาโครงงาน

10. บทเรียนออนไลนเปนโครงงานคอมพิวเตอร

ประเภทใด

ก โครงงานคอมพิวเตอรดานเกม

ข โครงงานคอมพิวเตอรดานการศึกษา

ค โครงงานคอมพิวเตอรดานเครื่องมือ

ง โครงงานคอมพิวเตอรดานการประยุกตใช

งาน

11. การสรางและพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอรดาน

เกมควรคํานึงถึงส่ิงใดเปนสําคัญ

ก จริยธรรม

ข ตนทุนการผลิต

ค ความคิดริเริ่มสรางสรรค

ง ความสนุกสนานเพลิดเพลิน

12. ขอใดเปนจุดประสงคหลักของโครงงาน

คอมพิวเตอรดานการประยุกตใชงาน

ก เพ่ือแกไขปญหาคนตกงาน

ข เพ่ือเพ่ิมคุณภาพชีวิตใหแกมนุษย

ค เพ่ือทํางานเส่ียงอันตรายแทนมนุษย

ง เพ่ือสงเสริมความคิดริเริ่มสรางสรรค

ค โครงงานคอมพิวเตอรดานเครื่องมือ

ง โครงงานคอมพิวเตอรดานการประยุกตใช

งาน

14. ขอใดคือส่ิงท่ีควรคํานึงถึงในการสรางและพัฒนา

โครงงานคอมพิวเตอรดานการทดลองทฤษฎ ี

ก ความประหยัดและคุมคา

ข การลดปญหาดานบุคลากร

ค ความปลอดภัยเม่ือนําไปใชจริง

ง การสรางความบันเทิงอยางมีจริยธรรม

15. ขอใดคือโครงงานคอมพิวเตอรดานเครื่องมือ

ก หุนยนตกูภัย

ข เครื่องตรวจจับควันพิษ

ค โปรแกรมจําลองการผาตัดหัวใจ

ง โปรแกรมเครื่องคิดเลขอัตโนมัต ิ

16. โครงงานเครื่องดูดกลิ่นพลังงานลมจัดเปน

โครงงานประเภทใด

ก โครงงานคอมพิวเตอรดานเกม

ข โครงงานคอมพิวเตอรดานการศึกษา

ค โครงงานคอมพิวเตอรดานเครื่องมือ

ง โครงงานคอมพิวเตอรดานการประยุกตใช

งาน

17. “ดุจนภาเปนเจาหนาที่กูกับระเบิด” ดุจนภาควร

เลือกทําโครงงานประเภทใดเพื่อสงเสริมอาชีพ

ของตนเอง

ก โครงงานคอมพิวเตอรดานการศึกษา

ข โครงงานคอมพิวเตอรดานเครื่องมือ

ค โครงงานคอมพิวเตอรดานการทดลองทฤษฎี

ง โครงงานคอมพิวเตอรดานการประยุกตใช

งาน

18. ขอใดเปนจุดประสงคหลักของโครงงาน

คอมพิวเตอรดานเครื่องมือ

ก เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการรับรูขอมูล

ข เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพของเครื่องมือกอน

นําไปใชจริง

19. เหตุใดโครงงานคอมพิวเตอรในปจจุบันจึงนิยม

สรางและพัฒนาในดานซอฟตแวรมากกวา

ฮารดแวร

ก เพราะมีตนทุนต่ํา สามารถทําไดงาย

ข เพราะใชเวลาในการพัฒนานอยกวา

Page 158: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

20. การ

เขียน

โครงงาน

คอมพิวเตอ

รขั้นตอนใดควรนําเสนอในรูปแบบตาราง

ก เอกสารอางอิง

ข แผนปฏิบัติงาน

ค หลักการและทฤษฎี

ง ขั้นตอนการดําเนินงาน

ค เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพทางดานการเรียนการ

สอน

ง เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพของการทํางานดาน

ตาง ๆ

ค เพราะสังคมตองการซอฟตแวรมากกวา

ฮารดแวร

ง เพราะผูทําโครงงานไมมีความรูดาน

ภาษาคอมพิวเตอร

Page 159: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

เทคโนโลยีสารสนเทศ หนวยการเรียนรูท่ี 6 จริยธรรมและความปลอดภัย

ช่ือ ช้ัน เลขที ่

คําช้ีแจง เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว

1. ขอใดหมายถึงจริยธรรมคอมพิวเตอร

ก กฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยกระทรวง

ไอซีที

ข พระราชบัญญัติที่กําหนดขึ้นโดยสภานิติ

บัญญัติแหงชาต ิ

ค มาตรฐานการใชงานคอมพิวเตอรที่กําหนดขึ้น

โดยกระทรวงไอซีท ี

ง หลักเกณฑที่ใชตัดสิน เพ่ือกระทําในส่ิงที่

ถูกตองที่กําหนดขึ้นโดยประชาชน

2. พระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ไมได

กําหนดบทลงโทษของผูใด เปล่ียนขอมูลใหเปนสัญญ

ก ผูขายโปรแกรมใหผูกระทําความผิด

ข ผูกระทําความผิดที่สงผลใหผูอ่ืนเสียชีวิต

ค บิดามารดาของเยาวชนที่กระทําความผิด

ง สถานบริการที่สงเสริมใหกระทําความผิด

3. ใครกระทําความผิดตามจริยธรรมคอมพิวเตอร

ก ก๊ิกขโมยขอมูลของผูอ่ืนไปขาย

ข ไกสรางภาพลามกอนาจารจนทําใหผูอ่ืน

เสียหาย

ค โกแสดงความคิดเห็นในกระทูดวยขอความ

หยาบคาย

ง กุกสงไวรัสคอมพิวเตอรเขาไปทําลายระบบ

คอมพิวเตอรของผูอ่ืน

4. “โยโยเปนตํารวจทําหนาที่ดําเนินการจับกุม

ผูกระทําความผิดในระบบคอมพิวเตอร”

โยโยเกี่ยวของกับพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร

ในหมวดใด

ก หมวด 1

ข หมวด 2

ค หมวด 3

ง หมวด 4

5. ขอใดคือหลักการลงโทษคนตางชาติท่ีกระทํา

ความผิดพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอรใน

ประเทศไทย

ก ไมสามารถดําเนินคดีได

ข ดําเนินคดีในประเทศไทย

ค สงตัวไปดําเนินคดีที่ศาลโลก

ง สงตัวไปดําเนินคดีที่ประเทศของผูกระทํา

ความผิด

6. ขอใดไมใชการกระทําความผิดดานการเขาถึง

ขอมูลโดยไมมีอํานาจ

ก การดักขอมูลของผูอ่ืนดวยเครื่องดักฟง

ข การปลอมแปลงขอมูลของผูอ่ืนเพ่ือใชในการ

หลอกลวง

ค การเขาไปเปล่ียนแปลงขอมูลของผูอ่ืนผาน

ทางเครือขายคอมพิวเตอร

ง การสงไวรัสคอมพิวเตอรเขาไปทําความ

เสียหายแกขอมูลของผูอ่ืน

7. ขอใดคือการกระทําความผิดของอาชญากรประเภท

แคร็กเกอร

ก การหลอกลวงผูอ่ืนเพ่ือหวังทรัพยสิน

ข การสงจดหมายเพ่ือทําใหผูอ่ืนรําคาญ

ค การแอบแกไขระบบคอมพิวเตอรของผูอ่ืน

ง การใชถายโอนเงินจากบัญชีของผูอ่ืนมาเปน

ของตน

8. ใครมีลักษณะของอาชญากรคอมพิวเตอรประเภท

Danger Person

ก โปงรับจางทําขอมูลเท็จ

ข ปูหลอกลวงผูอ่ืนเพ่ือหวังทรัพย

ค เปชอบเผยแพรภาพที่แสดงความรุนแรง

ง ปานแทรกแซงขอมูลผูอ่ืนเพ่ือหวังประโยชน

ทางการคา

Page 160: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

9. ขอใดกลาวถึงอาชญากรรมคอมพิวเตอรได

ถูกตอง

ก การขโมยเครื่องคอมพิวเตอร

ข การขโมยขอมูลผานทางเครือขาย

อินเทอรเน็ต

ค การใชคอมพิวเตอรกระทําความผิดจนทําให

มีผูเสียชีวิต

ง การกระทําความผิดทางกฎหมายโดยใช

คอมพิวเตอรเปนเครื่องมือ

10. ขอใดไมใชลักษณะของการกระทําผิด

อาชญากรรมคอมพิวเตอร

ก การลักลอบดักขอมูล

ข การเขาถึงโดยการเจาะระบบ

ค การรบกวนระบบคอมพิวเตอรและขอมูล

ง การใชถอยคําที่ไมสุภาพผานเครือขาย

คอมพิวเตอร

11. การกระทําตอขอมูลประเภทใดท่ีจัดเปนความผิด

ดานอาชญากรรมคอมพิวเตอร

ก อานขอมูลที่มีไวเพ่ือการเผยแพร

ข นําขอมูลที่เปนจริงของตนไปเผยแพร

ค คัดลอกขอมูลที่มีไวเพ่ือการสาธารณะ

ง เผยแพรขอมูลของผูอ่ืนโดยไมไดรับอนุญาต

12. ขอใดหมายถึงแคร็กเกอรท่ีนิยมสรางความรุนแรง

และเปนอันตรายตอผูอื่น

ก Cracker ค Darnger Person

ข Amateurs ง Organized Crime

13. ขอใดกลาวถึงการลักลอบดักขอมูลไดถูกตอง

ก เพ่ือไดรับรูขอมูลสาธารณะกอนผูอ่ืน

ข เพ่ือแอบฟง ตรวจสอบ หรือติดตามขอมูล

ของผูอ่ืน

ค สามารถทําไดดวยการใชวิธีการทางเทคนิค

เทานั้น

ง สามารถทําไดดวยการใชอุปกรณที่มีการ

เช่ือมตอกับเครือขายเทานั้น

14. ขอใดกลาวถึงการเจาะระบบไดถูกตอง

ก เปนการเขาสูระบบคอมพิวเตอรของผูอ่ืนโดย

ไมไดรับอนุญาต

ข กระทําไดดวยการเจาะรหัสคอมพิวเตอรที่

เครื่องเทานั้น

ค กระทําไดดวยการเจาะรหัสคอมพิวเตอรผาน

เครือขายเทานั้น

ง เปนการปลอมแปลงระบบคอมพิวเตอรของ

ผูอ่ืนเพ่ือใหไดรับความเสียหาย

15. “อูดรวมมือกับอ๊ีดและอารทหลอกลวงผูอ่ืนอยาง

เปนระบบ เพ่ือหวังทรัพยสิน” อูด อี๊ด และอารท

เปนอาชญากรประเภทใด

ก แฮกเกอร

ข แคร็กเกอร

ค มือสมัครเลน

ง อาชญากรมืออาชีพ

16. ขอใด ไมใชลักษณะของอาชญากรมือสมัครเลน

ก ตองการทดลองฝมือ

ข ไมมุงหวังทรัพยสินผูอ่ืน

ค เช่ียวชาญทางดานคอมพิวเตอร

ง เริ่มหัดใชคอมพิวเตอรไดไมนาน

17. ขอใดคือแนวทางการปองกันอาชญากรรม

คอมพิวเตอรดวยการใชอุปกรณทางชีวภาพ

ก การสํารองขอมูลไวในแผนดีวีดี

ข การตั้งรหัสผานการเขาใชขอมูล

ค การติดตั้งโปรแกรมคนหาและกําจัดไวรัส

ง การเขาระบบคอมพิวเตอรดวยการสแกน

ลายนิ้วมือ

18. ขอใดคือหลักการติดตั้งโปรแกรมคนหาและกําจัด

ไวรัสท่ีมีประสิทธิภาพมากท่ีสุด

ก ใชผูเช่ียวชาญในการติดตั้ง

ข เปล่ียนโปรแกรมทุกสัปดาห

ค ติดตั้งอยางนอย 2 โปรแกรม

ง ติดตั้งโปรแกรมที่มีราคาแพงที่สุด

Page 161: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

19. ใครใชวิธีปองกันการเขาสูระบบคอมพิวเตอรท่ีมี

ประสิทธิภาพมากท่ีสุด

ก หนอยไมเช่ือมตอระบบเครือขาย

ข หนุมเปล่ียนรหัสผานเขาสูระบบบอย ๆ

ค หนิงติดตั้งเครื่องสแกนมานตากอนเขาระบบ

ง หนาติดตั้งโปรแกรมคนหาและกําจัดไวรัส

เวอรชันลาสุด

20. “ขอมูลสาธารณะของออยหายอยูเสมอ

ทั้ง ๆ ที่ติดตั้งโปรแกรมกําจัดไวรัสไวแลว” ออย

ควรแกไขปญหานี้อยางไร

ก เปล่ียนรหัสเขาระบบคอมพิวเตอร

ข สํารองขอมูลไวในอุปกรณสํารองขอมูล

ค ติดกลองวงจรปดที่เครื่องคอมพิวเตอร

ง ใหผูเช่ียวชาญมาติดตั้งระบบปฏิบัติการใหม

Page 162: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แบบทดสอบปลายภาคเรียน

ตอนท่ี 1 เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว (ขอละ 1 คะแนน)

1. ระบบสารสนเทศในปจจุบันแตกตางจากระบบ

สารสนเทศในรูปแบบเดิมอยางไร

ก จํานวนเอกสารในการจัดการนอยลง

ข มีการนําเครื่องคอมพิวเตอรมาใชรวมดวย

ค มีการใชระยะเวลาในการประมวลผลนานขึ้น

ง เพ่ิมจํานวนผูเก่ียวของในการประมวลผลมาก

ขึ้น

2. การหาคาคะแนนสะสมของนักเรียน จัดเปน

กระบวนการทํางานของระบบสารสนเทศในขอใด

ก การแสดงผล

ข การนําขอมูลเขา

ค การจัดเก็บขอมูล

ง การประมวลผลขอมูล

3. “อุบันทึกขอมูลดิบและสารสนเทศที่เก่ียวของไว

ในแผนดีวีดี เพ่ือเก็บไวเปรียบเทียบกับขอมูล

ใหม” อุปฏิบัติตามกระบวนการทํางานของระบบ

สารสนเทศขอใด

ก การแสดงผล

ข การนําขอมูลเขา

ค การจัดเก็บขอมูล

ง การประมวลผลขอมูล

4. ขอใดกลาวถึงขอมูลไมถูกตอง

ก ยังไมผานการประมวลผล

ข มีรูปแบบงายตอการนําไปตัดสินใจ

ค เปนขอเท็จจริงที่ไดจากการรวบรวม

ง เม่ือผานการประมวลผลแลวจะเปล่ียนเปน

สารสนเทศ

5. ขอใด ไมใชระบบสารสนเทศท่ีดี

ก มีฟงกชันการทํางานครบถวน

ข สารสนเทศที่ไดทันตอเหตุการณ

ค ไดผลตอบแทนคุมคากับการลงทุน

ง มีความเที่ยงตรงไมยืดหยุนตามเหตุการณ

ปจจุบัน

6. ระบบสารสนเทศท่ีเช่ือถือไดควรมีลักษณะ

อยางไร

ก ถูกตอง แมนยํา และครบถวน

ข ถูกตอง คุมคา และสรางจากผูเช่ียวชาญ

ค คุมคา แมนยํา และสะดวกในการเผยแพร

สารสนเทศ

ง ครบถวน สรางจากผูเช่ียวชาญ และสะดวกใน

การเผยแพรสารสนเทศ

7. ระบบกูคืนขอมูลเปนลักษณะของระบบ

สารสนเทศท่ีดีในขอใด

ก คุมราคา ค ปลอดภัย

ข เช่ือถือได ง ทันตอเวลา

8. ระบบสารสนเทศประเภทใดประมวลผลขอมูลท่ี

เกิดจากการปฏิบัติงานประจํา

ก GIS ค MIS

ข TPS ง DDS

9. ขอใดคือระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ

ตัดสินใจแบบกลุม

ก ระบบที่ใชในการประชุมทางไกล

ค ระบบตรวจสอบเสนทางขนสงสินคา

ง ระบบการรายงานเกรดเฉล่ียของนักเรียน

ข ระบบรักษาความปลอดภัยของคอมพิวเตอร

10. ขอใดไมใชลักษณะของระบบสารสนเทศเพื่อการ

จัดการ

ก รายงานตามระยะเวลาที่กําหนด

ข รายงานเม่ือมีเงื่อนไขเฉพาะเกิดขึ้น

ค รายงานสรุปการดําเนินงานโดยภาพรวม

ง รายงานโดยปรับเปล่ียนคาตาง ๆ เองได

11. เหตุใดนักวิเคราะหระบบจึงตองเรียนรูเรื่อง

ฮารดแวร ซอฟตแวร และระบบขอมูล

ก เพ่ือใชเลือกภาษาคอมพิวเตอร

ข เพ่ือใชสรางโปรแกรมเฉพาะงาน

ค เพ่ือใชติดตอส่ือสารกับโปรแกรมเมอร

ง เพ่ือใชอบรมเจาหนาที่ปฏิบัติงานเครื่อง

Page 163: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

12. ขอใดกลาวถึงไมโครโปรเซสเซอรไดถูกตอง

ก ซอฟตแวรประยุกตประเภทหนึ่ง

ข ฮารดแวรที่ทําหนาที่ประมวลผลขอมูล

ค ขั้นตอนในการวิเคราะหระบบสารสนเทศ

ง ผูเช่ียวชาญดานการตรวจสอบระบบ

สารสนเทศ

13. ขอใดคือฮารดแวรหลักของระบบสารสนเทศ

ก เครื่องคอมพิวเตอร

ข โปรแกรมการทํางาน

ค คูมือการใชระบบสารสนเทศ

ง ขอมูลหลักที่ใชนําเขาสูระบบ

14. ใครควรเลือกใชแปนพิมพแบบ

การยศาสตรมากท่ีสุด

ก จอมปวดขอมือบอย ๆ

ค จั๋มตองการคอมพิวเตอรที่มีราคาถูก

ข จิ้มมีพ้ืนที่ในการตั้งคอมพิวเตอรนอย

ง จุมตองเช่ือมตอกับอินเทอรเน็ตตลอดเวลา

15. การทํางานของคอมพิวเตอรจะเริ่มตนท่ีหนวยใด

ก หนวยความจํา

ข หนวยแสดงผล

ค หนวยรับขอมูล

ง หนวยประมวลผลกลาง

16. ขอมูลในระบบการทํางานของคอมพิวเตอรหนวย

ใดไมสามารถลบได

ก หนวยความจํารอม

ข หนวยความจําแรม

ค หนวยความจําซีมอส

ง หนวยความจําสํารอง

17. ขอมูลในฐานขอมูลจะตองมีลักษณะอยางไร

ก เปนประโยคที่แทนขอเท็จจริง

ข เปนตัวอักษรที่แทนขอเท็จจริง

ค เปนกลุมของตารางที่สัมพันธกัน

ง เปนเลขฐานสองหนึ่งหลักที่สัมพันธกัน

18. เมาสแบบใดออกแบบมาเพื่อแกปญหาฝุนท่ีอยู

ภายในเมาส

ก เมาสกลไก

ข เมาสแบบไรสาย

ค เมาสปญญาประดิษฐ

ง เมาสแบบใชแสงอินฟราเรด

19. กลองวิดีโอพีซีถูกออกแบบมาเพื่อใชงานในดาน

ใด

ก ถายภาพเคล่ือนไหวนอกสถานที่

ค ตัดตอและสรางไฟลภาพเคล่ือนไหว

ข ประมวลผลภาพเคล่ือนไหวไดในตัวเอง

ง รับและสงขอมูลผานเครือขายอินเทอรเน็ต

20. “คอมพิวเตอรของจิ๊บไมสามารถเช่ือมตอ

อินเทอรเน็ตได” ฮารดแวรใดในคอมพิวเตอร

ของจ๊ิบท่ีใชงานไมได

ก การดจอ ค การดแลน

ข การดเสียง ง การดแสดงผล

21. ซีพียูจะถูกติดตั้งท่ีใดในคอมพิวเตอร

ก เมโมรี

ข การดจอ

ค เมนบอรด

ง การดเครือขาย

22. ใบเสร็จสินคานิยมพิมพดวยเครื่องพิมพประเภท

ใด

ก เครื่องพิมพอิงคเจ็ท

ข เครื่องพิมพแบบกระทบ

ค เครื่องพิมพแบบไมกระทบ

ง เครื่องพิมพแบบใชความรอน

23. “โจรวมกับเพ่ือนเปดบริษัทที่บาน” โจควร

เลือกใชคอมพิวเตอรท่ีมีคุณสมบัติอยางไร

ก มีขนาดเล็ก พกพาสะดวก

ข มีประสิทธิภาพสูง ราคาแพง

ค มีการทํางานที่หลากหลาย ราคาแพง

ง มีการทํางานในรูปแบบเครือขายขนาดเล็ก

Page 164: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

24. ขอมูลใดควรเก็บไวในแฟมรายการเปลี่ยนแปลง

ก ขอมูลที่อยูอาศัยของนักเรียน

ข ขอมูลสภาพภูมิประเทศของแตละจังหวัด

ค ขอมูลพจนานุกรมคําศัพททางคอมพิวเตอร

ง ขอมูลเวลาในการเขาทํางานของพนักงานใน

แตละวัน

26. ขอใดกลาวถึงกระบวนการไดถูกตอง

ก ชุดคําส่ังที่ผูใชสงใหกับเครื่องคอมพิวเตอร

ข กระบวนการจะประสบความสําเร็จหรือไม

ขึ้นอยูกับผูใชเปนหลัก

ค กระบวนการจะประสบความสําเร็จหรือไม

ขึ้นอยูกับคอมพิวเตอรเปนหลัก

ง ขั้นตอนการทํางานเพ่ือใหคอมพิวเตอรทํางาน

ตามความตองการของผูใช

25. ขอใดเปนสวนขยายของ File

ก COM ค EXE

ข DLL ง TXT

27. ขอมูลใดมีลักษณะเปนคาตรรกะ

ก จริงและเท็จ

ข เลขจํานวนเต็ม

ค การตั้งรหัสผานการใชงานเครื่อง

ง การไมบันทึกขอมูลที่สําคัญไวในเครื่อง

28. ขอใดกลาวถึงการส่ือสารขอมูลไดถูกตอง

ก ไมจําเปนตองมีผูรับสาร

ข ไมจําเปนตองมีโพรโทคอล

ค ไมจําเปนตองมีส่ือนําขอมูล

ง ไมจําเปนตองรับสารในทันที

29. “ไผไมไดแชทกับวัฒนเพราะจําเวลานัดผิด” จาก

ขอความดังกลาวเกิดความผิดพลาดจาก

องคประกอบใดในระบบการส่ือสาร

ก ขอมูล

ข ตัวกลาง

ค ผูรับขอมูล

ง โพรโทคอล

30. ขอใด ไมใชตัวกลางในการส่ือสารขอมูล

ก คน ค บทสนทนา

ข อากาศ ง สายโทรศัพท

31. ทิศทางการส่ือสารในขอใดท่ีผูรับขอมูลจะไมได

รับขอมูลทันที

ก การส่ือสารขอมูลทิศทางเดียว

ข การส่ือสารขอมูลสองทิศทางสลับกัน

ค การส่ือสารขอมูลทิศทางเดียวสลับกัน

ง การส่ือสารขอมูลสองทิศทางพรอมกัน

32. การส่ือสารขอมูลทิศทางเดียวมีขอดีอยางไร

ก ประหยัดตนทุน

ข ประหยัดเวลา

ค เลือกรับขอมูลในเวลาใดก็ได

ง ผูส่ือสารไมจําเปนตองมีความรูในดานการ

ส่ือสาร

33. สัญญาณแอนะล็อกมีระดับสัญญาณท่ีสัมพันธกับ

เวลาอยูในลักษณะใด

ก พีระมิดแนวนอน

ข คล่ืนรูปไซนขึ้นลง

ค แทงส่ีเหล่ียมขึ้นลง

ง ครึ่งวงกลมแนวตั้ง

34. ขอใดกลาวถึงโมเด็มท่ีมีความเร็ว 128 Kbps ได

ถูกตอง

ก เปนสัญญาณดิจิทัลที่ผลิตจํานวนบิตได 64

ตอนาท ี

ข เปนสัญญาณแอนะล็อกที่สงคล่ืนความถ่ี 64

ตอนาท ี

ค เปนสัญญาณดิจิทัลที่ผลิตจํานวนบิตได 128

ตอวินาท ี

ง เปนสัญญาณแอนะล็อกที่สงคล่ืนความถ่ี 128

ตอวินาที

35. การปองกันการแยงเสนทางในการสงขอมูลใน

ระบบบัสเปนหนาท่ีของสวนประกอบใด

ก เสน

ข สล็อต

Page 165: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ค ชิปควบคุม

ง ชองเสียงตอขยาย

36. “มีการกําหนดจุดเริ่มตนและจุดส้ินสุดของบิต

อยางชัดเจนโดยไมมีการประสานจังหวะการ

ทํางาน” ขอความดังกลาวเปนลักษณะของการ

ถายโอนขอมูลรูปแบบใด

ก แบบขนาน

ข แบบซิงโครนัส

ค แบบแอนะล็อก

ง แบบอะซิงโครนัส

37. การสงสัญญาณขอมูลแบบขนานมีขอดีอยางไร

ก มีราคาถูก

ข ใชสายสัญญาณนอย

ค ไมจําเปนตองใชส่ือที่มีคุณภาพสูง

ง สามารถสงสัญญาณไดอยางรวดเร็ว

38.ขอใดคือขอเสียของตัวกลางประเภทไมโครเวฟ

ก การติดตั้งทําไดยาก

ข สัญญาณถูกรบกวนไดงาย

ค ใชสายสัญญาณจํานวนมาก

ง ไมสามารถสงขอมูลระยะไกล ๆ ได

39. พีซีบัส AGP สรางขึ้นเพื่อรองรับการใชงานกับ

ซีพียูประเภทใด

ก 386 ค เพนเทียม

ข 486 ง เพนเทียมทู

40. เครื่องเทอรมินัลทําหนาท่ีอะไรในเครือขาย

ก เก็บบันทึกขอมูล

ข ประมวลผลขอมูล

ค รับและนําเสนอขอมูล

ง ใหบริการแกเครื่องลูกขาย

41. คอมพิวเตอรประเภทใดท่ีไมสามารถทํางานได

หากไมมีเครื่องเซิรฟเวอร

ก เครื่องแมขาย

ข เครื่องเทอรมินัล

ค เครื่องเวิรกสเตชัน

ง เครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล

42. ขอใดคือขอดีของเครือขายท่ีเลือกใชเครื่อง

เวิรกสเตชันเปนเครื่องลูกขาย

ก ติดตั้งงาย

ง ประหยัดคาฮารดแวร

43. ขอใดคือปญหาท่ีมักพบในโครงสรางเครือขายแบบ

บัส

ก ไมสามารถใชงานไดถาไมมีฮับ

ข ขอมูลภายในสายสงขอมูลหลักชนกัน

ค มีตนทุนในการติดตั้งสูงเนื่องจากตองใช

สายสัญญาณจํานวนมาก

ง ไมสามารถใชงานเครือขายไดหากมี

คอมพิวเตอรเครื่องใดเครื่องหนึ่งเสีย

44. เทอรมิเนเตอรคืออุปกรณสําคัญในการเช่ือมตอ

เครือขายในโครงสรางใด

ก แบบบัส ค แบบตาขาย

ข แบบดาว ง แบบวงแหวน

45. ขอใดคือลักษณะเดนของเครือขายแบบดาว

ก ไมตองใชฮับในการเช่ือมตอเครือขาย

ข ตรวจสอบและดูแลรักษาเครือขายไดงาย

ค ใชสายสัญญาณนอยกวาเครือขายแบบบัส

ง สงขอมูลไปในทิศทางเดียวกันเปนวงกลมทํา

ใหสงขอมูลไดอยางรวดเร็ว

46. “อุไรวรรณเช่ือมตอกลองดิจิทัลเขากับ

คอมพิวเตอรสวนบุคคล” อุไรทําการเช่ือมตอ

เครือขายใชหรือไม อยางไร

ก ไมใช เนื่องจากใชคอมพิวเตอรเพียงเครื่อง

เดียว

ข ไมใช เนื่องจากไมไดใชบริการอินเทอรเน็ต

ค ใช เนื่องจากการเช่ือมตอดังกลาวจัดเปน

เครือขายแบบทองถ่ิน

ง ใช เนื่องจากการเช่ือมตอดังกลาวจัดเปน

เครือขายแบบสวนบุคคล

Page 166: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

47. เครือขายแบบเพียรทูเพียรจะประมวลผลขอมูลท่ี

เครื่องคอมพิวเตอรประเภทใด

ก เครื่องแมขาย

ข เครื่องเทอรมินัล

ค เครื่องเซิรฟเวอร

ง เครื่องเวิรกสเตชัน

48. ขอใดคือขอดีของเครือขายแบบไครเอนต

เซิรฟเวอรเมื่อเทียบกับเครือขายแบบเพียรทูเพียร

ก ประมวลผลขอมูลไดเร็วกวา

ข ขอมูลมีความปลอดภัยมากกวา

ค ใชงานไดแมเครื่องเซิรฟเวอรชํารุด

ง มีพ้ืนที่ในการจัดเก็บขอมูลไดมากกวา

49. เครือขายชนิดใดตองใชสายสงขอมูลหลักทํา

หนาท่ีในการเช่ือมตอสัญญาณ

ก เครือขายแบบทองถ่ิน

ข เครือขายแบบสวนบุคคล

ค เครือขายแบบระยะทางไกล

ง เครือขายแบบเช่ือมโยงภายในเมืองเดยีวกัน

50. “อาจองตองการเช่ือมตอคอมพิวเตอรจํานวน 2

เครื่องเขาดวยกัน โดยเครื่องหนึ่งอยูที่หองนอน

สวนอีกเครื่องหนึ่งอยูที่หองรับแขก” อาจองควร

เลือกเช่ือมตอคอมพิวเตอรชนิดใด

ก PAN ข MAN

ค LAN ง WAN

51. ขอใดเรียงลําดับการเช่ือมตออินเทอรเน็ตใน

ประเทศไทยไดถูกตอง

ก เครื่องผูใช โมเด็ม สายโทรศัพท โมเด็ม ไอ

เอสพี และอินเทอรเน็ต

ข เครื่องผูใช สายโทรศัพท โมเด็ม

ไอเอสพี โมเด็ม และอินเทอรเน็ต

ค เครื่องผูใช สายโทรศัพท ไอเอสพี โมเด็ม ไอ

เอสพี และอินเทอรเน็ต

ง เครื่องผูใช ไอเอสพี สายโทรศัพท

ไอเอสพี โมเด็ม และอินเทอรเน็ต

52. “นําโชคตองการใชบริการเว็บไซตของรัฐ” นํา

โชคควรเลือกพิจารณาจากระบบโดเมนเนมของ

เว็บไซตใด

ก www.ict.gov

ข www.ruttaban.info

ค www.prachachon.net

ง www.government.com

53. ขอใดคือขอดีของการจัดทําฐานขอมูลเปนดรรชนี

ในเสิรชเอนจ้ิน

ก ปรับปรุงขอมูลโดยอัตโนมัติ

ค แจงช่ือแหลงขอมูลโดยอัตโนมัติ

ข เช่ือมโยงขอมูลสูผูใชโดยอัตโนมัติ

ง ติดตั้งโปรแกรมใหผูใชโดยอัตโนมัติ

54. เสิรชเอนจ้ินไซตมีลักษณะอยางไร

ก เปนเครือขายที่รวบรวมบริการทางการ

ทองเที่ยว

ข เปนเว็บไซตที่ใหบริการคนหาขอมูล

โดยเฉพาะ

ค เปนเว็บไซตที่ใหบริการพ้ืนที่บนอินเทอรเน็ต

ง เปนเครือขายที่จัดตั้งขึ้นเพ่ือองคกรใดองคกร

หนึ่งโดยเฉพาะ

55. การคนหาเสิรชเอนจ้ินประเภทใดท่ีมีการคัดเลือก

หรือแบงประเภทของขอมูลโดยมนุษย

ก การคนหาขอมูลเฉพาะทาง

ข การคนหาขอมูลจากคําสําคัญ

ค การคนหาขอมูลจากหมวดหมู

ง การคนหาขอมูลจากภาษาธรรมชาติ

56. ขอใดกลาวถึงเทคนิคการใชเสิรชเอนจ้ินไม

ถูกตอง

ก ควรเลือกใชเสิรชเอนจิ้นที่นาเช่ือถือ

ข ควรคนหาจากหลาย ๆ เสิรชเอนจิ้น

ค ควรคนหาเสิรชเอนจิ้นที่ใชภาษาอังกฤษเปน

หลัก

ง ควรคนหาเสิรชเอนจิ้นที่มีการอัปเดทขอมูล

บอย ๆ

Page 167: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ
Page 168: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

57. ขอใดควรเลือกใชเปนคําสําคัญในการคนหาขอมูล

จากภาษาธรรมชาต ิ

ก อยางไร

ข ประโยชน

ค สารสนเทศ

ง สารสนเทศมีประโยชนอยางไร

58. ขอใดคือคําสําคัญท่ีตองการคนหาขอมูลท่ีมีคํา

สําคัญท้ังคําวาบานและราคาอยูในขอมูลเดียวกัน

ก “บาน” OR “ราคา”

ข “บาน” AND “ราคา”

ค “บาน” NOT “ราคา”

ง “บาน” ORNOT “ราคา”

59. “หนูแหวนตองการคนหาขอมูลเก่ียวกับจาน

ดาวเทียม แตไมตองการใหมีคําวา ราคาอยูใน

ขอมูล” หนูแหวนจะตองใชคําสําคัญในขอใด

ก จานดาวเทียม

ข “จานดาวเทียม”

ค จานดาวเทียม –ราคา

ง “จานดาวเทียม” OR “ราคา”

60. ขอใดคือผลของการคนหาขอมูลจากคําสําคัญ “ศีล

5”

ก ขอ 5 ศีลที่ควรยึดถือคือ...

ข ศีล 5 คือ ขอควรปฏิบัติ...

ค ศีลพ้ืนฐานของชาวพุทธมี 5 ขอ...

ง ส่ิงสําคัญของศีลที่ควรยึดถือมี 5 ขอ...

61. ขอใดคือหลักการใชเครื่องหมาย + และ – ชวยใน

การคนหาขอมูล

ก จะตองใชคูกับเครื่องหมาย “ ” เสมอ

ข จะตองไมใชเครื่องหมาย + และ –พรอมกัน

ในการคนหาครั้งเดียว

ค จะตองเวนวรรคระหวางเครื่องหมายกับคํา

สําคัญที่ตองการกําหนดคา

ง จะตองพิมพเครื่องหมายติดดานหนากับคํา

สําคัญที่ตองการกําหนดคา

62. “ดาวพระศุกรตองการใหกูเกิลแสดงผลลัพธหนา

ละ 20 ลําดับ” ดาวพระศุกรตองปฏิบัติอยางไร

ก เขาไปตั้งคาที่ปรับแตงตัวเลือก

ข เขาไปตั้งคาที่คนหาแบบละเอียด

ค แจงผูดูแลระบบกูเกิลใหปรับเปล่ียน

ง แจงผูดูแลระบบบริษัทไมโครซอฟทให

ปรับเปล่ียน

63. ขอมูลท่ีคนหาจากสารบบเว็บมีลักษณะอยางไร

ก เปนขอมูลเฉพาะดาน

ข เปนขอมูลประเภทขาว

ค เปนการแบงขอมูลตามวันที่

ง เปนการแบงขอมูลเปนหมวดหมู

64. “เปตองการคลิกเพ่ือดูรูปภาพขนาดจริงที่ไดจาก

การคนหาในกูเกิล” เปตองปฏิบัติอยางไร

ก คลิกขวาที่รูปภาพ แลวเลือกขนาดรูปภาพ

ข คลิกเลือกรูปภาพนั้น แลวคลิกที่เว็บไซตที่

นําเสนอรูปภาพอีกทีหนึ่ง

ค คลิกขวาที่รูปภาพ เลือกคัดลอก แลวนําไป

วางบนโปรแกรมประมวลผลคํา

ง คลิกเลือกรูปภาพนั้น แลวคลิกที่รูปภาพใน

สวนบนของหนาตางนั้นอีกทีหนึ่ง

65. ความคิดเห็นในดานใดท่ีผูใชอินเทอรเน็ตไมควร

แสดงความคิดเห็นในดานลบ

ก ขาวบันเทิง

ข ระบบการศึกษา

ค ศาสนาและความเช่ือ

ง การเมืองการปกครอง

66. ผูใชงานอินเทอรเน็ตในขอใดควรไดรับการบล็อก

จากผูดูแลระบบมากท่ีสุด

ก ใชถอยคําที่สุภาพแตนาเบื่อ

ข มุงเนนการนําเสนอขอมูลที่เปนความรู

ค แสดงความคิดเห็นเฉพาะหัวขอที่นําเสนอ

ง ชักจูงใหผูอ่ืนดาวนโหลดโปรแกรมละเมิด

ลิขสิทธ์ิ

Page 169: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ
Page 170: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ
Page 171: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

67. ขอใดไมใชหลักการเลือกทําโครงงานคอมพิวเตอร

ท่ีดี

ก เลือกตามความถนัดของผูทําโครงงาน

ข เลือกทําโครงงานคอมพิวเตอรที่ไมซํ้ากับผูอ่ืน

ค เลือกตามความสามารถของผูทําโครงงาน

ง เลือกทําโครงงานตามหัวขอที่กําหนดโดยที่

ปรึกษาโครงงาน

68. โครงงานคอมพิวเตอรท่ีประสบความสําเร็จจะตอง

อาศัยบทบาทจากใครเปนหลัก

ก ผูทําโครงงาน

ข ผูอานโครงงาน

ค ผูอนุมัติโครงงาน

ง ที่ปรึกษาโครงงาน

69. ขอใดไมใชโครงงานคอมพิวเตอรดานการศึกษา

ก มัลติมีเดีย

ข ไฮเปอรเท็กซ

ค เว็บไซตทางการศึกษา

ง คอมพิวเตอรชวยสอน

70. จริยธรรมและพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร

แตกตางกันอยางไร

ก ความผิดที่ไมมีผูเสียหายกับความผิดที่มี

ผูเสียหาย

ข ผูกระทําความผิดมีอายุต่ํากวา 18 ปกับมีอายุ

ตั้งแต 18 ปขึ้นไป

ค การกระทําความผิดคนเดียวกับกระทําความผิด

เปนหมูคณะ

ง ความผิดที่ลงโทษโดยประชาชนกับความผิดที่

ลงโทษดวยกฎหมาย

71. ใครกระทําผิดพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร

มาตรา 11

ก ก้ังสงจดหมายลูกโซใหผูอ่ืน

ข ไกรขายโปรแกรมสําหรับขโมยขอมูล

ค กุงใชคอมพิวเตอรของผูอ่ืนโดยไมไดรับอนุญาต

ง เกรียงตัดตอรูปนางแบบเผยแพรใน

อินเทอรเน็ต

พิจารณาพฤติกรรมตอไปนี้ แลวตอบคําถามขอ 72–75

“เอซ้ือโปรแกรมปลอมแปลงขอมูลมาจากโอ โดยใช

เคร่ืองคอมพิวเตอรของแอลปลอมแปลงขอมูลสงไป

หลอกลวงเอ็มใหเสียทรัพย”

72. พฤติกรรมดังกลาวมีผูใดเปนผูกระทําความผิด

ตามพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร

ก เอ โอ

ข เอ โอ แอล

ค เอ โอ แอล เอ็ม

ง ไมมีผูกระทําความผิด

73. พฤติกรรมดังกลาวผูใดไมมีความผิดตาม

พระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร เนื่องจากอะไร

ก เอ็ม เปนผูถูกหลอกลวง

ข เอ ไมใชผูผลิตโปรแกรม

ค โอ ไมใชผูปลอมแปลงขอมูล

ง แอล ไมไดลงมือกระทําความผิด

74. ขอใดคือบทลงโทษสูงสุดของผูกระทําความผิด

ตามพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร

ก จําคุกไมเกิน 1 ป

ข จําคุกไมเกิน 3 ป

ค จําคุกไมเกิน 5 ป

ง จําคุกไมเกิน 10 ป

75. ใครไดรับบทลงโทษจากการกระทําความผิดตาม

พระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอรนอยท่ีสุด

ก โอ

ข แอล

ค เอและแอล

ง โอและแอล

76. ขอใดจัดเปนอาชญากรรมคอมพิวเตอร

ก การขโมยเครื่องคอมพิวเตอร

ข การจําหนายเครื่องคอมพิวเตอรโดยไมเสีย

ภาษี

ค การใชเครื่องคอมพิวเตอรเผยแพรขอมูลที่

เปนเท็จ

ง การขนยายเคร่ืองคอมพิวเตอรออกนอก

ประเทศโดยไมไดรับอนุญาต

Page 172: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ
Page 173: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

77. “โอไปอบรมการเจาะรหัสคอมพิวเตอร จึงนําไป

ทดลองใชเจาะรหัสคอมพิวเตอรของอาร” โอเปน

อาชญากรคอมพิวเตอรแบบใด

ก แฮกเกอร

ข แคร็กเกอร

ค มือสมัครเลน

ง อาชญากรมืออาชีพ

78. เหตุใดจึงควรอัปเดทโปรแกรมคนหาและกําจัด

ไวรัสอยางสม่ําเสมอ

ก เพราะชวยประหยัดคาลิขสิทธ์ิ

ข เพราะเปนขอตกลงระหวางผูใชและผูผลิต

ค เพราะไวรัสคอมพิวเตอรมีการพัฒนาอยาง

สมํ่าเสมอ

ง เพราะจะเพ่ิมสมรรถนะของเครื่อง

คอมพิวเตอรใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น

79. แนวทางการปองกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร

แบบใดมีคาใชจายสูงสุด

ก การสํารองขอมูล

ข การใชเทคโนโลยีชีวภาพ

ค การตั้งรหัสเขาระบบคอมพิวเตอร

ง การติดตั้งโปรแกรมคนหาและกําจัดไวรัส

คอมพิวเตอร

80. ใครใชหลักการตั้งรหัสไดมีประสิทธิภาพมาก

ท่ีสุด

ก กวางใชป พ.ศ. ที่เกิดตั้งรหัสผาน

ข เดียรใชหมายเลขเดียวกันซํ้า 4 ตําแหนง

ค ดาวใชหมายเลข 4 ตัวทายของบัตรประชาชน

ง เกงใชเลขทาย 2 หลักของหมายเลขโทรศัพท

พอและแม

Page 174: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ตอนท่ี 2 ตอบคําถามตอไปน้ี (ขอละ 2 คะแนน)

1. บัสควบคุมทําหนาที่อะไร

2. อาชญากรคอมพิวเตอรหมายถงึอะไร

3. การวิเคราะหระบบสารสนเทศคืออะไร

4. พร็อมคืออะไร เกี่ยวของกับคอมพิวเตอรอยางไร

5. สายใยแกวนําแสงมีลักษณะ ขอดี และขอเสียอยางไร

6. โครงสรางของขอมูลที่เล็กที่สุดคืออะไร มีลักษณะอยางไร

7. แอกเซสพอยทคืออะไร ใชในการเชื่อมตอเครือขายประเภทใด คือ

8. เหตุใดจึงตองแบงขอมูลใหเปนแฟมขอมูลกอนการประมวลผล

9. คําสําคัญในการคนหาขอมูลดวยเสิรชเอนจ้ินควรมีลักษณะ

10. เหตุใดระบบสารสนเทศที่ดีจึงควรมมีาตรการรักษาความปลอดภัย

11. Delay คืออะไร และมักเกิดกับการสื่อสารขอมูลดวยตัวกลางชนิดใด

12. ไวรัสคอมพิวเตอรเปนเคร่ืองมือทีใ่ชประกอบอาชญากรรมคอมพิวเตอรอยางไร

13. การคนหาขอมูลรูปภาพจากกูเกิล ผลลัพธที่ไดจากการคนหาจะมีลักษณะ

14. องคประกอบใดมีบทบาทสาํคัญที่จะทําใหการสื่อสารประสบผลสําเร็จ เพราะเหตุใด

15. เหตุใดขอมูลที่บันทึกไวในหนวยความจําซีมอสจึงไมสูญหายเมื่อปดเคร่ืองคอมพิวเตอร

16. โครงงานคอมพิวเตอรสามารถแบงไดตามวัตถุประสงคของการทําโครงงานไดกี่ประเภท อะไรบาง

17. การกระทําความผิดใดที่จะไดรับโทษสูงสุดตามพระราชบัญญัติฯ คอมพิวเตอร และไดรับโทษอยางไร

18. การสงสัญญาณขอมูลแบบอะซิงโครนัสกับการสงสัญญาณขอมูลแบบซิงโครนัสเหมือนหรือแตกตางกัน

อยางไร

19. ขอมูลที่ไดจากเสิรชเอนจ้ินประเภทการคนหาขอมูลเฉพาะทางจะมีลักษณะอยางไร ยกตัวอยางอยางนอย 2

ขอมูล

20. คอมพิวเตอรสวนบุคคลสามารถเชื่อมตอเครือขายคอมพิวเตอรไดหรือไม แลวคอมพิวเตอรน้ีจัดวาเปน

คอมพิวเตอรประเภทใดในเครือขาย เพราะเหตุใด

Page 175: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แบบบันทึกความรู

เรื่องท่ีศึกษา บันทึกเมื่อ

แหลงคนควา 1) จากหนังสือ ผูแตง

โรงพิมพ ปที่พิมพ หนา

2) จากรายการวิทยุ–โทรทัศน ช่ือรายการ

ออกอากาศเม่ือวันที่ เดือน พ.ศ.

3) จากเว็บไซต

สรุปความรู

ประโยชนท่ีไดรับ

การนําไปใช

แนวทางท่ีจะปฏิบัติตอไป

Page 176: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ
Page 177: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แบบบันทึกผลการอภิปราย

หัวขอ/ประเด็นอภิปราย

สรุปผล

การนําไปใช

ขอเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพิ่มเติม

Page 178: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แบบประเมินผลงาน

1. แบบประเมินคุณภาพของช้ินงาน

ท่ี ช่ือ–นามสกุล

รายการประเมิน

คะแนน ระดับ

คุณภาพ การ

ออกแบบ

ความ

สวยงาม

ความ

ประณีต

ความคิด

สรางสรรค

5 5 5 5 20

4 = ดีมาก 3 = ดี 2 = พอใช 1 = ควรปรับปรุง

เกณฑการประเมินและระดับคุณภาพ

18–20 หมายถึง ดีมาก

15–17 หมายถึง ด ี

9–14 หมายถึง พอใช

1–8 หมายถึง ควรปรับปรุง

จํานวนนักเรียนที่ผานระดับคุณภาพ คน

จํานวนนักเรียนที่ไมผานระดับคุณภาพ คน

ลงช่ือ ผูประเมิน

Page 179: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ
Page 180: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

2. แบบประเมินการนําเสนอผลงาน

ท่ี

ช่ือ–นามสกุล

รายการประเมิน

คะแนน ระดับ

คุณภาพ

ความ

พรอม

ในการ

นําเสนอ

วิธีการ

นําเสนอ

นาสนใจ

เนื้อหา

ถูกตอง

ครบถวน

การใช

ส่ือ

ประกอบ

การ

ตอบ

คําถาม

ตรง

ประเด็น

4 4 4 4 4 20

4 = ดีมาก 3 = ดี 2 = พอใช 1 = ควรปรับปรุง

เกณฑการประเมินและระดับคุณภาพ

18–20 หมายถึง ดีมาก

15–17 หมายถึง ด ี

9–14 หมายถึง พอใช

1–8 หมายถึง ควรปรับปรุง

จํานวนนักเรียนที่ผานระดับคุณภาพ คน รอยละ

จํานวนนักเรียนที่ไมผานระดับคุณภาพ คน รอยละ

ลงช่ือ ผูประเมิน

Page 181: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ
Page 182: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

เครื่องมือประเมินผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม

การประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม

หนวยการเรียนรูท่ี 1 ระบบสารสนเทศ

สําหรับนักเรียนประเมินตนเอง

คําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความเปนจริง

รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก คะแนน

3 2 1

1. เจตคติท่ีดีตอ

ระบบสารสนเทศ

1. มีความสนใจ เอาใจใส และเต็มใจทํางาน

2. มีความสนุกสนานในการปฏิบัติงาน

3. เห็นประโยชนของการทํางาน

2. ความรับผิดชอบ

1. ทํางานตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย

2. ทํางานสําเร็จ สงงานตรงเวลา

3. ดูแลรักษาอุปกรณคอมพิวเตอรที่ใชในการทํางาน

3. ความขยัน

และอดทน

1. ทํางานดวยตนเอง

2. พยายามทํางานใหเสร็จกอนกําหนด

3. แสวงหาความรูและใฝเรียนรูเก่ียวกับงานที่ทําอยูเสมอ

4. มีมารยาทในการ

ทํางาน

1. รับผิดชอบงานในหนาที่ของตนเอง

2. ใชคําพูดที่สุภาพไพเราะกับเพ่ือนรวมงาน

3. ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน

4. มีน้ําใจชวยเหลือ เผื่อแผ และแบงปนวัสดุอุปกรณแกผูรวมงาน

คะแนนที่ได

คะแนนรวม

ระดับคุณภาพเฉล่ีย

เกณฑการตัดสินคุณภาพ

ชวงคะแนนเฉลี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66

ระดับคุณภาพ 3

ดีมาก, ดี

2

พอใช

1

ควร

ปรับปรุง

สรุประดับคุณภาพดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (เขียนเครื่องหมาย ลงในชอง )

ดีมาก, ดี พอใช ควรปรับปรุง

หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพเฉล่ียหาไดจากการนําคะแนนที่ไดในแตละชองมารวมกันแลวหารดวยจํานวนขอ จากนั้นนําระดับ

คุณภาพเฉล่ียมาเทียบกับเกณฑการตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน

Page 183: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

การประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม

หนวยการเรียนรูท่ี 2 คอมพิวเตอร

สําหรับนักเรียนประเมินตนเอง

คําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความเปนจริง

รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก คะแนน

3 2 1

1. เจตคติท่ีดีตอ

คอมพิวเตอร

1. มีความสนใจ เอาใจใส ตั้งใจ และเต็มใจทํางาน

2. ปฏิบัติงานอยางมีความสุข

3. เห็นประโยชนของการทํางาน

2. ความรับผิดชอบ

1. ทํางานตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย

2. ทํางานสําเร็จ สงงานตรงเวลา

3. ดูแลรักษาอุปกรณคอมพิวเตอรที่ใชในการทํางาน

3. ความขยัน

และอดทน

1. ทํางานดวยตนเอง

2. พยายามทํางานใหเสร็จกอนกําหนด

3. แสวงหาความรูและใฝเรียนรูเก่ียวกับงานที่ทําอยูเสมอ

4. ความรอบคอบ

1. ทํางานดวยความระมัดระวัง และหาวิธีปองกันอันตราย

2. ทบทวนรายละเอียดของงานที่ทาํ

3. ตรวจสอบผลงานที่ทําเสร็จแลว

คะแนนที่ได

คะแนนรวม

ระดับคุณภาพเฉล่ีย

เกณฑการตัดสินคุณภาพ

ชวงคะแนนเฉลี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66

ระดับคุณภาพ 3

ดีมาก, ดี

2

พอใช

1

ควร

ปรับปรุง

สรุประดับคุณภาพดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (เขียนเครื่องหมาย ลงในชอง )

ดีมาก,ดี พอใช ควรปรับปรุง

หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพเฉล่ียหาไดจากการนําคะแนนที่ไดในแตละชองมารวมกันแลวหารดวยจํานวนขอ จากนั้นนําระดับ

คุณภาพเฉล่ียมาเทียบกับเกณฑการตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน

Page 184: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

การประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม

หนวยการเรียนรูท่ี 3 การส่ือสารขอมูล

สําหรับนักเรียนประเมินตนเอง

คําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความเปนจริง

รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก คะแนน

3 2 1

1. เจตคติท่ีดีตอการ

ส่ือสารขอมูล

1. มีความสนใจ เอาใจใส ตั้งใจ และเต็มใจทํางาน

2. ปฏิบัติงานอยางมีความสุข

3. เห็นประโยชนของการทํางาน

2. ความรับผิดชอบ

1. ทํางานตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย

2. ทํางานสําเร็จ สงงานตรงเวลา

3. ดูแลรักษาอุปกรณคอมพิวเตอรที่ใชในการทํางาน

3. ความขยัน

และอดทน

1. ทํางานดวยตนเอง

2. พยายามทํางานใหเสร็จกอนกําหนด

3. แสวงหาความรูและใฝเรียนรูเก่ียวกับงานที่ทําอยูเสมอ

4. ความรอบคอบ

1. ทํางานดวยความระมัดระวัง และหาวิธีปองกันอันตราย

2. ทบทวนรายละเอียดของงานที่ทาํ

3. ตรวจสอบผลงานที่ทําเสร็จแลว

5. มีมารยาทในการ

ทํางาน

1. รับผิดชอบงานในหนาที่ของตนเอง

2. ใชคําพูดที่สุภาพไพเราะกับเพ่ือนรวมงาน

3. ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน

4. มีน้ําใจชวยเหลือ เผื่อแผ และแบงปนวัสดุอุปกรณแกผูรวมงาน

คะแนนที่ได

คะแนนรวม

ระดับคุณภาพเฉล่ีย

เกณฑการตัดสินคุณภาพ

ชวงคะแนนเฉลี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66

ระดับคุณภาพ 3

ดีมาก, ดี

2

พอใช

1

ควร

ปรับปรุง

สรุประดับคุณภาพดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (เขียนเครื่องหมาย ลงในชอง )

ดีมาก, ดี พอใช ควรปรับปรุง

Page 185: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพเฉล่ียหาไดจากการนําคะแนนที่ไดในแตละชองมารวมกันแลวหารดวยจํานวนขอ จากนั้นนําระดับ

คุณภาพเฉล่ียมาเทียบกับเกณฑการตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน

Page 186: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

การประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม

หนวยการเรียนรูท่ี 4 อินเทอรเน็ต

สําหรับนักเรียนประเมินตนเอง

คําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนเคร่ืองหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความเปนจริง

รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก คะแนน

3 2 1

1. เจตคติท่ีดีตอ

อินเทอรเน็ต

1. มีความกระตือรือรนในการทํางาน

2. ปฏิบัติงานอยางมีความสุข

3. เห็นประโยชนของการทํางาน

2. มีมารยาทในการ

ทํางาน

1. รับผิดชอบงานในหนาที่ของตนเอง

2. ใชคําพูดที่สุภาพไพเราะกับเพ่ือนรวมงาน

3. ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน

4. มีน้ําใจชวยเหลือ เผื่อแผ และแบงปนวัสดุอุปกรณแกผูรวมงาน

3. ความขยัน

และอดทน

1. ทํางานดวยตนเอง

2. พยายามทํางานใหเสร็จกอนกําหนด

3. แสวงหาความรูเก่ียวกับงานที่ทําอยูเสมอ

4. ความรอบคอบ

1. ทํางานดวยความระมัดระวัง และหาวิธีปองกันอันตราย

2. ทบทวนรายละเอียดของงานที่ทาํ

3. ตรวจสอบผลงานที่ทําเสร็จแลว

5. อนุรักษ

ส่ิงแวดลอม

1. ใชพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติอยางประหยัดและคุมคา

2. แยกและทิ้งขยะดวยวิธีการที่ถูกตอง

6. ใสใจสวนรวม 1. เสียสละ มีน้ําใจ และรูจักชวยเหลือผูอ่ืน

2. เห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตน

3. ดูแลรักษาสถานที่และสาธารณสมบัติ

คะแนนที่ได

คะแนนรวม

ระดับคุณภาพเฉล่ีย

เกณฑการตัดสินคุณภาพ

ชวงคะแนนเฉลี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66

ระดับคุณภาพ 3

ดีมาก, ดี

2

พอใช

1

ควร

ปรับปรุง

สรุประดับคุณภาพดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (เขียนเครื่องหมาย ลงในชอง )

Page 187: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ดีมาก, ดี พอใช ควรปรับปรุง

หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพเฉล่ียหาไดจากการนําคะแนนที่ไดในแตละชองมารวมกันแลวหารดวยจํานวนขอ จากนั้นนําระดับ

คุณภาพเฉล่ียมาเทียบกับเกณฑการตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน

Page 188: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

การประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม

หนวยการเรียนรูท่ี 5 โครงงานคอมพิวเตอร

สําหรับนักเรียนประเมินตนเอง

คําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความเปนจริง

รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก คะแนน

3 2 1

1. เจตคติท่ีดีตอ

โครงงาน

คอมพิวเตอร

1. มีความกระตือรือรนในการทํางาน

2. ปฏิบัติงานอยางมีความสุข

3. เห็นประโยชนของการทํางาน

2. ความรับผิดชอบ

1. ทํางานตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย

2. ทํางานสําเร็จ สงงานตรงเวลา

3. ดูแลรักษาอุปกรณคอมพิวเตอรที่ใชในการทํางาน

3. ความขยัน

และอดทน

1. ทํางานดวยตนเอง

2. พยายามทํางานใหเสร็จกอนกําหนด

3. แสวงหาความรูเก่ียวกับงานที่ทําอยูเสมอ

4. ความรอบคอบ

1. ทํางานดวยความระมัดระวัง และหาวิธีปองกันอันตราย

2. ทบทวนรายละเอียดของงานที่ทาํ

3. ตรวจสอบผลงานที่ทําเสร็จแลว

5. มีความคิดริเริ่ม

สรางสรรค

1. มีความคิดริเริ่มสรางผลงานใหม ๆ

2. ออกแบบช้ินงานแตกตางจากผูอ่ืน

3. ตกแตงและดัดแปลงงานไดหลายแบบ

4. ทํางานตาง ๆ ดวยคามละเอียดลออ

คะแนนที่ได

คะแนนรวม

ระดับคุณภาพเฉล่ีย

เกณฑการตัดสินคุณภาพ

ชวงคะแนนเฉลี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66

ระดับคุณภาพ 3

ดีมาก, ดี

2

พอใช

1

ควร

ปรับปรุง

สรุประดับคุณภาพดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (เขียนเครื่องหมาย ลงในชอง )

ดีมาก, ดี พอใช ควรปรับปรุง

หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพเฉล่ียหาไดจากการนําคะแนนที่ไดในแตละชองมารวมกันแลวหารดวยจํานวนขอ จากนั้นนําระดับ

Page 189: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

คุณภาพเฉล่ียมาเทียบกับเกณฑการตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน

Page 190: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

การประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม

หนวยการเรียนรูท่ี 6 จริยธรรมและความปลอดภัย

สําหรับนักเรียนประเมินตนเอง

คําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความเปนจริง

รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก คะแนน

3 2 1

1. เจตคติท่ีดีตอ

จริยธรรมและ

ความปลอดภัย

1. มีความกระตือรือรนในการทํางาน

2. ปฏิบัติงานอยางมีความสุข

3. เห็นประโยชนของการทํางาน

2. ความรับผิดชอบ

1. ทํางานตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย

2. ทํางานสําเร็จ สงงานตรงเวลา

3. ดูแลรักษาอุปกรณคอมพิวเตอรที่ใชในการทํางาน

3. ใสใจสวนรวม 1. เสียสละ มีน้ําใจ และรูจักชวยเหลือผูอ่ืน

2. เห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตน

3. ดูแลรักษาสถานที่และสาธารณสมบัติ

4. มีมารยาทในการ

ทํางาน

1. รับผิดชอบงานในหนาที่ของตนเอง

2. ใชคําพูดที่สุภาพไพเราะกับเพ่ือนรวมงาน

3. ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน

4. มีน้ําใจชวยเหลือ เผื่อแผ และแบงปนวัสดุอุปกรณแกผูรวมงาน

คะแนนที่ได

คะแนนรวม

ระดับคุณภาพเฉล่ีย

เกณฑการตัดสินคุณภาพ

ชวงคะแนนเฉลี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66

ระดับคุณภาพ 3

ดีมาก, ดี

2

พอใช

1

ควร

ปรับปรุง

สรุประดับคุณภาพดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (เขียนเครื่องหมาย ลงในชอง )

ดีมาก, ดี พอใช ควรปรับปรุง

หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพเฉล่ียหาไดจากการนําคะแนนที่ไดในแตละชองมารวมกันแลวหารดวยจํานวนขอ จากนั้นนําระดับ

คุณภาพเฉล่ียมาเทียบกับเกณฑการตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน

Page 191: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

การประเมินดานทักษะ/กระบวนการ

หนวยการเรียนรูท่ี 1 ระบบสารสนเทศ

สําหรับนักเรียนประเมินตนเอง

คําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความเปนจริง

รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก คะแนน

3 2 1

1. ทักษะในการ

ทํางานดานระบบ

สารสนเทศ

1. รวบรวม ตรวจสอบความถูกตอง และจัดเก็บขอมูลจากแหลงการ

เรียนรู

2. มีการจัดการขอมูลและประมวลผลขอมูลดวยคอมพิวเตอร

3. มีการเก็บรักษาขอมูลอยางปลอดภัย

4. มีการเผยแพรสารสนเทศโดยใชอุปกรณคอมพิวเตอร

2. ทักษะการจัดการ 1. การวางแผนการทํางาน

2. ทํางานตามกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. มีทักษะในการทํางานแบบประหยัด

4. ทํางานโดยรูจักอนุรักษพลังงานและส่ิงแวดลอม

5. มีทักษะในการแกปญหาในขณะปฏิบัติงาน

3. ทักษะการ

นําเสนอผลงาน

1. นําเสนอผลงานดวยรูปแบบที่เหมาะสม

2. มีทักษะในการดึงดูดความสนใจในการนําเสนอผลงาน

3. มีบุคลิกภาพที่ดีในขณะที่นําเสนอผลงาน

4. ทักษะการ

แสวงหาความรู

1. คนหาขอมูลจากแหลงขอมูลที่หลากหลายและเช่ือถือได

2. รวบรวมขอมูลและความรูเปนหมวดหมู

3. สังเกตส่ิงตาง ๆ รอบตัวเพ่ือเลือกใชใหเหมาะกับงาน

4. สํารวจขอมูลและเก็บรวบรวมไวเพ่ือใชประโยชน

5. บันทึกเก่ียวกับขอมูลที่พบเห็นเปนประจํา

คะแนนที่ได

คะแนนรวม

ระดับคุณภาพเฉล่ีย

เกณฑการตัดสินคุณภาพ

ชวงคะแนนเฉลี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66

ระดับคุณภาพ 3

ดีมาก, ดี

2

พอใช

1

ควร

ปรับปรุง

สรุประดับคุณภาพดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (เขียนเครื่องหมาย ลงในชอง )

Page 192: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ดีมาก, ดี พอใช ควรปรับปรุง

หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพเฉล่ียหาไดจากการนําคะแนนที่ไดในแตละชองมารวมกันแลวหารดวยจํานวนขอ จากนั้นนําระดับ

คุณภาพเฉล่ียมาเทียบกับเกณฑการตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน

Page 193: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

การประเมินดานทักษะ/กระบวนการ

หนวยการเรียนรูท่ี 2 คอมพิวเตอร

สําหรับนักเรียนประเมินตนเอง

คําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความเปนจริง

รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก คะแนน

3 2 1

1. ทักษะในการ

ทํางานดาน

คอมพิวเตอร

1. รวบรวม ตรวจสอบความถูกตอง และจัดเก็บขอมูลจากแหลงการ

เรียนรู

2. มีการจัดการขอมูลและประมวลผลขอมูลดวยคอมพิวเตอร

3. มีการเก็บรักษาขอมูลอยางปลอดภัย

4. มีการเผยแพรสารสนเทศโดยใชอุปกรณคอมพิวเตอร

2. ทักษะการจัดการ 1. การวางแผนการทํางาน

2. ทํางานตามกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. มีทักษะในการทํางานแบบประหยัด

4. ทํางานโดยรูจักอนุรักษพลังงานและส่ิงแวดลอม

5. มีทักษะในการแกปญหาในขณะปฏิบัติงาน

3. ทักษะการทํางาน

กลุม

1. ทํางานตามบทบาทหนาที่ในกลุม

2. แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับงานที่ทํา

3. ทํางานรวมกับผูอ่ืนและใหความรวมมือกับกลุม

4. นําเสนองาน ประเมินผล และปรับปรุงงานของกลุม

4. ทักษะการใช

เทคโนโลยี

1. เลือกใชเทคโนโลยีไดเหมาะสมกับการทํางาน

2. รูและใชงานเทคโนโลยีไดอยางถูกตอง

3. ใชเทคโนโลยีสงเสริมการทํางานของตนเองและกลุมไดอยาง

เหมาะสม

4. ใชเทคโนโลยีโดยคํานึงถึงจริยธรรม

คะแนนที่ได

คะแนนรวม

ระดับคุณภาพเฉล่ีย

เกณฑการตัดสินคุณภาพ

ชวงคะแนนเฉลี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66

ระดับคุณภาพ 3

ดีมาก, ดี

2

พอใช

1

ควร

ปรับปรุง

สรุประดับคุณภาพดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (เขียนเครื่องหมาย ลงในชอง )

Page 194: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ดีมาก, ดี พอใช ควรปรับปรุง

หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพเฉล่ียหาไดจากการนําคะแนนที่ไดในแตละชองมารวมกันแลวหารดวยจํานวนขอ จากนั้นนําระดับ

คุณภาพเฉล่ียมาเทียบกับเกณฑการตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน

Page 195: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

การประเมินดานทักษะ/กระบวนการ

หนวยการเรียนรูท่ี 3 การส่ือสารขอมูล

สําหรับนักเรียนประเมินตนเอง

คําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความเปนจริง

รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก คะแนน

3 2 1

1. ทักษะในการ

ส่ือสารขอมูล

1. รวบรวม ตรวจสอบความถูกตอง และจัดเก็บขอมูลจากแหลงการ

เรียนรู

2. มีการจัดการขอมูลและประมวลผลขอมูลดวยคอมพิวเตอร

3. มีการเก็บรักษาขอมูลอยางปลอดภัย

4. มีการเผยแพรสารสนเทศโดยใชอุปกรณคอมพิวเตอร

2. ทักษะการจัดการ 1. การวางแผนการทํางาน

2. ทํางานตามกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. มีทักษะในการทํางานแบบประหยัด

4. ทํางานโดยรูจักอนุรักษพลังงานและส่ิงแวดลอม

5. มีทักษะในการแกปญหาในขณะปฏิบัติงาน

3. ทักษะการทํางาน

กลุม

1. ทํางานตามบทบาทหนาที่ในกลุม

2. แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับงานที่ทํา

3. ทํางานรวมกับผูอ่ืนและใหความรวมมือกับกลุม

4. นําเสนองาน ประเมินผล และปรับปรุงงานของกลุม

4. ทักษะการ

นําเสนอผลงาน

1. นําเสนอผลงานดวยรูปแบบที่เหมาะสม

2. มีทักษะในการดึงดูดความสนใจในการนําเสนอผลงาน

3. มีบุคลิกภาพที่ดีในขณะที่นําเสนอผลงาน

5. ทักษะการ

แสวงหาความรู

1. คนหาขอมูลจากแหลงขอมูลที่หลากหลายและเช่ือถือได

2. รวบรวมขอมูลและความรูเปนหมวดหมู

3. สังเกตส่ิงตาง ๆ รอบตัวเพ่ือเลือกใชใหเหมาะกับงาน

4. สํารวจขอมูลและเก็บรวบรวมไวเพ่ือใชประโยชน

5. บันทึกเก่ียวกับขอมูลที่พบเห็นเปนประจํา

คะแนนที่ได

คะแนนรวม

ระดับคุณภาพเฉล่ีย

เกณฑการตัดสินคุณภาพ

ชวงคะแนนเฉลี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66

ระดับคุณภาพ 3 2 1

Page 196: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ดีมาก, ดี พอใช ควร

ปรับปรุง

สรุประดับคุณภาพดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (เขียนเครื่องหมาย ลงในชอง )

ดีมาก, ดี พอใช ควรปรับปรุง

หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพเฉล่ียหาไดจากการนําคะแนนที่ไดในแตละชองมารวมกันแลวหารดวยจํานวนขอ จากนั้นนําระดับ

คุณภาพเฉล่ียมาเทียบกับเกณฑการตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน

Page 197: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

การประเมินดานทักษะ/กระบวนการ

หนวยการเรียนรูท่ี 4 อินเทอรเน็ต

สําหรับนักเรียนประเมินตนเอง

คําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความเปนจริง

รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก คะแนน

3 2 1

1. ทักษะในการ

ทํางานดาน

อินเทอรเน็ต

1. รวบรวม ตรวจสอบความถูกตอง และจัดเก็บขอมูลจากแหลงการ

เรียนรู

2. มีการจัดการขอมูลและประมวลผลขอมูลดวยคอมพิวเตอร

3. มีการเก็บรักษาขอมูลอยางปลอดภัย

4. มีการเผยแพรสารสนเทศโดยใชอุปกรณคอมพิวเตอร

2. ทักษะการจัดการ 1. การวางแผนการทํางาน

2. ทํางานตามกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. มีทักษะในการทํางานแบบประหยัด

4. ทํางานโดยรูจักอนุรักษพลังงานและส่ิงแวดลอม

5. มีทักษะในการแกปญหาในขณะปฏิบัติงาน

3. ทักษะการทํางาน

กลุม

1. ทํางานตามบทบาทหนาที่ในกลุม

2. แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับงานที่ทํา

3. ทํางานรวมกับผูอ่ืนและใหความรวมมือกับกลุม

4. นําเสนองาน ประเมินผล และปรับปรุงงานของกลุม

4. ทักษะการใช

เทคโนโลยี

1. เลือกใชเทคโนโลยีไดเหมาะสมกับการทํางาน

2. รูและใชงานเทคโนโลยีไดอยางถูกตอง

3. ใชเทคโนโลยีสงเสริมการทํางานของตนเองและกลุมไดอยาง

เหมาะสม

4. ใชเทคโนโลยีโดยคํานึงถึงจริยธรรม

5. ทักษะการ

แสวงหาความรู

1. คนหาขอมูลจากแหลงขอมูลที่หลากหลายและเช่ือถือได

2. รวบรวมขอมูลและความรูเปนหมวดหมู

3. สังเกตส่ิงตาง ๆ รอบตัวเพ่ือเลือกใชใหเหมาะกับงาน

4. สํารวจขอมูลและเก็บรวบรวมไวเพ่ือใชประโยชน

5. บันทึกเก่ียวกับขอมูลที่พบเห็นเปนประจํา

คะแนนที่ได

คะแนนรวม

ระดับคุณภาพเฉล่ีย

เกณฑการตัดสินคุณภาพ

Page 198: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ชวงคะแนนเฉลี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66

ระดับคุณภาพ 3

ดีมาก, ดี

2

พอใช

1

ควร

ปรับปรุง

สรุประดับคุณภาพดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (เขียนเครื่องหมาย ลงในชอง )

ดีมาก, ดี พอใช ควรปรับปรุง

หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพเฉล่ียหาไดจากการนําคะแนนที่ไดในแตละชองมารวมกันแลวหารดวยจํานวนขอ จากนั้นนําระดับ

คุณภาพเฉล่ียมาเทียบกับเกณฑการตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน

การประเมินดานทักษะ/กระบวนการ

หนวยการเรียนรูท่ี 5 โครงงานคอมพิวเตอร

สําหรับนักเรียนประเมินตนเอง

คําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความเปนจริง

รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก คะแนน

3 2 1

1. ทักษะในการทํา

โครงงาน

คอมพิวเตอร

1. รวบรวม ตรวจสอบความถูกตอง และจัดเก็บขอมูลจากแหลงการ

เรียนรู

2. มีการจัดการขอมูลและประมวลผลขอมูลดวยคอมพิวเตอร

3. มีการเก็บรักษาขอมูลอยางปลอดภัย

4. มีการเผยแพรสารสนเทศโดยใชอุปกรณคอมพิวเตอร

2. ทักษะการจัดการ 1. การวางแผนการทํางาน

2. ทํางานตามกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. มีทักษะในการทํางานแบบประหยัด

4. ทํางานโดยรูจักอนุรักษพลังงานและส่ิงแวดลอม

5. มีทักษะในการแกปญหาในขณะปฏิบัติงาน

3. ทักษะการทํางาน

กลุม

1. ทํางานตามบทบาทหนาที่ในกลุม

2. แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับงานที่ทํา

3. ทํางานรวมกับผูอ่ืนและใหความรวมมือกับกลุม

4. นําเสนองาน ประเมินผล และปรับปรุงงานของกลุม

4. ทักษะการใช 1. เลือกใชเทคโนโลยีไดเหมาะสมกับการทํางาน

2. รูและใชงานเทคโนโลยีไดอยางถูกตอง

Page 199: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

เทคโนโลยี 3. ใชเทคโนโลยีสงเสริมการทํางานของตนเองและกลุมไดอยาง

เหมาะสม

4. ใชเทคโนโลยีโดยคํานึงถึงจริยธรรม

5. ทักษะการ

แสวงหาความรู

1. คนหาขอมูลจากแหลงขอมูลที่หลากหลายและเช่ือถือได

2. รวบรวมขอมูลและความรูเปนหมวดหมู

3. สังเกตส่ิงตาง ๆ รอบตัวเพ่ือเลือกใชใหเหมาะกับงาน

4. สํารวจขอมูลและเก็บรวบรวมไวเพ่ือใชประโยชน

5. บันทึกเก่ียวกับขอมูลที่พบเห็นเปนประจํา

คะแนนที่ได

คะแนนรวม

ระดับคุณภาพเฉล่ีย

เกณฑการตัดสินคุณภาพ

ชวงคะแนนเฉลี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66

ระดับคุณภาพ 3

ดีมาก, ดี

2

พอใช

1

ควร

ปรับปรุง

สรุประดับคุณภาพดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (เขียนเครื่องหมาย ลงในชอง )

ดีมาก, ดี พอใช ควรปรับปรุง

หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพเฉล่ียหาไดจากการนําคะแนนที่ไดในแตละชองมารวมกันแลวหารดวยจํานวนขอ จากนั้นนําระดับ

คุณภาพเฉล่ียมาเทียบกับเกณฑการตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน

Page 200: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

การประเมินดานทักษะ/กระบวนการ

หนวยการเรียนรูท่ี 6 จริยธรรมและความปลอดภัย

สําหรับนักเรียนประเมินตนเอง

คําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความเปนจริง

รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก คะแนน

3 2 1

1. ทักษะในการ

ทํางานดาน

จริยธรรมและ

ความปลอดภัย

1. รวบรวม ตรวจสอบความถูกตอง และจัดเก็บขอมูลจากแหลงการ

เรียนรู

2. มีการจัดการขอมูลและประมวลผลขอมูลดวยคอมพิวเตอร

3. มีการเก็บรักษาขอมูลอยางปลอดภัย

4. มีการเผยแพรสารสนเทศโดยใชอุปกรณคอมพิวเตอร

2. ทักษะการจัดการ 1. การวางแผนการทํางาน

2. ทํางานตามกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. มีทักษะในการทํางานแบบประหยัด

4. ทํางานโดยรูจักอนุรักษพลังงานและส่ิงแวดลอม

5. มีทักษะในการแกปญหาในขณะปฏิบัติงาน

3. ทักษะการทํางาน

กลุม

1. ทํางานตามบทบาทหนาที่ในกลุม

2. แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับงานที่ทํา

3. ทํางานรวมกับผูอ่ืนและใหความรวมมือกับกลุม

4. นําเสนองาน ประเมินผล และปรับปรุงงานของกลุม

4. ทักษะการใช

เทคโนโลยี

1. เลือกใชเทคโนโลยีไดเหมาะสมกับการทํางาน

2. รูและใชงานเทคโนโลยีไดอยางถูกตอง

3. ใชเทคโนโลยีสงเสริมการทํางานของตนเองและกลุมไดอยาง

เหมาะสม

4. ใชเทคโนโลยีโดยคํานึงถึงจริยธรรม

5. ทักษะการ

แสวงหาความรู

1. คนหาขอมูลจากแหลงขอมูลที่หลากหลายและเช่ือถือได

2. รวบรวมขอมูลและความรูเปนหมวดหมู

3. สังเกตส่ิงตาง ๆ รอบตัวเพ่ือเลือกใชใหเหมาะกับงาน

4. สํารวจขอมูลและเก็บรวบรวมไวเพ่ือใชประโยชน

5. บันทึกเก่ียวกับขอมูลที่พบเห็นเปนประจํา

คะแนนที่ได

คะแนนรวม

ระดับคุณภาพเฉล่ีย

เกณฑการตัดสินคุณภาพ

Page 201: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ชวงคะแนนเฉลี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66

ระดับคุณภาพ 3

ดีมาก, ดี

2

พอใช

1

ควร

ปรับปรุง

สรุประดับคุณภาพดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (เขียนเครื่องหมาย ลงในชอง )

ดีมาก, ดี พอใช ควรปรับปรุง

หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพเฉล่ียหาไดจากการนําคะแนนที่ไดในแตละชองมารวมกันแลวหารดวยจํานวนขอ จากนั้นนําระดับ

คุณภาพเฉล่ียมาเทียบกับเกณฑการตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน

Page 202: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

เครื่องมือประเมินสมรรถนะและภาระงานของนักเรียนโดยใชมิติคุณภาพ (Rubrics)

กระบวนการทํางาน เปนการลงมือทํางานดวยตนเอง โดยมุงเนนการฝกวิธีการทํางานอยางสมํ่าเสมอ ทั้งการทํางานเปน

รายบุคคล และการทํางานเปนกลุม เพ่ือใหสามารถทํางานไดบรรลุเปาหมาย โดยขั้นตอนของกระบวนการทํางาน ไดแก การ

วิเคราะหงาน การวางแผนการทํางาน การปฏิบัติงาน และการประเมินผลการทํางาน

ตัวอยาง

แบบประเมินการทํางานตามกระบวนการทํางาน

เรื่อง กลุมท่ี

ภาคเรียนท่ี ช้ัน

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

1 2 3 4

1. การวิเคราะหงาน

2. การวางแผนในการทํางาน

3. การปฏิบัติงาน

4. การประเมินผลการทํางาน

เกณฑการประเมิน แยกตามขั้นตอนของกระบวนการทํางาน 4 ขั้นตอน ดังนี ้

1. การวิเคราะหงาน

4 หมายถึง วิเคราะหรายละเอียดของงานไดครบถวนไดดวยตนเอง

3 หมายถึง วิเคราะหรายละเอียดของงานไดครบถวนและตองการความชวยเหลือจากครูเปนบางครั้ง

2 หมายถึง วิเคราะหรายละเอียดของงานไดครบถวน แตตองไดรับความชวยเหลือจากครูบอยครั้ง

1 หมายถึง วิเคราะหรายละเอียดของงานไมครบถวน ตองการความชวยเหลือจากครูตลอดเวลา

2. การวางแผนในการทํางาน

4 หมายถึง กําหนดวิธีการทํางานตามลําดับกอน–หลังไดถูกตองเหมาะสมกับเวลาที่กําหนดไดดวยตนเอง

3 หมายถึง กําหนดวิธีการทํางานตามลําดับกอน–หลังไดถูกตองเหมาะสมกับเวลาที่กําหนดไดและตองการความชวยเหลือ

จากครูเปนบางครั้ง

2 หมายถึง กําหนดวิธีการทํางานตามลําดับกอน–หลังไดถูกตองแตใชเวลาเกินที่กําหนดและตองการความชวยเหลือจาก

ครู

1 หมายถึง กําหนดวิธีการทํางานตามลําดับกอน–หลังไดไมถูกตองและไมเหมาะสมกับเวลาที่กําหนดจึงตองการความ

ชวยเหลือจากครูตลอดเวลา

Page 203: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

3. การปฏิบัติงาน

4 หมายถึง ปฏิบัติงานตามแผนที่วางไวไดอยางถูกตอง รวดเร็ว และปลอดภัย

3 หมายถึง ปฏิบัติงานตามแผนที่วางไวไดอยางถูกตองและปลอดภัย

2 หมายถึง ปฏิบัติงานตามแผนที่วางไวไดอยางถูกตอง แตตองมีครูคอยดูแลและแนะนําเปนบางครั้ง

1 หมายถึง ปฏิบัติงานตามแผนที่วางไวไดอยางถูกตอง แตตองมีครูคอยดูแลและแนะนําบอยครั้ง

4. การประเมินผลการทํางาน

4 หมายถึง ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานและปรับปรุงแกไขขอบกพรองในการปฏิบัติงานไดดวยตนเอง

3 หมายถึง ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานและปรับปรุงแกไขขอบกพรองในการปฏิบัติงานไดแตตองมีครูคอยดูแลและ

แนะนําเปนบางครั้ง

2 หมายถึง ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานและปรับปรุงแกไขขอบกพรองในการปฏิบัติงานไดแตตองมีครูคอยดูแลและ

แนะนําบอยครั้ง

1 หมายถึง ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานและปรับปรุงแกไขขอบกพรองในการปฏิบัติงานไดบางและตองมีครูคอยดูแล

และแนะนําตลอดเวลา

ทักษะกระบวนการเทคโนโลยี เปนกระบวนการที่เก่ียวของกับการคิดแกปญหา การคิดริเริ่มสรางสรรค การออกแบบ

เพ่ือนําไปสูการประดิษฐและการปฏิบัติที่ทําใหมนุษยใชสอยประโยชนไดตามความตองการ และชวยเพ่ิมพูนประสิทธิภาพในการ

ทํากิจกรรมตาง ๆ อีกดวย ขั้นตอนของกระบวนการเทคโนโลยีมี 6 ขั้นตอน ไดแก กําหนดปญหาหรือความตองการ รวบรวม

ขอมูล เลือกวิธีการแกปญหา ออกแบบและปฏิบัต ิประเมินผล และปรับปรุงหรือพัฒนา

ตัวอยาง

แบบประเมินการทํางานตามกระบวนการเทคโนโลยี

เรื่อง กลุมท่ี

ภาคเรียนท่ี ช้ัน

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

1 2 3 4

1. กําหนดปญหาหรือความตองการ

2. รวบรวมขอมูล

3. เลือกวิธีการแกปญหา

4. ออกแบบและปฏิบัต ิ

5. ประเมินผล

6. ปรับปรุงหรือพัฒนา

Page 204: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

เกณฑการประเมิน แยกตามขั้นตอนของกระบวนการเทคโนโลยีมี 6 ขั้นตอน ดังนี ้

1. กําหนดปญหาหรือความตองการ

4 หมายถึง กําหนดปญหาหรือความตองการดวยตนเองไดตรงประเด็น ชัดเจน และเหมาะสมกับเวลาไดดีมาก

3 หมายถึง กําหนดปญหาหรือความตองการดวยตนเองไดตรงประเด็น ชัดเจน และเหมาะสมกับเวลาไดดี

2 หมายถึง กําหนดปญหาหรือความตองการดวยตนเองไดตรงประเด็น ชัดเจน และเหมาะสมกับเวลาไดพอใช

1 หมายถึง กําหนดปญหาหรือความตองการดวยตนเองไดตรงประเด็น เหมาะสม แตตองไดรับคําแนะนําจากครู

2. รวบรวมขอมูล

4 หมายถึง มีการศึกษาคนควาขอมูลหรือขอเท็จจริงที่เก่ียวของกับปญหาหรือความตองการอยางชัดเจนและครอบคลุม

3 หมายถึง มีการศึกษาคนควาขอมูลหรือขอเท็จจริงที่เก่ียวของกับปญหาหรือความตองการแตยังไมครอบคลุม

2 หมายถึง มีการศึกษาคนควาขอมูลหรือขอเท็จจริงที่เก่ียวของกับปญหาหรือความตองการเพียงบางสวน

1 หมายถึง มีการศึกษาคนควาขอมูลหรือขอเท็จจริงที่ไมเก่ียวของกับปญหาหรือความตองการ

3. เลือกวิธีการแกปญหา

4 หมายถึง วิเคราะหขอดี–ขอเสียของแตละวิธีไดถูกตองและตัดสินใจเลือกวิธีการแกปญหาไดดีที่สุดไดดวยตนเอง

3 หมายถึง วิเคราะหขอดี–ขอเสียของแตละวิธีไดถูกตองและตัดสินใจเลือกวิธีการแกปญหาที่ดีไดดวยตนเอง

2 หมายถึง วิเคราะหขอดี –ขอเสียของแตละวิธีไดถูกตองแตตองมีครูคอยแนะนําในการตัดสินใจเลือกวิธีการแกปญหาใน

บางครั้ง

1 หมายถึง วิเคราะหขอดี –ขอเสียของแตละวิธีและตัดสินใจเลือกวิธีการแกปญหาไมไดเลย

4. ออกแบบและปฏิบัติ

4 หมายถึง ออกแบบช้ินงานไดตรงกับความตองการและดําเนินการสรางช้ินงานไดถูกตองครบถวน

3 หมายถึง ออกแบบช้ินงานไดตรงกับความตองการและดําเนินการสรางช้ินงานไดถูกตองเปนสวนใหญ

2 หมายถึง ออกแบบช้ินงานไดตรงกับความตองการและดําเนินการสรางช้ินงานไดถูกตองเปนบางสวน

1 หมายถึง ออกแบบช้ินงานไดตรงกับความตองการและดําเนินการสรางช้ินงานไดไมเหมาะสม

Page 205: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

5. ประเมินผล

4 หมายถึง วิเคราะหขอดี–ขอเสียของช้ินงานไดถูกตอง ตรงประเด็น และรวดเร็วไดดวยตนเอง

3 หมายถึง วิเคราะหขอดี–ขอเสียของช้ินงานไดถูกตองและตรงประเด็น แตตองมีครูคอย

ดูแลและแนะนําเปนบางคร้ัง

2 หมายถึง วิเคราะหขอดี–ขอเสียของช้ินงานไดถูกตองแตตองไดรับความชวยเหลือจาก

ครูบอยคร้ัง

1 หมายถึง วิเคราะหขอดี–ขอเสียของช้ินงานไดแตตองไดรับความชวยเหลือจาก

ครูตลอดเวลา

6. ปรับปรุงหรือพัฒนา

4 หมายถึง ดําเนินการปรับปรุงหรือพัฒนาจุดบกพรองของช้ินงานไดถูกตองและเหมาะสมกับเวลาไดดวยตนเอง

3 หมายถึง ดําเนินการปรับปรุงหรือพัฒนาจุดบกพรองของช้ินงานไดถูกตองและเหมาะสมกับเวลาไดแตตองมีครูคอย

ดูแลและแนะนําเปนบางครั้ง

2 หมายถึง ดําเนินการปรับปรุงหรือพัฒนาจุดบกพรองของช้ินงานไดถูกตองและเหมาะสมกับเวลาไดดวยตนเองแตตอง

ไดรับความชวยเหลือจากครูบอยครั้ง

1 หมายถึง ดําเนินการปรับปรุงหรือพัฒนาจุดบกพรองของช้ินงานไมไดเลยจึงตองการความชวยเหลือจากครูตลอดเวลา

ทักษะการจัดการ เปนความพยายามของบุคคลที่จะจัดระบบงาน (ทํางานเปนรายบุคคล) และจัดระบบคน (ทํางานเปน

กลุม) เพ่ือใหทํางานสําเร็จตามเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ ซ่ึงทักษะการจัดการ เปนวิธีการหรือรูปแบบในการปฏิบัติงานเพ่ือให

เกิดประโยชนสูงสุด ซ่ึงประกอบดวยขั้นตอนการตั้งเปาหมาย การวิเคราะหทรัพยากร การวางแผนและการกําหนดทรัพยากร การ

ปฏิบัติตามแผนและการปรับแผน การประเมินผล

Page 206: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ตัวอยาง

แบบประเมินทักษะการจัดการ

เรื่อง กลุมท่ี

ภาคเรียนท่ี ช้ัน

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

1 2 3 4

1. การตั้งเปาหมาย

2. การวิเคราะหทรัพยากร

3. การวางแผนและการกําหนดทรัพยากร

4. การปฏิบัติตามแผนและการปรับแผน

5. การประเมินผล

เกณฑการประเมิน แยกตามขั้นตอนของทักษะการจัดการมี 5 ขั้นตอน ดังนี ้

1. การตั้งเปาหมาย

4 หมายถึง กําหนดเปาหมายสอดคลองกับความตองการดวยตนเองไดตรงประเด็น ชัดเจน และเหมาะสมกับเวลาไดดีมาก

3 หมายถึง กําหนดเปาหมายสอดคลองกับความตองการดวยตนเองไดตรงประเด็น ชัดเจน และเหมาะสมกับเวลาไดดี

2 หมายถึง กําหนดเปาหมายสอดคลองกับความตองการดวยตนเองไดตรงประเด็น ชัดเจน และเหมาะสมกับเวลาไดพอใช

1 หมายถึง กําหนดเปาหมายสอดคลองกับความตองการดวยตนเองไดตรงประเด็น เหมาะสม แตตองไดรับคําแนะนําจาก

ครู

2. การวิเคราะหทรัพยากร

4 หมายถึง วิเคราะหรายละเอียดของทรัพยากรไดครบถวน ชัดเจน และถูกตองไดดวยตนเอง

3 หมายถึง วิเคราะหรายละเอียดของทรัพยากรไดครบถวนและถูกตอง แตตองไดรับคําแนะนําและความชวยเหลือจากครู

เปนบางครั้ง

2 หมายถึง วิเคราะหรายละเอียดของทรัพยากรไดครบถวน แตตองไดรับความชวยเหลือจากครูบอยครั้ง

1 หมายถึง วิเคราะหรายละเอียดของทรัพยากรไดไมครบถวน ตองการความชวยเหลือจากครูตลอดเวลา

3. การวางแผนและการกําหนดทรัพยากร

4 หมายถึง วางแผนการทํางานไดถูกตอง ชัดเจน เหมาะสมกับเวลา และเลือกใชทรัพยากรที่มีอยูไดถูกตอง เหมาะสม และ

คุมคาไดดวยตนเอง

3 หมายถึง วางแผนการทํางานไดถูกตอง ชัดเจน เหมาะสมกับเวลา แตการเลือกใชทรัพยากรที่มีอยูยังไมถูกตอง

เหมาะสม และคุมคา

2 หมายถึง วางแผนการทํางานไดถูกตอง เหมาะสมกับเวลา แตการเลือกใชทรัพยากรที่มีอยูไมถูกตองและคุมคาจึงตอง

ไดรับคําแนะนําบอยครั้ง

1 หมายถึง ไมสามารถวางแผนการทํางานและเลือกใชทรัพยากรไดไมถูกตอง และเหมาะสมกับเวลา จึงตองไดรับ

คําแนะนําอยูตลอดเวลา

4. การปฏิบัติตามแผนและการปรับแผน

Page 207: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

4 หมายถึง ดําเนินการและใชทรัพยากรตามแผนที่วางไวได และเม่ือเกิดปญหาสามารถ ปรับเปล่ียนแผนไดถูกตองและ

เหมาะสมไดดวยตนเอง

3 หมายถึง ดําเนินการและใชทรัพยากรตามแผนที่วางไวได แตเม่ือเกิดปญหาไมสามารถ ปรับเปล่ียนแผนไดถูกตอง

หรือไมเหมาะสม

2 หมายถึง ดําเนินการและใชทรัพยากรตามแผนที่วางไวไมได และเม่ือเกิดปญหาไมสามารถ

ปรับเปล่ียนแผนไดเหมาะสมจึงตองไดรับคําแนะนําบอยครั้ง

1 หมายถึง ไมสามารถดําเนินการและใชทรัพยากรตามแผนที่วางไวได และเม่ือเกิดปญหาไมสามารถปรับเปล่ียนแผนได

จึงตองไดรับคําแนะนําอยูตลอดเวลา

5. การประเมินผล

4 หมายถึง มีการประเมินความสามารถและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและผลงาน และปรับปรุงขอบกพรองของงานได

ถูกตองเหมาะสมไดดวยตนเอง

3 หมายถึง มีการประเมินความสามารถและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและผลงาน และปรับปรุงขอบกพรองของงานได

เหมาะสม

2 หมายถึง มีการประเมินความสามารถและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและผลงาน และปรับปรุงขอบกพรองของงานได

แตตองไดรับคําแนะนําบางครั้ง

1 หมายถึง ไมสามารถประเมินความสามารถและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและผลงานได และไมสามารถปรับปรุง

ขอบกพรองของงานไดจึงตองไดรับคําแนะนําอยูตลอดเวลา

โครงงาน เปนการจัดการเรียนรูที่สงเสริมใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติและศึกษาคนควาดวยตนเองตามแผนการดําเนินงาน

ที่นักเรียนไดจัดขึ้น โดยครูชวยใหคําแนะนําปรึกษา กระตุนใหคิด และติดตามการปฏิบัติงานจนบรรลุเปาหมาย

Page 208: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ตัวอยาง

แบบประเมินโครงงาน

เรื่อง กลุมท่ี

ภาคเรียนท่ี ช้ัน

เลขท่ี ช่ือ-สกุล

รายการประเมิน

รวมจํานวน

รายการท่ี

ผานเกณฑ

ขั้นต่ํา

สรุป

กําห

นดป

ระเด็

นป

ญห

าชัดเ

จน

วางแ

ผนกํา

หน

ดขั้น

ตอน

การ

แกป

ญห

าไดเ

หมา

ะสม

ลงมือ

ปฏ

ิบัติต

ามแผ

สามา

รถน

ําไป

ใชแก

ปญ

หาใ

ชีวิตป

ระจํา

วัน

เขียน

รายง

านน

ําเสน

ผาน ไม

ผาน

1

2

3

4

5

เกณฑการประเมิน แยกตามองคประกอบยอย 5 ดาน

1. กําหนดประเด็นปญหาชัดเจน

4 หมายถึง กําหนดประเด็นปญหาไดดวยตนเอง ปญหาที่กําหนดมีความเฉพาะเจาะจงชัดเจนดีมาก

3 หมายถึง กําหนดประเด็นปญหาไดดวยตนเอง ปญหาที่กําหนดมีความเฉพาะเจาะจงชัดเจนดี

2 หมายถึง กําหนดประเด็นปญหาไดดวยตนเองเปนบางสวน ปญหาที่กําหนดมีความเฉพาะเจาะจงชัดเจนพอใช

1 หมายถึง กําหนดประเด็นปญหาดวยตนเองไมได

2. วางแผนกําหนดขั้นตอนการแกปญหาไดเหมาะสม

4 หมายถึง ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแกปญหา ระบุควบคุมตัวแปรไดถูกตองเหมาะสม

3 หมายถึง ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแกปญหา ระบุควบคุมตัวแปรไดคอนขางเหมาะสม

2 หมายถึง ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแกปญหา ระบุควบคุมตัวแปรไดเหมาะสมพอใช

1 หมายถึง ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแกปญหา ระบุควบคุมตัวแปรไดไมเหมาะสม

3. ลงมือปฏิบัติตามแผน

4 หมายถึง ลงมือแกปญหาตามขั้นตอนที่กําหนดไวอยางครบถวนจริงจัง สามารถคนพบความรู ขอคิด แนวทางการปฏิบัติ

ตามประเด็นปญหาที่ตั้งไวดวยตนเองทั้งหมด

3 หมายถึง ลงมือแกปญหาตามขั้นตอนที่กําหนดไวอยางครบถวนจริงจัง สามารถคนพบความรู ขอคิด แนวทางการปฏิบัติ

ตามประเด็นปญหาที่ตั้งไวดวยตนเองเปนสวนใหญ

2 หมายถึง ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนดบาง แตไมครบถวน สามารถคนพบความรู ขอคิด แนวทางการปฏิบัติตาม

ประเด็นปญหาที่ตั้งไวดวยตนเองเปนบางสวน

Page 209: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

1 หมายถึง ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนดไดนอยมาก ไมสามารถคนพบความรู ขอคิด แนวทางการปฏิบัติตาม

ประเด็นปญหาที่ตั้งไว

4. สามารถนําไปใชแกปญหาในชีวิตประจําวัน

4 หมายถึง นําขอคนพบ วิธีปฏิบัติไปใชแกปญหาในชีวิตประจําวันไดครบถวน ถูกตอง และตอเนื่อง

3 หมายถึง นําขอคนพบ วิธีปฏิบัติไปใชแกปญหาในชีวิตประจําวันไดครบถวน ถูกตอง แตขาดความตอเนื่อง

2 หมายถึง นําขอคนพบ วิธีปฏิบัติไปใชแกปญหาในชีวิตประจําวันไดเปนบางสวน และตองกระตุนเตือนใหปฏิบัติอยาง

ตอเนื่อง

1 หมายถึง นําขอคนพบ วิธีปฏิบัติไปใชแกปญหาในชีวิตประจําวันไดนอยมาก หรือไมนําไปใชเลย

5. เขียนรายงานนําเสนอ

4 หมายถึง บันทึกผลการศึกษาคนควาและนําเสนอขอมูลไดถูกตองชัดเจน แสดงใหเห็นถึงขั้นตอนการวางแผน การลงมือ

แกปญหาและขอคนพบที่ไดครบถวน

3 หมายถึง บันทึกผลการศึกษาคนควาและนําเสนอขอมูลไดถูกตองชัดเจน แสดงใหเห็นถึงขั้นตอนการวางแผน การลงมือ

แกปญหา และขอคนพบที่ไดคอนขางครบถวน

2 หมายถึง บันทึกผลการศึกษาคนควาและนําเสนอขอมูลไดบาง แสดงใหเห็นถึงขั้นตอนการวางแผน การลงมือแกปญหา

และขอคนพบที่ไดเพียงบางสวน

1 หมายถึง บันทึกผลการศึกษาคนควาและนําเสนอขอมูลไดนอยมาก เห็นขั้นตอนการวางแผน การลงมือแกปญหา และ

ขอคนพบที่ไดไมชัดเจน

เกณฑการตัดสินผลการเรียน

นักเรียนตองมีพฤติกรรมในแตละรายการอยางนอยระดับ 2 ขึ้นไป จํานวน 3 ใน 5 รายการ

แฟมสะสมผลงาน (Portfolio) เปนแหลงรวบรวมผลงานของนักเรียนอยางเปนระบบ ที่นํามาใชประเมินสมรรถภาพ

ของนักเรียน เพ่ือชวยใหนักเรียน ครู ผูปกครอง หรือผูที่เก่ียวของเกิดความเขาใจและมองเห็นอยางเปนรูปธรรมไดวา การ

ปฏิบัติงานและผลงานของนักเรียนมีคุณภาพมาตรฐานอยูในระดับใด

แฟมสะสมผลงานเปนเครื่องมือประเมินผลตามภาพจริงที่ใหโอกาสนักเรียนไดใชผลงานจากที่ไดปฏิบัติจริงส่ือสารให

ผูอ่ืนเขาใจถึงความสามารถที่แทจริงของตน ซ่ึงผลงานที่เก็บสะสมในแฟมสะสมผลงานมีหลายลักษณะ เชน การเขียนรายงาน

บทความ การศึกษาคนควา ส่ิงประดิษฐ การทําโครงงาน บันทึกการบรรยาย บันทึกการทดลอง บันทึกการอภิปราย บันทึก

ประจําวัน แบบทดสอบ

Page 210: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

แบบบันทึกความคิดเห็นเกี่ยวกับการประเมินช้ินงานในแฟมสะสมผลงาน

ช่ือช้ินงาน วันท่ี เดือน ป

หนวยการเรียนรูท่ี เรื่อง

รายการประเมิน บันทึกความคิดเห็นของนักเรียน

1. เหตุผลที่เลือกช้ินงานนี้ไวในแฟมสะสมผลงาน

2. จุดเดนและจุดดอยของงานช้ินนี้มีอะไรบาง

3. ถาจะปรับปรุงงานช้ินนี้ใหดีขึ้นควรปรับปรุง

อยางไร

4. งานช้ินนี้ควรไดคะแนนเทาใด เพราะเหตุใด(ถา

กําหนดใหคะแนนเต็ม 10 คะแนน)

ความเห็นของครูหรือที่ปรึกษา

ความเห็นของผูปกครอง

ผลการประเมินของครูหรอืที่ปรึกษา

Page 211: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ตัวอยาง

แบบประเมินแฟมสะสมผลงาน

ช่ือช้ินงาน กลุมท่ี

ภาคเรียนท่ี ช้ัน

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

1 2 3 4

1. โครงสรางและองคประกอบ

2. แนวความคิดหลัก

3. การประเมินผล

4. การนําเสนอ

เกณฑการประเมิน แยกตามองคประกอบยอย 4 ดาน

ระดับคุณภาพ รายการประเมิน

1. โครงสรางและองคประกอบ

4 ผลงานมีองคประกอบที่สําคัญครบถวนและจัดเก็บไดอยางเปนระบบ

3 ผลงานมีองคประกอบที่สําคัญเกือบครบถวนและสวนใหญจัดเก็บอยางเปนระบบ

2 ผลงานมีองคประกอบที่สําคัญเปนสวนนอย แตบางช้ินงานมีการจัดเก็บที่เปนระบบ

1 ผลงานขาดองคประกอบที่สําคัญและการจัดเก็บไมเปนระบบ

2. แนวความคิดหลัก

4 ผลงานสะทอนแนวความคิดหลักของนักเรียนที่ไดรับความรูทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มี

หลักฐานแสดงวามีการนําความรูไปใชประโยชนไดมาก

3 ผลงานสะทอนแนวความคิดหลักของนักเรียนที่ไดรับความรูทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มี

หลักฐานแสดงวาสามารถนําความรูไปใชในสถานการณตัวอยางได

2 ผลงานสะทอนแนวความคิดหลักของนักเรียนวาไดรับความรูทางเทคโนโลยีสารสนเทศบาง มี

หลักฐานแสดงถึงความพยายามที่จะนําไปใชประโยชน

1 ผลงานจัดไมเปนระบบ มีหลักฐานแสดงวามีความรูทางเทคโนโลยีสารสนเทศนอยมาก

3. การประเมินผล

4 มีการประเมินความสามารถและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและผลงาน รวมทั้งมีการเสนอแนะ

โครงการที่เปนไปไดที่จะจัดทําตอไปไวอยางชัดเจนหลายโครงการ

3 มีการประเมินความสามารถและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและผลงาน รวมทั้งการเสนอแนะ

โครงการที่ควรจัดทําตอไป

Page 212: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ระดับคุณภาพ รายการประเมิน

2 มีการประเมินความสามารถและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและผลงานบาง รวมทั้งมีการ

เสนอแนะโครงการที่จะทําตอไปแตไมชัดเจน

1 มีการประเมินประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและผลงานนอยมากและไมมีขอเสนอแนะใด ๆ

4. การนําเสนอ

4 เขียนบทสรุปและรายงานที่มีระบบดี มีขั้นตอน มีขอมูลครบถวน มีการประเมินผลครบถวน

แสดงออกถึงความคิดริเริ่มสรางสรรค

3 เขียนบทสรุปและรายงานแสดงใหเห็นวามีขั้นตอนการจัดเก็บผลงาน มีการประเมินผลงานเปน

สวนมาก

2 เขียนบทสรุปและรายงานแสดงใหเห็นวามีขั้นตอนการจัดเก็บผลงาน มีการประเมินผลเปน

บางสวน

1 เขียนบทสรุปและรายงานแสดงใหเห็นวามีขั้นตอนการจัดเก็บผลงาน แตไมมีการประเมินผล

เกณฑการประเมินโดยภาพรวม

ระดับคุณภาพ รายการประเมิน

4 ผลงานมีรายละเอียดมากเพียงพอ ไมมีขอผิดพลาดหรือแสดงถึงความไมเขาใจ มีความเขาใจใน

เรื่องที่ศึกษาโดยมีการบูรณาการหรือเช่ือมโยงแนวความคิดหลัก

ตาง ๆ เขาดวยกัน

3 ผลงานมีรายละเอียดมากเพียงพอและไมมีขอผิดพลาดหรือแสดงถึงความไมเขาใจ แตขอมูลตาง

ๆ เปนลักษณะของการนําเสนอที่ไมไดบูรณาการระหวางขอมูลกับแนวความคิดหลักของเรื่องที่

ศึกษา

2 ผลงานมีรายละเอียดที่บันทึกไว แตพบวาบางสวนมีความผิดพลาดหรือไมชัดเจน หรือแสดงถึง

ความไมเขาใจเรื่องที่ศึกษา

1 ผลงานมีขอมูลนอย ไมมีรายละเอียดบันทึกไว

การนําเสนอผลงาน เปนการนําผลจากการศึกษาคนควาเก่ียวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่รวบรวมไวในรูปของรายงาน หรือ

ช้ินงาน มานําเสนอใหผูอ่ืนไดรับทราบและเขาใจรูปแบบ เนื้อหา และวิธีคิดที่เก่ียวของกับผลงานนั้น ๆ

รูบริคการประเมินตอไปนี้เปนตัวอยางที่ใชประเมินผลการปฏิบัติงาน หรือช้ินงานที่ครูกําหนดใหนักเรียนทํา

Page 213: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ

ตัวอยาง

แบบประเมินการนําเสนอผลงานของนักเรียน

เรื่อง กลุมท่ี

ผูปฎิบัติ/กลุม ภาคเรียนท่ี ช้ัน

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

1 2 3 4

1. ความรูในเนื้อหา

2. รูปแบบการนําเสนอ

3. การใชส่ือประกอบการนําเสนอ

4. การตอบคําถาม

เกณฑการประเมิน จําแนกตามประเด็นรายการประเมิน มีดังนี ้

1. ความรูในเนื้อหา

4 หมายถึง นําเสนอเนื้อหาถูกตอง ครบถวน หรือมากกวาที่กําหนด พรอมทั้งอธิบายและขยายความเนื้อหาได

3 หมายถึง นําเสนอเนื้อหาถูกตอง ครบถวน แตอธิบายรายละเอียดบางเรื่องไมได

2 หมายถึง นําเสนอเนื้อหาถูกตอง แตไมครบถวน และอธิบายรายละเอียดไดเล็กนอย

1 หมายถึง นําเสนอเนื้อหาเปนบางเรื่อง และไมสามารถอธิบายรายละเอียดเพ่ิมเติม

2. รูปแบบการนําเสนอ

4 หมายถึง มีวิธีการนําเสนอที่นาสนใจ ชวนติดตาม และนําเสนอขอมูลหรือผลงานเปนลําดับขั้นตอนอยางชัดเจน

3 หมายถึง มีวิธีการนําเสนอที่นาสนใจ และนําเสนอขอมูลหรือผลงานเปนลําดับขั้นตอน

2 หมายถึง นําเสนอขอมูลหรือผลงานโดยการอาน และจัดหัวขอไวไมเปนระบบ

1 หมายถึง ไมมีการจัดลําดับขอมูลที่นําเสนอ ทําใหผูฟงไมเขาใจเนื้อหาที่นําเสนอ

3. การใชส่ือประกอบการนําเสนอ

4 หมายถึง ใชเทคโนโลยีในการนําเสนอ ใชภาพ แผนภูมิ แผนผัง ประกอบการนําเสนออยางชัดเจน ส่ือที่ใชชวยสนับสนุน

เนื้อหาและการอธิบายไดเปนอยางดี

3 หมายถึง ใชภาพ แผนภูมิ แผนผัง ประกอบการนําเสนอ ส่ือที่ใชชวยสนับสนุนเนื้อหาและการอธิบายได

2 หมายถึง ใชภาพ แผนภูมิ ประกอบการนําเสนอบางเปนบางครั้ง และส่ือนั้นไมคอยสนับสนุนเนื้อหาสาระที่นําเสนอ

1 หมายถึง ไมใชส่ือประกอบการนําเสนอเลย

4. การตอบคําถาม

4 หมายถึง เปดโอกาสใหผูฟงแสดงความคิดเห็นหรือซักถาม โดยสามารถตอบคําถามไดถูกตอง พรอมทั้งอธิบายขยาย

ความได

3 หมายถึง สามารถตอบขอซักถามได แตไมสามารถอธิบายรายละเอียดเพ่ิมเติม

2 หมายถึง ตอบคําถามงาย ๆ เก่ียวกับเนื้อหาที่นําเสนอได

1 หมายถึง ไมสามารถตอบคําถามเก่ียวกับเนื้อหาที่นําเสนอได

Page 214: 2551 Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ต าง ... · หนังสือเรียน–แบบฝ