16
มานุษยวิทยาภาษา: ภาษากับความคิดและโลกทัศน์ ผศ.ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร AN 221 ครั ้งที 6-7

ภาษากับโลกทัศน์

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ภาษากับความคิดและโลกทัศน์

Citation preview

Page 1: ภาษากับโลกทัศน์

มานุษยวิทยาภาษา: ภาษากับความคิดและโลกทัศน์

ผศ.ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร AN 221 คร้ังที่ 6-7

Page 2: ภาษากับโลกทัศน์

มิติของภาษาที่สัมพัทธ์

apple: Rome, Delicious, Winesap, Jonathan, Washington

Lokono: -kobo มือ-แขนส่วนล่าง; -duna แขนส่สนบน // O?odham: nowi แขนทั้งหมดและมือ

อุปสรรคต่อการแปล

Page 3: ภาษากับโลกทัศน์

Whorf hypothesis

Benjamin Whorf (1897-1941) ศึกษาภาษาฮิบบรู มายา โฮปี

(1) มโนทัศน์พ้ืนฐานต่างๆ (เวลา ที่ว่าง วัตถุ) ของเราเหมือนหรือต่างกับของผู้ใช้ภาษาอื่นๆ หรือเปล่า

(2) เราสารมารถหาความเหมือนกันของสิ่งเ่านี้ได้หรือไม่ ก. วัฒนธรรมกับพฤติกรรม ข.แบบแผนกว้างๆ ของภาษา

Page 4: ภาษากับโลกทัศน์

Whorf hypothesis

จํานวนนับ ในภาษายุโรปนับแตกต่างจากการนับในภาษาอินเดียน ชาวยุโรปนับทั้งสิ่ง่ี่มีอยู่จริง (คน) กับสิ่งที่เป็นนามธรรม (วัน) แต่ชาวโฮปีนับได้เฉพาะสิ่งที่มีอยู่จริง

กาลของกิริยา ภาษายุโรปแยกเวลาเป็นส่วนๆในแนวนอน ภาษาอื่นๆ จํานวนมากแยกเวลาออกเป็นก้อนๆ ก่อน หลัง ตัวอย่างคํากิริยาโฮปี

Page 5: ภาษากับโลกทัศน์

ภาษากับความโน้มเอียงทางวัฒนธรรม

ชุดคําศัพท์ (lexicon) E. E. Evan-Pritchard คําเรียกวัวของชาวนูเออร์

อุปลักษณ์ (metaphor) George Lakoff

คําเรียกสี (color terms) สากล หรือ สัมพัทธ์

Page 6: ภาษากับโลกทัศน์

มิติของภาษาที่สัมพัทธ์

ไวยากรณ์ ไวยากรณ์จัดประเภท ไวยากรณ์ต่างภาษา ไวยากรณ์ภาษาเดียวกัน

ชุดคําศัพท์ (lexicon) อวัยวะ การสร้างคํา (งานโบแอส) การรับ-สร้างคําใหม่ คํากับสิ่งแวดล้อม คําเรียกสี

ethnoscience vs. cognitive science

Page 7: ภาษากับโลกทัศน์

ภาษากําหนดความคิดหรือไม่

บางทีความคิดก็ถูกกําหนดโดยภาษา คือความคิดในระหว่างกระแสของการพูด

แต่บางทีความคิดก็ไม่ได้ถูกกําหนดโดยภาษา บางทีความคิดอยู่นอกระบบภาษา

ภาษาที่ใช้ในโรงเรียน มักจะมีแบบแผนตายตัวกว่าคนในก่อนวัยเรียนและหลังวัยเรียน ดังนั้น ที่ว่าภาษากําหนดความคิด ก็กําหนดเฉพาะบางวัย ในบางบริบทเท่านั้น

Page 8: ภาษากับโลกทัศน์

Slobin, From thought and language to thinking for

speaking

Wilhelm von Humboldt (1769-1859) "ภาษากับความคิดเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน แยกจากกันไม่ได้" (1836) คนต่างภาษามีโลกทัศน์ต่างกัน

Benjamin Lee Whorf (1897-1941) "ผู้ใช้ภาษาที่มีไวยากรณ์ต่างกัน แสดงให้เห็นถึงการมองโลกอย่างแตกต่างกัน และประเมินโลกภายนอกแตกต่างกัน" (1949)

Boas เน้นที่ความรับผิดชอบในเชิงภาษาที่กําหนดในคนใช้ภาษานั้นต้องพูดแบบนั้น แต่ไม่ถึงกับว่าภาษาจะกําหนดความคิดขนาดที่ฮุมโบล์ดท์และวอร์ฟเสนอ

Page 9: ภาษากับโลกทัศน์

Boas, Linguistics and Ethnology, 1911.

ชาติพันธุ์วิทยาคือการศึกษาจิตใจมนุษย์ ภาษาเป็นการแสดงออกทางจิตใจที่สําคัญ ภาษาจึงเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาทางชาติพันธุ์วิทยา

ภาษาต่างๆ แตกต่างกัน สะท้อนการมองโลกที่แตกต่างกัน

The eye is the organ of sight.

แต่ไม่ใช่ว่า คนที่พูดภาษาต่างกัน จะไม่สามารถเข้าใจกันได้ ไม่ใช่ว่าคนที่ใช้ภาษาต่างกัน จะมีความคิดสูงต่ําแตกต่างกัน

Page 10: ภาษากับโลกทัศน์

ภาษากําหนดความคิดหรือไม่

แนวคิดหนึ่งเสนอว่า มโนทัศน์ต่างๆ กําหนดการรับรู้ของเรามากก่อนแล้ว มโนทัศน์ไม่ได้เป็นอิสระจากภาษา

แต่อีกแนวคิดหนึ่งเสนอว่า มี มโนทัศน์ที่สมบูรณ์ เป็นสากล ที่มนุษย์รับรู้ได้ร่วมกับ แต่แสดงออกด้วยภาษาที่แตกต่างกัน

Page 11: ภาษากับโลกทัศน์

เปรียบเทียบต่างภาษา

อังกฤษมองเวลาแบบเคลื่อนไหว ต่อเนื่อง มากกว่าสเปน แต่เยอรมันกับฮิบบรูไม่สนใจเรื่องความสิ้นสุดของกิจกรรม

อังกฤษกับเยอรมันพูดถึงพ้ืนที่เหมือนกัน คือใช้การอธิบายพ้ืนที่ด้วยการวาง preposition ต่อเนื่องกัน แต่สเปนกับฮิบบรูมักไม่ทําอย่างนั้น

แสดงว่า แง่มุมของภาษาที่ต่างกัน บางทีเหมือนกันในบางแง่มุม แต่ต่างกันในบางแง่มุม

ดังนั้น บางทีภาษากําหนดให้คิดเหมือนกัน บางทีกําหนดให้คิดต่างกัน

Page 12: ภาษากับโลกทัศน์

ภาษากําหนดความคิดหรือไม่

ในภาษาหนึ่งๆ มีตัวเลือกในการใช้ไวยากรณ์ที่หลากหลาย จะว่าไวยากรณ์กําหนดภาษาได้อย่างไร

บางทีความคิดก็ถูกกําหนดโดยภาษา คือความคิดในระหว่างกระแสของการพูด

แต่บางทีความคิดก็ไม่ได้ถูกกําหนดโดยภาษา บางทีความคิดอยู่นอกระบบภาษา

ภาษาที่ใช้ในโรงเรียน มักจะมีแบบแผนตายตัวกว่าคนในก่อนวัยเรียนและหลังวัยเรียน ดังนั้น ที่ว่าภาษากําหนดความคิด ก็กําหนดเฉพาะบางวัย ในบางบริบทเท่านั้น

Page 13: ภาษากับโลกทัศน์

Kay, Intra-speaker Relativity, 1997.

ภาษาเดียวกัน ก็มีทางเลือกในการใช้ภาษาที่แตกต่างกัน

แล้วจะสรุปว่าแต่ละภาษาทําให้คนคิดแตกต่างจากคนใช้ภาษาอื่นได้อย่างไร

ในภาษาหนึ่งๆ มีตัวเลือกในการใช้ไวยากรณ์ที่หลากหลาย จะว่าไวยากรณ์กําหนดภาษาได้อย่างไร

Page 14: ภาษากับโลกทัศน์

Kay, Intra-speaker Relativity, 1997.

พูดต่าง ความจริงเดียวกัน: เข้าไปที่นั่น ออกไปที่นั่น

มีทัศนะต่อการมีอยู่ของความจริงที่แตกต่างกัน: พูดอย่่างหลวมๆ; ในทางเทคนิคแล้ว; พูดอย่่งรัดกุมแล้ว

บทบาทของประเด็นสําคัญ กําหนดทางเลือกการใช้ภาษา ภาษาเดียวกัน หรือแม้แต่คนเดียวกัน ก็คิดต่างกันใช้ภาษาต่างกันได้

Page 15: ภาษากับโลกทัศน์

Kay, Intra-speaker Relativity, 1997.

เปลี่ยนความหมาย ทําได้ด้วยวิธีต่างๆ ของไวยากรณ์ในภาษาเดียวกัน เช่น active-passive voices, คํากิริยา, การเน้นคํานามที่เป็นเป้าหมาย

semantic perspective เหนือการกําหนดของไวยากรณ์ภาษา

Page 16: ภาษากับโลกทัศน์

ความสัมพัทธ์ของภาษา จําเป็นต้องแสดงถึงความสัมพัทธ์ของความคิดดว้ยหรือไม ่

ภาษาหนึ่งๆ กํากับวิธีคิดแบบหนึ่งๆ แค่นั้นหรือ

พูดไม่เหมือนกัน แสดงว่าคิดไม่เหมือนกันจริงหรือ

หน่วยของภาษาระดับไหน กําหนดความคิดระดับไหน