11
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หมวดที1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา 1553901 การวิจัยเบื้องต้นทางภาษา Introduction to Language Research 2. จํานวนหน่วยกิต 3 (2-2-5) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ วิชาเอกบังคับ 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ผู้ช่ วยศาสตราจารย์ ดร.สุทัศน์ นาคจั่น / ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัญชนา พานิช 5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีท่เรียน ภาคการศึกษาที2 ชั้นปีท4 (คบ.) 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มี 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี 8. สถานที่เรียน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด วันที20 พฤษภาคม 2556

รายละเอียดของรายวิชามคอ. 3) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา วิทยาเขต ...edu.pbru.ac.th/TQF/57/57113141-155390154.pdf1553901

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รายละเอียดของรายวิชามคอ. 3) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา วิทยาเขต ...edu.pbru.ac.th/TQF/57/57113141-155390154.pdf1553901

รายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3)

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

1. รหัสและชื่อรายวิชา 1553901 การวิจัยเบื้องต้นทางภาษา

Introduction to Language Research 2. จํานวนหน่วยกิต

3 (2-2-5)

3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ วิชาเอกบังคับ

4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุทัศน์ นาคจั่น / ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัญชนา พานิช

5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที ่ 2 ชั้นปีที่ 4 (คบ.)

6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มี

7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี

8. สถานที่เรียน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด

วันที่ 20 พฤษภาคม 2556

 

Page 2: รายละเอียดของรายวิชามคอ. 3) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา วิทยาเขต ...edu.pbru.ac.th/TQF/57/57113141-155390154.pdf1553901

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

 

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

หลังจากนักศึกษาเรียนจบแล้วสามารถปฏิบัติได้ดังต่อไปนี้

1. อธิบายความหมายของงานวิจัย องค์ประกอบ และหลักการทํางานวิจัย 2. สร้างงานวิจัยทางภาษาได้ตามกระบวนการทางการวิจัยที่ถูกต้อง อย่างน้อย 1 เรื่อง

3. มีทักษะที่จําเป็นในการทําวิจัยได้แก่ ค้นคว้า สังเกต ซักถาม สังเคราะห์ วิเคราะห์ คํานวณ

การใช้เทคโนโลยี เป็นต้น

4. มีจรรยาบรรณและคุณสมบัติของนักวิจัย ได้แก่ ซื่อสัตย์ อดทน รับผิดชอบ รอบคอบ ทํางานเป็นทีม เป็นต้น

5. นําเสนองานวิจัย

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน และเป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในด้านความรู้ ความ เข้าใจในการทําวิจัย ให้มีสอดคล้องและเกิดประโยชน์ตามสถานการณ์ยุคสมัย

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ

1. คําอธิบายรายวิชา ศึกษาระเบียบวิธีการวิจัยเบื้องต้น การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับการวิจัยทางด้านภาษาอังกฤษ

การสํารวจปัญหาการวิจัย การออกแบบการวิจัย การเลือกกลุ่มตัวอย่างและการสุ่มตัวอย่าง

รวมทั้งการเขียนโครงร่างการวิจัยและการพัฒนาโครงร่างงานวิจัยจนเป็นงานวิจัย

โดยใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ในการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการวางแผนและการพัฒนางานวิจัย

2. จํานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา

บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน

การศึกษาด้วยตนเอง

บรรยาย 30 ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษา

สอนเสริมตามความ ต้องการของนักศึกษา

ฝึกปฏิบัติ 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา

การศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่งโมงต่อสัปดาห์

3. จํานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล 3.1 อาจารย์จัดเวลาให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม 1 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)

Page 3: รายละเอียดของรายวิชามคอ. 3) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา วิทยาเขต ...edu.pbru.ac.th/TQF/57/57113141-155390154.pdf1553901

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

1.1.1 ตระหนักในคุณค่า รู้และเข้าใจในหลักคุณธรรมจริยธรรมที่สําคัญต่อการดํารงตนและการปฏิบัติงาน 1.1.2 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ

1.2 วิธีการสอนที่จะใช้พัฒนาการเรียนรู้

1.2.1 ทํางานเดี่ยวและกลุ่ม 1.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อทํางานวิจัย 1.2.3 ให้นักศึกษาฝึกทําวิจัยโดยเน้นการปฏิบัติตามจรรยาบรรณของนักวิจัย

1.3 วิธีการประเมินผล

1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 1.3.2 การฝึกปฏิบัติ 1.3.3 ประเมินงานวิจัย

2. ความรู้

2.1 ความรู้ที่จะได้รับ 2.1.1 มีประสบการณ์ในการใช้ภาษาอังกฤษทั้ง 4 ทักษะในสถานการณ์จริง 2.1.2 มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และเปรียบเทียบกับวัฒนธรรมของตนเองได้

2.2 วิธีการสอน บรรยาย อภิปราย การทํางานกลุ่ม การนําเสนองาน การฝึกปฏิบัติ

มอบหมายให้นักศึกษาเข้าร่วมการนําเสนองานวิจัยในระดับชาติ การทําวิจัย 2.3 วิธีการประเมิน

2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ 2.3.2 วิเคราะห์งานวิจัย 2.3.3 สังเกต 2.3.4 การนําเสนอรายงานในชั้นเรียน

 

 

 

 

Page 4: รายละเอียดของรายวิชามคอ. 3) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา วิทยาเขต ...edu.pbru.ac.th/TQF/57/57113141-155390154.pdf1553901

3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 3.1.1 มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ข้อ โต้แย้ง และสังเคราะห์ได้อย่างถูกต้องตามหลักการ

3.1.2 สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีเหตุผล 3.1.3 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ

สู่การฝึกประสบการณ์ภาคสนามและการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริงได้อย่างเหมาะสม 3.1.4 สามารถใช้ความรู้ทักษะภาษาอังกฤษบูรณาการกับศาสตร์อื่นเพื่อพัฒนาทักษะ

การทํางานให้เกิดประสิทธิผล 3.2 วิธีการสอน

มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าทําวิจัยโดยประยุกต์ใช้ความรู้ในศาสตร์ของวิชานี้และสาขาวิชาอื่นๆ และนําเสนอผลงานวิจัยในรูปของการอภิปรายกลุ่ม

มอบหมายให้นักศึกษาเข้าร่วมงานนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติเพื่อนําหัวข้อและประเด็นต่าง ๆ จากการเข้าร่วมมาอภิปรายในชั้นเรียน

3.3 วิธีการประเมินผลทักษะทางปัญญาของนักศึกษา ทดสอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และการประยุกต์ความรู้ที่ศึกษา รวมทั้งประเมินจากงานวิจัย ประเมินจากการอภิปรายในชั้นเรียน

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องการพัฒนา 4.1.1 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 4.1.2 มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมอย่างเหมาะสม 4.2 วิธีการสอน

4.2.1 ให้ทํากิจกรรมร่วมกันเป็นกลุ่มโดยเน้นการประยุกต์ความรู้ที่เรียนในวิชานี้และจากรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง

4.2.2 แทรกประสบการณ์ของอาจารย์ในระหว่างสอนโดยผ่านการเล่าเรื่องต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย 4.2.3 เน้นย้ําเรื่องความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม การมีมนุษยสัมพันธ์

4.3 วิธีการประเมิน 4.3.1 ประเมินตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กําหนด 4.3.2 ประเมินพฤติกรรมการทํางานเป็นทีม

 

 

 

 

 

Page 5: รายละเอียดของรายวิชามคอ. 3) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา วิทยาเขต ...edu.pbru.ac.th/TQF/57/57113141-155390154.pdf1553901

 

5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา 5.1.1

สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและโปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นในการเก็บรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล และนําเสนอผลงานได้

5.1.2 สามารถนําความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติมาใช้ในการประมวล การแปลความหมาย และการวิเคราะห์ข้อมูลได้

5.1.3 สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อเพื่อใช้ในการนําเสนอได้อย่างเหมาะสม

5.2 วิธีการสอน 5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก Website 5.2.2 ส่งงานติดต่อกับผู้สอนผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 5.2.3 ฝึกการวิเคราะห์โดยใช้ใช้สถิติสําหรับการวิจัย 5.2.4 นําเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.3 วิธีการประเมิน 5.3.1 การนําเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 5.3.2 ประเมินจากงานวิจัย

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

5.1 แผนการสอน

สัปดา

ห์ที่

หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน

ชั่วโมง

กิจกรรมการเรียนการส

อนและสื่อที่ใช ้

ผู้สอน

1 - ปฐมนิเทศ - Pre-test

4 - บรรยาย - ซักถาม

ผศ.ดร.อัญชนา พานิช ผศ.ดร.สุทัศน์ นาคจั่น

2 ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย - ความหมายการวิจัย - วัตถุประสงค์ของงานวิจัยของการทําวิจัย - ความสําคัญของทฤษฎีต่องานวิจัย - ขั้นตอนที่สําคัญของการวิจัย - ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาวิธีการวิจัย

4 - บรรยาย - อภิปราย ซักถาม - power point -ตําราการวิจัยเบื้องต้น

ผศ.ดร.อัญชนา พานิช ผศ.ดร.สุทัศน์ นาคจั่น

Page 6: รายละเอียดของรายวิชามคอ. 3) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา วิทยาเขต ...edu.pbru.ac.th/TQF/57/57113141-155390154.pdf1553901

- จรรยาบรรณของนักวิจัย  

 

สัปดา

ห์ที่

หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน

ชั่วโมง

กิจกรรมการเรียนการส

อนและสื่อที่ใช ้

ผู้สอน

3 - ประเภทของการวิจัย - การเลือกและกําหนดหัวข้อการวิจัย - แหล่งที่มาของหัวข้อการวิจัย - หลักเกณฑ์ในการเลือกหัวข้อการวิจัย - การตั้งหัวเรื่องการวิจัย

4 - บรรยาย - อภิปราย ซักถาม - ทําแบบฝึกหัด - power point - นักศึกษาค้นคว้าหาหัวข้องานวิจัยที่เขียนโดยถูกต้อง - นําเสนอหน้าชั้น

ผศ.ดร. อัญชนา พานิช ผศ.ดร.สุทัศน์ นาคจั่น

4 - ปัญหาวิจัย - การกําหนดประเด็นปัญหาวิจัย และการเขียนปัญหาวิจัย - การกําหนดวัตถุประสงค์ - วิธีการกําหนดวัตถุประสงค์การวิจัย - หลักเกณฑ์ในการกําหนดวัตถุประสงค์ - ประโยชน์ของการกําหนดวัตถุประสงค์ - วัตถุประสงค์กับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ - การตั้งสมมุติฐาน - การกําหนดตัวแปร - นิยามศัพท์

4 - บรรยาย - อภิปราย ซักถาม - ทําแบบฝึกหัด - power point - นักศึกษาทํางานกลุ่มฝึกเลือกปัญหาการวิจัย และเขียนวัตถุประสงค์ที่สอดคล้องกับหัวข้อปัญหาการวิจัย นําเสนอหน้าชั้น และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานของกลุ่มอื่น

ผศ.ดร. อัญชนา พานิช ผศ.ดร.สุทัศน์ นาคจั่น

5 - จัดทําและนําเสนอรายงานความก้าวหน้า หน้าชั้นเรียน ครั้งที ่1 (ความเป็นมาของปัญหา คําถามวิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจัย สมมุติฐานของการวิจัย ตัวแปร นิยามศัพท์ ชื่องานวิจัย)

4 -นักศึกษานําเสนอรายงานความก้าวหน้าในการทําวิจัย -power point presentation - วิพากษ์ concept of Proposal

ผศ.ดร.อัญชนา พานิช ผศ.ดร.สุทัศน์ นาคจั่น

Page 7: รายละเอียดของรายวิชามคอ. 3) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา วิทยาเขต ...edu.pbru.ac.th/TQF/57/57113141-155390154.pdf1553901

-ตรวจให้คําปรึกษารายบุคคล -ถาม-ตอบปัญหาในข้อเสนองานวิจัย

 

 

สัปดา

ห์ที่

หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน

ชั่วโมง

กิจกรรมการเรียนการส

อนและสื่อที่ใช ้

ผู้สอน

6 การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง - ความหมาย - จุดประสงค์การทบทวนวรรณกรรม - สิ่งที่พึงกระทําในการทบทวนวรรณกรรม - การทบทวนวรรณกรรมกับการกําหนดประเด็นปัญหาการวิจัย - ประโยชน์ที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรม

4 - บรรยาย - อภิปราย - ซักถาม - ทําแบบฝึกหัด - power point - นักศึกษาทํางานกลุ่ม ฝึกค้นคว้าวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยอย่างน้อย 3 แหล่ง และนําเสนอผลการทบทวนวรรณกรรมที่สอดคล้องกับหัวข้อและปัญหาการวิจัยของตน

ผศ.ดร.อัญชนา พานิช ผศ.ดร.สุทัศน์ นาคจั่น

7 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง - การกําหนดประชากร - การเลือกกลุ่มตัวอย่าง - เทคนิคการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง เทคนิคและวิธีการรวบรวมข้อมูล - การรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร - การเก็บข้อมูลจากการสังเกต - การเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม - การเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์

4 - บรรยาย - อภิปราย ซักถาม - ทําแบบฝึกหัด - power point - นักศึกษาทํางานกลุ่มฝึกคํานวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างและวางแผนการเก็บข้อมูล

ผศ.ดร.อัญชนา พานิช ผศ.ดร.สุทัศน์ นาคจั่น

8 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย - ความหมายของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

4 - บรรยาย - อภิปราย

ผศ.ดร.อัญชนา พานิช ผศ.ดร.สุทัศน์ นาคจั่น

Page 8: รายละเอียดของรายวิชามคอ. 3) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา วิทยาเขต ...edu.pbru.ac.th/TQF/57/57113141-155390154.pdf1553901

- ลักษณะของเครื่องมือที่ดี - ชนิดของเครื่องมือ (แบบทดสอบ สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต และอื่นๆ) - การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย - ประเภทของข้อมูล และวิธีการเก็บข้อมูล ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม - สถิติที่ใช้ในการวิจัย

- ซักถาม - ทําแบบฝึกหัด - power point - นักศึกษาทํางานกลุ่ม ฝึกสร้างเครื่องมือในการทําวิจัย

 

 

 

 

สัปดา

ห์ที่

หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน

ชั่วโมง

กิจกรรมการเรียนการส

อนและสื่อที่ใช ้

ผู้สอน

9 - จัดทําและนําเสนอรายงานความก้าวหน้า หน้าชั้นเรียน ครั้งที่ 2 (3 บท : ชื่องานวิจัย ความเป็นมาของปัญหา คําถามวิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจัย สมมุติฐานของการวิจัย ตัวแปร นิยามศัพท์ ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีดําเนินการวิจัย: ประชากร กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิจัย)

4 -นักศึกษานําเสนอรายงานความก้าวหน้าในการทําวิจัย

ผศ.ดร.อัญชนา พานิช ผศ.ดร.สุทัศน์ นาคจั่น

10-11 การวิเคราะห์ข้อมูล - ขั้นตอนในการวิเคราะห์ข้อมูล - การจัดกระทําข้อมูล - การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูป - การแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการใช้โปรแกรมสําเร็จรูปและการนําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล - การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ - การอธิบายผลการทดสอบค่าทางสถิติที่เกี่ยวข้อง

8 - บรรยาย - อภิปราย - ซักถาม - ทําแบบฝึกหัด - power point - นักศึกษาทํางานกลุ่ม นําข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาฝึกวิเคราะห์โดยใช้สถิติที่เหมาะสม

ผศ.ดร.อัญชนา พานิช ผศ.ดร.สุทัศน์ นาคจั่น

12-14 - รูปแบบของรายงานการวิจัยและการเผยแพร่

12 - บรรยาย - อภิปราย

ผศ.ดร.อัญชนา พานิช ผศ.ดร.สุทัศน์ นาคจั่น

Page 9: รายละเอียดของรายวิชามคอ. 3) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา วิทยาเขต ...edu.pbru.ac.th/TQF/57/57113141-155390154.pdf1553901

- โครงสร้างของรายงาน - วิธีการเขียนสรุปผลการวิจัยและการอภิปรายผล - การเขียนข้อเสนอแนะ - การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

- ซักถาม - ทําแบบฝึกหัด - power point - นักศึกษาทํางานกลุ่ม ฝึกเขียนรายงานการวิจัยทั้ง 5 บท

15 จัดทําและนําเสนองานวิจัย 5 บท ทบทวนบทเรียนทั้งหมด Posttest

4 -นักศึกษานําเสนอรายงานวิจัย - ทบทวนบทเรียน - Posttest -ส่งรูปเล่มงานวิจัยสุดท้าย

ผศ.ดร.อัญชนา พานิช ผศ.ดร.สุทัศน์ นาคจั่น

16

สอบปลายภาค

2

-Final examination ผศ.ดร.อัญชนา พานิช ผศ.ดร.สุทัศน์ นาคจั่น

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้

ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการปร

ะเมิน

3.1.1 3.1.2 3.1.3 3.1.4 5.1.1 5.1.2 5.1.3

การฝึกปฏิบัติ การนําเสนองาน และงานที่ไดรับมอบหมาย

5, 9, 15 10%

4.1.1 4.1.2 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1-15 10% 4.1.1 4.1.2 การเข้าชั้นเรียน 1-15 10% 1.1.1 1.1.2 1.1.3 2.1.1 2.1.2

งานวิจัย 15 50%

2.1.1 2.1.2 การสอบปลายภาค 16 20%

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

1. ตําราและเอกสารหลัก ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2544). เทคนิคการใช้สถติเิพื่อการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.  

Page 10: รายละเอียดของรายวิชามคอ. 3) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา วิทยาเขต ...edu.pbru.ac.th/TQF/57/57113141-155390154.pdf1553901

นิศา ชูโต. (2545). การวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์จุฬาลงกรมหาวิทยาลัย.   บุญเรียง ขจรศิลป์. (2543). วิธีวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: พี. เอ็น. การพิมพ์.

บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

EFL/ESL Research articles. Online: http://iteslj.org/Articles/

 

2. เอกสารและข้อมูลสําคัญ แบบเขียนรายงานวิจัย งานบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (ดาวโหลดได้จากเว็บไซต์มหาวิทยาลัย

3. เอกสารและข้อมูลแนะนํา รายงานวิจัย ของบัณฑิตปริญญาโทสาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ในห้องสมุด หรือห้องบัณฑิตคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา

1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ได้จัดกิจกรรมในการนําแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา ดังนี้ - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน - การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

2. กลยุทธ์การประเมินการสอน ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน - ผลการสอบ - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้

3. การปรับปรุงการสอน - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน

Page 11: รายละเอียดของรายวิชามคอ. 3) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา วิทยาเขต ...edu.pbru.ac.th/TQF/57/57113141-155390154.pdf1553901

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ผู้สอน แต่อาจารย์ที่ทวนสอบต้องมีความรู้ในวิชานี้

- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม

5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา - ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 7.4 - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนทุกปี เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ