46
รายงานการออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู ที่สงเสริมกระบวนการคิด โดย นายสุวัสดิแสงสุข นางสาวสุวิชญา คงสุข นางดารุณี ประพันธ% เสนอ ผศ.ดร.ทิพจุฑา สุภิมารส สิงคเสลิต รายงานนี้เป.นสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต รายวิชาการเรียนการสอนเพื่อพัฒนากระบวนการคิด สาขาหลักสูตรและการสอน ภาคเรียนที่ 2 ป5การศึกษา 2557 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร%

รายงาน แบบ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ design thinking.pdf · รายงานการออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • รายงานการออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู�

    ที่ส�งเสริมกระบวนการคิด

    โดย

    นายสุวัสด์ิ แสงสุข นางสาวสุวิชญา คงสุข นางดารุณี ประพันธ%

    เสนอ

    ผศ.ดร.ทิพจุฑา สุภิมารส สิงคเสลิต

    รายงานน้ีเป.นส�วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต รายวิชาการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนากระบวนการคิด สาขาหลักสตูรและการสอน

    ภาคเรียนท่ี 2 ป5การศึกษา 2557 มหาวิทยาลัยราชภัฏสริุนทร%

  • คํานํา

    เอกสารรายงานการการออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู�ท่ีส�งเสริมกระบวนการคิดเล�มนี้ จัดทําข้ึนเพ่ือรายงานการออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู� ประกอบด�วย วัตถุประสงค& สมมติฐานการวิจัย วิธีดําเนินการ กรอบมโนทัศน&ของการวิจัย ทฤษฎีท่ีเก่ียวข�อง นวัตกรรมการเรียนรู�ท่ีคณะผู�จัดทําได�ออกแบบและนําไปใช�กับผู�เรียน ซ่ึงผู�จัดทําหวังเป5นอย�างยิ่งว�าเอกสารเล�มนี้จะเป5นประโยชน&ต�อการศึกษาค�นคว�าต�อไป และหากมีข�อบกพร�องหรือคําแนะนําประการใดขอน�อมรับด�วยความยินดียิ่ง คณะผู�จัดทํา

  • สารบัญ หน�า คํานํา บทนํา 1 รายงานการออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู�ท่ีส�งเสริมกระบวนการคิด 2 1. วัตถุประสงค& 2 2. สมมติฐานการวิจัย 2 3. วิธีดําเนินการ 2 4. กรอบมโนทัศน&ของการวิจัย 3 5. ทฤษฎีท่ีเก่ียวข�อง 3 นวัตกรรมการเรียนรู� 6 1. ชื่อและประเภทของนวัตกรรม 6 2. แนวคิด มโนทัศน& หรือสาระสําคัญ 6 3. วัตถุประสงค& 6 4. กระบวนการ/ข้ันตอนในการใช�นวัตกรรม 6 5. สื่อและแหล�งเรียนรู� 7 6. การวัดและประเมินผล 7 7. ข�อควรระวัง 7 อ�างอิง 8 ภาคผนวก 9 แผนการจัดการเรียนรู� 9 ผลงานนักเรียน 24 power point นําเสนอ 29 ภาพกิจกรรม 32

  • บทนํา

    การออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู�ท่ีส�งเสริมกระบวนการคิดในครั้งนี้ คณะผู�จัดทําได�ศึกษาผลงานวิจัยและสนใจผลงานวิจัยของคุณเอ้ือมพร สร�างตนเอง ในหัวข�อวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร&และความสามารถด�านการคิดอย�างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปLท่ี 3 ท่ีเรียนด�วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร&ประกอบการเขียนแผนผังมโนมติกับการสอนตามปกติ ซ่ึงผลการวิจัยพบว�า การจัดการเรียนรู�ด�วยกระบวนการวิทยาศาสตร&ประกอบการเขียนแผนผังมโนมติสูงกว�าการจัดการเรียนรู�ตามปกติ ซ่ึงทฤษฏีของบรูเนอร& ได�ให�ความคิดว�าการสอนให�คนเกิดมโนมติในสิ่งใดสิ่งหนึ่งจะได�เป5นประโยชน& คือ ทําให�เกิดการเรียนรู�ท่ีมีระบบไม�สับสน เรียนรู�ได�ง�าย ไม�ยุ�งยาก ทําให�เกิดความประหยัดท่ีไม�ต�องเรียนเรื่องใดเรื่องหนึ่งให�มากเกินความจําเป5น ทําให�สามารถนําความรู�ไปใช�ได�กว�างขวาง สร�างเสริมความรู�ต�อไปได�มากข้ึนและเร็วข้ึน โดย หทัยรัช รังสุวรรณ ได�แบ�งการเรียนรู�แบบมโนมติเป5น 2 ชนิด คือ การเรียนรู�แบบรับรู� (Reception learning) และการเรียนรู�แบบค�นพบ (Discovery learning) จากการศึกษาทฤษฎีพัฒนาการทางสติป[ญญาของเพียเจต& (Piaget. 1964 : 176-186) พบว�านักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา มีอายุ 12-18 ปL จะมีพัฒนาการทางการคิดเจริญถึงขีดสุด รู�จักคิดเชิงนามธรรมอย�างลึกซ้ึง สามารถคิดวิเคราะห& เชื่อมโยงเหตุการณ&ต�าง ๆ ได� ซ่ึงความสามารถในการคิดลักษณะดังกล�าวนับว�าใกล�เคียงกับความสามารถของผู�ใหญ� เม่ือพิจารณาพัฒนาการทางสติป[ญญาในช�วงวัยดังกล�าว พบว�าจะมีอัตราการเจริญเติบโตของสมองเป5นไปอย�างรวดเร็วในระยะแรกๆ และเจริญช�าลงในช�วงวัยรุ�นตอนปลาย ด�วยเหตุนี้การพัฒนาความสามารถทางการคิดอย�างมีวิจารณญาณเราจึงน�าจะเริ่มต�นกับนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษา แต�เป5นท่ีน�าแปลกใจว�าไม�ว�าเราจะเข�าไปในห�องเรียนในระดับชั้นประถมศึกษา หรือระดับชั้นอ่ืน ๆ ก็ตามเราจะไม�เห็นปรากฏการณ&สอนการคิด ถึงแม�ว�าจะได�มีการนําวิธีการสอนแบบมาใช�อย�างแพร�หลาย (ทิศนา แขมมณี. 2544 : 59-60) แสดงให�เห็นว�านักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาของประเทศไทยยังไม�ได�รับการฝbกทางการคิดเท�าท่ีควร ความสามารถด�านการคิดอย�างมีวิจารณญาณมีความสําคัญและมีประโยชน&ต�อผู�เรียนเป5นอย�างยิ่ง ซ่ึงในป[จจุบันเราจะพบว�าเด็กไทยขาดทักษะทางด�านการคิด วิเคราะห&โจทย&ป[ญหาไม�ได� แก�ป[ญหาไม�เป5น ซ่ึงทักษะเหล�านี้มีความจําเป5นอย�างยิ่งต�อการจัดการเรียนรู� เพราะการจัดการศึกษาเน�นให�ผู�เรียนทุกคน ต�องคิดเป5น ทําเป5น แก�ป[ญหาเป5น การจัดการเรียนรู�ด�วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร&ประกอบการเขียนแผนผังมโนมติส�งผลให�นักเรียนกล�าแสดงออกและนักเรียนฝbกการเชื่อมโยงความคิดของตนเอง มีความสนุกสนานในการเรียน ดังนั้นการจัดการเรียนรู�ด�วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร&ประกอบการเขียนแผนผังมโนมติจึงมีความสําคัญต�อการพัฒนาตัวนักเรียน เพราะจะทําให�ผู�เรียนสามารถ มีความกล�าแสดงออก วิเคราะห&ป[ญหาต�าง ๆ ในชีวิตประจําวันได� ซ่ึงก�อให�เกิดประโยชน&ต�อการพัฒนาประเทศและคุณภาพของประชากรในสังคม ดังนั้นคณะผู�จัดทําจึงได�นําวิธีการจัดการเรียนรู�การเขียนแผนผังมโนมติของงานวิจัยนี้มาทดลองใช�จริงกับกลุ�มเปcาหมาย 2-3 คน โดยกลุ�มเปcาหมายเป5นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปLท่ี 3 หัวข�อของการทดลองคือ เรื่องอากาศบนโลก

  • 2

    รายงานการออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู�ท่ีส�งเสริมกระบวนการคิด ชื่อเรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมส�งเสริมกระบวนการคิดโดยใช�การเขียนแผนผังมโนมติ 1. วัตถุประสงค% 1.1 เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมส�งเสริมกระบวนการคิดโดยใช�การเขียนแผนผังมโนมติ 1.2 เพ่ือศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะห&ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปLท่ี 3 ท่ีได�รับการส�งเสริมกระบวนการคิดโดยใช�การเขียนแผนผังมโนมติ 1.3 เพ่ือศึกษาความพึงพอใจจากการจัดการเรียนรู�โดยใช�การเขียนแผนผังมโนมติ 2. สมมติฐานการวิจัย 2.1 ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมส�งเสริมกระบวนการคิดโดยใช�การเขียนแผนผังมโนมติมีประสิทธิภาพตามเกณฑ& 80/80 2.2 ความสามารถในการคิดวิเคราะห&ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปLท่ี 3 ท่ีได�รับการส�งเสริมกระบวนการคิดโดยใช�การเขียนแผนผังมโนมติก�อนและหลังใช�แตกต�างกัน 3. วิธีดําเนินการ 3.1 กลุ�มเปcาหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปLท่ี 3 จํานวน 3 คน 3.2 เครื่องมือท่ีใช� 3.2.1 ชุดกิจกรรมส�งเสริมกระบวนการคิดโดยใช�การเขียนแผนผังมโนมติ 3.2.2 แผนการจัดการเรียนรู� 3.2.3 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.3 ช�วงเวลาการทดลอง ระยะเวลาในการทดลองเดือนเมษายน 2558 ภาคเรียนท่ี 2 ปLการศึกษา 2557 จํานวน 3 ชั่วโมง 3.4 การวิเคราะห&ข�อมูล 3.4.1 วิเคราะห&หาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมส�งเสริมกระบวนการคิดโดยใช�การเขียนแผนผังมโนมติโดยใช�สถิติ E1/E2 3.4.2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก�อนการเรียนและภายหลังการเรียนรู� โดยใช�สถิติ ทดสอบค�าที (t-test) 3.4.3 วิเคราะห&ความพึงพอใจของนักเรียน โดยใช�สถิติ ค�าเฉลี่ย ส�วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

  • 3

    4. กรอบมโนทัศน%ของการวิจัย ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม 5. ทฤษฎีท่ีเก่ียวข�อง 1. ความหมายของมโนมติ มโนมติ เป5นคําแปลมาจากคําว�า Concept ในภาษาอังกฤษ นักการศึกษาได�ให�ความหมายของมโนมติไว�หลายท�าน ดังต�อไปนี้ กูhด (Good. 1973 : 124) ได�ให�ความหมายของมโนมติไว� 3 ลักษณะ คือ 1. ความคิดหรือสัญลักษณ&ของส�วนประกอบ หรือลักษณะร�วมท่ีสามารถจําแนกออกเป5นกลุ�ม เป5นพวกได� 2. สัญลักษณ&เชิงความคิดท่ัวไป หรือเชิงนามธรรมเก่ียวกับสถานการณ& กิจการหรือวัตถุ 3. ความรู�สึกนึกคิด ความเห็น ความคิดหรือภาพความคิด กานเย� (Gagne. 1977 : 32) ให�ความหมายของคําว�า มโนมติไว�ว�า มโนมติ หมายถึง การจัดประเภทของวัตถุสิ่งของ เหตุการณ&หรือความคิด ซ่ึงมโนคติจัดเป5นส�วนประกอบของกฎเกณฑ&และพ้ืนฐานของการคิดระดับสูง โนแวค และคนอ่ืนๆ (Novak, et al. 1983 : 5) ให�ความหมาย มโนมติ หมายถึง ความสมํ่าเสมอท่ีมีอยู�ในเหตุการณ&หรือวัตถุต�างๆและตราไว�ให�เป5นท่ีหมายรู�กันด�วยคําพูดจากความหมาย ดังกล�าวสรุปได�ว�า มโนมติ หมายถึง ความคิด ความเข�าใจของบุคคลท่ีมีต�อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยอาศัยการสังเกตและประสบการณ&เดิม จากความหมาย ดังกล�าวสรุปได�ว�า มโนมติ หมายถึง การสรุปคุณลักษณะท่ีสําคัญของวัตถุ สิ่งของ หรือเหตุการณ& ตามความคิด ความเข�าใจ จากประสบการณ&ท่ีได�รับ ซ่ึงแสดงออกมาโดยภาษา หรือถ�อยคําท่ีเป5นนามธรรม หรือเป5นประโยคท่ีกะทัดรัดและสื่อความหมายได� หรืออาจสรุปออกมาเป5นกลุ�ม ซ่ึงข้ึนอยู�กับลักษณะของข�อมูล

    ชุดกิจกรรมส�งเสริมชุดกิจกรรมส�งเสริม

    กระบวนการคิดโดยใช�การเขียนแผนผังมโนมติ

    กระบวนการคิด ความพึงพอใจ

  • 4

    2. ความสําคัญของมโนมติ บรูเนอร& (Bruner. 1966 : 231) ให�ความคิดว�าการสอนให�คนเกิดมโนมติในสิ่งใดสิ่งหนึ่งจะได�เป5นประโยชน& ดังนี้ 1. ทําให�เกิดการเรียนรู�ท่ีมีระบบไม�สับสน เรียนรู�ได�ง�าย ไม�ยุ�งยาก 2. ทําให�เกิดความประหยัดท่ีไม�ต�องเรียนเรื่องใดเรื่องหนึ่งให�มากเกินความจําเป5น 3. ทําให�สามารถนําความรู�ไปใช�ได�กว�างขวาง สร�างเสริมความรู�ต�อไปได�มากข้ึนและเร็วข้ึน ออซูเบล (Ausubel. 1986 : 505) ได�กล�าวไว�ว�า ในชีวิตประจําวันของทุกคนจะต�องพบกับป[ญหาท่ีต�องคิดอย�างหนัก และไม�สามารถหลีกเลี่ยงได� ด�วยเหตุนี้เองจึงทําให�คนอยู�ในโลกของมโนมติมากกว�าเหตุวัตถุ เหตุการณ&สถานการณ& การตัดสินใจล�วนแต�ต�องผ�านเครื่องกรองท่ีเป5นมโนมติท้ังสิ้น 3. ความรู�เก่ียวกับการเรียนการสอนมโนมติและหลักการ มโนมติเป5นองค&ประกอบย�อย อยู�ในระบบโครงสร�างของความรู� ความสําคัญของมโนมติในแต�ละมโนมตินั้นบางครั้ง จะมีความสัมพันธ&กันอันเป5นแนวทางสรุปเป5นหลักการกฎเกณฑ&ทฤษฎี หรือนําไปใช�แก�ป[ญหาและสร�างสรรค&ต�อไป กระบวนการท่ีจะเกิดหลักการได�จะต�องมีมโนคติอย�างน�อยต้ังแต�สองมโนมติข้ึนไปมาสรุปสัมพันธ&เป5นเหตุเป5นผลกัน การสอนมโนมติตามแนวคิดของ บรูเนอร& (Bruner. 1966 : 174-176) ได�คิดค�นกระบวนการเรียนรู�โดยต้ังสมมติฐานข้ึนข�อหนึ่งซ่ึงเป5นทฤษฎีการเรียนการสอนในหนังสือ The Process of Education ว�า “วิชาใด ๆ ก็ตามสามารถสอนให�เด็กเรียนรู�ได�เข�าใจได�อย�างได�ผลจริงจังในบางลักษณะไม�ว�าผู�เรียนจะเป5นใคร ในระดับวุฒิภาวะใด แต�ข้ึนอยู�กับการสอนท่ีเหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะและกลุ�มเปcาหมาย” บรูเนอร&เป5นผู�นําในการคิดว�า กระบวนการสอนท่ีจะให�ผู�เรียนให�ผลดีในระยะสั้น คือ การเรียนการสอน “แก�น” หรือ “สาระ” ของวิชานั้น ๆ โดยพยายามศึกษาโครงสร�างของแต�ละวิชา และทําความเข�าใจเรื่องท่ีสําคัญ ๆ ในวิชาหรือแก�นท่ีสําคัญให�ได� และวิธีการเรียน การสอนให�ผู�เรียนเกิดมโนมติจะเป5นกระบวนการมากกว�าเนื้อหาสาระ ส�วนทางด�านตัวครูผู�สอนซ่ึงเป5นป[จจัยสําคัญท่ีจะจัดกระบวนการเรียนการสอนให�มีประสิทธิภาพต�องคํานึงถึงองค&ประกอบ 4 ประการ คือ 1. ผู�สอนต�องเข�าใจธรรมชาติของวิชาและโครงสร�างของวิชาอย�างชัดเจน รวมท้ังผู�สอนต�องรู�กลวิธีท่ีจะถ�ายทอดโครงสร�างวิชานั้นให�กับผู�เรียน 2. ผู�สอนต�องรู�จักและเข�าใจผู�เรียนเป5นอย�างดี เพ่ือจัดบรรยากาศทางจิตวิทยาท่ีเอ้ืออํานวยต�อสภาพการเรียนการสอนอันเหมาะสมกับผู�เรียน 3. การจัดประสบการณ&เรียน จะต�องฝbกให�ผู�เรียนได�ใช�เหตุผลและกล�าแสดงในสิ่งท่ีผู�เรียนคิดการแก�ป[ญหาจะช�วยส�งเสริมความคิดสร�างสรรค&

  • 5

    4. ผู�สอนต�องสามารถสร�างแรงจูงใจให�ผู�เรียนเกิดความศรัทธา ความชอบท่ีจะเรียนรู�เพราะแรงจูงใจเป5นสิ่งสําคัญมากยิ่งส�งผลต�อการเรียนรู�มาก ไทเลอร& (Tylor. 1965 : 148-150) ได�กล�าวถึงการสอนให�เกิดมโนมติว�า การเรียนรู�จะต�องเกิดจากการกระทําของนักเรียนเอง การท่ีครูให�หลักการและข�อสรุปแก�นักเรียนโดยตรง นักเรียนจะจดจําสิ่งท่ีครูให�โดยปราศจากความเข�าใจในสิ่งนั้น ๆ อย�างแท�จริงซ่ึงเป5นอันตรายต�อเด็กมาก เขาเชื่อว�าวิธีการแก�ไขเหตุการณ&ดังกล�าว ก็คือพยายามให�นักเรียนสร�างหลักการ (Principle) ด�วยคําพูดของเขาเอง ในทํานองเดียวกันการเปwดโอกาสให�นักเรียนได�ปฏิบัติกิจกรรมต�าง ๆ ด�วยตนเอง จะช�วยให�นักเรียนมองเห็นความจริงทางวิทยาศาสตร&ได�ลึกซ้ึงและรวดเร็ว โนแวคและคนอ่ืนๆ (Novak, et al. 1983 : 15) กล�าวถึงแผนผังมโนมติว�า “แผนผังของมโนมติเป5นสิ่งท่ีใช�แทนความสัมพันธ&อย�างมีความหมายระหว�างมโนมติในรูปของประพจน& (Proposition)” 4. ทฤษฎีพ้ืนฐานของการสอนโดยใช�แผนผังมโนมติ หทัยรัช รังสุวรรณ (2539 : 34) ได�แบ�งการเรียนรู�เป5น 2 ชนิด คือ 1. การเรียนรู�แบบรับรู� (Reception learning) 2. การเรียนรู�แบบค�นพบ (Discovery learning) การเรียนรู�แต�ละแบบยังแบ�งเป5นการเรียนรู�อย�างมีความหมาย (Meaningful learning) กับการเรียนรู�แบบท�องจํา (Rote learning) จึงจําแนกให�การเรียนรู�เป5น ท้ังหมด 4 แบบ คือ 1. การเรียนแบบรับรู�อย�างมีความหมาย เป5นการเรียนท่ีได�รับการสอนใหม� ๆ อย�างครบถ�วน และผู�เรียนนําไปสัมพันธ&กับความรู�เดิมท่ีมีอยู� 2. การเรียนแบบรับรู�โดยการท�องจํา เป5นการเรียนท่ีผู�เรียนได�รับการสอนสิ่งใหม� ๆอย�างครบถ�วนและผู�เรียนท�องจําไว� 3. การเรียนแบบค�นพบอย�างมีความหมาย เป5นการเรียนท่ีผู�เรียนค�นหาคําตอบเอง และนําไปสัมพันธ&กับความรู�เดิมท่ีมีอยู� 4. การเรียนแบบค�นพบโดยการท�องจํา เป5นการเรียนท่ีผู�เรียนค�นพบด�วยตนเอง แต�ท�องจําการสร�างแผนผังมโนมติพ้ืนฐานมาจากทฤษฎีการเรียนรู�อย�างมีความหมายของ ออซูเบล (Ausubel. 1986 : 15) ซ่ึงมีแนวคิดว�าครูควรจะสอนสิ่งท่ีสัมพันธ&กับความรู�ท่ีนักเรียนมีอยู�เดิมความรู�ท่ีมีอยู�เดิมนี้จะอยู�ในโครงสร�างของความรู� (Cognitive structure) ซ่ึงเป5นข�อมูลท่ีสะสมอยู�ในสมอง และมีการจัดระบบไว�เป5นอย�างดี มีการเชื่อมโยงระหว�างความรู�เก�าและความรู�ใหม�อย�างมีระดับชั้น ดังนั้นโครงสร�างของความรู�จะใช�เป5นแผนผังมโนมติ และบันทึกประสบการณ&ต�าง ๆ ท่ีได�รับการเรียนรู�อย�างมีความหมาย จะเกิดข้ึนเม่ือความรู�ใหม�สัมพันธ&กับมโนคติซ่ึงอยู�ในโครงสร�างของความรู�เดิมท่ีมีอยู�ในสมองซ่ึง ออซูเบล เรียกว�า กระบวนการดูดซึม หรือเรียกมโนมติท่ีเกิดจากการเชื่อมโยงนั้นเหมือนกันว�า ซับซัมเมอร& (Subsumer) แต�ถ�าไม�ได�นําความรู�ใหม�เข�าไปเชื่อมโยงกับความรู�เดิมท่ีมีอยู�จะเป5นการเรียนรู�แบบท�องจํา

  • 6

    นวัตกรรมการเรียนรู� 1. ชื่อและประเภทของนวัตกรรม กิจกรรมส�งเสริมกระบวนการคิดโดยใช�การเขียนแผนผังมโนมติ ประเภท เทคนิคการสอน 2. แนวคิด มโนทัศน& หรือสาระสําคัญ มโนมติ หมายถึง การสรุปคุณลักษณะท่ีสําคัญของวัตถุ สิ่งของ หรือเหตุการณ& ตามความคิด ความเข�าใจ จากประสบการณ&ท่ีได�รับ ซ่ึงแสดงออกมาโดยภาษา หรือถ�อยคําท่ีเป5นนามธรรม หรือเป5นประโยคท่ีกะทัดรัดและสื่อความหมายได� หรืออาจสรุปออกมาเป5นกลุ�ม ซ่ึงข้ึนอยู�กับลักษณะของข�อมูล ผังมโนมติ หมายถึง แผนภาพการเรียนรู�ท่ีสร�างข้ึนเพ่ือแสดงความสัมพันธ&ระหว�างกลุ�มมโนมติท่ีเชื่อมโยงเข�าด�วยกัน ด�วยเส�นของคําเชื่อมท่ีเหมาะสมจะเริ่มจากการเลือกคําท่ีเป5นมโนมติท่ีสําคัญ แล�วนํามาจัดลําดับมโนมติท่ีกว�างสู�มโนมติท่ีแคบอยู�ถัดลงมา จนถึงมโนมติท่ีเฉพาะเจาะจงมากท่ีสุด ซ่ึงอาจเป5นชื่อเฉพาะตัวอย�างของมโนมติ ลดหลั่นลงมาเรื่อย ๆตามลําดับความสําคัญ 3. วัตถุประสงค& 3.1 เพ่ือพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห& 3.2 เพ่ือพัฒนาชุดกิจกรรมส�งเสริมกระบวนการคิดโดยใช�การเขียนแผนผังมโนมติ 4. กระบวนการ/ข้ันตอนในการใช�นวัตกรรม ข้ันท่ี 1 ข้ันอภิปรายก�อนทําการทดลอง 1.1 นักเรียนศึกษาสถานการณ&และใบความรู� แล�วร�วมอภิปรายเพ่ือระบุป[ญหาและต้ังสมมติฐาน 1.2 นักเรียนแต�ละกลุ�มเขียนผังความคิดเรื่องท่ีจะศึกษาในเอกสาร 1.3 นักเรียนแต�ละกลุ�มออกแลลการทดลองโดยมีอุปกรณ&ให� ข้ันท่ี 2 ข้ันทํากิจกรรม 2.1 นักเรียนแต�ละกลุ�มทําการทดลองแล�วบันทึกผลการทดลองรูปแบบท่ีออกแบบไว� ข้ันท่ี 3 ข้ันอภิปรายหลังทํากิจกรรม 3.1 นักเรียนแต�ละกลุ�มร�วมกันเชื่อมโยงแต�ละมโนมติเข�าด�วยกันโดยใช�คําเชื่อม 3.2 นักเรียนแต�ละกลุ�มร�วมกันปรับปรุงแก�ไข ผังมโนมติท่ีสร�างข้ึน นักเรียนแต�ละกลุ�มเขียนผังมโนมติท่ีแก�ไขเรียบร�อยแล�ว นําเสนอเสนอหน�าชั้นเรียน 3.3 ครูและนักเรียนแต�ละกลุ�มร�วมกันคัดเลือกผังมโนมติท่ีเหมาะสมท่ีสุดมาสรุปบทเรียนท่ีนักเรียนทุกคนเขียนผังมโนมติบทสรุปลงในสมุด

  • 7

    3.4 ครูและนักเรียนร�วมมือกันอภิปรายถึงประโยชน&ของการนําความรู�ไปใช�ในชีวิตประจําวัน 5. สื่อและแหล�งเรียนรู� 5.1 ใบกิจกรรม 5.2 ใบความรู� 5.3 ห�องสมุด 5.4 อินเตอร&เน็ต 6. การวัดและประเมินผล ความรู� ความเข�าใจและการนําไปใช� - การสังเกต วัดได�จากสังเกตจากพฤติกรรมของนักเรียนขณะเรียนและขณะทํากิจกรรม - การซักถาม วัดได�จากสังเกตจากการตอบคําถามและการอภิปรายร�วมกันในห�องเรียน - การตรวจแบบฝbกหัด วัดได�จากสังเกตจากการทําใบกิจกรรม และการตรวจผังมโนมติของนักเรียน วัดความสามารถด�านการคิดวิเคราะห& - วัดได�จากแบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในด�านความคิดวิเคราะห&ของนักเรียนหลังเรียน 7. ข�อควรระวัง 1. ผู�สอนต�องเข�าใจธรรมชาติของวิชาและโครงสร�างของวิชาอย�างชัดเจน รวมท้ังผู�สอนต�องรู�กลวิธีท่ีจะถ�ายทอดโครงสร�างวิชานั้นให�กับผู�เรียน 2. ผู�สอนต�องรู�จักและเข�าใจผู�เรียนเป5นอย�างดี เพ่ือจัดบรรยากาศทางจิตวิทยาท่ีเอ้ืออํานวยต�อสภาพการเรียนการสอนอันเหมาะสมกับผู�เรียน 3. การจัดประสบการณ&เรียน จะต�องฝbกให�ผู�เรียนได�ใช�เหตุผลและกล�าแสดงในสิ่งท่ีผู�เรียนคิดการแก�ป[ญหาจะช�วยส�งเสริมความคิดสร�างสรรค& 4. ผู�สอนต�องสามารถสร�างแรงจูงใจให�ผู�เรียนเกิดความศรัทธา ความชอบท่ีจะเรียนรู�เพราะแรงจูงใจเป5นสิ่งสําคัญมากยิ่งส�งผลต�อการเรียนรู�มาก

  • อ�างอิง ทิศนา แขมมณี. (2544). วิทยาการด�านการคิด. กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอร&กรุhปแมนเนจเม�นท& หทัยรัช รังสุวรรณ. (2539). ผลของการสอนโดยใช�แผนท่ีมโนคติท่ีมีต�อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา

    วิทยาศาสตร%กายภาพชีวภาพด�านมโนคติ และความสามารถในการคิดแก�ปBญหาทางวิทยาศาสตร%ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาป5ท่ี 5. วิทยานิพนธ&ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร&ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

    เอ้ือมพร สร�างตนเอง. (2551). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร%และวามสามารถด�านการคิดอย�างมีวิจารณญาณของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป5ท่ี 3 ท่ีจัดการเรียนรู�ด�วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร%ประกอบการเขียนแผนผังมโนมติกับการจัดการเรียนรู�ตามปกติ วิทยานิพนธ&ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการจัดการการเรียนรู� บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

    Ausubel, David P. (1986). Education Psychology : A cognitive View. New York : Holt Rinchart and Winston.

    Bruner, Jerome S. (1966). Studies in Cognitive Growth : A Collaboration at the Centerfor Cognitive Studies. New York : John Wiley & Sons.

    Gagne, R. M. (1977). The Conditions of Learning. New York : Holt Rinehart and Winston.

    Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York : McGraw-Hill. Novak, Joseph D., et al. (1983, October). “The Use of Concept Mapping and

    Knowledge Vee Mapping with Junior Hight School Science Students,” Science Education. 67(5) : 625-645.

    Piaget, J. (1964). Six Psychological Studies. New York : Vintage. Taylor, Gary R. A. (1965). Comparative Evaluation of Teaching Effectiveness and

    Efficiency for 3 Representation Module Programmed Multi - media for Groups, Textbook, and Multi - media Lecture Dissection as Adopted from and Original of Instruction. New York : McGraw-Hill,

  • 9

    ภาคผนวก แผนการจัดการเรียนรู�

  • 10

    แผนการจัดการเรียนรู�ที่ 1 กลุ�มสาระการเรียนรู�วิทยาศาสตร% ช้ันประถมศึกษาป5ท่ี 3 เรื่อง มโนมติ / ผังมโนมติ จํานวน 2 ช่ัวโมง --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สาระสําคัญ มโนมติ เป5นการสรุปคุณลักษณะท่ีสําคัญของวัตถุ สิ่งของ หรือหตุการณ& ตามความคิด ความเข�าใจ จากประสบการณ&ท่ีได�รับ ผังมโนมติ เป5นการนํามโนมติท่ีสําคัญมาจัดลําดับเป5นแผนผัง เริ่มจากมโนมติท่ีกว�างสู�มโนมติท่ีแคบอยู�ถัดลงมา จนถึงมโนมติท่ีเฉพาะเจาะจงมากท่ีสุดลดหลั่นลงมาเรื่อย ๆ แล�วเชื่อมโยงด�วยเส�นและคําเชื่อมให�สัมพันธ&กัน จุดประสงค%การเรียนรู� 1. บอกความหมายของมโนมติได� 2. ระบุมโนมติท่ีสําคัญจากเรื่องท่ีกําหนดให�ได� 3. เขียนผังมโนมติจากเรื่องท่ีกําหนดให�ได� สาระการเรียนรู� มโนมติ หมายถึง การสรุปคุณลักษณะท่ีสําคัญของวัตถุ สิ่งของ หรือเหตุการณ& ตามความคิด ความเข�าใจ จากประสบการณ&ท่ีได�รับ ซ่ึงแสดงออกมาโดยภาษา หรือถ�อยคําท่ีเป5นนามธรรม หรือเป5นประโยคท่ีกะทัดรัดและสื่อความหมายได� หรืออาจสรุปออกมาเป5นกลุ�ม ซ่ึงข้ึนอยู�กับลักษณะของข�อมูล ผังมโนมติ เป5นแผนภาพการเรียนรู�ท่ีสร�างข้ึนเพ่ือแสดงความสัมพันธ&ระหว�างกลุ�มมโนมติท่ีเชื่อมโยงเข�าด�วยกัน ด�วยเส�นของคําเชื่อมท่ีเหมาะสมจะเริ่มจากการเลือกคําท่ีเป5นมโนมติท่ีสําคัญ แล�วนํามาจัดลําดับมโนมติท่ีกว�างสู�มโนมติท่ีแคบอยู�ถัดลงมา จนถึงมโนมติท่ีเฉพาะเจาะจงมากท่ีสุด ซ่ึงอาจเป5นชื่อเฉพาะตัวอย�างของมโนมติ ลดหลั่นลงมาเรื่อย ๆ ตามลําดับความสําคัญ กระบวนการจัดการเรียนรู� 1. ข้ันอภิปรายก�อนทําการทดลอง 1.1 แบ�งนักเรียนออกเป5น 6 กลุ�ม กลุ�มละ 5 – 6 คน 1.2 ให�นักเรียนแต�ละกลุ�มจับบัตรคํา กลุ�มละ 1 บัตร ซ่ึงประกอบด�วยบัตรคําสีฟcา ได�แก� คําว�า หนังสือ สมุด ไม�บรรทัด ดินสอ และบัตรคําสีชมพู ได�แก�คําว�า ฝนตก หุงข�าว จานแตก 1.3 ให�นักเรียนแต�ละกลุ�มนําบัตรคํามาติดไว�บนกระดานดําหน�าชั้นเรียนโดยให�บัตรคําท่ีมีสีเดียวกันอยู�ในกลุ�มเดียวกัน 1.4 ให�นักเรียนแสดงความคิดเห็นว�า คําท่ีแสดงไว�ในบัตรสีฟcาและสีชมพู แตกต�างกันหรือไม�อย�างไร (กลุ�มบัตรคําสีฟcา คือสิ่งของหรือวัตถุ ส�วนบัตรคําสีชมพู คือสิ่งท่ีเกิดข้ึน หรือ เหตุการณ&)

  • 11 2. ข้ันทํากิจกรรม เป5นกิจกรรมท่ีประกอบด�วย 3 ข้ันตอน คือ 2.1 ผังความคิด 2.2 ข้ันสอน 2.3 ผังมโนมติ กิจกรรม 1. ผังความคิด ให�นักเรียนแต�ละกลุ�มจับบัตรคํากลุ�มละ 1 บัตรคํา ได�แก�คําว�า พืช สัตว& น้ํา ต�นไม� ปลา ข�าว ดิน แล�วให�บอกสิ่งท่ีเก่ียวข�องกับบัตรคําท่ีจับมาได�ท้ังหมด โดยเขียนใส�กระดาษ ใบกิจกรรมท่ี1 ให�นักเรียนเป5นผู�กําหนดแบบการเขียนเอง เช�น ถ�านักเรียนจับได�คําว�าสัตว& 2. ข้ันสอน 2.1 ครูอภิปรายเพ่ิมเติมเก่ียวกับลักษณะของคําท่ีกําหนดให�ในบัตรคํามโนมติ เพ่ือเสริมความเข�าใจให�นักเรียนทราบ ความคิด ความเข�าใจ หรือภาพท่ีเกิดข้ึนในจิตของนักเรียนต�อคําต�าง ๆ เหล�านี้คือ “มโนมติ” ซ่ึงคําต�าง ๆ ในบัตรคําเราเรียกว�า “คํามโนมติ” ซ่ึงเป5นคําหรือข�อความท่ีให�เรียกแทนมโนมติของสิ่งนั้น 2.2 ครูแสดงบัตรตัวอย�างคําท่ีไม�ใช�มโนมติ ได�แก� บัตรคําเชื่อม เช�น คําว�า คือ ด�วย ได�แก� ประกอบด�วย และเม่ือ ฯลฯ และบัตรคําท่ีเป5นชื่อเฉพาะของบุคคล สถานท่ี หรือสิ่งของ เช�น คําว�า เด็กหญิง กานต& จังหวัด พระนครศรีอยุธยา เกาะสมุย แล�วครูอภิปรายถึงลักษณะของคํา ดังกล�าว คําเชื่อมเราจะใช�ท้ังในการเขียนและการพูดเพ่ือสร�างประโยคท่ีมีความหมาย ส�วนคําท่ีเป5น ชื่อเฉพาะเป5นวิสามานยนาม คือ คําท่ีใช�แทนการเรียกชื่อ ของคน สัตว& สิ่งของ ท้ัง 2 ประเภทไม�ใช�คํามโนมติ 2.3 ครูแสดงบัตรประโยคสั้น ๆ บนกระดานดังนี้ มะนาวมีรสเปรี้ยว ดินเป5นของแข็งดอกทานตะวันมีสีเหลือง แล�วให�นักเรียนบอกคํามโนมติและคําเชื่อม 3. ผังมโนมติ ให�นักเรียนสร�างผังมโนมติ ดังนี้ 3.1 ครูทําบัตรคํามโนมติ ได�แก�คําว�า น้ํา แม�น้ํา ทะเล สถานะ กhาซ ของแข็ง ของเหลว ปลา ปะการัง หิมะ น้ําค�าง และไอน้ํา ติดไว�บนกระดานหน�าชั้นเรียน 3.2 ครูและนักเรียนร�วมกันอภิปรายมโนมติท่ีมีความหมายครอบคลุมมากท่ีสุดไว�บนสุด และเรียงมโนมติอ่ืนๆ ลดหลั่นลงมาตามลําดับ ให�มีความสัมพันธ&กันบนกระดาน 3.3 ครูและนักเรียนร�วมกันโยงเส�นหาคํามาเชื่อมความสัมพันธ&แต�ละมโนมติเข�าด�วยกัน 3.4 ครูและนักเรียนเชื่อมโยงความสัมพันธ&ของมโนมติต�าง ๆ เข�าด�วยกันด�วยเส�นและคําเชื่อมโดยคํานึงถึงลําดับข้ันของมโนมติท่ีมีความหมายกว�าง ครอบคลุมไปจนถึงความหมายเฉพาะเจาะจง 3.5 ครูอธิบายให�นักเรียนทราบว�า แผนผังท่ีนักเรียนร�วมกันสร�างข้ึนมานี้เรียกว�า “ผังมโนมติ” พร�อมให�นักเรียนอ�านผังมโนมติท่ีสร�างข้ึน 4. ให�นักเรียนแต�ละกลุ�มฝbกเขียนผังมโนมติด�วยตนเองอีกครั้ง โดยมีข้ันตอน ดังนี้

  • 12 4.1 ครูแจกใบความรู�เรื่อง “น้ํา” ให�นักเรียนทุกกลุ�มเพ่ือท่ีจะนํามาสร�างผังมโนมติ 4.2 นักเรียนแต�ละกลุ�มศึกษาเนื้อหา และระบุมโนมติท่ีสําคัญจากเนื้อเรื่องท่ีอ�าน ถ�านักเรียนระบุไม�ได� หรือไม�ครบ ครูใช�คําถามนําไปสู�มโนมติท่ีสําคัญเหล�านั้นและเขียนลงในกระดาษ 4.3 ให�นักเรียนแต�ละกลุ�มร�วมกันอภิปรายภายในกลุ�มว�ามโนมติใดท่ีสําคัญท่ีสุด มีความหมายครอบคลุมท่ีสุด และรองลงไป พร�อมกับจัดเรียงลําดับความสําคัญของมโนมติและจัดกลุ�มมโนมติท่ีมีความสัมพันธ&กัน 4.4 ให�นักเรียนนําเสนอมโนมติท่ีสําคัญท่ีนักเรียนแต�ละกลุ�มจัดลําดับไว�บนกระดานดําแล�วเลือกกลุ�มท่ีสมบูรณ&ท่ีสุดเพ่ือโยงเส�นและคําเชื่อม 4.5 ให�นักเรียนช�วยกันโยงเส�นและหาคําเชื่อมความสัมพันธ&ระหว�างมโนมติต�าง ๆเข�าด�วยกัน 3. ข้ันอภิปรายหลังทํากิจกรรม ครูและนักเรียนร�วมกันอภิปรายข้ันตอนการสร�างผังมโนมติเพ่ือให�นักเรียนได�ข�อสรุปเก่ียวกับความหมายและวิธีการสร�างผังมโนมติ ส่ือการเรียนการสอน 1. บัตรคํามโนมติชุดท่ี 1 จํานวน 7 บัตร ประกอบด�วยบัตรคําสีฟcา และบัตรคําสีชมพู 2. บัตรคํามโนมติชุดท่ี 2 จํานวน 7 บัตร ได�แก� พืช สัตว& น้ํา ปลา ข�าว ดิน และต�นไม� 4. บัตรคําชุดท่ี 3 แสดงคําเชื่อมและชื่อเฉพาะ ได�แก�คําว�า คือ ด�วย ได�แก� ประกอบด�วย เด็กหญิงกานต& จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เกาะสมุย 5. บัตรคําชุดท่ี 4 จํานวน 12 บัตร ได�แก� น้ํา แม�น้ํา ทะเล สถานะ กhาซ ของแข็ง ของเหลว ปลา ปะการัง หิมะ น้ําค�างและไอน้ํา 6. บัตรคําท่ีเป5นประโยคสั้น ๆ ได�แก� - มะนาวมีรสเปรี้ยว - ดินเป5นของแข็ง - ดอกทานตะวันมีสีเหลือง 7. กระดาษสําหรับเขียนผังมโนมติท่ีสําคัญ 8. ผังมโนมติเรื่อง “น้ํา” 9. ใบความรู�เรื่อง “น้ํา” การวัดผลประเมินผล 1. การสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทํากิจกรรม 2. การตรวจผังมโนมติท่ีสร�างข้ึน

  • 13

    ใบความรู� ช้ันประถมศึกษาป5ท่ี 3 เรื่อง น้ํา

    น้ํา เป5นของเหลวชนิดหนึ่ง ท่ีมีอยู�มากท่ีสุดบนผิวโลกถึง 3 ใน 4 (71%) ของพ้ืนท่ีผิวโลก และเป5นป[จจัยสําคัญต�อการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดท่ีมนุษย&รู�จัก เราสามารถพบน้ําได�ในหลายๆ สถานท่ี อาทิ ทะเลทะเลสาบ แม�น้ํา ห�วย หนอง คลองบึง และในหลายๆรูปแบบ เช�น น้ําแข็ง หิมะ ฝน ลูกเห็บ เมฆ และไอน้ํา ประเภทของน้ํา น้ําผิวดิน แหล�งน้ําผิวดินตามธรรมชาติประกอบด�วย มหาสมุทร ทะเล แม�น้ํา คําคลอง หนอง บึง น้ําตก ส�วนอ�างเก็บน้ําหรือเข่ือนกักเก็บน้ําต�าง ๆ จัดเป5นแหล�งน้ําท่ีถูกสร�างข้ึนด�วยมนุษย& น้ําใต�ดิน เกิดจากการท่ีน้ําผิวดินซึมผ�านพ้ืนดินลงสู�ระดับท่ีตํ่ากว�าแม�น้ํา ลําคลอง และทะเล ไปสะสมปริมาณน้ําอยู�ด�านล�างของแหล�งน้ํา ซ่ึงมีปริมาณของน้ําน�อยกว�าน้ําผิวดิน เช�น น้ําบาดาล

    วัฏจักรของน้ําตามธรรมชาติ แบ�งออกเป5น 4 ข้ันตอน

    1. การระเหย หมายถึง การท่ีน้ําในแหล�งน้ํา เช�น แม�น้ํา ทะเล และมหาสมุทร ฯลฯ กลายเป5นไอเม่ือได�รับความร�อนจากแสงอาทิตย& 2. การควบแน�น หมายถึง การท่ีไอน้ําในบรรยากาศเปลี่ยนสถานะเป5นของเหลวในรูปของเมฆเม่ือได�รับความเย็น 3. การเกิดฝนตก หมายถึง ปรากฏการณ&ของการเกิดการรวมตัวของน้ําในอากาศ กลายเป5นหยดน้ํา เป5นฝนและหิมะตกสู�พ้ืนโลก 4. การรวมตัวของน้ํา หมายถึง การท่ีน้ําไหลรวมกันสู�แหล�งน้ํา เช�น แม�น้ํา ทะเล หรือ มหาสมุทร

  • ตัวอย�างผังมโนมติ เรื่องน้ํา

    น้ําผิวดิน น้ําใต�ดิน

    วัฏจักรของน้ํา

    การควบแน�น

    การเกิดฝนตก การรวมตัวของน้ํา

    การระเหย

    มหาสมุทร น้ําบาดาล แม�น้ํา เมฆ

    หยดน้ํา แหล�งน้ํา

    ไอน้ํา

    น้ํา

  • แผนการจัดการเรียนรู�ที่ 2 กลุ�มสาระการเรียนรู�วิทยาศาสตร% ช้ันประถมศึกษาป5ท่ี 3 หน�วยการเรียนรู� เร่ือง นํ้าและอากาศ

    เรื่อง ส�วนประกอบของอากาศ จํานวน 2 ช่ัวโมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ตัวชี้วัดชั้นป5 สืบค�นข�อมูลและอภิปรายส�วนประกอบของอากาศและความสาํคัญของอากาศ (ว 6.1 ป. 3/2)

    สาระสําคัญ อากาศประกอบด�วยแกhสหลายชนิดซ่ึงมีปริมาณที่แตกต�างกัน อากาศส�วนใหญ�จะประกอบไปด�วยแกhสไนโตรเจน แกhสออกซิเจน แกhสคาร&บอนไดออกไซด& ไอน้ํา และแกhสอ่ืน ๆ จุดประสงค%การเรียนรู�

    1. อธิบายส�วนประกอบของอากาศได� (K) 2. มีความสนใจใฝรู�หรืออยากรู�อยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณ&การเรียนรู�ที่เก่ียวกับวิทยาศาสตร& (A) 4. ทํางานร�วมกับผู�อ่ืนอย�างสร�างสรรค& (A) 5. สื่อสารและนาํความรู�เร่ืองส�วนประกอบของอากาศไปใช�ในชวีิตประจําวันได� (P)

    สาระการเรียนรู� ส�วนประกอบของอากาศ

    กระบวนการจัดการเรียนรู�

    1. ข้ันอภิปรายก�อนทําการทดลอง 1.1 เลือกนักเรียนอาสาสมัครออกมายืนที่หน�าชั้นเรียน 3 คน นักเรียนแต�ละคนถือถุงพลาสติกคนละ 1 ใบ ครูให�นักเรียนโบกถุงไปมาเพื่อจับลม แล�วรัดปากถุงให�แน�นด�วยยางรัด โดยครูตั้งคําถามกระตุ�นดังนี ้

    – อะไรอยู�ในถุง – นักเรียนมองเห็นอากาศที่อยู�ในถุงหรือไม� – ถ�าไม�ใช�ถุงพลาสติกนักเรียนจะสามารถใช�อะไรจับลม

    1.2 นักเรียนร�วมกันตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับคําตอบของคําถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู�การเรียนรู�เร่ือง ส�วนประกอบของอากาศ

    2. ข้ันทํากิจกรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู� มีข้ันตอนดังนี ้ 2.1 ขั้นสร�างความสนใจ 1) ครูนําภาพแผนภูมิวงกลมแสดงส�วนประกอบของอากาศให�นกัเรียนดู โดยอธิบายให�นักเรียนได�เข�าใจว�า อากาศที่เรามองไม�เห็นนั้นประกอบด�วยส�วนประกอบหลายชนิดที่มีปริมาณแตกต�างกัน แล�วให�นักเรียนร�วมกันอภิปรายตามประเด็นคําถามต�อไปนี ้

  • 16

    – ในอากาศประกอบด�วยแกhสชนิดใดบ�าง – อากาศประกอบด�วยแกhสชนิดใดมากที่สุด – สิ่งมีชีวิตใช�แกhสชนิดใดในอากาศในการหายใจ

    2) นักเรียนร�วมกันตอบคําถามตามความคิดเห็นของแต�ละคน 2.2 ขั้นสํารวจและค�นหา 1) ให�นักเรียนศึกษาส�วนประกอบของอากาศจากใบความรู� แล�วร�วมกันอภิปรายโดยครูตั้งคําถามกระตุ�นให�นักเรียนตอบดังนี ้

    – เราจะรู�ได�อย�างไรว�าอากาศมีส�วนประกอบหลายชนิด – อากาศที่สะอาดประกอบด�วยแกhสชนิดใดมากทีสุ่ด

    – อากาศในแต�ละบริเวณจะมีส�วนประกอบแตกต�างกันอย�างไร 2) นักเรียนร�วมกันตอบคําถามตามความเห็นคิดของแต�ละคน

    3) นักเรียนแต�ละกลุ�มศึกษาเนื้อหา และระบุมโนมติท่ีสําคัญจากเนื้อเรื่องท่ีอ�าน ถ�านักเรียนระบุไม�ได� หรือไม�ครบ ครูใช�คําถามนําไปสู�มโนมติท่ีสําคัญเหล�านั้นและเขียนลงในกระดาษ 4) ให�นักเรียนแต�ละกลุ�มร�วมกันอภิปรายภายในกลุ�มว�ามโนมติใดท่ีสําคัญท่ีสุด มีความหมายครอบคลุมท่ีสุด และรองลงไป พร�อมกับจัดเรียงลําดับความสําคัญของมโนมติและจัดกลุ�มมโนมติท่ีมีความสัมพันธ&กัน 5) ให�นักเรียนนําเสนอมโนมติท่ีสําคัญท่ีนักเรียนแต�ละกลุ�มจัดลําดับไว�บนกระดานดําแล�วเลือกกลุ�มท่ีสมบูรณ&ท่ีสุดเพ่ือโยงเส�นและคําเชื่อม 6) ให�นักเรียนช�วยกันโยงเส�นและหาคําเชื่อมความสัมพันธ&ระหว�างมโนมติต�าง ๆเข�าด�วยกัน 3. ข้ันอภิปรายหลังทํากิจกรรม ครูและนักเรียนร�วมกันอภิปรายข้ันตอนการสร�างผังมโนมติเพ่ือให�นักเรียนได�ข�อสรุปเก่ียวกับส�วนประกอบของอากาศ และครูทดสอบความเข�าใจของนักเรียนโดยการให�ตอบคําถาม เช�น

    – อากาศประกอบด�วย แกhสชนดิใด – แกhสชนิดใดในอากาศมีความสําคัญต�อมนุษย&มากที่สุด – ในอากาศมีไอน้าํอยู�หรือไม� ทราบได�อย�างไร

    สื่อ/แหล�งการเรียนรู�

    1. ภาพแผนภูมิวงกลมแสดงส�วนประกอบของอากาศ 2. ใบความรู�เร่ือง ส�วนประกอบของอากาศ 3. ใบงานเขียนฝ[งมโนมต ิ4. ถุงพลาสติก

    การวัดผลประเมินผล 1. การสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทํากิจกรรม 2. การตรวจผังมโนมติท่ีสร�างข้ึน

  • 17

    ใบความรู� ช้ันประถมศึกษาป5ท่ี 3 เรื่อง อากาศบนโลก

    อากาศ มีอยู�ท่ัวไป ทุกหนทุกแห�งบนโลก อากาศทําหน�าท่ีห�อหุ�มโลกเราไว� เป5นสิ่งจําเป5นสําหรับการหายใจของสิ่งมีชีวิต เรามองไม�เห็นอากาศ แต�เรารับรู�โดยดูจากการเคลื่อนไหวของอากาศ เช�น ลมพัด ใบไม�ไหว กระดาษปลิว เป5นต�น ส�วนประกอบของอากาศ

    แผนภาพ ส�วนประกอบของอากาศ

    สมบัติของอากาศ อากาศเป5นสสารชนิดหนึ่ง คือ มีตัวตน ต�องการท่ีอยู� และมีน้ําหนัก มีแรงดัน รูปร�างไม�แน�นอน เปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิหรือความดันอากาศมีน้ําหนัก อากาศท่ีห�อหุ�มโลกเรียกว�า "บรรยากาศ" อากาศในชั้นบรรยากาศมีน้ําหนัก ซ่ึงเรามักเรียกว�า "แรงดัน" กดทับลงบนตัวเรา แต�เราไม�รู�สึก เพราะอากาศข�างล�างและด�านข�างดันตัวเราอยู�ทุกทิศทุกทางและตัวเราก็มีแรงดันของอากาศจึงทําให�เราไม�รู�สึกอึดอัด อากาศมีปริมาตรท่ีไม�แน�นอน เปลี่ยนแปลงรูปร�างตามภาชนะท่ีบรรจุไปตาม จะเพ่ิมข้ึนหรือลดลงตามแรงอัด ประโยชน%และความสําคัญของอากาศ

    1. ใช�ในการหายใจของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตใช�กhาซออกซิเจน (O2) ในการหายใจ 2. ใช�ในการสร�างอาหารของพืช พืชใช�กhาซคาร&บอนไดออกไซด& (CO2) ในการปรุงอาหาร 3. ช�วยให�ไฟติด กhาซออกซิเจนในอากาศช�วยให�ไฟติด 4. อากาศช�วยปรับอุณหภูมิของโลกให�พอเหมาะต�อการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต 5. แกhสโอโซนในอากาศช�วยดุดซับรังสีอัลตร�าไวโอเลตทําให�ไม�เป5นอันตรายต�อสิ่งมีชีวิต 6. อากาศห�อหุ�มโลกช�วยให�อุกกาบาตเกิดการลุกไหม�มีขนาดเล็กลงหรือเผาไหม�หมดไป ทําให�โลก

    ไม�ได�รับอันตราย

  • 18

    แผนการจัดการเรียนรู�ที่ 3 กลุ�มสาระการเรียนรู�วิทยาศาสตร% ช้ันประถมศึกษาป5ท่ี 3 หน�วยการเรียนรู� เร่ือง นํ้าและอากาศ

    เรื่อง อากาศต�องการท่ีอยู�และเคล่ือนท่ีได� จํานวน 2 ช่ัวโมง --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ตัวชี้วัดชั้นป5

    1. ทดลอง อธิบายการเคลื่อนทีข่องอากาศที่มีผลจากความแตกต�างของอุณหภูมิ (ว 6.1 ป. 3/3) 2. อธิบายเก่ียวกับสมบัติของอากาศได� (ว 6.1 ป. 3/4)

    สาระสําคัญ อากาศมีอยู�ทุกหนทุกแห�ง อากาศมีสมบัติเฉพาะตวัซ่ึงต�องการทีอ่ยู� โดยสังเกตได�จากเม่ือเราคว่ําแก�วน้ําลงไปตรง ๆ ในน้ํา อากาศที่อยู�ในแก�วจะดันไม�ให�น้ําเข�าไปในแก�ว นอกจากนี ้เม่ือเกิดการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศ ณ บริเวณต�าง ๆ จะทําให�อากาศเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ําไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง ซ่ึงการเคลื่อน ที่ของอากาศที่เกิดข้ึนนี้จะทําให�เกิดลม จุดประสงค%การเรียนรู�

    1. อธิบายเก่ียวกับสมบัติของอากาศได� (K) 2. ทดลอง อธิบายการเคลื่อนทีแ่ละผลของการเคลื่อนที่ของอากาศ ที่เกิดจากความแตกต�างของอุณหภูมิได� (K) 3. มีความสนใจใฝรู�หรืออยากรู�อยากเห็น (A) 4. พอใจในประสบการณ&การเรียนรู�ที่เก่ียวกับวิทยาศาสตร& (A) 5. ทํางานร�วมกับผู�อ่ืนอย�างสร�างสรรค& (A) 6. สื่อสารและนาํความรู�เร่ืองอากาศต�องการที่อยู�และเคลื่อนที่ได�ไปใช�ในชีวิตประจาํวันได� (P)

    สาระการเรียนรู� 1. อากาศต�องการที่อยู� 2. อากาศเคลื่อนที่ได�

    กระบวนการจัดการเรียนรู�

    1. ข้ันอภิปรายก�อนทําการทดลอง 1.1 ครูนํากระดาษทิชชูใส�ลงในแก�วใส อัดกระดาษทิชชูที่ก�นแก�วจนแน�นให�มีความสูงจากก�นแก�ว 2เซนติเมตร นําแก�วไปคว่าํลงในอ�างแก�วใสที่มีน้ําอยู�เต็ม แล�วยกข้ึนจากน้าํ ให�นักเรียนดูกระดาษทิชชูภายในแก�ว แล�วครูตั้งคําถามกระตุ�นดังนี ้

    – กระดาษทิชชูในแก�วเปLยกน้าํหรือไม� เพราะอะไร – นักเรียนคิดว�าสิ่งที่ช�วยทําให�กระดาษทชิชไูม�เปLยกน้ําคืออะไร

    1.2 นักเรียนร�วมกันตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับคําตอบของคําถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู�การ เรียนรู�เร่ือง อากาศต�องการที่อยู�และเคลื่อนที่ได�

  • 19

    2. ข้ันทํากิจกรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู�มีข้ันตอนดังนี ้ 2.1 ขั้นสร�างความสนใจ 1) ครูนํานักเรียนออกไปยืนกลางสนาม ให�นักเรียนสังเกตการณ&ไหวของต�นหญ�าหรือใบไม� แล�วให�นักเรียนร�วมกันอภิปรายตามประเด็นคําถามต�อไปนี ้

    – นักเรียนสังเกตเห็นอากาศที่อยู�รอบตัวหรือไม� – นักเรียนสังเกตเห็นการไหวของต�นหญ�าหรือใบไม�หรือไม� เกิดข้ึนได�เพราะอะไร

    2) นักเรียนร�วมกันตอบคําถามตามความคิดเห็นของแต�ละคน 2) ขั้นสํารวจและค�นหา (1) ให�นักเรียนศึกษาสมบัติของอากาศ จากใบความรู�โดยครูตั้งคําถามกระตุ�นให�นักเรียนตอบดงันี ้

    – อากาศเคลื่อนที่ได�เพราะอะไร – การเคลื่อนที่ของอากาศทําให�เกิดสิ่งใด

    (2) นักเรียนร�วมกันตอบคําถามตามความคิดเห็นของแต�ละคน 3) นักเรียนแต�ละกลุ�มศึกษาเนื้อหา และระบุมโนมติท่ีสําคัญจากเนื้อเรื่องท่ีอ�าน ถ�านักเรียนระบุไม�ได� หรือไม�ครบ ครูใช�คําถามนําไปสู�มโนมติท่ีสําคัญเหล�านั้นและเขียนลงในกระดาษ 4) ให�นักเรียนแต�ละกลุ�มร�วมกันอภิปรายภายในกลุ�มว�ามโนมติใดท่ีสําคัญท่ีสุด มีความหมายครอบคลุมท่ีสุด และรองลงไป พร�อมกับจัดเรียงลําดับความสําคัญของมโนมติและจัดกลุ�มมโนมติท่ีมีความสัมพันธ&กัน 5) ให�นักเรียนนําเสนอมโนมติท่ีสําคัญท่ีนักเรียนแต�ละกลุ�มจัดลําดับไว�บนกระดานดําแล�วเลือกกลุ�มท่ีสมบูรณ&ท่ีสุดเพ่ือโยงเส�นและคําเชื่อม 6) ให�นักเรียนช�วยกันโยงเส�นและหาคําเชื่อมความสัมพันธ&ระหว�างมโนมติต�าง ๆเข�าด�วยกัน 3. ข้ันอภิปรายหลังทํากิจกรรม ครูและนักเรียนร�วมกันอภิปรายข้ันตอนการสร�างผังมโนมติเพ่ือให�นักเรียนได�ข�อสรุปเก่ียวกับการเคลื่อนที่ของอากาศ และครูทดสอบความเข�าใจของนักเรียนโดยการให�ตอบคําถาม เช�น

    – การเคลื่อนที่ของอากาศมีหลักการอย�างไร – มนุษย&นําการเคลื่อนที่ของอากาศนี้ไปใช�ประโยชน&อะไรบ�าง

    สื่อ/แหล�งการเรียนรู� 1. กระดาษทชิช ู2. แก�วใส 3. อ�างแก�วใสที่มีน้าํอยู�เต็ม 2. ใบความรู�เร่ือง ลม 3. ใบงานเขียนฝ[งมโนมต ิ

    การวัดผลประเมินผล 1. การสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทํากิจกรรม 2. การตรวจผังมโนมติท่ีสร�างข้ึน

  • 20

    ใบความรู� ช้ันประถมศึกษาป5ท่ี 3 เรื่อง การเคล่ือนท่ีของอากาศ

    ลม คือ อากาศท่ีเคลื่อนท่ีเป5นผลเนื่อง จากความแตกต�างของอุณหภูมิสองแห�ง หรือความแตกต�างของความกดอากาศสองแห�ง และกระแสการไหลของลมจะหยุดก็ต�อเม่ือความดันของสองจุดมีค�าเท�ากัน หรืออุณหภูมิของท้ังสองจุดเท�ากัน กระบวนการเกิดลม เนื่องจากสาเหตุต�างๆ ดังนี้ 1. เนื่องจากความแตกต�าง ของอุณหภูมิสองแห�ง อากาศเม่ือได�ความร�อนจะขยายตัว อากาศร�อนจึงลอยตัวสูงข้ึน อากาศท่ีอุณหภูมิต่ํากว�าบริเวณข�างเคียงจะเคลื่อนท่ีเข�าแทนท่ี การเคลื่อนท่ีของอากาศ เนื่องจากสองแห�งมีอุณหภูมิต�างกันทําให�เกิดลม 2. เนื่องจากความแตกต�างของความกดอากาศ เม่ืออากาศได�รับความร�อนจะขยายตัว ทําให�มีความหนาแน�นลดลง และเป5นผลให�ความกดอากาศน�อยลงด�วย อากาศเย็นบริเวณใกล�เคียง ซ่ึงมีความหนาแน�นมากกว�าจะเกิดการเคลื่อนท่ีเข�ามาบริเวณท่ีมีความกดอากาศตํ่ากว�าการเคลื่อนท่ีของอากาศ เนื่องจากสองแห�งมีความกดอากาศต�างกันทําให�เกิดลม 3. เนื่องจากสภาพอากาศเหนือพ้ืนดินและพ้ืนน้ํามีความแตกต�างกัน

    3.1 ลมบก

    ลมบก เกิดข้ึนในเวลากลางวัน ซ่ึงจะพัดจากทะเลเข�าสู�ฝ[ง 3.2 ลมทะเล

    ลมทะเล เกิดข้ึนในเวลากลางคืน ซ่ึงจะพัดจากฝ[งออกสู�ทะเล

  • แบบประเมินการเขียนแผนผังมโนมต ิ ชื่อกลุ�ม..........................................................................................