22
บทที6 ดุลยภาพดานอุปทาน : การวางงานและเงินเฟอ สารบัญ ประเด็น : เงินเฟอจะลดลงไดอยางไรในขณะที่เศรษฐกิจกําลังบูม / รุงเรือง เสนอุปทานรวม ทําไมเสนอุปทานรวมจึงมีความลาดชันเปนบวก การขยับ / เลื่อนของเสนอุปทานรวม ดุลยภาพของอุปสงครวมและอุปทานรวม การพิจารณาชองวางเศรษฐกิจตกต่ําและชองวางเงินเฟอใหม การปรับตัวเมื่อเกิดชองวางเศรษฐกิจตกต่ํา : ระดับราคาลดลง หรือการวางงาน เศรษฐกิจมีกลไกที่จะปรับตัวไดเองหรือไม ตัวอยาง เหตุการณที่เกิดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี: การลดลงของราคาในชวงทศวรรษ 2533 การปรับตัวเมื่อเกิดชองวางเงินเฟอ : เงินเฟอ เงินเฟอที่เกิดจากดานอุปสงค และ Stagflation ตัวอยางที่เกิดขึ้นเมื่อเร็วๆ นีStagflation ที่เกิดจากดานอุปทาน ( a supply shock) คําอธิบายการขยายตัวอยางรวดเร็วในชวงทศวรรษ 2533 เงินเฟอและตัวคูณ บทบาทของนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพ ในบทที4 เราไดเรียนแลววา ตําแหนงของเสนการใชจายทั้งหมดของเศรษฐกิจ เปนสิ่งที่จะกําหนดวาเศรษฐกิจ จะเผิชญกับปญหาชองวางเศรษฐกิจตกต่ํา หรือชองวางเงินเฟอ ถาเสน C + I + G + ( X – M) อยูต่ําเกินไป ก็อาจจะเกิด ปญหาชองวางเศรษฐกิจตกต่ํา ในทางตรงกันขามถาเสน C + I + G + ( X– M) อยูสูงเกินไปก็จะเกิดปญหาชองวางเงินเฟอ ชองวางประเภทใดจะเกิดขึ้นจริงในทางปฏิบัติเปนเรื่องที่สําคัญมาก ทั้งนี้เพราะชองวางเศรษฐกิจตกต่ําจะชักนําใหเกิดการ วางงาน ในขณะที่ชองวางเงินเฟอก็จะชักนําใหเกิดเงินเฟอ อยางไรก็ตาม เครื่องมือตางๆ ที่เราไดเรียนมาในบทที4 นั้นยังไมเพียงพอที่จะพิจารณาวาจะเกิดชองวางประเภท ใด ทั้งนี้เพราะวาตําแหนงของเสนการใชจายทั้งหมดนั้นขึ้นอยูกับระดับราคา ดังเชนที่เราทราบกันแลว และระดับราคาก็ ขึ้นอยูกับทั้งอุปสงครวมและอุปทานรวม ดังนั้นงานของบทนี้คือ การนําเอาอุปทานของเศรษฐกิจเขามารวมพิจารณาดวย เมื่อพิจาณาทั้งอุปสงครวมและอุปทานรวมมาพิจารณาพรอมๆ กัน จะทําใหเราอยูในฐานะที่จะพิจารณาปญหา สําคัญที่เคยกลาวถึงไวในบทกอนๆ คือ : เศรษฐกิจมีกลไกที่จะปรับตัวไดเองอยางมีประสิทธิภาพหรือไม เราจะไดเห็นกัน ตอไปวาคําตอบที่ไดคือ มี แตคือมีแตกลไกทํางานอยางชาๆ และจะทําใหเราสามารถอธิบายปญหาที่สําคัญมากได คือ ปญหาของ Stagflation ซึ่งเปนการเกิดการวางงานสูงและเงินเฟอสูงไปพรอม กัน ซึ่งเปนปญหาเศรษฐกิจของประเทศ ตางๆ ในชวงทศวรรษ 2523

บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

บทท่ี 6 ดุลยภาพดานอุปทาน : การวางงานและเงินเฟอ

สารบัญ ประเด็น : เงินเฟอจะลดลงไดอยางไรในขณะท่ีเศรษฐกิจกําลังบูม / รุงเรือง

เสนอุปทานรวม

ทําไมเสนอุปทานรวมจึงมีความลาดชันเปนบวก

การขยับ / เล่ือนของเสนอุปทานรวม

ดุลยภาพของอุปสงครวมและอุปทานรวม

การพิจารณาชองวางเศรษฐกิจตกต่ําและชองวางเงินเฟอใหม

การปรับตัวเม่ือเกิดชองวางเศรษฐกิจตกตํ่า : ระดับราคาลดลง หรือการวางงาน

เศรษฐกิจมีกลไกที่จะปรับตัวไดเองหรือไม

ตัวอยาง เหตุการณที่เกิดขึ้นเม่ือเร็วๆ นี้ : การลดลงของราคาในชวงทศวรรษ 2533

การปรับตัวเม่ือเกิดชองวางเงินเฟอ : เงินเฟอ

เงินเฟอที่เกิดจากดานอุปสงค และ Stagflation

ตัวอยางที่เกิดขึ้นเม่ือเร็วๆ นี้

Stagflation ที่เกิดจากดานอุปทาน ( a supply shock)

คําอธิบายการขยายตัวอยางรวดเร็วในชวงทศวรรษ 2533

เงินเฟอและตัวคูณ

บทบาทของนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพ

ในบทที่ 4 เราไดเรียนแลววา ตําแหนงของเสนการใชจายทั้งหมดของเศรษฐกิจ เปนส่ิงที่จะกําหนดวาเศรษฐกิจ

จะเผิชญกับปญหาชองวางเศรษฐกิจตกตํ่า หรือชองวางเงินเฟอ ถาเสน C + I + G + ( X – M) อยูตํ่าเกินไป ก็อาจจะเกิด

ปญหาชองวางเศรษฐกิจตกต่ํา ในทางตรงกันขามถาเสน C + I + G + ( X– M) อยูสูงเกินไปก็จะเกิดปญหาชองวางเงินเฟอ

ชองวางประเภทใดจะเกิดขึ้นจริงในทางปฏิบัติเปนเร่ืองที่สําคัญมาก ทั้งนี้เพราะชองวางเศรษฐกิจตกตํ่าจะชักนําใหเกิดการ

วางงาน ในขณะท่ีชองวางเงินเฟอก็จะชักนําใหเกิดเงินเฟอ

อยางไรก็ตาม เคร่ืองมือตางๆ ที่เราไดเรียนมาในบทที่ 4 นั้นยังไมเพียงพอที่จะพิจารณาวาจะเกิดชองวางประเภท

ใด ทั้งนี้เพราะวาตําแหนงของเสนการใชจายทั้งหมดนั้นขึ้นอยูกับระดับราคา ดังเชนที่เราทราบกันแลว และระดับราคาก็

ขึ้นอยูกับทั้งอุปสงครวมและอุปทานรวม ดังนั้นงานของบทนี้คือ การนําเอาอุปทานของเศรษฐกิจเขามารวมพิจารณาดวย

เม่ือพิจาณาทั้งอุปสงครวมและอุปทานรวมมาพิจารณาพรอมๆ กัน จะทําใหเราอยูในฐานะที่จะพิจารณาปญหา

สําคัญที่เคยกลาวถึงไวในบทกอนๆ คือ : เศรษฐกิจมีกลไกท่ีจะปรับตัวไดเองอยางมีประสิทธิภาพหรือไม เราจะไดเห็นกัน

ตอไปวาคําตอบที่ไดคือ “มี แต” คือมีแตกลไกทํางานอยางชาๆ และจะทําใหเราสามารถอธิบายปญหาที่สําคัญมากได คือ

ปญหาของ Stagflation ซึ่งเปนการเกิดการวางงานสูงและเงินเฟอสูงไปพรอม ๆ กัน ซึ่งเปนปญหาเศรษฐกิจของประเทศ

ตางๆ ในชวงทศวรรษ 2523

Page 2: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

126 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ประเด็น : เงินเฟอจะลดลงไดอยางไรในขณะที่เศรษฐกิจกําลังบูม / รุงเรือง เปนเวลาท่ีตอเนื่องกันหลายปมาแลว ที่นักเศรษฐศาสตรไดพูดถึงการแลกกัน (Trade-off) ที่เจ็บปวดระหวางเงิน

เฟอและการวางงาน กลาวคือการวางงานที่อยูในระดับตํ่ามากๆ มักจะทําใหอัตราเงินเฟอสูงขึ้น อยางไรก็ตาม ความสําเร็จ

อันนาพิศวงทางเศรษฐกิจของอเมริกาจากป 2540 จนถึงตนป 2542 ทําใหหลายคนคิดวา ความคิดดังกลาวไมถูกตองหรือไม

เปนจริง ทั้งนี้จะเห็นไดจากการที่อัตราการวางงานตกต่ํามากถึงระดับเพียงแครอยละ 4.2 ของกองกําลังแรงงาน ซึ่งเปนอัตรา

ที่ตํ่าที่สุดในรอบ 30 ป แตเงินเฟอไมสูงขึ้น และส่ิงที่เกิดขึ้นจริงๆ คือ เงินเฟอลดลงเกือบตลอดชวงเวลาดังกลาว เราจะ

อธิบายสถานการณที่เกิดขึ้นนี้อยางไร -คือ การวางงานอยูในระดับตํ่ามาก เกิดขึ้นพรอมๆ กับเงินเฟอที่ลดลง - มีหลายๆ คน

ที่วิพากยวิจารณวา หรือสถานการณที่เกิดขึ้นนั้น หมายความวาทฤษฎีเศรษฐศาสตรที่เปนมาตรฐานอยูทั่วๆ ไป ไมสามารถ

นําไปใชอธิบาย “เศรษฐกิจใหม (New Economy)” ในชวงระยะหลังๆ ของทศวรรษท่ี 2533 ได ซึ่งกอนที่เราจะเรียนจบบทนี้

เรานาจะไดคําตอบบางสําหรับคําถามดังกลาว

เสนอุปทานรวม

ในบทกอน เม่ือพูดถึงอุปทานรวมเราไดเรียนกันแลววา อุปทานรวมนั้นเปนเสน (schedule) ไมใชคาที่คงที่คาหนึ่ง

คาใด จํานวน GDP ที่แทจริงที่จะมีผูตองการนั้นขึ้นอยูกับระดับราคา ซึ่งจํานวนที่มีความตองการ ณ ระดับราคาตางๆ เราได

สรุปไวในรูปของเสนอุปสงครวมของเศรษฐกิจ วิธีการเหลานี้ไดนํามาประยุกตใชในเร่ืองของอุปทานดวยเชนกัน แนวคิดของ

อุปทานรวมไมไดหมายความถึงคาที่คงที่คาใดคาหนึ่ง แตหมายถึงอุปทานท่ีเปนเสน (a supply curve)

จํานวนสินคาและบริการที่กิจการที่แสวงหากําไร จะทํา

การผลิตขึ้นอยูกับราคาท่ีเขาจะไดรับจากสินคาเหลานั้น ขึ้นอยู

กับคาจาง ตนทุนการผลิตอื่นๆ ขึ้นอยูกับเทคโนโลยีที่ใช และส่ิง

อื่นๆ อีก ความสัมพันธระหวางระดับราคาและจํานวน GDP ที่

แทจริงที่เสนอขาย เม่ือกําหนดใหตัวแปรอื่นๆ ที่มีผลตอจํานวน

เสนอขายคงท่ีนั้น เราเรียกวา เสนอุปทานรวมของเศรษฐกิจ

เสนอุปทานรวมโดยทั่วไปไดแสดงไวในรูปที่ 6–1 เสน

อุปทานมีความลาดชันเปนบวก ซึ่งหมายความวา เม่ือราคา

สูงขึ้นจะมีการผลิตผลผลิตออกมามากขึ้น ทั้งนี้กําหนดใหส่ิงอื่นๆ

อยูคงที่ ลองมาดูกันซิวาทําไมจึงเปนเชนนั้น

ทําไมเสนอุปทานรวมจึงมีความลาดชันเปนบวก ผูผลิตในประเทศไทยและประเทศตางๆ มีกําไรเปนส่ิงจูงใจในการตัดสินใจทําการผลิต ซึ่งกําไรท่ีเกิดขึ้นจากการผลิต ผลผลิต

หนึ่งหนวย คือความแตกตางระหวางราคาท่ีขายผลิตนั้นได กับตนทุนการผลิตของผลผลิตหนวยน้ัน ดังนั้น

กําไรตอหนวย = ราคา – ตนทุนตอหนวย

Page 3: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

บทที่ 6

ดุลยภาพดานอุปทาน : การวางงานและเงินเฟอ

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 127

ดังนั้น การตอบสนองของผลผลิตตอการสูงขึ้นของระดับราคา ซึ่งก็คือความลาดชันของเสนอุปทานรวม จะขึ้นอยู

กับการตอบสนองของตนทุนดวย

ราคาของปจจัยการผลิตตางๆ ที่กิจการจายใหแกแรงงานและปจจัยการผลิตอื่นๆ มักจะคงท่ีอยูในชวงเวลาหนึ่ง ซึ่ง

แนนอนวาจะไมคงที่อยูตลอดไป โดยปกติคนงานและ (เจาของ) กิจการ (ผูวาจาง) จะทําสัญญาจาง และมักจะกําหนดอัตรา

คาจางที่เปนตัวเงิน (money wages) ไวลวงหนา สําหรับการจางในชวงระยะเวลาหนึ่ง อยางไรก็ตามสําหรับบางแหงที่ไมมี

การทําสัญญาจางเปนเอกสารไว อัตราคาจางมักจะมีการปรับปละหนึ่งคร้ัง ในชวงระยะเวลาน้ัน อัตราคาจางที่เปนตัวเงิน

จะคงที่ ในทํานองเดียวกันปจจัยการผลิตเชนวัตถุดิบตางๆ มักจะมีการจัดหานํามาสงใหกิจการ โดยมีการตกลงในเร่ืองราคา

กันไวกอนหนา / ลวงหนา แลว

ความจริงตางๆ เหลานี้เปนเร่ืองที่สําคัญ ทั้งนี้เพราะวา การตัดสินใจของกิจการตางๆ วาจะทําการผลิตเปนจํานวน

เทาใด จะทําโดยการเปรียบเทียบราคาที่จะขายไดกับตนทุนการผลิต และตนทุนการผลิตเองจะมากหรือนอยเทาใดนั้น

นอกเหนือจากตัวแปรอื่นๆ แลว ขึ้นอยูกับตัวแปรที่สําคัญคือ ราคาปจจัยการผลิตตางๆ ดังนั้นถาหากราคาสินคาของกิจการที่

จะขายไดเพิ่มขึ้นในขณะที่คาจางแรงงานและตนทุนอื่นๆ อยูคงที่ การผลิตก็จะมีกําไรมากข้ึน กิจการตางๆ ก็จะผลิต

สินคาออกมามากขึ้น

ตัวอยางงายๆ ขางลางนี้จะแสดงใหเห็นแนวคิดนี้ สมมติวากิจการแหงหนึ่งใชแรงงานจํานวนหน่ึงชั่วโมง ผลิต

สินคาออกมาขายได 1 ชิ้นในราคา 250 บาท ถาคนงานไดรับคาจางช่ัวโมงละ 200 บาท และกิจการไมมีตนทุนการผลิต

อื่นๆ อีก ดังนั้นกําไรตอหนวยจะเปนดังนี้

กําไรตอหนวย = ราคา - ตนทุนตอหนวย

= 250 - 200 = 50 บาท

ตอไปอะไรจะเกิดขึ้น ถาหากราคาของสินคาเพิ่มขึ้นเปน 300 บาท แตอัตราคาจางยังคงท่ีราคาเดิม กําไรของกิจการจะเปน

ดังตอไปนี้

กําไรตอหนวย = ราคา - ตนทุนตอหนวย

= 300 – 200 = 100 บาท

เม่ือการผลิตมีกําไรมากขึ้น กิจการจะผลิตสินคาออกมาเสนอขายมากขึ้น

กระบวนการตาง ๆ จะเปนจริงในทางตรงกันขามเชนกัน กลาวคือ ถาราคาขายลดลงในขณะท่ีคาใชจายตางๆ ใน

การผลิตยังคงท่ีอยูที่ระดับเดิม (หรือลดลงนอยกวา) สวนเหล่ือมกําไรจะลดลง และกิจการจะลดจํานวนการผลิตลง พฤติกรรม

ตางๆ นี้ สามารถสรุปไดในรูปที่เสนอุปทานรวม มีความลาดชันเปนบวกนั่นคือ การผลิตจะเพิ่มขึ้นเม่ือระดับราคา (ซึ่งตอไปจะ

เรียกวา P) สูงขึ้นและลดลงเม่ือ P ลดลง หรืออีกนัยหนึ่ง

เสนอุปทานรวมมีความลาดชันเปนบวก เพราะวาโดยปกติแลวกิจการสามารถจะจางแรงงาน หรือจัดซื้อปจจัยการ

ผลิตอื่นๆ ไดในราคาคงท่ี ในชวงระยะเวลาหนึ่ง ดังนั้นเม่ือราคาขายของสินคาสูงขึ้นก็จะเปนส่ิงจูงใจใหกิจการทํา

การผลิตเพิ่มขึ้น

Page 4: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

128 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

คําวา “ในชวงระยะเวลาหนึ่ง” เห็นส่ิงที่เตือนเราถึงขอเท็จจริงที่สําคัญประการหน่ึงคือ เสนอุปทานรวม จะไมหยุดนิ่ง

อยูกับที่เปนระยะเวลานาน ถาอัตราคาจางหรือราคาของปจจัยการผลิตอื่นๆ เปล่ียนแปลง ซึ่งก็จะเปล่ียนแปลงอยางแนนอน

โดยเฉพาะอยางย่ิงในชวงที่เกิดเงินเฟอ เสนอุปทานรวมก็จะขยับ / เล่ือน ตามไปดวย

การขยับ/ เล่ือน ของเสนอุปทานรวม จนถึงในขณะนี้ เราไดขอสรุปวา ณ ระดับอัตราคาจางและราคาปจจัยการผลิตอื่นที่กําหนด เสนอุปทานรวมที่แสดง

ความสัมพันธระหวางระดับราคา และจํานวนเสนอขายรวม จะมีความลาดชันเปนบวก ในสวนตอไปนี้เราจะพิจารณาวาอะไร

จะเกิดขึ้น เม่ือราคาปจจัยการผลิตตางๆ เปล่ียนแปลงไป

หนึ่ง อัตราคาจางที่เปนตวัเงิน ปจจัยที่เดนชัดที่สุดที่จะมีผลตอ ตําแหนงของเสนอุปทานรวมคือ อัตราคาจางที่เปนตัว

เงิน (the money wage rate) อัตราคาจางคือ สวนประกอบหลักของตนทุนการผลิตของเศรษฐกิจ ในประเทศอเมริกา คาจาง

ประกอบเปนสัดสวนมากถึงรอยละ 70 ของตนทุนทั้งหมดจะสูงขึ้น ดังนั้น ถาหากอัตราคาจางสูงขึ้น จะหมายถึงรอยละ 70

ของตนทุนทั้งหมด เพราะวาถาหากอัตราคาจางสูงขึ้นจะหมายถึงตนทุนการผลิตที่สูงขึ้น และนั่นคือกําไรที่ลดลง ณ ทุกๆ

ระดับราคาสินคาที่ขายได ดวยเหตุนี้เองกิจการตางๆ จึงมักจะไมพอใจเม่ือคนงานหรือสหภาพแรงงานเรียกรองคาจาง

แรงงานมากขึ้น ตัวอยางเชน เร่ิมตนจากการหยุดงานขนาดเล็กๆ ที่เมือง ฟลินท รัฐมิชิแกน กลับขยายวงออกไปจนบริษัท

เจนเนอรัลมอเตอรตองปดโรงงานเกือบทุกโรงงานในอเมริกา ในชวงฤดูรอนของป 2541 ทั้งนี้เพราะท้ังฝายบริหารและ

คนงานตางก็ไมยอมออนขอใหแกกัน

ใหกลับมาดูที่ตัวอยางเดิมของเราวา อะไรจะเกิดขึ้นกับผูประกอบการ ถาหากอัตราคาจางแรงงานเพิ่มขึ้นเปน 220

บาทตอชั่วโมง ในขณะที่ราคาสินคาที่ขายไดยังอยูในระดับเดิมคือ 250 บาท กําไรตอหนวยจะลดลงเปนดังตอไปนี้

กําไรเดิม 250 - 200 = 50 บาท

กําไรใหม 250 - 220 = 30 บาท

เม่ือกําไรลดลง กิจการอาจตัดสินใจลด

ปริมาณการผลิตลง

ส่ิงที่กลาวมาคือ แนวทางที่กิจการใน

เศรษฐกิจของเรา จะมีปฏิกิริยาตอบสนองตอการ

เพิ่มขึ้นของอัตราคาจาง ดังนั้นการเพิ่มขึ้นของอัตรา

คาจาง จะชักนําใหจํานวนอุปทานรวมลดลง ณ

ระดับราคาสินคาที่เปนอยูในขณะน้ัน เม่ือแสดงโดย

กราฟ เสนอุปทานรวมจะขยับมาทางดานซายมือ

(ขยับเขา) ดังเชนที่แสดงในรูปที่ 6 – 2 ในรูปนี้ แต

เดิมกิจการยินดีหรือเต็มใจที่จะเสนอขายสินคา และ

บริการเปนจํานวน 6,400 พันลานบาท ณ ระดับราคา

100 เม่ืออัตราคาจางอยูในระดับตํ่า (จุด A) แต

หลังจากที่อัตราคาจางสูงขึ้นกิจการตาง ๆ เหลานั้นเต็มใจที่จะเสนอขายสินคาเปนจํานวนเพียง 6,000 พันลานบาท ณ

Page 5: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

บทที่ 6

ดุลยภาพดานอุปทาน : การวางงานและเงินเฟอ

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 129

ระดับราคาเดิม (จุด B) ดวยเหตุผลในทํานองเดียวกันนี้ เสนอุปทานรวม จะขยับไปทางขวา (ขยับออก) ถาอัตราคาจางลดลง

ดังนั้นจึงสรุปไดวา

การสูงขึ้นของอัตราคาจางที่เปนตัวเงินจะทําใหเสนอุปทานรวมขยับเขา ซึ่งหมายความวา จํานวนเสนอขาย ณ

ระดับราคาตาง ๆ ลดลง และการลดลงของอัตราคาจางที่เปนตัวเงิน จะทําใหเสนอุปทานรวมขยับออก ซึ่งหมายถึง

จํานวนเสนอขาย ณ ระดับราคาตางๆ สูงขึ้น

สอง ราคาของปจจัยการผลิตอ่ืนๆ อัตราคาจางไมใชตัวแปรเพียงอยางเดียวที่ทําใหเสนอุปทานรวมขยับได ราคาปจจัย

การผลิตชนิดอื่นๆ ไมวาจะเปนปจจัยใดก็ตาม ถาหากมีราคาสูงขึ้น ก็จะมีผลทําใหเสนอุปทานขยับไดเชนกัน นั่นคือ

เสนอุปทานรวมจะขยับเขา ถาหากราคาของปจจัยการผลิตชนิดใดชนิดหนึ่ง ที่ตองใชในขบวนการผลิตสูงขึ้น และ

เสนอุปทานรวมจะขยับออก ถาหากราคาของปจจัยการผลิตชนิดใดชนิดหนึ่งลดลง

ถึงแมวาผูผลิตจะใชปจจัยการผลิตอื่นๆ อีกหลายชนิดที่นอกเหนือจากแรงงาน แตมีปจจัยการผลิตชนิดหนึ่งที่ไดรับ

ความสนใจมากท่ีสุด ในชวงหลาย ๆ ทศวรรษท่ีผานมา ปจจัยนี้คือ พลังงาน การเพิ่มขึ้นของราคาพลังงานตาง ๆ ตัวอยางเชน

การเพิ่มขึ้นในชวงตนทศวรรษที่ 2523 และการเพ่ิมขึ้นอีกคร้ังหนึ่งในชวงป 2534 ในชวงของสงครามอาวเปอรเซีย ไดผลักดัน

ใหเสนอุปทานรวมขยับเขา เหมือนกับที่แสดงในรูปที่ 6 – 2 ในทํานองเดียวกัน การลดลงของราคานําเขาน้ํามัน เชนที่

เกิดขึ้นในชวงป 2540 – 2541 ก็ทําใหเสนอุปทานรวมขยับไปในทิศทางตรงกันขาม คือ ขยับออก

สาม เทคโนโลยีและผลิตภาพ ปจจัยอีกประการหนึ่งที่มีผลตอการกําหนดตําแหนงของเสนอุปทานรวมคือ สถานะ / หรือ

สภาพของเทคโนโลยี ตัวอยางเชน สมมติวา มีความกาวหนาทางวิทยาศาสตร / ทางเทคโนโลยี ที่จะเพิ่มผลิตภาพ

(productivity) ของแรงงาน ถาอัตราคาจางไมเปล่ียนแปลง การเพิ่มขึ้นของผลิตภาพของแรงงาน จะทําใหตนทุนการผลิต

ลดลง กําไรจะสูงขึ้น และสนับสนุนใหมีการผลิตเพิ่มขึ้น

เราจะกลับไปที่ตัวอยางเดิมอีกคร้ังหนึ่ง เพื่อจะใหเขาใจไดมากขึ้นวาเทคโนโลยี ผลิตภาพ และการเพิ่มการผลิต

เก่ียวของกันอยางไร สมมติวาเร่ิมแรกราคาสินคาอยูที่ 250 บาท และอัตราคาจางอยูที่ 200 บาทตอช่ัวโมงเหมือนเดิมและ

ตอมา สมมติวา คนงานของกิจการมีผลิตภาพมากขึ้น กลาวคือแรงงานที่ตองการใชในการผลิตสินคา 1 ชิ้น ลดลงจาก 1

ชั่วโมงเปน 0.75 ชั่วโมง การเปล่ียนแปลงดังกลาวจะทําใหกําไรตอหนวยเพิ่มขึ้นดังนี้

เดิม กําไร = 250 – (1) (200) = 250 – 200 = 50

ใหม กําไร = 250 – (0.75) (200) = 250 – 150 = 100

การที่กําไรตอหนวยสูงขึ้น จะชักนาํ หรือเปนส่ิงจูงใจใหผูประกอบการ เพิ่มปริมาณการผลิตขึ้น ดังนั้นสามารถจะ

สรุปส้ัน ๆ ไดวา

การปรับปรุงหรือ การเพิ่มขึ้นของผลิตภาพจะขยับเสนอุปทานรวมออก

Page 6: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

130 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

เพราะฉะน้ันเราสามารถจะตีความรูปที่ 6 – 2 ใหมก็ไดวา เปนการลดลงของผลิตภาพ ดังที่เคยกลาวถึงในบทที่ 2 แลววา

การเติบโตอยางชาๆ ของผลิตภาพ คือ ปญหาหนึ่ง ที่เปนปญหามาโดยตลอด ต้ังแตทศวรรษที่ 2513 จนถึงปจจุบันของ

เศรษฐกิจของประเทศอเมริกา และประเทศท่ีพัฒนาแลวทั้งหลาย

ส่ี จํานวนที่มีอยูของแรงงานและทุน ปจจัยตัวสุดทายที่มีผลตอการกําหนดตําแหนงของเสนอุปทาน คือจํานวนที่มีอยูของ

แรงงานและทุน ซึ่งเปนปจจัยที่เห็นไดชัดเจน เศรษฐกิจที่มีขนาดใหญกวา – ซึ่งวัดโดยจํานวนของแรงงานและทุนที่มีอยู -

ยอมจะทําการผลิตไดมากกวา ดังนั้น

เม่ือกองกําลังแรงงานโตขึ้นหรือมีคุณภาพดีขึ้น และเม่ือมีการลงทุน ซึ่งทําใหสตอคของทุนเพิ่มมากขึ้น เสนอุปทาน

รวมจะขยับออกไปทางขวา ซึ่งหมายความวา จะสามารถผลิตสินคาไดมากขึ้น ณ ระดับราคาตางๆ

ตัวอยางเชน เกิดมีการลงทุนเปนจํานวนมากในอเมริกา ในชวงทศวรรษ 2533 ซึ่งเปนการเพิ่มจํานวนของสินคาทุน

และเปนการเพิ่มขีดความสามารถของเศรษฐกิจอเมริกาที่จะผลิตสินคาและบริการไดมากขึ้น จากการลงทุนที่เพิ่มขึ้นดังกลาว

ทําใหเสนอุปทานรมขยับออกไปทางขวา

ปจจัยตางๆ ทั้งส่ีขอที่กลาวถึงขางตนนี้ คือ “ปจจัยอื่นๆ” ที่เรากําหนดใหมีคาคงที่เม่ือเราลากเสนอุปทานรวม ซึ่ง

ปจจัยอื่นๆ เหลานี้ไดแก อัตราคาจางแรงงาน ราคาของปจจัยการผลิตชนิดอื่นๆ (เชนราคาของพลังงาน) เทคโนโลยี กอง

กําลังแรงงานและสตอกของทุน ในขณะท่ีการเปล่ียนแปลงของระดับราคา จะทําใหเศรษฐกิจเคล่ือนไปบนเสนอุปทานรวม

เสนใดเสนหนึ่ง (move along a given supply curve) แตการเปล่ียนแปลงของปจจัยหลักๆ ทั้งส่ีขางตน จะทําใหเสนอุปทาน

รวมขยับ (shifts the entire supply schedule)

ดุลยภาพของอุปสงครวมและอุปทานรวม

เนื้อหาที่กลาวถึงในบทที่ 4 บอกใหเราทราบวาระดับราคาเปนปจจัยที่สําคัญที่จะกําหนดวา GDP ดุลยภาพ จะอยู

ในระดับที่ตํ่ากวาการจางงานเต็มที่ (เกิดชองวางเศรษฐกิจตกต่ํา) หรือจะอยู ณ จุดการจางงานเต็มที่พอดี หรือจะอยูเหนือจุด

การจางงานเต็มที่ (เกิดชองวางเงินเฟอ) ในขณะน้ีเราสามารถ

จะวิเคราะหไดแลววาจะเกิดชองวางประเภทใด (ถามี) ในกรณี

ตางๆ เม่ือเรารวมการวิเคราะหอุปทานรวมที่เพิ่งเสร็จไป

ขางตน กับการวิเคราะหอุปสงครวมที่กลาวถึงแลวในสองบทที่

ผานมาเขาดวยกัน จะทําใหเราสามารถหาระดับดุลยภาพของ

GDP ที่แทจริง (Y) กับระดับราคาดุลยภาพ (P) ไดพรอมๆ กัน/

ในเวลาเดียวกัน

รูปที่ 6 – 3 แสดงถึงกลไกงายๆ เสนอุปสงครวม

DD และเสนอุปทานรวม SS ตัดกันที่จุด E ที่ซึ่ง GDP ที่

แทจริงเทากับ 6,400 พนัลานบาท และระดับราคาเทากับ

100 ดังที่สามารถมองเห็นไดจากกราฟ ณ ระดับราคาใด ๆ

ที่อยูเหนือขึ้นไป สมมติวาที่ 120 จํานวนอุปทานรวมจะ

Pric

e le

vel

S

6,000 6,400 6,800 7,200 7,6005,600

80

90

100

110

120

130

รูปท่ี 6-3 Equilibrium of Real GDP and the Price Level

Real GDP

E

S D

D

Page 7: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

บทที่ 6

ดุลยภาพดานอุปทาน : การวางงานและเงินเฟอ

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 131

มากกวาจํานวนอุปสงครวม จะมีสินคาเหลืออยูในตลาดเปนจํานวนมาก กิจการจะพบวาไมสามารถจะขายสินคาที่ผลิต

ออกมาไดทั้งหมด สินคาคงคลังจะเพิ่มสูงขึ้น กิจการจะมีการแขงขันกันมากขึ้น เพื่อแยงลูกคาและจะเปนการบีบบังคับให

ราคาลดลง ซึ่งทั้งระดับราคาและการผลิตจะลดลง

ณ ระดับราคาใด ๆ ก็ตามที่ตํ่ากวา 100 สมมติวาที่ 80 จํานวนอุปสงครวมจะมากกวา จํานวนอุปทานรวมจะทํา

ใหสินคาในตลาดมีไมเพียงพอ สินคาคลังจะลดลงในขณะที่ผูบริโภคยังติดตอขอซื้อสินคาอยูตลอดเวลา ซึ่งเปนการสงเสริม

ใหกิจการตัดสินใจเพิ่มราคาสินคา ดังนั้นทั้งระดับราคาและจํานวนสินคาที่ผลิตจะสูงขึ้น จะมีเพียงที่ระดับราคาเทากับ 100

เทานั้นที่จํานวน GDP ที่แทจริงที่ตองการ หรือจํานวนอุปสงคจะเทากับจํานวนอุปทาน เพราะฉะน้ัน จะตองเปนจุดที่ P =

100 และ y = 6,400 เทานั้นที่เปนจุดดุลยภาพ

ตารางที่ 6- 1 การหาระดับราคาดุลยภาพ

(1)

ระดับราคา

(2)

จํานวนอุปสงครวม

(3)

จํานวนอุปทานรวม

(4)

สมดุลของอุปทานละอุปสงค

(5)

สถานะของราคา

80

90 100 110

120

6,800

6,600 6,400 6,200

6,000

6,000

6,200 6,400 6,600

6,800

อุปสงคมากกวาอุปทาน

อุปสงคมากกวาอุปทาน อุปสงคเทากับอุปทาน อุปสงคนอยกวาอุปทาน

อุปสงคนอยกวาอุปทาน

ราคาสูงขึ้น

ราคาสูงขึ้น ไมเปล่ียนแปลง ราคาลดลง

ราคาลดลง

ตารางที่ 6 -1 เปนการแสดงขอสรุปที่ไดอีกรูปแบบหนึ่ง เปนการวิเคราะหโดยใชตาราง เหมือนกับที่เคยทําในบทที่ 4

(ดูตารางที่ 4 – 2) คอลัมนที่ 1 และ 2 เปนการนําเสนออุปสงคในรูปตาราง ซึ่งสอดคลองกันทุกประการกับเสน DD ในรูป

ที่ 6 – 3 คอลัมน 1 และ 3 คือการนําเสนออุปทานในรูปตาราง และสอดคลองกันทุกประการกับเสน SS ในรูปเชนกัน

ขอมูลที่นําเสนอในตาราง แสดงใหเห็นชัดเจนวา จุดดุลยภาพจะเกิดขึ้นก็ตอเม่ือ P = 100 และ Y = 6,400 พันลาน

บาท ณ ระดับราคาอื่นๆ จํานวนอุปสงครวมและจํานวนอุปทานรวมจะไมเทากัน และจะมีความกดดันใหราคาสูงขึ้นหรือลดลง

ตัวอยางเชน ที่ระดับราคาเทากับ 90 อุปสงคในสินคาและบริการของผู

บริโภคจะเทากับ 6,600 พันลานบาท แตกิจการมีความประสงคจะทําการผลิตเปนจํานวนเพียง 6,200 พันลานบาท แสดงวา

ระดับราคาอยูตํ่าเกินไป และจะมีแรงกดดันใหราคาเพิ่มขึ้นในทางตรงกันขาม ณ อีกระดับราคาหนึ่ง สมมติวา 110 จํานวน

อุปทานจะเทากับ 6,600 พันลานบาท ซึ่งมากกวาจํานวนอุปสงคที่เทากับ 6,200 พันลานบาท และเปนสัญญาณบอกวา

ระดับราคาจะตองลดลง

การพิจารณาชองวางเศรษฐกิจตกต่ําและชองวางเงนิเฟอใหม

ในสวนน้ีจะเปนการนําเอาคําถามท่ีเราเคยถามไวในบทที่ 4 แตยังไมสามารถตอบไดกลับมาพิจารณาใหมอีกคร้ัง

นั่นคือ ดุลยภาพ GDP จะเกิดขึ้น ณ จุดที่เทากันพอดี หรือตํ่ากวา หรือสูงกวา GDP ตามศักยภาพ ซึ่งที่จริงแลวก็คือ GDP ณ

จุดที่มีการจางงานเต็มที่

Page 8: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

132 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

เราไมสามารถตอบคําถามนี้ไดอยางสมบูรณในบทที่ 4 เพราะวาเราไมสามารถจะหาระดับราคาดุลยภาพได ดังนั้น

จึงไมสามารถบอกไดวาชองวางจะเกิดขึ้นหรือไม และจะเปนชองวางประเภทใด การวิเคราะหอุปทานรวมและอุปสงครวม ที่

สรุปไวในรูปที่ 6 – 3 และตารางที่ 6 – 1 ใหเคร่ืองมือที่เราจําเปนตองมีเพื่อจะใชวิเคราะหตอบคําถามได แตเราจะพบวา

คําตอบจะยังเหมือนเดิมคือ อะไรก็เกิดขึ้นได

เหตุผลก็คือในรูปที่ 6 – 3 ไมไดบอกอะไรแกเราเลยวา GDP ตามศักยภาพอยูที่ตรงไหน ซึ่งอาจจะอยูตํ่ากวาหรือสูง

กวาระดับดุลยภาพที่ 6,400 พันลานบาทได ทั้งนี้เพราะดุลยภาพจะเกิดขึ้น ณ จุดใดขึ้นอยูกับตําแหนงของเสนอุปทานรวม

และอุปสงครวม ดังนั้นจึงมีโอกาสเปนไปไดทั้งนั้น ที่จะเกิดดุลยภาพ ณ จุดที่อยูสูงกวา GDP ตามศักยภาพ (เกิดชองวางเงิน

เฟอ) เกิด ณ จุด GDP ตามศักยภาพพอดี และเกิด ณ จุดที่อยูตํ่ากวา GDP ตามศักยภาพ (เกิดชองวางเศรษฐกิจตกต่ํา)

กรณีทั้งหมดนี้ไดแสดงไวในรูปที่ 6-4 เราคงจะคุนเคยกับสวนบนของรูป ซึ่งเคยแสดงใหเห็นแลวในบทที่ 4 และถา

เรายังจํากันไดวาแผนผังรายได – การใชจาย เปนการพิจารณาเฉพาะจากทางดานอุปสงคของเศรษฐกิจเทานั้น และเปนการ

วิเคราะหที่กําหนดใหระดับราคาคงที่ ที่ระดับหนึ่ง เม่ือเราพิจารณารูปที่ 6 – 4 จากดานซายมือไปทางดานขวามือ เสนการใช

จายจะสูงขึ้น / เพิ่มขึ้น จาก C + Io + G + (X-M) เปน C + I1 + G + (X – M) เปน C + I2 + G + (X – M) ซึ่งจะเปนกรณีที่เกิด

ชองวางเศรษฐกิจตกตํ่า เกิดดุลยภาพ ณ จุด GDP ตามศักยภาพพอดี และเปนกรณีเกิดชองวางเงินเฟอ เรียงกันตามลําดับ

จะเห็นไดวารูปดานบนซาย จะเหมือนกับรูปที่ 4 – 6 และรูปดานบนขวาจะเหมือนกับรูปที่ 4 – 7 เราไดกลาวยํ้าในบทที่ 4

แลววา กรณีใดกรณีหนึ่งในสามกรณีนี้มีโอกาสเกิดขึ้นได ขึ้นอยูกับระดับราคา และตัวแปรอื่นๆ ที่เปนตัวกําหนดตําแหนงของ

เสนการใชจาย

รูปในสวนลางทั้งสามรูป เปนรูปที่นําเอาทั้งอุปสงครวมและอุปทานรวมมาพิจารณา เพราะฉะน้ันจะทําใหหาไดทั้ง

ระดับราคาดุลยภาพและ GDP ดุลยภาพ ซึ่งก็คือที่จุด E ซึ่งเปนจุดที่ตัดกันของเสนอุปสงครวม (DD) และเสนอุปทานรวม

(SS) แตกรณีทั้งสามก็ยังเกิดขึ้นได

ในรูปดานลางซายมือ อุปสงครวม ตํ่าเกินไปกวาที่จะจางแรงงานที่อยูในกองกําลังแรงงานไดทั้งหมด ดังนั้นจึงเกิด

ชองวางเศรษฐกิจตกตํ่าขึ้น เปนจํานวนเทากับระยะทาง EB หรือ 1,000 พันลานบาท ซึ่งมีลักษณะตรงกันกับสถานการณที่

แสดงในแผนผังรายได การใชจายที่อยูดานบนของรูปพอดี

ในรูปลางดานขวามือ อุปสงครวมสูงมากเกินไป และเศรษฐกิจไดดุลยภาพ ณ ตําแหนงที่อยูสูงกวา GDP ตาม

ศักยภาพ และเกิดชองวางเงินเฟอขึ้นเทากับ BE หรือ 1,000 พันลานบาท ซึ่งมีลักษณะเหมือนกับแผนผังที่อยูดานบน

ในรูปลางตรงกลาง เสนอุปสงครวม D1D1 อยูในระดับที่ถูกตอง ที่จะทําใหเกิดดุลยภาพ ณ จุด GDP ตามศักยภาพ

พอดี และไมเกิดมีชองวางเศรษฐกิจตกตํ่า หรือชองวางเงินเฟอขึ้น และมีลักษณะเหมือนกับแผนผังที่อยูดานบน

ดังนั้นจึงดูเหมือนวาเราไมไดทําอะไร เพียงแตเอาขอสรุปที่เคยได มาเขียนใหมในอีกรูปแบบหนึ่ง แตความจริงแลว

เราไดทํามากกวานั้นมาก เพราะวาในขณะนี้เราไดเรียนถึง การหาระดับราคาดุลยภาพ เราจะสามารถพิจารณาไดวา

เศรษฐกิจจะปรับตัวอยางไร เม่ือเกิดมีชองวางประเภทตางๆ เกิดขึ้น ถาพิจารณาใหแคบเขาก็คือ เพราะวาในระยะส้ันอัตรา

คาจางที่เปนตัวเงินนั้นคงที่ ดังนั้นกรณีใดกรณีหนึ่งในสามกรณี อาจเกิดขึ้นได แตในระยะยาวแลว อัตราคาจางจะปรับตัว

ตามเงื่อนไขในตลาดแรงงาน และส่ิงที่เกิดขึ้นคือ เสนอุปทานรวมจะขยับ ซึ่งการปรับตัวในลักษณะนี้ เปนส่ิงที่เราจะเรียนกัน

ตอไป

Page 9: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

บทที่ 6

ดุลยภาพดานอุปทาน : การวางงานและเงินเฟอ

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 133

การปรับตัวเมื่อเกิดชองวางเศรษฐกิจตกต่ํา : ระดับราคาลดลง หรือ การวางงาน

สมมติวาเศรษฐกิจของประเทศเร่ิมตนจากสภาพท่ีเกิดชองวางเศรษฐกิจตกตํ่าหรือดุลยภาพเกิดขึ้น ณ จุดที่อยูตํ่า

กวา GDP ตามศักยภาพ ดังที่แสดงในรูปดานลางซายมือของรูปที่ 6 – 4 ซึ่งเปนสถานการณที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากสาเหตุ

ตางๆ เชน การใชจายผูบริโภคไมเพียงพอ หรือ การลงทุนนอยเกินไป ชองวางเศรษฐกิจตกต่ํานี้ไมคอยจะเกิดขึ้นบอยคร้ังนัก

ในอเมริกา แตเปนเหตุการณเกิดขึ้นบอยคร้ังมากในชวงระยะหลังๆ ในประเทศญี่ปุน ไทย และประเทศอื่นๆ ในเอเชีย คําถาม

คือ อะไรจะเกิดขึ้นเม่ือเกิดชองวางเศรษฐกิจตกตํ่าขึ้นมา

เม่ือดุลยภาพ GDP อยูตํ่ากวาศักยภาพ งาน

จะหาไดยากขึ้น จํานวนของผูวางงาน หรือไมมีงานทํา

จะมากกวาจํานวนของผูที่ไมมีงานทําอันเนื่องมาจากอยู

ระหวางการเคล่ือนยายหรือเปล่ียนงาน (frictional

unemployment) ตามคําศัพทที่เคยกลาวถึงแลวในบท

ท่ี 2 จะมีการวางงานที่เรียกวาเปนการวางงานตามวัฎ

จักร(Cyclical unemployment) เปนจํานวนมากทีเดียว

อยูจํานวนหน่ึง แตในทางตรงกัน ขามธุรกิจตางๆจะ

พบวา ไมมีปญหามากนักที่จะหาคนงานที่มีคุณสมบัติReal GDP

E

6,0005,000

B

Potential GDP

Recessionary gapP

rice

leve

l

D

D

รูปท่ี 6-5 The Elimination of a Recessionary Gap

S1

S1

S0

S0

F

100

Real GDP

E

7,0006,000

45 ํ

Rea

l Ex

pend

iture

B

Potential GDP

C+I0+G+(X-M)

Recessionary gap

รูปท่ี 6-4 Recessionary and Inflationary Gaps Revisited

Real GDP

E

7,000

45 ํ

Potential GDP

C+I1+G+(X-M)

Real GDP

E

7,000 8,000

45 ํB

F

Potential GDP

Inflationary gap C+I2+G

+(X-M)

Real GDP

E

7,0006,000

B

Potential GDP

Recessionary gap

Real GDP

E

7,000

Potential GDP

Real GDP

E

7,000 8,000

B

F

Potential GDP

Inflationary gap

(a) (b)

Pric

e le

vel

S

S

D0

D0

S

S

D1

D1

(c)

S

S

D2

D2

Page 10: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

134 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ตามที่ตองการ นอกจากนั้นคนงานท่ีจางอยูในปจจุบันก็ไมพยายามท่ีจะไปหางานที่อื่นทํา

ในสภาพการณเชนนี้ เปนส่ิงที่ยากลําบากที่คนงานจะเรียกรองคาแรงงานเพิ่มขึ้น ซึ่งตามความเปนจริงแลว ใน

กรณีสุดขั้วที่อาจจะเกิดขึ้นไดคือ คาจางอาจลดลงก็ได และเม่ือเกิดกรณีนี้ขึ้น เสนอุปทานรวมจะขยับออกไป (คิดวาทานยังคง

จํากันไดวา ในการลากเสนอุปทานรวมนั้น เรากําหนดใหอัตราคาจางที่เปนตัวเงินคงที่ที่ระดับหนึ่ง) แตเม่ือเสนอุปทานรวม

ขยับออก หรือเคล่ือนจากเสน S0S0 เปน S1S1 ตามรูปที่ 6 – 5 ระดับราคาจะลดลง และชองวางเศรษฐกิจตกต่ําจะลดลงและ

หายไป ตามขบวนการน้ีการลดลงของราคา (deflation) ในที่สุดแลวจะทําใหชองวางเศรษฐกิจตกต่ําหมดไป และชักนําให

เศรษฐกิจเคล่ือนเขาสูจุดดุลยภาพใหม ณ ระดับ GDP ตามศักยภาพ ซึ่งไดแกจุด F ในรูปที่ 6 – 5

แตในระบบเศรษฐกิจสมัยใหม ในปจจุบันมีอุปสรรคที่สําคัญประการหนึ่งคือ ขบวนการการปรับตัวดังกลาวเกิดขึ้น

อยางชามากๆ ตามที่เราทบทวนประวัติศาสตรเศรษฐกิจของประเทศอเมริกาในบทที่ 1 จะเห็นไดวา ในประวัติศาสตรของ

อเมริกานั้น เกิดมีสภาวะการลดลงของราคา (deflation) เกิดขึ้นหลายคร้ังในชวงกอนสงครามโลกคร้ังที่ 2 แตไมเคยมีอีก

เลยหลังจากนั้นมา ซึ่งเม่ือเกิดมีเหตุการณเกิดขึ้นในบางครั้งอัตราการวางงานตองสูงขึ้นไปถึงระดับอัตรามากกวารอยละ 10

จึงจะสรางแรงกดดันไดเพียงพอท่ีจะทําใหระดับราคาและอัตราคาจางลดลงได แตส่ิงที่เกิดขึ้นแนๆ คือ สภาพการวางงานจะ

ทําใหอัตราเพิ่มของราคาและคาจางลดลง

คําถามที่วา ทําไมคาจางและราคา จึงเกือบจะไมลดลงเลยในเศรษฐกิจยุคใหมนี้ เปนประเด็นที่มีการโตเถียงกัน

อยางเขมขนและกวางขวางในระหวางบรรดานักเศรษฐศาสตร เปนเวลานานหลายปมาแลว นักเศรษฐศาสตรบางคนระบุวา

เปนปญหาทางดานสถาบัน (institutional factors) เชน กฎหมายอัตราจางขั้นตํ่า สัญญาที่ทํากับสหภาพแรงงาน และ

กฎระเบียบตางๆ ของทางการที่กําหนดอัตราขั้นตํ่า (floor) ของราคาและคาจางบางประเภทไว เนื่องจากตัวแปรทางดาน

สถาบันตางๆ เหลานี้ เปนส่ิงที่เกิดขึ้นในระยะหลังๆ ทฤษฎีนี้จึงประสบความสําเร็จในการอธิบายวาเหตุใดคาจางและราคาจึง

ไมคอยลดตํ่าลงในชวงหลังของสงครามโลกคร้ังที่สอง เม่ือเปรียบเทียบกับชวงกอนสงคราม อยางไรก็ตามเม่ือพิจารณา

ขนาดองคประกอบของเศรษฐกิจของอเมริกาที่อยูภายใตกฎระเบียบตางๆ ที่จํากัดการลดลงของราคาและคาจางนั้น พบวา

ประกอบเปนสัดสวนเพียงเล็กนอยเทานั้น เม่ือเปรียบเทียบกับเศรษฐกิจโดยรวมทั้งหมด ดังนั้นจึงยังเปนส่ิงที่เคลือบแคลงใจ

วา ขอกําหนดตางๆ ตามกฎหมายหรือปจจัยทางดานสถาบันนั้น จะใชอธิบายการปรับตัวอยางชาๆ ของคาจางและราคาใน

อเมริกาไดดีแคไหน อยางไรก็ตาม ปจจัยทางดานสถาบันนี้เปนปจจัยที่มีความสําคัญมากในประเทศในยุโรปหลายๆ

ประเทศ

นักเศรษฐศาสตรบางคนระบุวา ปจจัยทางดานจิตวิทยา ซึ่งเปนการตอตานที่อยูภายในลึกๆ ของคนงานท่ีจะยอมรับ

การลดลงของคาจาง ซึ่งทฤษฎีนี้มีสวนของความจริง กลาวคือใหทานลองนึกดูวาทานจะมีปฏิกิริยาโตตอบอยางไร ถา

นายจางของทานประกาศวาจะลดอัตราคาจางของทานลง ทานอาจจะลาออกหรืออาจจะทุมเทใหกับการทํางานนอยลง ถา

นายจางคิดวาทานจะมีปฏิกิริยาตามที่กลาวขางตน นายจางอาจรั้งรอท่ีจะลดอัตราคาจางลง ซึ่งในขณะปจจุบันการลดอัตรา

คาจางนั้นเกิดขึ้นนอยมาก ถึงแมจะไมมีใครสงสัยหรือโตเถียงเลยวา การลดอัตราคาจางจะเปนผลเสียตอขวัญและกําลังใจ

แตก็ยังมีขอสงสัยวา ทําไมทฤษฎีนี้จึงใชอธิบายเหตุการณไดดีเฉพาะในชวงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เทานั้น นอกเสีย

แตวาจะมีคําอธิบายทีนาพอใจมาอธิบายเทานั้น มิฉะนั้นนักเศรษฐศาสตรจะยังคงมีความสงสัยในทฤษฎีนี้อยูตลอดไป

คําอธิบายประการที่สาม อยูบนพื้นฐานความจริงที่เราเคยยํ้าในบทที่ 1 วา วัฎจักรเศรษฐกิจมีความรุนแรงนอยลง

ในชวงหลังสงครามโลกคร้ังที่สอง กวาในชวงกอนสงคราม ทั้งนี้เปนผลมาจากการที่ทั้งคนงานและธุรกิจเร่ิมที่การเรียนรูและ

เช่ือวาเศรษฐกิจที่ตกตํ่าเพียงเล็กนอย (recessions) ไมจําเปนเสมอไปที่จะเปนตนเหตุชักนําใหเกิดเศรษฐกิจตกตํ่าอยาง

Page 11: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

บทที่ 6

ดุลยภาพดานอุปทาน : การวางงานและเงินเฟอ

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 135

รุนแรง (depressions) ดังนั้นทั้งธุรกิจและคนงานมักจะใชวิธีการรออยูเฉย ๆ จนกวาชวงเวลาของเศรษฐกิจตกต่ําจะหมดไป

มากกวาการปรับลดคาจางและราคา (ซึ่งจะทําใหเสียใจภายหลัง เพราะเศรษฐกิจไมตกตํ่าอยางรุนแรงจริง)

นอกจากนั้นยังมีอีกทฤษฎีหนึ่งที่นํามาใชอธิบาย ซึ่งอยูบนพื้นฐานของภาษิตโบราณท่ีวา “ทานจะไดรับเทากับที่

ทานไดจายออกไป หรือ you get what you pay for” ทฤษฎีนี้มีแนวคิดวา คนงานแตละคนมีผลิตภาพแตกตางกัน แตผลิต

ภาพนั้นยากที่วัดได เพราะฉะน้ันธุรกิจตางๆ จะมีความกังวลวา การลดอัตราคาจางของคนงานท่ัวๆ ไปแลว อาจทําใหเขา

สูญเสียคนงานที่ดีที่สุดออกไปได เพราะคนงานฝมือดีๆ เหลานั้น สามารถจะไปหางานทําใหมที่ไหนก็ได แทนที่จะเปดโอกาส

ใหสถานการณดังกลาวเกิดขึ้น ทฤษฎีนี้จึงบอกวา กิจการหรือธุรกิจตาง ๆ จึงเลือกที่จะคงอัตราคาจางที่อยูในระดับสูงไว

ถึงแมวาจะเกิดเศรษฐกิจตกต่ําก็ตาม

ยังมีทฤษฎีอื่นๆ ที่พยายามอธิบายอยูอีกมาก แตไมมีทฤษฎีใดเลย ที่ไดรับการยอมรับจากนักเศรษฐศาสตรสวน

ใหญ ดังนั้นจะดวยสาเหตุใดๆก็ตามเราอาจตองยอมรับความจริงที่วา ในเศรษฐกิจสมัยใหมของเราน้ี คาจางจะลดลงอยาง

ชามาก เม่ืออุปสงคลดลง

ผลที่เกิดจากความไมยืดหยุนของคาจางในทางลดลงน้ีคอนขางรุนแรง กลาวคือ เม่ือเกิดมีชองวางเศรษฐกิจตกต่ํา

ขึ้น เศรษฐกิจสามารถจะปรับตัวเองกลับเขาสูดุลยภาพตามศักยภาพได ก็ตอเม่ือตองยอมใหเกิดการลดลงของราคา

(deflation) เทานั้น หรืออีกนัยหนึ่ง ถาระดับราคาไมลดลงแลวเศรษฐกิจจะไมสามารถปรับตัวเองไดและถาทั้งคาจางและ

ราคาไมลดลงแลวชองวางเศรษฐกิจตกตํ่าเชนชวง EB ในรูปที่ 6–5 จะคงอยูเชนนั้นอีกเปนระยะเวลายาวนาน ดังนั้น

เม่ืออุปสงครวมอยูในระดับตํ่า เศรษฐกิจอาจจะติดอยูในชวงชองวางเศรษฐกิจตกต่ําเปนเวลานาน ถาคาจางและ

ราคาลดลงอยางชา ๆ และเศรษฐกิจจะตองเผชิญกับสภาพท่ีการผลิตจะอยูตํ่ากวาระดับ GDP ตามศักยภาพเปน

ระยะเวลายาวนาน

เศรษฐกิจมีกลไกที่จะปรับตัวไดเองหรือไม เราสันนิษฐานหรือคิดวาสถานการณดังกลาวขางตนจะไมคงอยูเชนนั้นตลอดไป เม่ือเศรษฐกิจตกตํ่ายืดยาวออกไป หรือ

บางคร้ังรุนแรงมากขึ้น จะทําใหมีคนงานจํานวนมากขึ้น ๆ ที่ไมสามารถจะหางานทําได ณ ระดับอัตราคาจางที่เปนอยูใน

ขณะน้ัน ซึ่งเปนคาจางที่อยูในระดับสูง แตในที่สุดเม่ือมีความจําเปน หรือความตองการที่จะทํางานที่มากขึ้นๆ ก็จะมีพลัง

มากกวา ความตองการที่จะคงอัตราคาจางไวในระดับสูงเชนเดิม หรืออีกนัยหนึ่งคนงานจะเร่ิมมีการผอนปรนและลดอัตรา

คาจางลง

ในขณะเดียวกันธุรกิจ ก็มีความเต็มใจ หรือมีความตองการเพิ่มมากขึ้นเร่ือยๆ ที่จะลดราคาสินคาลง ถาหากภาวะ

เศรษฐกิจตกต่ํายังคงมีอยูและผูประกอบการเร่ิมที่จะเชื่อวา ภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าจะไมเกิดขึ้นเปนการช่ัวคราว ซึ่งขอเท็จจริง

ที่เกิดขึ้นคือ ทั้งราคาและคาจางไดลดลง ในชวงที่เกิดภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า ผูนําทั้งหลายมักมีความเห็นตรงกันวา การกระทํา

“บางอยาง” ของรัฐบาลเปนส่ิงจําเปน และเหมาะสมภายใตสภาวะท่ีเกิดเศรษฐกิจตกตํ่า แตอยางไรก็ตาม ก็ยังมีการโตเถียง

กันอยูวา รัฐบาลควรจะแทรกแซงอยางไร และมากนอยแคไหน เหตุผลประการหนึ่งที่ทําใหยังมีความคิดเห็นขัดแยงกันอยูคือ

กลไกที่เศรษฐกิจจะปรับตัว / แกปญหาชองวางเศรษฐกิจตกตํ่าดวยตัวเองยังทํางานอยู ถึงแมวาจะไมมีพละกําลังมากนักก็

ตาม

Page 12: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

136 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ตัวอยาง เหตุการณที่เกิดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ : การลดลงของราคาในชวงทศวรรษ 2533 เราจะพิจารณาประวัติเศรษฐกิจของอเมริกาในชวงระยะตนๆ ของ ทศวรรษ 2533 การฟนตัวจากภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าที่

เกิดขึ้นในชวงป 2533 – 2534 เกิดขึ้นอยางชาๆ และการฟนตัวเกิดขึ้นชากวาที่คาดไวมาก แตอยางไรก็ตามในที่สุดแลว

การฟนตัวก็เกิดขึ้น อัตราการวางงานสูงถึงรอยละ 7.7 ในเดือนมิถุนายน 2535 หลังจากนั้นก็คอยๆ ลดลงและลดเหลือรอย

ละ 5.4 ในเดือนธันวาคม 2537 ในขณะเดียวดันอัตราเงินเฟอลดลงจากรอยละ 6.1 ในป 2533 เปนรอยละ 3.1 ในป

2534 และลดลงเหลือรอยละ 2.7 ในป 2536 และ 2537 เม่ือพิจารณาดูแลวจะเห็นไดวาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น

ในชวงเวลาดังกลาวนี้ เปนเหมือนกับที่ระบบจําลองทางทฤษฎีเก่ียวกับกลไกการปรับตัวดวยตัวเองทํานายไวแตจะเห็นไดวา

ระยะเวลาท่ีเกิดขึ้นนั้นยาวนานมาก ดังนั้นคําถามเชิงนโยบายในทางปฏิบัติคือ เราจะรอไดนานเทาใด

การปรับตัวเมื่อเกิดชองวางเงินเฟอ : เงินเฟอ

ในสวนน้ีเราจะพิจารณาวาอะไรจะเกิดขึ้น ถาหากเศรษฐกิจของประเทศอยูเหนือ/สูงกวาระดับการจางงานเต็มที่

นั่นคือการอยูในสภาพที่เกิดชองวางเงินเฟอ (an inflationary gap) เหมือนดังที่แสดงในรูปที่ 6 – 6 เม่ือเสนอุปทานรวมคือ

S0S0 และเสนอุปสงครวมคือ DD เศรษฐกิจจะมีดุลยภาพท่ีจุด E และมีชองวางเงินเฟอเกิดขึ้นเทากับ ระยะ BE

ซึ่งนักเศรษฐศาสตรหลายๆ คน บอกวาเปน

ภาพที่แสดงถึงสถานการณทางเศรษฐกิจทางอเมริกา

ในป 2542 คําถามคือ อะไรควรจะเกิดขึ้นภายใต

สถานการณเชนนั้น ซึ่งเราจะไดเห็นกันตอไปคือ การ

ที่ตลาดแรงงานตึง (tight) มาก จะทําใหเกิดเงินเฟอ

และในที่สุดจะเปนตัวที่กําจัดชองวาง ซึ่งเปน

ขบวนการที่เกิดขึ้นอยางชา ๆ และเจ็บปวด และเราจะ

ดูวาเกิดขึ้นอยางไรตอไป

เม่ือ GDP ดุลยภาพอยูสูงกวา GDP ตาม

ศักยภาพ งานทําจะมีมากมายและอุปสงคของแรงงาน

จะอยูในระดับสูง ธุรกิจมักจะพบปญหาในการจัดจาง

คนงานใหม หรือแมแตจะรักษาคนงานเกาไว ก็ยัง

ลําบากเชนกัน เพราะกิจการอื่นๆ จะนําเสนอคาจางที่สูงกวาเพื่อแยงคนงานไป

เม่ือคาจางแรงงานสูงขึ้น ตนทุนการผลิตของธุรกิจก็สูงขึ้นและจะขยับเสนอุปทานรวมกลับ เม่ือเสนอุปทานรวม

ขยับจากเสน S0S0 เปน S1S1 ในรูปที่ 6 – 6 ขนาดของชองวางเงินเฟอจะลดลง หรืออีกนัยหนึ่งในที่สุดแลวเงินเฟอจะทําให

ชองวางเงินเฟอหมดไป และทําใหเศรษฐกิจไดดุลยภาพใหม ณ ระดับศักยภาพ ที่จุด F

ถาจะมองขบวนการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจอยางตรงไปตรงมา ก็คือเงินเฟอเกิดขึ้นเพราะวา ผูบริโภค มีความ

ตองการผลผลิต / สินคามากกวาที่เศรษฐกิจจะทําการผลิตได ภายใตอัตราการทํางานตามปกติ หรืออยูในสภาพที่เราบอกวา

Too much demand chasing too little supply ซึ่งเปนสภาพแวดลอมที่จะทําใหระดับราคาสูงขึ้น

แตการสูงขึ้นของระดับราคา ก็จะทําใหกําลังการซ้ือของความม่ังค่ังของผูบริโภคลดลง และจะเปนการบังคับให

ผูบริโภคลดการบริโภคลง ดังที่เคยอธิบายไวในบทที่ 3 นอกจากนั้นส่ิงที่จะเกิดขึ้นดวยคือ การสงออกจะลดลง และการ

Pric

e le

vel

รูปที่ 6-6 The Elimination of an Inflationary Gap

E

D

D

Real GDP

Potential GDP

S1

S1

S0

S0

F

B

Inflationary gap

Page 13: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

บทที่ 6

ดุลยภาพดานอุปทาน : การวางงานและเงินเฟอ

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 137

นําเขาจะสูงขึ้น ดังที่เคยเรียนแลวในบทที่ 5 ในที่สุดแลวอุปสงครวมจะลดลงไปยังระดับที่เศรษฐกิจสามารถจะผลิตสนอง

ความตองการได ณ ระดับนี้ขบวนการการปรับตัว / การแกไขปญหาดวยตัวเองของเศรษฐกิจจะส้ินสุดลง ดังนั้นโดยสรุปแลว

ถาอุปสงครวมอยูในระดับที่สูงเกินไป เศรษฐกิจอาจไดดุลยภาพในระยะส้ัน ณ จุดที่อยูเหนือกวาระดับการจางงาน

เต็มที่ (เกิดชองวางเงินเฟอ) เม่ือเกิดสภาพการณเชนนี้ ตลาดแรงงานจะอยูในภาวะตึงตัวและจะกดดันใหคาจาง

สูงขึ้น และเพราะวาการสูงขึ้นของคาแรง ทําใหตนทุนของธุรกิจสูงขึ้น ระดับราคาจะสูงขึ้น ซึ่งหมายถึงการเกิดเงิน

เฟอ และเม่ือระดับราคาสูงขึ้น จะทําใหกําลังซื้อของผูบริโภค และการสงออกสุทธิลดลง และผลที่ตามมาคือ

ชองวางเงินเฟอจะคอยๆ ลดลง

เม่ือชองวางเงินเฟอลดลง ผลผลิตจะลดลงและระดับราคาจะสูงขึ้นเร่ือยๆ ตอเม่ือชองวางเงินเฟอถูกกําจัดหมดไป

ดุลยภาพในระยะยาวจะเกิดขึ้น ณ ระดับราคาท่ีสูงขึ้น และ GDP ดุลยภาพจะเทากับ GDP ตามศักยภาพ

สถานการณที่กลาวขางตนนี้ เปนสถานการณที่นักเศรษฐศาสตรหลายคนบอกวาเปนส่ิงที่ใชอธิบาย สภาพ

เศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในอเมริกาในป 2541 ทั้งนี้นักเศรษฐศาสตรเหลานั้น เช่ือวาอเมริกาเกิดมีชองวางเงินเฟอในชวงป 2540

และ 2541 และคาดวาเงินเฟอจะสูงขึ้น แตในความเปนจริงแลว เงินเฟอไมสูงขึ้น ทําไมจึงเปนเชนนี้ เราจะมีคําตอบในอีกไมก่ี

หนาตอจากน้ีไป

อยางไรก็ตาม อยากจะขอยํ้าส่ิงสําคัญซ่ึงก็คือ กลไกการปรับตัวเองนั้นตองใชเวลามาก ทั้งนี้เพราะท้ังคาจางและ

ราคาไมสามารถปรับตัวไดอยางรวดเร็ว ดังนั้นเม่ือเร่ิมมีชองวางเงินเฟอเกิดขึ้น การเร่ิมจะมีกลไกเพ่ือปรับตัวเองนั้น ก็จะเร่ิมมี

แตขบวนการปรับตัวเองเปนไปอยางชาๆ ดังนั้นนักการเมือง หรือผูวางแผนเศรษฐกิจจึงอาจมีความตองการที่จะเรงขบวนการ

ใหเร็วขึ้น

เงินเฟอทีเ่กิดจากดานอุปสงค และ Stagflation แบบจําลองท่ีใชอธิบายวา เศรษฐกิจจะปรับตัวอยางไรเม่ือเกิดชองวางเงินเฟอ ไดสอนบทเรียนที่สําคัญ ๆ หลาย

ประการแกเราเก่ียวกับเงินเฟอที่เกิดขึ้นในโลกจริง ๆ ประการแรก รูปที่ 6 – 6 บอกใหเราทราบวาผูกระทําผิดที่แทจริง เม่ือเกิด

เงินเฟอในลักษณะนี้ คืออุปสงครวมที่มากเกินไป- เม่ือเปรียบเทียบกับ GDP ตามศักยภาพ เสนอุปสงครวมเร่ิมแรกที่สูง / มาก

เกินไป และตัดกับเสนอุปทานรวม ณ จุดที่อยูเหนือกวาระดับการจางงานเต็มที่ ผลที่เกิดจากการมีความตองการสินคาและ

บริการและแรงงานมากนี้ จะผลักดันใหทั้งราคาและคาจางสูงขึ้น ถึงแมวาการท่ีอุปสงครวมมีมากกวา GDP ตามศักภาพจะ

ไมใชสาเหตุเพียงประการเดียวที่ทําใหเกิดเงินเฟอ แตก็เปนสาเหตุหลักในตัวอยางของเราน้ี

อยางไรก็ตาม มีนักธุรกิจและผูเขียนบทความตีพิมพจํานวนมาก กลาวอางวา เงินเฟอเกิดขึ้นมาจากคาจางที่สูงขึ้น

ซึ่งในทัศนะดังกลาวนี้ พวกเขาจะมีสวนถูก ทั้งนี้เพราะวาในที่สุดแลว คาจางที่สูงขึ้น จะชักนําใหกิจการเพิ่มราคาสินคาขึ้น แต

ถามองใหลึกๆ ลงไปแลว ทัศนะดังกลาวยังไมถูกตอง ทั้งนี้เพราะท้ังคาจางและราคาท่ีสูงขึ้นนั้น เปนผลที่เกิดจากสาเหตุที่

แทจริงคือ อุปสงคมากเกินไป การกลาวหาคนงานวาเปนตนเหตุที่ทําใหเกิดเงินเฟอในกรณีนี้ เปนเหมือนกับการกลาวอางวา

คาใชจายที่ทานตองจายใหแกแพทยและโรงพยาบาล เปนสาเหตุที่ทําทานปวย

Page 14: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

138 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ประการที่สอง จะสังเกตไดวาผลผลิตลดลงในขณะท่ีราคาสูงขึ้น เม่ือเศรษฐกิจปรับตัวจากจุด E มายังจุด F ในรูปที่

6-6 ส่ิงนี้เปนคร้ังแรกท่ีเราจะอธิบายถึงสถานการณที่เรียกวา สแตกเฟลชั่น (stagflation) ซึ่งเปนการเกิดขึ้นพรอม ๆ กันของ

เงินเฟอ และการหยุดขยายตัวทางเศรษฐกิจ (economic stagnation)

ชวงเวลาของการเกิด สแตกเฟลชั่น (stagflation) คือสวนหน่ึงที่เกิดเปนปกติตอจากชวงเวลาที่เกิดมีอุปสงคมาก

เกินไป

เปนส่ิงที่เราสามารถเขาใจไดงายๆ วาเหตุใดจึงเปนเชนนั้น กลาวคือเม่ืออุปสงครวมมีมากเกินไป เศรษฐกิจจะทํา

การผลิตมากกวาความสามารถในการผลิตตามปกติชั่วคราว ตลาดแรงงานจะตึงตัว คาจางจะสูงขึ้น เคร่ืองจักรกลและ

วัตถุดิบตางๆ ก็อาจจะหาไดยากขึ้นและราคาจะสูงขึ้น เม่ือตองเผชิญกับปญหาตนทุนการผลิตที่สูงขึ้น ก็จะเปนธรรมชาติปกติ

ของธุรกิจที่จะผลิตจํานวนนอยลงและคิดราคาแพงขึ้น ซึ่งส่ิงนี้ก็คือ สแตกเฟลชั่น (stagflation)

ตัวอยางที่เกิดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี ้ ทานจะไดเห็นตอไปวา การเกิดสแตกเฟลช่ัน (stagflation) ภายหลังชวงเวลาที่มีอุปสงครวมมากเกินไปนั้นเปน

รูปแบบที่ซอนเรนของโรครายที่นาสะพึงกลัว อยางไรก็ตามในขณะท่ีผลผลิตลดลง ผลผลิตก็ยังอยูในระดับที่มากกวา GDP

ตามศักยภาพและการวางงานอยูในระดับตํ่า เศรษฐกิจของอเมริกาอยูในสภาพเชนนี้ในชวงทศวรรษ 2533

การที่เศรษฐกิจขยายตวัเปนระยะเวลายาวนานในทศวรรษ 2523 ทําใหอัตราการวางงานลดลง เหลือรอยละ 5.5

ในชวงกลางป 2531 และลดลงเปนระยะเวลาส้ันๆ เหลือเพียงรอยละ 5.0 ในเดือนมีนาคม 2532 ซึ่งเปนอัตราท่ีตํ่าสุดในรอบ

15 ป นักเศรษฐศาสตรเกือบทุกคนเช่ือวาระดับรอยละ 5.0 เปนระดับที่ตํ่ากวาอัตราการวางงาน ณ ระดับการจางงานเต็มที่

นั้นก็คือเศรษฐกิจของอเมริกาเกิดมีชองวางเงินเฟอขึ้นในป 2532 และก็เปนตามที่ทฤษฎีบอกไว เงินเฟอเร่ิมเพิ่มสูงขึ้น จาก

รอยละ 4.4 ในป 2531 เปนรอยละ 4.6 ในป 2532 และรอยละ 6.1 ในป 2533

ในขณะเดียวกันเศรษฐกิจก็หยุดการเติบโต อัตราการเติบโตของ GDP ที่แทจริงลดลงจากรอยละ 3.5 ในระหวางป

2531 เปนรอยละ 2.4 ในป 2532 และรอยละ -0.2 ในป 2533 ซึ่งเปนสภาพการณที่เงินเฟอทําใหชองวางเงินเฟอ คอย ๆ

ลดลง และชองวางก็หมดไปในชวงกลาง ทศวรรษ 2533 เม่ือเร่ิมเกิดภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า อยางไรก็ตาม เงินเฟอยังคงทรงตัว

อยูในระดับสูงในชวงเดือนแรกๆ ของการเกิดเศรษฐกิจตกตํ่า ซึ่งเหตุการณดังกลาว ชี้วา เศรษฐกิจของอเมริกาในชวงนั้นเปน

ชวงที่เกิดสแตกเฟลช่ัน (stagflation)

ขอสรุปโดยรวมทางเราเก่ียวกับการปรับตัวดวยตัวเองของเศรษฐกิจคือ

เศรษฐกิจนั้นโดยแทจริงมีกลไกการปรับตัวดวยตัวเองที่จะกําจัด การวางงานหรือเงินเฟอ อยางไรก็ตามกลไกนั้น

ทํางานอยางชาๆ และไมสมํ่าเสมอ นอกจากนั้น ผลในทางที่เปนประโยชนในการลดการวางงานและเงินเฟอ จะลด

นอยลง เนื่องจากมีแรงที่เขมแข็งกวา (เชนการเพิ่มขึ้น หรือลดลงอยางรวดเร็วทางอุปสงครวม) มากระทําในทิศทาง

ตรงกันขาม ดังนั้น กลไกการปรับตัวดวยตัวเอง จึงไมใชกลกไกที่เช่ือถือไดเสมอไป

Page 15: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

บทที่ 6

ดุลยภาพดานอุปทาน : การวางงานและเงินเฟอ

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 139

Stagflation ที่เกิดจากดานอุปทาน ( a supply shock)

ในสวนขางตนเราไดกลาวถึงประเภทของสแตกเฟลช่ัน (stagflation) ที่เกิดขึ้นหลังจากที่เกิดภาวะเงินเฟอ อยางไรก็

ตามสแตกเฟลชั่นที่เกิดตามลักษณะขางตนไมใชส่ิงที่เกิดขึ้นในชวงป 2513 และชวงตนๆ ทศวรรษที่ 2523 เม่ือเกิดมีการ

วางงานและเงินเฟอเกิดขึ้นพรอมๆ กัน อะไรเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดสแตกเฟลช่ัน (stagflation) ในลักษณะหลังนี้ คําตอบคือมี

หลาย ๆ สาเหตุ แตมีสาเหตุหลักๆ ที่สําคัญคือ การเพิ่มขึ้นของราคาน้ํามัน (พลังงาน)

ในป 2516 ประเทศในกลุมโอเปค (กลุมประเทศ ผูสงออกน้ํามัน) ไดขึ้นราคานํ้ามันดิบส่ีเทาตัว ซึ่งทําใหผูบริโภคพบ

ในเวลาตอมาวา ราคาน้ํามันและเชื้อเพลิงตางๆ สูงขึ้นอยางรวดเร็ว นอกจากนั้น ธุรกิจตาง ๆ ก็พบวา ตนทุนการผลิตที่สําคัญ

ประการหนึ่งในการทําธุรกิจคือ ราคาของพลังงาน เพิ่มขึ้นอยางมากมายเชนเดียวกัน กลุมประเทศโอเปค เพิ่มราคาน้ํามันอีก

ระลอกหนึ่งในระหวางชวงป 2522 และ 2533 ซึ่งในคร้ังนี้ราคาน้ํามันเพิ่มขึ้น 2 เทา ตอมาการเพิ่มราคาน้ํามันคร้ังที่ 3 ก็

เกิดขึ้นอีก ถึงแมวาจะไมมากนัก เม่ืออิรักบุกประเทศคูเวตในป 2533

จากที่เคยกลาวถึงแลวขางตน เม่ือราคาของ

พลังงานสูงขึ้น เสนอุปทานรวมของเศรษฐกิจจะขยับเขา

เหมือนดังที่แสดงในรูปที่ 6 – 7 ถาเสนอุปทานรวมขยับ

เขา เหมือนที่เกิดขึ้นในป 2516 – 2517 และ 2522 –

2523 และอีกคร้ังในป 2533 การผลิตจะลดลง เพื่อจะลด

อุปสงคลงใหเพียงพอกับอุปทานที่มี ราคาจะตองสูงขึ้น

ผลที่ตามมา คือส่ิงที่แยที่สุดในทั้งสองดานคือ การผลิต

ลดลงและราคาสูงขึ้น

ขอสรุปนี้ไดแสดงไวในรูปกราฟในรูปที่ 6 – 7 ซึ่ง

ลากเสนอุปสงครวม DD ไปบนเสนอุปทานรวมสองเสน ที่

ลากไวในรูปที่ 6 – 2 ดุลยภาพทางเศรษฐกิจจะขยับสูงขึ้น

และไปทางซาย จากจุด E ไปยังจุด A ดังนั้นผลผลิตจะ

ลดลงและราคาจะสูงขึ้น ซึ่งตรงกับคํานิยาม เร่ือง สแตก

เฟลชั่น (stagflation)ของเรา ดังนั้น

สแตกเฟลช่ัน (stagflation) คือผลที่เกิดขึ้น เม่ือเสนอุปทานขยับเขา

ตัวเลขท่ีแสดงในรูปที่ 6 – 7 เปนตัวเลขท่ีชี้ใหเห็น ถึงวาอะไรเกิดขึ้นในอเมริกา หลังจากที่เกิดมี “การกระตุกของ

พลังงาน Energy shock” คร้ังใหญในชวงหลังของป 2516 เหตุการณในป 2516 แสดงโดยเสนอุปทานรวม SoSo และดุลย

ภาพที่จุด E และเหตุการณในป 2518 แสดงโดยเสนอุปทานรวม S1S1 และจุดดุลยภาพท่ีจุด A และ GDP ที่แทจริงลดลง

ประมาณรอยละ 1 ในขณะท่ีระดับราคาเพิ่มขึ้นสูงมากถึงรอยละ 19 นั่นคือ เงินเฟอเพิ่มสูงขึ้นและเศรษฐกิจตกต่ําลง ดังนั้น

จะเห็นไดวาบทเรียนจากประสบการณของอเมริกาในเร่ืองของการกระตุกของอุปทาน จึงเปนส่ิงที่เห็นไดอยางชัดเจนและ

สําคัญ

Page 16: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

140 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ผลที่จะเกิดขึ้นจากการกระตุก หรือการขยับเขาทางอุปทานรวมโดยทั่วไป คือการลดลงของผลผลิตและการสูงขึ้น

อยางรวดเร็วของเงินเฟอ ส่ิงนี้เปนเหตุผลหนึ่งที่อธิบายวาเหตุใด เศรษฐกิจของโลกจึงตองเผชิญกับปญหาสแตก

เฟลชั่น (stagflation) ในระหวางชวงกลางทศวรรษที่ 2513 และ 2523 และก็สามารถจะเกิดขึ้นไดอีก ถาหากมีการ

ขยับเขาของเสนอุปทานรวม

คําอธิบายการขยายตัวอยางรวดเร็วในชวงทศวรรษ 2533

แนนอนวาเสนอุปทานรวมสามารถขยับตัวในทิศทางตรงกันขาม (ขยับออก) ไดเชนกัน และการขยับของเสนอุปทานรวมใน

ลักษณะนี้ ก็เปนกุญแจสําคัญที่จะทําใหเขาใจไดวาเหตุใดเศรษฐกิจของอเมริกาจึงขยายตัวอยางนาพิศวงในชวงทายๆ ของ

ทศวรรษ 2533 ดังที่กลาวถึงแลวในตอนตนๆ ของบทนี้วา เงินเฟอลดลง และอัตราการวางงานอยูในระดับตํ่ามากๆ และชักนํา

ใหหลายๆ คนกลาวอางวา คําส่ังสอนของทฤษฎีเศรษฐศาสตรมหภาคพื้นฐาน ที่เคยส่ังสอนกันมานั้นใชไมได

มีอะไรเกิดขึ้นในชวงเวลาน้ี คําตอบคือ มีหลายส่ิงทีเดียว ประการแรกคือตลาดนํ้ามันของโลกออนตัวลงในป 2540

และ 2541 ราคาน้ํามันในตลาดโลกลดลง ประการที่สอง ราคาของคอมพิวเตอร ซึ่งลดลงทุกป ๆ ไดลดลงในอัตราสองเทาของ

ที่เคยลดลงในอดีต ประการที่สาม การที่เงินดอลลารแข็งตัวขึ้น ทําใหราคาปจจัยการผลิตที่ตองนาํเขาจากตางประเทศมีราคา

ถูกลง เหตุผลทั้งสามประการ แตละประการน้ีถือวาเปนการกระตุกของอุปทานไดเชนกัน แตเปนการกระตุกในทางท่ีดี เปน

การกระตุกที่ทําใหเสนอุปทานขยับออก ซึ่งเปนการกระตุนการขยายตัวของเศรษฐกิจ และเหนี่ยวร้ังการเกิดเงินเฟอ ดังนั้น

ชวงเวลาดังกลาว จึงเปนชวงเวลาที่คนอเมริกันมีความสุข เพราะการวางงานลดลงและเงินเฟอก็ลดลงในชวงเวลาเดียวกัน

จะถือไดวาเปนการโชคดีก็ได แตก็ไมใชส่ิงลึกลับอะไร เพราะส่ิงที่เกิดขึ้นคือเสนอุปทานรวมของเศรษฐกิจขยับออก

เร็วกวาที่เปนในสภาพปกติ ดังนั้น

การกระตุกของอุปทานในทางที่ดี มีแนวโนมที่จะผลักดันใหผลผลิตสูงขึ้นและลดเงินเฟอลง

ส่ิงที่เกิดขึ้นจึงเปนการเกิดการกระตุกของอุปทานในทางที่ดี ที่เกิดขึ้นหลายระลอกไมใชปจจัยแปลกใหมที่เกิดจาก

เศรษฐกิจใหม ( New Economy) ตามที่คนบางคนกลาวอาง

เงินเฟอและตัวคูณ

เม่ือเราอธิบายถึงแนวคิดของตัวคูณในบทที่ผานมา เรากลาววา คาของตัวคูณที่แทจริงมีคานอยกวาคาที่คํานวณได

จากสูตรการคํานวณอยางงายดวยสาเหตุหลายประการดวยกัน ซึ่งสาเหตุหนึ่งที่อางถึงคือ การที่การนําเขาเปล่ียนแปลงได ซึ่ง

ไดอธิบายไวในภาคผนวกของบทท่ีผานมา ในสวนนี้เราจะอธิบายสาเหตุประการท่ีสองคือ เงินเฟอ

เงินเฟอลดขนาดของตัวคูณ

แนวคิดพื้นฐานนั้นงายมาก ในบทที่ผานมา เราไดอธิบายถึงขบวนการของการเกิด/คํานวณหาตัวคูณที่ซึ่งการใชจาย

ของคนๆ หนึ่งกลายเปนรายไดของคนอีกคนหน่ึง ซึ่งทําใหมีการใชงายมากข้ึน จากการใชจายของคนที่สองและคนตอไป

เร่ือยๆ ซึ่งเร่ืองที่จะอธิบายถึงนั้นเปนเร่ืองที่เก่ียวของกับดานอุปสงคของเศรษฐกิจ ในสวนน้ีจะเปนการพิจารณาวา อะไรจะ

Page 17: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

บทที่ 6

ดุลยภาพดานอุปทาน : การวางงานและเงินเฟอ

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 141

เกิดขึ้นทางดานอุปทานของเศรษฐกิจ เม่ือขบวนการตัวคูณเร่ิมทํางาน ธุรกิจหรือกิจการตางๆ สามารถจะเพิ่มการผลิตสนอง

ความตองการที่เพิ่มขึ้นโดยไมทําใหราคาตองสูงขึ้นไดหรือไม

ถาเสนอุปทานรวมมีความลาดชันเปนบวก คําตอบของคําถามขางตนก็คือไมได สินคาจะถูกผลิตมาสนองความ

ตองการมากขึ้นก็ตอเม่ือราคาสูงขึ้นเทานั้น ดังนั้นเม่ือขบวนการของตัวคูณกาวหนาไปเร่ือยๆ จะดึงใหรายไดและการจางงาน

สูงขึ้น ราคาก็จะสูงขึ้นดวย ซึ่งการเพิ่มขึ้นทางราคานี้ตามที่เคยกลาวถึงในบทกอนๆ นั้น จะทําใหทราบวา การสงออกสุทธิจะ

ลดลง และการใชจายของผูบริโภคก็จะลดลงเชนกัน ทั้งนี้เพราะการสูงขึ้นของราคาจะทําใหกําลังซื้อของความม่ังค่ังของ

ผูบริโภคลดลง ดังนั้นวงโซของตัวคูณจะไมขยายตัวมากเทากับกรณีที่ไมนําเอาเร่ืองเงินเฟอเขามารวมพิจารณาดวย

คําถามตอไปคือจะเกิดเงินเฟอขึ้นมากนอยเพียงใด เม่ือเกิดเงินเฟอขึ้นวงโซของตัวคูณจะลดลงเทาใด ซึ่งคําตอบ

ของคําถามเหลานี้ ขึ้นอยูกับวาความลาดชันของเสนอุปทานรวมเปนเทาใด

เราจะยกตัวอยางเปนตัวเลขใหดู เพื่อจะเห็นไดชัดเจนขึ้น ใหเรากลับไปดูตัวอยางที่ใหการใชจายลงทุนเพิ่มขึ้น 200

พันลานบาท ในบทที่ผานมา ในบทนั้น (ดูที่รูปที่ 6 – 1 ) เราจะพบวา การลงทุนที่เพิ่มขึ้น 200 พันลานบาทนั้น จะทําใหใน

ที่สุดแลวการใชจายรวมทั้งหมดจะเพิ่มขึ้นเปนจํานวน 800 พันลานบาท ถาหากระดับราคาไมสูงขึ้น แตตามที่เราอธิบาย

แลวขางตนในบทนี้วา ถาปลอยใหราคาสูงขึ้นไดแลว การใชจายรวมจะไมเพิ่มขึ้นมากเทานั้น การที่จะคํานวณวา ผลผลิตจะ

เพิ่มขึ้นจริงๆ เทาไร หรือ ระดับราคาที่เกิดขึ้นจริงจะเปนเทาไร เราจะตองนําเอาอุปทานรวมเขามาพิจารณารวมดวย

รูปที่ 6 – 8 เปนรูปที่แสดงคําอธิบาย

ขางบนนี้ ในรูปนี้เราแสดงใหเห็นวาเสนอปุสงค

รวมขยับไปทางขวาเปนจํานวน 800 พันลานบาท

จากเสน D0D0 เปน D1D1 ซึ่งเปนจํานวนท่ีเราหาได

โดยใชสูตรตัวคูณอยางงายที่อธิบายในบทท่ี 5 ซึ่ง

ในการคํานวณน้ันเราไมไดพิจารณาถึงการเพิ่มขึ้น

ของราคา หรือในกรณีดังกลาวเราสมมติใหเสน

อุปทานรวมเปนเสนตรงขนานกับแกนนอน แตใน

กรณีที่เรากําลังศึกษาในบทนี้ เรายกเลิกขอสมมติ

นั้น และใหเสนอุปทานรวมเปนเสนที่มีความลาด

ชันเปนบวกตามปกติ และความลาดชันของเสน

อุปทานรวม SS จะเปนตัวที่บอกเราวาเม่ือใดที่อุป

สงครวมขยายตัว จะทาํใหผลผลิตและราคาเพิ่มขึ้น

อยางไร

เราจะเห็นไดจากตัวอยางนี้วา เม่ือดุลยภาพของเศรษฐกิจ เคล่ือนจากจุด E0 เปน จุด E1 GDP ที่แทจริง

ไมไดเพิ่มขึ้นเปนจํานวนเทากับ 800 พันลานบาท และส่ิงที่เกิดขึ้นคือระดับราคาสูงขึ้น ซึ่งเม่ือราคาสูงขึ้น ก็จะทําใหจํานวน

อุปสงคลดลงจํานวนหนึ่ง ดังนั้นตามตัวอยางของเรา ผลผลิตจะเพิ่มขึ้นจาก 6,400 พันลานบาทเปน 7,000 พันลานบาท

หรือเพิ่มขึ้นเพียง 600 พันลานบาท ดังนั้นตามตัวอยางของเรา เงินเฟอจะลดขนาดของตัวคูณลงจาก 800 / 200 = 4 เปน

600 / 200 = 3 ดังนั้น จึงสรุปไดวา

Page 18: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

142 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ตราบใดที่เสนอุทานรวมมีความลาดชันเปนบวก การเพิ่มขึ้นของอุปสงครวมจะผลักดันใหระดับราคาสูงขึ้น ซึ่งการ

ที่ราคาเพิ่มขึ้นนี้จะทําใหอุปสงคที่แทจริงลดลงจํานวนหน่ึง เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของราคาจะทําใหกําลังซื้อของ

ความม่ังค่ังของผูบริโภคลดลง และยังทําใหการสงออกสุทธิลดลงดวย ดังนั้น เงินเฟอจะลดขนาด (คา) ของตัวคูณ

ลง ทําใหมีคาตํ่ากวาคาที่คํานวณไดจากสูตรการคํานวณคาตัวคูณอยางงาย

ตามรูปขางตนจะสังเกตุไดวาระดับราคาจะถูกผลักดันใหสูงขึ้นดวยจาก 100 เปน 120 หรือเทากับรอยละ 20 ซึ่ง

เปนผลมาจากการเพิ่มขึ้นของการใชจายลงทุน ดังนั้นเราจึงสรุปไดเชนกันวา

ตราบใดที่เสนอุปทานรวมมีความลาดชันเปนบวก การที่เสนอุปสงครวมขยับออก จะเปนผลใหราคาสูงขึ้นดวย

พฤติกรรมทางเศรษฐกิจที่อยูเบื้องหลังผลที่เกิดขึ้นนี้ ไมใชส่ิงที่นาแปลกใจเลย กลาวคือ เม่ือกิจการ/ธุรกิจ พบวาจํานวนความ

ตองการสินคา ณ ราคาเร่ิมแรกเพิ่มขึ้นมาก ก็จะมีพฤติกรรมสนองตอบตอการเปล่ียนแปลงดังกลาว สองทางคือ หนึ่งผลิต

สินคามากขึ้น (ซึ่งในกรณีนี้ GDP ที่แทจริงจะสูงขึ้น) หรือ สองเพิ่มราคาสินคา (ซึ่งในกรณีนี้ราคาจะสูงขึ้น) แตในกรณีของการ

เพิ่มราคาสินคา จะลดกําลังซื้อที่อยูในรูปของเงินฝากในธนาคาร หรือสินทรัพยตางๆ ของผูบริโภคลง และผูบริโภคก็จะมี

ปฏิกิริยาตอบสนองตามธรรมชาติ คือ ลดการใชจายลง ปฏิกิริยาตอบสนองนี้ก็คือ การลดจํานวนการบริโภคลงตามเสนอุป

สงครวม D1D1 ในรูปที่ 6-8 จากจุด A ไปยังจุด E1

นอกจากนั้นรูปที่ 6 – 8 ยังสามารถใชอธิบายไดวา การใชสูตรการคํานวณคาตัวคูณอยางงายนั้น ไมถูกตอง เม่ือ

สูตรดังกลาวไมพิจารณาผลที่เกิดขึ้นจากการเพิ่มขึ้นของระดับราคา สูตรนี้จึง ทํานาย/สมมติอยางไมถูกตองวา เศรษฐกิจจะ

เคล่ือนตัวในแนวระดับ จากจุด E0 ไปยังจุด A ซึ่งจะเกิดขึ้นไดตอเม่ือเสนอุปทานรวม เปนเสนตรงที่ขนานกับแกนนอนเทานั้น

และดังที่แสดงในรูปแลววา ณ จุดดุลยภาพใหม ผลผลิตจะไมเพิ่มมากถึงขนาดนั้น รูปนี้จึงแสดงใหเห็นไดอยางชัดเจนวา

คาตัวคูณที่ไดจากการคํานวณโดยใชสูตรอยางงายนั้นมีคามากเกินไป

บทบาทของนโยบายเพ่ือรักษาเสถียรภาพ

ในบทที่ 4 ไดกลาวถึงแลววา การใชจายลงทุนนั้นเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วและในบทที่ 5 ไดอธิบายเพิ่มเติมตอไป

อีกวา การเปล่ียนแปลงการลงทุนมีผลดานตัวคูณตออุปสงครวม ในบทนี้จะกาวตอไปอีกขั้นหนึ่ง โดยจะอธิบายวา การขยับ

ของเสนอุปสงครวม จะทําให GDP ที่แทจริงและเงินเฟอเปล่ียนแปลงอยางไร ซึ่งการเปล่ียนแปลงเคล่ือนไหวขึ้นลงดังกลาว มี

หลายๆ คนกลาววาเปนส่ิงที่ไมพึงปรารถนา นอกจากนั้น การเปล่ียนแปลงยังมีการแสดงใหเห็นวา กลไกการปรับตัวดวย

ตัวเองของเศรษฐกิจนั้นทํางาน แตทําอยางชาๆ จึงมีชองที่พอจะใชนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพของรัฐบาล เพื่อชวยเสริมการ

ทํางานของตลาด (เสรี) ได คําถามก็คือ รัฐบาลจะสามารถรักษาเสถียรภาพไดจริงหรือ ทําไดจริงหรือ ถาทําไดจะทําอยางไร

คําถามเหลานี้ เราจะอธิบายเพิ่มเติมในบทตอๆ ไป

Page 19: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

บทที่ 6

ดุลยภาพดานอุปทาน : การวางงานและเงินเฟอ

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 143

สรุป

1. เสนอุปทานรวมทางเศรษฐกิจ แสดงความสัมพันธระหวาง จํานวนสินคาและบริการที่จะมีการเสนอขายกับระดับ

ราคา ตามปกติเสนอุปทานรวม จะมีความลาดชันเปนบวกสูงขึ้นไปทางขวา ทั้งนี้เพราะวา ตนทุนของแรงงานและ

ปจจัยการผลิตอื่นๆ มักจะคงท่ีในระยะส้ัน ซึ่งหมายความวา เม่ือราคาขายสูงขึ้น จึงดูเหมือนวาตนทุนตางๆ ถูกลง

โดยเปรียบเทียบ จึงเปนส่ิงจูงใจใหเพิ่มการผลิตขึ้น

2. ตําแหนงของเสนอุปทานรวม สามารถขยับได เม่ือตัวแปรตาง ตอไปนี้เปล่ียนแปลงไปคือ อัตราจางที่เปนตัวเงิน

ราคาของปจจัยการผลิตตางๆ เทคโนโลยี และจํานวนและคุณภาพของแรงงานและทุน

3. ระดับราคาดุลยภาพ และระดับดุลยภาพของ GDP ที่แทจริง เกิดขึ้น ณ จุดตัดกันของ เสนอุปทานรวมของเศรษฐกิจ

และเสนอุปสงครวมของเศรษฐกิจ (ตองมีทั้งเสนอุปทานรวมและอุปสงครวมจึงจะเกิดดุลยภาพได) และจุดตัดนี้

อาจจะเกิด ณ จุดการจางงานเต็มที่พอดี หรือ ตํ่ากวาจุดการจางงานเต็มที่ (เกิดชองวางเศรษฐกิจตกต่ํา) หรือสูงกวา

จุดการจางงานเต็มที่ (เกิดชองวางเงินเฟอ) ก็ได

4. เศรษฐกิจมีกลไกที่จะปรับตัวดวยตัวเอง ซึ่งจะทําใหชองวางเศรษฐกิจตกตํ่าหมดไป กลาวคือ การที่ตลาดแรงงาน

ออนตัว (มีผูวางงาน / หางานเปนจํานวนมาก) ก็จะทําใหการจะขึ้น หรือขอเพิ่มอัตราคาจางเปนไปไดยาก หรืออีก

นัยหนึ่งคือ จะเปนการลดการเพิ่มขึ้นของคาจาง และในกรณีสุดโตงแลวอาจทําใหคาจางลดลงได ซึ่งถาเปนตามนี้

เสนอุปทานรวมก็จะขยับออกไปทางขวา แตขบวนการดังกลาวนี้เกิดขึ้นชามาก

5. ในกรณีที่เกิดชองวางเงินเฟอ เศรษฐกิจก็มีกลไกการปรับตัวดวยตัวเองที่จะลดชองวางไดเชนกัน เม่ือเกิดมีเงินเฟอ

ขึ้น แตโดยปกติในชวงนี้ความตองการแรงงานมีอยูในระดับสูง จะผลักดันใหคาจางสูงขึ้น ซึ่งจะทําใหเสนอุปทาน

รวมขยับเขามาทางซาย และชองวางเงินเฟอจะคอยๆ ลดลง

6. ผลประการหนึ่งของการปรับตัวดวยตัวเองก็คือ ถาการเพิ่มขึ้นของอุปสงครวมทําเกิดชองวางเงินเฟอขึ้น การปรับตัว

ดวยตัวเองตามธรรมชาติของเศรษฐกิจ จะทําใหมีชวงเวลาที่เกิดมีสแตกเฟลชั่น (stagflation) ขึ้น– ซ่ึงเปนชวงเวลา

ที่ราคาสูงขึ้นในขณะที่ผลผลิตลดลง

7. การขยับของเสนอุปทานรวมเขามาทางดานซาย จะทําใหผลผลิตลดลงในขณะเดียวกันราคาจะสูงขึ้น หรือการขยับ

เขาของเสนอุปทานรวม ทําใหเกิดสแตกเฟลช่ัน (stagflation) นั่นเอง เหตุการณ หรือสถานการณหนึ่งที่ทําใหเสน

อุปทานรวมขยับในทิศทางดังกลาว ที่เห็นไดชัดคือ การเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วของราคาน้ํามัน

8. การขยับตัวของทางเสนอุปทานรวมดังกลาว ทําใหเศรษฐกิจของประเทศเราและประเทศอื่น ๆ เกิดปญหา คือเม่ือ

ราคาน้ํามันสูงขึ้นอยางรวดเร็วในระหวางป 2516 – 2517, ป 2522 – 2523 ,ป 2533 และอีกคร้ังในป 2548 ซึ่งแตละ

คร้ัง ก็ทําใหเกิดสแตกเฟลช่ัน (stagflation) ขึ้นทุกคร้ัง

9. ในอเมริกา เกิดสถานการณในทิศทางตรงกันขามในป 2540 และ 2541 เม่ือเกิดการกระตุกของอุปทานรวมในทางท่ี

ดี ทําใหเสนอุปทานรวมขยับออกไปทางขวามือในอัตราท่ีเร็ว / มากกวาปกติ ซึ่งทําใหเกิดการขยายตัวอยางรวดเร็ว

ของ GDP ท่ีแทจริง พรอม ๆ กับที่เงินเฟอลดลงในขณะเดียวกัน

10. ในบรรดาเหตุผลตางๆ ที่สูตรการหาตัวคูณอยางงาย ใหคาตัวคูณที่สูงเกินไปเกิดจากสาเหตุที่วาสูตรดังกลาวไมได

พิจารณาถึงเงินเฟอที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนผลมาจากการที่อุปสงคเพิ่มสูงขึ้น เงินเฟอที่เกิดขึ้นนั้น ทําใหขนาดคาของตัวคูณ

ลดลง เพราะเงินเฟอทําใหการใชจายของผูบริโภค และการสงออกสุทธิลดลง

Page 20: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

144 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

คําสําคัญ

เสนอุปทานรวม Aggregate supply curve

ผลิตภาพ Productivity

ดุลยภาพของ GDP ที่แทจริง และระดับราคา

ชองวางเศรษฐกิจตกตํ่า Recessionary gap

ชองวางเงินเฟอ Inflationary gap

กลไกการปรับตัวดวยตัวเอง Self – correcting mechanism

สแตกเฟลช่ัน Stagflation

เงินเฟอและตัวคูณ Inflation and multiplier

คําถามเพ่ือทบทวน

1. ในประเทศหนึ่งซึ่งมีอุปทานรวมและอุปสงครวมดังตอไปนี้ จงหาดุลยภาพของ GDP ที่แทจริงและระดับราคา ใหวาด

กราฟเพื่อแสดงการหาคําตอบ ถา ณ ระดับการจางงานเต็มที่ ผลผลิตที่แทจริงมีคาเทากับ 2,800 พันลานบาท

เศรษฐกิจจะเกิดสภาพชองวางเงินเฟอ หรือชองวางเศรษฐกิจตกตํ่าหรือไม

จํานวนอุปสงค ระดับราคา จํานวนอุปทาน

3,200

3,100

3,000

2,900

2,800

85

90

95

100

105

2,600

2,750

2,850

2,900

2,925

จํานวนมีหนวยเปนพันลานบาท

2. สมมติวาคนงานไดรับคาจางวันละ 200 บาท จงคํานวณหาอัตราคาจางที่แทจริง (คือ คาจางที่เปนตัวเงินหารดวย

ดัชนีราคา) ณ ระดับราคาตาง ๆ ตอไปนี้ 85 95 100 110 และ 120 ทานสังเกตุเห็นความสัมพันธระหวาง

คาจางที่แทจริงกับระดับราคาหรือไม ใหทานลองเปรียบเทียบความสัมพันธนี้ดูกับ ความลาดชันของเสนอุปทาน

3. ใหอธิบายวาเหตุใด การลดลงของราคาน้ํามันในตลาดโลก จะขยับเสนอุปทานรวมออกไปทางขวามือ และผล

ทางการขยับของเสนอุปทานในลักษณะดังกลาวจะเปนอยางไร

4. จงอภิปรายขอความตอไปนี้ “ไมมีอะไรจะตองวิตกกังวล กับชองวางเงินเฟอ หรือ ชองวางเศรษฐกิจตกตํ่า เพราะ

เศรษฐกิจมีกลไกที่จะปรับตัวดวยตัวเองได”

5. จงอธิบาย สอง สถานการณที่เศรษฐกิจอาจพบกับปญหาสแตกเฟลช่ัน (stagflation) ได

6. ทําไมทานจึงคิดวา คาจาง มักไมคอยเปล่ียนแปลงในทางลดลง

Page 21: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

บทที่ 6

ดุลยภาพดานอุปทาน : การวางงานและเงินเฟอ

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 145

7. ใหเพิ่มเสนอุปทานรวม และอุปสงครวมตอไปนี้เขากับ โจทยขอที่ 3 ในบทที่ 4 เพื่อดูวาเงินเฟอมีผลตอตัวคูณ

อยางไร

(1) (2) (3) (4)

ระดับราคา อุปสงครวมเม่ือ อุปสงครวมเม่ือ อุปทานรวม

การลงทุน = 240 การลงทุน = 260

(บาท) (พันลานบาท) (พันลานบาท) (พันลานบาท)

90 3,860 4,060 3,660

95 3,830 4,030 3,730

100 3,800 4,000 3,800

105 3,770 3,970 3,870

110 3,740 3,940 3,940

115 3,710 3,910 4,010

ใหลากเสนอุปสงครวมและอุปทานรวมตางๆ ลงบนกระดาษกราฟ และ

ก. ใหสังเกตุความแตกตางระหวาง คอลัมนที่ (2) และ (3) (ซึ่งเปนตารางอุปสงครวม ณ ระดับการลงทุนสองระดับ) วา

จะเทากับ 200 พันลานบาท ใหพิจารณาวา ขอมูลที่แสดงขางบนนี้แตกตางจากคําถามในบทที่ผานมาอยางไร

ข. จงหา GDP ดุลยภาพ และระดับราคาดุลยภาพทั้งกอน และหลังจากที่เพิ่มการลงทุน ใหหาวาคาตัวคูณมีคาเทาใด

8. จงเขียนอธิบายวา เหตุใดการสูงขึ้นของราคา จึงทําใหคาตัวคูณที่เปนผลมาจากการเพิ่มขึ้นโดยอัตโนมัติของอุปสงคมีคา

ลดลง

9. ก. จงใชกราฟเสนอุปทานรวมและอุปสงครวม แสดงใหเห็นวา ผลของคาตัวคูณจะลดลงเม่ือเสนอุปทานรวมมีความลาด

ชันมากขึ้น

ข. กรณีตอไปกรณีไหนทําใหเกิดเงินเฟอมากกวากัน – เสนอุปทานรวมมีความลาดชันมาก และเสนอุปทานรวมมีความ

ลาดชันนอย

ค. คาตัวคูณจะเปนอยางไร ถาเสนอุปทานรวมเปนเสนต้ังตรงขนานกับแกนต้ัง

Page 22: บทที่ 6 p.125-146 - Kasetsart University · 2009-08-26 · บทที่ 6 ดุลยภาพด านอุปทาน : การว างงานและเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

146 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร