30
มโนทัศนพัฒนา: วรรณคดีระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

  • Upload
    others

  • View
    14

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

มโนทัศนพัฒนา:

วรรณคดรีะดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Page 2: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

สรุปเอกสารการเรียนรูที่ 1

หลักการวิจารณวรรณคดี

Page 3: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

หลักเบื้องตนแหงการวิจารณวรรณคดี

นักอานที่จะเปนนักวิจารณดวยนั้น จําเปนตองมีคุณสมบัติบาง

ประการดังตอไปนี้

1. เปนผูมีนิสัยรักการอานและอานหนังสือหลายประเภท อานผลงานของนักเขียนหลายคน

2. เปนผูรูจักเปรียบเทียบเรื่องที่อานกับเรื่องอื่นๆ

3. เปนผูมีความสามารถในการเขียนหรือพูด

4. เปนผูมีความเที่ยงตรง ปราศจากอคติ

5. เปนผูมีความรูในการวิจารณแนวตางๆ

Page 4: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

ประวัติการวิจารณวรรณคดีไทย

การศึกษาวรรณคดีวิจารณในชวยสมัยรัชกาลที่ 1-5 จะไมใชคํา”วรรณคดีวิจารณ” ตามความหมายปจจุบัน แตจะใชในความหมายที่กวางที่สุด คือ หมายถึง “ความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดี”การวิจารณงานวรรณคดียุคแรกๆ จึงเปนเพียงประเมินคาผลงานของตนเอง หรือผลงานของกวีอื่นๆ ในดานความไพเราะ การใชคํา การใชฉันทลักษณ ซึ่ง เปนแนวสุนทรียภาพ และรูปแบบมากกวาจะวิจารณเนื้อหาของเรื่อง

Page 5: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

ประวัติการวิจารณวรรณคดีไทย (ตอ)

เมื่อถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว การวิจารณวรรณคดีก็กาวหนาจนเปนศาสตรมากขึ้น แมองคพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาฯ เองก็ยังมีพระราชวินิจฉัยเรื่อง สนุกนิ์นึก ของกรมหลวงพิชิตปรีชากรวา “กรมหลวงพิชิตปรีชากรทําหนังสือนี้ปรารถนาจะทําอยางหนังสือโนเวล”

นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาฯ ยังทรงพระราชวิจารณเรื่อง จดหมายเหตุความทรงจํากรมหลวงนรินทรเทวี และ พระบรมราชวินิจฉัยเรื่องกฤษณาสอนนองคําฉันท ซึ่งเปนการวิจารณเชิงประวัติ เปนตน

Page 6: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

ประวัติการวิจารณวรรณคดีไทย (ตอ)ตอมา พ.ศ. 2457 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรง

โปรดเกลาฯ ใหจัดตั้ง”วรรณคดีสโมสร” ขึ้น เพื่อคัดหาหนังสือดีเดนสมควรเปนแบบอยาง นับวาเปนการประเมินคาวรรณคดี และมีหนังสือถือ 10 เลม ที่ไดรับยกยองจากวรรณคดีสโมสร การวิจารณเชิงประวัตินี้ยังสืบทอดมาเรื่อย ๆ จาก ร.5 ถึง ร.6

เมื่อ ม.จ. อากาศดําเกิง เขียน ผิวขาวผิวเหลือง พระองคเจา

จุลจักรพงษก็ทรงเขียนบทวิจารณอีกครั้งหนึ่ง เปนบทวิจารณเชิงวิเคราะหโครงสราง

Page 7: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

ประวัติการวิจารณวรรณคดีไทย (ตอ)พ.ศ.2485 นายกรัฐมนตรี จอมพล ป.พิบูลสงคราม ก็แตงตั้ง

คณะกรรมการสงเสริมวัฒนธรรมภาษาไทยขึ้น และไดจัดตั้ง วรรณคดี

สมาคมขึ้นในคราวเดียวกัน วรรณคดีสมาคมไดออกหนังสือชื่อ

วรรณคดีสาร วารสารฉบับนี้สนับสนุนการวิจารณวรรณคดี และพระ

นิพนธของพระองคเจาวรรณไวทยากรเกี่ยวกับทฤษฎีวรรณคดีวิจารณ

ของตะวันตกมาจนถึงการวิจารณแนวใหม (New Criticism) ของ ไอ.

เอ. ริชารด ทําใหการวิจารณวรรณคดีของไทยมีหลักเกณฑมากขึ้น

กวายุคสมัยกอนๆ

Page 8: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

ประวัติการวิจารณวรรณคดีไทย (ตอ)

ในชวงป พ.ศ. 2481 หนังสือ มหาวิทยาลัย ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดลงพิมพบทวิจารณ นวนิยายของนิสิตหลายเรื่อง เชน บทวิจารณ “ผูดี” ของ ดอกไมสด โดยนิลวรรณ ปนทอง ที่เขียนวิเคราะหองคประกอบของนวนิยายตั้งแตการวางโครงเรื่อง การสรางตัวละคร การใชบทสนทนาที่เหมาะกับตัวละคร และคุณคาในเชิ งสั่ งสอนใหขอคิดพรอม ทั้งชี้ ให เห็นขอดี และ

ขอบกพรองของเรื่องนี้อยางชัดเจน

Page 9: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

ประวัติการวิจารณวรรณคดีไทย (ตอ)

การให รางวัลวรรณกรรมซี ไรท จะมีการวิพากษวิจารณวรรณกรรมตางๆ เหลานั้นตามวารสาร หนังสือรายปกษ รายเดือน ดูเปนการเพิ่มสีสันใหกับวงการหนังสืออยูไมนอย เปนที่นาสังเกตวา นักวิจารณจะคอนขางสนใจเรื่องสั้น หรือนวนิยายมากกวารอยกรอง ปใดที่มีการใหรางวัลนวนิยาย และเรื่องสั้นนั้น จะมีการประโคมขาว วิจารณ วิพากษ คาดเดากันอยางหนาตา อาจเปนเพราะรางวัลวรรณกรรมระดับชาตินี้อาจชวยเพิ่มยอดขายใหแกสํานักพิมพก็เปนได

Page 10: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

สรุปเอกสารการเรียนรูที่ 2การวิจารณวรรณคดีไทย

ตามแนวทฤษฎีตะวันออก

Page 11: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

ทฤษฎีสันสกฤต

• ทฤษฎีรส วาดวยอารมณของผูอาน

• ทฤษฎีอลังการ วาดวยความงามในการประพันธ

• ทฤษฎีคุณ วาดวยลักษณะเดนของการประพันธ

• ทฤษฎีริติ วาดวยลีลาในการประพันธ

• ทฤษฎีธวนิ วาดวยความหมายแฝงในการประพันธ

• ทฤษฎีวโกรกติ วาดวยภาษาในการประพันธ

• ทฤษฎีอนุมิติ วาดวยการอนุมานความหมายในการประพันธ

• ทฤษฎีอาจิตยะ วาดวยความเหมาะสมในการประพันธ

Page 12: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

ทฤษฎีรส• ความซาบซึ้งในความรัก (ศฤงคารรส)

• ความสนุกสนาน (หาสยรส)

• ความสงสาร (กรุณารส)

• ความแคนเคือง (เราทรรส)

• ความชื่นชมในความกลา (วีรรส)

• ความเกรงกลัว (ภยานกรส)

• ความเบื่อระอาชิงชัง (พีภัตสรส)

• ความอัศจรรยใจ (อัทภุตรส)

• ความสงบใจ (ศานตรส)

Page 13: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

การวิเคราะหรสจากประเภทวรรณคดี

การที่จะพิจารณาวาวรรณคดีเรื่องใดหรือประเภทใดเอื้อตอการเกิดรส

หรือไมนั้นตองดูทั้งรูปแบบและเนื้อหาเพื่อใหเขาใจจุดมุงหมายของ

ผูประพันธ

• วรรณคดีพุทธศาสนา• วรรณคดีพิธีกรรม• วรรณคดีสดุดี• วรรณคดีนิราศ• วรรณคดีบันเทิง

Page 14: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

ทฤษฎีอลังการ

อลังการ คือ การใชถอยคําที่ไพเราะและโวหารที่มี

ความหมายลึกซึ้งใหเปนประการหนึ่งอาภรณของบทประพันธ

อลังการแบงออกไดเปน อลังการทางเสียงและความหมาย คํา

อลังการที่นี้ใชในความหมายที่แคบ ถาใชคําวา อลังการศาสตร

จะมีความหมายกวางขึน้ หมายถึงวิชาวาดวยการประพันธ

วรรณคดี จแนกได 2 ลักษณะ

– อลังการทางเสียง

– อลังการทางความหมาย

Page 15: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

อลงัการทางเสียง

1. ยมก คือ การซ้ําพยางคทีม่ีเสียงเหมือนกันแตสื่อ

ความหมายตางกนั ในคําประพันธวรรคเดียวหรือบท

เดียวกัน

2. อนุปราส คือ การซ้ําเสียงพยัญชนะ ซึ่งอาจเปนพยัญชนะ

เดี่ยวหรือพยัญชนะซอนก็ได ในคําประพันธวรรคเดียวกัน

Page 16: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

อลังการทางความหมาย

1.อุปมา เชน ดวงหนานางนาลกระจางดุจดวงจันทร

2. รูปกะ เชน ดวงหนาของนางคือดวงจันทร

(ลักษณะนี้ ตําราวรรณคดีไทยเรียกวา “อุปลักษณ”)

3. อติศโยกติ คือ การกลาวใหเกินความจริง เชน

จงอวดผิวเรืองรองของนางเถิด ทองจะหมองลงทันที

จงเงยหนาขึ้นมาเถิด ทองฟาจะมีดวงจันทรถึงสองดวง

(ลักษณะเชนนี้ในภาษาไทย จะตรงกับ อติพจน)

Page 17: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

จุดประสงคที่ใชอลงัการ

• เพื่อแสดงความสามารถของตน• เพื่อแสดงความคดิหรืออารมณที่ลึกซึ้ง• เพื่อเลี่ยงการกลาวตรงๆ

Page 18: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

ลัลลนา ศิริเจริญ(2524)

ลักษณะพิเศษหรือเอกลักษณของวรรณคดีไทย

9 ประการ

Page 19: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

• สัมผัสสระ เชน ขาแตพระบาท พระโอรสราช

• สัมผัสพยญัชนะขามวรรค เชน เปนฤษีศีลสุทธิ ์ สืบสราง

• สัมผัสพยญัชนะเปนคูๆ เชน ธ เสด็จลงสําราญสําริทธิ์

• สรอยสลับวรรค เชน อกคอืดวงไฟรอน แลนา

เหตุเทวศจากลูกปอน แลนา

• อัพภาส เชน ระรื่นรศเรณู

• คําแผลง เชน ทววมฤคามฤเคษ ในหิมเวศหิมวันต

Page 20: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

• คําประสม เชน พลทรงสองสิพิราษฎร

ก็บาดเนื้อบาดใจฟุน

• เลนคํา เชน ทงงรูปสัตวก็จะราง

ทงงรูปรางก็จะโรย

• กลบท เชน โมงโมกมวงไม มูกมัน

จากจิกแจงจวงจันทน จิงจอ

โหมหินหิ่งหายหัน เหียงหาด

คุยเคียมคําคูนคอ คัดคาวแคคาง

Page 21: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

สรุปเอกสารการเรียนรูที่ 3

การวิจารณวรรณคดีตามแนวตะวนัตก

Page 22: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

การวิจารณวรรณคดี อาจแบงออกไดเปน 3 แนว

• การวิจารณวรรณคดีในแงจิตวิทยาทั่วไป (Psychological

Approach of Literary Criticism)

• การวิจารณวรรณคดีในแงหลักแบบฉบบั (Archetyped

Approach of Literary Criticism)

• การวิจารณวรรณคดีในแงสุนทรียศาสตร

Page 23: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

1. การวิจารณวรรณคดีในแงจิตวิทยาทั่วไป

• การวจิารณตามแนวการวิเคราะหความฝน

• การวจิารณตามแนวบุคลิกภาพและพฤตกิรรม

2. การวิจารณวรรณคดีในแงหลักแบบฉบับ• หลักแบบฉบับที่ใชสัญลักษณสากล

• หลักแบบฉบับที่ใชสัญลักษณสวนบุคคล

Page 24: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

3. การวิจารณวรรณคดีในแงสุนทรียศาสตร

• Sense หมายถึงเนื้อหา

• Felling หมายถึงความรูสึกของผูอานที่มีตอขอความที่กลาวออกมา

• Tone หมายถึงน้ําเสียงหรือทัศนคติของผูแตงที่แสดงออกมาตอ

ผูอาน

• Intension หมายถึงจุดมุงหมายหรือความตั้งใจของผูแตงที่แสดง

ออกมาในคําประพันธ

Page 25: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

ขอควรระวงัในการวิจารณวรรณคดี

• ความหมายสี่นัย (Four kinds of meaning)

• จินตภาพ (Imagery)

• นัยประหวดั (Irrelevant association)

• ความหมายกักตนุ (Stock response)

Page 26: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

ขอควรระวังในการวิจารณวรรณคดี (ตอ)

• อารมณอานไหวงาย (Sentimentality)

• ปฏิกิริยาตอตาน (Inhibition)

• Doctrinal adhesions

• การยดึมัน่กับแบบแผนฉันทลักษณตามเกณฑโบราณ

(Technical presupposition

• การคาดหวังสูง (Critical preconception)

Page 27: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

Brooks ไดพูดถึงคําที่ใชเกี่ยวกับวรรณคดี

• Imagination and Fancy (จนิตนาการและแฟนซ)ี

• Symbolism and Imagery (สัญลักษณและภาพพจน)

• Paradox and Ambiguity

Page 28: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

สรุปเอกสารการเรยีนรูที่ 4

ปริทรรศนวรรณคดีระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Page 29: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

เนื้อหาวรรณคดีไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

วรรณคดีและวรรณกรรมที่กําหนดใหเรียน

• นมัสการมาตาปตคุุณ นมัสการอาจริยคุณ

• บทเสภาเรื่องขุนชาง ขุนแผน ตอน ขุนชางถวายฎีกา

• บทละครเรื่องอิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง

• สามกก ตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉ

• ลิลิตตะเลงพาย ตอนยุทธหัตถีและชัยชนะของไทย

• รายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี

Page 30: มโนทัศน พัฒนา วรรณคดีระดัธยมศบมัึกษาตอนปลาย · ประวัติิการวจารณ วรรณคดีไทย

วรรณคดีและวรรณกรรมที่เสนอใหเรียน• กาพยเหเรือ

• สามัคคีเภทคําฉันท

• นิทานเวตาล

• หัวใจชายหนุม

• ไตรภูมิพระรวง ประเภทมนุษย-สี่แผนดิน : อุตรกรุุทวีป

• โคลงนิราศนรินทร

• คัมภีรฉันทศาสตร

• โคลนติดลอ เรือ่งความนิยมเปนเสมียน

• บทละครพูดคําฉันทเรื่อง มัทนะพาธา