43

คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

Page 2: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

คํานํา

หนังสืออานเพ่ิมเติม ชุด ประวัติศาสตรทองถิ่นเมืองปทุมธานี มีจํานวน ๙ เลม

เลมนี้เปนเลมที่ ๘ เรื่อง บางหลวงทองถิ่นของฉัน จัดทําขึ้นเพ่ือประกอบการศึกษา

ในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพ่ือผูอานจะไดมีความรู

ความเขาใจในประวัติความเปนมาของทองถิ่น วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรม

สถานที่สําคัญทั้งภูมิศาสตรและประวัติศาสตร รวมทั้งบุคคลสําคัญที่บําเพ็ญประโยชน

เสียสละตอสวนรวมในทองถิ่น ภูมิปญญาทองถิ่น เปนตน จึงเหมาะที่จะใชศึกษาคนควา

ติดตามเรื่องราว เพ่ือใหไดรูเทาทันการเปล่ียนแปลง รูอดีต รูปจจุบัน เพ่ือสรางสรรค

อนาคตที่เขมแข็งใหแกปทุมธานี

ขอขอบคุณผูทรงคุณวุฒิทุกทานที่ใหความอนุเคราะห ใหขอมูลรวมทั้งช้ีแนวทาง

และชวยแกไขปรับปรุงจนทําใหหนังสืออานเพ่ิมเติมเลมนี้สําเร็จลุลวงไดดี ผูเขียนหวังเปน

อยางยิ่งวาหนังสืออานเพ่ิมเติม ชุด ประวัติศาสตรทองถิ่นเมืองปทุมธานี เลมที่ ๘ เรื่อง

บางหลวงทองถิ่นของฉัน จักกอประโยชนแกนักเรียนในจังหวัดปทุมธานี และผูสนใจศึกษา

โดยทั่วไปจะไดมีความรู ความเขาใจ และตระหนักถึงคุณคาในศักยภาพของจังหวัด

ที่ตนเองอาศัยอยูอันจะสงผลตอความรัก ความภูมิใจในทองถิ่นตน และรวมกันพัฒนา

จังหวัดปทุมธานีใหเจริญรุงเรืองสืบตอไป

ภาวดี แกวเหลา

Page 3: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

สารบัญ หนา

คํานํา ก

สารบัญ ข

คําแนะนําการใชหนังสืออานเพ่ิมเติม ค

จุดประสงคการเรียนรู ง

บางหลวงทองถิ่นของฉัน ๑

ประวัติการต้ังถิ่นฐาน ๓

สภาพภูมิศาสตรทั่วไป ๔

โบราณสถานและแหลงเรียนรู ๖

วัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น ๑๘

ความรูภูมิปญญาทองถิ่น ๒๖

บุคคลสําคัญ ๒๙

สรุปเรื่องราวสําคัญ ๓๑

คําศัพทนารู ๓๒

คําถามทายเลม ๓๓

เฉลยคําถามทายเลม ๓๕

บรรณานุกรม ๓๖

ประวัติผูจัดทํา ๓๗

Page 4: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

คําแนะนําในการใชหนังสืออานเพิ่มเติม

หนังสืออานเพ่ิมเติม ชุด ประวัติศาสตรทองถ่ินเมืองปทุมธานี เลมท่ี ๘ เรื่อง

บางหลวงทองถ่ินของฉัน ผูอานสามารถศึกษาและคนควาดวยตนเอง โดยการอานเพ่ือ

สรางนิสัยรักการอาน โดยการปฏิบัติตามข้ันตอน ดังนี้

๑. ผูอานตองอานจุดประสงคการเรียนรูโดยละเอียด เพ่ือจะไดทราบแนวความรู

ในเลม

๒. ผูอานตองศึกษาหนังสือเลมนี้จนจบเลม

๓. หลังจากศึกษาหนังสืออานเพ่ิมเติมจบเลมแลว ใหตอบคําถามทายเลม

๔. ผูอานสามารถตรวจคําตอบดวยตนเอง แลวประเมินผลคะแนน

Page 5: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

จุดประสงคการเรียนรู

เมื่อผูอานศึกษาหนังสือชุด ประวัติศาสตรทองถิ่นเมืองปทุมธานี เลมที่ ๘ เรื่อง

บางหลวงทองถิ่นของฉัน ผูอานสามารถแสดงพฤติกรรมดังนี้ได

๑. อธิบายเรื่องราวเกี่ยวกับ วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม

ตําบลบางหลวง จากอดีตถึงปจจุบันได

๒. ยกตัวอยางสถานที่สําคัญที่มีในตําบลบางหลวงได

๓. อธิบายประวัติโดยยอของบุคคลสําคัญของตําบลบางหลวงได

๔. ยกตัวอยางภูมิปญญาทองถิ่นตําบลบางหลวงไดถูกตองเหมาะสม

๕. อธิบายความรูสึกที่ดีอันมีตอตําบลบางหลวงไดอยางเหมาะสม

Page 6: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

บางหลวงทองถิ่นของฉัน

บางหลวงมีประวัติศาสตรความเปนมายาวนานถึง ๓๐๐ ป ต้ังแตสมัยกรุงศรี

อยุธยา เปนชุมชนมอญที่อพยพยายถิ่นฐานมาอาศัยอยูริมแมน้ําเจาพระยา รวมเปนชุมชน

บานคลองบางหลวง มีประเพณีวัฒนธรรมความเช่ือของชาวรามัญ และสืบทอดตอกัน

มายังอนุชนรุนหลังเปนเวลาติดตอกันยาวนาน และยึดมั่นเล่ือมใสศรัทธาพระพุทธศาสนา

อยางมั่นคง

Page 7: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

ครั้นเมื่อสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตน ต้ังแต พ.ศ. ๒๓๕๐ ถึง พศ. ๒๓๗๕

จากบทกวีของทานสุนทรภู ประวัติศาสตรการเดินทางตามเสด็จฯ และลองเรือเดินทาง

ตามแมน้ําเจาพระยาไดทองเที่ยวตามริมน้ํา และผานบานเรือนการต้ังถิ่นฐานของชุมชน

ชาวมอญคลองบางหลวง และมีปรากฏยืนยันเปนหลักฐานในบทกลอนนิราศของทาน

สุนทรภูไวหลายบทกลอน ดวยกันดังนี้

นิราศพระบาท

“ถึงบางหลวงทรวงรอนดังศรปก พ่ีรางรักมาดวยราชการหลวง

เมื่อคิดไปใจหายเสียดายดวง จนเรือลวงมาถึงยานบานกระแชง”

“ดูเหยาเรือนหาเหมือนอยางไทยไม หลังคาใหญพ้ืนเล็กเปนโรงผี

ระยะบานยานนั้นก็ยาวรี จําเพาะมีฝงซายเมื่อพายไป”

นิราศภูเขาทอง

“ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สูเสียศักด์ิสังวาสพระศาสนา”

นิราศเจาฟา

“จารึกไวใหเปนทานทุกบานชอง ฉันกับนองนี้ไดจําเอาคําสอน

ดึกกําดัดสัตวหลับประทับนอน ที่วัดมอญเชิงรากริมปากคลอง”

Page 8: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๑. ประวัติการตั้งถิ่นฐาน

ชุมชนบานคลองบางหลวง

ถนนปทุมธาน-ีสายใน

ตําบลบางหลวง มีชาวมอญอพยพเขามาทางเรือ สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย

และกรุงรัตนโกสินทรตอนตน มาสรางถิ่นฐานอาศัยตามริมน้ํา บริเวณปากคลองบางหลวง

พรอมกับสรางวัดบางหลวงเพ่ือใหประชาชนไดรวมกันทําบุญตามประเพณี ตอมาชุมชนได

มีความเจริญขึ้น และต้ังช่ือวา บานบางหลวง ตามช่ือคลองที่ต้ังถิ่นฐานของชุมชน

และไดยกฐานะเปน ตําบลบางหลวง ในปจจุบัน

Page 9: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๒. สภาพภูมิศาสตรท่ัวไป

แผนที่ตําบลบางหลวง

อาณาเขตทีต่ั้ง

องคการบริหารสวนตําบลบางหลวง กอต้ังเมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๙ มีพ้ืนที่รับผิดชอบ

ขนาด ๑๔.๖๑ ตารางกิโลเมตร

อาณาเขตติดตอ

ทิศเหนือ ติดตอกับ ตําบลบานฉาง

ทิศใต ติดตอกับ ตําบลบางเด่ือ

ทิศตะวันออก ติดตอกับ เทศบาลตําบลบางหลวง

ทิศตะวันตก ติดตอกับ ตําบลคูบางหลวง

Page 10: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

ลักษณะการปกครอง

แบงเขตการปกครอง เปน ๗ หมูบาน ดังนี้

๑. หมู ๑ ๕. หมู ๕

๒. หมู ๒ ๖. หมู ๖

๓. หมู ๓ ๗. หมู ๗

๔. หมู ๔

ลักษณะภูมปิระเทศ

เปนที่ราบลุม มีลําคลองหลายสาย ประกอบอาชีพการเกษตรเปนสวนใหญ

แหลงนํ้าลาํคลอง

คลองบางหลวง คลองบางโพธ์ิใต

การประกอบอาชีพ

ทํานา ทําสวนผัก คาขาย ประกอบธุรกิจ รับจาง โรงงานอุตสาหกรรม

การนับถือศาสนา

ประชาชนในเขตตําบลบางหลวงนับถือพระพุทธศาสนา

Page 11: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๓. โบราณสถานและแหลงเรียนรู

วัดบางหลวง

วิหารโบราณวัดบางหลวง

ในอดีตวัดบางหลวง เปนวัดโบราณที่มีอายุยาวนานกวา ๓๐๐ ป ในป พ.ศ. ๑๒๕๑

สมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงเกณฑคนขุดคลองลัดเตร็ดใหญจากวัดไกเต้ีย ตัดตรงลงมา

ทะลุคลองบางหลวงเชียงรากตรงวัดศาลเจา ในการขุดคลองคราวนี้ไดพบพระพุทธรูป

เชียงแสน ชาวบานจึงไดนําหลบซอนไวในวัดบางหลวง เรียกวาบังไมใหหลวงเห็น จึงพูดกัน

ติดปากวา “บังหลวง” หรือวัดบังหลวง เม่ือเวลาผานเลยมานาน คําวา “บังหลวง”

จึงกลาย เปน “บางหลวง” ถึงเทศกาลงานประจําป วันแรม ๔ คํ่า เดือน ๑๑

มีประชาชนมากราบไหวนมัสการไหวพระพุทธรูปกันมาก มิไดขาดจนลํ่าลือไปทั่ว ชาวบาน

พูดกันติดปากวา “บางหลวงไหวพระ” เปนที่รูจักกันโดยทั่วไป

Page 12: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

เมื่อป พ.ศ. ๒๒๔๖ สมัยสมเด็จพระสรรเพ็ชรที่ ๘ ทรงพระนามเดิม

วา “พระพุทธเจาเสือ” (ดอกเด่ือ) เปนพระเจาแผนดินแหงกรุงศรีอยุธยา ไดทรงสรางวัดนี้

ขึ้นที่ตําบลปากคลองบางหลวงฝงใต พระราชทานนามวา “วัดสิงห” มีทั้งอุโบสถ

หมูกุฏิอยูดานใตของอุโบสถ ไดปนรูปสิงหดวยปูนเพ็ชรต้ังไวหนาอุโบสถ ๒ ตัว

และปนรูปจระเขดวยปูนเพชร ต้ังไวที่หนาอุโบสถ ๒ ตัว มีปริศนาคําโบราณ ไววา

“ช่ัวฟาหางหงสลงท่ีตีนสิงห คิดไมไดเอาท่ีปลายตีน”

เจดียวัดบางหลวงนอก อาคารเรียน (หลังเกา)

ตามประวัติเดิมของวัดบางหลวง พระรามัญมุนี (สุทธ์ิ ญาณรํสี) อดีตเจาอาวาสวัด

บางหลวงและอดีตเจาคณะจังหวัดปทุมธานี ไดบันทึกไวเมื่อป พ.ศ. ๒๔๕๑ สันนษิฐานวา

“วัดบางหลวงในหรือวัดบางหลวงไหวพระ” แตเดิมพ้ืนที่ในการสรางวัดนี้ เปนทําเล

พงแขมรกดวยหญาลัดดาวัลย เปนที่อยูอาศัยของสัตว เสือดาว กวางทราย ลําคลองเขาไป

ทุงนา เรียกวา “คลองบางหลวง” เปนพงปารกชัฎ ไมมีผูคนอาศัย ลําคลองกวางประมาณ

๓-๔ วา มีจระเขตัวเล็กๆ ชุกชุม มีปลา นกนานาชนิดมากมาย เพราะวัดบางหลวงมี ๒ วัด

คูกัน คือ วัดบางหลวงนอกกับวัดบางหลวงใน วัดบางหลวงในคือวัดที่อยูในปจจบุนันี้

สวนวัดบางหลวงนอกไดทรุดโทรมปรักหักพังเปนรางไปหมดแลว มองไมเห็นเปนสภาพวัด

แตมีรองรอยฐานการกอสรางปรากฏอยูบางบริเวณวัดบางหลวงนอกใชเปนที่ปลูกสราง

โรงเรียนปทุมธานี “นันทมุนีบํารุง” (หลังเกา) อยูหลายสิบป

Page 13: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

ปจจุบันวัดบางหลวงเปนวัดราษฎรต้ังอยูริมฝงตะวันตกของแมน้ําเจาพระยา สังกัด

อยูในมหานิกาย วัดบางหลวงเปนวัดที่สําคัญทางประวัติศาสตร ซึ่งเปนวัดที่เกาแก สรางขึ้น

สมัยกรุงศรีอยุธยา กรมศิลปากรไดขึ้นทะเบียนเปน โบราณสถานแหงชาติ ตามพระราช

กิจจานุเบกษาเลมที่ ๑๐๖ ตอน ที่ ๒๖ ลงวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๓๒

ปูชนียสถานและปชูนียวตัถุที่สําคัญ

หลวงพอเพชร พระพุทธรูปสมัยเชียงแสน

พบในบริเวณท่ีขุดคลองบางหลวง จึงเปนท่ีมาของคําวา “บังหลวงไหวพระ”

หลวงพอใหญ พระพุทธรูปปางมารวิชัยขัดสมาธิราบ

พระประธานท่ีใหญท่ีสุดในจังหวัดปทุมธาน ี

Page 14: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

พระปทุมธรรมราช พระพุทธรูปปางขัดสมาธิเพชร

รัชกาลท่ี ๕ ทรงประทานใหเปนพระประจําจังหวัดปทุมธานี

พระอุโบสถทรงไทยโบราณสรางข้ึนในสมัยอยุธยา

ศิลปะท่ีพิเศษ คือ ฐานรากใตโบถส สรางไมมีเสา

ใชวัสดุกอสรางแบบโบราณท่ีเรียกวา แพลูกบวบ

Page 15: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๑๐

มณฑปแกว รอยพระพุทธบาท

และรูปหลออดีตพระบูรพาจารย

เจดียรามัญ สี่เหลี่ยมทรงเต้ียอยูหนาโบสถคู

รูปแบบทรงเจดียชเวดากอง และเจดียมุเตา

Page 16: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๑๑

เจดียและโกศบรรจุอัฐิ เจาคุณรามัญมุนี มะลิ ปณฑิโต

รูปแบบจําลองเจดียทรงพุทธคยา

ภาพจิตรกรรมฝาผนังศิลปะสมัยอยุธยา

เร่ืองพุทธประวัติท้ังหมดภายในอุโบสถ

Page 17: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๑๒

อาคารเรียนไม ๒ ช้ัน

โรงเรียนรามัญมุนี เปดสอนพระปริยัติธรรม แผนกบาล ี

สํานักเรียนบาลีท่ีใหญท่ีสุดในจังหวัดปทุมธานี

เร่ิมกอต้ังสมัยพระสุเมธาภรณ เทียน ฐานุตตโม เจาคณะจังหวัดปทุมธานี

เสาหงสเปนสัญลักษณของมอญ ต้ังอยูหนาวัดหันออกสูแมน้ําเจาพระยา

เปนสัญลักษณแสดงวาวัดบางหลวงเปนสถานท่ีรวมตัวกัน

ของชมรมชาวไทยเช้ือรามัญปทุมธานี

Page 18: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๑๓

ศาลาหงสทอง พ.ศ. ๒๔๗๖

หลังคาหนาจ่ัวฉลุไมดวยลายขนมปงขิง

สะพานโคงศิลปะตะวันตกสรางข้ึนสมัยรัชกาลท่ี ๕

อยูดานริมคลองหนาวัด สาเหตุท่ีมีลักษณะโคงสูง เพราะวาในสมัยกอนมีเรือสําปน

ท่ีมีหลังคาสูงผานไปมาตลอดทําใหสามารถลอดผานออกสูแมน้ําเจาพระยาได

Page 19: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๑๔

ศาลาทาน้ําวัดบางหลวง

เขตอภัยทานสําหรับปลอยปลา และใหอาหารปลา

สวนหยอมและบอปลาคารฟ

ทําบุญและใหอาหารปลา

Page 20: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๑๕

พิพิธภัณฑพ้ืนบานวัดบางหลวง และศูนยพัฒนาผลิตภัณฑไทย

ศาลาอบรมธรรม (พิพิธภัณฑพืน้บานวัดบางหลวง)

เมื่อป พ.ศ.๒๕๔๖ กอต้ังโดย ผศ.ทวีศักด์ิ อวมนอย อาจารยเกษียณอายุราชการ

มหาวิทยาลัยรังสิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑอุตสาหกรรม คณะศิลปกรรม

มหาวิทยาลัยรังสิต รวมทําวิจัยเกี่ยวกับโครงการพัฒนาการทองเที่ยวจังหวัดปทุมธานี

อยางยั่งยืน

พิพิธภัณฑพ้ืนบานวัดบางหลวง และศูนยพัฒนาผลิตภัณฑไทย และตอยอด

ความคิดใหกับการอนุรักษความเปนทองถิ่น อาคารจัดแสดงอยูในวัดบางหลวง มีการ

จําลองหองตางๆ ของบานไทยและวิถีชีวิตพ้ืนบานไดแก หองรับแขก หองนอน หองครัว

หองทําขนม ฯลฯ และวิถีชีวิตชาวบานในอดีต ไดแก การทํานา การดักสัตว การหุงหา

อาหาร เปนตน

การใหความรูความเยาชน เร่ืองวิถีชีวิตชุมชน

พิพิธภัณฑพ้ืนบานนั้นเปรียบเสมือนคลังสมองที่แสดงใหเยาวชนเห็นประโยชน

ของเครื่องใชไมสอยในอดีตนั้นแฝงไปดวยภูมิปญญาในดานตางๆ สามารถนํามาสรางสรรค

ใหเกิดประโยชนในการพัฒนาผลิตภัณฑใหม เพ่ือใหใชไดเหมาะสมกับสภาพสังคมปจจุบัน

อยางเปนรูปธรรม รูคุณคาหันกลับมาชวยกันอนุรักษ

Page 21: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๑๖

ชุมชนจีนบานคลองบางหลวง

ในอดีตพระมหากษัตริยไทยหลายพระองค ทรงมีพระมหากรุณาโปรดเกลาฯ ให

ทุกชนชาติไมวาจะเปน ชาวมอญ หรือชาวจีน ที่ไดอพยพเขามาพ่ึงพระบรมโพธิสมภาร

ต้ังแตสมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงรัตนโกสินทร มาต้ังถิ่นฐานบานเรือนทํามาหากินอยูรวมกัน

ไดอยางมีความสุข ถึงแมจะตางชนชาติ และศาสนา โดยเฉพาะชุมชนจีนในบานคลอง

บางหลวง ไดทํามาคาขาย สรางบานเรือนไมริมน้ําเจาพระยาคาขายแลกเปล่ียนสินคา

และยังมีรองรอยวัฒนธรรมประเพณีชุมชนชาวจีนมีใหเห็นอยูจนปจจุบัน

โรงง้ิวแสดงในงานประจําป ศาลจาวพอบางหลวง ท่ีเผากระดาษรูปทรงเจดีย

บานไมโบราณของคนไทยเช้ือสายจีน การคาขายทางน้ํา (ปจจุบันไมมีตลาดน้ํา)

Page 22: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๑๗

ชุมชนบานคลองบางโพธิ ์

ในอดีตชาวบางหลวงอาศัยต้ังบานเรือนอยูริมน้ํา เพราะวิถีชีวิต พ่ึงพาสายน้ํา

มีแมน้ําเจาพระยาเปนสายหลัก ทางราชการไดขุดคูคลองขึ้น เพ่ือใหประชาชนไดใช

ในการอุปโภคบริโภค และทํามาหากินในการประกอบอาชีพเกษตรกร ทํานา ทําไร ทําสวน

ชุมชนบานคลองบางโพธ์ิปลูกบานอยูริมคลองสวนใหญยึดอาชีพทําสวน ปลูกผัก ยังมี

ปรากฏใหเห็นในปจจุบัน และมีการแลกเปล่ียนสินคา คาขายทางเรือ มีชุมชนตลาดเกิดขึ้น

ต้ังแตคลองบางหลวงถึงคลองบางโพธ์ิ ในปจจุบันมีถนนตัดผานหลายสายทําใหการเดินทาง

สะดวกขึ้น การคาขายทางน้ําจึงสูญหายไป ผูคนเดินทางไปมาสะดวกโดยรถยนตการ

ประกอบอาชีพมีการเปล่ียนแปลง ความเจริญไดเขามามีโรงงานอุตสาหกรรม ทําให

ชาวบานบางสวนขายที่ดินทํากินใหกับนายทนุ และเปล่ียนวิถีชีวิตไปประกอบอาชีพรับจาง

การทําสวนผัก เสนทางคมนาคมถนนคอนกรีต

Page 23: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๑๘

๔. วัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น

ประเพณีปดทองหลวงพอเพชร

จัดขึ้นทุกปในวันแรม ๔ คํ่าเดือน ๑๑

เปนงานประจําปของวัด จะมีการทําบุญตักบาตรและปดทองหลวงพอเพชร

ประเพณีตักบาตรดอกไม ในวันออกพรรษา

พิธีปวารณาออกพรรษาเวลาที่พระสงฆลงโบสถ ชาวบานนั่งอยูตลอดสองขางทาง

พรอมทั้งจัดเตรียมดอกไมธูปเทียน ไวถวายสักการะ

ใสในยามของพระสงฆ เพ่ือบูชาพระรัตนตรัย

Page 24: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๑๙

ประเพณบีุญยกชอฟารองพระอุโบสถ

คนไทยแตโบราณถือกันวาการทําบุญยกชอฟาเปนการทําบุญอันศักด์ิสิทธ์ิ

และยิ่งใหญที่ถือปฏิบัติกันมาแตอดีตวาผูประกอบดวยบุญญาธิการสูงสงเทานั้น จึงจะยก

ชอฟาได มิฉะนั้นก็จะตองใชวิธีรวมบุญ บรรดาสาธุชนจึงรวมกันเปนหมูเหลาเพ่ือใหบุญนั้น

มากพอที่จะยกชอฟาได รูปของชอฟาที่มีลักษณะคลายเรือหงส ชาวมอญเรียกวา ฉัตรแหง

สวรรค ชอฟา หมายถึงแดนสวรรคทั้งหกช้ัน เปนการผสมคําระหวางคําวา ชอกับฟา

ชอ หมายถึง พวง สวน ฟา หมายถึง สวนเบ้ืองบนหรือแดนสวรรค โดยวัดบางหลวง

ไดมีการบูรณะซอมแซมครั้งลาสุด ป พ.ศ. ๒๕๕๗ หลังคา หนาบันโบสถ และมีงานรวมบุญ

ยกชอฟา

Page 25: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๒๐

ประเพณีการสรงนํ้าพระ

ชาวมอญวัดบางหลวงไดกําหนดวันที่ ๑๕ เมษายน ของทุกๆป มีพิธีการ

สรงน้ําพระ เพ่ือเปนการลางส่ิงเลวรายที่เกิดขึ้นในปกอนใหหมดไป และพรอมที่จะรับส่ิง

ใหมๆที่ดี ที่จะเกิดขึ้นในปใหมนี้ มีรางน้ํายาว ประมาณ ๑๒ เมตร เปนรางน้ําสําหรับ

ใหชาวบานเทน้ําลงในรางไหลเขาสูหองสรงน้ําพระ ซึ่งคนมอญไดทําหองสรงน้ํา และราง

น้ําสําหรับการสรงน้ําพระ โดยพิธีเริ่มจากการอัญเชิญพระพุทธรูป และทําพิธีบูชาพระ

รัตนตรัย จากนั้นใหชาวบานไดสรงน้ําพระพุทธรูปเปนอันดับแรก และตามดวยพระสงฆ

วิธีสรงน้ําพระพุทธรูป หรือพระสงฆ สามเณรนั้นจะมีคนใหสัญญาณดวยการตบที่ฝาหองน้ํา

เมื่อไดยินสัญญาณดังกลาวชาวบานที่มีขันน้ํา น้ําอบ และน้ําหอมก็จะเทน้ําลงในรางน้ํา

จะไหลไปตามรางจนถึงที่พระพุทธรูป และพระสงฆ ซึ่งพระสงฆจะผลัดเปล่ียนกัน

เขามาทีละรูป ภายในหองสรงน้ําพระจะมีผูชาย ๒-๓ คนคอยชวยดูแลพระสงฆ

และสามเณร หลังจากนั้นก็จะเปนการรดน้ําดําหัวขอพรผูใหญตอไป

Page 26: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๒๑

ประเพณแีหหางหงส ธงตะขาบ

ชาวมอญเรียกวา “แหฮะตะโน” แปลวา หางหงส กอนถึงวันสงกรานตชาวไทย

รามัญจะนัดกันมาที่วัดเพ่ือเย็บธงตะขาบ ประเพณีแหหางหงสธงตะขาบ ผูเปนหัวหนา

ขบวนแหจะเปนผูกําหนดเปนวันสุดทายของสงกรานตทุกป โดยนําธงตะขาบไปแขวนไวใต

ตัวหงสใกลๆ กับยอดเสาหงส การที่ตองแหธงตะขาบทุกป เพราะเปนพุทธบูชา เปนเครื่อง

บูชาพระพุทธเจา ชาวมอญวัดบางหลวงไดจัดขึ้นทุกวันที่ ๑๕ เมษายนของทุกป เปนการ

เฉลิมฉลองตอนรับปใหมแบบไทยๆ ซึ่งมีความงดงามและสนุกสนานอันเปนประเพณีที่ควร

แกการอนุรักษ นอกจากนี้แลวยังมีการถวายขาวแชแดพระภิกษุซึ่งเปนอาหารที่ชาวมอญ

นิยมทําขึ้นในชวงเทศกาลสงกรานต

Page 27: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๒๒

ประเพณีกอพระเจดยีทราย

การกอพระเจดียทรายในวันสงกรานตตามความเช่ือวาเปนการบูชาพระพุทธคุณ

อันเปนประเพณีที่ถือปฏิบัติสืบตอกันมาแตโบราณ โดยในชวงเชาของการทําบุญฉลอง

พระเจดียทราย ผูเปนเจาของเจดียจะนําธงทิวที่จัดทําที่บาน มาประดับตกแตงใหสวยงาม

นําดอกไมธูปเทียนมาบูชาเจดีย บางครั้งก็ฝงสตางคไวภายในเจดียหรือติดสตางคเปนธงปก

ไวเปนพุทธบูชา การกลาวถวายพระเจดียทรายแดพระสงฆ จะกระทําบนศาลาการเปรียญ

หรือนิมนตพระสงฆมารับถวายพระเจดียทรายที่ลานกอพระทราย

การกอพระเจดียทรายเปนประเพณีที่ปฏิบัติในเทศกาลสงกรานตอันมีความมุง

หมายที่จะนําทรายมาถวายวัด เพ่ือใชในการกอสรางศาสนสถานหรือถมปรับพ้ืนที่เปนการ

ทําบุญรวมกันเปนบุญกุศลของผูใหไวในพระพุทธศาสนาสืบไป

Page 28: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๒๓

ประเพณีโกนจุก

ชาวมอญสมัยกอนนิยมใหบุตรหลานไวจุก ไวเปย เมื่อเด็กอายุได ๑๓ ขวบ

ก็จะจัดพิธีโกนจุกแกบุตรหลาน เทากับเปนการประกาศวาเด็กนอยผูนั้นกาวเขาสูวัยรุน

ในปจจุบนัมีเด็กไวจุกนอย นิยมโกนจุกเร็วขึน้กอน ๑๓ ขวบ จะรอใหถึงเทศกาลทาย

สงกรานต ซึ่งจะมีประเพณีทําบุญกลางบาน อาศัยทําพิธีโกนจุกพรอมกันทีเดียวหลายๆ

ครอบครัว อุปกรณที่สําคัญในพิธี ถาเปนเด็กชายก็ตองเตรียมสมุดดินสอวางบนพาน ที่มี

ใบบัวรองรับ เมื่อโตขึ้จะไดเลาเรียนฉลาดหลักแหลม หากเปนเด็กหญิงใหเปล่ียนเปนเข็ม

ดายแทน เมื่อโตขึ้นจะไดเปนแมบานแมเรือน แลวนําแหวนทองครอบผมจุกไว โดยพระ

ผูใหญจะใชกรรไกรตัดผมเด็กเปนปฐมฤกษ หลังจากนัน้พอแม ญาติผูใหญชวยกันโกนผม

จนหมด นําเศษผมเหลานั้นหอดวยใบบัว หรือใบตองที่เตรียมไว ไปวางที่ศาลพระภูมิ

หรือโคนไม จากนั้นจึงนิมนตพระสวดมนต ฉันเพล เล้ียงแขก ที่มารวมงาน

ขอสําคัญของพิธี คือ ในวันที่จัดงานโกนจุก ตองไมมีสมาชิกในครอบครัวคนหนึ่ง

คนใดต้ังครรภ ตองบอกญาติทุกคนรวมรับรู และใหมารวมงาน

Page 29: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๒๔

ประเพณีกวนขาวทิพย

ชาวไทยรามัญยังนิยมทําสืบตอจากครั้งโบราณ โดยจัดทํากันที่วัด ใชหญิงสาว

พรหมจารีเปนผูกวน มีพระสงฆสวดมนตในระหวางทําพิธี ขาวทิพย คือ ขาวมธุปายาส

ที่นางสุชาดาไดนําไปถวายพระพุทธเจาในวันเพ็ญขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๖ ซึ่งพระองคทรงถือ

วาภัตตาหารมื้อนั้นไดมีสวนทําใหพระองคไดสําเร็จและตรัสรูอริยสัจ ๔

พิธีกวนขาวทิพย เริ่มตนดวยพิธีพราหมณ ต้ังบายศรีบวงสรวงเทพยดาเครื่อง

ประกอบในการต้ังบายศรี มีไตรจีวร ๑ ชุด และถาดใสอาหารมีขาว ไข ขนมตมแดง ขนม

ตมขาว และผลไม พราหมณสวดชุมนุมเทวดา แลวเริ่มพิธีกวนขาวทิพย โดยการนําเอาขาว

ที่ยังเปนน้ํานม คือ ขาวที่เพ่ิงออกรวงใหม ที่เมล็ดยังเปนแปง นํามาเอาเปลือกออก ส่ิงของ

เครื่องปรุงขาวทิพย คือมงคล ๙ ส่ิง ไดแก นม เนย ถั่ว งา น้ําออย น้ําตาล น้ําผ้ึง และผลไม

ตางๆ ใสรวมกันลงไป แลวกวนใหขาวสุกจนเหนียว การกวนขาวทิพยนี้จะตองใชสาว

พรหมจารี นุงขาวหมขาวอยางนอย ๔ คน เปนผูกวนเปดพิธี ในวันขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๖

ทายก ทายิกา จะชวยกันปนขาวทิพยเปนกอนๆ ถวายแดพระภิกษุภายในวัด และจัดแบง

ไปถวายพระภิกษุตามวัดตางๆ ที่อยูใกลเคียง ที่เหลือแจกจายใหแกประชาชนที่ไปรวม

ทําบุญในวันนั้น เพ่ือเปนการใหทาน

Page 30: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๒๕

ประเพณีคํ้าโพธิ ์

ประเพณีของชาวรามัญ ที่เกี่ยวของกับเทศกาลสงกรานต อีกอยางหนึ่งก็คือ การคํ้า

ตนโพธ์ิ เพราะ ถือวาการคํ้าตนโพธ์ินี้เปนการคํ้าจุนศาสนา เชน วันที่ ๑๓ เปนวันอาทิตย

ในปนั้น คนที่เกิดวันจันทรจะเปนผูที่นําไมไปคํ้า ถาวันที่ ๑๓ เปนวันจันทร คนที่เกิดใน

วันอังคารก็จะตองนําไมไปคํ้า เปนตน ที่มีหลักการอยูเชนนี้ก็เพราะถือวา ในระหวาง

สงกรานต ๓ วันนั้น วันที่ ๑๓ เปนวันส้ินป วันที่ ๑๔ เปนวันกลางคือไมใชปใหม และไมใช

ปเกา สวนวันที่ ๑๕ นั้นเปนวันขึ้นปใหม ดังนั้นคนที่เกิดวันที่อยูระหวางกลางที่ชาวรามัญ

เรียกวา “งัวกราบฮนาม” คือวันปเกาก็ไมใชปใหมก็ไมใชถือวาปนั้นไมใครจะดีอาจจะเปน

ความเช่ือที่มาจากการถือฤกษยาม จึงตองทําบุญที่เปนสาธารณประโยชน คือ การคํ้า

ตนโพธ์ิ

Page 31: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๒๖

๕. ความรูภูมิปญญาทองถิ่น

ในอดีตคงไมมีใครปฏิเสธวา “วัด” เปนที่พ่ึงของชาวบาน เปนศูนยรวมของ

สรรพส่ิงหลากหลายกิจกรรมอยูที่วัด แมแตเรื่องของการศึกษาเลาเรียน วัด โรงเรียน

ชุมชน วัดบางหลวงก็เปนแหลงเรียนรูแหงแรกของชุมชน ดวยความใกลชิดวัดกับชุมชน

ต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน นอกจากการเรียนรูวิชาอานออกเขียนไดแลว ยังไดเรียนรู

ขนบธรรมเนียมประเพณีตางๆ ภูมิปญญาทองถิ่น โดยโรงเรียนปทุมธานี “นันทมุนีบํารุง”

ไดนํานักเรียนเขารวมโครงการอบรมเยาวชนภาคฤดูรอน ณ วัดบางหลวง โดยนักเรียน

ไดเรียนรูศึกษาธรรมะ ทําใหเยาวชนไดมีความใกลชิดกับพระ วัด ชุมชน ทําใหไดมีโอกาส

ซึมซับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่องราววัฒนธรรมทองถิ่น ฝกอาชีพจากภูมิปญญา

ทองถิ่น นักเรียนไดศึกษาเรียนรูฝกอบรมภูมิปญญาทองถิ่น อาทิ เชน ประดิษฐ เครื่อง

แขวนดอกไมไทย พวงมโหตร พับดอกไมจากใบเตย พับเหรียญโปรยทาน

หอขนมจากใบตอง และทําเตาหูนมสด เพ่ือใหเกิดความรักภาคภูมิใจในถิ่นของตน

Page 32: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๒๗

กลุมเกษตรกรพืชผักปลอดสารพิษ

สถานที่ต้ัง : ๙/๘ หมูที่๒ ต.บางหลวง อ.เมือง จ.ปทุมธานี

ผูนําชุมชนและกลุม : นายประสิทธ์ิ เกษต

กลุมหัตถกรรมเครื่องหนัง

สถานที่ต้ัง : ๔๓/๖ หมู ๒ ถนนเทศบาล ๕ ต.บางหลวง อ.เมือง จ.ปทุมธานี

ผูนําชุมชนและกลุม : คุณบังอร รุจาคม

Page 33: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๒๘

๖. บุคคลสําคัญ

ทานเจาคุณรามัญมุนี

องคปฐมอาจารยฝายรามัญ แหงลุมแมน้ําเจาพระยา

นามเดิม มะลิ วันทา เปนบุตรของนายโดด และนางม่ัง วันทา เกิดวันที่ ๑๔

พฤศจิกายน ๒๔๐๙ ภูมิลําเนาเดิม อยูบานน้ําวน ตําบลบางเด่ือ อําเภอเมือง จังหวัด

ปทุมธานี บรรพชาเปนสามเณร เมื่ออายุ ๑๓ ป อุปสมบทเปนพระภิกษุ อายุ ๒๐ ป

เมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๔๒๙ ณ วัดบางหลวง พ.ศ. ๒๔๗๖ ไดรับสมณศักด์ิเปนเจา

คุณรามัญมุนี (มะลิ ปณฑิโต ) มรณภาพ เมื่อวันที่ ๓ กันยายน ๒๔๙๖

ผลงานท่ีไดรับการยกยอง

ในป พ.ศ. ๒๔๗๖ พระรามัญมุนี (มะลิ ปณฑิโต) ไดยายโรงเรียนจากวัดบางหลวง

ในไปสรางที่วัดบางหลวงนอกอยูคนละฝงคลองบางหลวง และต้ังช่ือวา“โรงเรียนปทุมธานี

“นันทมุนีบํารุง” ต้ังแตวันที่ ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ เปดทําการสอน เมื่อวันที่ ๑๙

มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๖

ทานเจาคุณรามัญมุนีเปนพระมหาเถระชาวมอญที่ทรงอภิญญาจิตขั้นสูง มีความรู

ทางวิปสสนาอยางแตกฉาน เครงครัดในวินัย ครูสอนนักธรรม ปริยัติธรรมที่มีช่ือเสียง

Page 34: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๒๙

พระมหาถาวร ถิรจิตฺโต

เจาคณะตาํบลบางขะแยง เจาอาวาสวดับางหลวง

พระมหาถาวร ถิรจิตฺโต เจาคณะตําบลบางขะแยง และเปนเจาอาวาสวัดบางหลวง

เดิมช่ือ ถาวร จิตรกระเนตร เกิดเมื่อวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๒ บิดาช่ือ นายถวิล

จิตรกระเนตร มารดาช่ือ นางทองมวน จิตรกระเนตร บานเลขที่ ๕ หมู ๙ ตําบลบางไทร

อําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อุปสมบทเมื่อวันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๒

ณ วัดสหราษฎรบํารุง อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี สําเร็จการศึกษาปริญญาโท

พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ ไดรับเกียรตินิยมอันดับ ๒

จากมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ทานมีความสามารถในงานดานงานนวกรรม

(งานกอสราง) การแสดงพระธรรมเทศนา การแสดงปาฐกถาธรรม และดําเนินการสืบสาน

วัฒนธรรรมประเพณีทองถิ่น สืบทอดพระพุทธศาสนา ไดทํานุบํารุง ซอมแซม ปฏิสังขรณ

วัดบางหลวง และปูชนียวัตถุที่สําคัญภายในวัด จัดงานพิธีสําคัญทางศาสนา และโครงการ

อบรมเยาวชน และใหความรูกับทองถิ่น เกิดความรักสามัคคี รวมมือ รวมใจ ระหวาง วัด

ชุมชน และโรงเรียน

Page 35: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๓๐

นายพงศวัฒน ทองสินกอบกิจ

วิทยากรทองถ่ิน วิถีชีวิตชุมชนมอญ

นายพงศวัฒน ทองสินกอบกิจ หรือคุณต๋ีเล็ก พักอาศัยอยูบานเลขที่ ๑๔๐ หมู ๔

ตําบลบางเด่ือ อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี จบการศึกษาการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอ

เมืองปทุมธานี ปจจุบันดํารงตําแหนงกรรมการสมาพันธมอญชาวไทยเช้ือสายรามัญ

จังหวัดปทุมธานี และวิทยากรใหความรูดานวิถีชีวิตชุมชนมอญ การแตงกาย อาหาร

วัฒนธรรมประเพณีทองถิ่นรามัญในจังหวัดปทุมธานี ถือเปนบุคคลที่สําคัญของชุมชน

บางหลวง ทานถายทอดความรู และภูมิปญญาทองถิ่นใหกับชุมชน และเยาวชนในเขต

ตําบลบางหลวง โดยรวมกับ บาน ชุมชน วัด และโรงเรียน

Page 36: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๓๑

สรุปเร่ืองราวสําคัญ

บางหลวงทองถิ่นของฉัน เปนชุมชนมอญที่อพยพยายถิ่นฐานมาอาศัยอยู ต้ังแต

สมัยกรุงศรีอยุธยา ประเพณีความเช่ือของชาวรามัญที่ถายทอดมายังชนรุนเปนระยะเวลา

ยาวนาน และยึดมั่นเล่ือมใสศรัทธาพระพุทธศาสนา

พ้ืนที่เปนที่ราบลุม มีแมน้ําเจาพระยาเปนแมน้ําสายหลัก และมีการขุดคลอง

บางหลวง และคลองบางโพธ์ิใต มีอาชีพ ทํานา ทําสวนผัก คาขาย และรับจาง

มีโบราณสถานลํ้าคาเกาแกต้ังแตสมัยอยุธยา คือ วัดบางหลวง และมีปูชนียสถาน

และปูชนียวัตถุที่สําคัญ หลวงพอเพชร พระพุทธรูปสมัยเชียงแสน พระพุทธรูปปางมาร

วิชัย ขัดสมาธิเพชร เจดียรามัญ เจดียชเวดากอง และเจดียมุเตา ภาพจิตรกรรมฝาผนัง

ศิลปะสมัยอยุธยา เรื่องพุทธประวัติทั้งหมดภายในอุโบสถ โรงเรียนรามัญมุนี สํานักเรียน

บาลีที่ใหญที่สุดในจังหวัดปทุมธานี สะพานโคงศิลปะตะวันตก พิพิธภัณฑพ้ืนบานวัดบาง

หลวง และศูนยพัฒนาผลิตภัณฑไทย ศาลจาวพอบางหลวงของชุมชนจีนบางหลวง

วัฒนธรรมประเพณีทองถิ่นของชาวรามัญ คือ ปดทองหลวงพอเพชร ตักบาตร

ดอกไมในวันออกพรรษา แหหางหงส ธงตะขาบ การสรงน้ําพระ กอพระเจดียทราย

คํ้าโพธ์ิในวันสงกรานต พิธีโกนจุก พิธีกวนขาวทิพย

ภูมิปญญาทองถิ่นชุมชนวัดบางหลวง เครื่องแขวนดอกไมไทย พวงมโหตร

พับดอกไมจากใบเตย พับเหรียญโปรยทาน หอขนมจากใบตอง และทําเตาหูนมสด

กลุมเกษตรกรพืชผักปลอดสารพิษ กลุมหัตถกรรมเครื่องหนัง

บุคคลสําคัญแหงประวัติศาสตรทองถิ่นบางหลวง คือ ทานเจาคุณพระรามัญมุนี

องคปฐมอาจารยฝายรามัญ แหงลุมแมน้ําเจาพระยา เปนพระมหาเถระชาวมอญที่ทรง

อภิญญาจิตขั้นสูงมีความรูทางวิปสสนาเครงครัดในวินัย ครูสอนนักธรรม ปริยัติธรรม

ที่มีช่ือเสียง พระเถราจารยชาวมอญ และเปนผูกอต้ัง “โรงเรียนปทุมธานี “นันทมุนีบํารงุ”

ทานพระมหาถาวร ถิรจิตฺโต เจาคณะตําบลบางขะแยง และเปนเจาอาวาส

วัดบางหลวง และคุณพงศวัฒน ทองสินกอบกิจ

Page 37: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๓๒

คําศัพทนารู

ง้ิว หมายถึง การมหรสพของจีนอยางหนึ่งคลายโขนหรือละคร

ของเรา

ตะกรุด หมายถึง เปนเครื่องรางของขลังของไทย

ปริศนา หมายถึง ส่ิงหรือถอยคําที่ผูกขึ้นเปนเง่ือนงําเพ่ือใหแกใหทาย

ปูนเพชร หมายถึง ปูนชนิดหนึ่งทําดวยปูนขาวผสมทรายละเอียด น้ํากาว

หนัง และน้ําเช้ือน้ําตาล

พวงมโหตร หมายถึง พวงอุบะซึ่งหอยประดับอยูที่คันดาลฉัตร

ทําดวยผาตาดทอง

มุเตา หมายถึง ภาษาไทย เรียกวาเจดีย สรางตามคติความเช่ือ

ชาวมอญ

มณฑป หมายถึง เรือนยอดขนาดใหญมีรูปส่ีเหล่ียมจัตุรัส หรือเปนรูป

ตัดมุมหรือยอไมแปด ยอไมสิบสอง

เรือสําปน หมายถึง เรือตอเสริมกราบชนิดหนึ่ง เดิมทําดวยไมกระดาน

๓ แผน ทายสูงกวาหัวเรือ ใชแจวหรือพาย

วัฒนธรรม หมายถึง ส่ิงที่ทําความเจริญงอกงามใหแกหมูคณะ

เสาหงส หมายถึง เสาที่ทํารูป หงสติดไวที่ยอด มักปกอยูตามหนาวัด

ของชาวรามัญ

อภัยทาน หมายถึง การใหความไมมีภัย

Page 38: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๓๓

คําถามทายเลม

คําสั่ง จงทําเครื่องหมาย ทับคําตอบท่ีถูกตองท่ีสุดเพียงคําตอบเดียว

๑. ถานักเรียนสืบคนขอมูลจากบุคคลควรใชวิธีการใดในการแสวงหาขอมูล

ก. ซักถาม

ข. สํารวจ

ค. ทํารายงาน

ง. อานประวัติ

๒. โรงเรียนและวัดจัดเปนแหลงขอมูลใด

ก. บันทึก

ข. สถานที่

ค. ภูมิปญญาทองถิ่น

ง. เอกสารทางราชการ

๓. เราไมพบส่ิงใดในชุมชนบางหลวง

ก. วัด

ข. สวนผัก

ค. โรงเรียน

ง. หางสรรพสินคาโลตัส

๔. ใครคือผูอนุรักษภูมิปญญาไทย

ก. พีช ชอบอานหนังสือการตูน

ข. แกว นัดกับเพ่ือนไปรานเกม

ค. เอ เลนมอญซอนผากับเพ่ือนๆ

ง. กอย ใชเวลาวางเลนตัวตอกับเพ่ือน

๕. หลักฐานสําคัญที่กลาวถึงบางหลวงปรากฏในขอใด

ก. ถึงน้ําวน ชลสายที่ทายยาน

ข. ถึงบางพลัดยิ่งอนัตอนาถจิต

ค. ถึงบางหลวงทรวงรอนดังศรปก

ง. ถึงคลองขวางบางจากยิ่งตรมจิต

Page 39: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๓๔

๖. ส่ิงที่เราควรภูมิใจที่สุดในชุมชนคืออะไร

ก. การมีอาชีพที่ยั่งยืน

ข. ความเจริญดานวัตถุ

ค. การทําสะอาดบานตนเอง

ง. ความรักสามัคคีของชุมชนบางหลวง

๗. ขอใดไมใชงานภูมิปญญาทองถิ่น

ก. พวงมะโหตร

ข. พวงหรีดผาหมพับ

ค. พับเหรียญโปรยทาน

ง. เครื่องแขวนดอกไมไทย

๘. ประเพณีที่ปฏิบัติในวันออกพรรษาของวัดบางหลวงคือส่ิงใด

ก. พิธีกวนขาวทิพย

ข. ตักบาตรดอกไม

ค. ปดทองหลวงพอเพชร

ง. แหหางหงส ธงตะขาบ

๙. พิธีกวนขาวทิพยจะมีสวนประกอบ มงคล ๙ ส่ิง หมายถึง

ก. เนย ถั่ว งา

ข. นม เนย มะพราว

ค. น้ําผ้ึง น้ําออย น้ํามันพืช

ง. น้ําตาล น้ําผ้ึง น้ํามะพราว

๑๐. ประเพณีสงกรานตไมเกี่ยวของกับส่ิงใด

ก. ขาวแช

ข. ขาวทิพย

ค. สรงน้ําพระ

ง. กอพระเจดียทราย

Page 40: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๓๕

เฉลยคําถามทายเลม

๑. ตอบ ก ๖. ตอบ ง

๒. ตอบ ค ๗. ตอบ ข

๓. ตอบ ง ๘. ตอบ ข

๔. ตอบ ค ๙. ตอบ ก

๕. ตอบ ค ๑๐. ตอบ ข

ประเมนิผลคะแนน

คะแนน ระดับ ความพึงพอใจ

๘ – ๑๐ มาก ๓

๕ – ๗ พอใช ๒

ตํ่ากวา ๕ ปรับปรุง ๑

Page 41: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๓๖

บรรณานุกรม

กรมศิลปากร. (๒๕๔๔). วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร เอกลักษณและภูมิ

ปญญา จังหวัดปทุมธานี. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการฝายประมวลเอกสารและ

จดหมายเหตุ. โรงพิมพคุรุสภา ลาดพราว.

กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๐๔). เสด็จประพาสตน ในรัชกาลท่ี ๕. กรุงเทพฯ : คุรุสภา.

คณะผูวิจัยจัดทําโครงการศึกษาและสงเสริมการรักทองถิ่นจังหวัดปทุมธานีรวมกับ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. (๒๕๕๑). CD ภูมิสังคมปทุมธานี.

วัฒนธรรมจังหวัดปทุมธานี : องคการบริหารสวนจังหวัดปทุมธานี. ปทุมธานี.

ทองคํา พันนัทธี. (๒๕๒๑). ความรูเก่ียวกับจังหวัดปทุมธานี. กรุงเทพฯ : ส่ือการคา

เมืองปทุมธานี.

ทองคํา พันนัทธี. (๒๕๓๓). ปทุมธานีในอดีต. กรุงเทพฯ : จุฑารัตนการพิมพ.

ทองคํา พันนันทธี. (๒๕๓๔). จังหวัดปทุมธานี น้ําศักด์ิสิทธ์ิ วัดศาลเจา. กรุงเทพฯ : การ

พิมพพระนคร.

ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๕๖). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔.

กรุงเทพฯ : นานมีบุคส.

http://www.apecthai.org/index.php/

http://www.bangluangcity.go.th/

http://www.lek-prapai.org/watch.php?id=794

http://www.m-culture.in.th/moc_new/album/130216/

http://www.oknation.net/blog/loongdali/2011/03/09/entry-1

http://www.painaidii.com/business/118699/photo/11/lang/th/#photo

http://pathumthani.kapook.com/เมืองปทุมธานี/บางหลวง

http://www.thaitambon.com/tambon/ttambon.asp?ID=130108

http://www.thaimtb.com/cgi-bin/viewkatoo.pl?id=181568

Page 42: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๓๗

ประวัติผูจัดท ํา

ช ื่อ – นามสก ุล นางภาวด ี แกวเหลา

วัน เด ือน ปเก ิด ๑๔ เมษายน ๒๕๐๔

ท ี่อยูปจจ ุบ ัน ๑๘/๑๑ หม ู ๒ ต ําบลบางหลวง

อําเภอเม ืองปท ุมธานี จ ังหว ัดปท ุมธานี

วุฒ ิการศ ึกษา การศึกษาศาสตรบ ัณฑ ิต ส ังคมศึกษา

สถาบ ันการศ ึกษา มหาว ิทยาล ัยรามคําแหง

ต ําแหนงปจจ ุบ ัน คร ู วิทยฐานะ ช ํานาญการ

สถานท ี่ท ํางาน โรงเรียนปท ุมธานี “นันทม ุนีบ ําร ุง”

ต ําบลบางหลวง อําเภอเม ืองปท ุมธานี จังหว ัดปท ุมธานี

สํานักงานเขตพ ื้นท ี่การศึกษาม ัธยมศ ึกษา เขต ๔

Page 43: คํานํา · นิราศภูเขาทอง “ถึงบางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สู เสียศักดิ์สังวาสพระศาสนา”

๓๘