313
รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา โดย นายวรกาญจน สุขสดเขียว ดุษฎีนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2550 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

โดย นายวรกาญจน สขุสดเขยีว

ดุษฎีนิพนธนีเ้ปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวชิาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศกึษา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2550

ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 2: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

โดย นายวรกาญจน สขุสดเขยีว

ดุษฎีนิพนธนีเ้ปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวชิาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศกึษา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2550

ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 3: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

TAX MODEL FOR EDUCATION

By

Vorakarn Suksodkiew

A Dissertation Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree

DOCTER OF PHILOSOPHY

Department of Educational Administration

Graduate School

SILPAKORN UNIVERSITY

2007

Page 4: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหดุษฎีนิพนธเร่ือง “รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา”

เสนอโดย นายวรกาญจน สุขสดเขียว เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎี

บัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

...........................................................

(รองศาสตราจารย ดร. ศิริชัย ชนิะตังกูร)

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

วันที่..........เดือน..................พ.ศ...........

อาจารยที่ปรึกษาดุษฎีนพินธ

1. รองศาสตราจารย ดร. ชวนชม ชินะตังกูร

2. รองศาสตราจารย ดร. จิราวรรณ คงคลาย

3. อาจารย ดร.ศริยา สุขพานิช

คณะกรรมการตรวจสอบดุษฎีนิพนธ

...................................................ประธานกรรมการ

(ผูชวยศาสตราจารย วาที ่พนัตรี ดร. นพดล เจนอักษร)

............../.................../.................

....................................................กรรมการ .................................................กรรมการ

(ดร.พนิต ธีรภาพวงศ) (รองศาสตราจารย ดร. ชวนชม ชนิะตังกูร)

............../.................../................. .............../................../.............

....................................................กรรมการ .................................................กรรมการ

(รองศาสตราจารย ดร. จิราวรรณ คงคลาย) (อาจารย ดร.ศริยา สุขพานชิ)

............../.................../................. ............../................../..............

Page 5: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

46252705 : สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

คําสําคัญ : รูปแบบ/ภาษ/ีการศึกษา

วรกาญจน สุขสดเขียว : รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา. อาจารยที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ : รศ.ดร.

ชวนชม ชินะตังกูร , รศ.ดร.จิราวรรณ คงคลาย, ดร.ศริยา สุขพานิช. 298 หนา.

การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงคเพื่อทราบรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา กลุมตัวอยาง ไดแก

องคกรปกครองสวนทองถิ่น สถานศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

สถานศึกษา สังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่นและสถานศึกษาเอกชน โดยมีผูบริหารขององคกรปกครอง

สวนทองถิ่น ผูอํานวยการสถานศึกษา ครูปฏิบัติการสอน กรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานและผูปกครอง

นักเรียน จากจํานวน 75 จังหวัดทั่วประเทศและกรุงเทพมหานคร เปนผูตอบแบบสอบถาม ไดรับ

แบบสอบถามที่สมบูรณกลับคืน 322 แหง จํานวน 928 คน คิดเปนรอยละ 81.12 ใชวิธีการสุมตัวอยาง

แบบหลายข้ันตอน (multi - stage random sampling)

เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัยไดแก 1) แบบสัมภาษณที่ไมมีโครงสราง 2) แบบสอบถาม 3) แบบ

สัมภาษณเพื่อยืนยันรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาและเพื่อตรวจสอบความถูกตองเหมาะสมและความ

เปนไปได สถิติที่ใชในการวิเคราะหรูปแบบคร้ังนี้ คือ คาความถ่ี (frequency) คารอยละ (percentage)

คาเฉลี่ย (Χ ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การวิเคราะหเนื้อหาและการวิเคราะหองคประกอบ

(factor analysis) โดยใชโปรแกรม LISREL สวนการอางอิง ผูทรงคุณวุฒิ (connoisseurship) จํานวน 15

คน ใชวิธีการวิเคราะหคาความถี่ คารอยละและการวิเคราะหเนื้อหา (content analysis)

ผลการวิจัยพบวา รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา ประกอบดวย 3 องคประกอบคือ โครงสรางการ

จัดเก็บภาษี หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี หลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษี ผลการตรวจสอบ

ความสอดคลองของขอมูลเชิงประจักษมีความถูกตองเหมาะสมและเปนไปได ในแตละองคประกอบของ

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2550

ลายมือช่ือนักศึกษา........................................

ลายมือช่ืออาจารยที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ 1..................... 2. ...................... 3. .......................

Page 6: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

46252705: MAJOR: EDUCATIONAL ADMINISTRATION

KEY WORD: TAX MODEL FOR EDUCATION

VORAKARN SUKSODKIEW : TAX MODEL FOR EDUCATION. DISSERTATION ADVISORS : ASSOC . PROF. CHUANCHOM CHINATANGKUL,Ph.D. ASSOC. PROF. CHIIRAWAN KONGKLAI, Ph.D. AND SARIYA SUKHABANIJ, Ph.D. , 298 pp.

The purposes of this research were 1) to determine the component of tax model for education. 2) to

present tax model for education, The research procedures consisted of 4 steps as follow: 1) analyzed the

research conceptual frameworks on the basis of principles, concepts, tax model for education, 2) analyzed of

feasibility and appropriateness of the tax model for education, 3) verified and creation of tax model for education

of appropriately, and 4) improved the appropriateness and tax model for education. The samples consisted of

397 units, the respondents were school directors, teachers, school committees in the Office of the Basic

Education Commission, director of private school, administrator of local government schools with the total number

of 928 respondents and confirmed the opinions of feasibility appropriateness by 15 revenue expertise by the

model used a connoisseurship method to consider the tax model for education.

The research instruments were document analysis, the unstructured interview, and the questionnaires.

The statistics in analyzing the data were frequency, percentage, mean ( x ),standard deviation (S.D.), factor

analysis by LISREL programmed ,and content analysis.

The research findings revealed that :

1. The tax model for education consisted of 3 components which were structured tax education taxation

criteria, and taxation effectiveness criteria.

2. The application of the tax model for education which was considered appropriate, accurate,

practical, and accordance with the research conceptual frameworks.

Department of Educational Administration Graduate School Silpakorn University Academic year 2007

Student’s signature…………………………………………….

Dissertation Advisors’ signature 1.....………………...…….2………………...……..…….3……..……….……...........

Page 7: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

กิตติกรรมประกาศ

ดุษฎีนิพนธฉบับนี้สําเร็จไดดวยดี ดวยไดรับความกรุณาจากคณาจารยในภาควิชาการบริหาร

การศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ใหคําเสนอแนะแนวทางการจัดทําดุษฎีนิพนธฉบับนี้ ผูวิจัยขอกราบ

ขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร.ชวนชม ชินะตังกูร ประธานกรรมการผูควบคุมดุษฎีนิพนธ รอง

ศาสตราจารย ดร. จิราวรรณ คงคลาย และ ดร. ศริยา สุขพานิช คณะกรรมการผูควบคุมดุษฎีนิพนธ ผูชวย

ศาสตราจารย วาที่พันตรี ดร.นพดล เจนอักษร ประธานสอบดุษฎีนิพนธ และ ดร.พนิต ธีรภาพวงศ

ผูทรงคุณวุฒิ นิติกร สํานักกฎหมาย กรมสรรพากร ตลอดจนผูเช่ียวชาญและผูทรงคุณวุฒิ ที่กรุณา

อนุเคราะหสละเวลาใหแนวคิดดานรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาและการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา

พรอมทั้งผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูอํานวยการสถานศึกษาและขาราชการครู คณะกรรมการ

สถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ผูปกครองนักเรียน ที่กรุณาตอบแบบสอบถามใหกับผูวิจัยเปนอยางดี ผูวิจัยจึง

ขอขอบพระคุณทุกทาน ไว ณ โอกาสนี้

ผูวิจัยขอขอบคุณเพื่อนนักศึกษารุนที ่ 1 และนักศึกษารุนนอง ตลอดจนเพื่อน ที่ไดใหความ

ชวยเหลือและเปนกาํลังใจในการดําเนนิการวิจัยคร้ังนี ้

ทายที่สุดผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณคุณพอประสิทธิ์และคุณแมสมศรีที่ใหการอบรมเล้ียงดู

และเปนกําลังใจตลอดมา อีกทั้งคณาจารยทุกทานที่กรุณาประสิทธิ์ประสาทวิชาความรูและวิทยาการ

ดานการบริหารและการวิจัยทางการศึกษา ทําใหการศึกษาวิจัยคร้ังนี้สําเร็จลงดวยดี

Page 8: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

สารบัญ หนา

บทคัดยอภาษาไทย………………………………………………………………………….. ง

บทคัดยอภาษาอังกฤษ.................................................................................................. จ

กิตติกรรมประกาศ…………………………………………………………………………… ฉ

สารบัญตาราง.............................................................................................................. ฎ บทที ่ 1 บทนาํ………………………………………………………………………………… 1

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา…………………………………………… 5

ปญหาของการวิจยั............................................................................................. 7

วัตถุประสงคของการวิจัย.................................................................................... 17

ขอคําถามของการวิจยั........................................................................................ 17

กรอบแนวคิดของการวิจยั.................................................................................... 17

นิยามศัพทเฉพาะ……………………………………………………………………. 22

2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ............………………………………………………………. 23

รูปแบบ.............................................................................................................. 23

ประเภทของรูปแบบ................................................................................... 25

องคประกอบรูปแบบ.................................................................................. 26

การตรวจสอบรูปแบบ................................................................................ 27

ภาษี................................................................................................................... 28

โครงสรางของระบบภาษี............................................................................. 31

วตัถุประสงคในการจัดเก็บภาษีอากร............................................................ 32

การจัดเก็บภาษีในประเทศไทย.................................................................... 41

Page 9: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

บทที ่ หนา

ประเภทของภาษีอากรในปจจุบัน…………………………..………………… 56

ภาษีเงนิไดบุคคลธรรมดา……………………………………………… 57

ภาษีเงนิไดนิติบุคคล........................................................................ 58

ภาษีมูลคาเพิม่…………………………………………………………. 60

ภาษีธุรกิจเฉพาะ……………………………………………………….. 62

ภาษีเงนิไดหัก ณ ที่จาย................................................................... 64

อากรแสตมป…………………………………………………………… 66

ภาษีสรรพสามิต.............................................................................. 66

ภาษีศุลกากร…………………………………………………………… 67

ภาษีที่จัดเก็บโดยองคกรปกครองสวนทองถิ่น…………………………. 69

ภาษีปาย........................................................................................ 72

การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา………………………………………………... 73

การระดมสรรพกําลังและทรัพยากรเพื่อการศึกษา.............................. 74

ทฤษฎีเศรษฐศาสตรเกี่ยวกบัการศึกษาและภาษีอากร........................ 76

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาในตางประเทศ…………………………………… 77

ประเทศสหรัฐอเมริกา………………………………………………… 77

ประเทศฝร่ังเศส............................................................................. 82

ประเทศแคนาดา………………………………………………………. 83

สาธารณรัฐประชาชนจีน……………………………………………… 86

ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี.............................................................. 88

ประเทศญ่ีปุน…………………………………………………………. 98

การจัดการศึกษาและแนวทางการจัดทรัพยากรเพื่อการศึกษา………………. 100

วิวัฒนาการการจัดการศึกษาในประเทศไทย…………………………. 100

แนวทางการจดัทรัพยากรเพือ่การศึกษา……………………………… 104

เงินศึกษาพลี................................................................................. 104

มาตรการจงูใจดานภาษีเพือ่การศึกษาสําหรับเอกชน......................... 106

Page 10: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

บทที ่ หนา

3 วิธีการดําเนนิการวิจยั……………………………………………………………….. 119

ข้ันตอนการดําเนนิการวิจัย....................................................................... 119

ระเบียบวิธกีารวิจัย…………………………………………………………... 122

แผนแบบการวิจัย……………………………………………………………. 122

ประชากร........................…………………………………………………… 122

กลุมตัวอยาง…………………………………………………………………. 129

ผูใหขอมูล……………………………………………………………………. 129

ตัวแปรที่ศึกษา........................................................................................ 131

เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย……………………………………………….…….. 133

การสรางและพัฒนาเคร่ืองมือ………………………………………………. 134

การทดลองใชเคร่ืองมือ............................................................................ 135

การเก็บรวบรวมขอมูล……………………………………………………….. 135

การวิเคราะหขอมูล.................................................................................. 135

สถิติที่ใชในการวิจัย................................................................................ 136

สรุป...................................................................................................... 138

4 ผลการวิเคราะหขอมูล……………………………………………………………… 140

ตอนที่ 1 การวิเคราะหและการกําหนดกรอบแนวคิดการวิจัย……………… 141

ตอนที ่2 การวิเคราะหความเหมาะสมของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา…… 157

องคประกอบที่ 1 โครงสรางการจัดเก็บภาษี............................................. 180

องคประกอบที่ 2 หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี........................................... 191

องคประกอบที่ 3 หลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากร

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา..................................................................... 200

ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะหตรวจสอบยนืยนัรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา…… 214

Page 11: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

บทที ่ หนา

5 สรุปผลการวิจยั อภิปรายผล และขอเสนอแนะ…………………………………….. 220

สรุปผลการวิจยั...................................................................................... 221

การอภิปรายผล……………………………………………………………… 227

ขอเสนอแนะการวิจัย............................................................................... 239

ขอเสนอแนะการวิจัยคร้ังตอไป……………………………………………… 240

บรรณานุกรม………………………………………………………………………………. 241

ภาคผนวก................................................................................................................. 248

ภาคผนวก ก หนังสือขอความอนุเคราะหเพื่อขอสัมภาษณผูทรงคุณวฒุิ........ 249

ภาคผนวก ข หนังสือขอความอนุเคราะหตรวจเคร่ืองมือวจิัย....................... 251

ภาคผนวก ค แบบสอบถามเพื่อการวิจัย.................................................... 255

ภาคผนวก ง หนังสือขอความอนุเคราะหเพื่อเก็บขอมูล............................... 270

ภาคผนวก จ รายนามผูทรงคุณวุฒิในการสมัภาษณรอบแรก...................... 273

ภาคผนวก ฉ รายนามผูทรงคุณวุฒิในการสมัภาษณรอบสอง..................... 277

ภาคผนวก ช รายชื่อกลุมตัวอยาง............................................................ 280

ภาคผนวก ซ คาสถิติและความเช่ือมั่น..................................................... 295

ประวัติผูวิจัย............................................................................................................ 298

Page 12: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

สารบัญตาราง ตารางที ่ หนา

1 การจัดเก็บภาษีทองถิ่นในประเทศเกาหลี............................................................ 90

2 ภาษีแหงชาติและภาษีทองถิ่นในประเทศเกาหลี ป ค.ศ.2001................................ 91

3 ฐานและอัตราของภาษีเพื่อการศึกษา..…………………………………………….. 94

4 รายรับของโรงเรียนเอกชน ป ค.ศ.1997…………………………..………….…….. 96

5 สัดสวนของงบรายจายของโรงเรียนเอกชน ป ค.ศ.1997……………………………. 96

6 รอยละของงบประมาณรายจายดานการศึกษากบังบประมาณทั้งหมด

และรอยละของงบประมาณดานการศึกษากับผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ

ปงบประมาณ 2541–2549…………………………………………………… 116

7 ประชากรผูทรงคุณวุฒิตอบแบบสัมภาษณ.......................................................... 124

8 ประชากรผูทรงคุณวุฒิตอบแบบสัมภาษณยืนยนัรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา........... 128

9 จํานวนกลุมตัวอยาง หนวยงานองคกรปกครองสวนทองถิ่น.................................. 130

10 จํานวนกลุมตัวอยางสถานศึกษา........................................................................ 131

11 สรุปภาษีเพื่อการศึกษาในประเทศตาง ๆ…………………………………………… 146

12 สรุปแนวคิดของผูทรงคุณวุฒิ............................................................................. 147

13 แสดงผลสรุปการสังเคราะหเอกสารทางวชิาการและจากการสัมภาษณผูทรงคุณวฒุิ 148

14 ขอมูลทั่วไปเกีย่วกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม……………………………. 158

15 การดํารงตําแหนงของกลุมตัวอยาง………………………………………………….. 159

16 แสดงคาเฉลี่ยเลขคณิต สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน คาสัมประสิทธ์ิแปรผัน

ของโมเดลองคประกอบที่ 1 โครงสรางการจัดเก็บภาษี……………………… 161

17 แสดงคาเฉลี่ยเลขคณิต สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน คาสัมประสิทธิ์แปรผัน

ของโมเดลองคประกอบที ่2 หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี................................ 166

18 แสดงคาเฉลี่ยเลขคณิต สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน คาสัมประสิทธ์ิแปร

ของโมเดลองคประกอบที ่3 หลักเกณฑเกีย่วกับประสิทธิภาพของภาษีอากร.. 169

19 แสดงคาสหสัมพันธระหวางองคประกอบหลักในปจจัย....................................... 173

20 แสดงคาน้าํหนักองคประกอบที ่1 โครงสรางการจดัเก็บภาษี (34 ขอ)……………. 176

Page 13: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

ตารางที ่ หนา

21 แสดงคาน้าํหนักองคประกอบที ่2 หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี (15 ขอ)………….. 178

22 แสดงคาน้าํหนักองคประกอบที ่3 หลักเกณฑเกีย่วกับประสิทธิภาพของ

ภาษีอากร (25 ขอ)…………………………………………………………… 179

23 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t - test ของตัวบงชี้ ในองคประกอบ

ยอยที ่1หนวยงานจัดเก็บ........................................................................ 180

24 แสดงคาน้าํหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคล่ือนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t - test ของตัวบงชี้ ในองคประกอบ

ยอยที ่2 ฐานภาษี.................................................................................. 182

25 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t - test ของตัวบงชี้ ในองคประกอบ

ยอยที ่3 อัตราภาษี………………………………………………………… 184

26 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t - test ของตัวบงชี้ ในองคประกอบ

ยอยที ่4 ระยะเวลาการจัดเกบ็................................................................. 187

27 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t - test รายองคประกอบยอยใน

รูปแบบโครงสรางการจัดเกบ็ภาษี............................................................ 189

28 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t - test ของตัวบงชี้ ในองคประกอบ

ยอยที ่1 หลักความเปนธรรม………………………………………….…… 191

29 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t - test ของตัวบงชี้ ในองคประกอบ

ยอยที ่2 หลักความแนนอน……………………………………………….. 193

30 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t - test ของตัวบงชี้ ในองคประกอบ

ยอยที ่3 หลักความสะดวก……………………………………………….. 195

Page 14: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

ตารางที่ หนา

31 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t - test ของตัวบงชี้ ในองคประกอบ

ยอยที ่4 หลักของความประหยัด…………………………………………... 196

32 แสดงคาน้าํหนักองคประกอบ (factor loading)คาความคลาดเคล่ือนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t - test รายองคประกอบยอยใน

รูปแบบหลักเกณฑการจัดเก็บภาษี........................................................... 198

33 แสดงคาน้าํหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคล่ือนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t - test ของตัวบงชี้ ในองคประกอบ

ยอยที ่1 หลักความเปนธรรม................................................................... 200

34 แสดงคาน้าํหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคล่ือนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t - test ของตัวบงชี้ ในองคประกอบ

ยอยที่ 2 หลักความเปนกลาง………………………………………………. 201

35 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t - test ของตัวบงชี้ ในองคประกอบ

ยอยที ่3 หลักความแนนอน................................................................... 202

36 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t - test ของตัวบงชี้ ในองคประกอบ

ยอยที ่4 หลักความประจักษแจง…………………………………………… 204

37 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t - test ของตัวบงชี้ ในองคประกอบ

ยอยที ่5 หลักประสิทธิภาพในการบริหาร................................................. 206

38 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t - test ของตัวบงชี้ ในองคประกอบ

ยอยที ่6 หลักผลการจํากัดรายจายสุทธ…ิ…………………………………. 208

39 แสดงคาน้าํหนักองคประกอบ (factor loading)คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t - test รายองคประกอบยอยใน

รูปแบบหลักเกณฑเกีย่วกบัประสิทธิภาพของภาษีอากร............................. 210

Page 15: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

ตารางที ่ หนา

40 รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทย...................................................... 213

41 แสดงคาความถี่รอยละความเห็นจากผูทรงคุณวุฒิมีตอองคประกอบของรูปแบบ

ภาษีเพื่อการศึกษาดานความเหมาะสม................................................. 215

42 แสดงคาความถี่รอยละความเห็นจากผูทรงคุณวุฒิมีตอองคประกอบของรูปแบบ

ภาษีเพื่อการศึกษาดานเปนไปได........................................................... 216

43 แสดงคาความถี่รอยละความเห็นจากผูทรงคุณวุฒิมีตอองคประกอบของรูปแบบ

ภาษีเพื่อการศึกษาดานความถูกตอง..................................................... 217

44 แสดงคาความถี่รอยละความเห็นจากผูทรงคุณวุฒิมีตอองคประกอบของรูปแบบ

ภาษีเพื่อการศึกษาดานการนําไปใชประโยชน.......................................... 218

Page 16: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

1

บทที่ 1

บทนํา

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 บัญญัติความสําคัญของการจัดการศึกษา

โดยการมีสวนรวมจากหลายฝายในการจัดการศึกษา ตลอดจนภารกิจสําคัญของรัฐในการสงเสริมและ

พัฒนาการศึกษาของชาติไวหลายประการ อาทิ รัฐพึงจะตองจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานอยางมคุีณภาพไม

นอยกวา 12 ป ใหกับประชาชนอยางมีคุณภาพทั่วถึงโดยไมเก็บคาใชจายและจัดการศึกษาภาคบังคับ

9 ป รวมทั้งเปดโอกาสใหบุคคล ชุมชน สถาบันและองคกรเอกชนมีสิทธิเขารวมจัดการศึกษาไดในทุก

ระดับและประเภทการศึกษา ทั้งนี้ใหมีการระดมทรัพยากรดานบุคคลและงบประมาณการเงินเพื่อการ

ลงทุนจากรัฐ ครอบครัว ชุมชน สถาบันศาสนา องคกรเอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่นและ

ทรัพยากรจากตางประเทศ1 เพื่อนํามาใชจัดการศึกษาใหบรรลุเปาหมาย แตในชวงเวลาเดียวประเทศ

ไทยกําลังเผชิญกับปญหาวิกฤติในดานความไมเพียงพอของทรัพยากรและแหลงเงินทุนรวมทั้งความไมมี

ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชนสูงสุด สงผลใหการพัฒนาการศึกษา

ของประเทศไทยไมประสบความสําเร็จเทาที่ควร ในขณะที่ทั่วโลกตางใหความสําคัญตอการพัฒนา

การศึกษาเปนอยางมาก ดวยการกําหนดใหการศึกษาเปนกระบวนการสําคัญในการพัฒนาทรัพยากร

มนุษย ซึ่งเปนปจจัยพื้นฐานในการพัฒนาประเทศ ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง การลงทุน

ใหกับการศึกษาเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหมีประสิทธิภาพเปนปจจัยสําคัญที่สงผลใหประเทศที่

พัฒนาแลว มีบุคลากรที่มีความรูความสามารถปฏิบัติงานอยูในทุกภาคสวนของรัฐอยางพอเพียง

สามารถพัฒนาการผลิตภัณฑและอาชีพของตนรวมทั้งองคกรใหประสบความสําเร็จ บรรลุตาม

วัตถุประสงคของการจัดการศึกษา สรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ประชาชนมีความเปนอยูที่ดีและมี

ความสุข สังคมมีความมั่นคง การเมืองมีเสถียรภาพ สงผลตอการพัฒนาประเทศใหมีความเจริญ

ทัดเทียมกับอารยประเทศที่มีอัตราการแขงขันในดานเศรษฐกิจ และเทคโนโลยีในปจจุบัน แตประเทศ

ไทยยังไมสามารถปรับตัวใหทันตอการเปล่ียนแปลงที่กําลังเกิดข้ึนในยุคโลกาภิวัฒน โดยเฉพาะระบบ

การศึกษาของประเทศไทยยังไมสามารถผลิตบุคลากรที่สามารถตอบสนองตอการพัฒนาเศรษฐกิจและ

1“พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช พ.ศ.2542,” ราชกิจจานุเษกษา เลม 116, ตอนท่ี

74 ก. (19 สิงหาคม 2542) : 24

Page 17: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

2

สังคม ความขาดแคลนทรัพยากรบุคคลในสาขาวิชาเฉพาะเชน วิทยาศาสตร คณิตศาสตร ภาษาอังกฤษ

ซึ่งเปนปจจัยสําคัญสงผลกระทบตอคุณภาพของผูเรียน เพราะไมสามารถจัดการเรียนการสอนใหผูเรียน

คิดวิเคราะหและสังเคราะหไดอยางมีคุณภาพตามเปาประสงคนโยบายทางการศึกษาของชาติที่สงผลตอ

ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน มีระดับคุณภาพตํ่าลง เห็นไดจากผลทดสอบทางการศึกษา สํานักทดสอบทาง

การศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ในชวงป พ.ศ.2544 ถึง

พ.ศ.2549 3

ปญหาความขาดแคลนในดานทรัพยากรสนับสนุนเพื่อจัดการศึกษา ไดแก งบประมาณ

จํานวนครู และอ่ืน ๆ ในดานงบประมาณเพื่อการศึกษา การศึกษาไทยไดรับงบสนับสนุนจากรัฐไมนอย

กวาประเทศอื่น โดยปงบประมาณ พ.ศ.2550 ไทยต้ังงบไวที่รอยละ 21 ของประมาณทั้งหมดหรือ

ประมาณ 1 ใน 4 ของงบประมาณรวม หากเทียบกับผลผลิตมวลรวมประชาชาติ (GDP) จะอยูที่รอยละ

3.9 ซึ่งมากกวาประเทศในเอเชียที่ไดชื่อวาประสบความสําเร็จในการจัดการศึกษา เชน สิงคโปรลงทุน

ทางการศึกษาคิดเปนรอยละ 3.4 ของผลผลิตมวลรวมประชาชาติ (GDP) แตอันดับดานสมรรถทาง

การศึกษากลับสูงกวาประเทศไทยถึง 35 อันดับ (ประเทศไทยอันดับที่ 48 ประเทศสิงคโปร อันดับที่ 13)

ซึ่งสะทอนใหเห็นวา ประสิทธิภาพการใชเงินเพื่อพัฒนาการศึกษาของไทยคอนขางตํ่า ทั้งนี้อาจเปน

เพราะงบประมาณไมนอยกวารอยละ 70 จัดสรรไปในเร่ืองคาตอบแทนใชสอย ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มข้ึน

หลังจากลดลงมาชวงหนึ่ง เนื่องจากมีการสงเสริมใหครูมีวิทยฐานะเพิ่มข้ึน และการเพิ่มวิทยฐานะผูกพัน

กับการเพิ่มคาตอบแทนแตกลับไมสามารถเพิ่มสัมฤทธ์ิผลทางการทํางานได แมวางบประมาณที่ใชในแต

ละปมีจํานวนมาก แตโรงเรียนแตละโรงเรียนก็ยังประสบกับปญหาการขาดแคลนงบประมาณ จนเกิด

แนวปฏิบัติในการหาเงินนอกงบประมาณเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาในโรงเรียน ถือเปนภาระงาน

ของผูบริหาร มากกวาการใหความสําคัญกับการพัฒนาวิชาการ4 ซึ่งเปนปจจัยอีกปจจัยหนึ่งที่สงผลตอ

ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน มีระดับคุณภาพตํ่าลง ดังผลทดสอบทางการศึกษา สํานักทดสอบทางการศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ในชวงป พ.ศ.2544 - พ.ศ.2549

ขางตน และจากผลการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาในระดับนานาชาติของ (The Times Higher

Education Supplement : THES) ในป พ.ศ. 2549 ผลพบวาประเทศไทยไมติดอันดับ 1 ใน 100 ของ

มหาวิทยาลัย 520 แหงทั่วโลก5 จึงพบวาปจจุบันกลุมผูมีฐานะทางเศรษฐกิจในประเทศไทยตางสงบุตร

3 สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ, รายงานการสังเคราะห

สภาวการณและปจจัยที่สงผลตอคุณภาพการศึกษาไทย (กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากัด วี.ที.ซ.ี

คอมมิวนเิคช่ัน, 2550), 20.

4เร่ืองเดียวกนั, 69 - 70.

5เร่ืองเดียวกนั, 42.

Page 18: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

3

หลานไปศึกษาตอตางประเทศเพียงเพราะเชื่อในระบบการจัดการศึกษาของอารยประเทศสามารถสราง

บุคลากรไดอยางมีคุณภาพดีกวาการจัดการศึกษาของประเทศไทย เปนตัวบงช้ีหนึ่งที่แสดงใหเห็นไดวา

ระบบการศึกษาของประเทศไทยมีมาตรฐานดอยกวาระบบการจัดการศึกษาของอารยประเทศ

ซึ่งจะพบไดจากการที่กฎหมายรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 โดยมี

สาระสําคัญที่บัญญัติถึงการพัฒนาคุณภาพผูเรียน หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย วาดวยใน

สวนที่ 8 สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา มาตรา 49 บุคคลยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไมนอย

กวาสิบสองปที่รัฐจะตองจัดใหอยางทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย มาตรา 50 บุคคลยอมมี

เสรีภาพในทางวิชาการ การศึกษา การเรียนการสอน การวิจัยและการเผยแพรงานวิจัยตามหลักวิชาการ

ยอมไดรับความคุมครองและในหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐวาดวยในสวนที่ 4 แนวนโยบายดาน

ศาสนา สังคม การสาธารณสุข การศึกษาและวัฒนธรรม มาตรา 80 รัฐตองดําเนินการ 1) ใหการศึกษา

ปฐมวัยตองสงเคราะหและจัดสวัสดิการใหแกผูสูงอายุ ผูยากไร ผูพิการหรือทุพพลภาพและผูอยูใน

สภาวะยากลําบากใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึนและพึ่งพาตนเองได 2) เนนการสรางเสริมสุขภาพอันนําไปสู

สุขภาวะท่ียั่งยืนของประชาชน 3) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาในทุกระดับและทุก

รูปแบบใหสอดคลองกับความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม6

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มี

สาระบัญญัติทุกมาตราเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาอันสงผลตอการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยเฉพาะ

มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรูใหสถานศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการดังตอไปน้ี

1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดยคํานึงถึงความ

แตกตางระหวางบุคคล 2) ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณและการประยุกต

ความรูมาใชเพื่อปองกันและแกไขปญหา 3) จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริงฝกการ

ปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทําเปน รักการอานและเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง 4) จัดการเรียนรูโดยผสมผสาน

ระหวางความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝงคุณธรรม คานิยมที่ดีงามและ

คุณลักษณะอันพึงประสงคไวในทุกวิชา 5) สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ

สภาพแวดลอม ส่ือการเรียนและอํานวยความสะดวกเพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความรอบรู

รวมทั้งสามารถใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู ทั้งนี้ ผูสอนและผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอม

กันจากส่ือการเรียนการสอนและแหลงวิทยาการประเภทตาง ๆ 6) จัดการเรียนรูใหเกิดข้ึนทุกสถานท่ี ทุก

6สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

(กรุงเทพฯ : สํานักการพิมพ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, 2550), 33.

Page 19: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

4

เวลา มีการประสานความรวมมือกับบิดา มารดา ผูปกครองและบุคคลในชุมชนทุกฝายเพื่อรวมกัน

พัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ7

แมรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยและมีพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติดังกลาว

ขางตนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนยังคงตองไดรับการคุมครองและสงเสริมที่เหมาะสมจากรัฐอยางจริงจัง

สอดคลองกับการศึกษาของ วิทยากร เชียงกูล 8 ในรายงานสภาวะการศึกษาไทย ป พ.ศ. 2549 และ

พ.ศ. 2550 จะแกไขปญหาและปฏิรูปการศึกษายางไรเปนระบบองครวมไดอยางไร พบวา รัฐกําหนดให

ประชาชนเรียนฟรี 12 ป แตคาใชจายสวนหนึ่งในส่ีของคาใชจายที่ครัวเรือนรับภาระยังมี คาเลาเรียน อยู

จําแนกออกเปนคาเลาเรียนโรงเรียนรัฐรอยละ 10.1 และคาเลาเรียนโรงเรียนเอกชนรอยละ 15.3 สงผล

ใหเด็กและเยาวชนไทยไมไดเรียนจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน สวนใหญมีฐานะยากจน นักเรียนที่ออก

กลางคันมีเปนจํานวนมาก ปญหาหลักเปนเพราะเรียนฟรีไมจริง นอกจากนี้ ผูเรียนจํานวนหนึ่งมีหนาที่

ตองเล้ียงชีพเพื่อความอยูรอดของตนเองและครอบครัว เมื่อมาเรียนหนังสือทําใหตองเสียโอกาสในการ

หารายได เพราะตองใชเวลามาเรียนแทนที่จะประกอบอาชีพเพื่อยังชีพ และ ศักด์ิชัย นิรัญทวี9 ได

สังเคราะหสภาวการณและปจจัยที่สงผลตอคุณภาพการศึกษา พบวา ผูเรียนของประเทศไทยในทุก

ระดับตองพบกับการเปล่ียนแปลงทางสังคมที่มีลักษณะรุนแรงและมีทั้งความขาดและเกิน ที่ขาดคือขาด

แคลนความสุขความอบอุนทางใจ ขาดความอบอุนทางครอบครัว ขาดตัวแบบหรือผูชี้ในทางที่ถูกที่ควร

ในสวนที่มากเกินไปคือ มีตัวแบบที่ยั่วยุใหติดกับความฟุงเฟอ ฟุมเฟอย ตามอยางวัฒนธรรมบริโภคมาก

เกินไป มีแหลงหรือพื้นที่สําหรับมั่วสุม กระทํากิจกรรมในทางเสื่อมเสียมากยิ่งข้ึน ดังนั้นแมสังคมจะเปด

โอกาสใหเยาวชนที่ใฝรูใฝเรียนสามารถมีชองทางหาความรูเพิ่มเติมมากข้ึน แตส่ิงเหลานี้มีไมมากพอและ

ไมมีพลังพอที่จะดึงดูดเยาวชนสวนใหญใหหันกลับมาอยูกับแนวทางที่ถูกที่ควรไดโดยเฉพาะอยางยิ่งใน

ชุมชนนอกเขตเมือง หรือชานเมือง ซึ่งสงผลใหผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผูเรียนจากพื้นที่เหลานี้ลดลง10

7 “พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พทุธศักราช พ.ศ.2542,” ราชกิจจานุเษกษา เลม 116,

ตอนที่ 74 ก. (19 สิงหาคม 2542) : 14 – 15.

8สํานกังานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, รายงานการสังเคราะห

สภาวการณและปจจัยที่สงผลตอคุณภาพการศึกษาไทย (กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากัด วี.ที.ซ.ี

คอมมิวนเิคช่ัน, 2550), 20.

9เร่ืองเดียวกนั.

10อมรวิชช นาครทรรพ, “วิกฤติคุณภาพการศึกษาการ : บทวิเคราะหเพื่อหาทางออก

ประชุมสมัชชาคุณภาพการศึกษา,” วันที่ 23 - 24 พฤศจิกายน 2550 อิมแพค เมืองทองธานี, 38.

(เอกสารอัดสําเนา)

Page 20: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

5

และเมื่อพิจารณาในชวง 5 ปที่ผานมา (ปการศึกษา 2542 - 2546) พบวา อัตราการเขารับการเตรียม

ความพรอมของนักเรียนระดับกอนประถมศึกษามีแนวโนมลดลงโดยตลอด เฉล่ียรอยละ 2.3 ป จากรอย

ละ 96.8 ในปการศึกษา 2542 เปนรอยละ 87.7 ของประชากรอายุ 3 – 5 ป ในปการศึกษา 2546 ทั้งนี้

สาเหตุสวนหนึ่งอาจเปนผลมาจากการที่ภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า ในป 2542 อาจทําใหผูปกครองสงบุตร

หลานเขาเรียนนอยลง ขณะที่การศึกษาภาคบังคับคือระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนตน มี

แนวโนมเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่อง เฉล่ียรอยละ 0.4 ตอป จากรอยละ 96.2 ในปการศึกษา 2542 เปนรอยละ

97.8 ของประชากรกลุมอายุ 6 – 14 ป ในปการศึกษา 2546 แตยังไมสามารถเขาเรียนไดครบทุกคนโดย

อัตราการเรียนตอ (ป.6 และ ม.1) ปการศึกษา 2546 มีเพียงรอยละ 92.5 สวนอัตราการเขาเรียนในระดับ

มัธยมศึกษาตอนปลายมีแนวโนมเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่องต้ังแตปการศึกษา 2542 – 2545 จากรอยละ 55.3

ในปการศึกษา 2542 เปนรอยละ 60.1 ของประชากรกลุมอายุ 15 – 17 ป ในปการศึกษา 2545 และ

ลดลงในปการศึกษา 2546 คิดเปนรอยละ 1.6 จากปการศึกษา 2545

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา จากการที่กฎหมายรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 โดยมีสาระสําคัญที่

บัญญัติถึงการพัฒนาคุณภาพผูเรียน หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย วาดวยในสวนที่ 8 สิทธิ

และเสรีภาพในการศึกษา มาตรา 49 บุคคลยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไมนอยกวาสิบสองป

ที่รัฐจะตองจัดใหอยางทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย11 โดยรัฐอุดหนุนใหแกสถานศึกษาใน

รูปแบบของเงินอุดหนุนรายหัวแตความเปนจริงที่ปรากฏสถานศึกษาสวนมากยังตองหาวิธีการเก็บ

คาใชจายจากผูปกครอง โดยเปลี่ยนจากคําวาเงินบํารุงการศึกษาเปนการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา

และพัฒนา ในดานหองสมุด หองเรียนคอมพิวเตอร หองเรียนภาษาตางประเทศ และในดานอ่ืน ๆ ซึ่ง

บางสถานศึกษาตองขอรับบริจาคจากผูปกครอง และชุมชนใกลเคียงในรูปแบบของการจัดทอดผาปาเพือ่

การศึกษาโดยสถานศึกษาจะนํารายไดดังกลาวมาพัฒนาการศึกษาภายในสถานศึกษานั้น ๆ จากเหตุ

ดังกลาวนี้แสดงใหเห็นไดวา งบประมาณที่รัฐจัดใหมาเพื่อการศึกษาแกสถานศึกษาไมเพียงพอตอการ

บริหารจัดการเปนสาเหตุใหคุณภาพในการจัดการศึกษาไมดีพอ สงผลใหผูปกครองที่มีฐานะยากจนไม

สามารถสงบุตรหลานใหศึกษาตอเพื่อจบการศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานและในระดับอุดมศึกษา

ได ปญหาดังกลาวเปนปจจัยใหเกิดปญหาตาง ๆ ของสังคมตามมา เชน ปญหายาเสพติด ปญหาแหลง

มั่วสุมทางอบายมุขปญหาโสเภณีเด็ก ปญหาการกออาชญากรรม จะเห็นไดวาทรัพยากรดาน

งบประมาณเปนปจจัยหนึ่งที่สําคัญในการขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษา นับแตพระราชบัญญัติ

11สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

(กรุงเทพฯ : สํานักการพิมพ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, 2550), 33.

Page 21: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

6

การศึกษาพ.ศ.2542 มีผลใชบังคับมาจนถึงปจจุบันประมาณ 8 ปเศษ แตเปาหมายที่กําหนดจาก

กระบวนการดังกลาวยังไมเปนไปตามที่รัฐคาดหวังไว ซึ่งสงผลตอเสถียรภาพของรัฐบาลและของประเทศ

ไทย หากทรัพยากรมนุษยภายในประเทศไดรับการศึกษาที่ดีเพื่อพัฒนาใหมีความรูความสามารถ มี

อาชีพที่มั่นคง มีความเปนอยูที่ดีดังเชนประเทศที่พัฒนาแลวจะเกิดปญหาดังกลาวนอยกวาประเทศที่

ดอยพัฒนา จากปญหาดังกลาวขางตนช้ีใหเห็นถึงความจําเปนที่จะตองมีการศึกษาวิจัยเพื่อหาแนวทาง

ที่เหมาะสมในการระดมทรัพยากรเพื่อการพัฒนาการศึกษาของประเทศไทย ซึ่งการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษา เปนวิธีที่หนึ่งที่ในหลายประเทศที่พัฒนาแลวนํามาใชเพื่อการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา

และสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อ

การศึกษา มาตรา 58 (1) ใหรัฐและองคกรปกครองสวนทองถิ่นระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา โดยอาจ

จัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาไดตามความเหมาะสม ทั้งนี้ใหเปนไปตามที่กฎหมายกําหนดเปนการสงเสริม

นโยบายดานการปฏิรูปการศึกษาใหเกิดคุณภาพตอไป12

ในขณะที่ประเทศตาง ๆ ในโลกยุคปจจุบันไดใหความสําคัญตอการพัฒนาการศึกษาเปน

อยางมาก โดยกําหนดใหการศึกษาเปนกระบวนการสําคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ซึ่งเปน

ปจจัยพื้นฐานในการพัฒนาประเทศทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ประเทศไทยที่ไดให

ความสําคัญกับการพัฒนาการศึกษามาโดยตลอด โดยเห็นไดจากรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

พ.ศ.2540 และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ

พ.ศ.2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ตางใหความสําคัญของการศึกษา การมีสวนรวม

ของหลายฝายในการจัดการศึกษา ตลอดจนภารกิจสําคัญของรัฐในการสงเสริมและพัฒนาการศึกษา

ของชาติไวหลายประการ อาทิ รัฐพึงจะตองจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานอยางมีคุณภาพไมนอยกวา 12 ป

ใหกับประชาชนอยางทั่วถึงโดยไมคิดคาใชจายและจัดการศึกษาภาคบังคับ 9 ป รวมทั้งเปดโอกาสให

บุคคล ชุมชน สถาบันและองคกรเอกชนมีสิทธิเขารวมจัดการศึกษาไดในทุกระดับและประเภท

การศึกษา ทั้งนี้ใหมีการระดมทรัพยากรดานบุคคลและงบประมาณการเงินเพื่อการลงทุนจากรัฐ

ครอบครัว ชุมชน สถาบันศาสนา องคกรเอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่นและทรัพยากรจาก

ตางประเทศ เพื่อนํามาใชจัดการศึกษาใหบรรลุเปาหมาย นับแตนโยบายการปฏิรูปการศึกษาของ

ประเทศไทยป พ.ศ.2542 จนถึงปจจุบัน การพัฒนาทรัพยากรมนุษยไมเปนไปตามนโยบายดังกลาวแต

อยางใด ตามผลการสํารวจของสถาบันดานการพัฒนาจัดการนานาชาติ (International Institute for

Management Development : IMD) ซึ่งเปนองคกรระหวางประเทศที่ไดรับการยอมรับทั่วโลกและไดจัด

12“พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พทุธศักราช พ.ศ.2542,” ราชกิจจานุเษกษา เลม 116,

ตอนที่ 74 ก. (19 สิงหาคม 2542) : 33.

Page 22: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

7

อันดับความสามารถในการแขงขันของประเทศตาง ๆ ตอเนื่องมาทุกป โดยพิจารณาสมรรถนะทาง

เศรษฐกิจ ประสิทธิภาพของหนวยงานของรัฐ ประสิทธิภาพของภาคธุรกิจเอกชน ตลอดจนปจจัยพื้นฐาน

เชน การโทรคมนาคม การศึกษา การสาธารณสุข ไดจัดอันดับประเทศไทยในบรรดา 50 กวาประเทศท่ี

ถูกจัดอันดับใหอยูในระดับกลางและมีแนวโนมตํ่าลง โดยในป พ.ศ.2548 พ.ศ.2549 และ พ.ศ.2550

จากการจัดอันดับประเทศไทยรวงจาก 25 มาอยูที่ 29 และที่ 33 ตามลําดับ จากผลดังกลาวมาจาก

ปจจัยพื้นฐานโดยเฉพาะดานการจัดการศึกษาและการพัฒนาทางวิทยาศาสตร จากตัวบงชีห้ลายตัว เชน

ความสามารถของเด็กอายุ 15 ป ในประเทศไทยพบวาการอานและการตอบปญหาทางคณิตศาสตรหาก

เทียบกับประเทศอ่ืน ๆ พบความตางระหวางอัตราสวนจํานวนนักเรียนตอครู ความสามารถดาน

ภาษาตางประเทศของนักเรียน ความพรอมดานการสอนวิทยาศาสตรในโรงเรียน การลงทุนดานการวิจัย

และจํานวนนักวิจัยในภาคการผลิตตาง ๆ ตลอดจนอัตราสวนผูใหญวัยแรงงานที่ยังอานหนังสือไมคลอง

เปนตน ซึ่งในเร่ืองปจจัยพื้นฐานนี้ประเทศไทยอยูในอันดับกลุมทาย ๆ และมีผลที่ตํ่าลงมาเร่ือย ๆ จาก

อันดับที่ 39 ในป พ.ศ.2548 มาเปนอันดับที่ 42 ในป พ.ศ.2549 และในป พ.ศ.2550 นี้ ประเทศไทยถูก

จัดอันดับในเร่ืองปจจัยพื้นฐานดานดังกลาวมีผลตกลงมาอยูอันดับที่ 48 จากจํานวนทั้งหมด 55 ประเทศ

ปญหาของการวิจยั

หลังจากมีกฎหมายปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีผลบังคับใช ต้ังแต 21 สิงหาคม พ.ศ.2542 ระบบ

การศึกษาของประเทศไทยจึงไดเร่ิมพัฒนา แมจะพบปญหาในการดําเนินการซึ่งสงผลใหเกิดความไม

เขาใจและเปนอุปสรรคในการปฏิรูปการศึกษา สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาไดจัดทํารายงานการ

ติดตามและประเมินผลการปฏิรูปการศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 โดย

พิจารณาความกาวหนาและปญหาอุปสรรคใน 3 ดานคือ ดานโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา

ดานคุณภาพการศึกษา ดานประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดการศึกษา13 โดยมีผลออกมา

ดังนี้คือ

1. ดานโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ซึ่งแบงออกเปน 2 สวนคือ โอกาสและ

ความเสมอภาคทางการศึกษาในแตละระดับการศึกษาและการมีสวนรวมในการจัดการศึกษา ซึ่งพบวา

ทั้งสองสวนยังดําเนินการไดไมเต็มที่ โอกาสในการเขารับการศึกษาข้ันพื้นฐานเพิ่มข้ึน แตอัตราการออก

กลางคันก็ยังอยูในอัตราสูง เด็กพิการ เด็กดอยโอกาส และผูที่มีความสามารถพิเศษ ไดรับการดูแลและ

13สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ รายงานผลการติดตาม ผลการ

ดําเนนิงานตามยุทธศาสตร การปฏิรูปการศึกษา ตามมติคณะรัฐมนตรี (กรุงเทพฯ : บริษัท พริกหวาน

กราฟฟก จํากดั, 2548), 21 - 23.

Page 23: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

8

ใหความสําคัญมากข้ึน แตตองมีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ตองมีการวางแผนการ

ผลิตที่สอดคลองกับความตองการของสังคมและการพัฒนาประเทศ

2. ดานการขาดแคลนวัสดุอุปกรณการศึกษาและอาคารสถานที่ เปนเหตุใหการพัฒนา

คุณภาพการศึกษายังไมสัมฤทธิ์ผลเทาที่ควร เพราะไดพบวาผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของนักเรียนช้ัน

ประถมศึกษาปที่ 6 และช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 ในวิชาพื้นฐาน ไดแก คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาไทย

และภาษาอังกฤษ พบวาคะแนนเฉลี่ยตํ่ากวาเกณฑ14 รวมไปถึงความสามารถทางดานทักษะดานภาษา

การคิดคํานวณ ความสามารถเชิงวิเคราะห ครูผูสอนยังขาดความมั่นใจในการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการ

สอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ

3. ดานประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดการศึกษา พบวาการจัดโครงสรางและระบบ

บริหารงานสวนกลาง มีความกาวหนาในระดับปานกลาง เนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการ ไดปรับเปล่ียน

โครงสรางใหม เม่ือวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ.2546 สวนการแบงโครงสรางของเขตพื้นที่การศึกษา ทั้ง 175

เขตนั้น หากมองในเร่ืองของกฎหมายพบวามีความกาวหนาในเร่ืองของการกระจายอํานาจโดยเปนไป

ตามเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติที่วางไว แตในทางปฏิบัติแลว พบปญหาและ

อุปสรรคมาก โดยเฉพาะการจัดคนลงปฏิบัติงาน การเบิกจายงบประมาณ ความพรอมของอาคาร

สถานที่ สงผลใหเขตพื้นที่ยังไมสามารถปฏิบัติงานไดอยางเต็มที่ ระดับสถานศึกษานั้น สถานศึกษาข้ัน

พื้นฐาน ซึ่งมีฐานะเปนนิติบุคคลนั้น ยังเปนของใหม ผูบริหารสถานศึกษาสวนใหญ ยังขาดความรูความ

เขาใจในเร่ืองการเปนนิติบุคคล สําหรับระดับอุดมศึกษา ซึ่งมีความพยายามที่จะผลักดันใหเปน

สถาบันอุดมศึกษาในกํากับรัฐนั้น แตเร่ืองก็ยังอยูในระหวางการพิจารณาของคณะกรรมการกล่ันกรอง

คณะที่ 4 นอกจากนี้ ในสวนของการถายโอนภารกิจดานการศึกษา ไปยังองคกรปกครองสวนทองถิ่น ก็

ยังไมแลวเสร็จ การสนับสนุนภาคเอกชนเขามามีสวนรวมจัดการศึกษา กฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของรวมทั้ง

มาตรการสงเสริมการจัดการศึกษาของเอกชน ยังไมคอยปรากฏเปนรูปธรรม ดานการระดมทรัพยากร

เพื่อการศึกษา การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ก็ยังไมคอยมีการดําเนินการใด ใหเห็นเปนรูปเปนราง

เชนกัน15

14สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, กระทรวงการศึกษาธิการ, รายงานการสังเคราะห

สภาวการณและปจจัยที่สงผลตอคุณภาพการศึกษาไทย (กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากัด วี.ที.ซี.

คอมมิวนิเคช่ัน, 2550), 20.

15สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน, สํานักวจิยัและพัฒนาระบบงานบุคคล หลักการ

และแนวคิดในการกระจายอํานาจสูทองถิน่ (กรุงเทพฯ : กลุมโครงการกระจายอํานาจสูทองถิ่น, 2545),

3 – 7.

Page 24: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

9

4. ปญหาดานประสิทธิภาพของการจัดการงบประมาณและทรัพยากรเพื่อการศึกษา ในดาน

การจัดสรรงบประมาณรายหัวตอปของนักเรียนข้ันพื้นฐานที่แตกตางกัน ไดแก กอนประถมศึกษา 600

บาท ประถมศึกษา 1,100 บาท มัธยมศึกษาตอนตน 1,800 บาท และมัธยมศึกษาตอนปลาย 2,700

บาท เงินอุดหนุนดังกลาวนี้ เปนจํานวนเงินที่นอยและไมเพียงพอตอคาใชจายเพื่อการจัดการศึกษาและ

การดูแลนักเรียนไดอยางมีคุณภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับกอนประถมศึกษาและประถมศึกษา ทั้ง

โรงเรียนตองมีภาระในการใชจายเงินคาสาธารณูปโภคและคาดําเนินการอ่ืน ๆ ดวยงบประมาณที่ไม

เพียงพอ จึงทําใหโรงเรียนหลายแหงมีหนี้สินคางชําระ จึงตองขอบริจาคจากชุมชนในรูปของการ

ทอดผาปา เพื่อใหไดงบประมาณสนับสนุนในการบริหารจัดการโรงเรียน

การจัดสรรงบประมาณรายหัวนักเรียนตามจํานวนที่กลาวไวขางตนยังสะทอนใหเห็นวา

ระบบการศึกษาของไทยไมใหความสําคัญตอการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยไมได

กําหนดใหเปนการศึกษาภาคบังคับ อยางไรก็ตามกระทรวงศึกษาธิการ ควรมีการผลักดันเพื่อจัดสรร

งบประมาณรายหัวนักเรียนระดับการศึกษาภาคบังคับเพิ่มเติม เพื่อเนนคุณภาพนักเรียนต้ังแตระดับข้ัน

พื้นฐาน

สวนในดานการพิจารณางบประมาณชวยดานปจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจนขาดแคลนเพื่อ

เปนคาเส้ือผา คาพาหนะและคาเคร่ืองเขียนแบบเรียนมีความแตกตางกันมาก คือ ในระดับประถมศึกษา

460 บาทตอคนตอปจัดใหนักเรียนรอยละ 30 ในระดับมัธยมศึกษา 2,500 บาทตอคนตอป จัดใหนกัเรียน

รอยละ 20 จากจํานวนนักเรียนทั้งหมด

การจัดสรรงบประมาณใชวิธีการเฉลี่ยตามรายหัวนักเรียนเหมือนกันทั่วประเทศ โดยไมมีการ

จัดสรรเงินเพิ่มเติมพิเศษสําหรับพื้นที่ยากจนและอยูในสภาวะยากลําบาก ทําใหโรงเรียนสวนใหญที่

ต้ังอยูในทองถิ่นชนบท ยากจนและหางไกล ตองรับภาระในการจัดการศึกษาทามกลางความขาดแคลน

ทําใหเกิดความเหล่ือมลํ้าในดานคุณภาพการจัดการศึกษาระหวางโรงเรียนในเมืองกับโรงเรียนในชนบท

ทั้งนี้มีสาเหตุมาจากการจัดการงบประมาณท่ีเปนอํานาจการตัดสินใจจากสวนกลางทั้งส้ิน ซึ่ง

งบประมาณสวนใหญเปนงบลงทุน ประกอบดวย งบเงินเดือนประมาณรอยละ 83 และคาครุภัณฑที่ดิน

และส่ิงกอสรางอีกประมาณรอยละ 6 ที่เหลือเปนงบดําเนินการหรืองบพัฒนา ซึ่งมักเปนงบประมาณ

แบบแสดงรายการ (line item budgeting) โรงเรียนจึงมีโอกาสบริหารจัดการงบประมาณไดสอดคลอง

ความตองการจําเปนเพียงงบประมาณรายหัวนักเรียนเทานั้น นอกจากนี้ยังพบปญหาความลาชาของ

การจัดสรรงบประมาณหรือทรัพยากรที่ไมทันเปดภาคเรียน เชน หนังสือเรียน ตลอดจนนโยบายกําหนด

งบประมาณสาธารณูปโภคไมเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอน ICT เปนตน16

16ดรุณี จําปาทอง, “ระบบบริหารจัดการโรงเรียน : ความเขมแข็งของระบบการศึกษา,”

วารสารการศึกษาไทย 3 , 19 (กุมภาพันธ 2549) : 9 - 10.

Page 25: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

10

ความขาดแคลนของงบประมาณดานการศึกษาปรากฏชัดเจนในหลายกรณี จากการที่ตอง

ขอรับบริจาคอุปกรณทางการศึกษา ซึ่งเปนนโยบายของรัฐบาลจะสนับสนุนใหทุกโรงเรียนมีคอมพวิเตอร

ใช เมื่อปลายป พ.ศ.2547 รัฐบาลในขณะนั้นไดจัดงานการกุศลเพื่อรับบริจาคคอมพิวเตอรใหกับโรงเรียน

ที่ขาดแคลน โดยมีผูบริจาคจํานวนหนึ่งหมื่นเคร่ืองข้ึนไป17

ผลของการวิจัยเร่ืองการศึกษาปจจัยที่มีผลตอความสามารถในการคิดของนักเรียนใน

สถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามผลการประเมินของภายนอกสํานักงานรับรองมาตรฐาน

และประเมินคุณภาพการศึกษา (องคกรมหาชน) ในพื้นที่เขตตรวจราชการท่ี 11 และ14 มีภาพรวมเฉล่ีย

อยูในระดับดี โดยมีองคประกอบเดน ๆ ที่มีคาเฉลี่ยสูง คือองคประกอบดานโครงสราง องคประกอบดาน

ผลงาน องคประกอบดานรูปแบบและแบบแผนการปฏิบัติงานและองคประกอบดานยุทธศาสตรสําหรับ

องคประกอบที่ดอย มีคาเฉล่ียตํ่า คือ องคประกอบดานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและองคประกอบ

ดานงบประมาณ แตในดานงบประมาณที่ไมเพียงพอในโรงเรียนขนาดเล็กนั้น กลับมีตัวชี้วัดที่แสดงถึง

การใชงบประมาณอยางมีการวางแผนที่มุงผลงานมีคาเฉลี่ยของการดําเนินงานอยูในระดับสูง โดยมี

ปญหาและอุปสรรค ดังนี้

1. โรงเรียนขาดแคลนบุคลากรทั้งดานปริมาณและคุณภาพ คือความไมเพียงพอในดาน

จํานวนครูผูสอนรวมถึงการขาดแคลนครูที่มีความสามารถเฉพาะดานโดยเฉพาะดานคอมพิวเตอร ดาน

เทคโนโลยีที่ทันสมัย ดานศิลปะ ดนตรี กีฬาและอ่ืน ๆ

2. โรงเรียนขาดแคลนดานงบประมาณ ซึ่งไมเพียงพอตอการบริหารจัดการ แมวาไดพยายาม

ประสานขอรับการสนับสนุนจาก องคการบริหารสวนทองถิ่นและชุมชน แลวก็ตาม

3. โรงเรียนขาดแคลน ส่ือ วัสดุ อุปกรณ และแหลงเรียนรูที่เหมาะสม ทําใหไมสามารถ

ดําเนินการพัฒนาผูเรียนใหเต็มตามศักยภาพไดอยางมีประสิทธิภาพ

4. โรงเรียนขนาดเล็กจะอยูในชุมชนที่มีความดอยทางเศรษฐกิจ ผูปกครอง บิดา มารดา มัก

ทิ้งครอบครัวไปหางานทํายังถิ่นอ่ืน นักเรียนอาศัยอยูกับคนชรา หรืออาศัยอยูรวมพี่นองดูแลตนเองขาด

ผูปกครอง มีผลตอจิตใจของผูเรียน18

ปญหาคุณภาพครูสงผลโดยตรงตอการพัฒนาคุณภาพนักเรียน เพราะครูเปนบุคคลที่มี

หนาที่รับผิดชอบการพัฒนาคุณภาพผูเรียนที่สําคัญ การปฏิรูปการศึกษาจะลมเหลวโดยส้ินเชิง หากไมมี

การปฏิรูปครูอยางเปนระบบ เพราะครูเปนดานหนาและกลไกสําคัญในการพัฒนากระบวนการเรียนรูให

เด็กไทย เกง ดี มีความสุข เพื่อจะไดเปนทรัพยากรที่ดีมีคุณภาพของประเทศ ในภาวะปจจุบันวิชาชีพครู

17มติชน, 19 ตุลาคม 2547.

18ธรรมเกียรติ กนัอริ, รายงานสภาวะการศึกษาไทย : พลิกสถานการณบนพืน้ฐานกฎหมาย

ปฏิรูปการศึกษา (กรุงเทพฯ : ชวนพมิพ, 2544), 72 - 78.

Page 26: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

11

ไดตกอยูในภาวะวิกฤตมีสภาพปญหาหลายประการ เชน มีครูไกลปนเที่ยงจํานวนมาก อยูในชนบท

หางไกลในโรงเรียนขนาดเล็กที่มีนักเรียนตํ่ากวา 300 คน รูสึกดอยและตกขอบในการปฏิรูป ตกเปน

เหยื่อของการอบรมเชิงพาณิชย ครูจํานวนหนึ่งหมดกําลังใจในการปฏิบัติงาน ขอยื่นลาออกหรือเกษียณ

กอนกําหนดเพราะเบ่ือหนายชีวิตครูมากข้ึน ภาวะที่สังคมไทยเผชิญวิกฤติปญหาคุณภาพการศึกษา

หลายฝายก็มองวาคุณภาพครูจะเปนปจจัยสําคัญที่จะกอบกูคุณภาพการศึกษาใหดีข้ึน เพราะเปนผูที่

ขับเคล่ือนการจัดการเรียนรูและการพัฒนาคุณภาพผูเรียนโดยตรง แตผลผลิตของระบบการศึกษาใน

ปจจุบันกลับสะทอนถึงคุณภาพครูที่ยังตองพัฒนา นอกจากการพัฒนาคุณภาพครูแลวบุคลากรทางการ

ศึกษา ไดแก ศึกษานิเทศก ผูบริหารสถานศึกษาและบุคลากรอื่นที่มีบทบาทสนับสนุนการจัดการศึกษา

ตองมีสวนรวมในการปฏิรูปการศึกษาไปพรอมกัน โดยที่ปญหาสําคัญก็คือ การขาดงบประมาณในการ

พัฒนาครู ทําใหการดําเนินงานพัฒนาครูทําไดไมทั่วถึง และยังไมสามารถจัดต้ังกองทุนเพื่อการพัฒนา

ครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อดําเนินการเร่ืองคูปองวิชาการใหเปนเคร่ืองมือในการพัฒนาครูได19

ปญหาสําคัญที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาในปจจุบัน ประกอบดวยเร่ืองการขาดแคลน

งบประมาณที่จะนํามาพัฒนาคุณภาพบุคลากรที่เกี่ยวของกับการศึกษาจึงสงผลกระทบตอระบบการ

เรียนการสอนที่ผานมาโดยตลอด จึงไดมีแนวคิดที่จะสงเสริมใหครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคน

ไดรับการพัฒนาอยางเปนระบบตอเนื่องและทั่วถึงทั้งภาครัฐ เอกชนและทุกสังกัดที่เกี่ยวของ ใหมี

คุณภาพทั้งดานความรูและความสามารถในการจัดการเรียนรู โดยจัดต้ังกองทุนเพื่อการพัฒนาครูและ

บุคลากรทางการศึกษา เพื่อดําเนินการเร่ืองคูปองวิชาการใหเปนเคร่ืองมือในการพัฒนาการครูไดและ

พัฒนาระบบคูปองวิชาการใหนําไปสูการปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ20 ดวยเหตุผลดังกลาวมา นับได

วาการจัดการดานทรัพยากรและดานงบประมาณจึงมีความสําคัญอยางยิ่งตอการจัดการศึกษาใหมี

คุณภาพทั้งนี้ตองครอบคลุมทั่วถึงทุกสวนทุกฝายในระบบการจัดการศึกษา

ในแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ ฉบับที่ (พ.ศ.2545 – พ.ศ.2559) ไดมีการกําหนด

แนวนโยบายการจัดระบบทรัพยากรและการลงทุนทางการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อ

พัฒนาคนและสังคมไทยไว โดยมีเปาหมาย ดังนี้ 1) ทุกสวนของสังคมทั้งในประเทศและตางประเทศมี

สวนรวมระดมทุนเพื่อการเรียนรูของคนไทยทุกคน 2) เปดโอกาสใหภาคเอกชนเขารวมในการรวมลงทุน

จัดการดานการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ในระดับที่เอกชนมีศักยภาพในการจัดมากข้ึน 3) มี

19อมรวิชช นาครทรรพ, “วิกฤติคุณภาพการศึกษาการ : บทวิเคราะหเพื่อหาทางออก ประชุม

สมัชชาคุณภาพการศึกษา,” วันที่ 23 - 24 พฤศจิกายน 2550 อิมแพค เมืองทองธานี, 8 - 13.

(เอกสารอัดสําเนา)

20เร่ืองเดียวกนั, 13 - 14.

Page 27: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

12

การจัดสรรทรัพยากรจากการรวมลงทุนของทุกสวนในสังคมอยางมีประสิทธิภาพ มีความหลากหลาย

และสอดคลองกับกลุมเปาหมายตาง ๆ

ทั้งนี้ ไดกําหนดกรอบการดําเนินการไว ดังนี้ 1) ระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการ

จัดการดานการศึกษาศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมอยางพอเพียง 2) จัดระบบและวิธีการจัดสรร

ทรัพยากรเพื่อการศึกษาศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมที่สรางความเสมอภาคเปนธรรม 3) จัดระบบการ

บริหารและการใชทรัพยากรเพื่อการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมตามโครงสรางการกระจาย

อํานาจ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการใชทรัพยากร 4) จัดระบบการติดตาม ตรวจสอบ

และประเมินผลการใชทรัพยากรของสถานศึกษา เพื่อประสิทธิภาพ ความโปรงใสและความรับผิดชอบ

ที่ตรวจสอบได21

นอกจากนี้ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 ในขอที่รัฐพึงจะตอง

จัดการศึกษาข้ันพื้นฐานอยางมีคุณภาพไมนอยกวา 12 ป ใหกับประชาชนอยางทั่วถึงโดยไมคิดคาใชจาย

และจัดการศึกษาภาคบังคับ 9 ป นั้นจําเปนตองใชงบประมาณจํานวนมาก ประกอบกับนโยบายของ

รัฐบาลที่จะเรงสรางสภาพแวดลอม ที่เอ้ืออํานวยตอการเรียนรู ในระบบและนอกระบบ ในหองเรียนและ

นอกหองเรียน เพื่อใหสังคมไทย เปนสังคมแหงการเรียนรู ที่ไมหยุดนิ่ง ในการพัฒนาความรูและเปน

สังคมที่ประชาชนมีความสุข สนุกสนานกับการหาประสบการณ และความรูใหม ๆ โดยที่รัฐบาลจะ

รวมมือกับทุกฝาย เพื่อสรางแหลงบริการองคความรู ใหกระจายไปทั่วทุกภูมิภาคของประเทศอยาง

สอดคลองกับลักษณะเฉพาะของทองถิ่น อาทิ ระบบหองสมุดสมัยใหมหรืออุทยานการเรียนรู พิพิธภัณฑ

เพื่อการเรียนรูแหงชาติ ศูนยสรางสรรคงานออกแบบ ศูนยพัฒนาดานกีฬา ดนตรีศิลปะศูนยบําบัดและ

พัฒนาศักยภาพ ของบุคคลบกพรองทางการเรียนรู (ออทิสติก)และผูดอย โอกาสอ่ืน ๆ ศูนยการเรียนรู

ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร รวมทั้งจะดําเนินการ เชื่อมเครือขายความรูของทุกโรงเรียนเขา

สูเครือขายอินเทอรเน็ต ทั้งนี้ รัฐบาลจะพิจารณา สิทธิประโยชนทางภาษีอยางเต็มที่ ใหแกภาคเอกชน ที่

เขารวมโครงการเหลานี้ 22 การกําหนดแผนการระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการจัดการดาน

การศึกษา ตามแผนการศึกษาแหงชาติดังกลาวนั้น นับวาเปนหลักการสําคัญที่ตองดําเนินไปตามกรอบที่

กําหนดไว เพราะหากพิจารณาจากสถิติขอมูลทางการศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการสถานศึกษา

ข้ันพื้นฐาน ในปการศึกษา พ.ศ. 2547 ดังนี้

21สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, แผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ.2545 - 2559)

: ฉบับสรุป, พิมพคร้ังที่ 2 (กรุงเทพฯ : บริษัท พริกหวาน จํากัด, 2545), 30 - 31.

22สํานักงานปฏิรูปการศึกษา (องคกรมหาชน), เสนทางปฏิรูปการศึกษา (กรุงเทพฯ :

สํานักงานปฏิรูปการศึกษา, 2546), 153 - 155.

Page 28: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

13

ขอมูลพื้นฐานทางการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ปการศึกษา

พ.ศ.2547 โรงเรียน (รวมโรงเรียนหลักและโรงเรียนสาขา) จํานวน 32,413 โรงเรียน มีหองเรียนทั้งหมด

จํานวน 363,995 หอง นักเรียนจํานวน 8,823,849 คน นักเรียนดอยโอกาสทุกประเภทจํานวน

2,017,713 คน นักเรียนขาดแคลนเคร่ืองเขียนจํานวน 3,422,692 คน นักเรียนขาดแคลนเคร่ืองแบบ

นักเรียนจํานวน 3,530,138 คน นักเรียนขาดแคลนแบบเรียนจํานวน 3,521,872 คน นักเรียนขาดแคลน

อาหารกลางวันจํานวน 3,520,207 คน นักเรียนจบช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 จํานวน 656,867 คน นักเรียน

จบชั้นมะยมศึกษาปที่ 6 จํานวน 312,495 คน ขาราชการครูสายบริหารจํานวน 31,271 คนและ

ขาราชการครูสายผูสอนจํานวน 387,609 คน 23

จากสถิติดังกลาว เมื่อเปรียบเทียบดานจํานวนบุคลากรครูที่รวมสายผูสอนแลวตอจํานวน

นักเรียนอยูที่ 22 ตอ 1 แตปญหาที่ขาดแคลนครูที่แทจริงข้ึนอยูกับจํานวนครูและนักเรียนมิอาจจะเฉล่ีย

ได เพราะแตละโรงเรียนมีจํานวนครูสอนและนักเรียนไมเทากัน ประกอบกับการสอนแยกรายวิชา ทําให

โรงเรียนจํานวนไมนอยขาดแคลนบุคลากรครู ซึ่งก็มีการแกปญหาดวยการจางครูสอนในวิชาที่ขาด

แคลน เปนครูอัตราจาง

ในดานนักเรียนดอยโอกาสทุกประเภทที่มีมากกวาสองลานคน และนักเรียนขาดแคลนไมวา

จะเปนเครื่องเขียน เคร่ืองแบบนักเรียน แบบเรียนและอาหารกลางวัน ซึ่งแตละดานมีจํานวนนักเรียน

ขาดแคลนรวมมากกวา3 ลานคนนั้น ขอนี้นับเปนปญหาสําคัญที่รัฐจะตองจัดงบประมาณไปชวยเหลือ

นอกจากนี้ยังมีสถิติเกี่ยวกับจํานวนนักเรียนที่ออกกลางคัน ปการศึกษา พ.ศ.2546 แยกตาม

ระดับชั้น ดังนี้ ระดับชั้นประถมศึกษา จํานวนนักเรียนตนป 4,575,068 คน นักเรียนที่ออกกลางคัน

23,292 คน คิดเปนรอยละ 0.51 ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนตน จํานวนนักเรียนตนป2,182,669 คน

นักเรียนที่ออกกลางคัน 31,690 คน คิดเปนรอยละ 1.45 และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือปวช.

จํานวนนักเรียนตนป 978,847 คน นักเรียนที่ออกกลางคัน 68,524 คน คิดเปนรอยละ 1.3824

สาเหตุสําคัญของการออกกลางคัน เชน ฐานะยากจน อพยพตามผูปกครองและหาเลี้ยง

ครอบครัว ซึ่งเกี่ยวของกับนักเรียนในกลุมดอยโอกาสและขาดแคลน ขอนี้นับเปนอีกปญหาหนึง่ทีรั่ฐตอง

ใหความสําคัญในการชวยเหลือนักเรียนเหลานั้นใหไดเรียนตอจนจบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน แต

งบประมาณดานการศึกษาในระยะเวลาที่ผานมาต้ังแตป พ.ศ.2541 - พ.ศ.2546 ที่เฉล่ียอยูในระดับ

23สํานักงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน, สถิติขอมูลทางการศึกษา ปการศึกษา

2547 (กรุงเทพฯ : ดอนเมืองปร้ินต้ิง, 2548), 2.

24เร่ืองเดียวกัน, 16.

Page 29: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

14

รอยละ 21 - 25 ของงบประมาณทั้งหมด ก็ยังไมเพียงพอที่จะทําใหนักเรียนในระดับการศึกษาข้ัน

พื้นฐานไดรับโอกาสในดานการศึกษาอยางทั่วถึง

คารอยละของงบประมาณรายจายดานการศึกษากับงบประมาณทั้งหมดและคารอยละของ

งบประมาณดานการ ศึกษากับผ ลิตภัณฑมวลรวมในประ เทศ ในระหว า งป งบประมาณ

พ.ศ. 2545 - พ.ศ.2549 งบประมาณ ในป พ.ศ.2545 งบประมาณรายจายดานการศึกษา 222,989.80

บาท งบประมาณรายจายทั้งหมด1,023,000.00 บาท ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP)

5,430,500.00 บาท งบประมาณดานการศึกษาตองบประมาณของประเทศคิดเปนรอยละ 21.8

งบประมาณ ในปพ.ศ.2546 งบประมาณรายจายดานการศึกษา 235,444.40 บาท งบประมาณรายจาย

ทั้งหมด 999,900.00 บาท ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) 5,799,700.00 บาท งบประมาณ

ดานการศึกษาตองบประมาณของประเทศคิดเปนรอยละ 23.5 งบประมาณในป พ.ศ. 2547

251,301.00 บาท งบประมาณรายจายทั้งหมด 1,028,000.00 บาท ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ

(GDP) 6,476,100.00 บาท งบประมาณดานการศึกษาตองบประมาณของประเทศคิดเปนรอยละ 24.4

งบประมาณในป พ.ศ.2548 งบประมาณรายจายดานการศึกษา238,513.30 บาท งบประมาณรายจาย

ทั้งหมด 1,250,000.00 บาท ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) 7,195,000.00 บาท

งบประมาณดานการศึกษาตองบประมาณของประเทศคิดเปนรอยละ 19.1 และงบประมาณ ในป

พ .ศ .2549 งบประมาณรายจายดานการศึกษา265,748.90 บาท งบประมาณรายจายทั้งหมด

1,360,000.00 บาท ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) 7,878,500.00 บาท งบประมาณดาน

การศึกษาตองบประมาณของประเทศคิดเปนรอยละ 19.525

ในการจัดสรรงบประมาณดานการศึกษาเพื่อแกไขปญหาตาง ๆ ใหครอบคลุมนั้นจําเปนตอง

ใชงบประมาณมากกวาที่มีในปจจุบัน แตปญหากลับอยูที่วาภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทย ในชวงที่

ประกาศใชพระราชบัญญัติดังกลาว ไมเอ้ือตอการนําแนวนโยบายไปสูการปฏิบัติเพื่อใหบรรลุ

วัตถุประสงคได เนื่องจากการดําเนินการดังกลาวจําตองอาศัยทรัพยากรตาง ๆ เปนจํานวนมาก ซึ่ง

หมายรวมทั้งทรัพยากรดานการเงิน (financial resources) และทรัพยากรที่มิใชทรัพยากรดานการเงิน

(non-financial resources) ดังนั้น ประเด็นจึงตองพิจารณาวาที่รัฐบาลจะระดมทรัพยากรมาใชเพื่อจัด

การศึกษาไดอยางใด โดยทั่วไปแลว แหลงของการสะสมทุน (sources of capital accumulation) มา

จาก 2 แหลงใหญ ไดแก แหลงทุนภายในประเทศ และแหลงทุนจากตางประเทศ สําหรับการจัด

การศึกษานั้น กลาวไดวา การระดมทุนจากตางประเทศอาจทําไดในกรอบที่จํากัด โดยสวนใหญอาจอยู

25สํานักงบประมาณ สํานักนายกรัฐมนตรี, “รายงานงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2545

-2549” และ”GDP รายงานงบประมาณประจําปงบประมาณ 2545 – 2549”, 2549.

Page 30: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

15

ในรูปของการขอรับเงินชวยเหลือจากตางประเทศ (foreign aid) ทั้งในลักษณะของเงินใหเปลา (grant)

หรือเงินกู (loan) สวนการเปดเสรีใหชาวตางประเทศมาลงทุนดานอุตสาหกรรมการศึกษาโดยตรง

(foreign investment) นั้นอาจเปนอีกชองทางในการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา แตอาจไมเปนที่นิยม

แพรหลายสําหรับนักลงทุน เนื่องจากอัตราคาตอบแทนในการลงทุนคอนขางตํ่า หากเปรียบเทียบกับการ

ลงทุนในอุตสาหกรรมดานอ่ืน ๆ ดังนั้น การระดมทรัพยากรเพื่อจัดการศึกษา จึงควรเนนที่แหลงทุน

ภายในประเทศเปนสําคัญ

ในการระดมทุนจากแหลงภายในประเทศนั้น รัฐบาลสามารถดําเนินการระดมทุนเพื่อการจัด

การศึกษาไดโดยผานระบบภาษีอากร ดวยการจัดเก็บภาษีอากรโดยตรง ซึ่งถือไดวาเปนการระดมเงิน

จากประชาชนเพื่อลงทุนดานการศึกษาแบบทางออม ทั้งนี้ รูปแบบของการจัดเก็บภาษีโดยตรงนั้นอาจ

ทําในลักษณะของการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาโดยเฉพาะ (education tax) ซึ่งประเทศไทยเคยเก็บ

ภาษีเชนนี้แลวในอดีต แตตอมาไดเปล่ียนรูปแบบไป โดยเปลี่ยนเปนรูปแบบของการจัดเก็บภาษีตาม

ประเภทตาง ๆ ที่จัดเก็บอยูในปจจุบัน แลวกันรายไดจากภาษีบางประเภทมาใชเพื่อการศึกษา

(earmarked tax) รวมทั้งพัฒนาระบบการจัดเก็บภาษีอากรประเภทตาง ๆ ใหมีประสิทธิภาพมากข้ึน

เพื่อนํามาซ่ึงรายไดของรัฐอยางเต็มจํานวน นอกจากนี้แลว การเพิ่มประเภทของภาษีที่จัดเก็บอยูใน

ปจจุบัน อาทิ ภาษีมรดกหรือภาษีที่ดินในอัตราที่สูงสําหรับที่ดินวางเปลา อาจเปนอีกทางหนึ่งในการเพิม่

รายไดเพื่อนําไปใชเพื่อการศึกษาตอไป ซึ่งในการใชมาตรการรูปแบบเหลานี้ ถือเปนการระดมเงินออม

โดยตรงจากประชาชน เพื่อที่รัฐจะไดนําไปใชในการจัดการศึกษา ที่ทุกคนจะไดรับประโยชนตอบแทน

กลับคืนในรูปของการรับการศึกษาของลูกหลานโดยไมตองเสียคาใชจายในการระดมทรัพยากรเพื่อ

การศึกษาดวยการจัดเก็บภาษีโดยตรงดังที่กลาวไวนั้น ประเด็นอันพึงพิจารณาเพิ่มเติมไดแก ประเด็น

เกี่ยวกับหลักเกณฑในการจัดเก็บภาษีอากรในลักษณะดังกลาว ประเด็นในการกําหนดผูที่ควร

รับผิดชอบภาระตนทุนของการจัดการศึกษาและควรรับผิดชอบมากนอยเพียงใด ซึ่งหากคํานึงถึง

ผลประโยชนที่ผูมีสวนไดสวนเสียจะไดรับในการจัดบริการการศึกษาของรัฐแลว ประเด็นตามมาซึ่งอาจ

นํามาถกเถียงกันเห็นจะไดแกประเด็นที่วาผูมีสวนไดสวนเสียจะมีกําลังความสามารถในการจายภาษีนั้น

มากนอยเพียงใดและประเด็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากรซึ่งหลักการทั่วไปในการจัดเก็บภาษีที่ดี

4 ประการ ตามทฤษฎีของ อดัม สมิธ (Adam Smith) ไดแก

1. หลักความเปนธรรม (equity) หมายถึง ประชาชนทุกคนในแตละประเทศควรจะตอง

เสียสละรายได หรือผลประโยชนทางเศรษฐกิจของตน โดยการเสียภาษีตามสวนของฐานะและ

ความสามารถในการหารายได เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของรัฐ ทั้งนี้เพราะแตละคนตางไดรับ

ประโยชนและการคุมครองจากรัฐ

Page 31: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

16

2. หลักของความแนนอน (certainty) หมายถึง ภาษีที่ประชาชนแตละคนจะตองเสียนั้น

จะตองมีความแนนอน ในลักษณะและรูปแบบของภาษีตลอดจนจํานวนที่จะตองเสียภาษี จะตองเปนที่

ชัดแจงแกผูเสียภาษีทุกคน

3. หลักของความสะดวก (convenience) หมายถึง การเก็บภาษีทุกชนิดควรจะตองจัดเก็บ

ตามเวลา สถานที่ที่ผูเสียภาษีสะดวกและจะตองอํานวยความสะดวกในการเสียภาษีแกผูเสียภาษีดวย

4. หลักของความประหยัด (economy) หมายถึง ภาษีทุกชนิดที่จัดเก็บนั้น ควรจะตองเปน

ภาระแกผูเสียภาษีนอยที่สุด แตยังผลใหรัฐบาลไดรับรายไดมากที่สุดเทาที่จะทําได

จากแนวคิดของ อดัม สมิธ (Adam Smith) ที่เสนอไวขางตน สรุปไดวา การเก็บภาษีที่ดี

จะตองมีความแนนอนแกผูเสียภาษีทุกคน ภาษีทุกประเภทที่จะจัดเก็บจะตองเปนที่ชัดเจนในเร่ืองฐาน

ภาษี อัตราภาษี ตลอดจนกําหนดระยะเวลาในการเสียภาษี รวมทั้งยังตองเนนถึงความประหยัดใหกับ

ผูเสียภาษีอีกดวย นอกจากนั้นการจัดเก็บภาษีจะตองทําใหเกิดความเสมอภาคและเปนธรรมในสังคม

ดวย ซึ่งถือวาเปนหัวใจของระบบภาษีที่ดี26

นอกจากนี้ยังมีทฤษฎีการภาษีอากรอ่ืน ๆ อันมีหลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษี

อากร (efficiency criteria) ซึ่งเปนระบบภาษีอากรที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับประเทศโดย

สวนรวม รวม 6 หลักเกณฑ ตามที่รังสรรค ธนะพรพันธุ ไดเสนอไว คือ 1) หลักความเปนธรรม

(equity) 2) หลักความเปนกลาง (neutrality) 3) หลักความแนนอน (certainty) 4) หลักความประจักษ

แจง (evidence) 5) หลักประสิทธิภาพในการบริหาร (administrative efficiency) 6) หลักผลการจํากัด

รายจายสุทธิ (net expenditure restraining effect) 27

จากปญหาความไมเพียงพอของทรัพยากรที่ตองใชในการจัดการศึกษา ความจํากัดของ

แหลงที่มาของเงินทุน ความไมสามารถในการบริหารจัดการทรัพยากรใหเกิดประสิทธิภาพและประโยชน

สูงสุด ยังผลใหการพัฒนาดานการศึกษาของประเทศไมประสบผลสําเร็จเทาที่ควร ซึ่งปญหาดังกลาวได

ชี้ใหเห็นถึงความจําเปนในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับแนวทางการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา เพื่อ

นํามาใชในการดําเนินการปฏิรูปการศึกษาตอไป ในขณะที่การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา เปนมาตรการ

หนึ่งในการระดมเงินมาใชในการศึกษา ทั้งนี้ตามที่พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542

มาตรา 58 (1) ไดเปดแนวทางในการจัดเก็บภาษีนี้ไว โดยบัญญัติใหรัฐและองคกรปกครองสวนทองถิ่น

สามารถจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาไดตามความเหมาะสม สําหรับประเทศไทยแลว การพิจารณาจัดเกบ็

26เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม, การคลังวาดวยการจัดสรรและการกระจาย (กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2541), 120 - 145.

27รังสรรค ธนะพรพันธุ, ทฤษฎีการภาษีอากร (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเคล็ดไทย, 2516),

41 - 50.

Page 32: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

17

ภาษีเพื่อการศึกษามิใชเร่ืองใหมแตประการใด เนื่องจากไดเคยมีมาตรการในการเก็บภาษีเพื่อการศึกษา

มาแลวในอดีต แตไดมีการยกเลิกการจัดเก็บไป แนวคิดที่สนับสนุนการจัดเก็บภาษีทางการศึกษา คือ

ประชาชนควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนคาใชจายในการจัดการศึกษาของรัฐ โดยผานระบบภาษี

ทางการศึกษาโดยตรงและการดําเนินการดังกลาวควรเปนภาระของทองถิ่นในการจัดเก็บและนาํเงนิภาษี

ที่เก็บไดไปใชรวมกับเงินงบประมาณที่ไดรับการจัดสรรจากสวนกลาง นอกจากนั้นแลวอาจพิจารณา

จัดเก็บเฉพาะประชาชนหรือผูปกครองที่มีบุตรหลานอยูในวัยเรียนเพื่อมิใหเปนภาระแกประชาชนทั่วไป

ซึ่งแนวคิดนี้สอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ที่กําหนดใหชุมชนมีสวนรวม

โดยตรงในการจัดการศึกษาในรูปของการรวมเปนกรรมการสถานศึกษา กรรมการเขตพื้นที่การศึกษา

เปนตน ทําใหพิจารณาตอไปไดวา หากมีการกําหนดใหจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาซ่ึงจะเปนการจัดเก็บ

ภาษีประเภทหนึ่งของภาษีทองถิ่นที่ประชาชนไดรับผลกระทบมากท่ีสุด คาดไดวาประชาชนในทองถิ่น

จะใหความสนใจและติดตามกํากับการใชจายเงินภาษีนี้ใหเกิดประโยชนตอการจัดการศึกษาของทองถิ่น

ตนมากที่สุด ดวยการกําหนดเปนรูปแบบของคณะกรรมการบริหารหรือในรูปแบบของการดําเนินการ

โดยมีผูแทนของชุมชนที่เขารวมเปนคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐานและคณะกรรมการ

เขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง

วัตถุประสงคของการวิจยั

เพื่อทราบรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทย

ขอคําถามของการวิจัย

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทยที่เหมาะสมควรมีรูปแบบอยางไร

กรอบแนวคิดของการวิจยั ในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยไดศึกษาวิจัยโดยไดประมวลแนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบ การ

จัดเก็บภาษี ทรัพยากรเพื่อการจัดการศึกษา สาระของกฎหมายและงานวิจัยที่เกี่ยวของ สรุปเปนกรอบ

ความคิดเพื่อการเสนอรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา ดังนี้

1. หลักและเกณฑการจัดเก็บภาษี ตามแนวคิดของ อดัม สมิธ (Adam Smith) ที่เสนอ

ไวสรุปวา การเก็บภาษีที่ดีตองความแนนอน ภาษีทุกประเภทตองเปนที่ชัดเจนในเร่ืองฐานภาษี อัตรา

ภาษี ตลอดจนระยะเวลาในการเสียภาษี รวมทั้งคํานึงถึงความประหยัด นอกจากนั้นการจัดเก็บภาษี

ตองเสมอภาคและเปนธรรมในสังคม จึงถือไดวาเปนหัวใจของระบบภาษีที่ดี28 งานวิจัยของ

28เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม, การคลังวาดวยการจัดสรรและการกระจาย (กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2541), 120 - 145.

Page 33: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

18

แคทรียา โสภา เร่ือง อุปสรรคสําคัญของการใชบังคับกฎหมายภาษีอากรของไทย29 และรังสรรค

ธนะพรพันธุ30 ที่กลาวถึงหลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากรไว 6 ประการ คือ 1) หลักความ

เปนธรรม 2) หลักความเปนกลาง 3) หลักความแนนอน 4) หลักความประจักษแจง 5) หลัก

ประสิทธิภาพในการบริหารและ 6) หลักผลการจํากัดรายจายสุทธิ

2. การจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ซึ่งมีสาระสําคัญ

เกี่ยวของกับมาตรการดานการจัดสรรเงินอุดหนุนเพื่อการศึกษาและที่เกี่ยวของกับภาษี ไดแก หมวด 2

สิทธิและหนาที่ทางการศึกษา ที่ไดกลาวถึงการจัดการศึกษาตองจัดใหบุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกัน

ในการรับการศึกษาข้ันพื้นฐานไมนอยกวาสิบสองป โดยรัฐตองจัดใหอยางทั่วถึง มีคุณภาพและไมเก็บ

คาใชจาย ครอบคุลมถึงผูมีความบกพรองทางรางกาย ผูพิการ นอกจากนั้น บิดา มารดา ผูปกครอง

ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและ

สถาบันสังคมอ่ืน ยังมีสิทธิจัดการศึกษา สนับสนุนการศึกษาข้ันพื้นฐานและไดรับสิทธิประโยชนจากรัฐ

และหมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา ไดบัญญัติใหรัฐและองคกรปกครองสวนทองถิ่น

ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา โดยอาจจัดเก็บภาษี เพื่อการศึกษาไดตามความเหมาะสม ทั้งนี้ใหเปนไป

ตามที่กฎหมายกําหนด ใหบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่นเอกชน

องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืนระดมทรัพยากร

เพื่อการศึกษา โดยเปนผูจัดและมีสวนรวมในการจัดการศึกษา บริจาคทรัพยสินและทรัพยากรอื่นใหแก

สถานศึกษาและมีสวนรวมรับภาระคาใชจายทางการศึกษาตามความเหมาะสมและความจําเปน ทั้งนี้

ใหรัฐและองคกรปกครองสวนทองถิ่น สงเสริมและใหแรงจูงใจในการระดมทรัพยากรดังกลาว โดยการ

สนับสนุน การอุดหนุนและใชมาตรการลดหยอนหรือยกเวนภาษีตามความเหมาะสมและความจําเปน

ทั้งนี้ ใหเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด รวมทั้งใหรัฐจัดสรรงบประมาณใหกับการศึกษาเปนเงินอุดหนุน

ทั่วไปเปนคาใชจายรายบุคคล แกผูเรียนภาคบังคับและการศึกษาข้ันพื้นฐานทั้งที่จัดโดยรัฐและเอกชนให

เทาเทียมกัน ตลอดจนจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาใหแกการศึกษาที่จัดโดยบุคคล ครอบครัว องคกร

ชุมชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืน ตามความ

เหมาะสมและความจําเปน 31

29แคทรียา โสภา, “อุปสรรคสําคัญของการใชบังคับกฎหมายภาษีอากรของไทย”

(วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545), 25 – 29.

30เร่ืองเดียวกัน, 50 – 53.

31“พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542.” ราชกิจจานุเบกษา เลม 116

ตอนที่, 74 ก. (19 สิงหาคม 2542) : 4 – 5, 16.

Page 34: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

19

3. พระราชบัญญัติกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวน

ทองถิ่น พ.ศ.2542 หมวด 3 การจัดสรรสัดสวนภาษีและอากร มาตรา 23 เทศบาล เมืองพัทยาและ

องคการบริหารสวนตําบลอาจมีรายไดจากภาษีอากร คาธรรมเนียมและเงินรายได ดังตอไปนี้ (9) ภาษี

เพื่อการศึกษาตามกฎหมายวาดวยการศึกษาแหงชาติ มาตรา 24 องคการบริหารสวนจังหวัดอาจมี

รายไดจากภาษีอากร คาธรรมเนียมและเงินรายได ดังตอไปนี้ (6) ภาษีเพื่อการศึกษาตามกฎหมายวา

ดวยการศึกษาแหงชาติ มาตรา 25 กรุงเทพมหานครอาจมีรายไดจากภาษีอากร คาธรรมเนียมและเงิน

รายไดดังตอไปนี้ (9) ภาษีเพื่อการศึกษาตามกฎหมายวาดวยการศึกษาแหงชาติ มาตรา 26 ใหองคกร

ปกครองสวนทองถิ่นอ่ืนที่มีกฎหมายกําหนดใหเปนองคกรปกครองรูปแบบพิเศษไมเต็มพื้นที่จังหวัด มี

รายไดจากภาษีอากร คาธรรมเนียมและเงินรายไดอ่ืนตามมาตรา 23 ใหองคกรปกครองสวนทองถิน่อ่ืนที่

มีกฎหมายกําหนดใหเปนองคกรปกครองรูปแบบพิเศษเต็มพื้นที่จังหวัดมีรายไดจากภาษีอากร

คาธรรมเนียมและเงินรายไดอ่ืนตามมาตรา 23 และ มาตรา 24 32

4. หลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากร ของ รังสรรค ธนะพรพันธุ ไดเสนอ

แนวทางในการจัดทรัพยากรเพ่ือการศึกษา ไววาการกําหนดนโยบายภาษีอากรเพื่อระดมทุนมาใชใน

การศึกษานั้น รัฐบาลควรพิจารณาเลือกรูปแบบการจัดเก็บภาษีโดยตรงมากกวาการกําหนดมาตรการ

จูงใจเพราะรัฐบาลมีหนาที่โดยตรงในการจัดการสาธารณูปโภคพื้นฐาน (Infrastructure) อาทิ การ

คมนาคม การชลประทาน การสาธารณสุขและการศึกษา ดังนั้น หากรัฐบาลใชมาตรการจูงใจดานภาษี

เพื่อการใด ๆ โดยเฉพาะแลว อาจมีผลใหรายไดรวมของรัฐนอยลง กอใหเกิดผลเสียตอการจัดการ

สาธารณูปโภคพื้นฐานดานอ่ืน ๆ ซึ่งมีความสําคัญเชนเดียวกัน นอกจากนี้แลว การใชมาตรการจูงใจ

ดานภาษีอากรไมมีหลักประกันวา ขอจูงใจที่เสนอใหนั้นจะสามารถกระตุนใหมีการลงทุนหรือการบริจาค

เพื่อการศึกษาในสัดสวนที่มากพอกับความตองการใชในการจัดบริการดานการศึกษาเพียงใด อีกทั้ง

มาตรการนั้นจะตองเปนมาตรการที่ครอบคลุมถึงการทดแทนรายไดภาครัฐที่ขาดหายไปเนื่องจาก

มาตรการดังกลาวดวย33

5. รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา ไดมาจากการคนควาเอกสารทางวิชาการทฤษฎีและงานวิจัย

ทั้งในประเทศและตางประเทศวิเคราะหสังเคราะห

32พระราชบัญญัติกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวน

ทองถิ่น พ.ศ.2542 (กรุงเทพฯ : บริษัท บพิธการพิมพ จํากัด, 2543), 13 - 21. 33รังสรรค ธนะพรพันธุ, เศรษฐศาสตรการคลังวาดวยการศึกษา (กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2523), 45 - 50.

Page 35: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

20

6. รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาจากการสัมภาษณของผูทรงคุณวุฒิแบบเจาะจง โดยมีเกณฑ

การคัดเลือก จากความเปนผูเชี่ยวชาญในดานการจัดเกบ็ภาษีอากร การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา

และการจัดการศึกษา

7. รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษานานาประเทศ ไดแก ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศฝร่ังเศส

ประเทศแคนาดา ประเทศจนี ประเทศเกาหลี ประเทศญ่ีปุน

Page 36: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

21

ภาษีเพ่ือการศึกษาจากการสัมภาษณของ

ผูทรงคุณวุฒิ

รูปแบบภาษีเพ่ือการศึกษาของ นานาประเทศ

แผนภูมิที่ 1 กรอบแนวคิดของการวิจยั

ที่มา : “พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542,” ราชกิจจานุเบกษา เลม 116, ตอนที่

74 ก. (19 สิงหาคม 2542) : 4 – 5, 16.

: พระราชบัญญัติกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น

พ.ศ.2542 (กรุงเทพฯ : บริษัท บพิธการพิมพ จํากัด, 2543), 13 - 21.

: เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม, การคลังวาดวยการจัดสรรและการกระจาย (กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2541), 120 - 145.

: แคทรียา โสภา, “อุปสรรคสําคัญของการใชบังคับกฎหมายภาษีอากรของไทย” (วิทยานิพนธ

นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545), 25 - 29.

: รังสรรค ธนะพรพันธุ, ทฤษฎีการภาษีอากร (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเคล็ดไทย, 2516), 41 - 53.

การจัดการศึกษาตาม พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542

หมวด 2 สิทธิและหนาที่ทางการศึกษา

หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา

พ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการ กระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน พ.ศ.2542 หมวด 3 มาตรา 23 (9) มาตรา 24 (6)

มาตรา 25 (9) มาตรา 26

ภาษีเพ่ือการศึกษาจากการคนควาเอกสารทางวิชาการ

หลักและเกณฑการจัดเก็บ

ภาษีแนวคิดของอดัม สมธิ

(Adam Smith)

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

หลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากร

ของ รังสรรค ธนะพรพนัธุ

Page 37: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

22

นิยามศัพทเฉพาะ เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกนั ผูวิจยัจึงไดนิยามศัพทที่ใชในการวิจัยดังนี ้

รูปแบบ หมายถึง องคประกอบที่มีความสัมพันธและเกี่ยวเนื่องกันอยางเปนระบบในการ

เก็บภาษีเพื่อการศึกษา ประกอบดวย โครงสรางการจัดเก็บภาษี หลักเกณฑการจัดเก็บภาษีและ

หลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษี

ภาษีเพื่อการศึกษา หมายถึง การจําลองภาพในอุดมคติ เพื่อนําไปเปนตนแบบหรือ

ประยุกตใชในมาตรการภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทย โดยผานกระบวนการทดสอบอยางเปนระบบ

เพื่อใหเกิดความเที่ยงตรงและเช่ือถือได โดยเปนรูปแบบเงินที่เรียกเก็บจากทรัพยสินเงินไดจากบุคคล นิติ

บุคคล เพื่อการสนับสนุนทองถิ่นและหรือรัฐบาลในการจัดการศึกษาเพื่อความเจริญงอกงามของบุคคล

และสังคม การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรคจรรโลงความกาวหนาทาง

วิชาการ การสรางองคความรูอันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอม สังคม การเรียนรูและปจจัยเกื้อหนุนให

บุคคลเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต

Page 38: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

23

บทที่ 2

วรรณกรรมที่เกี่ยวของ

ในการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับงานวิจัยเร่ืองรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาผูวิจัย

ไดศึกษา คนควา เอกสาร แนวคิด หลักการและวรรณกรรมที่เกี่ยวของทั้งในประเทศและตางประเทศ

เพื่อกําหนดกรอบความคิดในการวิจัยในเร่ืองตอไปนี้ คือ 1) รูปแบบ 2) ภาษี 3) ภาษีเพื่อการศึกษา

4) รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาในประเทศและตางประเทศ 5) การจัดการศึกษาและแนวทางการจัด

ทรัพยากรเพื่อการศึกษา ดังนี้

รูปแบบ รูปแบบ (model) มีความหมายหลายอยาง เชน ตนแบบ ตุกตา แบบจําลอง แบบแผน วงจร

หรือแบบ ซึ่งนกัวิชาการไดใหความหมายไว ดังนี้

กูด (Carter V. Good) ไดรวบรวมความหมายของรูปแบบไวในพจนานุกรมการศึกษา 4

ประการ3 คือ 1) เปนแบบอยางของส่ิงใดสิ่งหนึ่งเพื่อเปนแนวทางในการสรางหรือทําซํ้า 2) เปนตัวอยาง

เพื่อการเลียนแบบ เชน การออกเสียงภาษาตางประเทศเพื่อใหผูเรียนไดเลียนแบบ เปนตน 3) เปน

แผนภูมิหรือรูปสมมุติซึ่งเปนตัวแทนของส่ิงใดสิ่งหนึ่ง หรือหลักการหรือแนวคิด 4) เปนชุดของปจจัยหรือ

ตัวแปรที่มีความสัมพันธซึ่งกันและกัน ซึ่งรวมกันเปนตัวประกอบและเปนสัญลักษณทางระบบสังคม ที่

เขียนออกมาเปนสูตรทางคณิตศาสตรหรือบรรยายเปนภาษา

อุทุมพร จามรมาน ไดใหความหมายวา รูปแบบหมายถึงโครงสรางของความเกี่ยวกันระหวาง

ตัวแปรตาง ๆ รูปแบบหรือโมเดลจึงมีมากกวาสองมิติ หลายตัวแปรและแตละตัวแปรดังกลาวตองมี

ความสัมพันธเกี่ยวของกันในเชิงเหตุผล ตัวอยางรูปแบบของการบริหารจัดการไดแก ปจจัยนําเขา

กระบวนการ ผลลัพธ (input process output)4

เบญจพร แกวมีศรี ไดกลาววา รูปแบบ หมายถึง ตัวแทนของความเปนจริงในการทําใหความ

สลับซับซอนสามารถเขาใจไดงายข้ึน เปนการสะทอนบางสวนของปรากฏการณออกมาใหเห็น

3Carter V. Good, Dictionary of education, 3rd ed. ( New York : McGraw-Hill 1973),

370. 4อุทุมพร ทองอุไทย จามรมาน, “โมเดลคืออะไร,” วารสารวิชาการ 1,3 (มีนาคม 2541) :

1 - 2.

Page 39: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

24

ความสัมพันธตอเนื่องถึงความเปนเหตุเปนผลซ่ึงกันและกัน การเชื่อมโยงส่ิงที่เกี่ยวของมาไวดวยกันโดย

จะตองใชขอมูลเหตุผล และฐานคติมาประกอบ การแสดงรูปแบบสามารถทําไดหลายลักษณะ ต้ังแต

กายภาพซ่ึงเปนรูปแบบของวัตถุและรูปแบบเชิงคุณลักษณะที่ใชอธิบายปรากฏการณดานภาษาหรือ

สัญลักษณ หรือกลาวอีกนัยหนึ่งวา รูปแบบ หมายถึง รูปแบบอยางงายหรือยอสวน (simplified form)

ของปรากฏการณตาง ๆ ที่ผูเสนอรูปแบบดังกลาวไดศึกษาและพัฒนาข้ึนมาเพื่ออธิบายปรากฏการณให

เขาใจงายข้ึนหรือในบางกรณีอาจใชประโยชนในการพยากรณปรากฏการณที่จะเกิดข้ึน ตลอดจนอาจใช

เปนแนวทางในการดําเนินการอยางใดอยางหนึ่งตอไป5

พูลสุข หิงคานนท กลาววา รูปแบบ หมายถึง ส่ิงที่แสดงโครงสรางทางความคิด

องคประกอบและความสัมพันธขององคประกอบตาง ๆ ที่สําคัญของเร่ืองที่ศึกษา6

เยาวดี วิบูลยศรี กลาววา รูปแบบ คือวิธีการที่บุคคลใดบุคคลหนึ่งถายทอดความคิด ความ

เขาใจ ตลอดทั้งจิตนาการที่มีตอปรากฏการณหรือเร่ืองราวใด ๆ ใหปรากฏโดยใชการสื่อสารในลักษณะ

ตาง ๆ เชน ภาพวาด แผนภูมิ หรือแผนผังตอเนื่อง ใหสามารถเขาใจไดงาย โดยสามารถนําเร่ืองราวหรือ

ประเด็นตาง ๆ อธิบายไดอยางกระชับภายใตหลักการอยางมีระบบ ดังนั้น “โมเดล” หรือ “รูปแบบ”

จึงสามารถนําไปใชในลักษณะตาง ๆ คือ 1) เปนแบบจําลองในลักษณะเลียนแบบ 2) เปนตัวแบบที่ใช

เปนแบบอยาง 3) เปนแผนภาพที่แสดงความสัมพันธระหวางสัญลักษณและหลักการของระบบ 4) เปน

แผนผังของการดําเนินงานอยางตอเนื่องดวยความสัมพันธเชิงระบบ การนําเสนอรูปแบบมีลักษณะ

สําคัญ 4 ประการคือ 1) เปนการถายทอดในลักษณะเลียนแบบ หรือถายทอดจากความเขาใจ ตลอดจน

จินตนาการของคนที่มีตอปรากฏการณใด ๆ ออกมาเปนโครงสรางที่มีระบบระเบียบงายตอการรับรูของ

บุคคลอ่ืน 2) ลักษณะของรูปแบบไมใชการบรรยายหรือการพรรณนาอยางยืดยาว แตเปนการแสดง

ความสัมพันธระหวางสัญลักษณและหลักการของระบบ 3) ตัวรูปแบบเนนเฉพาะสวนสําคัญ เพือ่นาํไปสู

ความเขาใจที่ตรงกันระหวาง ผูนําเสนอรูปแบบความสัมพันธระหวางสวนยอยไดโดยการนําเสนอเพียง

5เบญจพร แกวมีศรี, “การนาํเสนอรูปแบบการพัฒนาคุณภาพลักษณะภาวะผูนําของ

ผูบริหารวทิยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข” (วิทยานิพนธปริญญาดุษฎีบัณฑิต ภาควิชา

บริหารการศึกษา บัณฑิตวทิยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2545), 89. 6พูลสุข หิงคานนท, “การพัฒนารูปแบบการจัดองคกรของวิทยาลัยพยาบาล กระทรวง

สาธารณสุข” (วิทยานิพนธปริญญาดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2540), 50.

Page 40: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

25

คร้ังเดียว 4) ภาพลักษณของรูปแบบมุงการส่ือสารใหกระชับรับรูภาพรวมของความหมายมองเห็น

ความสัมพันธระหวางสวนยอย ๆ ได โดยการนําเสนอเพียงคร้ังเดียว7

ฮุสเซ็น และโพสเลยเวทย (Husen and Postlethwaite) กลาววา รูปแบบมีความหมายที่

แตกตางจากทฤษฎี เพราะรูปแบบยังไมใชขอเท็จจริงที่ไดพิสูจนแลว รูปแบบยังเปนสวนหนึ่งที่ผูวิจัย

พยายามวิเคราะหความสัมพันธที่ เกี่ยวเนื่องกันขององคประกอบอยางเปนระบบ ดวยวิธีทาง

วิทยาศาสตรเพื่อที่จะนําเสนอรูปแบบมาใชประโยชน8

สมิธ (Smith) และคนอ่ืน ๆ ไดกลาววา รูปแบบ หมายถึง การยอสวนของจริงใหเล็กลง เพื่อให

พิจารณาและชวยทําความเขาใจในขอเท็จจริง ปรากฏการณหรือพฤติกรรมตาง ๆ โดยการจัดวางแบบ

แผนใหเขาใจงายข้ึน ซึ่งเปนเหมือนตัวแทนความจริง แตมิใชขอเท็จจริงหรือปรากฏการณทั้งหมดที่

เกิดข้ึน9

สรุปไดวา รูปแบบ หมายถึง แบบจําลองที่ยอขนาดของจริงใหเล็กลงหรือหมายถึงส่ิงที่แสดงถึง

โครงสรางของความสัมพันธกันขององคประกอบ หรือตัวแปรตาง ๆ เพื่อที่จะชวยในการวิเคราะหปญหา

และเขาใจถึงส่ิงตาง ๆ ไดงายข้ึนและดีข้ึน สําหรับการวิจัยในคร้ังนี้ รูปแบบหมายถึง องคประกอบที่มี

ความสัมพันธและเกี่ยวเนื่องกันอยางเปนระบบในการเก็บภาษีเพื่อการศึกษา

ประเภทของรูปแบบ นักวิชาการหลายทานมีแนวคิดในเร่ืองประเภทของรูปแบบ สมิธ (Smith) และคน

อ่ืน ๆ ไดแบงประเภทของรูปแบบออกเปน 2 รูปแบบ10 ดังนี้

1. รูปแบบเชิงกายภาพ จําแนกเปน รูปแบบหรือรูปปนที่มีลักษณะคลายของจริง เชน เคร่ืองบิน

จําลอง รูปแบบเชิงอุปมา ที่มีลักษณะคลายปรากฏการณจริง เชน การทดลองทางเคมีในหองปฏิบัติการ

กอนทําการทดลองจริง

2. รูปแบบเชิงสัญลักษณ จําแนกเปนรูปแบบขอความ ซึ่งเปนการใชขอความในการอธิบายยอ

เชน คําพรรณนาลักษณะงาน เปนตน และรูปแบบทางคณิตศาสตร

7เยาวดี วิบูลยศรี, การประเมินโครงการ: แนวคิด และแนวปฏิบัติ (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ

แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2542), 9.

8T. Husen, and N.T. Postlethwaite, The international encyclopedia of education,

[Online],accessed 1 May 2007 Available from http://www.jica.go.jp/english/resources/

publications/stydy/topical/education/index.htm.

9Edward W. Smith and others, The Education’s Encyclopedia (New York : Prentice

Plublishing,1980), 460.

10Ibid., 461.

Page 41: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

26

คีฟ (Keeves) ไดแบงประเภทรูปแบบทางการศึกษาและสังคมศาสตรไว 5 ประการ11 คือ

1. รูปแบบเชิงเทียบเคียง (analogue model) เปนรูปแบบที่ใชในการอุปมาอุปไมย

ปรากฏการณ เปนรูปแบบเพื่อสรางความเขาใจปรากฏการณอันเปนนามธรรม เชน รูปแบบการทํานาย

จํานวนนักเรียนออกกลางคันในสภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า เปนตน

2. รูปแบบเชิงขอความ (semantic model) เปนรูปแบบการใชภาษาเปนส่ือในการบรรยายหรือ

อธิบายปรากฏการณที่ศึกษาดวยภาษาหรือส่ือ ดวยแผนภูมิหรือรูปภาพ เพื่อใหเห็นโครงสรางความคิด

และความสัมพันธขององคประกอบในปรากฏการณ เชน รูปแบบการเรียนรูนอกระบบโรงเรียน รูปแบบ

การเรียนรูตามอัธยาศัย เปนตน

3. รูปแบบแผนภูมิ (schematic models) เปนรูปแบบที่ใชแผนภูมิหรือแผนที่ ตลอดจนความ

เชื่อมโยงกันเปนหลัก เชน รูปแบบโครงสรางการบริหารสถานศึกษา เปนตน

4.รูปแบบเชิงคณิตศาสตร (mathematic model) เปนรูปแบบที่ใชสมการทางคณิตศาสตรเปน

ส่ือในการแสดงความสัมพันธของตัวแปรตาง ๆ รูปแบบประเภทนี้นิยมใชกันทั้งในสาขาจิตวิทยา

ศึกษาศาสตร

5. รูปแบบเชิงสาเหตุ (casual model) เปนรูปแบบที่พัฒนามาจากเทคนิคการวิเคราะห

เสนทางแบบ path analysis ในการศึกษาเกี่ยวกับพันธุศาสตร รูปแบบเชิงสาเหตุทําใหสามารถศึกษา

รูปแบบเชิงขอความที่มีตัวแปรสลับซับซอนได แนวคิดสําคัญของรูปแบบนี้ คือ ตองสรางข้ึนจากทฤษฎีที่

เกี่ยวของหรืองานวิจัยที่มีมาแลว รูปแบบจะเขียนในลักษณะสมการเสนตรง แตละสมการแสดง

ความสัมพันธเชิงเหตุเชิงผลระหวางตัวแปร จากนั้นมีการเก็บรวบรวมขอมูลในสภาพการณที่เปนจริงเพื่อ

ทดสอบรูปแบบ รูปแบบเชิงสาเหตุนี้แบงเปน 2 ลักษณะ คือ

5.1 รูปแบบระบบเสนเด่ียว (recursive model) เปนรูปแบบที่แสดงความสัมพันธเชิง

สาเหตุระหวางตัวแปรดวยเสนโยงที่มีทิศทางของการเปนสาเหตุในทิศทางเดียว โดยไมมีความสัมพันธ

ยอนกลับ

5.2 รูปแบบเชิงสาเหตุเสนคู (non-recursive model) คือ รูปแบบที่แสดงความสัมพันธ

เชิงสาเหตุระหวางตัวแปร โดยมีทิศทางความสัมพันธของตัวแปรภายในตัวหนึ่ง อาจเปนทั้งตัวแปรเชิง

เหตุและตัวแปรเชิงผลพรอมกัน จึงมีทิศทางที่มีความสัมพันธยอนกลับได

องคประกอบของรูปแบบ บราวน และโมเบอรก (Brown and Moberg) ไดสังเคราะหรูปแบบข้ึนจาก

แนวคิดเชิงระบบ (system approach) กับหลักการบริหารตามสถานการณ (contingency approach)

11Peter J. Keeves, Educational Research, Methodology and Measurement : An

International Handbooks (Oxford : Oxford Pergamon Press, 1988), 561 - 565.

Page 42: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

27

วา ประกอบดวย12 1) สภาพแวดลอม (environment) 2) เทคโนโลยี (technology) 3) โครงสราง

(structure) 4) กระบวนการจัดการ (management process) 5) การตัดสินใจส่ังการ (decision

making)

แผนภูมิที่ 2 รูปแบบเชิงระบบและสถานการณของ Brown and Moberg

ที่มา : W.B. Brownand and D.J. Moberg, Organization theory and management : A macro

approach (New York : John Wiley and Sons,1980). 17.

การตรวจสอบรูปแบบ คีฟส (Keeves) ไดกลาววาปญหาที่สําคัญและเปนอันตรายในการสราง

รูปแบบหรือพัฒนารูปแบบวิจัยทางการศึกษา คือการสรางรูปแบบข้ึนมาเพื่อการอธิบายเทานั้น ไมไดมี

การนําไปทดสอบรูปแบบใหไดขอมูลเชิงประจักษเปนที่ยอมรับ ดังนั้นการสรางรูปแบบที่ดีตองมีการ

ทดสอบรูปแบบควบคูไปดวย ในการทดสอบรูปแบบทางสังคมและพฤติกรรมศาสตร จะมีขอมูลเชิง

ปริมาณและตัวเลขทางสถิติแสดงใหเห็นอยางชัดเจน แตในการทดสอบรูปแบบทางการวิจัยศึกษาบาง

เร่ืองมีขอจํากัดไมสามารถตรวจสอบไดชัดเจนโดยใชสถิติ ปญหาดังกลาว อีสเนอร (Eisner) ได

เสนอแนะแนวทางการทดสอบหรือการประเมินโดยใชผูทรงคุณวุฒิ ในประเด็นที่รูปแบบการวิจัยมีสาระ

รายละเอียดเชิงเนื้อหามากกวาเชิงสถิติ โดยมีความเช่ือมั่นวาความรูของผูรูหรือผูทรงคุณวุฒิจะเปน

คุณสมบัติพื้นฐานในการประเมิน 13 ดังนี้

1. การประเมินตามแนวทางที่ผูทรงคุณวุฒิ จะเนนการวิเคราะหวิจารณอยางลึกซึ้ง

12W. B. Brown and D. J. Moberg, Organization theory and management: A

macro approach (New York : John Wiley and Sons,1980), 16 - 17.

13Ibid., 52.

สภาพแวดลอม

เทคโนโลย ี

การตัดสินใจสัง่การ กระบวนการจดัการ

โครงสราง

Page 43: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

28

โดยเฉพาะในประเด็นที่ถูกนํามาพิจารณาโดยไมเกี่ยวของกับวัตถุประสงคและการตัดสินใจแตอาจมีการ

ผสมผสานปจจัยอ่ืน ๆ ในการพิจารณาเขาดวยกัน ตามวิจารณญาณของผูทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เพื่อใหได

ขอสรุปที่เกี่ยวกับประสิทธิภาพและคุณภาพของส่ิงที่ตองการประเมิน

2. การประเมินเฉพาะทาง (specialization) พัฒนามาจากรูปแบบการวิพากษวิจารณงาน

ศิลปะตองอาศัยผูทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณสูงเปนผูวินิจฉัยโดยการใชความรูความสามารถอยาง

แทจริงในขณะที่ไมมีเคร่ืองมือชนิดใดสามารถวัดไดนอกจากผูชํานาญการเฉพาะสาขาเทานั้นที่จะเขาใจ

อยางลึกซึ้ง รูปแบบนี้จึงเปนที่นิยมใชในวงการวิจัยทางการศึกษา

3. รูปแบบที่บุคคลกําหนดใหผูทรงคุณวุฒิเปนผูประเมิน โดยใหความเชื่อถือในตัวผูทรงคุณวฒุิ

วามีความยุติธรรมและมีดุลยพินิจที่ดี โดยมีมาตรฐานและเกณฑในการพิจารณา

4. รูปแบบที่ยอมรับความยืดหยุนในกระบวนการทํางาน ของผูทรงคุณวุฒิตามความถนัดและ

ความตองการ ต้ังแตการกําหนดประเด็นสําคัญ การบงชี้ขอมูลที่ตองการ การเก็บรวบรวมการ

ประมวลผล การวินิจฉัยขอมูลและวิธีการนําเสนอ

ภาษ ี การจัดทรัพยากรเพื่อการศึกษาที่สําคัญประการหนึ่งคือการจัดเก็บภาษี แตทั้งนี้เพื่อใหเกิด

ความเขาใจพื้นฐานในเร่ืองนี้ ควรกลาวถึงหลักทั่วไปในการจัดเก็บภาษีและเกณฑที่ใชใน การพิจารณา

เลือกมาตรการทางภาษี เพื่อใชเปนแนวทางในการพิจารณาประเด็นตาง ๆ ตอไป

คํานิยามของภาษี นักเศรษฐศาสตร ไดพยายามใหคําจํากัดความของคําวา “ภาษีอากร” (TAX)

เพื่อที่จะครอบคลุมภาษีอากรทุกประเภทที่เก็บกัน แตยังหาคําจํากัดความที่สมบูรณไมได แตจะสรุปคํา

จํากัดความของภาษีอากรที่เปนที่เขาใจหรือยอมรับกันโดยทั่วไป จึงแบงลักษณะของคํานิยามออกเปน 2

แนวดวยกัน คือ 1) การใหคํานิยามในแนวทางของการบังคับการจัดเก็บของภาษีอากรที่เปนที่รูจักกัน

อยางแพรหลายนั้น ไดใหคํานิยามของภาษีอากรวาดังนี้ “ภาษี คือ ส่ิงที่รัฐบาลบังคับเก็บจากราษฎรและ

นํามาใชเพื่อประโยชนของสังคมสวนรวม โดยมิไดมีส่ิงตอบแทนโดยตรงแกผูเสียภาษี” ลักษณะสําคัญ

ของคํานิยามตามแนวนี้มีประเด็นที่สําคัญสองประการคือ ประการแรก ภาษีที่รัฐบาลเก็บจากประชาชน

นั้นจะมีลักษณะของการบังคับภาษีอากรนั้นอาจจะเปนรายได หรือส่ิงของ หรือผลประโยชน หรือบริการ

จากตัวผูเสียภาษีอากรประการที่สอง ภาษีที่เก็บไดนั้นจะตองนําไปใชเพื่อสังคมสวนรวม ซึ่งตัวผูเสียภาษี

นั้นไมไดรับประโยชนโดยตรงจากรัฐบาล ซึ่งตางจากการซื้อสินคาหรือบริการ ซึ่งผูเสียที่เสียเงิน จะเปนผู

ที่ได รับประโยชนโดยตรงจากการซ้ือสินคาหรือบริการนั้น อยางไรก็ตามผูที่ เสียภาษีอากรจะได

ผลประโยชนทางออมจากรัฐบาล เชน การปองกันประเทศ การรักษาความสงบภายใน และสวัสดิการ

ของสังคม 2) การใหคํานิยามในแนวทางการเคล่ือนยายทรัพยากรระหวางภาคเอกชนและภาครัฐบาล

ซึ่งพิจารณาถึงลักษณะของการเคลื่อนยายเงินไดหรือทรัพยากรที่เคล่ือนยายจากภาคเอกชนไปสู

ภาครัฐบาล” ลักษณะของคํานิยามในแนวนี้มีประเด็นสําคัญดังนี้ประการแรก ภาษีอากรนั้นหมายถึงเงิน

Page 44: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

29

ไดหรือทรัพยากรที่มีการเคล่ือนยายจากภาคเอกชนเพ่ือไปสูภาครัฐบาล ในที่นี้ยอมหมายความวาเม่ือ

รัฐบาลเก็บภาษีไปใชจายในกิจการของรัฐบาลทรัพยากรที่จะมีเหลือไวใชในภาคเอกชนยอมจะตองลดลง

ซึ่งจะมีผลกระทบตอการบริโภค การออม และการลงทุนของภาคเอกชน ประการที่สอง คํานิยามดังกลาว

นั้น ยกเวนการกูยืมของรัฐบาล และการขายสินคาและบริการ ทั้งนี้เพราะการกูยืมเงินของรัฐบาลนั้นเปน

เพียงแตการยืมไปใชชั่วคราว ซึ่งรัฐบาลจะตองจายเงินคืนภายหลัง ดังนั้นจึงเทากับวาไมมีการ

เคล่ือนยายทรัพยากรจากภาคเอกชนไปยังภาครัฐบาล สวนการขายสินคาหรือบริการในราคาทุนนั้นก็ถือ

วาไมมีการเคล่ือนยายทรัพยากรจากภาคเอกชนไปยังภาครัฐบาล ประการที่สาม การขายสินคาและ

บริการในราคาที่สูงกวาตนทุนของรัฐบาลจะถือวาเปนภาษี เพราะไดมีการเคลื่อนยายทรัพยากรจาก

ภาคเอกชนไปยังภาครัฐบาล อยางไรก็ตามมีปญหาวารัฐบาลขายสินคาและบริการในราคาที่ตํ่ากวา

ตนทุนของรัฐบาลนั้นจะเรียกวาอะไร สําหรับในกรณีนี้เปนเหตุการณที่มีการเคล่ือนยายทรัพยากร

ภาครัฐบาลไปยังภาคเอกชน จึงถือวา รัฐบาลใหความชวยเหลือหรือเงินอุดหนุนแกผูที่ใชสินคาหรือ

บริการดังกลาว ในที่นี้ถือวาเปน “Negative Tax” หรือภาษีติดลบ14

รังสรรค ธนะพรพันธุ ไดกลาวในเร่ือง ทฤษฎีการภาษีอากร ถึงคํานิยามของภาษีอากรไวโดย

ชี้ใหเห็นวา นักเศรษฐศาสตรบางทานไดใหคํานิยามภาษีอากร วาหมายถึง ที่รัฐบาลบังคับเก็บจาก

ราษฎร โดยมิไดมีส่ิงตอบแทนแกผูเสียภาษีอากรโดยตรง เพราะฉะนั้น เราจะเห็นวา ภาษีอากรจะตอง

มีลักษณะเปนการบังคับเก็บ มิไดเปนไปโดยสมัครใจ เชน เงินบริจาคเพื่อการกุศลและรัฐบาลไม

จําเปนตองมีส่ิงตอบแทนโดยตรงแกผูเสียภาษี แตการสรุปวาภาษีอากรจะตองมีลักษณะเปนการบังคับ

เก็บมิไดเปนไปโดยสมัครใจนั้น ทําใหหลงผิดไดงาย เพราะมีภาษีบางประเภทท่ีมิไดเปนการบังคับเก็บ

เชน ภาษีสินคาอุปโภคบริโภค ประชาราษฎรอาจเล่ียงการเสียภาษีประเภทนี้ไดดวยการไมบริโภคสินคา

อุปโภคบริโภคที่มีการเก็บภาษีประเภทนี้ 15

ขจร สาธุพันธ ใหความหมายวา ภาษีอากรคือ เงิน หรือส่ิงของที่รัฐบาลบังคับเก็บจาก

ประชาชน เพื่อนําไปจายในกิจการอันเปนหนาที่ของรัฐบาล16

14ศิราลักษณ อินทรไทยวงศ, เสถียรภาพและความยืดหยุนของภาษีอากรไทย (กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2547), 26.

15รังสรรค ธนะพรพันธุ, ทฤษฎีการภาษีอากร (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเคล็ดไทย,

2516), 7- 10.

16ขจร สาธุพันธ, อางถึงใน นารี นันตติกูล, “ประสิทธิภาพของการบริหารจัดเก็บภาษี

โดยศึกษาเฉพาะมิติดานความพึงพอใจของประชาชนตอระบบการใหบริการดานภาษีของเทศบาล :

ศึกษากรณี เทศบาลตําบลทาขาม อําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา” (วิทยานิพนธ

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2545), 6.

Page 45: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

30

อรัญ ธรรมโน ใหความหมายวา การเรียกเก็บที่จะเรียกวาภาษีอากรควรมีลักษณะสําคัญ 2

ประการ ประการแรก เปนการบังคับจัดเก็บและประการที่สอง ไมมีการใหประโยชนตอบแทนโดยตรง

แกผูเสียภาษีอากร17

เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม ใหความหมายวา ภาษีคือ ส่ิงที่รัฐบาลเก็บจากราษฎรและ

นํามาใชเพื่อประโยชนของสังคมสวนรวมโดยมิไดมีส่ิงตอบแทนโดยตรงแกผูเสียภาษี18

พจนานุกรมอังกฤษ (concise oxford dictionary) นิยามภาษีอากรไววา คือ เงินที่เรียกเก็บ

จากบุคคล ทรัพยสินหรือธุรกิจเพื่อการสนับสนุนรัฐบาล คําจํากัดความนี้เนนถึงจุดมุงหมายของการเก็บ

ภาษีอากร ในการจุนเจือรายจายของรัฐบาล (taxation for revenue) ซึ่งอาจทําใหหลงผิดไดเพราะ

แทจริงแลวการเก็บภาษีอากรมิไดมุงหาเงินไดใหรัฐบาลใชจายเพียงอยางเดียว หากรัฐตองการรายได

เพื่อการใชจายเพียงอยางเดียว ไมจําตองหารายไดจากการเก็บภาษีอากร เพราะสามารถพิมพธนบัตร

ออกใชไดโดยไมจํากัดจํานวนและหากเปนเชนนั้นก็จะเกิดอันตรายจากภาวะเงินเฟอ ดังนั้นการเก็บภาษี

มิไดมุงเพียงหารายไดจุนเจือรายจายของรัฐบาลเพียงฝายเดียวหากแตยังมีจุดมุงหมายสําคัญ

ในการควบคุมภาวการณทางเศรษฐกิจใหอยูในสภาพอันพึงปรารถนาอีกดวย ภาษีอากรนับวาเปน

เคร่ืองมือสําคัญในการธํารงรักษาไวซึ่งเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (economic stabilization) โดยเฉพาะ

อยางยิ่งในการลดการบริโภคและการลงทุนของเอกชน เพราะฉะนั้นจึงอาจใหคํานิยามภาษีอากรใหมวา

เงินที่เรียกเก็บจากบุคคล ทรัพยสิน หรือธุรกิจเพื่อลดการใชจายของเอกชน

คํานิยามของภาษีอากรที่มีความหมายครอบคลุมทั่วไป ควรจะพิจารณาจากการเคลื่อนยาย

เงินได (income flows) ซึ่งในแงนี้ ภาษีอากร คือ เงินสวนที่ร่ัวไหลจากภาคเอกชนไปสูภาครัฐบาล

ยกเวนรายการการกูยืมและรายจายโดยตรงสําหรับคาสินคาและบริการ ที่ผลิตข้ึนเพื่อสาธารณะ ซึ่งจาย

เต็มตามตนทุนการผลิตและบริการนั้น19

17อรัญ ธรรมโน, อางถึงใน นารี นันตติกูล, “ประสิทธิภาพของการบริหารจัดเก็บภาษี

โดยศึกษาเฉพาะมิติดานความพึงพอใจของประชาชนตอระบบการใหบริการดานภาษีของเทศบาล :

ศึกษากรณี เทศบาลตําบลทาขาม อําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา” (วิทยานิพนธ

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2545), 6.

18เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม, การคลังวาดวยการจัดสรรและการกระจาย, พิมพคร้ังที่ 8

(กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2546), 129.

19ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร ฉบับสมบูรณ, พิมพคร้ังที่ 6 (กรุงเทพฯ : เรือนแกว

การพิมพ, 2535), 1.

Page 46: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

31

โครงสรางของระบบภาษี ในการศึกษาการจัดเก็บภาษีอากรนั้น ประเด็นสําคัญในการเก็บภาษีคือ ควรจะเก็บอยาง

ยุติธรรมและเปนประโยชนตอสังคมสวนรวมมากที่สุด ซึ่งในเร่ืองนี้นักทฤษฎีภาษี มัสเกรพ (Musgrave) ไดกลาววา โครงสรางของระบบภาษีที่ดีนั้นควรจะมีลักษณะสําคัญ 5 ประการ 20คือ

ประการแรก ภาระของภาษีหรือคาใชจายของรัฐจะตองกระจายแกประชาชนผูเสียภาษีทุกคน

อยางยุติธรรม กลาวคือ แตละคนควรจะแบกรับภาระภาษีตามฐานะของตนอยางยุติธรรม

ประการที่สอง การเลือกเก็บภาษีแตละชนิดที่จัดเก็บนั้น จะตองพยายามใหมีผลกระทบหรือผล

เสียหายตอการตัดสินใจในทางเศรษฐกิจหรือการทํางานของกลไกตลาดนอยที่สุด นอกจากนี้ภาษีอากร

ตาง ๆ ที่จัดเก็บนั้นควรจะใชเปนเคร่ืองมือเพื่อแกไขการใชทรัพยากรที่ไรประสิทธิภาพของเอกชนดวย

ประการที่สาม โครงสรางของภาษีที่ดีนั้นควรจะเอ้ืออํานวยตอการใชนโยบายในการรักษา

เสถียรภาพทางเศรษฐกิจและชวยสงเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจดวย

ประการที่ส่ี ระบบของภาษีตาง ๆ ที่ใชจัดเก็บนั้นจะตองเปนที่แจงชัดตอผูเสียภาษีและการ

บริหารการจัดเก็บจะตองเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

ประการที่หา คาใชจายในการจัดเก็บและภาระของผูเสียภาษีควรจะอยูในอัตราที่ตํ่า เมื่อ

เปรียบเทียบกับเปาหมายตาง ๆ ในการจัดเก็บภาษีนั้น กลาวคือ การใชภาษีเปนเคร่ืองมือเพื่อบรรลุ

วัตถุประสงคอยางหนึ่งอยางใดนั้น รัฐบาลจะตองคํานึงถึงคาใชจายในการจัดเก็บภาษีนั้นและภาระหรือ

ความเดือดรอนของผูเสียภาษีนั้นดวย

พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ พบวา โครงสรางอัตราภาษีของภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาลักษณะ

กาวหนา และสามารถลดความไมเสมอภาคในแงของการกระจายรายไดไดดี สวนโครงสรางอัตราภาษี

ของภาษีเงินไดนิติบุคคลรวมถึงรายไดที่มิใชภาษีที่ รัฐทําการจัดเก็บนั้น มีลักษณะถดถอยแตก็มี

ผลกระทบตอการกระจายรายไดเพียงเล็กนอย แตโครงสรางอัตราภาษีของภาษีทางออม เชน ภาษี

การคา ภาษีสรรพสามิตและอากรขาเขานั้นมีลักษณะถดถอยและสงผลกระทบทําใหการ กระจายรายได

เปนอยางมากและเมื่อทําการวิเคราะหอัตราภาษีที่แทจริงของภาษีและรายไดทั้งหมดของรัฐแลว พบวา

อัตราภาษีมีแนวโนมถอยหลัง 21

20R.A. Musgrave and P.B. Musgrave, Public Finance in Theory and Practice

(McGraw – Hill} 1973), 193.

21พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ, อางถึงใน สุเพ็ญศรี วิเศษพาณิชย, “การศึกษาภาระภาษีของ

ครัวเรือน จําแนกตามชั้นของรายไดในชวงป พ.ศ. 2543 – 2543” (ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2545), 17 – 18.

Page 47: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

32

สุภาณี เชาวนดี พบวา โครงสรางภาษีเงินไดบุคคลธรรมดามีลักษณะกาวหนา คือผูที่มี

รายไดสูงตองรับภาระภาษีในอัตราที่สูงกวาผูที่มีรายไดตํ่า โดยภาระภาษีสวนใหญตกอยูกับผูที่มีรายได

จากเงินเดือนและคาจางมากกวาผูที่มีรายไดประเภทอ่ืนและไดเนนวาผูที่มีรายไดสูงจากรายไดประเภท

อ่ืนจะรับภาระภาษีในอัตราที่ตํ่ากวาผูที่มีรายไดจากคาจางและเงินเดือน ภาษีโรงเรือนและที่ดินกับภาษี

ที่ดิน หรือภาษีบํารุงทองที่เปนภาระแกครัวเรือนคอนขางนอยโดยเฉพาะภาษีที่ดินหรือภาษีบํารุงทองที่

มีโครงสรางภาษีที่มีลักษณะถดถอย 22

วุฒิ พุทธมนต พบวา โครงสรางของภาษีที่ไดนํามาศึกษามีลักษณะถดถอย มีผลทําใหการ

กระจายรายไดของครัวเรือนไทยในป พ.ศ.2529 เลวลง โดยที่ครัวเรือนในเขตเมืองรับภาระภาษี

สรรพสามิตมากกวาครัวเรือนในเขตชนบท เมื่อไดทําการศึกษาลงไปในรายละเอียดแลว พบวาภาษีของ

สินคาที่รัฐจัดเก็บเพื่อนํามาเปนรายไดของภาษีทางออมบางชนิด ที่อยูในโครงสรางของภาษีสรรพสามิต

จะมีลักษณะกาวหนา ไดแก ภาษีที่จัดเก็บจากน้ํามันเบนซินและเคร่ืองด่ืมที่ไมมีแอลกอฮอล สวนภาระ

ภาษีของภาษีการคาและอากรขาเขานั้น ครัวเรือนในชนบทจะเปนผูรับภาระภาษีมากกวาครัวเรือนใน

เขตเมือง23

วัตถุประสงคในการจัดเก็บภาษีอากร การจัดเก็บภาษีอากรมีวัตถุประสงคหลายประการ วัตถุประสงคหลักคือ การหารายไดมาใช

จายในกิจการของรัฐ การดําเนินงานใหบรรลุเปาหมายทางเศรษฐกิจตาง ๆ วัตถุประสงคของการจัดเก็บ

ภาษีอากร มีดังนี้

1. เพื่อหารายไดมาชวยในกิจการของรัฐ กิจการสวนใหญของรัฐเปนกิจการเพื่อสวนรวม เชน

ความมั่นคง ความปลอดภัย การศึกษา กิจการสาธารณูปโภคตาง ๆ เปนตน

2. เพื่อควบคุมหรือสงเสริมพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ รัฐบาลสามารถใชระบบภาษีอากรควบคุม

การบริโภค การผลิต หรือวิธีการดําเนินการ ทางธุรกิจบางชนิดมิใหเกิดผลเสียตอเศรษฐกิจสวนรวมได

เชนไมตองการใหประชาชนบริโภคสุรา บุหร่ี หรือสินคาฟุมเฟอยตาง ๆ ก็เก็บภาษีสินคาเหลานี้ในอัตรา

สูง ๆ หรือไมเก็บภาษีอุปกรณการศึกษาตาง ๆ เพื่อสงเสริมใหประชาชนไดรับการศึกษาอยางทั่วถึง หรือ

เก็บภาษีสินคาที่มีความจําเปนในอัตราตํ่า เปนตน

22สุภาณี เชาวนดี, อางถึงใน สุเพ็ญศรี วิเศษพาณิชย, “การศึกษาภาระภาษีของครัวเรือน

จําแนกตามช้ันของรายไดในชวงป พ.ศ. 2543 – 2543” (ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2545), 19. 23วุฒิ พุทธมนต, อางถึงใน สุเพ็ญศรี วิเศษพาณิชย, “การศึกษาภาระภาษีของครัวเรือน

จําแนกตามช้ันของรายไดในชวงป พ.ศ. 2543 – 2543” (ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2545), 18.

Page 48: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

33

3. เพื่อการกระจายรายไดและทรัพยสินใหเปนธรรม นอกจากรัฐบาลจะใชมาตรการดาน

รายจาย เชน การอุดหนุน การโอนเงินตาง ๆ การสรางงานในชนบท การจัดเก็บภาษีอากรยังเปน

เคร่ืองมือที่สําคัญในการกระจายรายไดดวย เชน ใชวิธีอัตราภาษีกาวหนา ภาษีทรัพยสิน ภาษีมรดก

ภาษีสินคาฟุมเฟอยในอัตราสูง ๆ เปนตน

4. เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจทั้งดานราคาสินคา

และการจางงานเปนเปาหมายทางเศรษฐกิจที่สําคัญ เชน การปองกันภาวะเงินเฟอ รัฐบาลก็เพิ่มภาษี

ตาง ๆ ใหสูงข้ึนเพื่อลดการใชจาย ในยามเศรษฐกิจตกตํ่า คนวางงานมาก รัฐบาลอาจลดภาษีตาง ๆ ลง

เพื่อกระตุนใหมีการบริโภคและการลงทุนมากข้ึน ซึ่งจะสงผลใหมีการจางงานมากข้ึน24

หลักทั่วไปในการเก็บภาษี อดัม สมิธ (Adam Smith) ไดเสนอหลักการในการจัดเก็บภาษีที่ดีไว 4

ประการ25 ดังนี้

1. หลักความเปนธรรม (equity) หมายถึง ประชาชนทุกคนควรจะตองสละรายได หรือ

ผลประโยชนในเศรษฐกิจหรือรายไดจากกิจการของตน โดยการเสียภาษีตามสัดสวนของฐานะและ

ความสามารถในการหารายได เพื่อใหการสนับสนุนรัฐบาล ทั้งนี้ ดวยเหตุผลที่แตละคนตางไดรับ

ประโยชนในการคุมครองจากรัฐ

2. หลักความแนนอน (certainty) หมายถึง ภาษีที่ประชาชนแตละคนเสียนั้นจะตองใชหลัก

ความแนนอน ในลักษณะและรูปแบบการจัดเก็บภาษีตลอดจนจํานวนภาษีที่ตองเสีย เปนที่ประจักษ

ชัดเจนแกผูเสียภาษีทุกคน

3. หลักความสะดวก (convenience) หมายถึง การเก็บภาษีทุกประเภทควรจะตองจัดเก็บ

ตามกําหนดระยะเวลาและสถานท่ีในการชําระภาษีที่สะดวก โดยจะตองอํานวยความสะดวกในการเสีย

ภาษีใหกับผูเสียภาษี

4. หลักความประหยัด (economy) หมายถึง ภาษีทุกชนิดที่จัดเก็บตองถือเปนภาระกับผูเสีย

ภาษีใหนอยมากที่สุด แตใหรัฐบาลไดรับรายไดมากที่สุดเทาที่จะมากได

สาระสําคัญที่ไดจากแนวคิดของ อดัม สมิธ (Adam Smith) ขางตนสรุปไดวา การเก็บภาษี

ที่ดีและมีประสิทธิภาพจะตองเปนการเก็บภาษีที่ใหความแนนอนและมั่นใจกับผูเสียภาษีทุกคน ภาษีทุก

24นารี นันตติกูล, “การวิจัยเร่ืองประสิทธิภาพของการบริหารการจัดเก็บภาษี ศึกษาเฉพาะ

มิติดานความพึงพอใจของผูรับบริการศึกษาเฉพาะกรณีเทศบาลตําบลทาขาม อําเภอ บางปะกง จังหวัด

ฉะเชิงเทรา” (วิทยานิพนธรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยบูรพา,

2545), 35.

25Adam Smith, The Wealth of Nations (New York : Bantam Dell A Division of

Random House, Inc. 2003) quoting Edwin Cannan ,1043 – 1047.

Page 49: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

34

ประเภทที่จะจัดเก็บจะตองมีความชัดเจนในเร่ืองฐานภาษี อัตราภาษี ตลอดจนกําหนดระยะเวลาในการ

เสียภาษี รวมทั้งคํานึงในเร่ืองของความประหยัดใหกับผูเสียภาษี ที่สําคัญหลักในการจัดเก็บภาษีตองมี

ความเสมอภาคและเปนธรรมในสังคม จึงถือไดวาเปนหลักการของระบบภาษีที่ดี

การพิจารณาเรื่องความเสมอภาคและเปนธรรม เปนประเด็นที่ไมสามารถกําหนดกรอบที่

ชัดเจนได ข้ึนอยูกับสถานการณและปจจัยอ่ืน ๆ มากมาย ดังนั้นในทางปฏิบัติจําตองอาศัยแนวทางการ

พิจารณาเชิงลึกใน 2 ลักษณะ คือ 1) การเก็บภาษีตามหลักความสามารถของผูเสียภาษี (ability to

pay principle) หรือ 2) การเก็บภาษีตามหลักผลประโยชนที่ผูเสียภาษีไดรับ (the benefit principle) 26

ทั้งนี้การวัดความสามารถในการเสียภาษีอากร อาจแบงไดเปน 2 วิธี คือ27 1) ความสามารถ

ในการเสียสละ (subjective test of ability) 2) ความสามารถในทางเศรษฐกิจ (objective test of

ability) ซึ่งเปนการวัดความสามารถโดยถือเอาฐานะทางเศรษฐกิจเปนเคร่ืองวัด ไดแก ทรัพยสิน

(property) รายได (income) การบริโภค (consumption)

พนม ทินกร ณ อยุธยา ไดรวบรวมหลักเกณฑเกี่ยวกับระบบการบริหารการจัดเก็บภาษีอากรที่

ดีวา ตองเปนไปตามหลักเกณฑ 28 ดังตอไปนี้

1. หลักการประหยัดและมีประสิทธิภาพ (economy and efficiency) ระบบการบริหารจัดเก็บ

ภาษีอากรที่ดี ตองสามารถประหยัดคาใชจายของรัฐบาลในการบริหาร จัดเก็บภาษีอากรนั้น และ

คาใชจายของสังคมสวนรวมดวย โดยเฉพาะในสวนของผู เชน คาที่ปรึกษาคาเสียโอกาส และใน

ขณะเดียวกันก็สามารถจัดเก็บภาษีอากรไดเต็มเม็ดเต็มหนวยมากที่สุด

2. หลักการยอมรับไดของสังคม (acceptability) การจัดเก็บภาษีอากรจะไดผลหรือไมนอกจาก

จะข้ึนอยูกับความพยายามของรัฐบาลแลว ยังตองข้ึนอยูกับความตองการของประชาชนโดยเฉพาะอยาง

ยิ่ง ความสมัครใจในการเสียภาษี (voluntary compliance)

3. หลักความรูถูกตองและเหมาะสม (accuracy and expedience) ระบบภาษีที่ดีตอง

สามารถจัดเก็บไดถูกตองตามระเบียบกฎหมาย การไมปฏิบัติตามกฎหมายตองถูกลงโทษ ใน

26เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม, การคลังวาดวยการจัดสรรและการกระจาย (กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2541), 120 - 145.

27ขจร สาธุพันธุ, ภาษีอากร (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช, 2523), 17. 28พนม ทินกร ณ อยุธยา, อางถึงใน นารีลักษณ สุทธิรัตน, “ปญหาการปฏิบัติงานตาม

นโยบายขยายฐานภาษี” (วิทยานิพนธรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทั่วไป

มหาวิทยาลัยบูรพา, 2545), 22.

Page 50: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

35

ขณะเดียวกัน หากจําเปนตองใหเจาหนาที่ใชดุลยพินิจ ในการตัดสินใจดําเนินการใด ๆ ที่กฎหมายมิได

ระบุชัด การวินิจฉัย ตองเหมาะสม ตามสถานการณและสภาวะแวดลอมที่เกิดข้ึน

4. หลักความสะดวกและงายตอการปฏิบัติการ (convenience and simplicity) ระบบการ

บริหารการจัดการจัดเก็บภาษีอากรที่ดี จะตองอํานวยความสะดวกและงายตอการปฏิบัติ ทั้งผูเสียภาษี

และเจาหนาที่ของรัฐ

5. หลักความแนนอนและการปรับตัว (certainty and adaptability) ไดแก การที่มีหลักเกณฑ

สําหรับใชในการจัดเก็บที่แนนอน โดยอาศัยหลักการบริหารแบบวิทยาศาสตร (scientific management)

และหลักระบบราชการ (bureaucracy) เพื่อใหระบบการบริหารมีความแนนอนเช่ือถือ

6. หลักประชาธิปไตยและเปดเผยตอประชาชน การจัดเก็บภาษีอากร ตองยึดหลักความเปน

ธรรมทางการเมืองและตองเปดเผยการดําเนินการตอสถาบันรัฐสภาและประชาชนทั่วไป

รังสรรค ธนะพรพันธุ กลาวถึง หลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากรไว 6ประการ

คือ 1) หลักความเปนธรรม (equity) 2) หลักความเปนกลาง (neutrality) 3) หลักความแนนอน

(certainty) 4)หลักความประจักษแจง (evidence) 5) หลักประสิทธิภาพในการบริหาร (administrative

efficiency) 6) หลักผลการจํากัดรายจายสุทธิ (net expenditure restraining effect) 29รายละเอียด

ดังนี้

1. หลักความเปนธรรม (equity) ภาษีอากรที่ดีนั้นจะตองเปนภาษีอากรที่เปนธรรม เพราะถา

หากการเก็บภาษีอากรเปนไปอยางไมเปนธรรมแลว การหลบหลีกภาษี (evasion) จะมีมาก ทั้งความ

ขัดแยงในสังคมอาจมีมากจนถึงข้ันปฏิวัติได ดังนี้จะเห็นไดวา การเก็บภาษีอากรอยางเปนธรรมนั้น

มิใชแตจะเปนส่ิงที่พึงปรารถนาทางจริยธรรมเทานั้น หากทวายังมีสวนชวยลดความขัดแยงในสังคมได

อีกดวย แตโครงสรางและรูปแบบภาษีอากรที่เปนธรรมนั้น มีหลักเกณฑ 2 ประการ คือ ประการแรก

หลักความเปนธรรมสัมบูรณ (the principle of absolute equity) ตามหลักนี้เปนระบบภาษีอากรที่ผู

เสียทุกคนเสียภาษีเทากัน ถาหากการเก็บภาษีอากรมุงที่การจุนเจือรายจายของรัฐบาลจํานวนภาษีที่ผู

เสียภาษีแตละคนจะตองเสีย จะเทากับรายจายทั้งหมดของรัฐบาลหารดวยจํานวนผูเสียภาษีอากร เชน

หากรัฐบาลตองการใชจายเงินปละ 12,000 ลานบาทและมีจํานวนผูเสียภาษีอากร 20 ลานคน ผูเสีย

ภาษีแตละคนจะตองเสียภาษีอากรเทา ๆ กัน คนละ 600 บาทตอป จึงจะถือวาการเก็บภาษีอากรเปนไป

ดวยความเปนธรรมตามหลักนี้ อยางไรก็ตาม การเก็บภาษีอากรตามหลักความเปนธรรมสัมบูรณ มี

ขอบกพรองสําคัญ 3 ประการ คือ 1) การเก็บภาษีอากรตามหลักนี้ มิไดคํานึงถึงความสามารถในการ

29รังสรรค ธนะพรพันธุ , ทฤษฎีการภาษีอากร (กรุงเทพฯ : สํานกัพมิพเคล็ดไทย, 2516),

41 - 53.

Page 51: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

36

ชําระภาษีอากรที่แตกตางกันของผูเสียภาษีแตละคน ซึ่งกําหนดโดยปจจัยเฉกเชนรายไดและทรัพยสิน

เพราะยอมเปนที่ประจักษชัดวา ผูที่มีรายไดสูงยอมมีกําลังความสามารถที่จะชําระภาษีอากรมากกวาผู

มีรายไดตํ่า 2) การเก็บภาษีอากรตามหลักนี้อาจมีผลทําใหหนี้ภาษีมีมูลคาสูงกวาเงินไดของผูเสียภาษี

อากรบางคน เพราะการถัวเฉลี่ยภาษีอากรที่ตองเสียโดยเทาเทียมกันเชนนี้ ผูเสียภาษีอากรทีม่รีายไดตํ่า

มาก ๆ อาจไมมีเงินจะเสีย 3) การกําหนดใหผูเสียภาษีทุกคนตองเสียภาษีอากรเทา ๆ กันเชนนี ้ ยอมทาํ

ใหภาระภาษีของผูมีเงินไดตํ่า สูงกวาภาระภาษีของผูมีเงินไดสูง ตัวอยางของภาษีอากรที่เก็บตามหลัก

ความเปนธรรมสัมบูรณ ไดแก ภาษีรัชชูปการ (poll tax)ประการที่สอง หลักความเปนธรรมสัมพัทธ

(the principle of relative equity) โดยเหตุที่หลักความเปนธรรมสัมบูรณ มีขอบกพรองดังที่ไดกลาว

มาแลว ภาษีอากรสวนใหญจึงเก็บตามหลักความเปนธรรมสัมพัทธ หลักดังกลาวนี้ อาจจําแนกเปน

หลักยอย 2 หลัก คือ 1) หลักความสามารถในการชําระภาษี (the ability - to - pay principle)

ในขณะที่หลักความเปนธรรมสัมบูรณยึดถือการเสียภาษีอากรในปริมาณที่เทากัน การเกบ็ภาษีตามหลัก

ความสามารถในการชําระภาษี ยึดการเสียสละเปนเกณฑ (sacrifice basis) ตามหลักนี้ความเปน

ธรรมของภาษีอากร จําแนกออกไดเปน 2 กรณี คือ ความเปนธรรมในแนวนอน (horizontal equity)

ซึ่งหมายความวา คนที่มีฐานะเทาเทียมกันควรจะไดรับการปฏิบัติอยางเทาเทียมกัน กลาวคือ คนที่มี

กําลังความสามารถชําระภาษีอากรเทาเทียมกันจะตองเสียภาษีอากรเทาเทียมกัน เปนตนวา คนที่มีเงิน

ไดเทากัน จะตองเสียภาษีเงินไดเทากัน คนที่มีเงินไดพอที่จะสูบบุหร่ีวันละ 1 ซองจะตองเสียภาษียาสูบ

เทากัน หลักขอนี้ยากที่จะคัดคานใหเห็นเปนอยางอ่ืนได ทั้งยังเปนไปไดในทางปฏิบัติอีกดวยและหลัก

ความเปนธรรมในแนวต้ัง (vertical equity) ซึ่งหมายความวา คนที่มีฐานะไมเทาเทียมกัน ควรจะไดรับ

การปฏิบัติที่แตกตางกัน กลาวคือ คนที่มีกําลังความสามารถในการชําระภาษีตางกัน ควรจะเสียภาษี

อากรตางกัน โดยที่จํานวนภาษีอากรที่เสียตางกันนั้น จะตองเปนความแตกตางที่เหมาะสม แมหลักขอนี้

จะเปนหลักที่ดีเลิศ แตก็เปนไปไดยากในทางปฏิบัติ ทั้งนี้ก็เพราะเปนการยากที่จะกําหนดหลักเกณฑวา

คนที่มีกําลังความสามารถในการชําระภาษีตางกัน ควรจะเสียภาษีอากรตางกันเทาใดจึงจะเปนธรรม

กลาวอีกนัยหนึ่ง ภาษีอากรที่เรียกเก็บควรมีโครงสรางแบบภาษีกาวหนาภาษีถอยหลังหรือภาษีตาม

สัดสวน 2) หลักผลประโยชนที่ได (the benefit principle) ตามหลักนี้ผูบริโภคที่ตองการอรรถประโยชน

จากการบริโภคสินคาและบริการที่ผลิตโดยภาครัฐบาล จะตองจายคาสินคาและบริการในรูปภาษีอากร

การซื้อสินคาและบริการประเภทน้ีเปนไปโดยสมัครใจ ผูที่ไดประโยชนจากการบริโภคสินคาและบริการที่

ผลิตโดยรัฐมาก จะตองจายภาษีมากกวาผูที่ไดประโยชนนอย

2. หลักความเปนกลาง (neutrality) ตามหลักนี้ ภาษีอากรควรมีโครงสรางที่เปนกลาง

กลาวคือ จะตองพยายามไมใหการเก็บภาษีอากรมีผลกระทบกระเทือนตอการทํางานของกลไกตลาด

หรือมีผลกระทบกระเทือนแตเพียงเล็กนอย ทั้งนี้เพื่อใหกลไกตลาดสามารถทําหนาที่ในการจัดสรร

ทรัพยากรไปใชอยางมีประสิทธิภาพ ตามปกติการตัดสินใจทางเศรษฐกิจ เฉกเชนการซ้ือสินคาและ

Page 52: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

37

บริการ การออมและการพักผอนเปนอาทินั้น มักอาศัยการเปรียบเทียบตนทุนที่เสียกับประโยชนที่ได

การเก็บภาษีอากรที่เกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ยอมมีผลใหการเปรียบเทียบดังกลาวนี้

คลาดเคล่ือนจากที่ควรจะเปน เพราะฉะนั้น ตามหลักความเปนกลาง ภาษีอากรที่ดีควรจะเปนภาษีอากร

ที่ไมมีผลกระทบตอตนทุนและประโยชนที่ไดในการติดสินใจทางเศรษฐกิจ กลาวคือ ไมทําใหตนทุนที่เสีย

และประโยชนที่ไดสูงตํ่ากวาที่เปนจริง โดยทั่วไปเรามักจะพิจารณาความเปนกลางจากภาระสวนเกินของ

การเก็บภาษี (excess burden of taxation) เพราะภาระสวนเกินของการเก็บภาษีอากรชวยชี้ใหเห็น

วา หนทางแหงการเลือกของประชาราษฎรถูกบิดเบือนโดยกระบวนการดานภาษีอากรเพียงใด

เปาหมายของหลักความเปนกลางก็คือ การพยายามลดภาระสวนเกินดังกลาวนี้ใหเหลือนอยที่สุด เรา

จะเห็นไดวาการเก็บภาษีเงินไดนั้น ทําใหประโยชนที่ทวยราษฎรไดจากการทํางานนอยลง การเก็บภาษี

จากสุรา ทําใหตนทุนของสุราเพิ่มข้ึน โดยที่ไมทําใหสุรานาด่ืมมากข้ึน การเก็บภาษีรถยนตไมแตจะเปน

การดึงเงินออกจากภาคเอกชนเทานั้น หากทวายังบิดเบือนการเลือกของผูบริโภคระหวางรถยนตกับ

สินคาอ่ืน ๆ อีกดวย เพราะการเก็บภาษีรถยนตนั้น อาจมีผลทําใหผูบริโภคบางคนหันไปซ้ือเคร่ืองบิน

และลดการบริโภคสินคาและบริการอื่น ๆ ลงหรืออาจมีผลทําใหผูบริโภคบางคนหันไปซื้อรถจักรยานยนต

และเพิ่มการบริโภคสินคาและบริการตาง ๆ ดังนี้ จะเห็นไดวาการเก็บภาษีอากรบางประเภท ไมแตจะ

ชวยใหรายไดของรัฐบาลเพิ่มข้ึนเทานั้น หากทวายังมีผลในการเปลี่ยนแปลงแบบแผนการบริโภคของ

เอกชนอีกดวย ทํานองเดียวกัน การเก็บภาษีอากรบางประเภทไมแตจะทําใหรายไดของภาคเอกชน

ลดลงเทานั้น หากทวายังทําใหภาคเอกชนใชจายเงินที่เหลือไปในทางที่ทําใหสังคมไมไดรับสวัสดิการ

สูงสุด (sub-optimality) เพราะฉะนั้น เมื่อพิจารณาตามหลักความเปนกลาง ภาษีการขายทั่วไป

(general sales taxes) ยอมมีขอดีมากกวาการเก็บภาษีตามสภาพ (specific tax) จากสินคาประเภท

หนึ่งประเภทใด เพียงประการเดียว เพราะการเก็บภาษีการขายทั่วไปนั้น เราเก็บจากสินคาและบริการที่

มีการซ้ือขายทุกประเภท ราคาสินคาและบริการทุกประเภทยอมสูงข้ึน จึงมีผลบิดเบือนการตัดสินใจ

เลือกซื้อสินคาและบริการของผูบริโภคนอยกวากรณีการเก็บภาษีทางออมจากสินคาและบริการบางชนิด

อยางไรก็ตามในกรณีสินคาและบริการที่เปนโทษ (demerit goods) เชน บุหร่ี สุรา ยาเสพยติด เรามกัจะ

จงใจใชความไมเปนกลาง (non-neutrality) ของภาษีอากรเปนเคร่ืองมือในการลดการบริโภคของเอกชน

ใหตํ่ากวาระดับที่กลไกตลาดเอ้ืออํานวยให

3. หลักความแนนอน (certainty) ตามหลักนี้ ภาษีอากรที่ดีและที่มีประสิทธิภาพ ควรเปน

ภาษีที่มีลักษณะความแนนอน โดยเฉพาะอยางยิ่งในแงรายไดของรัฐบาล รายไดของรัฐบาลที่ไดจาก

การเก็บภาษีอากรนั้น มักจะไมตรงตามที่คาดหมายไว ความขอนี้กอใหเกิดปญหารายแรง 2 ประการ

คือ ประการแรก การที่รัฐไมอาจเก็บภาษีอากรใหไดตามเปาหมายที่กําหนดไว ยอมกอใหเกิดปญหา

ยุงยากในการชวยรักษาไวซึ่งเสถียรภาพทางเศรษฐกิจเพราะถาหากเราตองการใหระบบเศรษฐกิจมีการ

จางงานเต็มที่ (full employment) มีความจําเปนที่จะตองทําใหมีดุลยภาพระหวางอุปสงครวม

Page 53: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

38

(aggregate demand) เทากับอุปทานรวม (aggregate supply) ณ ระดับรายไดประชาชาติที่มีการจาง

งานเต็มที่ (full employment GNP) ถาหากรัฐบาลไมสามารถเก็บภาษีอากรในปริมาณที่จะทําใหมี

ดุลยภาพ ณ รายไดประชาชาติระดับนี้ ความยุงยากในการรักษาและธํารงไวซึ่งเสถียรภาพทาง

เศรษฐกิจยอมมีเปนแนนอน ประการที่สอง การที่รัฐบาลไมอาจเก็บภาษีอากรใหไดตามเปาหมายท่ี

กําหนดไว ยอมกอใหเกิดปญหายุงยากในการบรรลุเปาหมายของเศรษฐกิจจุลภาค (micro-economic

objective) เฉกเชน ความเปนธรรมในแนวนอนเปนอาทิ เหตุฉะนี้ ภาษีอากรที่ดีและที่มีประสิทธิภาพ

จึงควรเปนภาษีอากรที่มีลักษณะความแนนอน ความแนนอนของภาษีมี 4 ลักษณะที่สําคัญดวยกัน คือ

1) ความแนนอนในดานภาระภาษี (certainty of incidence) ถาหากรัฐบาลตองการใหภาระภาษีตกแต

ประชาราษฎรกลุมหนึ่งกลุมใด ภาษีอากรที่ดีและที่มีประสิทธิภาพ ควรจะเปนภาษีอากรที่ภาระตกแก

ประชาชนกลุมนั้น ความแนนอนในดานภาระภาษี จึงเปนลักษณะหนึ่งของภาษีอากรที่ดีและที่มี

ประสิทธิภาพ เปนตนวา ถาหากรัฐบาลตองการใหสุขภาพอนามัยของประชาชนดีข้ึนดวยการลดการ

บริโภคสุรา ภาษีสุราที่เรียกเก็บจะไดชื่อวาเปนภาษีอากรที่มีประสิทธิภาพ ก็ตอเมื่อภาระภาษีดังกลาวนี้

มีผลใหมีการลดการด่ืมสุรา เพราะฉะนั้น มีความจําเปนที่เราจะตองรู ภาระภาษีที่มีประสิทธิผล

(effective incidence) ของภาษีอากรประเภทตาง ๆ เพื่อจะไดพิจารณาถึงความแนนอนของภาระภาษี

ที่มีประสิทธิผลวาจะมีการผลักภาระภาษีไดมากนอยเพียงใด ไมวาจะเปนการผลักภาระภาษีไปขางหนา

หรือการผลักภาระภาษีไปขางหลัง 2) ความแนนอนของหนี้ภาษี (certainty of liability) ภาษีอากรที่ดี

และที่มีประสิทธิภาพควรจะเปนภาษีอากรที่มีความงายและความแนนอนในการประเมินหนี้ภาษีอากร

ประเภทตาง ๆ มีความงายและความแนนอนในการประเมินหนี้ภาษีอากรแตกตางกัน ภาษีอากรบาง

ประเภทมีมูลคาของฐานภาษีไมคงที่ เชนภาษีทรัพยสิน (wealth tax) เพราะฉะนั้นจึงไมแตจะ

ยากลําบากในการประเมินหนี้ภาษีเทานั้น หากทวายังมีความไมแนนอนเกี่ยวกับปริมาณหนีภ้าษอีีกดวย

ผูเสียภาษีเองก็ไมทราบแนชัดวาตนตองเสียภาษีจํานวนเทาใด เพราะการประเมินมูลคาของทรัพยสิน

ข้ึนอยูกับอํานาจของพนักงานภาษีอากรของรัฐเปนอันมาก ทํานองเดียวกัน ถามีการเก็บภาษีรถยนตใน

อัตราท่ีแตกตางกันระหวางรถยนตที่ใชประกอบธุรกิจกับในทางสวนตัว คนที่มีรถยนตไวใชทั้งในการ

ประกอบธุรกิจและในทางสวนตัว ยอมไมทราบแนชัดวา ตนตองเสียภาษีจํานวนเทาใด ภาษีอากรใน

ลักษณะเชนนี้ยังเปดชองใหมีการฉอราษฎรบังหลวงไดงายอีกดวย 3) ความแนนอนในการลดเงินไดของ

เอกชน ถาหากเราตองการใชภาษีอากรเปนเคร่ืองมือในการลดการใชจายของเอกชน เพื่อเปาหมาย

ดานเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ภาษีอากรที่ดีและที่มีประสิทธิภาพควรจะเปนภาษีอากรที่สามารถลดเงิน

ไดของเอกชนอยางมีประสิทธิผลตามเปาหมายที่กําหนดไว ในการนี้มีความจําเปนที่จะตองรู อัตราการ

หลบหลีกภาษีอากร (evasion ratio) ของภาษีอากรประเภทตาง ๆ ภาษีเงินไดมักเปนภาษีที่มีอัตราการ

หลบหลีกภาษีสูง ทั้งนี้ก็เพราะประชาชนมักจะไมเปดเผยรายไดที่ไดจริง ๆ ภาษีทางออมบางประเภท

เฉกเชนภาษียาสูบ มักมีอัตราการหลบหลีกภาษีตํ่า 4) ความแนนอนเกี่ยวกับการทํานายรายไดแผนดิน

Page 54: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

39

จากภาษีอากร (fiscal marksmanship) ความแนนอนเกี่ยวกับการทํานายรายไดที่รัฐบาลจะไดจาก

ภาษีอากรนั้น ข้ึนอยูกับความสามารถในการพยากรณมูลคาของตัวแปรคาของเศรษฐกิจมหภาคและ

เศรษฐกิจจุลภาค ที่มีอิทธิพลตอการเปล่ียนแปลงรายไดที่รัฐไดจากภาษีอากร เปนตนวา ความแนนอน

เกี่ยวกับภาษีเงินไดที่รัฐจะเก็บไดนั้น ข้ึนอยูกับความสามารถในการทํานายรายไดของประชากรในรัฐ

หรือ ถาหากจะคํานวณจํานวนภาษีที่เก็บจากรถยนต การคํานวณเชนนี้จะเที่ยงตรงเพียงใด ข้ึนอยูกับ

ความสามารถในการทํานายจํานวนรถยนตที่จะมีการซื้อขาย

4. หลักความประจักษแจง (evidence) ตามหลักนี้ ภาษีอากรที่ดีและที่มีประสิทธิภาพนั้น

ควรจะเปนภาษีอากรที่ผูเสียประจักษและตระหนักในภาษีอากรที่ตนตองเสีย ทั้งนี้เพราะเหตุวาเมื่อ

พิจารณาถึงรายจายของรัฐบาลกับรายไดจากภาษีอากรในระยะยาวแลว ภาษีอากรโดยขอเท็จจริง เปน

ราคาที่มหาชนจายเพื่อสินคาและบริการที่ผลิตโดยรัฐบาล ในระบอบประชาธิปไตย หนาที่ของภาษอีากร

ประการหนึ่งก็คือ การใหขอมูลเกี่ยวกับตนทุนของสินคาและบริการที่ผลิตโดยภาครัฐบาลเพื่อชวยให

ผูบริโภคสามารถตัดสินใจไดวา ตนตองการบริโภคสินคาสาธารณะ (public goods) จริง ๆ เทาใดและ

ตองการใหมีการกระจายเงินไดใหม จริง ๆ เทาใด เพราะฉะนั้น หากภาษีอากรยิ่งมีความประจักษแจง

เทาใด ประชาราษฎรยอมมีขอมูลประกอบการลงคะแนนเสียงเกี่ยวกับขนาดของภาครัฐบาลไดมาก

เทานั้น ความประจักษแจงของภาษีอากรประเภทตาง ๆ แตกตางกันอยางมาก เปนตนวา ภาษีเงินได

ซึ่งเก็บจากปจเจกชนโดยตรง มีความประจักษแจงมาก ในขณะที่ภาษีการจางงาน (payroll tax) มี

ความประจักษแจงนอยกวา เพราะอาจมีการผลักภาระภาษีกันได ภาษีประเภทนี้มีสวนชวยจุนเจือ

รายจายของรัฐบาล โดยท่ีมหาชนไมประจักษแจงเกี่ยวกับตนทุน อยางไรก็ตาม ความประจักษแจงของ

ภาษีอากรมิใชของดีเสมอไป ในยามสงครามซึ่งตองการรายรับจุนเจือรายจายเปนอันมาก ทั้งการรักษา

มิ่งขวัญกําลังใจของทวยราษฎรก็เปนส่ิงสําคัญ อาจเปนการเหมาะสมที่จะเก็บภาษีอากรในรูปที่มหาชน

ไมประจักษแจง ในการผลิตสินคาที่เปนคุณ (merit goods) บางประเภท หากภาษีอากรที่เก็บเพื่อใหรัฐ

นํามาใชในการผลิตสินคาประเภทน้ี มีลักษณะความประจักษแจง อาจมีผลใหมีการผลิตในปริมาณที่

ตํ่ากวาปริมาณอันเหมาะสมในแงของสังคมโดยสวนรวม (social optimum out) เพราะบางทีประชาชน

อาจไมรูถึงคุณประโยชนที่แทจริงของสินคาประเภทนี้

5. หลักประสิทธิภาพในการบริหาร (administrative efficiency) ตามหลักนี้ ภาษีอากรที่ดี

และที่มีประสิทธิภาพ ควรเปนภาษีที่เสียตนทุนในการจัดเก็บ (collection cost) ตํ่า ความแตกตาง

ระหวางตนทุนในการจัดเก็บภาษีอากรประเภทตาง ๆ มีอยูเปนอันมาก ภาษีคาผานถนน (road toll)

นั้น ตองเสียตนทุนในการจัดเก็บคอนขางสูง ในประเทศที่ประชากรสวนใหญมีอัตราการอานออกเขียน

ไดตํ่า การจัดเก็บภาษีเงินไดจะทําไดยาก มิฉะนั้นจะตองจางพนักงานสรรพากรจํานวนมหาศาล ในการ

ประเมินภาษีของผูเสียภาษีเงินได ซึ่งจะทําใหตองเสียตนทุนการจัดเก็บภาษีสูงมาก ประสิทธิภาพใน

การบริหารการจัดเก็บภาษี จะพิจารณาเฉพาะจากตนทุนการจัดเก็บที่รัฐบาลเสียแตฝายเดียวก็หาไม

Page 55: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

40

เพราะผูเสียภาษีเองก็ตองเสียตนทุนในการเสียภาษีดวย นับต้ังแตคาเดินทางเพื่อไปชําระภาษี

ตลอดจนเวลาที่เสียไปในการนี้และในการกรอกแบบฟอรมตางๆ ในบางกรณีเอกชนตองเสียคา

ทนายความและนักบัญชี เพื่อชวยประเมินภาษีบางประเภท และในบางกรณี รัฐบาลอาจโยนภาระ

ตนทุนการจัดเก็บภาษีแกเอกชน เชน การเก็บภาษีเงินได หักจากเงินได ณ ที่จาย เปนอาทิ ตนทุนการ

บริหารการจัดเก็บภาษี (administrative costs) ไมวาจะเสียโดยรัฐบาลหรือโดยเอกชน ไมแตจะช้ีใหเห็น

ถึงประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีเทานั้น หากทวายังมีสวนชวยช้ีใหเห็นประสิทธิผลของภาษีอากรที่

เรียกเก็บในการบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว โดยเฉพาะเปาหมายการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจอีก

ดวย เพราะเหตุวา ถาหากมุงเก็บภาษีอากรเพื่อลดแรงกดดันของภาวะเงินเฟอดวยการลดการใชจายของ

ภาคเอกชน แตถาหากตนทุนการบริหารการจัดเก็บภาษีอากรที่จายไปนั้น กอใหเกิดแรงกดดันของภาวะ

เงินเฟอ (inflationary effects) มากกวาแรงกดดันของภาวะเงินฝด (deflationary effects) ที่เกิดจาก

การเก็บภาษีอากรแลวภาษีอากรประเภทนั้น ยอมกอใหเกิดความระสํ่าระสายแกระบบเศรษฐกิจมากยิ่ง

กวาที่จะชวยรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจตามคาดหวัง ซึ่งสอดคลองกับ ปรีดา นาคเนาวทิม ระบบ

ภาษีอากรที่ดีตองเปนระบบที่สามารถจัดเก็บไดอยางมีประสิทธิภาพ กลาวคือ ควรเปนระบบที่เสีย

คาใชจายในการจัดเก็บ (collection cost) นอยที่สุด และควรจะตองไดเงินภาษีเต็มเม็ดเต็มหนวยหรือ

ร่ัวไหลนอยที่สุด ประสิทธิภาพในแงผลของภาษีเมื่อเปรียบเทียบกับตนทุนของผูเสียภาษีและตนทุนใน

การบริหารการจัดเก็บ หรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือ จัดเก็บภาษีใหไดเต็มเม็ดเต็มหนวยหรือร่ัวไหลนอยที่สุด

สวนคาใชจายในการจัดเก็บเมื่อเปรียบเทียบกับรายไดจะตองตํ่าหรือประหยัดที่สุดดวย30

6. หลักผลการจํากัดรายจายสุทธิ (net expenditure restraining effect) หลักการดังกลาวนี้

เปนความเห็นของนิโคลัส คาลดอร (Nicholas Kaldor) ซึ่งเชื่อวา จุดมุงหมายหลักของการเก็บภาษี

อากร คือการลดการใชจายของเอกชน คาใชจาย คือ การใชหรือบริโภคสินคาและบริการใน

กระบวนการที่กอใหเกิดรายไดข้ึน การหมดไปหรือสูญไปเนื่องจากการใชหรือบริโภคน้ีอาจจะเกี่ยวของ

โดยตรงหรือโดยทางออมกับจํานวนที่กอใหเกิดรายไดก็ได31 เพราะฉะนั้น ภาษีอากรที่ดีและที่มี

ประสิทธิภาพจึงควรเปนภาษีอากรที่มีผลในการลดรายจายของเอกชนจะทํามากนอยเพียงใด ยอมข้ึนอยู

กับแนวโนมหนวยสุดทายในการบริโภค (marginal propensity to consume) ของผูเสียภาษีแตละคน

แตกตางกัน เพราะฉะนั้นการเก็บภาษีอากรจะชวยลดการใชจายของเอกชนไดมากนอยเพียงใด

ยอมข้ึนอยูกับวา ภาษีอากรที่เรียกเก็บนั้นเก็บจากประชาชนกลุมใด เปนตนวา หากภาษีอากรที่เรียก

เก็บกอเกิดระบบภาษีแกกลุมคนที่มี MPC ถัวเฉลี่ยเทากับ 0.60 การเก็บภาษีอากรจากกลุมคนนี้ 1

30ปรีดา นาคเนาวทิม, เศรษฐศาสตรการบญัชีภาษีอากร 1 (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ

มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2535), 33. 31เมธากลุ เกียรติกระจาย, ทฤษฎีการบัญช ี (กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุมชนสหกรณ, 2534), 182.

Page 56: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

41

บาทจะกอใหเกิดผลการจํากัดรายจายสุทธิ (net expenditure restraining effect) โดยรายจายลดลง

เพียง 0.60 บาท ผลการจํากัดรายจายสุทธินี้เรียกวา “ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ” (economic

efficiency) ของการเก็บภาษีอากร ซึ่งกินความหมายกวางเกินกวาที่ควร เพราะประสิทธิภาพทาง

เศรษฐกิจของการเก็บภาษีอากรนั้น นอกจากจะพิจารณาจากผลการจํากัดรายจายสุทธิแลว นาจะ

พิจารณาจากหลักเกณฑอ่ืน ๆ ที่กลาวมากอนหนานี้ดวย การจัดเก็บภาษีในประเทศไทย ไพบูลย ทาสระคู กลาววา การบริหารงานของเขตซึ่งเปนหนวยงานหลักที่มีอํานาหนาที่และ

ความรับผิดชอบที่จะนําเอาบริการตาง ๆ ออกสูประชาชนใหไดรับความสะดวกสบายในการขอรับบริการ

ในดานตาง ๆ มากที่สุดนั้น การบริการงานของเขตยังประสบปญหาในการบริหารและการใหบริการแก

ประชาชนหลายประการ32

นิพนธ คําพา กลาววา ปญหาอุปสรรคที่ทําใหการบริการแกประชาชนในระดับอําเภอไมมี

ประสิทธิภาพ ไดแก อัตรากําลังเจาหนาที่ไมเพียงพอ จํานวนประชากรในเขตการปกครองมีมากเกินไป

และการปฏิบัติงานของนายอําเภอที่ไมสนใจในเร่ืองการใหบริการแกประชาชนเพื่อแกปญหาในการ

พิจารณากําหนดอัตราและฐานภาษีเพื่อการศึกษาควรวิเคราะหตนทุนที่แทจริงของการจัดการศึกษาใน

แตละทองถิ่น ประชาชนทุกคนควรมีสวนรวมในการจัดการศึกษาโดยการชําระภาษีเพื่อการศึกษา33

การจัดเก็บภาษีในประเทศไทยไดมีมานานแลว นับต้ังแตชาติไทยไดจัดใหมีการปกครองเปน

ระเบียบ ซึ่งพอสันนิษฐานไดวาเมื่อเกิดมีบานเมืองข้ึนแลวก็ตองมีผูนําสินคาเขามาหรือสงออกไป

จําหนายยังบานเมืองอ่ืน และจะตองมีการเก็บภาษีอากรเปนทํานองชักสวนจากสินคาเหลานั้น การที่จะ

เก็บชนิดใดบางและมีจํานวนมากนอยเพียงใด ข้ึนอยูกับความเจริญของบานเมือง ในระยะแรกการเก็บ

เปนไปอยางงาย ๆ ไมไดแบงแยกเปนชนิดภาษีอากรมากมายและซับซอนเหมือนทุกวันนี้ 34

32 ไพบูลย ทาสระคู, อางถึงใน นารี นันตติกูล, “การวิจัยเร่ืองประสิทธิภาพของการบริหาร

การจัดเก็บภาษี ศึกษาเฉพาะมิติดานความพึงพอใจของผูรับบริการศึกษาเฉพาะกรณีเทศบาลตําบลทา

ขาม อําเภอ บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา” (วิทยานิพนธรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขา

นโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2545), 18.

33นิพนธ คําพา, อางถึงใน นารี นันตติกูล, “การวิจัยเร่ืองประสิทธิภาพของการบริหารการ

จัดเก็บภาษี ศึกษาเฉพาะมิติดานความพึงพอใจของผูรับบริการศึกษาเฉพาะกรณีเทศบาลตําบลทาขาม

อําเภอ บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา” (วิทยานิพนธรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโยบาย

สาธารณะ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2545), 18.

34พระยาอนุมานราชธน, ตํานานศุลกากร (พระนคร : กรมสารบรรณทหารเรือ, 2506), 1.

Page 57: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

42

ระบบภาษีอากรของไทยไดวิวัฒนาการมาเปนลําดับมีการจัดเก็บและเรียกช่ือประเภทภาษี

แตกตางกันไปตามเหตุการณและความเจริญรุงเรืองของประเทศและจากการศึกษาก็จะพบปญหา

เกี่ยวกับประสิทธิภาพของการใชบังคับกฎหมายภาษีอากรในปจจุบัน ก็จะมีควบคูกับวิวัฒนาการของ

กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากรในอดีตประกอบกันไป35

สมัยกรุงสุโขทัย เร่ิมต้ังแตพอขุนรามคําแหงเปนตนมายังไมพบวามีการจัดระเบียบแบบแผนที่

ชัดเจนเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีจากหลักฐานที่ปรากฏในหลักศิลาจารึกของพอขุนรามคําแหงหลักหนึ่ง

ที่วา “เมื่อชั่วพอขุนรามคําแหงเมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ํามีปลา ในนามีขาว เจาเมือง บ เอาจกอบ ในไพร

ลูทางเพื่อจูงวัวไปคา ข่ีมาไปขาย ใครจักใครคาชางคา ใครจักใครคามาคา ใครจักคาเงินทองคา” 36

นับเปนหลักฐานเกาแกที่ไดคนพบและแสดงใหเห็นวากฎหมายภาษีอากรมีแลวในสมัยนั้น และการออก

กฎหมายเชนนี้ได แสดงใหเห็นวาคงจะมีการเก็บภาษีระหวางทางหรือดานตรวจเก็บก็อาจเรียกไดวา

ภาษีผานดานอยูกอนแลว เพราะถาไมเคยมีการเรียกเก็บมากอนเหตุใดในสมัยพอขุนรามคําแหง จึงได

บัญญัติใหยกเลิกหรืองดเวนหรือหามจัดเก็บ

หลวงสุทธิวาทนฤพุฒิ (สอาน รมยานนท) ไดแสดงความเห็นในการบรรยายวิชา

ประวัติศาสตรกฎหมายวา37 “การเก็บภาษีจะตองมีมากอนกรุงสุโขทัยเพราะบรรดาชุมชนและบรรดาใน

สมัยนั้น ๆ ตางก็อยูในวิสัยที่จะตองรวมกําลังทั้งในทางปองกันและการขยายอาณาเขตประเทศใหกวาง

ออกไป ดังนั้น ใครมีทรัพยสินมากก็ตองแบงใหรัฐ แมในเบ้ืองแรกจะไมบังคับจัดเก็บแตตอ ๆ มาก็ตอง

บังคับจัดเก็บ จึงจะพอกับรายจายของรัฐหรือประเทศ” และจากการศึกษาไมปรากฏหลักฐานทีแ่นชดัใน

เร่ืองความมั่งค่ังของกรุงสุโขทัยที่จะแสดงใหเห็นถึงอุปสรรคของการจัดเก็บภาษีจะพบหลักฐานเพียงจาก

ขอความที่วา “ในน้ํามีปลา ในนามีขาว”สวนอาจารยไพฑูรย สายสวาง ไดบรรยายเร่ืองเศรษฐกิจสมัย

กรุงสุโขทัยวา38“ไมอาจทราบถึงความม่ังค่ังทางเศรษฐกิจสมัยสุโขทัยไดอาจเพียงพอมีกินแตวาจะกินได

นานแคไหนนั้นอีกเร่ืองหนึ่งและในสมัยนี้จากการศึกษาจากหลักฐานเทาที่ปรากฏไมพบหลักฐานชัดเจน

35แคทรียา โสภา, “อุปสรรคสําคัญของการใชบังคับกฎหมายภาษีอากรของไทย”

(วิทยานิพนธ นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545), 6.

36คณะกรรมการพิจารณาและจัดพิมพเอกสารทางประวัติศาสตร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1

จารึกกรุงสุโขทัย (กรุงเทพฯ : สํานักนายกรัฐมนตรี, 2521,) 15.

37หลวงสุทธิวาทนฤพุฒ,ิ ประวัติศาสตรกฎหมายช้ันปริญญาโท (กรุงเทพฯ : ศรีสมบัติ

การพิมพ, 2529), 135.

38ไพฑูรย สายสวาง, รายงานผลการสัมมนาการเมืองและสภาพสงัคมสมัยสุโขทยั

(พิษณุโลก : ศูนยสุโขทัยศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2521), 333.

Page 58: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

43

เกี่ยวกับพื้นฐานทางเศรษฐกิจเพียงพอที่จะแสดงถึงอุปสรรคของการจัดหารายไดของผูปกครองในสมัย

นี้”

จากการศึกษาขอความที่วา “เจาเมืองบเอาจกอบในไพรลูทาง” หลวงสุทธิวาทนฤพุฒิต้ัง

ขอสังเกตวามีความหมายแยกไดเปนสองประการ คือ ประการแรก คือ กอนที่ประเทศไทยจะยึดเอาเมือง

สุโขทัยมาเปนราชธานี อาณาจักรสุโขทัยตกอยูภายใตอํานาจของขอม เมื่อขอมปกครองนั้นคงเรียกเก็บ

ภาษีจังกอบจากราษฎรผูนําสินคาผานดาน แสดงวาอาจมีปญหาในการจัดเก็บ เมื่อพอขุนรามคําแหง

เสด็จข้ึนครองราชยสมบัติทรงเห็นวาเปนการไมสมควรเก็บ จึงไดยกเลิกเสียและประการที่สอง คือ แต

เดิมก็ไมเคยเก็บเพราะทําใหราษฎรมีโอกาสขนสินคาตางเมืองมาขายไดโดยสะดวก หนังสืออธิบาย

จารึกพอขุนรามคําแหงวา ไมให เก็บภาษีในระหวางทาง เห็นไดวาหามไมให เก็บภาษีดาน

ภายในประเทศ จากถอยคําดังกลาวช้ีใหเห็นวาสมัยกรุงสุโขทัยนี้ขาวปลาอุดมสมบูรณ ใครจะคาขายก็

ได เจาเมืองไมเก็บภาษีอากร (จกอบ) แกราษฎรเลย ดังนั้นจากหลักฐานที่คนพบปรากฏเพียงหลักฐานที่

ยืนยันวาเจาเมืองไมเก็บภาษี (จกอบ) ตามที่ปรากฏใน ศิลาจารึก แตหลักฐานที่แสดงใหเห็นถึง

ปญหาการเก็บภาษีอากรจากราษฎร ในทางใดบางและเก็บในอัตราเทาไรจากหลักฐานในเรื่องนี้ไม

ปรากฏที่ใด จึงสันนิษฐานไดวาแตเดิมอาจไมเคยมีการเก็บมากอนหรืออาจมีการเก็บแตเนื่องจากอาจมี

ปญหาในความไมแนนอนไมมีแบบแผนชัดเจน หรืออาจมีแนวนโยบายบางอยางวาที่เคยเก็บภาษีมา

กอนก็เลิกเก็บตามแนวนโยบายของรัฐในสมัยนั้น เพื่อสนับสนุนการคาระหวางประเทศ ในสมัยเดียวกัน

นี้พบหลักฐานการจัดเก็บภาษีอากรจากมังรายศาสตรหรือกฎหมายพระเจามังราย ผูเปนกษัตริยของ

ลานนาที่สรางเมืองเชียงใหมเมื่อ พ.ศ.1835 ถึง พ.ศ. 2101 ซึ่งเปนพระสหายกับพอขุนรามคําแหงพบ

กฎหมายตนฉบับอําเภอเสาไห จังหวัดสระบุรีบัญญัติวา“มาตราหนึ่ง “ไพรอุตสาหะสรางปาคานาราง

สวนรางเปนนาเปนสวน เปนบานเมืองใหกินขาวไปกอนสามปตอจากนั้น จึงเก็บคานาคาสวนเพ่ือใหไพร

ผูอุตสาหะสรางบานเมือง ฯลฯ เปนพลเมืองดีไดรับความสุขสบาย หากมีผูใดถือวามียศศักดมาเพิ่มคา

เชานาใหแกขุนผูกินนา เพื่อจักแยงชิงเอานาไปจากผูสรางคนเดิมนั้น อยายอมใหกระทําได” หลวงสุทธิ

วาทนฤพุฒิ ไดแสดงความเห็นเกี่ยวกับกฎหมายพระเจามังรายวา การที่ไพรอุตสาหะสรางปาคา นาราง

สวนรางสําเร็จดวยดี กฎหมายสมัยนั้นมีภาษีคานาแลว แตยอมยกเวนภาษีใหสามป แมที่รางเปนสวน

ก็ไมเก็บอากรสวนเชนกัน กฎหมายรอดูจนต้ังตัวไดหรือเหลือกินเหลือใชจึงจะเร่ิมเก็บภาษีและอากร39

จากหลักฐานที่ปรากฏไดแสดงใหเห็นถึงวิวัฒนาการของภาษีอากรที่ใชเปนเคร่ืองมือของรัฐในการหา

รายไดเขารัฐและควบคุมพฤติกรรมของคนในปกครอง ดังนั้น ในสมัยสุโขทัยแมไมปรากฏวามีอุปสรรค

ในการบังคับใชกฎหมายภาษีอากรวาเปนประการใด แตก็แสดงใหเห็นถึงวิวัฒนาการของการจัดเก็บ

39หลวงสุทธิวาทนฤพุฒ,ิ ประวัติศาสตรกฎหมายช้ันปริญญาโท (กรุงเทพฯ : ศรีสมบัติการ

พิมพ, 2529),136 - 137.

Page 59: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

44

ภาษีวามานานแลวแตโบราณ ตอมาในสมัยอยุธยา ลักษณะการจัดเก็บภาษีอากรเร่ิมมีการนําแบบ

แผนการจัดเก็บมาใชอันอาจมาจากมีการคาขายระหวางประเทศจากหนังสือพระราชพงศาวดารวา เมื่อ

รัชการของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงแกไขระเบียบตําแหนงขาราชการใหม ใหแผนกกรมตาง ๆ

เปน 2 ฝาย ตามหนาที่ในเวลาปกติเปนพลเรือนฝาย 3 ทหารฝาย 1 จตุสดมภทั้ง 4 ตําแหนงเสนาบดี

กรมคลังเปนพนักงานรับจายและเก็บรักษาพระราชทรัพยอันไดมาจากสวนสาอากรหรือที่เรียกกันใน

ปจจุบันวา ภาษีอากร มีลักษณะการจัดเก็บเปน 4 ประเภท คือ จังกอบ อากร สวนและฤชา40 ในสมัย

นั้นไดมีประกาศกฎหมายลักษณะขบถศึกบัญญัติวา “สินคาบางอยาง เชน ฝาง กฤษณา งาชาง (ของ

พื้นเมือง) เปนของหลวงผูใดเอาไปมีความผิดฐานขบถ” และเมื่อมีกฎหมายลักษณะอาญาหลวงก็ได

บัญญัติโทษเร่ืองเชนนี้ใหทวนแลวไหมจัตุรคูณ ขอนี้แสดงใหเห็นวาพระเจาแผนดินหรือรัฐบาลสมัยนั้น

ทําการผูกขาดในการคาขายและจัดเก็บภาษีอากร คร้ันมีบริษัทของชาวตางประเทศเขามาต้ังทําการใน

ประเทศไทยในสมัยแผนดินพระนารายณมหาราชบริษัทอังกฤษและฮอลันดาไดทําการคาผูกขาดในการ

ซื้อสินคาจากไทย ซึ่งระบบผูกขาดนี้ในภายหลังเปนสาเหตุของอุปสรรคในการใชบังคับกฎหมายภาษี

อากรในสมัยรัตนโกสินทรและจากการคาขายระหวางประเทศ จึงมีการนําเอาระบบการจัดเก็บภาษีที่มี

ระบบมาใช มีการจัดลักษณะภาษีใหเห็นชัดเจนระบบรายชื่ออากรตาง ๆ ก็ไดรับการปรับปรุงใหมโดย

แยกรายละเอียดมากข้ึนเพื่อความแนนอนความเปนระเบียบและเพื่อใหไดจํานวนมากข้ึนและจะเก็บเงิน

ทั้งหมดเพราะรัฐบาลมีรายจายดานตาง ๆ เพิ่มมากข้ึน พิจารณาไดวากอนสมัยของสมเด็จพระนารายณ

ระบบอาจจะไมดีพอจึงมีการปรับปรุงใหดีข้ึนเพื่อนําเงินมาบริหารประเทศและจะพบวามีการพัฒนา

รูปแบบและมีการตกทอดมาในสมัยธนบุรีและสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ซึ่งวิธีการในการเก็บภาษีใน

สมัยนี้ที่คลายในปจจุบันคือการเก็บชักสวนที่มีการพัฒนามาต้ังแตยุคนั้น สันนิษฐานไดวามีการนํา

วิธีการในการจัดเก็บภาษีมาจากประเทศตาง ๆ เนื่องจากมีการคาขายระหวางประเทศ อุปสรรคในการ

จัดเก็บภาษีและวิธีแกไขที่พบในสมัยนี้คือ ภายหลังจากที่สงครามระหวางไทยกับพมาส้ินสุดผลทีต่ามมา

คือทําใหรัฐบาลและราษฎรยากจนอยางที่สุด การกลับฟนคืนตัวของเศรษฐกิจไทยในสมัยสมเด็จพระ

บรมธรรมิกราชาธิราชแสดงใหเห็นถึงการแกไขปญหาการจัดเก็บรายไดเขารัฐในสมัยนี้ไดอยางดีและตาม

รายงานของบาทหลวงคอร ชาวฝร่ังเศสซึ่งไดแสดงใหเห็นสภาพบานเมืองในตนรัชการสมเด็จพระบรม

ธรรมิกราชาธิราชวาเส่ือมโทรมไปทุก ๆ อยางเพราะเหตุที่เศรษฐกิจลมจม ดังนั้น การแกไขปญหาเพื่อ

ฟนฟูการคลังคือการเก็บเงินเขาคลังใหไดเต็มเม็ดเต็มหนวย โดยหาวิธีอุดรูร่ัวของทองพระคลังอยางแยบ

คายดวยการแตงต้ังขุนนางผูใหญออกไปควบคุมและเรงรัดการเก็บสวยสาอากรตามหัวเมืองใหไดเต็ม

เม็ดเต็มหนวยและไมใหติดคางหลาย ๆ ปเหมือนอยางแตกอน แตอยางไรก็ตามไมปรากฏวาการสง

40สมเด็จพระบรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพ, อธิบายตํานานภาษีอากรและตํานาน

ภาษีบางอยาง (พระนคร : อักษรสาสน, 2512), 1.

Page 60: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

45

ขาหลวงจากกรุงเทพมหานครไปควบคุมการเก็บสวยสาอากรตามหัวเมืองจะกระทํากันทั่วพระ

ราชอาณาจักรหรือไมแตกลวิธีนี้ใหผลดีมีประโยชนแกการคลังตามหลักฐานในหนังสือ “แถลงงาน

ประวัติศาสตรเอกสารโบราณคดี” วาการเรงรัดของผูสําเร็จราชการทําใหผูที่ยักยอกเบียดบังพระราช

ทรัพยจําตองขวนขวายสงสวยสาอากรเขาทองพระคลัง41 สมัยกรุงธนบุรีมีภาระการศึกสงครามกับพมา

และเพื่อนบานอ่ืน ๆ เปนอันมาก ดังนั้น ภาวะทางเศรษฐกิจในสมัยนี้จึงไมดีเทาที่ควร และเนื่องจากใน

สมัยธนบุรีไดดําเนินการเก็บภาษีอากรตามแบบสมัยกรุงศรีอยุธยาไมปรากฏวามีการแกไขแตอยางใด

นอกจากมีการเปล่ียนแปลงพิกัดอัตราบาง42 เชน ไดมีการเก็บคานาโดยเก็บขาวเปลือกแทน ทั้งนี้เปน

เพราะเวลาที่ราษฎรขัดสนเงินทองและรัฐบาลตองการขาวเปลือกเพื่อเปนเสบียงอาหารสําหรับทํา

สงคราม สวนการเก็บภาษีอ่ืน ๆ เขาใจวาจัดเก็บตามธรรมเนียมที่มีมาต้ังแตสมัยอยุธยา43 สมัย

รัตนโกสินทรตอนตนกอนการปรับปรุงระบบภาษีอากร (รัชกาลที่ 1- รัชกาลที่ 5) มีลักษณะการจัดเก็บ

ภาษีอากรตามแบบสมัยอยุธยาและธนบุรี แตกตางเพียงการเปล่ียนพิกัดอัตราบาง หนังสือพระราช

พงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 1 ไดกลาววา “ผลประโยชนของแผนดินในรัชกาลที่ 1 ไดจาก

ภาษีอากรที่เก็บไดในคร้ังนั้น คือ อากรสุรา อากรบอนเบ้ีย อากรขนอนตลาด คาน้ํา เก็บตาม

เคร่ืองมือ อากรสมพัตสร อากรสวน แตคานานั้นเก็บเปนหางขาวและเก็บของสวย สินคาตาง ๆ เงินที่

ไดจากภาษีอากรปละไมมากนักผลประโยชนที่ไดมากในคร้ังนั้นในการคาสําเภา”44 ไมปรากฏหลักฐานวา

มีปญหาในการจัดเก็บในสมัยนี้เพราะตัวกฎหมายที่ใชไมดีเนื่องจากรัชกาลที่ 1 ตองเรงในการสรางราช

ธานีใหมและมีการศึกสงคราม ดังนั้น จึงตองมีรายจายมากและสงผลมาในรัชกาลที่ 2 การเก็บภาษีใน

รัชกาลนี้นาจะมีการร้ือฟนมาใชมากข้ึนกวารัชกาลแรก แตทวาลักษณะสวนใหญก็คงดําเนินตามรูป

แบบเดิม ดังนั้น จํานวนภาษีที่เก็บไดในปหนึ่ง ๆ ไมใครจะใชจายในราชการเงินที่เหลือคงคลังมีนอย

ตองแตงสําเภาไปคาขายหากําไรเพิ่มเติม สมัยรัชกาลที่ 3 เปนสมัยที่เปนวิวัฒนาการของการจัดเก็บภาษี

อากร เปนสมัยที่รายไดจากภาษีอากรของไทยรุงเรืองมาก เนื่องจากพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ.2367-

พ.ศ.2394) ทรงหันมาใชวิธีการประมูลผูกขาดภาษีอากรอยางเขมงวดเพื่อใหไดจํานวนมากและแนนอน

เนื่องจากในรัชกาลที่ 2 รายไดแผนดินไมพอจาย คร้ันรัชกาลที่ 3 มีศึกสงคราม ดังนั้นพระองคจึงทรง

พยายามแสวงหารายไดมาชดเชยใหเพียงพอกับรายจาย โดยการเปลี่ยนระบบการผูกขาดที่กษัตริยทรง

41ชัย เรืองศิลป, ประวัติศาสตรไทยสมัย พ.ศ.2352-2453 (กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช,

2522), 29 - 30.

42เร่ืองเดียวกัน, 6.

43ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 65 พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)

(ม.ป.ท., 2503), 19.

44เร่ืองเดียวกัน, 36.

Page 61: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

46

ดําเนินการมาเปนระบบใหเอกชนทําการผูกขาดภาษี โดยรูปแบบดังกลาวมีมาแตสมัยอยุธยาตอนปลาย

ที่ชัดเจนในสมัยพระเจาอยูหัวบรมโกษฐ ซึ่งผูที่ไดรับทําสวนมากเปนชาวจีน45 ในชวงนั้นไทยจําเปนตอง

ลงชื่อรวมในหนังสือสัญญาสองฉบับกับอังกฤษ โดยฉบับหนึ่งเปนหนังสือสัญญาทางพระราชไมตรี อีก

ฉบับหนึ่งเปนขอตกลงเกี่ยวกับการคาขาย ซึ่งหากพิจารณาตามความเห็นของคนสมัยปจจุบันนับเปน

สัญญาที่ใหโทษแกเศรษฐกิจเมืองไทยมากกวาใหคุณและไดต้ังขอสังเกตวาหนังสือสัญญาทางพระราช

ไมตรี ซึ่งพวงทายขอตกลงเกี่ยวกับการคาขายรวมสองฉบับนั้นเปนหนังสือสัญญาฉบับแรกที่รัฐบาลสมยั

กรุงเทพฯ ยินยอมทํากับตางประเทศและการทําหนังสือสัญญาคร้ังนี้รัฐบาลทําดวยความไมเต็มใจ ดวย

เหตุผลดังกลาวเปนสาเหตุใหรัชกาลที่ 3 ตองทรงปรับปรุงระบบการจัดเก็บภาษีอากรเพราะปญหา

ทางดานเศรษฐกิจจึงมีการแกปญหาโดยการแกไขในเร่ืองการจัดเก็บภาษีและไดมีการแกไขโดยวาง

ระบบการจัดเก็บข้ึนใหม ทําใหในสมัยรัชกาลที่ 3 รายไดจากภาษีอากรของไทยรุงเรืองมากและคําวา

“ภาษี” ที่มีความหมายวาผลประโยชนหรือเงินที่เก็บไดก็ปรากฏเปนคร้ังแรกในรัชกาลที่ 3 นี้เอง เพราะ

เดิมคําวาภาษีมิไดมีความหมายถึงผลประโยชนแตมีความหมายวาใหญหรือมาก สมเด็จกรมพระยา

ดํารงราชานุภาพทรงกลาววา “คําวาภาษีคงมาจากคําวา “บูซี้” ซึ่งเปนภาษาจีนหมายถึง สํานักเจา

พนักงานเก็บผลประโยชนแผนดิน ซึ่งมีข้ึนเมื่อรัชกาลที่ 3 เมื่อใครประมูลไดก็ไดชื่อวา “เจาภาษี” 46

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวไดทรงแกไขปญหาทางดานเศรษฐกิจดังกลาวโดยทรงจัดระเบียบ

การเก็บภาษีอากรใหมมีการแกไขวิธีเก็บภาษีอากรที่เดนชัดคือ การเก็บอากรคานา และพระองคทรง

เปล่ียนวิธีการเก็บภาษีใหมีการประมูลผูกขาดตัดตอนไปจัดเก็บสวนชักจากผลประโยชนที่ราษฎรทํามา

หาไดทั้งนี้เพื่อใหไดเงินมากและแนนอน ผูที่ไดรับการผูกขาดเรียกเก็บภาษีเรียกวา “เจาภาษี” หรือ

“นายอากร” และเรียกสถานที่ต้ังเก็บภาษีวา “โรงภาษี” โดยที่สินคาหรือส่ิงผูกขาดบางชนิดไดรวมถึงภาษี

ศุลกากรดวย จึงมักต้ังโรงภาษีในทําเลที่สินคาผานไปมาทํานองเดียวกับขนอน ตางกันตรงที่วา ขนอน

เปนสถานที่ที่เจาพนักงานไปต้ังเก็บแตโรงภาษีเปนของเอกชนที่ประมูลภาษีไดเปนผูเก็บและไดมีวิธี

ผูกขาดการเก็บภาษีอากรข้ึน เพื่อที่จะเก็บภาษีอากรอยางจริงจังใหไดผลเต็มเม็ดเต็มหนวย เนื่องจากมี

ผูเสนอรับทําภาษีส่ิงของบางอยาง ซึ่งรัฐบาลเห็นวาจะมีรายไดแนนอนและของนั้น ๆ แตเดิมไมเคยเปน

รายไดมากอน รัฐบาลจึงใหรับทําภาษีเหลานั้นข้ึน การที่ผูใดจะไดรับทําภาษีอากรชนิดใดชนิดหนึ่งก็

ตองเปนผูประมูลใหราคาสูงสุด ใครประมูลไดเรียกวา “เจาภาษีนายอากร” เจาภาษีนายอากรซ่ึงไดรับ

ทําภาษีรัฐบาลจะมอบอํานาจสิทธิ์ขาดในการเก็บภาษีอากรตามที่ตนประมูลไดใหไปดําเนินการและเมื่อ

45เร่ืองเดียวกัน, 155 - 157.

46สมเด็จพระบรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพ, อธิบายตํานานภาษีอากรและตํานาน

ภาษีบางอยาง (พระนคร : อักษรสาสน, 2512), 9.

Page 62: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

47

ถึงกําหนดเวลา จะตองนําเงินภาษีอากรที่เก็บไดมาสงใหครบ47 การที่รัชกาลที่ 3 ทรงต้ังภาษีข้ึนถึง 38

ชนิดและจัดระเบียบการเก็บภาษีอากรโดยมีเจาภาษีนายอากรเปนผูรับประมูลผูกขาดและยังมีรายได

จากการคาขายของหลวงและของเจานายขาราชการผูใหญซึ่งแตงสําเภาไปคาขายตางประเทศทําให

เกิดผลประโยชนกับแผนดินทวีข้ึนรัฐมีรายไดไมตํ่ากวาปละ 25,000,000 บาท48

แมการแกไขปญหาทางเศรษฐกิจจะทําไดดีแตอุปสรรคที่เกิดจากการใชบังคับกฎหมายภาษี

อากรในสมัยนี้ที่พบคือในสมัยนี้หนวยงานบริหารภาษีอากรยังสับสน ไมมีระเบียบกฎเกณฑและ

หนวยงานเฉพาะสวนราชการแตละหนวยตางก็ทําการเก็บผลประโยชนดวยกัน ดังนั้นความรับผิดชอบ

เฉพาะเจาะจงจึงไมมี ทําใหการดําเนินการควบคุมทางการคลังเปนไปไดแสนยากและไมมีประสิทธิภาพ

มักปรากฏวาขาราชการพยายามจะสังกัดหนวยงานที่มีผลประโยชนมาก หนวยงานที่ทําหนาที่เกี่ยวกับ

การเก็บภาษีอากรในสมัยนี้มีมาก เชน พระคลังมหาสมบัติ พระคลังในซาย พระคลังในขวา กรม

มหาดไทย กรมพระกลาโหม แตละหนวยงานมักจะมีหนาที่ปกครองหรือปองกันประเทศควบคูไปกับ

การทําผลประโยชน49

การมีหลายกระทรวงทําการควบคุมการจัดเก็บภาษีอากรมีผลใหเกิดความสับสนของการ

ควบคุมภาษีอากร เปนการเปดโอกาสใหขุนนางช้ันผูใหญบางทานสามารถหาผลประโยชนใหแกตน ทํา

ใหเห็นวาแมรายไดในสมัยรัชกาลที่ 3 จะมากข้ึน แตทวามิไดเต็มเม็ดเต็มหนวย ผูที่ไดประโยชนจริง ๆ

คือเจาภาษีนายอากรหรือกลุมบุคคลที่ได รับผลประโยชนดวยระบบการจัดเก็บภาษีอากรมิได

เปล่ียนแปลงไปจากสมัยอยุธยามากนักทําใหเห็นสภาพการดําเนินงานอัตราภาษี ตลอดจนการควบคุม

ระบบภาษี การใชบังคับกฎหมายภาษีอากรซึ่งเปนไปอยางไมมีประสิทธิภาพจึงเปดโอกาสใหมีการ

ทจุริตประกอบกับการผูกขาดการจัดเก็บภาษีอากรโดยเอกชนเปนไปอยางไมมีหลักเกณฑ รัฐบาลจึงมิได

รับรายไดเต็มและความสับสนของหนวยงานทําใหความรับผิดชอบหละหลวม ทําใหการควบคุมเจาภาษี

นายอากรไมรัดกุม ทําใหประสิทธิภาพในการใชบังคับกฎหมายภาษีอากรไมดีเทาที่และในภายหลังก็

สงผลกระทบดังจะเห็นไดจากภาวะเศรษฐกิจ ในสมัยรัชกาลที่ 4 ไดมีการเปลี่ยนแปลงทางดานการเก็บ

ภาษีอากรเนื่องจากผลของการทําสนธิสัญญาเบาวร่ิง ผลของการทําสัญญาทําใหไทยเก็บภาษีสินคาขา

เขาไดเพียงรอยละ 3 ของราคาสินคาขาเขา และสัญญายังมีผลทําใหระบบการคาแบบผูกขาดตองถูก

47พระวรวงศเธอพระองคเจาวิวัฒนไชย ไชยยันต, กฎหมายการคลัง (กรุงเทพฯ :

อักษรสาสน, 2504), 4.

48เร่ืองเดียวกัน, 28.

49ญาดา ประภาพันธ, ระบบเจาภาษีนายอากรสมัยกรุงเทพฯ ยุคตน (กรุงเทพฯ :สรางสรรค,

2524), 137.

Page 63: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

48

ยกเลิกทําใหรัฐบาลตองขาดรายไดเปนจํานวนมาก50 เพราะการยกเลิกการเก็บภาษีอากรขาเขาและขา

ออกซ่ึงเดิมมีกฎเกณฑไมแนนอนเปนการกําหนดอัตราที่แนนอน สวนสินคาขาออกจะตองเก็บในอัตราที่

มีกําหนดไวตอทายสัญญาและไมใหมีการเก็บภาษีซอนในการเรียกเก็บใหเก็บแตเพียงช้ันเดียว และภาษี

เบิกรองหรือภาษีปากเรือซึ่งเคยเปนรายไดสําคัญทางหนึ่งก็ตองยกเลิกไป51 พระบาทสมเด็จพระจอม

เกลาเจาอยูหัวรัชการที่ 4 ทรงคิดหาทางแกไขภาวะคาครองชีพของราษฎรใหดีข้ึนในดานเศรษฐกิจและ

ทรงใหรัฐบาลแกไขการใชบังคับกฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากรคือการสรางระบบการคลังใหมเพื่อจัดหาเงิน

มาทดแทนใหพอเพียงกับรายจาย พระองคจึงจําเปนตองหาวิธีชดเชยรายไดที่ขาดไปดวยการเก็บภาษี

อากรตาง เพิ่มข้ึนถึง 14 ชนิด รวมเปนภาษีอากรที่เรียกเก็บจากราษฎรถึง 52 ชนิด ภาษีอากรที่

ต้ังข้ึนใหมนี้ทําใหราษฎรไดรับความเดือดรอนเพราะเปนภาษีที่เก็บจากส่ิงของเคร่ืองใชที่จําเปน52 และ

เนื่องจากพระองคยังตองทรงแกไขปญหาใหขาราชการชั้นผูใหญรวมทั้งผูมีบรรดาศักด์ิซึ่งเคยทําการ

คาขายมากอนที่ตองเสียผลประโยชนเพราะในการทําสนธิสัญญาดังกลาว โดยใหมีหนาที่เก็บภาษีอากร

เพื่อจะไดสวนแบงจากการเก็บทดแทนผลประโยชนที่บุคคลเหลานั้นตองเสียไป การแกไขปญหาดังกลาว

เปนเหตุใหตอมาภายหลังเงินภาษีอากรของรัฐบาลตกคางอยูตามกระทรวงตาง ๆ มากจนเงินในพระคลัง

ไมพอใชจายในราชการ53 ดวยเหตุนี้ทําใหรัชกาลที่ 5 ทรงเปล่ียนแปลงการจัดเก็บภาษีอากรในเวลา

ตอมาการเปล่ียนแปลงการจัดเก็บภาษีอากรในสมัยรัชกาลที่ 5 เปนการปฏิรูประบบการบริหารภาษีอากร

คร้ังสําคัญมีการวางหลักเกณฑเพื่อแกไขปญหาขอบกพรองตาง ๆ งานปรับปรุงที่ไดดําเนินมานั้นมีหลาย

ประการที่พองกับลักษณะการจัดเก็บภาษีอากรในปจจุบัน เหตุที่ตองมีการเปลี่ยนแปลงดังกลาวเพราะ

การที่ รัฐบาลเปนหนี้สินประมาณแสนชั่ง ในสมัยตนรัชกาลที่ 5 นั้น ทําใหพระบาทสมเด็จพระ

จุลจอมเกลาเจาอยูหัวตองใครครวญหาวิธีแกไขฐานะการคลังพระองคทรงเห็นวาการที่จะทํานุบานเมือง

ใหเจริญกาวหนาเปนอารยประเทศนั้นจะทําไดดีและรวดเร็วก็ตอเมื่อรัฐบาลไดรายไดจากภาษีอากร

มาก ๆ และอุดรูร่ัวไหลของเงินรายไดรายจายใหสําเร็จ พระองคเห็นวาเร่ืองการคลังเปนเร่ืองสําคัญและ

เปนเร่ืองเรงดวนที่จะตองปรับปรุงโดยการปรับปรุงจะตองเร่ิมตนที่กลไกการเก็บภาษีอากรจะตองเอา

ภาษีอากรตาง ๆ มารวมไวในที่แหงเดียว เพื่อความสะดวกในการควบคุมและจะตองเปล่ียนวิธีประมูล

ภาษีอากรเสียใหมเพื่อมิใหเจาภาษีโกงรัฐบาลหรือเอาเงินที่จะตองสงรัฐบาลไปหมุนหากําไรทางการคา

50นคร พันธุณรงค, รศ. ประวัติศาสตรไทยสมัยกรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร, พิมพคร้ังที่ 2

(กรุงเทพฯ : พิฆเณศ, 2526), 341.

51สมสวาท ชวนไชยสิทธิ์, การปฏิรูปภาษีอากรในรัชสมัยสมเด็จพระปยมหาราช (กรุงเทพฯ :

คุรุสภาลาดพราว, 2518), 52.

52เร่ืองเดียวกัน, 21.

53เร่ืองเดียวกัน, 48.

Page 64: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

49

หรือการทํามาหากินอยางอ่ืน ดังนั้น จึงเห็นไดวาการเก็บภาษีอากรมีขอบกพรองที่กอใหเกิดปญหาตาง

ๆ หลายประการ จึงอาจสรุปปญหาของภาษีอากรที่เปนอยูในตอนตนรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ

จุลจอมเกลาเจาอยูหัวไดดังนี้54 1) ปญหาเร่ืองหนวยงานราชการที่รับผิดชอบดานภาษีอากร 2) ปญหา

การแตงต้ังเจาภาษีนายอากร 3) ปญหาการปฏิบัติงานของเจาภาษีนายอากรโดยไมมีการควบคุม

4) ปญหาการเก็บภาษีอากรจากผูอยูใตบังคับตางประเทศ 5) ผลเสียที่เกิดจากปญหาของการภาษี

อากรกอนทําการปฏิรูป จากปญหาของการจัดเก็บภาษีอากรดังกลาวขางตน มีรายละเอียดดังตอไปนี้

1. ปญหาเร่ืองหนวยงานราชการที่รับผิดชอบดานภาษีอากร หนวยงานที่มีหนาที่เก็บภาษีอากร

มิไดมีเฉพาะแตกรมพระคลังมหาสมบัติเทานั้น กรมอื่น ๆ ในสังกัดพระคลังก็ลวนแตมีหนาที่เก็บภาษี

อากรดวยและการเก็บภาษีอากรยังไดกระจัดกระจายอยูในกรมอื่น ๆ ที่มิไดสังกัดกรมพระคลังอีกดวย

คือ กรมมหาดไทย กรมพระกลาโหม กรมเมือง กรมนาและกรมสุรัสวดี การเก็บภาษีอากรของกรม

มหาดไทยและกรมพระกลาโหมแตเดิมรับผิดชอบในดานการปองกันประเทศ การปกครองบานเมือง

การเก็บสวยและเคร่ืองราชบรรณาการ ตลอดจนการตัดสินคดีความตาง ๆ นับวาราชการในหนาที่ของ

กรมทั้งสองมีมากอยูแลวและตอมายังไดรับหนาที่เก็บภาษีอากรอีก ภาษีอากรที่อยูในความรับผิดชอบ

ของกรมทั้งสองมีมากกวาภาษีอากรในความรับผิดชอบของพระคลัง จึงทําใหกรมมหาดไทยและกรมพระ

กลาโหมมีงานทําลนมือ

การเก็บภาษีอากรซ่ึงทําโดยหนวยงานหลาย ๆ หนวยนั้นยอมเปนการยากที่จะควบคุมใหการ

เก็บดําเนินไปอยางรัดกุมและมีประสิทธิภาพ เพราะกรมตาง ๆ ขางตนก็ดําเนินการเกบ็ภาษีอากรของตน

เปนเอกเทศ กรมพระคลังไมสามารถควบคุมได นอกจากนั้นระเบียบปฏิบัติของหนวยงานที่ทําหนาที่

เก็บภาษีอากรก็ยังแตกตางกันอีกดวยทําใหเกิดการลักล่ันและไมเสมอกันในทางปฏิบัติและการที่

เจาพระยาพระคลังทําหนาที่ควบคุมการภาษีอากรและเงินรายไดรายจายของประเทศมีหนาที่จะตอง

ปฏิบัติหลายอยางทําใหตองละงานดานภาษีอากรใหผูอ่ืนดําเนินการแทน แตปรากฏวาผูที่ทําหนาที่แทน

เจาพระยาพระคลังมีอํานาจนอยไมสามารถควบคุมการเก็บภาษีอากรไดทั่วถึง กลาวไดวาการบริหาร

ภาษีอากรกอนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวจะทรงทําการปฏิรูปนั้น การบริหารและการ

ควบคุมสวนใหญคงถือแบบอยางที่เคยปฏิบัติมาแตเดิม แมวาจะมีการเปล่ียนแปลงในสมัยรัชกาลที่ 3

โดยเร่ิมมีการผูกขาดภาษีอากรใหเจาภาษีนายอากรรับประมูลไปทํา การจัดเก็บภาษีใดข้ึนกับกรมใดเจา

ภาษีนายอากรก็เปนผูนําเงินสงกรมนั้นแลวกรมนั้น ๆ จึงนําเงินที่เหลือจากการหักรายจายออกแลวนาํสง

พระคลัง ซึ่งจะมีจํานวนมากนอยเทาใดพระคลังก็รับไวเทานั้นไมมีสิทธิและอํานาจพอที่จะเรียกเรงเก็บ

เงินภาษีที่คางอยูไดเลย

54เร่ืองเดียวกัน, 23 - 52.

Page 65: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

50

2. ปญหาการแตงต้ังเจาภาษีนายอากร ต้ังแตรัชกาลที่ 3 เปนตนมา ไดดําเนินการโดยมีผู

ประมูลเงินของรัฐรับผูกขาดเก็บผลประโยชนแผนดิน ผูใดเสนอราคาใหรับรัฐสูงสุด ผูนั้นก็จะชนะการ

ประมูล มีอํานาจสิทธิ์ขาดในการเก็บภาษีที่ประมูลไดแตผูเดียวและรับประมูลทําอากรในกิจการประเภท

ที่ตนประมูลได เม่ือไดรับเลือกเปนเจาภาษีนายอากรแลวทางราชการก็จะมอบหนังสือสําคัญใหเปน

หลักฐานไปดําเนินการจัดเก็บที่เรียกวา “สารตราต้ัง” ในสารตราต้ังนี้จะระบุวาบุคคลผูนั้นไดรับอนุญาต

ใหเก็บภาษีอากรชนิดใดเก็บในพิกัดอัตราเทาไรตลอดจนระบุถึงอาณาบริเวณ แตเนื่องจากการตั้งระบบ

ดังกลาวยังขาดหลักเกณฑที่รัดกุมในการเลือกเจาภาษีนายอากรที่เปนคนดีและมีหลักฐานมั่นคง

เจาภาษีนายอากรเม่ือไดรับผูกขาดภาษีชนิดใดไปแลวไดรับสิทธิตาง ๆ หลายประการ สิทธิที่ไดรับนั้น

เปนชองทางใหเจาภาษีนายอากรทําการแสวงหาผลประโยชนที่เกินขอบเขตไดงาย นอกจากนั้นการจะ

เก็บภาษีอากรชนิดใด รัฐมิไดเปนผูกําหนดแตทางภาษีนายอากรจะเปนผูเสนอข้ึนมา ดังนั้นภาษีอากร

บางชนิดจึงทําความเดือดรอนใหแกราษฎร

3. ปญหาการปฏิบัติงานของเจาภาษีนายอากรโดยไมมีการควบคุม วิธีการเก็บภาษีอากรโดย

ใหเจาภาษีนายอากรรับประมูลผูกขาดไปจัดเก็บนั้นเปนการเปดโอกาสใหเจาภาษีนายอากรใชอํานาจไป

ในทางที่ไมถูกทําใหราษฎรไดรับความเดือดรอน เนื่องจากถูกกดข่ีขมเหงคดโกงตาง ๆ ถึงแมจะมีการ

ฟองรองกันราษฎรก็ไมเคยชนะความจนในที่สุด เบ่ือที่จะรองทุกขตองยอมทนเสียภาษีใหกับเจาภาษี

นายอากร นอกจากนั้นในดานการปกครองบรรดาเจาภาษีนายอากรมีเร่ืองแยงชิงการเก็บผลประโยชน

กันเกิดมีสมาคมลับอ้ังยี่กอกวนความสงบเปนภาระที่รัฐตองดําเนินการปราบปราม

4. ปญหาการเก็บภาษีอากรจากผูอยูใตบังคับตางประเทศ ประเทศไทยภายหลังไดทําหนังสือ

สัญญาทางพระราชไมตรีคือรายไดของรัฐขาดไปเปนจํานวนมากประกอบกับผลประโยชนที่ไดจากภาษี

อากรตาง ๆ คือภาษีเบิกรองหรือภาษีปากเรือ ภาษีสินคาขาเขา ภาษีสินคาขาออกจะตองถูกจํากัดให

เปนไปตามสัญญาทางพระราชไมตรีที่ไทยทํากับตางประเทศระบุไว คือรัฐมีรายไดจากสินคาขาเขาใน

อัตรารอยละ 3 และสินคาขาออกตองเก็บตามพิกัดอัตราที่ตอทายสัญญาเทานั้น สวนภาษีปากเรือตอง

ยกเลิกไป ทําใหรายไดทางศุลกากรลดนอยลงกวาที่ควรจะเปน พอคาตางประเทศมีสิทธิที่จะซื้อขาย

สินคากับคนไทยโดยตรง ถือวาเปนการยกเลิกระบบผูกขาดที่มีมานานแตโบราณไป ทําใหผลประโยชน

ของบรรดาขาราชการซึ่งเคยไดจากการผูกขาดภาษีอากรก็หมดไปดวยจึงนับวาสนธิสัญญาทางพระราช

ไมตรีเปนอุปสรรคตอการจัดเก็บภาษีอากรของไทยในสมัยนั้นทําใหรัชกาลที่ 4 จึงตองหาวิธีชดเชย

รายไดที่ขาดไปดวยการเก็บภาษีอากรส่ิงตาง ๆ เพิ่มข้ึนอีก 14 ชนิด และใหขาราชการชั้นผูใหญรวมทั้ง

ผูมีบรรดาศักด์ิซึ่งเคยทําการคาขายมากอนใหมีหนาที่เก็บภาษีอากรเพื่อจะไดสวนแบงจากการเก็บ

ทดแทนผลประโยชนที่บุคคลเหลานั้นตองเสียไปเพราะการทําสนธิสัญญาดังกลาวการแกไขดังกลาวเปน

เหตุใหตอมาภายหลังเงินภาษีอากรของรัฐบาลตกคางอยูตามกระทรวงตาง ๆ มาก จนทําใหเงินในพระ

Page 66: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

51

คลังไมพอใชจายในราชการ เมื่อเร่ิมตนรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวจึงทรงตอง

จัดต้ังหอรัษฎากรพิพัฒนและกระทรวงการคลังข้ึน

5. ผลเสียที่เกิดจากปญหาของการภาษีอากรกอนทําการปฏิรูป ผลเสียขอนี้เกิดจากเงินภาษี

อากรที่เก็บไดแทนที่จะนําสงพระคลังมหาสมบัติโดยตรง เพื่อพระคลังจะไดรูจํานวนที่แนนอนและจัดสรร

ไปใชในกิจการที่เปนประโยชนตอบานเมือง แตปรากฏวาเงินภาษีอากรตองถูกแบงเฉล่ียใหแกกรมและ

บุคคลตาง ๆ อีกมาก เงินที่สงมายังพระคลังมหาสมบัติคือจํานวนที่เหลือจากการหักรายจายเรียบรอย

แลว พระคลังจึงมีรายรับตามแตกรมตาง ๆ จะสงให ไมมีอํานาจหนาที่ที่จะเขาไปควบคุมอยางใกลชิด

อีกประการหนึ่งรายไดลดนอยลงทั้ง ๆ ที่เก็บภาษีอากรมากชนิดข้ึน ที่เปนเชนนี้เพราะบรรดาเจาภาษี

นายอากรไมนําเงินที่เก็บไดมาสงแตกลับนําไปใชเพื่อประโยชนสวนตัว เงินของรัฐตกคางอยูที่เจาภาษี

นายอากรเปนจํานวนมาก ทั้งนี้เพราะไมมีกฎเกณฑและบทลงโทษที่จะควบคุมการปฏิบัติของเจาภาษี

นายอากร จึงเปนชองทางใหเปนหนี้รัฐมากข้ึน จนเงินรายไดไมเพียงพอกับรายจาย สุดทายเงินรายได

ของรัฐตกตํ่าไปเพราะการที่ประเทศไทยทําสนธิสัญญาทางพระราชไมตรีกับตางประเทศมีผลทําใหไทย

ตองปฏิบัติตามขอผูกพันในสัญญานั้น ซึ่งเปนการลดรายไดภาษีอากรบางสวนของประเทศลง

จากปญหาตาง ๆ ดังกลาวขางตนเม่ือพิจารณาแลวแสดงใหเห็นถึงระบบการจัดเก็บภาษีอากร

ที่ขาดประสิทธิภาพ เนื่องจากรัฐไมไดดําเนินการบังคับจัดเก็บภาษีเอง แตมีเจาภาษีนายอากรหรือรับ

ประมูลไปทําการจัดเก็บเปนปญหาทางดานตัวบุคคลผูทําหนาที่จัดเก็บเงินไดแลวมักจะนําไปใชเปน

ประโยชนสวนตัว ปญหาเกิดจากขาดระบบในการตรวจสอบควบคุมบุคคลที่จะเขามาดําเนินการจัดเก็บ

แทนรัฐในขณะนั้น ดังนั้น แมจะเก็บภาษีอากรเพิ่มข้ึนหลายชนิดแตจํานวนเงินที่ไดกลับลดลง ไมเพียง

พอที่จะนํามาใชจายในการทํานุบํารุงประเทศ วิธีการที่พระองคทรงกระทําคือทรงจัดระเบียบการภาษี

อากรในรัชสมัยของพระองคใหมใหรัดกุมและเปนไปในรูปที่กอใหเกิดประโยชนแกประเทศใหมากที่สุด

ดังวิธีการปฏิรูปภาษีอากรในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ดังนี้

1. การจัดระเบียบบริหารและหนวยงาน

1.1 การจัดต้ังหอรัษฎากรพิพัฒนและพระราชบัญญัติสําหรับหอรัษฎากรพิพัฒนในป

พ.ศ.2416 รัชกาลที่ 5 ทรงต้ังหอรัษฎากรพิพัฒนข้ึนเพื่อเปนสถานที่สําหรับรวบรวมพระราชทรัพยและ

เงินภาษีอากรที่เคยข้ึนอยูกับกรมตางๆ ใหมารวมไวในที่แหงเดียวกันพรอมกันนั้น ไดมีการตรา

พระราชบัญญัติสําหรับหอรัษฎากรพิพัฒนข้ึนเปนหลักปฏิบัติของบุคคลผูทําหนาที่เกี่ยวของในการ

จัดเก็บภาษีอากรซึ่งไดแก เจาพนักงานบัญชีกลาง เจาจํานวนและเจาภาษีนายอากรและไดตรา

พระราชบัญญัติสําหรับเจาภาษีนายอากรข้ึนดวยทรงมีพระราชดําริวา “ความบกพรองที่เกิดข้ึนจากเจา

ภาษีนายอากรนั้นเปนเพราะขาดหลักเกณฑที่จะควบคุมการปฏิบัติงานของเจาภาษีนายอากร

พระราชบัญญัติที่ออกมาดังกลาวนี้ไดวางหลักเกณฑการปฏิบัติไวอยางแนนอน รัดกุมแตปรากฏวา

Page 67: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

52

ปญหาท่ีเกิดข้ึนตอมาก็คือการที่ผูเปนหนี้หลวงเขามาขอรับทําภาษีอากรยังมีอยูเปนจํานวนมาก รัฐจึง

ตองหาวิธีจูงใจใหผูมีฐานะดีและไมเปนหนี้หลวงเขามารับทําภาษีอากรใหมากข้ึน”

1.2 การตราพระราชบัญญัติสําหรับพระคลังมหาสมบัติ ในป พ.ศ.2418 ไดตรา

พระราชบัญญัติสําหรับพระคลังมหาสมบัติซึ่งวาดวยกรมตาง ๆ ที่จะเบิกเงินสงเงินตอพระคลังแบง

ออกเปน 13 หมวดมาตรา แตละหมวดมาตรากลาวถึงเร่ืองภาษีอากรวาดวยเจาพนักงานผูมีอํานาจ

หนาที่เกี่ยวกับการตรวจสอบการรับและจายเงินภาษีอากรวาดวยระเบียบปฏิบัติของเจาภาษีนายอากร

เจาจํานวนและผูเกี่ยวของในการสงเงินตอพระคลังมหาสมบัติ เพื่อขจัดขอบกพรองที่เกิดจากพระราช

สมบัติสําหรับหอรัษฎากรพิพัฒน ขอบกพรอง เชน เจาภาษีนายอากรยังคงบิดพล้ิวไมสงเงินตาม

กําหนดและรัฐบาลยังขาดหลักเกณฑทางดานการบริหาร คือ ขาดผูบริหารในระดับสูงที่จะทําหนาที่

ควบคุมการปฏิบัติงานของผูที่เกี่ยวของในการจัดเก็บภาษีอากร ผลจากการปรับปรุงปรากฏวา

พระราชบัญญัติสําหรับพระคลังมหาสมบัตินี้ไดเพิ่มรายละเอียดเพื่อใหครอบคลุมการปฏิบัติงานของ

เจาหนาที่ในการจัดเก็บภาษีอากรทุกฝายและทุกระดับ ซึ่งปรากฏวาเปนผลดี คือ เจาภาษีนายอากร

และเจาจํานวนไมสามารถหลีกเล่ียงและบิดพล้ิวไดงายดังแตกอน

1.3 การปรับปรุงสวนราชการภายในของกระทรวงพระคลัง ในป พ.ศ.2433 ไดตรา

พระราชบัญญัติพระธรรมนูญหนาที่ราชการกระทรวงพระคลังข้ึนโดยมีพระราชดําริวาตําแหนงเจา

พนักงานในกรมพระคลังมหาสมบัติยังมีนอยไมเพียงพอแกราชการ และบางหนวยงานก็มีเจาพนักงาน

เกินความจําเปน นอกจากนั้นกิจการในกรมพระคลังยังมีการกาวกายกันอยู พระราชบัญญัติฉบับนี้มี

ความสําคัญตอระบบการเก็บภาษีอากรของไทยในระยะตอมา คือ ไดมีการกําหนดหนวยงานข้ึน

รับผิดชอบเกี่ยวกับการเก็บภาษีอากรอยู 2 กรม คือ กรมตรวจ ทําหนาที่ตรวจบัญชี ตรวจตรา ตรวจ

รายงานการรับจายเงินของแผนดิน และภาษีอากรทั้งหมดและกรมเจาจํานวน ทําหนาที่เก็บเงินภาษี

อากร มีกรมยอยแยกออก 5 กรม คือ กรมสวย กรมสรรพากร กรมสรรพภาษี กรมอากรที่ดินและกรม

ศุลกากร

กรมตาง ๆ ที่ทําหนาที่จัดเก็บภาษีอากรดังกลาว เมื่อไดต้ังข้ึนไดมีการตราพระราชบัญญัติ

ขอบังคับของตนข้ึนใชใหเหมาะสมกับลักษณะและชนิดของภาษีอากรที่ตนเปนผูรับผิดชอบเพื่อใชเปน

หลักปฏิบัติของเจาพนักงานสืบไป การกําหนดหนวยงานจัดเก็บภาษีอากรนี้ มีผลตอระบบการเก็บภาษี

อากรของประเทศประการหนึ่ง คือ รัฐไดพยายามเขามาดําเนินการเปนผูจัดเก็บภาษีเอง โดยใหเจา

ภาษีนายอากรรับผูกขาดไปจัดเก็บเฉพาะที่จําเปน วิธีนี้ทําใหรัฐมีรายได เพิ่มข้ึน เพราะเงินภาษีอากร

เก็บไดเทาใดก็เปนของรัฐทั้งหมด

2. การจัดระเบียบเจาภาษีนายอากร

2.1 ตราพระราชบัญญัติเจาภาษีนายอากร จ.ศ.1235 (พ.ศ.2416) เพื่อวางหลักเกณฑ

การปฏิบัติใหแนนอนแกผูที่ไดรับทําภาษีอากรผูที่เปนเจาภาษีนายอากรจะไมมีโอกาสเปนหนี้หลวงอีก

Page 68: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

53

เพราะเม่ือไมสงเงินตามเวลาที่กําหนดจะถูกปลดออกจากการเปนเจาภาษีนายอากร และเปดประมูล

ใหม เพื่อหาเจาภาษีคนตอไปอันจะเปนการปองกันขอบกพรองที่เคยมีแตกอนทําการปฏิรูปใหนอยลง

แตหลังจากที่ไดประกาศใชพระราชบัญญัติจัดระเบียบภาษีอากรในป พ.ศ.2416 ก็ยังมีปญหาที่

เกี่ยวของกับเจาภาษีนายอากรอีกหลายประการ

2.2 ตราพระราชบัญญัติการภาษีอากร ร.ศ.111 (พ.ศ.2435) ในป พ.ศ.2435 ใหตรา

พระราชบัญญัติการเก็บภาษีอากรข้ึนใหมโดยกําหนดหลักเกณฑการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษี

อากรไวอยางละเอียดเปนการแกไขขอบกพรองของพระราชบัญญัติเจาภาษีนายอากรฉบับเกาที่ได

ยกเลิกไปและเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงระเบียบวิธีการปกครองใหม โดยจัดต้ังกระทรวงข้ึน 12 กระทรวง

กระทรวงพระคลังมหาสมบัติซึ่งจัดต้ังมาแลวในป พ.ศ.2433 ก็เปนกระทรวงสําคัญกระทรวงหน่ึง ไดมี

การปรับปรุงหนวยงานภายในใหม โดยแบงออกเปนกรมตาง ๆ รวม 10 กรม ในจํานวนนี้มีกรมที่ทํา

หนาที่จัดเก็บภาษีอากรที่สําคัญ คือ กรมสรรพภาษี กรมสรรพากรและกรมศุลกากร ขอนีแ้สดงใหเหน็วา

ไดมีการเปลี่ยนแปลงวิธีการเก็บภาษีอากรเสียใหม คือ ใหมีทั้งเจาพนักงานของรัฐเปนผูเก็บและเจา

ภาษีนายอากรรับผูกขาดไปทําการเก็บตามแบบเดิมในบางประเภทข้ึนอยูกับการพิจารณาของเสนาบดี

กระทรวงพระคลังวาสมควรจะใหผูใดจัดเก็บแตอยางไรก็ตามก็ไดพยายามทําเปนของรัฐใหมากที่สุด

2.3 การตราพระราชบัญญัติเพิ่มเติมภาษีอากร ร.ศ.124 (พ.ศ.2448) หลังจากที่ได

ประกาศพระราชบัญญัติการภาษีอากร ร.ศ.111 (พ.ศ.2435) ปรากฏในระยะตอมา พระราชบัญญัตินี้ได

กอใหเกิดความไมเหมาะสมของภาษีอากรแตละชนิดกฎเกณฑตาง ๆ ในพระราชบัญญัติ ไดวางไวอยาง

กวาง ๆ สวนในขอปลีกยอยนั้นเสนาบดีมีสิทธิที่จะเปล่ียนแปลงไดเมื่อเห็นสมควร55

กฎหมายในการจัดเก็บเกี่ยวกับภาษีอากรในขณะนั้นยังมิไดมีการรวบรวมเขาเปนฉบับ

เดียวกัน ไดมีการแยกการจัดเก็บออกตามพระราชบัญญัติขางตน การปรับปรุงแกไขกฎหมายเก่ียวกับ

ภาษีอากรในรัฐบาลในขณะนั้น ไมไดเกิดจากสาเหตุปญหาท่ีกฎหมายขาดประสิทธิภาพ แตเนื่องจาก

รัฐบาลมีนโยบายนําลัทธิชาตินิยมมาใชเปนเคร่ืองมือในการผลักดันการพัฒนาทางเศรษฐกิจและไดเนน

ใหประชาชนเห็นความสําคัญของภาษีดวย การกําหนดใหเปนหนาที่ของประชาชนไวในรัฐธรรมนูญ

รวมทั้งอันตรายที่อาจเกิดข้ึน จากการปลอยใหกิจกรรมทางเศรษฐกิจตนอยูในมือของตางชาติ รวมทั้ง

ไดมีการวางแนวทางในการจัดเก็บภาษีตามความสามารถในการเสียภาษีของประชาชน กําหนดรูปแบบ

ภาษีสมัยใหมโดยมีเทคโนโลยีและวิธีการคํานวณเปนแบบสมัยใหม ซึ่งไดแกการกําหนดหลักฐานการ

คํานวณภาษีอัตราภาษี วิธีการคํานวณ การใหหักคาใชจาย คาลดหยอน ไดมีการรวบรวมกฎหมายการ

จัดเก็บเปนหมวดหมูบรรจุไวเปนกฎหมายประมวลรัษฎากร ฉบับป พ.ศ.2481 มีผลใชบังคับต้ังแตวันที่

55สมสวาท ชวยไชยสิทธิ์, การปฏิรูปภาษีอากรในรัชสมัยสมเด็จพระปยมหาราช (กรุงเทพฯ :

คุรุสภาลาดพราว, 2518), 53 - 85.

Page 69: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

54

1 เมษายน พ.ศ.2482 เปนตนไป และตามพระราชบัญญัตินี้ไดมีการใหยกเลิกกฎหมายภาษีอากร

หลายฉบับ มีการแกไขเปล่ียนแปลงประมวลรัษฎากรหลายคร้ัง โดยคร้ังสําคัญในป พ.ศ.2496 ไดมกีาร

ประกาศใช พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 10) พ.ศ.2496 แกไขหลักการ

จัดเก็บอยางเดิมอยางมากมาย

ภายหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง คณะราษฎรไดผลักดันใหมีการแกไขโครงสรางของ

ระบบภาษีอากรเพื่อใหความเปนธรรมแกสังคมยิ่งข้ึน แตเดิมมาภาระภาษีตกอยูแกคนกลุมเดียวคือ

กสิกร เมื่อภาวะเศรษฐกิจของประเทศตกต่ําลง ก็เกิดความอัตคัดฝดเคืองทั่วไป ราษฎรประสบความ

ยากลําบากในการประกอบอาชีพและการเสียภาษีใหรัฐ ดังนั้น เพื่อเฉลี่ยภาระแหงภาษีออกไปใน

ลักษณะที่เปนธรรมจึงใหยกเลิกภาษีอากรเกา ๆ ใหมีการจัดเก็บภาษีข้ึนใหมใหเหมาะสมแกความเจริญ

ของบานเมือง ในป พ.ศ.2475 ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติภาษีตาง ๆ ข้ึน การปรับปรุง

กฎหมายภาษีอากรคร้ังนี้นับวาเปนรากฐานของกฎหมายประมวลรัษฎากรในปจจุบัน

นอกจากนั้นคณะราษฎรไดพิจารณาปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรมตาง ๆ ใหเหมาะสมกับ

กาลสมัยในการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ.2476 ไดมีการประกาศใช

กฎหมาย 2 ฉบับ กฎหมายฉบับแรก ไดแก พระราชบัญญัติวาดวยธรรมนูญราชการฝายพลเรือน

พ.ศ.2476 โดยมีสาระสําคัญวาใหแบงการบริหารราชการแผนดินเปนกระทรวง มีรัฐมนตรีเปนผูวาการ

ในกระทรวงหนึ่งอาจแบงราชการออกเปนกรมเลขานุการรัฐมนตรี กรมปลัด และกรมอ่ืน ๆ ตามความ

จําเปน กฎหมายอีกฉบับหนึ่ง คือ พระราชบัญญัติจัดต้ังกระทรวงและกรม พ.ศ.2476 ที่บัญญัติใหมี

กระทรวงรวม 7 กระทรวงตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ไดเปล่ียนนามกระทรวงพระคลังมหาสมบัติเปน

กระทรวงพระคลัง และในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ.2476 ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหมีการ

เปล่ียนแปลง ดังนี้ 1) แยกหนาที่กรมพระคลังมหาสมบัติซึ่งเดิมรวมอยูใน “กรมบาญชีกลาง” ไปต้ังเปน

กรมใหมวา “กรมพระคลังกองกระษาปณ” เร่ิมทําการผลิตเหรียญกษาปณออกใหประชาชนจายแลก

ตามปกติ 2) เปล่ียนนาม “กรมบาญชีกลาง” เปน “กรมบัญชีกลาง” 3) รวมกรมสรรพสามิตตและกรม

ฝนเปนกรมเดียวกันแยกออกจากกรมสรรพากร เรียกช่ือวา “กรมสรรพสามิตตและฝน”

ตอมาในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.2476 พระยาพหลพยุหเสนา ไดทําการยึดอํานาจการ

ปกครองประเทศและจัดต้ังคณะรัฐบาลชุดใหมข้ึน ไดมีการจัดระเบียบราชการบริหารประเทศอีกคร้ัง

หนึ่ง ในวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ.2476 ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง

กรม พ.ศ.2476 และพระราชกฤษฎีกาวางระเบียบกรมในกระทรวงการคลัง พ.ศ.2476 1) แกไขนาม

กระทรวงพระคลัง เปนกระทรวงการคลัง 2) แกไขนามกรมพระคลัง เปนกรมคลัง 3) แกไขกรม

สรรพสามิตตและฝนเปน กรมสรรพสามิตต

Page 70: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

55

จากพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2476 กระทรวงการคลังไดแบงสวน

ราชการเปน 8 กรม ไดแก 1) สํานักงานเลขานุการรัฐมนตรี 2) สํานักงานปลัดกระทรวง 3) กรมคลัง

4) กรมบัญชีกลาง 5) กรมพัสดุ 6) กรมศุลกากร 7) กรมสรรพสามิตต 8) กรมสรรพากร

เมื่อนายปรีดี พนมยงค ไดดํารงตําแหนงเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง (พ.ศ.2481

ถึง พ.ศ.2484) ไดแถลงนโยบายตอสภาผูแทนราษฎรขอหนึ่งวา “จะจัดการปรับปรุงภาษีอากรให

ยุติธรรมแกสังคม” จึงไดมีการปรับปรุงระบบภาษีอากรคร้ังใหญ โดยการออกพระราชบัญญัติประมวล

รัษฎากร ประกาศใชต้ังแตวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2482 ไดยกเลิกกฎหมายเกาที่เกี่ยวกับภาษีอากรที่

ลาสมัย56 จัดเก็บจากรายรับหรือจากยอดการขายทุกยอด (multiple stages sales tax) และภาษีการ

ซื้อโภคภัณฑ จัดเก็บจากสินคาฟุมเฟอยบางประเภท ซึ่งมีลักษณะคลายคลึงกับภาษีการคา

(purchase tax) ของประเทศอังกฤษและตอมาในป พ.ศ.2535 ไดนําระบบภาษีมูลคาเพิ่มและภาษี

ธุรกิจเฉพาะมาใชในการจัดเก็บแทนภาษีการคาที่มีปญหาการจัดเก็บที่ซ้ําซอนไมเปนธรรมและไม

สนับสนุนตอภาคการสงออกของประเทศ

เมื่อเกิดปญหาภาวะวิกฤติเศรษฐกิจที่ประเทศไทยในชวง พ.ศ.2541 ที่ประเทศไทยตองกูยืม

เงินจากกองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF) โดยไดสงผูเช่ียวชาญดานภาษีเพื่อศึกษาดานการบริหาร

ภาษี (tax administration advisor) ต้ังแตวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2541 และที่ปรึกษาของกองทุน

การเงินระหวางประเทศ (International Monetary Fund : IMF) สํานักงานจัดเก็บภาษี (Fiscal Affairs

Department) ดําเนินการปรับปรุงโครงสรางและระบบงานจัดเก็บภาษีที่สังกัดกระทรวงการคลังบาง

ประการและไดเสนอใหพิจารณายุบกรมสรรพสามิตโดยใหรวมเขากับกรมสรรพากร ขอศึกษาของกองทนุ

การเงินระหวางประเทศ เปนเพียงขอเสนอไมใชเงื่อนไขในหนังสือแสดงเจตจํานงและรัฐมนตรีวาการ

กระทรวงการคลังยืนยันวาไมมีนโยบายที่จะยุบกรมสรรพสามิตแตอยางใด57

ในปจจุบัน หนวยงานที่จัดเก็บภาษีอากรที่สําคัญของไทยมี 3 กรม

1. กรมศุลกากร มีหนาที่อันสําคัญที่จะตองปฏิบัติ เชน จัดเก็บภาษีศุลกากร เพื่อหารายได

ใหแกรัฐใหมากที่สุด ปองกันการลักลอบหนีภาษีศุลกากร รวมทั้งของตองจํากัดและตองหามดําเนินการ

ควบคุมของที่ตองจํากัดในการนําเขาและสงออกตามท่ีมีกฎหมายกําหนดไว เสนอนโยบายในการเก็บ

ภาษีศุลกากรตามความเหมาะสมแกสถานการณทางเศรษฐกิจของประเทศ ดําเนินการปรับปรุงการ

56กระทรวงการคลัง, การคลังของไทยต้ังแตสมัยการเปล่ียนแปลงการปกครองจนถึงปจจุบัน

[Online], accessed 1 January 2007 Available from http://www.mof.go.th/

mofhistory/history6.html 57กรมสรรพสามิต, กระทรวงการคลัง,“ลําดับเหตุการณการรวมกรมสรรสามิตและ

กรมสรรพากร,” สามิตสาร 54, 4 (กรกฎาคม - สิงหาคม 2541) : 22 - 24.

Page 71: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

56

บริหารงานของกรมศุลกากรใหเหมาะสมกับความตองการ เพื่อใหเกิดผลดีแกทั้งฝายรัฐและประชาชน

ติดตอประสานงานกับศุลกากรประเทศตาง ๆ เพื่อประโยชนในดานการบริหารงานการปองกันและ

ปราบปรามการลักลอบหนีศุลกากร ฯลฯ

นอกจากนี้ กรมศุลกากร ยังไดรับบทบาทและหนาที่จากเดิมที่เนนการจัดเก็บภาษีอากรของ

ที่นําไปนอกราชอาณาจักรมาเปนการมุงเนนที่จะพัฒนาสงเสริมดานการคาระหวางประเทศและการ

สงออก

2. กรมสรรพากร มีอํานาจหนาที่และรับผิดชอบในการควบคุมบริหารงานการจัดเก็บภาษี

อากรตามประมวลรัษฎากร พระราชบัญญัติอากรรังนกอีแอน พ.ศ.2482 พระราชบัญญัติรายได

เทศบาล พ.ศ.2497 พระราชบัญญัติรายไดสุขาภิบาล พ.ศ.2498 และพระราชกฤษฎีการายไดจังหวัด

พ.ศ.2499 นอกจากการปฏิบัติจัดเก็บภาษีอากรตามกฎหมายดังกลาว กรมสรรพากรยังมีหนาที่ควบคุม

จัดเก็บรักษาและนําสงเงินผลประโยชนรายไดของแผนดินที่ไดรับมอบหมายจากกระทรวงทบวงกรมอื่น

รวมทั้งเงินรายไดขององคการบริหารสวนทองถิ่นที่มอบหมายใหจัดเก็บแทนอีกดวย

3. กรมสรรพสามิต มีหนาที่ รับผิดชอบการจัดเก็บภาษีและรายไดจากการประกอบ

อุตสาหกรรมบางประเภท คือ สุรา ยาสูบ เคร่ืองด่ืม ซีเมนต ไพ ยานัตถุ ไมขีดไฟ เคร่ืองขีดไฟและฝน

(หนี้ผูกพันตามสัญญากอนการเลิกจําหนายฝน) นอกจากนี้กรมสรรพสามิตยังจัดเก็บเงินบํารุงการศึกษา

และสาธารณสุข (ก.ศ.ส.) และเก็บเงินเพื่อเปนรายไดของเทศบาล สุขาภิบาลและในจังหวัดทุกจังหวัด

ทั้งยังมีหนาที่ปองกันและปราบปรามผูละเมิดตอพระราชบัญญัติดังกลาวอีกดวย58

ประเภทของภาษีอากรในปจจุบัน ภาษีอากรที่จัดเก็บแตละประเภทกําหนดสถานะผูมีหนาที่เสียภาษีและวิธีการเสียภาษี

แตกตางกันแลวแตกรณี ภาษีที่จัดเก็บจากรายไดนั้น ครอบคลุมผูมีรายไดที่เปนบุคคลธรรมดา คณะ

บุคคล และนิติบุคคลประเภทตาง ๆ โดยมีหนาที่เสียภาษีเงินไดแตกตางกันไป ไดแก ภาษีเงินไดบุคคล

ธรรมดา จัดเก็บจากผูมีรายไดที่เปนบุคคลทั่วไป และหนวยภาษีที่ไดกําหนดไวเปนพิเศษ สําหรับภาษีเงิน

ไดนิติบุคคล และภาษีเงินไดปโตรเลียม จัดเก็บจากนิติบุคคลที่มีรายได เปนตน

ภาษีบางประเภทจัดเก็บจากการบริโภคสินคาและบริการ ไดแก ภาษีมูลคาเพิ่มและภาษี

ธุรกิจเฉพาะเปนภาษีที่จัดเก็บจากผูประกอบธุรกิจการคาซึ่งสามารถผลักภาระภาษีไปใหแกผูบริโภคได

นอกจากนี้ผูกระทําตราสารบางประเภทอาจอยูในขายตองเสียภาษีที่เรียกวา อากรแสตมป อีกดวย59 ใน

58แคทรียา โสภา, “อุปสรรคสําคัญของการใชบังคับกฎหมายภาษีอากรของไทย”

(วิทยานิพนธ นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545), 27 - 29.

59กรมสรรพากร,กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 1 February 2007 Available from http://www.rd.go.th/publish/814.0.html

Page 72: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

57

ที่นี้จะกลาวถึงประเภทภาษีตามภารกิจของผูมีหนาที่จัดเก็บภาษีจากสวนกลาง ไดแก กรมสรรพากร

กรมสรรพสามิต กรมศุลกากรและประเภทของภาษีที่จัดเก็บโดยองคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนตน

ภาษีที่จัดเก็บโดยกรมสรรพากร ไดแก ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา

ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาคือการจัดเก็บภาษีจากบุคคลทั่วไปหรือจากหนวยภาษีที่มีลักษณะ

พิเศษ ตามที่กฎหมายกําหนดและมีรายไดเกิดข้ึนตามเกณฑที่กําหนดโดยปกติจัดเก็บเปนรายปรายไดที่

เกิดข้ึนในปใด ๆ ผูมีรายไดมีหนาที่ตองนํา ไปแสดงรายการตนเองตามแบบแสดงรายการภาษีที่กําหนด

ภายในเดือนมกราคมถึงมีนาคมของปถัดไปสําหรับผูมีเงินไดบางกรณีกฎหมายยังกําหนดใหยื่นแบบ

ภาษีเสียภาษีตอนคร่ึงปสําหรับรายได ที่เกิดข้ึนจริงในชวงคร่ึงปแรกเพื่อเปนการบรรเทาภาระภาษีที่ตอง

ชําระและเงินไดบางกรณี กฎหมายกําหนดให ผูจายทําหนาที่หักภาษี ณ ที่จายจากเงินไดที่จายบางสวน

เพื่อใหมีการทยอยชําระภาษีขณะที่มีเงินไดเกิดข้ึนอีกดวยผูมีหนาที่เสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ไดแก

ผูที่มีเงินไดเกิดข้ึนระหวางปที่ผานมาโดยมีสถานะเปนบุคคลธรรมดาหรือหางหุนสวนสามัญคณะบุคคล

ที่มิใชนิติบุคคล ผูถึงแกความตายระหวางปภาษีและกองมรดกที่ยังไมไดแบง60 วิธีการเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 1. ขอมีเลขและบัตรประจําตัวผูเสียภาษีภายใน 60 วัน นับแตวันที่มีเงินไดเกิดข้ึน ผูมีเงินไดที่

มีภูมิลําเนาอยูในกรุงเทพมหานคร อาจยื่นคํารอง ณ สํานักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานครทั้ง 16

แหง หรือ สํานักสรรพากรพื้นที่สาขา(อําเภอ)ทุกแหงสําหรับในตางจังหวัดยื่นคําขอไดที่สํานักงาน

สรรพากรพื้นที่(จังหวัด)และสํานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา(อําเภอ)ทุกแหงแลวแตกรณี

2. ยื่นแบบแสดงรายการปกติปละ 1 คร้ัง เงินไดของปใดก็ยื่นแบบภาษี ภายในวันที่ 31

มีนาคม ของปถัดไป เวนแตเงินไดบางลักษณะ เชน การใหเชาทรัพยสิน เงินไดจากวิชาชีพอิสระ เงินได

จากการรับเหมา เงินไดจากธุรกิจการพาณิชย เปนตน จะตองยื่นแบบภาษี ตอนกลางป สําหรับเงินไดที่

เกิดข้ึนใน 6 เดือนแรก ภายในเดือนกันยายนของปนั้นกอนการยื่นภาษีประจําปตามปกติ61

ตามกฎหมาย เงินไดที่ตองเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา เรียกวา "เงินไดพึงประเมิน"

หมายถึง เงินไดของบุคคลใดๆ หรือหนวยภาษีใดขางตนที่เกิดข้ึนระหวางวันที่ 1 มกราคม ถึง 31

ธันวาคม ของปใด ๆ หรือเงินได ที่เกิดข้ึนในปภาษี ไดแก 1) เงิน 2) ทรัพยสินซึ่งอาจคิดคํานวณไดเปนเงิน

60กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง,ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 15 March 2007 Available from http://www.rd.go.th/publish/309.0.html

61กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง,ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 29 May 2007 Available from http://www.rd.go.th/publish/549.0.html

Page 73: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

58

ที่ไดรับจริง 3) ประโยชนซึ่งอาจคิดคํานวณไดเปนเงิน 4) เงินคาภาษีอากรที่ผูจายเงินหรือผูอ่ืนออกแทน

ให 5) เครดิตภาษีตามที่กฎหมายกําหนด62 การลดหยอนภาษี การหักคาลดหยอนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา กรณีบริจาคเงินเพื่อสนับสนุนการศึกษา มีผล

ใ ช บั ง คั บ สํ า ห รั บ ก า ร ยื่ น แ บบ แ สด ง ร า ย ก า ร ภ าษี เ งิ น ไ ด บุ ค ค ล ธ ร ร ม ด าป พ .ศ . 2547

ที่ตองยื่นแบบในป พ.ศ. 2548 เปนตนไป

1. ผูมีเงินไดซึ่งบริจาคเงินเพื่อสนับสนุนการศึกษามีสิทธินําเงินที่บริจาคไปหักเปนคา

ลดหยอนไดเปนจํานวนสองเทาของเงินไดที่ไดจายไปแตตองไมเกินรอยละ 10 ของเงินไดพึงประเมิน

หลังจากหักคาใชจายและคาลดหยอนอ่ืน

2. คาใชจายเพื่อสนับสนุนการศึกษาที่สามารถนํามาหักลดหยอนตองเปนคาใชจายสําหรับ

การจัดหาหรือจัดสรางอาคาร อาคารพรอมที่ดิน หรือที่ดินใหแกสถานศึกษาเพื่อใชประโยชนทาง

การศึกษา หรือจัดหาวัสดุอุปกรณเพื่อการศึกษา แบบเรียน ตํารา หนังสือทางวิชาการ ส่ือ และเทคโนโลยี

เพื่อการศึกษา ตลอดจนวัสดุอุปกรณอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของกับการศึกษา โดยตองเปนคาใชจายสําหรับ

โครงการที่กระทรวงศึกษาธิการใหความเห็นชอบ ไดแก สถานศึกษาตามโครงการพระราชดําริ

สถานศึกษาตามนโยบายท่ีจะระดมพลังเพื่อเรงรัดปรับปรุงคุณภาพและสถานศึกษาที่รองรับพัฒนาเด็ก

ดอยโอกาส เด็กพิการ

3. เปนการบริจาคใหแกสถานศึกษาตามรายชื่อสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศ

กําหนด

4. ผูบริจาคตองมีหลักฐานจากสถานศึกษาท่ีพิสูจนไดวาเปนคาใชจายเพื่อสนับสนุน

การศึกษาตามโครงการที่กระทรวงศึกษาธิการใหความเห็นชอบ63 ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดนิติบุคคล เปนภาษีอากรประเภทหนึ่งที่บัญญัติไว ในประมวลรัษฎากร จัดเก็บ

จากเงินไดของบริษัท หรือ หางหุนสวนนิติบุคคลมีหลักการจัดเก็บที่สําคัญๆ โดยลําดับดังนี้64

62กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง,ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 20 July 2007 Available from http://www.rd.go.th/publish/550.0.html

63กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง,ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 1 June 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/23371.0.html

64กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง,ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 7 June 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/308.0.html

Page 74: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

59

ผูมีหนาที่เสียภาษีเงินไดนิติบุคคล ไดแก บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล ที่จดทะเบียนตาม

ประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย และหมายความรวมถึงนิติบุคคลอ่ืนๆ ที่ไมไดจดทะเบียนตาม

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ดวย ดังนี้

บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่มีหนาที่เสียภาษีเงินไดนิติบุคคล มีดังนี้

1. บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่ต้ังข้ึนตามกฎหมายไทย ไดแก บริษัท จํากัด บริษัท

มหาชน จํากัด หางหุนสวนจํากัด หางหุนสวนสามัญจดทะเบียน

2. บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่ต้ังข้ึนตามกฎหมายตางประเทศ ซึ่งมีหนาที่เสียภาษีเงิน

ไดนิติบุคคลในประเทศไทย ก็ตอเม่ือเขาเงื่อนไขขอใดขอหนึ่ง ดังตอไปนี้ บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล

ตางประเทศนั้น เขามากระทํากิจการในประเทศไทย (มาตรา 66 วรรคแรก แหงประมวลรัษฎากร) บริษัท

หรือหางหุนสวนนิติบุคคลตางประเทศนั้น กระทํากิจการในที่อ่ืน ๆ รวมทั้งในประเทศไทย (มาตรา 66

วรรคสอง แหงประมวลรัษฎากร) บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลตางประเทศนั้น กระทํากิจการอ่ืน ๆ

รวมทั้งในประเทศไทยและกิจการที่กระทํานั้นเปนกิจการขนสงระหวางประเทศ (มาตรา 67 แหงประมวล

รัษฎากร) บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลตางประเทศนั้น มิไดประกอบกิจการในประเทศไทย แตไดรับ

เงินไดพึงประเมินตามมาตรา 40 (2) (3) (4) (5) หรือ (6) ที่จายจากหรือในประเทศไทย (มาตรา

70) บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลตางประเทศที่เสียภาษีเงินไดนิติบุคคลในประเทศไทย ตามมาตรา

76 วรรคสองและมาตรา 76 ทวิ แหงประมวลรัษฎากร ไดจําหนายเงินกําไรหรือเงินประเภทอ่ืนที่กันไว

จากกําไร หรือถือไดวาเปนเงินกําไรออกไปจากประเทศไทย (มาตรา 70 ทวิ แหงประมวลรัษฎากร) บริษทั

หรือหางหุนสวนนิติบุคคลตางประเทศนั้น มิไดเขามาทํากิจการในประเทศไทยโดยตรง หากแตมีลูกจาง

หรือผูทําการแทนหรือผูทําการติดตอ ในการประกอบกิจการในประเทศไทย ซึ่งเปนเหตุใหไดรับเงนิไดหรือ

ผลกําไรในประเทศไทย (มาตรา 76 ทวิ)

3. กิจการซึ่งดําเนินการเปนทางคา หรือหากําไร โดย รัฐบาลตางประเทศ องคการของรัฐบาล

ตางประเทศ นิติบุคคลอ่ืนที่ต้ังข้ึนตามกฎหมายของตางประเทศ

4. กิจการรวมคา (joint venture) ไดแก กิจการที่ดําเนินการรวมกันเปนทางคาหรือหากําไร

ระหวางบุคคลดังตอไปน้ีคือ บริษัทกับบริษัท บริษัทกับหางหุนสวนนิติบุคคล หางหุนสวนนิติบุคคลกับ

หางหุนสวนนิติบุคคล บริษัทและหรือหางหุนสวนนิติบุคคลกับบุคคลธรรมดาบริษัทและหรือหางหุนสวน

นิติบุคคลกับคณะบุคคลที่มิใชนิติบุคคล บริษัทและหรือหางหุนสวนนิติบุคคลกับหางหุนสวนสามัญ

บริษัทและหรือหางหุนสวนนิติบุคคลกับนิติบุคคลอ่ืน

5. มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซ่ึงมีรายได แตไมรวมถึงมูลนิธิหรือสมาคมที่รัฐมนตรี

ประกาศกําหนดใหเปนองคการหรือสถานสาธารณกุศล

Page 75: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

60

6. นิติบุคคลที่อธิบดีกําหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรีและประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหเปน

บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร65 ภาษีมูลคาเพิ่ม ผูประกอบการที่ขายสินคาหรือใหบริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพเปนปกติธุระ ไมวาจะ

ประกอบกิจการในรูปของบุคคลธรรมดา คณะบุคคลหรือหางหุนสวนสามัญที่มิใช นิติบุคคลหรือนิติ

บุคคลใด ๆ หากมีรายรับจากการขายสินคาหรือใหบริการเกินกวา 1.8 ลานบาทตอป มีหนาที่ตองยื่นคํา

ขอจดทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่มเพื่อเปนผูประกอบการจดทะเบียน โดยคํานวณภาษีที่ตองเสียจากภาษขีาย

หักดวยภาษีซื้อ66

1. ผูประกอบการที่ไมตองจดทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่ม 1) ผูประกอบการที่มีรายรับจากการ

ขายสินคาหรือใหบริการไมเกิน 1.8 ลานบาทตอป 2) ผูประกอบการที่ขายสินคาหรือใหบริการที่ไดรับ

ยกเวนภาษีมูลคา เพิ่มตามกฎหมาย 3) ผูประกอบการที่ใหบริการจากตางประเทศ และไดมีการใช

บริการนั้นในราชอาณาจักร 4) ผูประกอบการที่อยูนอกราชอาณาจักรและเขามาประกอบกิจการขาย

สินคาหรือใหบริการในราชอาณาจักรเปนคร้ังคราว ทั้งนี้ ตองเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการและเงือ่นไข ที่

กําหนดไวในประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลคาเพิ่ม (ฉบับที่ 43) ลงวันที่ 29 มกราคม

พ.ศ.2536 5) ผูประกอบการอ่ืนตามที่อธิบดีจะประกาศกําหนดเมื่อมีเหตุอันสมควร67

2. ผูประกอบการที่ไดรับการยกเวนภาษีมูลคาเพิ่มตามกฎหมาย แตสามารถขอจดทะเบียน

ภาษีมูลคาเพิ่มได 1) ผูประกอบกิจการ ขายพืชผลทางการเกษตร สัตว ไมวามีชีวิตหรือไมมีชีวิต ปุย ปลา

ปน อาหารสัตว ยาหรือเคมีภัณฑที่ใชสําหรับพืชหรือสัตว หนังสือพิมพ นิตยสาร หรือตําราเรียน 2) ผู

ประกอบกิจการขายสินคาหรือใหบริการซึ่งไมไดรับยกเวนภาษีมูลคา เพิ่มตามกฎหมายและมีรายรับไม

เกิน 1.8 ลานบาทตอป 3) การใหบริการขนสงในราชอาณาจักร โดยอากาศยาน 4) การสงออกของ

ผูประกอบการในเขตอุตสาหกรรมสงออกตามกฎหมายวาดวยการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

5) การใหบริการขนสงน้ํามันเช้ือเพลิงทางทอในราชอาณาจักร68

65กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง,ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 12 June 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/835.0.html

66กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง,ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 20 June 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/7061.0.html

67กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง,ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 25 June 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/7060.0.html

68กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง,ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 20 July 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/7059.0.html

Page 76: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

61

3. วิธีการจดทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่ม 1) แบบคําขอจดทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่มแบบคําขอที่ใช

ในการขอจดทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่ม ไดแก แบบ ภ.พ.01 ซึ่งในเขตกรุงเทพมหานครขอรับไดที่สํานักงาน

สรรพากรพื้นที่สาขา(เขต/อําเภอ) หรือสํานักงานสรรพากรพื้นที่ สําหรับในจังหวัดอ่ืนขอรับไดที่สํานักงาน

สรรพากรพื้นที่สาขา(อําเภอ) ทุกแหง 2) เอกสารที่ตองใชในการจดทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่ม คือ คําขอจด

ทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่มตามแบบ ภ.พ.01 จํานวน 3 ฉบับ สําเนาทะเบียนบานหรือหลักฐานแสดงการอยู

อาศัยจริง พรอมภาพถายสําเนาดังกลาว บัตรประจําตัวประชาชนและบัตรประจําตัวผูเสียภาษีอากร

พรอมภาพถายบัตรดังกลาว สัญญาเชาอาคารอันเปนที่ต้ังสถานประกอบการ (กรณีเชา) หรือหนังสือ

ยินยอมใหใชสถานประกอบการและหลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์ เชน เปนเจาบาน สัญญาซ้ือขาย คําขอ

หมายเลขบานใบโอนกรรมสิทธิ์ สัญญาเชาชวง พรอมสําเนาทะเบียนบานอันเปนที่ต้ังสถานประกอบการ

และภาพถายเอกสารดังกลาว หนังสือจัดต้ังหางหุนสวน พรอมภาพถายหนังสือดังกลาว (กรณีเปนหาง

หุนสวนสามัญหรือคณะบุคคล)หนังสือรับรองของนายทะเบียนหางหุนสวน บริษัท พรอมวัตถุประสงค

หนังสือบริคณหสนธิและขอบังคับ และใบทะเบียนพาณิชยพรอมภาพถายหนังสือดังกลาว (กรณีเปนนิติ

บุคคล) บัตรประจําตัวประชาชนของกรรมการผูจัดการ หรือหุนสวนผูจัดการ และสําเนาทะเบียนบาน

พรอมภาพถายเอกสารดังกลาว แผนที่ซึ่งแสดงที่ต้ังของสถานประกอบการโดยสังเขปและภาพถายสถาน

ประกอบการจํานวน 2 ชุด กรณีมอบอํานาจใหผูอื่นทําการแทน ตองมีหนังสือมอบอํานาจปดอากร

แสตมป 10 บาท บัตรประจําตัวประชาชนของผูมอบอํานาจและผูรับมอบอํานาจพรอมภาพถายบัตร

ดังกลาว โดยผูรับมอบอํานาจตองมีอายุ 20 ปข้ึนไป69

4. กําหนดเวลาจดทะเบียน คือ 1) ผูประกอบการตองยื่นคําขอจดทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่มเมือ่

เร่ิมประกอบกิจการขายสินคาหรือใหบริการ เวนแตกรณีที่ผูประกอบการมีแผนงานที่สามารถพิสูจนไดวา

ไดเตรียมการเพื่อประกอบกิจการขายสินคาหรือใหบริการที่อยูในบังคับตองเสียภาษีมูลคาเพิ่มและมีการ

ดําเนินการเพื่อเตรียมประกอบกิจการอันเปนเหตุใหตองมีการซื้อสินคาหรือรับบริการที่อยูในบังคับตอง

เสียภาษีมูลคาเพิ่ม เชน การกอสรางโรงงาน การสรางอาคารสํานักงานหรือการติดต้ังเครื่องจักร ให

ผูประกอบการมีสิทธิยื่นคําขอจดทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่มไดภายในกําหนด 6 เดือนกอนวันเร่ิมประกอบ

กิจการขายสินคาหรือใหบริการ2) ผูประกอบการที่มีรายรับเกินกวา 1.8 ลานบาทตอป ตองยื่นคําขอจด

ทะเบียนภาษีและมูลคาเพิ่มภายใน 30 วันนับแตวันที่มีมูลคาของฐานภาษี ( รายรับ ) เกินกวา 1.8 ลาน

บาทตอป70

69กรมสรรพากร,กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 23 July 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/7058.0.html

70กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง,ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 29 July 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/7057.0.html

Page 77: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

62

5. สถานที่จดทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่มการจดทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่มของผูประกอบการใหยื่น

คําขอจดทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่มตามแบบภาษีมูลคาเพิ่ม (ภ.พ.01) ณ สถานที่ดังตอไปนี้1) กรณีสถาน

ประกอบการต้ังอยูในเขตกรุงเทพมหานคร ใหยื่น ณ สํานักงานสรรพากรพ้ืนที่ หรือ สํานักงานสรรพากร

พื้นที่สาขาในเขตทองที่ที่ สถานประกอบการต้ังอยู 2) กรณีสถานประกอบการต้ังอยูนอกเขต

กรุงเทพมหานคร ใหยื่น ณ สํานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (อําเภอ) ในเขตทองที่ที่สถานประกอบการ

ต้ังอยู และกรณีสถานประกอบการตั้งอยู กรณีในทองที่อําเภอหรือกิ่งอําเภอต้ังใหมที่กรมสรรพากรมิได

จัดอัตรากําลังไว ใหยื่น ณ สํานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (อําเภอ) ที่เคยควบคุมพื้นที่เดิมของอําเภอหรือ

กิ่งอําเภอต้ังใหมนั้น กรณีสถานประกอบการหลายแหง ใหยื่นคําขอจดทะเบียนไดที่ สํานักงานสรรพากร

พื้นที่ หรือ สํานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา ในทองที่ที่สถานประกอบการอันเปนที่ต้ังของสํานักงานใหญ

เพียงแหงเดียว71

6.หนาที่ของผูประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่ม มีดังนี้ 1) เรียกเก็บภาษีมูลคาเพิ่มจาก

ผูซื้อสินคาหรือผูรับบริการและออกใบกํากับภาษีเพื่อเปนหลักฐานในการเรียกเก็บภาษีมูลคาเพิ่ม 2)

จัดทํารายงานตามที่กฎหมายกําหนด ซึ่งไดแก รายงานภาษีซื้อรายงานภาษีขายรายงานสินคาและ

วัตถุดิบ 3) ยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีตามแบบภาษีมูลคาเพิ่ม (ภ.พ.30)72 ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีธุรกิจเฉพาะ เปนภาษีตามประมวลรัษฎากรประเภทหนึ่ง จัดเก็บจากการประกอบ

กิจการเฉพาะอยางแทนภาษีการคาที่ถูกยกเลิก ภาษีธุรกิจเฉพาะเร่ิมใชบังคับใน พ.ศ.2535 พรอมกันกับ

ภาษีมูลคาเพิ่ม73

ผูมีหนาที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ไดแก ผูประกอบกิจการที่ตองเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ไมวาผู

ประกอบกิจการดังกลาวจะประกอบกิจการในรูปของ บุคคลธรรมดา คณะบุคคลที่มิใชนิติบุคคล กอง

มรดก หางหุนสวนสามัญ กองทุน หนวยงานหรือกิจการของเอกชนที่กระทําโดยบุคคลธรรมดาต้ังแตสอง

คนข้ึนไปอันมิใชนิติบุคคล องคการของรัฐบาล สหกรณ และองคกรอ่ืนที่กฎหมายกําหนดใหเปนนิติ

บุคคล

71กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง,ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 31 July 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/7056.0.html

72กรมสรรพากร,กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 2 August 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/7054.0.html

73กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง,ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 5 August 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/306.0.html

Page 78: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

63

ในกรณีผูประกอบกิจการอยูนอกราชอาณาจักร ใหผูมีหนาที่รับผิดชอบในการประกอบ

กิจการรวมตลอดถึง ลูกจาง ตัวแทน หรือผูทําการแทนซ่ึงมีอํานาจในการจัดการแทนโดยตรง หรือโดย

ปริยายที่อยูในราชอาณาจักร เปนผูมีหนาที่เสียภาษีรวมกับผูประกอบกิจการดังกลาวขางตน74

1. การประกอบกิจการที่ตองเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ กิจการที่จะตองเสียภาษีธุรกิจเฉพาะไดแก

การประกอบกิจการดังตอไปนี้ในราชอาณาจักร โดยกิจการนั้น ไมไดรับยกเวนภาษีธุรกิจเฉพาะ 1) การ

ธนาคาร ตามกฎหมายวาดวยการธนาคารพาณิชย หรือกฎหมายเฉพาะ2) การประกอบธุรกิจเงินทุน

ธุรกิจหลักทรัพย ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร ตามกฎหมายวาดวย การประกอบ ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย

และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร 3) การรับประกันชีวิต ตามกฎหมายวาดวยการประกันชีวิต 4) การรับจํานํา

ตามกฎหมายวาดวยโรงรับจํานํา 5) การประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย เชน การให

กูยืมเงินคํ้าประกัน แลกเปล่ียนเงินตรา ออก ซื้อ หรือขายต๋ัวเงิน หรือรับสงเงินไปตางประเทศดวยวิธีตาง

ๆ ในกรณีที่มีปญหาวา กิจการใดเปนการประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชยหรือไม อธิบดี

กรมสรรพากรจะเสนอใหคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากรพิจารณากําหนดขอบเขตและเงื่อนไขของการ

ประกอบกิจการดังกลาวนั้นก็ไดและเมื่อคณะกรรมการวินิจฉัย ภาษีอากรไดวินิจฉัยแลว ใหประกาศ

คําวินิจฉัยนั้นในราชกิจจานุเบกษา 6) การขายอสังหาริมทรัพยเปนทางคาหรือหากําไร ไมวา

อสังหาริมทรัพยนั้นจะไดมาโดยวิธีใดก็ตาม ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขตามพระราช

กฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 342) พ.ศ.2541 (ใชบังคับต้ังแต 1 มกราคม 2542 เปนตนไป 7) การขายหลักทรัพย

ตามกฎหมายวาดวยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยในตลาดหลักทรัพย 8) การประกอบกิจการอ่ืน

ตามกําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา มีการกําหนดใหกิจการซื้อและขายคืนหลักทรัพยที่ไดรับอนุญาตจาก

คณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพย และตลาด

หลักทรัพยเปนกิจการที่อยูในบังคับตอง เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ เนื่องจากการประกอบกิจการซ้ือหรือขาย

คืนหลักทรัพยโดยมีสัญญาหรือซ้ือคืนดังกลาวมี ลักษณะอื่นที่อยูในบังคับตองเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (พระ

ราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 350) พ.ศ. 2524 กําหนดใหการประกอบธุรกิจแฟกเตอริงเปนกิจการที่อยูใน

บังคับตองเสียภาษีธุรกิจ เฉพาะซ่ึงหมายความวา ธุรกิจที่ผูขายสินคาหรือผูใหบริการตกลงจะโอน

ทรัพยสินที่จะไดรับจากการชําระหนี้เนื่องจากการขายสินคาหรือการใหบริการระหวางตนกับลูกหนี้ของ

ตน ใหแกผูประกอบธุรกิจแฟกเตอริง โดยผูประกอบธุรกิจดังกลาวตกลงจะใหสินเช่ือซ่ึงรวมถึงการใหกูยมื

และการทดรองจายแกผูขายสินคาหรือผูใหบริการและรับที่จะดําเนินการอยางหนึ่งอยางใดดังตอไปนี้ จัด

74กรมสรรพากร,กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 12 August 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/684.0.html

Page 79: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

64

ใหมีบัญชีทรัพยสินที่จะไดรับการชําระหนี้ เรียกเก็บทรัพยสินที่จะไดรับจากการชําระหนี้ รับผิดชอบใน

หนี้ที่ลูกหนี้ของผูขายสินคาหรือผูใหบริการผิดนัด75

2. หนาที่ของผูประกอบกิจการที่ตองเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ผูประกอบกิจการที่ตองเสียภาษี

ธุรกิจเฉพาะตองปฏิบัติดังนี้ 1) หนาที่ในการจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะผูประกอบกิจการที่มีหนาที่

เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ จะตองยื่นคําขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ ตามแบบคําขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจ

เฉพาะ ภายใน 30 วันนับแตวันเร่ิมประกอบกิจการ โดยมีวิธีการจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะคือการยื่น

แบบคําขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ (ภ.ธ.01) แบบคําขอที่ใชในการจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ

ไดแกแบบ ภ.ธ.01 ทั้งนี้ใหผูประกอบกิจการ ขอรับแบบคําขอจดทะเบียนไดที่สํานักงานสรรพากรอําเภอ

หรือสํานักงานภาษีสรรรพากรพื้นที่ทุกแหงและกรอกแบบคําขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ การยื่นคํา

ขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ ผูประกอบกิจการตองกรอกแบบคําขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ คือ

แบบ ภ.ธ.01 จํานวน 3 ฉบับ โดยมีขอความครบถวนถูกตองตรงกันทั้ง 3 ฉบับ ในการกรอกรายการ ตาม

แบบ ภ.ธ.01 กิจการของผูตายตอไป และเปนผูประกอบการจดทะเบียน จะตองแจงกอนวันรับโอน

กิจการไมนอยกวา 15 วัน พรอมกับคืน ภ.ธ.20 ของผูตาย การหักภาษีเงินได ณ ที่จาย การหักภาษี ณ ที่จายของผูจายเงินไดพึงประเมินตามมาตรา 40 แหงประมวลรัษฎากร ซึ่งมี

หนาที่หักภาษี ณ ที่จาย ตามคําส่ังของอธิบดีกรมสรรพากรตามมาตรา 3 แหงประมวลรัษฎากร ให

เปนไปตามหลักเกณฑ เงื่อนไข และอัตราที่กําหนดไวในขอ 2 ขอ 3 และขอ 4

สวนการคํานวณหักภาษี ณ ที่จาย ใหคํานวณหักไวทุกคร้ังที่จายเงินไดพึงประเมิน ในอัตรารอยละของ

ยอดเงินไดพึงประเมินที่จายในแตละคร้ัง ตามประเภทเงินไดพึงประเมิน ดังตอไปนี้ 1) การจายคาซื้อ

พืชผลทางการเกษตร รอยละเจ็ดสิบหา 2) การจายรางวัลในการประกวด การแขงขันชิงโชค หรือการอ่ืน

ใดอันมีลักษณะทํานองเดียวกัน รอยละหา 3) การจายคาแสดงใหแก นักแสดงสาธารณะซ่ึงมีภูมิลําเนา

อยูในตางประเทศ ตามอัตราท่ีกําหนดในบัญชีอัตราภาษีเงินไดสําหรับบุคคลธรรมดา เวนแตนักแสดง

สาธารณะที่เปนนักแสดงภาพยนตรหรือโทรทัศนซึ่งมีภูมิลําเนาอยูในตางประเทศ เฉพาะกรณีที่มีการ

ดําเนินการถายทําภาพยนตรหรือโทรทัศนในประเทศไทยโดยบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่ต้ังข้ึน

ตามกฎหมายของตางประเทศ และไดรับอนุญาตใหถายทําในประเทศไทยจากคณะอนุกรรมการ

พิจารณาคําขออนุญาตถายทําภาพยนตรตางประเทศในประเทศไทย ตามระเบียบคณะกรรมการ

สงเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตรไทย วาดวยการขออนุญาตถายทําภาพยนตรตางประเทศในประเทศไทย

พ.ศ. 2544 รอยละสิบ คําวา "นักแสดงสาธารณะ" หมายความวา นักแสดงละคร ภาพยนตร วิทยุหรือ

75กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง,ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 15 August 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/683.0.html

Page 80: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

65

โทรทัศน นักรอง นักดนตรี นักกีฬาอาชีพ หรือ นักแสดงเพื่อความบันเทิงใด ๆ 4) การจายเงินไดพึง

ประเมินตามมาตรา 40(4)(ก) แหงประมวลรัษฎากร ใหแก บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล รอยละหนึ่ง

และมูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได แตไมรวมถึงมูลนิธิหรือสมาคมที่รัฐมนตรีประกาศ

กําหนดตามมาตรา 47(7)(ข) แหงประมวลรัษฎากร รอยละสิบ 5) การจายเงินไดพึงประเมินใหแกบริษัท

หรือหางหุนสวนนิติบุคคลท่ีต้ังข้ึนตามกฎหมายของตางประเทศที่กระทํากิจการในประเทศไทย รอยละ

หา 6) การจายเงินไดพึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ข) แหงประมวลรัษฎากร ใหแกบริษัทหรือหาง

หุนสวนนิติบุคคลรอยละ 7) การจายเงินไดพึงประเมินตามมาตรา 40(5)(ก) แหงประมวลรัษฎากร

ใหแก ผูมีหนาที่เสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาหรือภาษีเงินไดนิติบุคคล รอยละหา มูลนิธิหรือสมาคมที่

ประกอบกิจการซึ่งมีรายได แตไมรวมถึงมูลนิธิหรือสมาคมที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดตามมาตรา 47(7)(

ข) แหงประมวลรัษฎากร รอยละสิบ ผูมีหนาที่เสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาหรือภาษีเงินไดนิติบุคคล

สําหรับเงินไดพึงประเมินที่เปนคาเชาเรือตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการพาณิชยนาวี ที่ใชในการ

ขนสงสินคาระหวางประเทศ รอยละหนึ่ง 8) การจายเงินไดพึงประเมินตามมาตรา 40(6) แหงประมวล

รัษฎากร ใหแก ผูมีหนาที่เสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาหรือภาษีเงินไดนิติบุคคล รอยละสาม มูลนิธิหรือ

สมาคมที่ประกอบกิจการซ่ึงมีรายได แตไมรวมถึงมูลนิธิหรือสมาคมที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดตาม

มาตรา 47(7)(ข) แหงประมวลรัษฎากร รอยละสิบ 9) การจายคาจางทําของ รอยละสาม 10) การจาย

คาซ้ือสัตวน้ําทั้งที่มีชีวิตและไมมีชีวิต และสวนตาง ๆ ของสัตวน้ํา ไมวาจะสดหรือแชเย็น แชเย็นจนแข็ง

หรือกระทําดวยประการใด ๆ เพื่อรักษาไวมิใหเปอยเนาในระหวางการขนสง รอยละสิบ 11) การจายเงิน

ไดพึงประเมินตามมาตรา 40(2) แหงประมวลรัษฎากร ใหแกบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล รอยละ

สาม มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซ่ึงมีรายได แตไมรวมถึงมูลนิธิหรือสมาคมที่รัฐมนตรีประกาศ

กําหนดตามมาตรา 47(7)(ข) แหงประมวลรัษฎากร รอยละสิบ 12) การจายเงินไดพึงประเมินตาม

มาตรา 40(3) แหงประมวลรัษฎากร ใหแก บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล รอยละสาม มูลนิธิหรือ

สมาคมที่ประกอบกิจการซ่ึงมีรายได แตไมรวมถึงมูลนิธิหรือสมาคมที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดตาม

มาตรา 47(7)(ข) แหงประมวลรัษฎากร รอยละสิบ 13) การจายเงินไดพึงประเมินตามมาตรา 40(8)

แหงประมวลรัษฎากร เฉพาะที่เปนการจายเงินไดจากการใหบริการอื่น ๆ นอกเหนือจากกรณีที่กําหนดไว

ใน (3)(9)(15)(16) และ (17) แตไมรวมถึงการจายคาบริการของโรงแรม คาบริการของภัตตาคาร และคา

เบ้ียประกันชีวิต รอยละสาม คําวา "การใหบริการ" หมายความวา การกระทําใด ๆ อันอาจหาประโยชน

อันมีมูลคาซ่ึงมิใชการขายสินคาและคําวา "ภัตตาคาร" หมายความวา กิจการขายอาหารหรือเคร่ืองด่ืมไม

วาชนิดใด ๆ รวมทั้งกิจการรับจางปรุงอาหารหรือเคร่ืองด่ืม ทั้งนี้ ไมวาในหรือจากสถานที่ซึ่งจัดให

ประชาชนเขาไปบริโภคได" 14) การจายรางวัล สวนลด หรือประโยชนใด ๆ เนื่องจากการสงเสริมการ

ขาย รอยละสาม 15) การจายคาโฆษณา รอยละสอง 16) การจายคาเบ้ียประกันวินาศภัย รอยละหนึ่ง

17) การจายคาขนสง แตไมรวมถึงการจายคาโดยสารสําหรับการขนสงสาธารณะ รอยละหนึ่ง คําวา

Page 81: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

66

"การขนสงสาธารณะ" หมายความวา การรับสงผูโดยสารเปนการทั่วไปเปนปกติธุระ 18) กรณีอ่ืน ๆ รอย

ละสอง 76 อากรแสตมป อากรแสตมปเปนภาษีตามประมวลรัษฎากรประเภทหนึ่งจัดเก็บจากการกระทํา ตราสาร

28 ลักษณะ ตามที่กําหนดไวในบัญชีอัตราอากรแสตมป77

คําวา “ตราสาร” ตามประมวลรัษฎากรหมายถึง เอกสารที่ตองเสียอากรแสตมป ตามที่

กําหนดไวในบัญชีอัตรา อากรแสตมป ซึ่งปจจุบันมีทั้งหมด 28 ลักษณะตราสาร เชน ตราสารเชาที่กับ

โรงเรือน เชาซ้ือทรัพยสิน จางทําของ กูยืมเงิน ฯลฯ อากรแสตมปเปนภาษีอากรที่จัดเก็บจากการกระทํา

ตราสาร โดยคําวา กระทํา หมายความวา การลงลาย มือชื่อตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพง

และพาณิชย78 ผูมีหนาที่เสียอากรแสตมป มีดังนี้ 1) บุคคลตามที่ระบุไวในชองที่ 3 ของบัญชีอัตราอากร

แสตมป เชน ผูใหเชาผูโอน ผูใหกู ผูรับประกันภัย 2) ถาตราสารทําข้ึนนอกประเทศ ใหเปนหนาที่ของผู

ทรงตราสารคนแรกในประเทศเปน ผูเสียอากรภายใน 30 วัน นับแตวันที่ไดรับตราสารนั้น ถาหากไมได

ปฏิบัติตามความขางตน ผูทรงคนใดคนหนึ่งตองเสียอากรแลวจึงยื่นตราสารเพื่อใหจายเงิน รับรอง สลัก

หลัง โอนหรือถือเอาประโยชนได ผูทรงตราสารคนใด ไดตราสารตามความขางตนไวในครอบครองกอน

พนกําหนด 30 วัน นับแตวันที่ไดรับตราสารนั้น จะเปนผูเสียอากรก็ไดโดยมีสิทธิไลเบ้ียจากผูทรงคนกอน

ๆ 3) ต๋ัวเงินที่ยื่นใหชําระเงิน มิไดปดแสตมปบริบูรณ ผูรับต๋ัวจะเสียอากรและใชสิทธิไลเบี้ยจาก ผูมี

หนาที่เสียอากร หรือหักคาอากรจากเงินที่จะชําระก็ได 4) ผูมีหนาที่เสียอากร ตามที่ระบุไวในบัญชีอัตรา

อากรแสตมป อาจตกลงใหคูกรณีอีกฝายหนึ่ง เปนผูเสียอากรแทนตนก็ได เวนแตกรณีตาม 2 79 ภาษีสรรพสามิต ภาษีสรรพสามิตเปนภาษีทางออมประเภทหนึ่ง ซึ่งการจัดเก็บภาษี จะจัดเก็บจากสินคาและ

บริการเฉพาะอยางเพียงบางประเภทที่รัฐเห็นวาควรจัดเก็บภาษีในอัตราที่สูงกวาสินคาและบริการทั่วไป

โดยมีเหตุผลที่สําคัญในการพิจารณาจัดเก็บ คือ 1) เปนสินคาและบริการที่บริโภคแลวอาจจะกอใหเกิด

76กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 15 August 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/14943.0.html

77กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 18 August 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/305.0.html

78กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 22 August 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/764.0.html

79กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 28 August 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/305.0.html

Page 82: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

67

ผลเสียตอสุขภาพและศีลธรรมอันดี เชน สุรา ยาสูบ ไพ สนามมาแขง ซึ่งรัฐจําเปนตองเขาไปควบคุมดูแล

เพราะเปนสินคาที่กอใหเกิดตนทุนทางสังคมสูง 2) เปนสินคาและบริการที่มีลักษณะฟุมเฟอย เชน

รถยนตนั่งราคาแพง เรือยอชต เคร่ืองด่ืมบางประเภท น้ําหอม แกวคริสตัล โคมระยา 3) เปนสินคาและ

บริการที่ไดรับประโยชนเปนพิเศษจากกิจการของรัฐ เชน น้ํามัน ผลิตภัณฑน้ํามัน เปนตน

ประเภทสินคาที่จัดเก็บภาษีสรรพสามิต ปจจุบันนี้กรมสรรพสามิตไดกําหนดประเภท

สินคาและบริการที่จัดเก็บภาษีสรรพสามิต 20 ประเภท คือ 1) สุรา 2) ยาสูบ 3) ไพ 4) น้ํามันและ

ผลิตภัณฑน้ํามัน 5) เคร่ืองด่ืม 6) เคร่ืองใชไฟฟาประเภทโคมระยาที่ทําจากแกวคริสตัลและ

เคร่ืองปรับอากาศ 7) แกวคริสตัล 8) รถยนต 9) เรือยอชตและยานพาหนะทางนํ้าที่ใชเพือ่ความสําราญ

10) น้ําหอม หัวน้ําหอม 11) พรมขนสัตว 12) รถจักรยานยนต 13) แบตเตอร่ี 14) หินออน 15) สาร

ทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน 16) กิจการบันเทิง 17) กิจการเส่ียงโชค 18) กิจการที่มีผลตอส่ิงแวดลอม

19) กิจการที่ไดรับอนุญาตหรือสัมปทานจากรัฐ 20) บริการอื่น ๆ 80 ภาษีศุลกากร ภาษีศุลกากรเปนภาษีทางออม ซึ่ งจัดเก็บจากสินคาที่มีการนําเขาจาก

ตางประเทศ วัตถุประสงคหลักของการจัดเก็บภาษีศุลกากรในอดีต ก็เพื่อเปนการชวยเหลือและปกปอง

คุมครองอุตสาหกรรมการผลิตภายในประเทศ โดยมีการกําหนดอัตราอากรขาเขาในอัตราที่สูงสําหรับ

อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในการผลิตของประเทศที่ยังไมสามารถแขงขันได แตในสภาวการณกระแส

โลกาภิวัฒน (globalization) ปจจุบันสงผลใหแตละประเทศมีการเปดประเทศเพื่อคาขายกันมาก

ข้ึน ดังนั้น บทบาทของภาษีศุลกากรเพื่อใชเปนวัตถุประสงคในการปกปองอุตสาหกรรมภายในประเทศ

จึงลดนอยถอยลงตามลําดับ

โครงสรางอัตราภาษีศุลกากร ในปจจุบันอัตราอากรขาเขาจะอยูระหวางรอยละ 0 - 80 อัตรา

อากรเฉล่ีย ณ วันที่ 28 มกราคม 2548 เทากับ รอยละ 10.71 โดยอัตราอากรขาเขาแบงออกเปน

1) อัตราอากรขาเขาตามกรอบปกติ (general rate) ซึ่งใชเปนการทั่วไปกับทุกประเทศ 2) อัตราอากรขา

เขาภายใตกรอบการปฏิบั ติตามขอผูกพันตามความตกลงมาร ราเกชจัดต้ังองคการการคา

โลก (WTO) และความตกลงการคาพหุภาคีอ่ืนที่ผนวกทายความตกลงดังกลาว ซึ่งการขอรับสิทธิเพื่อ

ใชอัตราอากรขาเขาภายใตกรอบ WTO นี้ ผูนําเขาตองยื่น form A เพื่อแสดงถ่ินกําเนิดของสินคาจาก

ประเทศที่เปนภาคีของความตกลงมารราเกชจัดต้ังองคการการคาโลก 3) อัตราอากรขาเขาเพื่อปฏิบัติ

ตามขอผูกพันในการใหสิทธิประโยชนดานอากรตามความตกลงวาใชมาตรการกําหนดอัตราอากรรวม

เพื่อจัดต้ังเขตการคาเสรีอาเซียน(Agreement on the Common Effective Preferential Tariff : CEPT

80กรมสรรพสามิต, อัตราภาษีสรรพสามิต [Online], accessed 22 August 2007.

Available from http://e-fpo.fpo.go.th/e-tax/excise/index.asp

Page 83: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

68

Scheme for the ASEAN Free Trade Area : AFTA) และพิธีสารแกไขความตกลงวาดวยการใช

มาตรการกําหนดอัตราอากรรวมเพื่อจัดต้ังเขตการคาเสรีอาเซีย (protocol to amend the agreement

on the Common Effective Preferential Tariff :CEPT scheme for the ASEAN Free Trade

Area : AFTA) ในการขอรับสิทธิเพื่อใชอัตรา CEPT ภายใตกรอบ AFTA นั้น ผูนําเขาตองมีใบรับรอง

แหลงกําเนิดสินคา (form D) ที่ออกตามกฎวาดวยแหลงกําเนิดสินคาภายใตความตกลงวาดวยการใช

มาตรการกําหนดอัตราอากรรวมเพื่อจัดต้ังเขตการคาเสรีอาเซียนและขอกําหนดเพิ่มเติมที่ออกตามความ

ในกฎดังกลาว

หลักการของการไตมูลคาเพิ่ม (value added escalation) จากขอตกลงตามกรอบพันธกรณี

ระหวางประเทศและแนวโนมนโยบายการเปดเสรีการคาของประเทศไทย สงผลใหอุตสาหกรรมการผลิต

ในประเทศตองมีการพัฒนาและขับเคลื่อนไปขางหนาอยางตอเนื่อง เพื่อปรับตัวและเพิ่มศักยภาพให

สามารถแขงขันกับประเทศคูคาอ่ืน ๆ ได ดังนั้นนโยบายในการปรับปรุงโครงสรางพิกัดอัตราศุลกากร

ภายใตกรอบอัตราอากรทั่วไป (MFN) จึงเปนปจจัยหนึ่งที่สําคัญเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน

และลดปญหาความลักล่ันของโครงสรางภาษีระหวางอุตสาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา อีกทัง้

เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายการเปดเสรีของประเทศ ทั้งนี้ การกําหนดอัตราอากรขาเขาเพื่อปรับปรุง

โครงสรางพิกัดอัตราศุลกากรไดยึดหลักการของการไตมูลคาเพิ่ม (value added escalation) ของสินคา

มาเปนเกณฑซึ่งหมายถึงอัตราอากรขาเขาของวัตถุดิบตองไมสูงกวาผลิตภัณฑกึ่งสําเร็จรูปและ

ผลิตภัณฑกึ่งสําเร็จรูปตองไมสูงกวาผลิตภัณฑสําเร็จรูปตามลําดับและไดแบงกลุมสินคาในพิกัดอัตรา

ศุลกากรทั้งหมดออกเปน 3 กลุมตามข้ันตอนการผลิต คือ กลุมวัตถุดิบ อัตราอากรเปาหมาย คือ รอย

ละ 1 กลุมสินคากึ่งสําเร็จรูป อัตราอากรเปาหมาย คือ รอยละ 5 และกลุมสินคาสําเร็จรูป อัตราอากร

เปาหมาย คือ รอยละ 10 อยางไรก็ดี เนื่องจากศักยภาพของอุตสาหกรรมในประเทศบางสาขายังไมมี

ความพรอมเพียงพอที่จะกาวเขาสูเวทีการแขงขันกับประเทศคูคาที่สําคัญ ๆ ได นโยบายการใหความ

คุมครองแกอุตสาหกรรมดังกลาวในระยะแรกยังคงมีความจําเปนอยู โดยไดกําหนดอัตราอากรเปาหมาย

เพื่อใหความคุมครองกับอุตสาหกรรมเหลานี้ไวที่รอยละ 20 ซึ่งการจะใหความคุมครองกับอุตสาหกรรม

ใดบางจะตองมีการศึกษาในรายละเอียดของแตละอุตสาหกรรมตอไป กรณีสินคาสงออก โดยทั่วไปจะ

ไดรับการยกเวนอากร ยกเวนสินคาสงออก 2 ชนิดที่ยังคงตองเสียอากรขาออกอยูในปจจุบัน คือ หนัง

สัตวและไม 81

81กรมศุลกากร, กระทรวงการคลัง, อัตราภาษีศุลกากร [Online], accessed 29 August 2007.

Available from http://e-fpo.fpo.go.th/e-tax/custom/index.asp

Page 84: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

69

ภาษีที่จัดเก็บโดยองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

กฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2525) ออกตามความในพระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองที่

พ.ศ. 2508 ในขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เร่ือง การลดหยอนไมตองเสียภาษีบํารุงทองที่ พ.ศ.2525

ภาษีบํารุงทองที่ ซึ่งไดแก 1) ที่ดินที่ตองเสียภาษี ไดแก พื้นที่ดินรวมไปถึงพื้นที่ที่เปนภูเขาหรือที่มีน้ําดวย

2) ที่ดินที่ไมตองเสียภาษี มีดังนี้ ที่ดินที่เปนที่ต้ังพระราชวังอันเปนสวนสาธารณสมบัติของแผนดิน ที่ดิน

ที่เปนสาธารณะสมบัติของแผนดินหรือที่ดินของรัฐที่ใชในกิจการของรัฐ หรือสาธารณะ โดยมิไดหา

ผลประโยชน ที่ดินของราชการสวนทองถิ่นที่ใชในกิจการของราชการสวนทองถิ่นหรือสาธารณะโดยมิได

หาผลประโยชน ที่ดินที่ใชเฉพาะการพยาบาลสาธารณะ การศึกษา หรือการกุศลสาธารณะ ที่ดินที่ใช

เฉพาะศาสนกิจศาสนาใดศาสนาหนึ่ง ที่ดินที่เปนกรรมสิทธิ์ของวัดไมวาจะใชประกอบศาสนกิจศาสนาใด

ศาสนาหนึ่งหรือไม หรือที่ศาลเจาโดยมิไดหาผลประโยชน ที่ดินที่ใชเปนสุสานและฌาปนสถาน

สาธารณะ โดยมิไดรับประโยชนตอบแทนที่ดินที่ใชในการรถไฟ การประปา การไฟฟาหรือการทาเรือของ

รัฐ หรือที่ใชเปนสนามบินของรัฐ ที่ดินที่ใชตอเนื่องกับโรงเรือนที่ตองเสียภาษีโรงเรือนและที่ดินอยูแลว

ที่ดินของเอกชนเฉพาะสวนที่เจาของที่ดินยินยอมใหทางราชการจัดใชเพื่อสาธารณประโยชนโดยเจาของ

ที่ดินมิไดใชหรือหาผลประโยชนในที่ดินเฉพาะสวนนั้น ที่ดินที่เปนที่ต้ังที่ทําการขององคการ

สหประชาชาติ ทบวงการชํานาญพิเศษของสหประชาชาติหรือองคการระหวางประเทศอ่ืน ในเมื่อ

ประเทศไทยมีขอผูกพันใหยกเวนตามอนุสัญญาหรือความตกลง ที่ดินที่เปนที่ต้ังที่ทําการของสถานทูต

หรือสถานกงสุล ทั้งนี้ใหเปนไปตามหลักถอยทีถอยปฏิบัติตอกันและที่ดินตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

3) ผูมีหนาที่เสียภาษี คือ เจาของที่ดินซึ่งเปนบุคคลหรือคณะบุคคลไมวาจะเปนบุคคลธรรมดาหรือ

นิติบุคคล ซึ่งมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินหรือครอบครองอยูในที่ดินที่ไมเปนกรรมสิทธิ์ของเอกชน เชน ผูเชาที่ดิน

ของรัฐ82

ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ไดแก 1) ทรัพยสินที่ตองเสียภาษี ไดแก อาคาร โรงเรือน ส่ิงปลูกสราง

ตาง ๆ กับที่ดินตอเนื่องซ่ึงใชปลูกสรางอาคาร โรงเรือน ส่ิงปลูกสรางนั้น ๆ รวมถึงบริเวณที่ตอเนื่องกันซ่ึง

ตามปกติใชประโยชนไปดวยกันกับอาคาร โรงเรือน ส่ิงปลูกสรางนั้น ๆ ซึ่งเจาของกรรมสิทธิ์ไดนํา

ทรัพยสินดังกลาวออกหาผลประโยชนตอบแทนนอกเหนือจากการอยูอาศัยของตนเองโดยปกติหรือให

ผูอ่ืนนํา ไปใชประโยชนไมวาจะมีคาตอบแทนหรือไมก็ตาม ทรัพยสินแบงออกเปน 2 ประเภทคือ โรงเรือน

82พระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองที ่พ.ศ. 2508, (รวมฉบับแกไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงฉบับที่ 4

(พ.ศ. 2525) [Online], accessed29August2007http://209.85.175.104/ search?q =cache:

t1PjzuE6o7MJ:203.155.220.217/office/donmeung/tax/buarung.htm+tax/buarung&hl=en&ct=cl

nk&cd=1

Page 85: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

70

อาคาร ส่ิงปลูกสรางตาง ๆ และที่ดินซ่ึงใชตอเนื่องกับโรงเรือน อาคาร ส่ิงปลูกสราง ซึ่งหมายความวาเปน

ที่ดินซึ่งใชเปนที่ปลูกสรางโรงเรือน อาคาร ส่ิงปลูกสรางนั้น ๆ และที่ดินอันเปนบริเวณตอเนื่องกัน

2) ทรัพยสินที่ไดรับยกเวนภาษี คือ พระราชวังอันเปนสวนของแผนดินทรัพยสินของรัฐบาลที่ใชในกิจการ

ของรัฐบาลหรือสาธารณะและทรัพยสินของการรถไฟแหงประเทศไทยที่ใชในกิจการรถไฟโดยตรง

ทรัพยสินของโรงพยาบาลสาธารณะและโรงเรียน ทรัพยสินซ่ึงเปนศาสนสมบัติอันใชเฉพาะในศาสนกิจ

อยางเดียวหรือเปนที่อยูของสงฆ โรงเรือนหรือส่ิงปลูกสรางอยางอ่ืน ๆ ซึ่งปดไวตลอดปและเจาของมิได

อยูเองหรือใหผู อ่ืนอยูนอกจากคนเฝาในโรงเรือนหรือส่ิงปลูกสราง อยางอ่ืน ๆ หรือในที่ดินซ่ึงใช

ตอเนื่องกัน โรงเรือนหรือส่ิงปลูกสรางของการเคหะแหงชาติที่ผูเชาซื้ออาศัยอยูเองโดยมิไดใชเปนที่เก็บ

สินคาหรือประกอบการอุตสาหกรรม หรือประกอบกิจการอ่ืนเพื่อหารายไดประกาศกระทรวงมหาดไทย

ฉบับลงวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2535 ยกเวนพื้นที่อางเก็บน้ํา เข่ือนตาง ๆ ของการไฟฟาฝายผลิต ซึ่ง

เปนที่ตอเนื่อง 3) การขอลดหยอนภาษี การขอยกเวน การงดเวน การขอปลดภาษี การขอลดคาภาษี จะ

ทําไดดังกรณีตอไปนี้ ถาโรงเรือนหรือส่ิงปลูกสรางอยางอ่ืน ๆ ถูกร้ือถอนหรือทําลาย ใหลดยอดคารายป

ของทรัพยสินนั้นตามสวนที่ถูกทําลายตลอดเวลาที่ยังไมไดทําข้ึน แตในเวลานั้นโรงเรือนหรือส่ิงปลูกสราง

อยางอ่ืน ๆ นั้นตองเปนที่ซึ่งยังใชไมได โรงเรือนหรือส่ิงปลูกสรางอยาง อ่ืน ๆ ซึ่งทําข้ึนในระหวางปนั้น ให

ถือเอาเวลาซ่ึงโรงเรือนหรือส่ิงปลูกสรางอยางอ่ืนๆ นั้นไดมีข้ึนและสําเร็จจนควรเขาอยูไดแลวเทานั้นมา

เปนเกณฑคํานวณคารายป ถาเจาของโรงเรือนใดติดต้ังสวนควบที่สําคัญที่มีลักษณะเปนเครื่องจักรกล

เคร่ืองกระทําหรือเคร่ืองกําเนิดสินคาเพื่อใชดําเนินการอุตสาหกรรมบางอยาง เชน โรงสี โรงเล่ือย ฯลฯ

ข้ึนในโรงเรือนนั้น ๆ ในการประเมินใหลดคารายปลงเหลือหนึ่งในสามของคารายปของทรัพยสินนั้น

รวมทั้งสวนควบดังกลาว แลวดวย เจาของโรงเรือนหรือส่ิงปลูกสรางอยางอ่ืนไดรับความเสียหายเพราะ

โรงเรือนวางลงหรือชํารุดจึงจําเปนตองซอมแซมสวนสําคัญ เจาของโรงเรือนหรือส่ิงปลูกสรางนั้นมีสิทธิ

ขอลดภาษีได ทั้งนี้เปนไปตามดุลพินิจของพนักงานเจาหนาที่ที่จะลดคาภาษีตามสวนที่เสียหายหรือปลด

ภาษีทั้งหมดก็ได ถาเจาของโรงเรือนมีเหตุเปล่ียนแปลงทรัพยสินในปที่ผานมายอมไดรับการยกเวน งด

เวน ปลดภาษี หรือลดคาภาษี แลวแตกรณี 4) ผูมีหนาที่เสียภาษี คือ “ผูรับประเมิน” ซึ่งหมายถึง

เจาของกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่ตองเสียภาษีเวนแตถาที่ดินและอาคาร โรงเรือนหรือส่ิงปลูกสรางตาง ๆ

เปนคนละเจาของกันใหเจาของกรรมสิทธ์ิในอาคารโรงเรือน ส่ิงปลูกสรางตาง ๆ เปนผูมีหนาที่เสียภาษี83

83พระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองที ่พ.ศ. 2508, (รวมฉบับแกไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงฉบับที่ 4

(พ.ศ.2525)[Online], accessed29August2007http://209.85.175.104/search?q =cachet1PjzuE

6o7MJ: 203.155.220.217/office/donmeung/tax/buarung tm+tax/buarung&

hl=en&ct=clnk&cd=1

Page 86: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

71

หลักเกณฑดังกลาวขางตนอาจแยกพิจารณาในเร่ืองการหาคารายปไดเปน 2 ประการ คือ84

1. พิจารณาจากทรัพยสินนั้นวาสมควรใหเชาไดปหนึ่งเปนเงินเทาใด คือ การพิจารณาวา

ทรัพยสินหรือโรงเรือนหรือส่ิงปลูกสรางอ่ืนนั้นวาในกรณีที่ไมไดใหเชานั้น หากนําไปใหเชาแลว สมควร

จะใหเชาไดในปหนึ่ง ๆ เปนจํานวนเงินเทาใด จํานวนเงินที่สมมติข้ึนมานั้นก็เปนคารายป การพิจารณา

กรณีนี้มักจะเปนปญหาพิพาทกันระหวางผูตองเสียภาษีกับพนักงานเจาหนาที่วาการกําหนดแคไหน

เพียงใด จึงจะถือวาเปนจํานวนเงินซ่ึงทรัพยสินนั้น ๆ สมควรจะใหเชาไดในปหนึ่ง ๆ โดยผูมีหนาที่เสีย

ภาษีเห็นวาโรงเรือนหรือส่ิงปลูกสรางของตน หรือทรัพยสินดังกลาวของตนนั้น ถาหากนําออกใหเชาควร

จะเปนคาเชาเทานั้นเทานี้หรือปหนึ่งควรจะไดคาเชาจํานวนเทานั้นเทานี้ สวนพนักงานเจาหนาที่เห็นวา

ควรจะไดคาเชามากกวาที่เจาของโรงเรือนนั้นคิดคํานวณหรือต้ังสมมติฐานไว ซึ่งบางคร้ังบางคราวคิด

ออกมาแตกตางกันมาก

จากแนวคําพิพากษาฎีกา ไดแก ฎีกาที่ 109/2517, ฎีกาที่ 2532/2523, ฎีกาที่ 335-

936/2531 เปนตน พอสรุปหลักเกณฑในการหาคารายป โดยพิจารณาจากทรัพยสินอันนั้นวาสมควร

ใหเชาไดปหนึ่ง ๆ เทาใดนั้น ก็โดยการพิจารณาจากทําเลที่ต้ังของทรัพยสินนั้น ๆ วาอยูในทําเลใด เชน

อยูในยานศูนยการคา หรืออยูในยานชานเมือง และยังตองพิจารณาถึงสภาพของอาคารของโรงเรือน

นั้นวาอาคารในสภาพเชนนี้หรือลักษณะเชนนี้ ควรจะใหเชาไดเทาไหรดวย

2. กรณีทรัพยสินนั้นใหเชา คาเชาคือหลักในการคํานวณคารายป สําหรับกรณีที่โรงเรือน

หรือทรัพยสินนั้นไดนําออกใหเชาจริง ๆ ดังนั้น กรณีเชนนี้ยอมไมมีปญหา โดยถือวาคาเชาทั้งปนั้นเปน

คารายป เชน ใหเชาเดือนละ 5,000 บาท ปหนึ่งเทากับ 60,000 บาท นั้นเปนคารายป อยางไรก็ดี

ถาหากเรียกเก็บคาเชากันตรงไปตรงมาคือ พิจารณาถาสภาพโรงเรือนรวมตลอดถึงทําเลแลว ควรจะ

เรียกคาเชากันเทาไหรก็เรียกไปตามนั้น ปญหาก็จะไมเกิดข้ึน แตตามความเปนจริงแลวคาเชานั้นสมควร

จะเปนอีกจํานวนหนึ่ง แตผูใหเชากลับเรียกคาเชาตํ่าไป เชนนี้ก็จะเปนปญหา เพราะผูเชากบัผูใหเชาอาจ

สมคบกันหรือสมยอมกันที่จะเรียกคาเชาตํ่า ๆ หรือระบุไวในสัญญาเชาตํ่า ๆ แตเวลาใหคาเชากันจริง ๆ

ใหมาก ซึ่งเทากับเปนการหลีกเล่ียงการเสียภาษีโรงเรือนและที่ดินนั่นเอง ดังนั้นกฎหมายวาดวยการ

จัดเก็บภาษีทองถิ่นจึงมีมาตรการพิเศษไว

84พลประสิทธิ์ ฤทธิ์รักษา, กฎหมายวาดวยจัดเก็บภาษีทองถิ่น การบริหารทองถิน่สําหรับนัก

บริหาร ภาครัฐและเอกชน (กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย, 2544), 4 - 7.

Page 87: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

72

ภาษีปาย ภาษีปาย ไดแก 1) ปายที่ตองเสียภาษี ไดแก ปายที่แสดงช่ือ ยี่หอหรือเคร่ืองหมาย ที่ใชใน

การประกอบการคาหรือประกอบกิจการอ่ืน เพื่อหารายไดหรือโฆษณาการคาหรือกิจการอ่ืนเพื่อหารายได

ไมวาจะไดแสดงหรือโฆษณาไวที่วัตถุใด ๆ ดวยอักษร ภาพ หรือเคร่ืองหมายที่เขียน แกะสลัก จารึก หรือ

ทําใหปรากฏดวยวิธีอ่ืน 2) ปายที่ไมตองเสียภาษี มีดังนี้ ปายที่แสดงไว ณ โรงมหรสพและบริเวณของโรง

มหรสพนั้นเพื่อโฆษณามหรสพ ปายที่แสดงไวที่สินคาหรือที่ส่ิงหุมหอหรือบรรจุสินคา ปายที่แสดงไวใน

บริเวณงานที่จัดข้ึนเปนคร้ังคราว ปายที่แสดงไวที่คนหรือสัตวปายที่แสดงไวภายในอาคารที่ใชประกอบ

การคาหรือประกอบกิจการอ่ืนหรือภายในอาคารซึ่งเปนที่รโหฐาน ทั้งนี้ เพื่อหารายได และแตละปายมี

พื้นที่ไมเกิน 3 ตารางเมตรที่กําหนดในกฎกระทรวง แตไมรวมถึงปายตามกฎหมายวาดวยทะเบียน

พาณิชย ปายของราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาคหรือราชการสวนทองถิ่นตามกฎหมายวาดวย

ระเบียบบริหารราชการแผนดิน ปายขององคการที่จัดต้ังข้ึนตามกฎหมายวาดวยการจัดต้ังองคการของ

รัฐบาลหรือตามกฎหมายวาดวยการนั้น ๆ และหนวยงานที่นํารายไดสงรัฐ ปายของธนาคารแหงประเทศ

ไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห ธนาคารเพื่อการสหกรณและบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรม

แหงประเทศ ปายของโรงเรียนเอกชน ตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชนหรือสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

ที่แสดงไว ณ อาคารหรือบริเวณของโรงเรียนเอกชน หรือสถาบัน อุดมศึกษาเอกชนนั้น ปายของ

ผูประกอบการเกษตรซ่ึงคาผลผลิตอันเกิดจากการเกษตรของตนปายของวัดหรือผูดําเนินกิจการเพื่อ

ประโยชนแกการศาสนา หรือการกุศลสาธารณะโดยเฉพาะปายของสมาคมหรือมูลนิธิ ปายตามท่ี

กําหนดในกฎกระทรวง (ปจจุบันมีฉบับที่ 2) กฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) ใหเจาของปายไมตองเสีย

ภาษีปาย สําหรับปายที่ติดต้ังหรือแสดงไวที่รถยนตสวนบุคคล รถจักรยานยนต รถบดถนนหรือรถ

แทรกเตอร ตามกฎหมายวาดวยรถยนต ปายที่ติดต้ังหรือแสดงไวที่ลอเล่ือน ตามกฎหมายวาดวย

ลอเล่ือน ปายที่ติดต้ังหรือแสดงไวที่ยานพาหนะ 3) ผูมีหนาที่เสียภาษีปายคือ เจาของปายแตในกรณีที่

ปรากฏแกพนักงานเจาหนาที่วาไมมีผูยื่นแบบแสดงรายการภาษีปาย (ภ.ป.1) สําหรับปายใด เมื่อ

พนักงานเจาหนาที่ไมอาจหาตัวเจาของปายนั้นไดใหถือวาผูครอบครองปายนั้นเปนผูมีหนาที่เสียภาษี

ปาย ถาไมอาจหาตัวผูครอบครองปายนั้นไดใหถือวาเจาของหรือผูครอบครองอาคารหรือที่ดินที่ปายนั้น

ติดต้ังหรือแสดงอยูเปนผูมีหนาที่เสียภาษีปายตามลําดับและใหพนักงานเจาหนาที่แจงการประเมินภาษี

เปนหนังสือไปยังบุคคลดังกลาว85

85พระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองที ่พ.ศ. 2508, (รวมฉบับแกไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงฉบับที่ 4

(พ.ศ. 2525) [Online], accessed 31 August 2007http://:203.155.220.217/

office/donmeung/tax/buarung.htm+tax/:

Page 88: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

73

ประเภทของภาษีที่จัดเก็บนั้นเปล่ียนแปลงไปตามสภาพสังคมและเศรษฐกิจ ซึ่งเงินภาษีที่

จัดเก็บไดนั้นรัฐบาลไดนําไปจัดสรรเปนงบประมาณสําหรับบริหารประเทศในดานตาง ๆ โดยเฉพาะดาน

การศึกษาที่อยูในขอบเขตการวิจัยคร้ังนี้ รัฐบาลก็ใหความสําคัญในลําดับตน ๆ แตจะไดรับจัดสรร

งบประมาณมากหรือนอยนั้น ข้ึนอยูกับนโยบายการบริหารงานของรัฐบาลแตละสมัยดวย แตทั้งนี้

งบประมาณดานการศึกษาท่ีผานมาก็ไมไดนอยเกินไป เพียงแตในปจจุบันที่ตองดําเนินตามรัฐธรรมนูญ

และพระราชบัญญัติการศึกษาที่ออกตามมานั้น จําเปนตองตองมีงบประมาณบริหารจัดการในอัตราที่

เหมาะสม ซึ่งจะตองศึกษาวิจัยหารูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาตอไป โดยจะเร่ิมจากการศึกษาขอมูลดาน

การจัดการศึกษาและการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการศึกษาในประเทศไทยที่ผานมากอน

การจัดเก็บภาษีเพื่อการศกึษา ตามที่พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 8 มาตรา 58 (1) ไดบัญญัติ

แนวทางในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาไว โดยบัญญัติวาใหรัฐและองคกรปกครองสวนทองถิ่น

สามารถจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาไดตามความเหมาะสมเปนกระบวนการหนึ่งที่สามารถแกไขปญหา

ความขาดแคลนงบประมาณในการจัดการศึกษาของประเทศไทย ที่สมควรนํามาเปนแนวทางปฏิบัติ

สาเหตุจากสถานศึกษาหลายแหงจัดใหมีการทอดผาปาเพื่อการศึกษา ซึ่งเปนตัวบงชี้อยางหนึ่งไดวา การ

จัดการศึกษาของประเทศไทยในปจจุบันยังมีปญหาเกี่ยวกับความขาดแคลนในดานงบประมาณ ทําให

สงผลกระทบตอเด็กนักเรียน และผูปกครองและกอใหเกิดปญหาที่ตอเนื่องอีกหลายประการ เชน ปญหา

เด็กนักเรียนตองออกจากเรียนกลางคัน ปญหาเด็กนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์การเรียนตํ่ากวาเกณฑมาตรฐาน

ตามเปาหมายที่กําหนดไว ปญหาความขาดแคลนครูและบุคลากรทางการศึกษา และปญหาความขาด

แคลน อาคารสถานที่ ส่ือการเรียนการสอน ซึ่งลวนแตเปนปญหาที่สําคัญที่สงผลตอการพัฒนาคุณภาพ

การศึกษาของประเทศไทย

การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเปนกระบวนการหนึ่งในการระดมทรัพยากรเพื่อสนับสนุน

การศึกษาของประเทศไทย ประชาชนควรเขามามีบทบาทรับผิดชอบในการสนับสนุนคาใชจายการจัด

การศึกษาของรัฐ โดยตรง รัฐควรกระจายอํานาจโดยการแบงเบาภารกิจดานการอุดหนุนคาใชจายใน

การจัดการศึกษาใหกับการจัดการศึกษาในทองถิ่นทั้งในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย การ

ดําเนินการดังกลาวควรเปนภาระขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาและ

นําเงินภาษีเพื่อการศึกษาที่จัดเก็บไดจัดสรรเฉพาะดานการจัดการศึกษาของทองถิ่นนั้นโดยตรงรวมกับ

เงินงบประมาณที่ไดรับจากการจัดสรรเงินอุดหนุนจากสวนกลางเพ่ือสนับสนุนการศึกษาของทองถิ่น

แนวคิดนี้สอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ที่กําหนดใหชุมชนมีสวนรวม

โดยตรงเกี่ยวกับการจัดการศึกษาในรูปของคณะกรรมการสถานศึกษากรรมการเครือขายผูปกครองหรือ

ผูรับประโยชน (stakeholder) ทําใหเห็นแนวนาวในอนาคตวา หากมีการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา คาด

Page 89: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

74

ไดวาประชาชนในทองถิ่นจะติดตามกํากับและตรวจสอบการใชจายงบประมาณนี้เพื่อใหเกิดประโยชน

ตอการจัดการศึกษาของทองถิ่นตนเองมากที่สุด การระดมสรรพกําลังและทรัพยากรเพือ่การศกึษา แนวคิดพื้นฐาน การจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542ตองการ

ใหสังคมมีสวนรวมจัดการศึกษา (all for education) เพื่อใหการศึกษาเปนของทุกคน (education for

all) ดังนั้น จึงไดมีขอกําหนดใหมีการระดมสรรพกําลังและทรัพยากรจากทุกฝายของสังคมและจาก

ตางประเทศ เขามาสนับสนุนการจัดการศึกษาเพิ่มเติมจากการที่ รัฐจัดสรรใหการพิจารณาของ

คณะกรรมการ คณะกรรมการบริหารสํานักงานปฏิรูปการศึกษา พิจารณาเห็นวาการระดมสรรพกําลัง

และทรัพยากรเพื่อการศึกษา เปนแนวทางหนึ่งที่จะทําใหทรัพยากรเพียงพอเพื่อการจัดการศึกษา

สามารถสนองหลักการและแนวคิดพื้นฐานของการจัดการศึกษาดังกลาว ไดอยางบรรลุผล การพิจารณา

แนวทางการระดมทรัพยากรดวยการเก็บภาษีการศึกษา พิจารณาเห็นวาในอดีตไดเคยมีการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษาโดยตรงมาแลว เชน การเก็บเงินศึกษาพลีในสมัยรัชกาลที่ 6 และการเก็บเงินชวยการ

ประถมศึกษาแตไดประสบปญหานานาประการและตองยกเลิกไปในที่สุด

การพิจารณาเร่ืองการเก็บภาษีเพื่อการศึกษาน้ี ตามหลักการทั่วไปของระบบภาษีแลว ไมควร

จัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาโดยตรงเปนการเฉพาะ เพราะจะทําใหเกิดความยุงยาก ซับซอน เกิดการ

ร่ัวไหลหรือเกิดภาษีเถื่อนไดมาก ทั้งเปนการเพิ่มภาระแกสังคม จึงควรใชภาษีทางออมหรือมาตรการทาง

ภาษีเพื่อลดตนทุนหรือเพื่อระดมทุน ไดแก การลดหยอนหรือการยกเวนภาษีโรงเรือนและที่ดินสําหรับ

ภาคเอกชน ที่เขามาดําเนินการจัดการศึกษาหรือภาษีสินคาที่นํามาใชเพื่อการศึกษาเปนการเฉพาะ

รวมทั้งการเก็บรายไดจากการเก็บภาษีมรดกมาใชเพื่อการศึกษา

อีกมาตรการหนึ่งที่ควรนํามาใชเพื่อการลดคาใชจายที่ไมจําเปนและเปนการเพิ่มประสิทธิภาพ

และประสิทธิผลในการใชทรัพยากรเพื่อการศึกษา มาตรการดังกลาวคือมาตรการทางการบริหารจัดการ

เชน การจัดโครงสรางและระบบบริหารใหเล็กกะทัดรัด ไมซ้ําซอนกันและมีประสิทธิภาพ การกําหนด

ขนาดที่เหมาะสมของสถานศึกษา เพื่อใหสะทอนตนเหตุที่แทจริง การกําหนดขนาดที่เหมาะสมของ

สถานศึกษา เพื่อใหสะทอนตนทุนที่แทจริง การกําหนดสัดสวนครูตอนักเรียน หรือตอจํานวนหองเรียน

การจัดระบบเครือขายของโรงเรียนแลการใชเทคโนโลยี รวมทั้งการบริหารจัดการที่เหมาะสมทั่วถึง เสมอ

ภาคและไดคุณภาพ

มาตรการระดมทุนจากแหลงทรัพยากรอื่น นอกเหนือจากงบประมาณที่รัฐจัดสรรให เปนอีก

มาตรการหนึ่งที่ควรนํามาใช เชน การสนับสนุนใหสถาบันการเงินจัดสรรเงินกูดอกเบ้ียตํ่าโดยรัฐใหการ

คํ้าประกัน เพื่อดึงดูดเอกชนมาลงทุนทางการศึกษามากข้ึน การใหสถานศึกษาสามารถใชทรัพยสิน

อาคารสถานที่และบริการที่จัดทําข้ึน หารายไดและไมตองสงคืนคลัง รวมทั้งการใหผูปกครองนักเรียน

รวมรับภาระคาใชจาย ดวยการจัดเงินกูเพื่อการศึกษาและการออกพันธบัตรรัฐบาล เปนตน

Page 90: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

75

การจัดระบบกองทุน แนวคิดพื้นฐาน การจัดระบบกองทุนโดยการจัดต้ังกองทุนเพื่อการศึกษา

ในลักษณะตาง ๆ ข้ึน มีจุดประสงคสําคัญเพื่อเปดโอกาสใหผูมีฐานะยากจนและผูดอยโอกาสทางการ

ศึกษาไดมีโอกาสไดรับการศึกษาตามถนัด ความสนใจและศักยภาพของตน ไดอยางทั่วถึงและเปนระบบ

นอกจากนี้ก็เพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐานที่สามารถแขงขันไดในระดับ

นานาชาติ

เพื่อสนับสนุนแนวคิดดังกลาว พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 จึงไดมีบัญญัติ

ใหจัดต้ังกองทุนเพื่อการศึกษาในลักษณะตางๆ ข้ึน 6 กองทุน คือ กองทุนพัฒนาครู คณาจารยและบุคลา

การทางการศึกษา กองทุนสงเสริมครู คณาจารยและบุคลาการทางการศึกษา กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อ

การศึกษากองทุนกูยืมดอกเบ้ียตํ่าใหสถานศึกษาเอกชน กองทุนเพื่อพัฒนาการศึกษาของรัฐและเอกชน

และกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การพิจารณาของคณะกรรมการ จากการพิจารณาของ

คณะกรรมการ เห็นวา กองทุนที่กําหนดในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 อาจจําแนกได

เปน 3 ลักษณะ คือ กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา กองทุนกูยืมดอกเบ้ียตํ่าใหสถานศึกษาเอกชนและ

กองทุนเพื่อพัฒนาการศึกษา ซึ่งพิจารณากองทุนเดิมที่มีอยู พบวามีอยูหลายกองทุน ซึ่งแยกกองทุนได

เปน 2 ลักษณะ คือกองทุนเงินกูยืมเพื่อการศึกษาและกองทุนดอกเบ้ียตํ่าที่ใหสถานศึกษาเอกชน ซึ่งเปน

กองทุนลักษณะเดียวกับ 2 กองทุนแรก ที่กําหนดในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพ.ศ.2542 ยังมี

กองทุนลักษณะที่ 3 เทานั้น ที่ยังไมมีการจัดต้ัง ฉะนั้นการรวมกองทุนเดิมที่เปนกองทุนที่จัดต้ังข้ึนเพื่อให

กูยืมเพื่อการศึกษา เขาเปนกองทุนกูยืมการศึกษาตามขอกําหนดในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ

พ.ศ.2542 และใหคงกองทุนกูยืมดอกเบ้ียตํ่าใหสถานศึกษาเอกชนไว เพราะเปนการดําเนินงานและมีชื่อ

กองทุนเชนเดียวกันกับที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 สวนอีก 4 กองทุน ที่

ยังมิไดมีการจัดต้ังข้ึนนั้น คณะกรรมการไดพิจารณาเห็นวา ขณะนี้ภาวะเศรษฐกิจยังไมอํานวยใหรัฐ

สามารถจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดต้ังกองทุนไดอยางเต็มที่ จึงเห็นสมควรใหโอนเงินทุนบางสวน จาก

กองทุนเดิมมาจัดต้ัง เปนทุนประเดิมและใหรัฐบาลจัดสรรงบประมาณมาเปนกองทุนหมุนเวียน เพื่อ

ดําเนินงานของแตละกองทุน ตอเมื่อสถานะการเงินการคลังของประเทศดีข้ึนแลว ก็ใหรัฐบาลจัดสรร

งบประมาณเปนกองทุนคงยอดเงินตนตามเจตนารมณตอไป สําหรับกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ

การศึกษา ซึ่งเปนกองทุนที่จัดต้ังข้ึนใหมนั้น นอกเหนือจากงบประมาณที่รัฐจัดสรรใหแลว ก็ใหกองทุน

อาศัยแหลงรายไดจากพระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับกิจกรรม วิทยุกระจายสียง

วิทยุโทรทัศนและกิจการโทรนาคม พ.ศ.2543 เปนรายไดหลักของการดําเนินกิจการกองทุน

การพิจารณาเกี่ยวกับกองทุนเพื่อการศึกษานี้ คณะกรรมการยังมีความเห็นเพิ่มเติมวา การ

จัดสรรงบประมาณเพื่อจัดต้ังกองทุนเพื่อการศึกษาในลักษณะตาง ๆ นั้น จะทําใหรัฐมีทุนหมุนเวียนกูยืม

เพื่อนําไปสูการปฏิบัติการศึกษาที่สมบูรณและเปนการปลดเปล้ืองภาวะทางงบประมาณของรัฐบาลใน

ระยะยาวและยังทําใหรัฐและผูรับบริการรวมรับผิดชอบในการบริหารงบประมาณแบบมีสวนรวมและ

Page 91: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

76

สํานึกในความเอ้ืออาทรของประเทศชาติตอเยาวชนที่จะเติบโตอยางมีความหวังที่เทาเทียมกันและตาม

ความสามารถ เพื่อใหเยาวชนที่รับบริการเติบโตเปนคนไทยที่มีคุณภาพตอไป ดวยเหตุผลนี้จึงควรมีการ

ขับเคลื่อนผลักดันใหบรรลุ คือ เกิดกองทุนตามจุดหมายของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.

2542 ไดตอไป เพื่อใหการดําเนินงานปฏิรูปการศึกษาเปนไปตามขอสนออยางครบถวน สํานักงานปฏิรูป

การศึกษา ที่หลากหลาย เพื่อใหไดมาซ่ึงงบประมาณที่จะใชจัดการศึกษาใหบรรลุผลตามเจตนารมณ

อยางแทจริง86 ทฤษฎเีศรษฐศาสตรเกี่ยวกับการศึกษาและภาษอีากร พบวามีงานวิจัยในประเทศใน 2 รูปแบบ คือ รูปแบบแรกเปนการศึกษาวิจัยในเชิง

เศรษฐศาสตร เชน งานวิจัยของ นงราม เศรษฐพานิชและคณะ เร่ืองตนทุนและที่มาของเงินทุนเพื่อการ

อุดมศึกษา งานศึกษาของวิชัยและพิศเนตร ( Vichai and Phitsanes) เร่ืองการจัดสรรงบประมาณ

ของรัฐเพื่อการจัดการศึกษา : กรณีประเทศไทย (financing of education and allocation of public

resources for education : a case study of Thailand) งานศึกษาวิจัยของ เทียนฉาย กีระนันท

เกี่ยวกับการเงินอุดมศึกษาและงานศึกษาวิจัยของ รังสรรค ธนะพรพันธุ เร่ืองผังประชาชนในระบบ

โรงเรียนกับนโยบายอัตราคาเลาเรียนและการบริจาคเงินเพื่อเขาโรงเรียนรัฐบาล เปนตน สวนงานวิจัย

รูปแบบที่สองเนนการศึกษาวิเคราะหเชิงนโยบาย เชน งานวิจัยของ ชัยอนันต สมุทวณิช เร่ืองแนวทาง

การจัดทรัพยากรเพื่อการศึกษา เปนตน และเอกสารงานวิจัยอ่ืนๆ ที่เกี่ยวของเพื่อใชเปนแนวทางการ

สรางรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา ความสําคัญและจําเปนในการนําภาษีอากรมาใชเพื่อการศึกษาน้ัน มี

แนวคิดเชิงทฤษฎีเศรษฐศาสตรการคลังสาธารณะที่สนับสนุนการดําเนินการดังกลาว ทั้งนี้ในมุมมองของ

นักเศรษฐศาสตรพิจารณาวา การศึกษาเปนสินคาสาธารณะ (public goods) 87 ที่มีคุณลักษณะเปน

คุณประโยชนตอสังคม โดยผลประโยชนที่เกิดจากการบริโภคสินคาลักษณะนี้จะใหทั้งประโยชนทางตรง

ตอผูบริโภคและประโยชนทางออมตอสังคมและเปนผลประโยชนภายนอกที่เกิดแกผูที่ไมไดบริโภคสินคา

นั้นโดยตรง (external benefits) ดังนั้น สังคมโดยรวมจึงตองมีสวนรวมในการรับผิดชอบภาระตนทุน

ดังกลาวรวมกัน

ฟรีดแมน (Friedman) เนนวา การจัดบริการดานการศึกษาเปนหนาที่สําคัญของรัฐบาล

เพราะการศึกษามีผลกระทบขางเคียง (neighborhood effect) โดยเห็นเปนเชิงประจักษวาประโยชน

86สํานักงานปฏิรูปการศึกษา (องคกรมหาชน), เสนทางปฏิรูปการศึกษา (กรุงเทพฯ :

สํานักงานปฏิรูปการศึกษา, 2546.), 153 - 157.

87R. Grabowski and M.P. Shields, Development Economics (New York :

Blackwell, 1996),193 - 200. : R.J. Barro and S. Martin, Economics Growth (Chicago :

McGraw-Hill, 1975), 1.

Page 92: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

77

ของการศึกษาจะไมเกิดประโยชนเฉพาะตอผูเรียนโดยตรงเทานั้น แตประโยชนดังกลาวมีผลกระทบตอ

ผูปกครองและสมาชิกทุกคนในสังคมอีกดวย นอกจากนั้นการสนับสนุนงบประมาณดานการศึกษาจะ

สงผลตอการขยายฐานรายไดของรัฐบาลในอนาคต โดยที่ผูไดรับการศึกษาคือผูที่ตองเสียภาษีเมื่อ

บุคคลนั้นมีรายไดสูงข้ึน อันเปนผลมาจากการศึกษาเพิ่มพูนคุณวุฒิ สงผลใหรัฐบาลจัดเก็บภาษีไดมาก

ข้ึนตามไปดวย88

ปวย อ้ึงภากรณ ไดกลาวไววา “ถาเราไมเจียดเงินเพื่อการศึกษา ก็ไมนาจะเจียดเงินไป

สําหรับเร่ืองอ่ืน ๆ เพราะปญหาอ่ืน ๆ เชน ภัยคอมมิวนิสต อันธพาล อาชญากรรมวัยรุน การปกครอง

ประชาธิปไตย หรือแมแตเศรษฐกิจและการผลิตตกตํ่า ปญหาเหลานี้ปองกันแกไขไมได ถาเราไมยอม

ลงทุนในส่ิงที่ประเสริฐที่สุดคือ คน”89

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาในตางประเทศ กอนที่จะกําหนดรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาในประเทศไทย ควรที่จะศึกษารูปแบบการใช

มาตรการทางภาษีเพื่อระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาในตางประเทศ เพื่อศึกษาวิเคราะหเปรียบเทียบ

แลวจึงกําหนดเปนแนวทางการจัดทํารูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของไทยตอไป

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกา แหลงเงินทุนที่สําคัญในการจัดการศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกามาจากเงินภาษีอากรที่

เก็บไดจากประชาชน โดยจัดเก็บภาษีใน 2 ระดับคือ ระดับรัฐบาลกลาง (federal government) และ

ระดับมลรัฐและระดับทองถิ่น (state and local tax) โดยที่รายไดหลักของรัฐบาลกลาง คือ ภาษีเงิน

ไดของประชาชน (income tax) ในขณะที่รายไดหลักของมลรัฐและทองถิ่น คือ ภาษีทรัพยสิน

(property tax) ที่เก็บจากทรัพยสินที่ประชาชนถือครองอยูและจากภาษีขาย (sales tax) ซึ่งเก็บจาก

ประชาชนที่ซื้อสินคาที่เขาขายตองเสียภาษี

รัฐบาลสหรัฐอเมริกาตระหนักถึงความสําคัญในการจัดการศึกษา รัฐบาลกลางและรัฐบาล

ทองถิ่นจึงไดกําหนดสัดสวนที่ชัดเจนในการใชจายงบประมาณสวนกลางเพื่อการศึกษา ทั้งในรูปแบบ

ของการนําเงินภาษีอากรมาจัดต้ังโรงเรียนของรัฐบาล (public school) และการจัดสรรใหเงินอุดหนุน

(subsidy) แกโรงเรียนตาง ๆ อยางไรก็ตาม การจัดสรรงบประมาณเพ่ือจัดการศึกษายังเกิดปญหา

ในทางปฏิบัติมากมาย เนื่องจากประมาณรอยละ 92 ของเงินที่ใชจายในการจัดการศึกษาในระดับ

88Milton. Friedman, Capitalism and Freedom (The University of Chicago Press, Ltd.

1962), 5.

89ปวย อ้ึงภากรณ, คําบรรยายวิชาการคลัง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (กรุงเทพฯ : ประมวล

มิตร, 2498), 232.

Page 93: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

78

ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกาไดมาจากเงินภาษีและจัดสรรใหแกโรงเรียนของ

รัฐซ่ึงเปนผูจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเปนสวนใหญ จึงทําใหผูปกครองมี

ทางเลือกที่จํากัดในการสงบุตรหลานเขาโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาไดอยางอิสระยกเวน

ผูปกครองที่มีเงินที่สามารถจายทั้งคาเลาเรียนในโรงเรียนเอกชน จายภาษีสําหรับชวยโรงเรียนของรัฐได

ดวย ดังนั้น เด็ก ๆ จึงตองเขาเรียนในโรงเรียนของรัฐ แมวาจะไมตรงกับความตองการของนักเรียนหรือ

แมวาโรงเรียนของรัฐจะไมปลอดภัยและไมคอยมีระเบียบวินัยก็ตาม ปญหาเหลานี้ยิ่งทวีความรุนแรงข้ึน

ในชุมชนที่มีรายไดตํ่าในเขตเมือง

ในชวง 10 ปที่ผานมา มีการเคลื่อนไหวทั่วประเทศที่จะใชโอกาสในการเลือกโรงเรียน

(school choice) ใหเปนกลไกทางการตลาด เพื่อใหผูปกครองสามารถเลือกโรงเรียน มีสิทธิและมี

เสียงในการเสนอแนวทางการจัดการศึกษาใหแกบุตรหลานของตน ชวยพัฒนากระบวนการเรียนการ

สอน รวมทั้งชวยกํากับดูแลโรงเรียนของรัฐดวยเพราะผูปกครอง ผูเสียภาษี สถานประกอบการภาคธุรกิจ

ในพื้นที่ ผูนําชุมชนและประชาชนอีกมากไมเห็นดวยกับโรงเรียนของรัฐที่ใชเงินเปนจํานวนมากในการจัด

การศึกษาแตมีคุณภาพตํ่ามีอัตราการลาออกสูงและมีระบบการบริหารงานที่ผิดพลาดไมมีการปฏิรูปไมมี

ความปลอดภัยและไมมีมาตรฐานและไมมีการสอนดานคุณธรรม

ขอมูลจากรายงานที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรอยางกวางขวางเกี่ยวกับความลมเหลวที่ไดจาก

ผลการสอบประเมินความสามารถของครู (the Massachusetts teacher test) ประกอบกับคะแนน

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ตํ่าของนักเรียนอเมริกันในการสอบระดับนานาชาติ เชน The Third

International Mathematics and Science Study : TIMSS ไดกอใหเกิดการวิพากษวิจารณและทวี

ความวิตกกังวลเปนอยางมากเก่ียวกับคุณภาพของระบบการศึกษาของรัฐในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่ง

ความวิตกกังวลในเร่ืองนี้ไดเร่ิมมาแลวต้ังแต พ.ศ.2526 เม่ือมีการเผยแพรรายงานการประเมินระบบ

การศึกษาอเมริกันเร่ืองความเส่ียงของชาติ (a nation at risk) นับต้ังแตนั้นมาไดมีการวิเคราะห

ตรวจสอบและเสนอแผนการปฏิรูปการศึกษาหลายรูปแบบอยางตอเนื่อง โดยไดเนนความสําคัญของการ

เพิ่มโอกาสทางเลือกทางการศึกษาและการแขงขันทางคุณภาพ และในชวงเวลาไมนานมานี้ไดเร่ิมให

ความสนใจเปนพิเศษตอการพิจารณาหาทางใหแกการศึกษาเอกชนเปนเคร่ืองมือในการเพิ่มโอกาสและ

ทางเลือกของการศึกษา ดังจะเห็นไดวามีการออกกฎหมายถึงมากกวา 400 ฉบับที่เกี่ยวของกับ

การศึกษาเอกชนในชวงป พ.ศ.2541

ความเคล่ือนไหวเกี่ยวกับการเพิ่มบทบาทของเอกชนในการจัดการศึกษาไดเกิดข้ึนในหลาย

รูปแบบ ทั้งโดยการที่รัฐใหเงินสนับสนุน (public funds) โดยตรงเพื่อเปนเงินชวยและทุนการศึกษา

(scholarships) และโดยออมในรูปของมาตรการจูงใจทางภาษี (tax incentives) นอกจากนั้นยังมี

ความพยายามที่จะใหเอกชนรวมจัดการศึกษามากข้ึน โดยไมใชเงินของรัฐแตใชเงินทุนเอกชนที่ต้ังข้ึน

เปนกองทุน (trust) เพื่อใหทุนการศึกษาแกนักเรียนที่ตองการเขาเรียนในโรงเรียนเอกชน ในขณะนี้มี

Page 94: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

79

ความพยายามในการรณรงคใหประชาชนตระหนักถึงความจําเปนและใหการสนับสนุนการปฏิรูป

การศึกษาตามแนวทางนี้ ควบคูไปกับการที่หลายรัฐไดพยายามผลักดันใหรัฐบาลกลางและรัฐบาล

ทองถิ่นออกกฎหมายสนับสนุนมาตรการดังกลาว

จากการสํารวจขอมูลที่ปรากฏอยู อาจสรุปรูปแบบและมาตรการในการเพ่ิมโอกาสทางเลือก

ทางการศึกษาใหผูปกครองโดยกระบวนการจัดการศึกษาแนวเอกชนได 3 แนวทางหลัก คือ การให

คูปองคาเลาเรียนและทุนการศึกษา (tuition vouchers and scholarships) การจัดโรงเรียนในรูปแบบ

โรงเรียนในกํากับของรัฐ (charter schools) และการใหเครดิตภาษีเพื่อการศึกษา (education tax

credit) ซึ่งมาตรการทั้ง 3 แนวทางนี้ จัดไดวาเปนการถายโอนเงินสนับสนุนของรัฐที่ใหกับโรงเรียน

รัฐบาลไปสูสถานศึกษาเอกชน องคกรหรือหนวยงานที่รวมจัดการศึกษาตามแนวทางใหม

มาตรการดานการใหคูปองเลาเรียนและทุนการศึกษา พิจารณาไดจากตัวอยางของการ

กําหนดเงินงบประมาณจํานวนหนึ่งไวใหผูปกครองสําหรับนําไปใชเปนคาใชจายทางการศึกษาของเด็ก

(milwaukee parental choice program) ซึ่งอาจใชเปนคาเลาเรียนในโรงเรียนของรัฐ โรงเรียนใน

กํากับของรัฐหรือโรงเรียนเอกชนก็ไดตามความประสงค ขอดีของมาตรการนี้ ไดแก การใหเสรีภาพใน

การเลือก (freedom of choice) ของผูปกครอง โดยที่สามารถนําบุตรหลานเรียนในโรงเรียนที่เห็นวามี

คุณภาพตามความพอใจได ทั้งนี้การจัดคูปองคาเลาเรียนและทุนการศึกษาถือวาเปนการเปล่ียนรูปแบบ

ในการจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษา โดยการใหเงินสนับสนุนแกผูบริจาคโดยตรงแทนการใหเงิน

อุดหนุนผานไปยังผูใหบริการดานการศึกษากอใหเกิดกลไกตลาดที่นอกจากจะมีบทบาทสําคัญในการ

จัดสรรทรัพยากร ยังทําใหเกิดการแขงขันที่นําไปสูประสิทธิภาพในการบริการดานการศึกษาดวย

การใหเครดิตภาษีเพื่อการศึกษา (education tax credits) มีวัตถุประสงคอยางเดียวกับแนว

ทางการใหคูปองคาเลาเรียนและทุนการศึกษา แตจัดไดวาเปนมาตรการที่จัดสรรเงินใหแกผูปกครอง

โดยตรง คือ เมื่อผูปกครองจายคาเลาเรียนใหบุตรของตน ไมวาจะเปนโรงเรียนรัฐหรือโรงเรียนเอกชนก็

ตาม จะสามารถนําเงินจํานวนนี้หักออกจากเงินที่จะตองเสียภาษีใหรัฐ ซึ่งในกรณีนี้รัฐไมตองทําหนาที่

ออกคูปองจายเช็คหรือเลือกโรงเรียน เพราะประชาชนผูเสียภาษีซึ่งเห็นความสําคัญของการศึกษาของ

บุตร สามารถเปนผูตัดสินใจไดวาจะใชเงินภาษีของตนไปเปนคาใชจายทางการศึกษาในระบบใด

สําหรับแนวทางเกี่ยวกับโรงเรียนในกํากับของรัฐ (charter schools) พิจารณาไดวาเปนการ

ถายโอนอํานาจการบริหารจัดการโรงเรียนไปจากหนวยงานกลางของรัฐในระบบเดิม โดยการทํากฎบัตร

สัญญา (charter) ที่จะจัดการศึกษาใหเปนโรงเรียนพิเศษที่มีอํานาจอิสระและรับผิดชอบในการบริการ

จัดการโรงเรียนของตนเอง ทั้งในดานวิชาการ การเงินและบุคลากร ตามวัตถุประสงคของโครงการและ

งบประมาณที่เสนอและไดรับอนุมัติใหดําเนินการตามชวงเวลาของกฎบัตรเปนระยะไป โดยสวนใหญจะ

อยูในระยะเวลา 5 ป

Page 95: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

80

นอกเหนือจากความพยายามของการผันงบประมาณของรัฐเพื่อการศึกษาไปสูโรงเรียน

เอกชนหรือโรงเรียนกึ่งเอกชนแลว ยังมีบุคคล กลุมบุคคล กลุมธุรกิจและองคกรตาง ๆ ที่ไดเร่ิมจัดต้ัง

กองทุนเปนทุนการศึกษา เพื่อสนับสนุนเด็กที่ตองการเขาเรียนในสถาบันการศึกษาเอกชน ตัวอยางเชน

องคกรการศึกษาช้ันเยี่ยมเพื่อประชาชน (Citizens for Excellence in Education : CEE) ซึ่งมีผูแทน

จากคณะกรรมการโรงเรียนทั่วประเทศ 90,000 แหง กําลังดําเนินโครงการรณรงคชื่อ rescue 2010 โดย

มีเปาหมายที่จะถายโอนเด็กที่นับถือศาสนาคริสเตียนจํานวน 20 ลานคน จากโรงเรียนของรัฐ ไปสู

โรงเรียนเอกชนที่จัดต้ังใหมในโบสถ จํานวน 235,000 แหง นอกจากนั้น กลุมองคกรที่มีลักษณะเชน

องคกรการศึกษาช้ันเยี่ยมเพื่อประชาชน (CEE) กําลังรณรงคเพื่อขอแบงเงินจากกองทุนมากกวา 150

ลานเหรียญอเมริกันที่นักธุรกิจและเอกชนไดรวบรวมไว เพื่อนํามาจัดต้ังกองทุนการศึกษาที่ไมหวังกําไร

ซึ่งออกแบบเพื่อชวยเหลือสนับสนุนการศึกษาเอกชน สําหรับเด็กจากครอบครัวที่มีรายไดตํ่าถึงปาน

กลาง

ตัวอยางมาตรการกระตุนการจัดเก็บภาษี (education tax incentives) สําหรับการศึกษา

ระดับอุดมศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา90รายละเอียดนโยบายการจัดเก็บภาษีดังตอไปนี้

1. เงินทุนจากการหักภาษีรายไดของบุคคลในครอบครัว (the hope scholarship credit)

เร่ิมใชวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2541 โดยผูเสียภาษีมีสิทธิที่จะขอใช the hope scholarship credit หัก

จากภาษีรายได เพื่อใชสําหรับคาเลาเรียนและคาใชจายที่เกี่ยวของ (qualified tuition and related

expenses) ของผูเรียนแตละคนในครอบครัวของผูเสียภาษี ซึ่งรวมทั้งตัวผูเสียภาษีเอง คูสมรสและผูที่

อยูภายใตการอุปการะ ทั้งนี้บุคคลดังกลาวจะตองเขาเรียนอยางนอยคร่ึงเวลาใน 2 ปแรกของการศึกษา

ในสถานศึกษาที่ไดรับรองมาตรฐาน โดยผูเสียภาษีจะไดรับวงเงิน credit สูงสุดเพื่อยกเวนจากภาษีในแต

ละปมีมูลคา 1,500 เหรียญสหรัฐ คูณดวยจํานวนผูเรียนในครอบครัว ซึ่งมีคุณสมบัติตรงตามเกณฑ

ขางตน

2. เงินทุนจากการหักภาษีที่ไดจากคาใชจายในการการศึกษาของบุคคลในครอบครัว

(lifetime learning credit) เร่ิมใชวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2541 เปนสิทธิสําหรับหักภาษีเปนคาเลาเรียน

และคาใชจายที่เกี่ยวของในสถานศึกษาสําหรับผูเรียนในครอบครัวของผูเสียภาษี ซึ่งรวมถงึตัวผูเสียภาษี

คูสมรสและบุตรผูรับการอุปการะ ตามเกณฑจํานวนเงินที่หักภาษีได คือ รอยละ 20 ของ 5,000

เหรียญสหรัฐ ที่จายไปเปนคาเลาเรียนและคาใชจายทางการศึกษาที่เกี่ยวของ โดยมีเกณฑอ่ืน

เชนเดียวกับเกณฑของภาษีรายไดของบุคคลในครอบครัว (the hope scholarship credit) ทั้งนี้

90วัลลภ สุวรรณดี และคณะ, รายงานการวิจัยเร่ือง แนวทางการใชมาตรการจูงใจทางภาษี

เพื่อการระดมทรัพยากรทางการศึกษา (ม.ป.ท.,ม.ป.ป.), 8 - 13.

Page 96: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

81

จํานวนเงินเครดิต 1,000 เหรียญสหรัฐ จะมีผลใชบังคับไปจนถึง พ.ศ.2545 หลังจากนั้นจะเพิ่มเปน

รอยละ 20 ของ 10,000 เหรียญสหรัฐคือเทากับ 2,000 เหรียญสหรัฐ

3. เงินทุนจากการหักภาษีที่ไดจากการออมเงินเขาเปนกองทุนหรือบัญชีสะสมเพื่อการศึกษา

(education IRAs : Individual Retirement Account) โดยหลักการนี้เปนการออมเงินเขาเปนกองทุน

หรือบัญชีสะสมเพื่อการศึกษาระดับอุดมศึกษา ซึ่งเร่ิมใชต้ังแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2541 โดยผูเสีย

ภาษีสามารถที่จะออมเงินเขาบัญชีนี้ไวไดปละ 500 เหรียญสหรัฐ สําหรับบุตรอายุไมเกิน 8 ป และเงนิ

จํานวนนี้จะไมถูกนําไปหักภาษีตราบเทาที่ เปนเงินสะสมเพื่อเปนคาใชจายสําหรับการศึกษา

ระดับอุดมศึกษาที่ตรงตามเกณฑ ทั้งนี้ ผูที่สงเงินออมเขาบัญชี สําหรับเด็กอายุไมเกิน 18 ป ให

รวมถึงต้ังแตพอแม ปู ยา ตา ยาย ญาติ มิตร รวมทั้งตัวเด็กเอง โดยท่ีเงินออมทั้งหมดตองไมเกิน

500 เหรียญสหรัฐตอป

4. เงินทุนจากการหักภาษีสามารถถอนเงินจากบัญชีเพื่อการศึกษาได (IRAs withdrawals)

เร่ิมมีผลบังคับใชต้ังแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2541 โดยผูเสียภาษีที่มีอายุไมเกิน 59 ป 6 เดือน

สามารถถอนเงินจากบัญชีบัญชีสะสมเพื่อการศึกษา (IRAs) ไปเปนคาใชจายทางการศึกษา

ระดับอุดมศึกษาสําหรับตนเอง คูสมรสและบุตรหลานได โดยไมตองเสียคาปรับรอยละ 10 แตยังตอง

เสียภาษีรายไดตามปกติ

5. เงินทุนจากการหักดอกเบี้ยจากเงินกูยืมเพื่อการศึกษา (student loan interest

deduction) เร่ิมมีผลบังคับใชต้ังแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2541 โดยผูเสียภาษีที่ไดกูยืมเงินเพื่อเปน

คาใชจายทางการศึกษาสําหรับตนเอง คูสมรสหรือผูที่อยูในความอุปการะที่เขาเรียนในสถานศึกษาท่ี

ไดรับการรับรองมาตรฐาน สามารถหักดอกเบ้ียที่ตองจายใหเงินกูยืม โดยหักไดสูงสุดจํานวน 1,000

เหรียญสหรัฐ ในป พ.ศ.2541 จํานวน 1,500 เหรียญสหรัฐ ในป พ.ศ.2542 และจํานวน 2,000

เหรียญสหรัฐ ในป พ.ศ.2543 โดยต้ังแตป พ.ศ.2544 เปนตนไป หักไดสูงสุดจํานวน 2,500 เหรียญ

สหรัฐ ทั้งนี้ การขอหักดอกเบ้ียดังกลาวตองดําเนินการภายใน 60 เดือนแรกที่ตองมีการจายดอกเบ้ีย

ใหเงินกูยืมและเปนดอกเบ้ียที่ตองจายในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2541 หรือหลังจากนั้น

6. การยกเวนเงินภาษีสําหรับนายจางที่ใหการสนับสนุนลูกจางในการศึกษา (exclusion for

employer provided educational assistance) กอนถึงวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2543 ใหสิทธิการยกเวน

ภาษีสําหรับเงินชวยเหลือการศึกษาระดับปริญญาตรีที่นายจางชวยลูกจางใหไดรับการศึกษาได รายละ

5,250 เหรียญสหรัฐ ตอป โดยไมตองเจาะจงวา การศึกษานั้นจะเกี่ยวของกับงานที่ทําโดยตรงหรือไม

แตมาตรการนี้เลิกใชต้ังแต 1 มิถุนายน พ.ศ.2543 เปนตนไป

Page 97: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

82

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาในประเทศฝรั่งเศส ประเทศฝร่ังเศสประสบความสําเร็จในการใชมาตรการจูงใจดานภาษีใหแกภาคอุตสาหกรรม

ในการเขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษา การวิจัยและพัฒนา โครงการที่ไดรับการกลาวถึงเปนที่

แพรหลาย ประกอบดวย91

1. โครงการนอรมังดี เปนโครงการภายใตความรวมมือระหวางรัฐบาลกลางของฝร่ังเศสกับ

องคการบริหารสวนทองถิ่น โดยที่ทั้งสององคกรไดเจรจาความรวมมือกับกลุมอุตสาหกรรมบางกลุม

อาทิ กลุมอุตสาหกรรมยานยนต กลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ เภสัชกรรม เคร่ืองสําอางและ

อิเล็กทรอนิกส จัดต้ังกองทุนการเงินและมาตรการทางภาษีเพื่อกระตุนใหภาคอุตสาหกรรมจัดกิจกรรม

ดานการวิจัยและพัฒนา (research and development) มากยิ่งข้ึน ทั้งนี้ บริษัทตาง ๆ ที่มีคุณสมบัติ

ตามเงื่อนไขที่กําหนดจะไดรับเงินอุดหนุนในรูปแบบของเงินชวยเหลือแบบใหเปลา หรือไดรับการ

สนับสนุนการกูเงินในอัตราดอกเบ้ียตํ่า จากคณะกรรมการสาธารณูปโภคประจําเขตหรือสภาประชาคม

และหอการคาสวนทองถิ่น นอกจากนั้นแลว สถานประกอบการสามารถนําคาใชจายจากการวิจัยและ

พัฒนาที่เกิดข้ึนมาหักภาษีไดอีก

2. โครงการความรวมมือกับอุตสาหกรรมในการจางงานและฝกวิชาชีพรัฐบาลฝร่ังเศสได

เล็งเห็นประโยชนในการประสานความรวมมือกับสถานประกอบการในการฝกทักษะวิชาชีพใหกับบุคคล

ทั่วไป โดยไดเร่ิมจัดต้ังกองทุนชวยเหลือและการลดหยอนภาษีสําหรับการฝกวิชาชีพ (subsidies and

tax credit for vocational training) ในสถานประกอบการ โดยที่สถานประกอบการที่เขารวมโครงการ

ดังกลาว จะไดรับเงินสนับสนุนการดําเนินการเปนคาใชจายการฝกวิชาชีพ โดยสามารถเบิกไดรอยละ

70 ของคาใชจายในการลงทุนสําหรับหลักสูตรดังกลาว จากเงินกองทุนของรัฐและการบริหารสวน

ทองถิ่น และยังสามารถนําคาใชจายสวนนี้ไปลดหยอนภาษีไดอีกดวย ทั้งนี้ ไดกําหนดรายละเอียดของ

คาใชจายใหประกอบดวย คาใชจายของทีมผูฝกหัด และคาใชจายของผูเขารับการฝกหัด และสถาน

ประกอบการจะไดรับสิทธิขอลดหยอนภาษีไดในอัตรารอยละ 25 ของคาใชจายที่เฉล่ียตอหัวของผูเขา

รับการฝกงาน แตไมเกิน 1 ลานฟรังสตอป นอกจากนั้น สถานประกอบการยังจะไดรับการยกเวนภาษี

สิทธิบัตรธุรกิจประจําทองถิ่น เปนเวลา 6 ป ในชวงระยะเวลาในการดําเนินการตามโครงการดังกลาว

ดวย

3. มาตรการดานภาษีเพื่อสนับสนุนการวิจัย

3.1 การจัดต้ังศูนยวิจัยและการพัฒนา (research and development center)รัฐบาล

ฝร่ังเศสไดจัดต้ังโครงการสนับสนุนการจัดต้ังศูนยวิจัยและการพัฒนา โดยผานระบบจูงใจดานภาษีเพื่อ

91บุญศักด์ิ ใจจงกิจ, “รายงานการวิจัยเอกสารการปฏิรูปการอาชีวศึกษาและการฝกอบรม

วิชาชีพของตางประเทศ : สาธารณรัฐฝร่ังเศส,” 2542 ,19 (เอกสารอัดสําเนา)

Page 98: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

83

สรางแรงจูงใจใหแกผูลงทุนในการดําเนินงานจัดต้ังศูนยวิจัยและพัฒนาในฝร่ังเศส โดยรัฐไดกําหนด

คุณสมบัติของสถานประกอบการที่มีสิทธิได รับงบประมาณสนับสนุน ดังนี้ 1) ตองเปนสถาน

ประกอบการที่ต้ังอยูนอกกรุงปารีสและ 2)ตองเปนกิจกรรมที่ทําใหเกิดการจางงานไมนอยกวา 30

ประเภท ภายใน 3 ป นับต้ังแตเร่ิมโครงการหรืออยางนอย 30 ประเภทในกรณีที่ผูลงทุนรับรองวา

เงินทุนของกิจการตนมีไมนอยกวา 300,000,000 ฟรังส ผูลงทุนสามารถรับเงินสนับสนุนวิจัยและพัฒนา

35,000 ฟรังส ตองานหนึ่งประเภทที่เกิดข้ึนและเงินสนับสนุนอีก 50,000 ฟรังส สําหรับการวิจัยและ

พัฒนาที่ดําเนินการในเขตเมือง อยางไรก็ตามเงินทุนสนับสนุนทั้งหมดจะตองไมเกิน 2 เทาของเงินลงทุน

ของสถานประกอบการ ซึ่งรวมทั้งบัญชีเดินสะพัดของพนักงานและผูบริหาร

3.2 การยกเวนภาษีเพื่อการวิจัย (tax credit for research) เพื่อเปนการสนับสนุน

การพัฒนาองคความรูใหม สถานประกอบการตางๆ ที่เขาไปเกี่ยวของกับโครงการวิจัยและพัฒนา

สามารถขอยกเวนภาษี เพื่อเปนคาใชจายงานวิจัยถึง 40,000,000 ฟรังสตอป ตลอดระยะเวลาของการ

ดําเนินการ และหากมีคาใชจายการวิจัยเพิ่มข้ึน สถานประกอบการยังสามารถขอลดหยอนภาษีการ

วิจัยที่นําไปใชในสถานประกอบการของตนได โดยขอยกเวนไดถึงรอยละ 50 เมื่อเปรียบเทียบกับ

คาใชจายโดยเฉลี่ยในชวง 2 ปกอน กลาวคือ ในปแรกสามารถขอยกเวนภาษีวิจัยรอยละ 50 และ

จํานวนที่จะนํามาหักลบการขอยกเวนภาษีไดนั้น จะตองเปนคาใชจายเกี่ยวกับงานวิจัยข้ันพื้นฐานและ

ประยุกต และการพัฒนาที่ดําเนินการเองหรือรับเหมาทําในประเทศฝร่ังเศส รวมถึงคาสิทธิบัตร คา

รักษาพยาบาล คาเส่ือมราคาของสินทรัพยที่นํามาใชเกี่ยวกับงานวิจัยนั้นดวย รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาในประเทศแคนาดา การขอคืนภาษีเพื่อการศึกษาที่จัดข้ึนในเมืองออนทาริโอ (Ontario)92ประเทศแคนาดา เปน

ประเทศหนึ่งที่ไดสรางมาตรการจูงใจภาษีเพื่อการศึกษาแกบริษัทหรือธุรกิจอ่ืนที่ไมดําเนินกิจการในรูป

ของบริษัท โดยมอบหมายใหกระทรวงการคลังเปนผูดูแลรับผิดชอบโครงการที่กําหนดใหเมืองออนทาริ

โอ (Ontario) เปนพื้นที่เปาหมาย

ในป พ.ศ.2539 งบประมาณของเมืองออนทาริโอ (Ontario) ไดกําหนดการขอคืนภาษีฉบับ

ใหมสําหรับธุรกิจที่อนุญาตใหนักศึกษาไดเขาเรียนตามโครงการการจัดการศึกษาดานวิชาชีพรวมกัน

ระหวางรัฐและเอกชนในระดับสูงกวามัธยม โครงการนี้เรียกวาโครงการความรวมมือสินเช่ือจากภาษี

เพื่อการศึกษา (Co-operative Education Tax Credit : CETC) ซึ่งบริษัทหรือธุรกิจที่เขารวม

92วัลลภ สุวรรณดี และคณะ, รายงานการวิจัยเร่ือง แนวทางการใชมาตรการจูงใจทางภาษี

เพื่อการระดมทรัพยากรทางการศึกษา (ม.ป.ท.,ม.ป.ป.), 15 - 18.

Page 99: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

84

โครงการนี้สามารถขอคืนภาษีเพื่อการศึกษาไดรอยละ 10 จนถึงสูงสุด 1,000 เหรียญสหรัฐตอหัว โดย

เร่ิมมีผลต้ังแตวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2539

ในป พ.ศ. 2540 CETC program ไดขยายโครงการครอบคลุมถึงธุรกิจขนาดยอมที่เขา

รวมโครงการโดยมีเงื่อนไขวา บัญชีเงินเดือนในปภาษีที่ผานมาตองมีจํานวน 400,000 เหรียญสหรัฐ

หรือนอยกวา นอกจากนั้น การขอคืนภาษีไดขยายเพิ่มข้ึนจากรอยละ 10 เปนรอยละ 15 จนถึง 1,000

เหรียญสหรัฐตอหัว มีผลต้ังแตวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2540 และในป พ.ศ.2542 ไดขยายเวลาการ

ฝกงานจาก 16 เดือนเปน 24 เดือน เร่ิมต้ังแตวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ.2542 เชนกันและไดกําหนด

คุณสมบัติของสถานประกอบการท่ีจะเขารวมโครงการนี้ ดังนี้ 1) สถานประกอบการตาง ๆ ในเมือง

ออนทาริโอ (Ontario) หรือธุรกิจที่ไมมีการจัดต้ังเปนบริษัทแตมีที่ต้ังถาวรอยูในเมืองออนทาริโอ

(Ontario) 2) ผูถือหุนในสถานประกอบการอาจเขารวมโครงการ The CETC ถาตําแหนงงานของ

พนักงาน มีคุณสมบัติพรอม ยกเวนผูถือหุนที่มีคุณสมบัติไมเปนไปตามเงื่อนไขของ CETC 3) สถาน

ประกอบการที่รวมมือกัน 2 แหง หรือมากกวาที่วาจางนักศึกษาหรือผูฝกงานที่มีคุณสมบัติครบถวนให

เขาเรียนหลักสูตรที่เร่ิมต้ังแตวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2540 หรือกอนวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2541 จึงจะ

เขาหลักเกณฑตามของการขอคืนภาษี หลักเกณฑการขอคืนภาษี 1. สถานประกอบการที่มีคุณสมบัติพรอม สามารถขอคืนภาษีไดตาม CT-23 หรือ CT-8

สวนสถานประกอบการที่มิไดจัดต้ังเปนบริษัทสามารถขอคืนภาษีไดตาม T-1C (ONT) รวมทั้ง

ผลตอบแทนภาษีเงินไดสวนบุคคล สวนผูเปนหุนสวนสามารถขอคืนภาษีไดตามสัดสวนของ CETC ที่

ตนเองมีผลตอบแทนภาษีในรูปของบริษัทหรือสวนบุคคล

2. การขอคืนภาษีสามารถทําได เมื่อตําแหนงงาน (work placement) สําเร็จตามโครงการ

แลว กลาวคือสถานประกอบการสามารถขอคืนภาษีรายปที่จายใหแกรัฐบาลเมืองออนทาริโอ (Ontario)

สวนอ่ืน ๆ ใหเปนไปตามระบบการขอคืนภาษี

3. จํานวนที่ขอคืนภาษีใหถือเปนการใหการชวยเหลือรัฐบาลในเร่ืองของภาษีและจัดรวมอยู

ในรายไดในปจัดเก็บภาษี ซึ่งเปนไปตามหลักการของตําแหนงงาน คุณสมบัติของตําแหนงงาน คุณสมบัติของตําแหนงงาน หมายถึง ตําแหนงงานของพนักงานซึ่งลงทะเบียนเรียนใน

สถาบันศึกษาที่มีคุณสมบัติตามเงื่อนไขของ CETC ดังนี้ 1) สถาบันการศึกษาไดมีสวนพัฒนาหรือรับรอง

โรงงานนั้น 2) ระหวางที่ทํางานในโรงงาน นักศึกษาจะตองไมใชผูสังเกตการณ แตเปนผูสรางงานที่

สรางสรรคนั้น 3) ระยะเวลาของโครงการฝกงานไมนอยกวา 8 เดือน แตไมเกิน 16 เดือน 4) สถาน

ประกอบการเปนผูรับผิดชอบคาใชจายทั้งหมด 5) นายจางเปนผูคอยดูแลความกาวหนาของงานเปนที่

ปรึกษาและเปนผูประเมินการปฏิบัติงานของพนักงานที่เขาเรียน

Page 100: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

85

โครงการจัดการศึกษารวมกันระหวางรัฐและเอกชน โครงการนี้ไดกําหนดรายละเอียด ดังนี้

1) ถาเปนโครงการทางการศึกษาจะตองประกอบดวย งานแตละอยางจะตองมีเวลาติดตอกัน 10

สัปดาห งานแตละอยางที่ทําจะตองสําเร็จลุลวง 50 เปอรเซ็นต งานวิชาการตองไมเกิน 75 เปอรเซ็นต

2) ถาเปนโครงการศึกษาที่มีการฝกหัดงานจะตองประกอบดวย วิชาเลือกตองมีระยะเวลาไมนอยกวา

8 เดือน ติดตอกันไมเกิน 16 เดือน งานตองสําเร็จไมนอยกวา 30 เปอรเซ็นต ไมมากกวา 75

เปอรเซ็นต 3) ถาเปนโครงการศึกษาประกอบดวยสวนวิชาการและสวนปฏิบัติงาน งานที่เปนวิชาเลือก

จะตองทําใหสมบูรณกอนงานวิชาการจะเ รียบรอยและตองบันทึกไว ในผลการเ รียน โดย

สถาบันการศึกษารับรองสิทธิ์ในระดับที่สูงกวามัธยม (วิชาชีพ)และตองผานความเห็นชอบของผูแทน

กระทรวงการคลัง

โครงการเทคโนโลยี เพื่ อความกาวหนาโครงการเทคโนโลยี เพื่ อความกาวหนา

ไดกําหนดเงื่อนไข ดังนี้ 1)กระทรวงฝกหัดงาน วิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเปนผูรับรองหลักสูตร

2) สถาบันการศึกษารับรองสิทธิตามที่จบในระดับที่สูงกวามัธยม 3) โครงการฝกหัดงานจะไดรับการ

รับรองจาก director of apprenticeship under the apprenticeship and certification act 1998 4)

สถาบันการศึกษาจะทําหนาที่เสนอแนะกระทรวงฝกหัดงาน วิทยาลัยและมหาวิทยาลัยวา หลักสูตรที่

นักศึกษาไดเรียนมานั้น ควรจะจัดเขาในดานศิลปศาสตร วิทยาศาสตร ธุรกิจ หรืออ่ืน ๆ ที่เหมาะสม

ทั้งนี้ สาขาวิชาที่ไมจัดเขาในโครงการเทคโนโลยีเพื่อความกาวหนาประกอบดวย การวิจัย

การตลาด การสงเสริมการขาย การควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบวัตถุดิบหรือการควบคุมการผลิต

การวิจัยทางสังคมศาสตร การวิเคราะหตรวจสอบ แรธาตุ ปโตรเลียมหรือกาซธรรมชาติ การเปล่ียนแปลง

วิธีการและการรวบรวมขอมูล เพราะโครงการนี้มุงใหนักศึกษาไดพัฒนาหรือการประยุกตเทคโนโลยีเพื่อ

สงเสริมนวัตกรรมอยางตอเนื่องและไดปรับปรุงงานที่จะนําไปสูผลผลิตหรือการบริการที่ดีเยี่ยม

สถาบันที่รับผิดชอบโครงการนี้ประกอบดวย 1) มหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัยทางดานศิลป

ศาสตรและเทคโนโลยีประยุกตในเมืองออนทาริโอ (Ontario) ซึ่งการลงทะเบียนของนักศึกษาจะชวยให

รัฐบาลแหงเมืองออนทาริโอ (Ontario) ไดพิจารณาอนุมัติทุนประจําปได 2) สถาบันวิทยาศาสตรสุขภาพ

(The Michener Institute of Applied Health Sciences) 3) วิทยาลัยศิลปะและการออกแบบ

(The Ontario College of Art and Design) 4) วิทยาลัยการอาชีพ (Private-sector Vocational

Schools) ภายใตกฎหมายการศึกษาดานวิชาชีพเอกชน (Private Vocational School Law)

คาใชจายที่สามารถนําไปขอคืนภาษีได ประกอบดวย 1) เงินเดือนและคาจางรวมทั้ง

ผลประโยชนทางภาษี เชน เงินที่ระบุไวในเอกสารคาใชจายของนักเรียน (student’s T-4 slip) ซึ่งได

จายไปในขณะที่เรียน 2) คาธรรมเนียมที่จายใหแกสถาบันการศึกษาหรือหนวยงานที่จัดหางานระหวาง

หลักสูตรการขอคืนภาษีทางธุรกิจ

Page 101: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

86

การขอคืนภาษีทางธุรกิจ การขอคืนภาษีทางธุรกิจตามโครงการ CETC สามารถดําเนินการได ดังนี้ 1) ตามประกาศ

ของงบประมาณประจําเมืองออนทาริโอ (Ontario) ซึ่งมีผลต้ังแตวันที่ 31 ธันวาคม 2540 นายจางที่

จายเงินเดือนหรือคาจางในปภาษีที่ผานมาเกินกวา 600,000 เหรียญสหรัฐ จะไดรับคืนภาษีจํานวน

รอยละ 10 2) นายจางที่จายเงินเดือนหรือคาจางในปภาษีที่ผานมา 400,000 เหรียญสหรัฐ หรือนอย

กวา สามารถขอคืนภาษีไดรอยละ 15 3) นายจางที่จายเงินเดือนหรือคาจางในปภาษีที่ผานมาไมนอย

กวา 400,000 เหรียญสหรัฐ แตไมเกิน 600,000 เหรียญสหรัฐ นายจางขอคืนภาษีดังกลาวตามสูตร

ดังนี้ A = 10% x B + (5% x B) x (1-c/200,000 ดอลลาร) (A = 1,B = 2, C =3)

อยางไรก็ตาม แมวารัฐบาลกลาง รัฐบาลเมืองออนทาริโอ Ontario และสวนราชการอ่ืน ๆ

จะพยายามสรางแรงจูงใจมาตรการทางภาษีแกสถานประกอบการ หุนสวนธุรกิจตาง ๆ เชน การให

ทุนอุดหนุน การยกเวนหนี้ เปนตน แตก็มีขอจํากัดทางกฎหมายของเมืองออนทาริโอ Ontario ตาม

มาตรา 43.3 วาดวยกฎหมายภาษีบริษัท เปนตน

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาสาธารณรัฐประชาชนจีน ภายหลังจากที่มีการปฏิรูปการศึกษาในระหวางป พ.ศ.2533 ถึง พ.ศ.2537 ที่ผานมา

โครงสรางระบบการศึกษา การจัดสรรงบประมาณและแนวทางการใชมาตรการทางภาษีเพื่อระดม

ทรัพยากรทางการศึกษาของสาธารณรัฐประชาชนจีน ไดเปล่ียนรูปแบบการดําเนินงานที่นาสนใจหลาย

สวน โดยที่สาระสําคัญที่เกี่ยวกับกรอบงานวิจัยในคร้ังนี้มีรายละเอียดที่ควรพิจารณาดังนี้93

นโยบายเชิงรุกในการพัฒนาการศึกษา คือ

1. รัฐจะลดอัตราการไมรูหนังสือของเยาวชนและประชาชนวัยกลางคนใหเหลือตํ่ากวารอย

ละ 5 และลดอัตราการไมรูหนังสือเหลือรอยละ 1 ในป พ.ศ.2553

2. รัฐจะหยุดวัยของผูไมรูหนังสือใหม โดยจัดใหการศึกษาข้ันพื้นฐานเปนการศึกษาภาค

บังคับ ประชาชนทุกคนจะตองไดรับการศึกษาภาคบังคับครอบคลุมทั้งปริมาณและคุณภาพภายในป

พ.ศ.2553

3. รัฐจะขยายการอาชีวศึกษาทุกระดับและทุกรูปแบบ และจะพัฒนาการอาชีวศึกษาเพื่อให

แรงงานใหมไดรับการอบรมกอนเขาทํางานและฝกอบรมดานเทคนิคแกแรงงานทุกระดับ ตลอดจนฝก

ทักษะทางเทคนิควิชาการดวยการใหการฝกอบรมระหวางทํางาน

4. รัฐจะดําเนินการใหผูที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลายแลว แตไม

ตองการศึกษาตอในระดับที่สูงข้ึน ใหสามารถเขารับการฝกอบรมดานเทคนิคและอาชีวศึกษาได

93ศุรีพร เศวตพงษ, ”รายงานการวิจัยเอกสารการปฏิรูปการอาชีวศึกษาและการฝกอบรม

วิชาชีพของตางประเทศ : สาธารณรัฐประชาชนจีน,” 2542, 50. (เอกสารอัดสําเนา)

Page 102: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

87

5. รัฐจะพัฒนาการอุดมศึกษาอยางจริงจัง และขยายสาขาเฉพาะทาง เพื่อพัฒนาบุคลากร

สาขาเฉพาะทางที่ขาดแคลนและจะตองสืบทอดใหเยาวชนอายุ 15 ปข้ึนไป จํานวน 25 ลานคน เปน

บุคลากรเช่ียวชาญเฉพาะทางเพื่อสืบตอตําแหนง

6. รัฐจะปฏิรูประบบการจัดการและดําเนินการใหงานดานอุดมศึกษามีคุณภาพ โดยปรับ

ระเบียบวิจัย สาขาวิชา ระดับ โครงสราง

7. รัฐจะพัฒนาศักยภาพ งานวิจัยและประสิทธิภาพของการจัดอุดมศึกษา

8. รัฐจะพัฒนาการศึกษาผูใหญ สงเสริมการศึกษาตอเนื่องและใหโอกาสในการศึกษาตอ

เพื่อมีคุณวุฒิสูงข้ึน และสนองความตองการการเรียนของประชาชนกลุมตาง ๆ

9. รัฐจะสงเสริมคุณภาพของศีลธรรม วัฒนธรรมของนักศึกษาทุกระดับ

10. รัฐจะขยายปริมาณการศึกษาและปรับคุณภาพ ประสิทธิภาพการจัดการการศึกษาทุก

ระดับใหสูงข้ึน

เพื่อใหการดําเนินการเปนไปตามที่กําหนดไวขางตน รัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีน ได

กําหนดกรอบการจัดสรรงบประมาณเพ่ือการศึกษาไววา สภาแหงรัฐจะตองจัดสรรงบประมาณ 1.5

พันลานหยวนทุกป โดยรัฐบาลจะใชในโครงการที่สงเสริมและสนับสนุนองคกรและกิจกรรมการศึกษา

นอกจากนั้น คณะกรรมการศึกษาแหงรัฐและกระทรวงการคลังไดเร่ิมรวมมือกันดําเนินโครงการแหงชาติ

เพื่อจัดศึกษาภาคบังคับในเขตยากจน และในป พ.ศ.2543 รัฐสนับสนุนเงินทุนกวา 100 พนัลานหยวน

โดยเปนเงินจัดสรรพิเศษเพื่อการนี้ จากรัฐบาลกลางจํานวน 39 พันลานหยวน และจะเปนผลให

อัตราสวนการจัดสรรงบประมาณจากรัฐบาลทองถิ่นและรัฐบาลกลางเปน 2 ตอ 1 ซึ่งถือเปนโครงการ

การศึกษาที่ใหญและไดรับงบประมาณจํานวนมากที่สุดในประเทศจีน (people’s education

press,1995)

นอกจากนี้ เพื่อเปนการประกันเงื่อนไขพื้นฐานเพื่อการปฏิรูปการศึกษาดวยการขยายการ

จัดสรรงบประมาณ สวัสดิการและครุภัณฑ จึงไดมีการออกกฎหมายรองรับไว ดังนี้

มาตราท่ี 53 ของกฎหมายการศึกษาแหงสาธารณรัฐประชาชนจีนระบุไววา รัฐจะตองสราง

ระบบการจัดสรรงบประมาณในการจัดหาทุนเพื่อการศึกษาดวยมาตรการตาง ๆ ดังนี้ 1) การสนับสนุน

จากสถานประกอบการ 2) การเก็บคาธรรมเนียมสอนพิเศษ 3) การเก็บคาสอน 4) การสนับสนุนจาก

องคกรอุตสาหกรรม 5) การบริจาคเงินเขากองทุน 6) อ่ืน ๆ

อยางไรก็ตามรัฐจะเปนผูสนับสนุนรายใหญในการจัดหาเงินทุนเพื่อใชในการจัดการศึกษา

และจากขอมูลที่ผานมา รัฐไดจัดสรรเงินงบประมาณเพื่อการศึกษารอยละ 4 ของผลิตภัณฑมวลรวม

ประชาชาติ (GNP) ในขณะที่หนวยงานรัฐทุกระดับจะตองจัดต้ังเงินกองทุนพิเศษเพื่อจัดการศึกษาภาค

บังคับในเขตพื้นที่ยากจน ซึ่งจะครอบคลุมรอยละ 15 ของประชากรในเขตดังกลาว และคอย ๆ เพิม่การ

จัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาและรักษาเงินกองทุนพิเศษดวยอยางนอยไมตํ่ากวา 10 พันลานหยวน

Page 103: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

88

ทุกป ยิ่งไปกวานั้นรัฐยังจัดใหมีระบบจัดเก็บคาธรรมเนียมพิเศษซ่ึงหมายถึงคาธรรมเนียมเพื่อการศึกษา

คาธรรมเนียมพิเศษเพื่อการศึกษาในพื้นที่ชนบทและคาธรรมเนียมพิเศษทองถิ่นเพื่อการศึกษา สําหรับ

สถานศึกษาทุกแหงจะมีรายไดเพื่อการบริหารงานจากการจัดเก็บเงินบํารุงการศึกษาที่สอดคลองกับ

ระเบียบ กฎ ขอบังคับของรัฐ โรงเรียนที่จัดการศึกษาภาคบังคับโดยรัฐจะสามารถเพียงจัดเก็บ

คาธรรมเนียมเบ็ดเตล็ดเทานั้น แตในระดับการศึกษาอ่ืน ๆ ที่ไมใชระดับการศึกษาภาคบังคับนั้น

โรงเรียนสามารถจัดเก็บคาเลาเรียนและคาธรรมเนียมเบ็ดเตล็ดได หากรัฐจะรับคาธรรมเนียมเบ็ดเตล็ด

ในระดับการศึกษาภาคบังคับนั้น อัตราการจัดเก็บคาธรรมเนียมเบ็ดเตล็ดใหข้ึนกับดัชนีราคาอุปโภค

บริโภคและศักยภาพทางเศรษฐกิจของประชาชนสวนใหญ และการเพิ่มคาเลาเรียนและคาธรรมเนียม

สําหรับระดับการศึกษาอ่ืน ๆ ใหใชเกณฑพิจารณาจัดเก็บวิธีนี้เชนกัน

ในสวนนโยบายสนับสนุนดานภาษี รัฐบาลมีนโยบายจัดเก็บภาษีอัตราตํ่าหรือไมจัดเก็บภาษี

จากสถานประกอบการที่ดําเนินการเปนโรงเรียน หรือสถานศึกษารวมทั้งสงเสริมใหมีการรับบริจาคเงิน

เพื่อการศึกษาจากทองถิ่นและองคการสังคมระหวางประเทศและสงเสริมใหโรงงาน สถานประกอบการ

องคกรเพื่อสังคมรับบริจาคเงินทุนจากภายในและตางประเทศเพื่อนํามาใชจายเพื่อการศึกษา ทั้งนี้ เงิน

บริจาคจะสามารถนํามาหักภาษีได

นอกจากที่กลาวมาแลว เพื่อเปนการผอนคลายภาระคาใชจายในการจัดการศึกษา

สถานศึกษาบางประเภทสามารถจัดเก็บคาธรรมเนียมพิเศษเพื่อการศึกษา สําหรับระดับการศึกษาที่

ไมใชการศึกษาภาคบังคับและสถานศึกษาสามารถเก็บคาเลาเรียนไดดวยการหารายไดจากโรงเรียนที่

เปนสถานประกอบการ การเพิ่มเงินกองทุนเพื่อจัดการศึกษาในเขตชนบท การรับเงินบริจาคจา

หนวยงานภายในประเทศและองคกรสังคมตางประเทศ และสรางธนาคารเพื่อการศึกษา สมาคมกองทนุ

เพื่อการศึกษาแหงชาติจีน โดยรัฐบาลไดกําหนดอัตราภาษีใหมที่สอดคลองกับนโยบายการขยายตัวดาน

การศึกษาอีกดวย

รัฐบาลจีนไดพยายามหาแหลงเงินทุนจากหลาย ๆ แหง เชน การเก็บเงินเพิ่มจากการจัด

การศึกษาทั้งในเมืองและชนบทที่รวบรวมจากรัฐบาลทองถิ่น การเก็บคาใชจายการศึกษาจากโรงเรียน

สถานประกอบการเงินทุนที่ เก็บจากกลุมสังคม องคกรสาธารณะประชาชนและเงินบริจาค

คาธรรมเนียมที่นักเรียนจายและรายไดจากโรงเรียนที่ดําเนินสถานประกอบการและโปรแกรมการทํางาน

ควบคูกับการเรียน รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาในสาธารณรัฐเกาหล ี ภาษีตาง ๆ ในประเทศเกาหลีประกอบไปดวย ภาษีแหงชาติและภาษีทองถิ่น ภาษีแหงชาติ

แบงออกเปน ภาษีภายในประเทศ, อากรศุลกากร และภาษีเฉพาะอยาง ในสวนของภาษีภายในประเทศ

ไดถูกแบงแยกออกเปน ภาษีทางตรงและภาษีทางออม จนกระทั่ง ค.ศ.2001 มีการเก็บภาษีการใช

Page 104: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

89

โทรศัพทข้ึนแตไมไดนําไปรวมกับภาษีมูลคาเพิ่ม ดังเชนในป ค.ศ.2002 มีภาษีในประเทศรวม 14 ชนิด94

คือ ภาษีภายในประเทศ ประกอบดวย

ภาษีเงินได ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีการรับมรดก ภาษีการให ภาษีการปรับเพิ่มของ

ทรัพยสินและภาษีกําไรเกินควร การเก็บภาษีทางออม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีสรรพสามิต ภาษีสุราและภาษีธุรกรรมการคา ภาษีเฉพาะอยาง ภาษีการขนสง ภาษีเพื่อการศึกษา ภาษีพิเศษเพื่อการพัฒนาชนบทและอากรศุลกากร

ภาษีทองถิ่น ถูกแบงการจัดเก็บออกเปน 1) ภูมิภาค จัดเก็บจํานวน 7 ชนิดภาษี 2)เมืองและ

เขต จํานวน 10 ชนิดภาษี 3)เมืองที่มีอาณาเขตกวางขวางและกรุงโซล มีการจัดเก็บ 13 ชนิดภาษี และรัฐ

ที่จัดการปกครองอิสระ จัดเก็บ 4 ชนิดภาษี ดังตารางที่ 1

94ศุรีพร เศวตพงษ, “รายงานการวิจัยเอกสารการปฏิรูปการอาชีวศึกษาและการฝกอบรม

วิชาชีพของตางประเทศ : สาธารณรัฐเกาหลี,” 2542, 62. (เอกสารอัดสําเนา)

Page 105: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

90

ตารางที่ 1 การจัดเก็บภาษีทองถิน่ในประเทศเกาหลี

ภาษีภูมิภาค

ภาษีปกติ ภาษีการไดมา

ภาษีการจดทะเบียน

ภาษีการวางงาน, ภาษีสนามมา

ภาษีใบอนุญาตตางๆ (การปกครอง) ภาษีเฉพาะอยาง ภาษีส่ิงอํานวยความสะดวกชุมชน

ภาษีการพัฒนาภูมิภาค

ภาษีเพื่อการศึกษาทองถิ่น

ภาษีเมืองและภาษีเขต

ภาษีปกติ ภาษีราษฎร

ภาษีทรัพยสิน

ภาษียานยนต

ภาษีเงินไดจากเกษตรกรรม

ภาษีโรงฆาสัตว

ภาษีสรรพสามิต

ภาษีที่ดินสวนรวม

ภาษีน้ํามันเช้ือเพลิง ภาษีเฉพาะอยาง ภาษีการวางผังเมือง

ภาษีสถานประกอบธุรกิจ

ที่มา : ศักด์ิชัย นิรัญทวี, รายงานการปฏิรูปการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (กรุงเทพฯ :

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2541), 58 - 59.

รายไดจากการจัดเก็บภาษีตามรายการภาษี รายไดจากการจัดเก็บภาษีแหงชาติในปค.ศ.2001 มีการคาดการณวาจะจัดเก็บไดเปน

จํานวน 95.8 ลานลานลานวอน ภาษีมูลคาเพิ่มคือแหลงที่คาดหมายวาจะจัดเก็บไดมากที่สุดในภาษี

แหงชาติดังตารางที่ 2

Page 106: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

91

ตารางที่ 2 ภาษีแหงชาติและภาษีทองถิน่ในประเทศเกาหลี ป 2001

ฐานภาษี ภาษีแหงชาติ ภาษีทองถ่ิน

เงินได

ภาษีเงินได : 171,215 (17.9)

ภาษีเงินไดนิติบุคคล : 188,776 (19.7)

ภาษีราษฎร : 32,911 (14.0)

ภาษีเงินไดจากการเกษตร : 24 (-)

จํานวนรวม : 359,991 (37.6) จํานวนรวม 32,935 (14.0)

ทรัพยสิน

ภาษีการรับมรดกและภาษีการให :11,284

(1.2)

การปรับเพิ่มภาษี : 1,140 (1.0)

ภาษีการไดมา : 30,484 (13.0)

ภาษีการจดทะเบียน : 46,093 (19.6)

ภาษีทรัพยสิน : 7,317 (3.1)

ภาษีที่ดินสวนรวม : 12,715 (5.4)

ภาษีการวางผังเมือง : 8,193 (3.5)

ภาษีส่ิงอํานวยความสะดวกของชุมชน :

3,518 (1.5)

ภาษีสถานประกอบธุรกิจ : 3,654 (1.6)

จํานวนรวม : 488,225 (50.9) จํานวนรวม : 111,974 (47.7)

การบริโภค

ภาษีมูลคาเพิ่ม : 238,434 (24.9)

ภาษีสรรพสามิต : 30,381 (3.2)

ภาษีสุรา : 25,095 (2.6)

ภาษีโทรศัพท2): 13,027 (1.4)

อากรแสตมป : 3,744 (0.4)

ภาษีการขนสง : 110,224 (11.5)

อากรศุลกากร : 67,320 (7.0)

ภาษีสนามมา : 5,563 (2.4)

ภาษีโรงฆาสัตว : 473 (0.2)

ภาษียาสูบ : 22,513 (9.6)

ภาษีน้ํามันเชื้อเพลิง : 5,505 (2.3)

จํานวนรวม : 488,225 (50.9) จํานวนรวม : 34,054 (14.5)

อื่นๆ

ภาษีเพื่อการศึกษา : 36,244 (3.8)

ภาษีพิเศษเพื่อการพัฒนาชนบท : 24,195

(2.5)

ภาษีธุรกรรมการคา : 25,008 (2.6)

ยอดยกไป : 12,904 (1.3)

ภาษีเพื่อการศึกษาทองถ่ิน3) : 29,976

(12.8)

ภาษียานยนต : 19,005 (8.1)

ภาษีใบอนุญาต : 1,028 (0.4)

ภาษีการพัฒนาภูมิภาค : 868 (0.4)

ยอดยกไป : 5,116 (2.2)

จํานวนรวม : 98,351 (10.2) จํานวนรวม : 55,993 (23.8)

รวมทั้งหมด 958,991 (100) 234,956 (100)

หนวยละ 100 ลานวอน คิดเปนรอยละ

ที่มา : ศักด์ิชัย นิรัญทวี, รายงานการปฏิรูปการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (กรุงเทพฯ :

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2541), 61.

Page 107: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

92

รายไดการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาทองถิ่นไดถูกโอนไปเขาในบัญชีการศึกษาพิเศษ มี

ประมาณ 24 ลานลานลานวอน แหลงตอมาของรายไดที่มาจากการจัดเก็บภาษีรายใหญในสวนของภาษี

แหงชาติคือภาษีเงินไดในเครือ ยกตัวอยางเชน ภาษีเงินไดและภาษีเงินไดนิติบุคคล ในตารางท่ี 4 เงินได

นิติบุคคลอยูในตําแหนงเปนที่สองของการประมาณการการรายไดโดยอยูที่ 18 พันลานวอน และรายได

จากภาษีเงินไดคาดวาอยูที่ประมาณ 17 พันลานวอน

รายไดจากภาษีทองถิ่นอยูที่ประมาณ 23.5 พันลานวอน ซึ่งเปนหนึ่งสวนส่ีของรายไดภาษี

แหงชาติ จนกระทั่งป 1999 มีการจัดเก็บภาษีทองถิ่น จํานวน 15 ชนิด อยางไรก็ตาม ภาษีขนสง (ภาษี

น้ํามันเชื้อเพลิง) ถูกนําเขาไปอยูในปภาษี 2000 และภาษีเพื่อการศึกษา ไดถูกนําเขาไปในปภาษี 2001

เพราะฉะนั้น ในป 2002 ก็จะมีภาษีทองถิ่นจํานวน 17 ชนิด

จากตารางที่ 2 จะเห็นไดวาสวนแบงของรายไดภาษีในเครือกับรายไดภาษีของรัฐบาลกลาง

คิดเปนประมาณรอยละ 38 ในสวนของรัฐบาลทองถิ่นอยูที่ประมาณรอยละ 14 โดยเฉพาะ รายไดของ

รัฐบาลทองถิ่นจากสวนของภาษีในเครือจะนอยกวารอยละ 10 ของรายไดในสวนของภาษีในเครือของ

รัฐบาลสวนกลาง ในสวนของภาษีบริโภคจะแสดงใหเห็นวามันคลายกัน สวนแบงของรายไดภาษีในเครือ

ของรายไดภาษีของรัฐบาลสวนกลางคือรอยละ 51 แตรายไดภาษีของรัฐบาลทองถิ่นคือรอยละ 14.5

รายไดภาษีของรัฐบาลทองถิ่นจากสวนของภาษีในเครือของภาษีบริโภคจึงนอยกวารอยละ 7 ของรายได

ภาษีในสวนของภาษีในเครือของรัฐบาลสวนกลาง

เมื่อเราดูจากรายไดภาษีในเครือของภาษีทรัพยสิน อยางไรก็ตาม เราจะเห็นไดวามันกลับกัน

คือสวนแบงของรายไดภาษีในเครือของภาษีทรัพยสินในสวนของรัฐบาลสวนกลางมีเพียงรอยละ 2.2 ซึ่ง

ในสวนของรัฐบาลทองถิ่นจะเปนรอยละ 47.7 ภาษียานยนต ซึ่งอยูในประเภทของภาษีอ่ืน ๆ ในตารางที่

4 จากการพิจารณาแลวจะเห็นไดวามันเหมือนกับรายไดภาษีในเครือของภาษีทรัพยสิน ฉะนั้น สวนแบง

ของรายไดภาษีในเครือของภาษีทรัพยสินในสวนของรัฐบาลทองถิ่นจึงมีจํานวนเกือบจะถึงรอยละ 70

ทีเดียว

ลักษณะเดนอีกอยางหนึ่งของรายไดการจัดเก็บภาษีของรัฐบาลทองถิ่นของเกาหลีคือสวน

แบงของภาษีธุรกรรมทรัพยสิน เชน ภาษีการจดทะเบียนและภาษีการไดมามีจํานวนประมาณรอยละ

32.6 รายไดจากสวนนี้มีจํานวนสูงทีเดียวเมื่อนํามาเปรียบเทียบกับรายงานการจัดเก็บประจําปของภาษี

ทรัพยสิน เชน ภาษีที่ดินสวนรวมและภาษีทรัพยสิน ปรากฏการณนี้เกิดข้ึน หลาย ๆ คร้ังจนพิจารณา

แลวเห็นวาไดกลายเปนสวนหนึ่งที่เปนลักษณะเดนของระบบการจัดเก็บภาษีทองถิ่นของประเทศเกาหลี

ลักษณะเดนอีกอยางหนึ่งของระบบภาษีในประเทศเกาหลี คือ ความสามารถของรัฐบาล

ทองถิ่นที่สามารถเพิ่มหรือลดอัตราภาษีได ถึงมันจะมีขอโตแยงกัน วารัฐบาลทองถิ่นของเกาหลีไมมี

อํานาจอิสระในการที่จะปรับปรุงอัตราภาษีของทองถิ่น ทั้งนี้เนื่องจากขอกําหนดตามมาตราท่ี 59 แหง

รัฐธรรมนูญไดกําหนดไววาอัตราและฐานภาษีทั้งหมดจะตองถูกกําหนดโดยกฎหมายเทานั้น โดยนยันีคื้อ

Page 108: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

93

รัฐบาลทองถิ่นไมมีอํานาจในการตัดสินใจเกี่ยวกับการกําหนดอัตราภาษีทองถิ่นซ่ึงจะตองโดยกฎหมาย

เทานั้น แตอยางไรก็ตาม กฎหมายภาษีทองถิ่นไดอนุญาตใหรัฐบาลทองถิ่นสามารถทําการปรับอัตรา

ภาษาไดตามมาตรฐานภาษี (โดยปกติประมาณรอยละ 50 บวกลบจากมาตรฐานอัตราภาษีที่กําหนดไว)

เพราะฉะนั้น รัฐบาลทองถิ่นมีอํานาจอิสระที่จะสามารถกําหนดอัตราภาษีทองถิ่นเองได

ขณะที่รัฐบาลทองถิ่นมีอํานาจอิสระที่จะกําหนดอัตราภาษีทองถิ่นข้ึนมาเองไดนั้น โดยแทจริง

แลวไมเคยมีรัฐบาลทองถิ่นใดสมัครใจที่จะเปล่ียนอัตราภาษี แมวาหลังจากมีการริเร่ิมใหทองถิ่นมี

อิสรภาพที่จะปกครองตนเอง โดยเหตุที่วารูปแบบของอัตราภาษีในเขตอํานาจการปกครองสวนทองถิ่น

ทั้งหมดไดถือปฏิบัติกันมายาวนานจนเปนธรรมเนียมของการปกครองตนเองสวนทองถิ่น แสดงใหเห็น

วารูปแบบโครงสรางของระบบการจัดเก็บภาษีทองถิ่นในเกาหลีเปนตัวชี้ใหเห็นไดวา รัฐบาลทองถิ่น

เกาหลีไมมีอํานาจอิสระอยางแทจริง ตัวอยางอีกกรณีหนึ่งที่จะชวยใหเขาใจในระบบการจัดเก็บภาษี

ทองถิ่นซึ่งเปนลักษณะพิเศษคือภาษีในเครือของภาษียานยนตนั่นเอง ดังจะเห็นไดจากตารางที่ 3 รายได

จากภาษียานยนต ซึ่งเปนการเก็บภาษีรายปของรถยนต ซึ่งถือครองอยูรอยละ 8.1 ของรายไดภาษี

ทองถิ่น ซึ่งมียอดสูงเกือบจะสูงที่สุดของยอดรวมทั้งหมดของภาษีที่ดินสวนรวมและภาษีทรัพยสิน ดวย

จํานวนผูเปนเจาของรถยนตที่เพิ่มข้ึน สวนสําคัญสูงสุดของภาษียานยนตเคยข้ึนอยูกับคําวิจารณ ใน

หลักการแลว รัฐบาลทองถิ่นตองเปนอิสระจากปฏิกิริยาของการวิจารณนี้ในการที่ทําใหภาษายานยนต

เปนภาษีทองถิ่น อยางไรก็ตาม ถึงแมวารัฐบาลทองถิ่นตองการที่จะนําเอาภาษีน้ํามันเชื้อเพลิงเขามา

ชดเชยในสวนที่ขาดหายไปซึ่งเปนผลมาจากการลดนอยลงของอัตราภาษียานยนต ที่ไมไดรับการ

อนุญาตจากกฎหมายแหงชาติซึ่งแสดงใหเห็นอยางชัดแจงถึงฐานภาษีซึ่งเปนการแบงสวนกันระหวาง

รัฐบาลสวนกลางและรัฐบาลทองถิ่น เวนแตจะมีขอกําหนดเปนอยางอ่ืนในกฎหมายน้ัน ดวยเหตุนี้ ผลที่

เกิดข้ึนของการลดอัตราภาษียานยนต คือตองนําภาษีเชื้อเพลิงเขามาปรับใหเปนระดับชาติ ภาษีเพื่อการศึกษา (ภาษีทองถ่ิน) ผูชําระภาษี มีฐานการชําระภาษีจากการจดทะเบียน ภาษีสนามมา ภาษีตอรายบุคคลของ

ประชากร ภาษีทรัพยสิน ภาษีที่ดินสวนรวม ภาษีสรรพสามิตและภาษีเกี่ยวกับเคร่ืองยนตฐานภาษีและ

อัตราภาษี รายละเอียดดังตารางที่ 3

Page 109: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

94

ตารางที่ 3 ฐานและอัตราของภาษีเพื่อการศึกษา

ฐานภาษ ี อัตรา

ภาษีราษฎร รอยละ 10 หรือ 25

ภาษีการจดทะเบียน รอยละ 20

ภาษีสนามมา รอยละ 60

ภาษทีรัพยสิน รอยละ 20

ภาษทีี่ดินสวนรวม รอยละ 20

ภาษเีกี่ยวกับรถยนต รอยละ 30

ภาษีสรรพสามิต รอยละ 50

ที่มา : Tax for Education in Korea [Online], accessed 12 June 2007. Available from

http://www. asiatradehub.com/s.korea/tax1.asp

ระบบงบประมาณการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐเกาหลี มีแหลงเงินที่นํามาใชจายใน

ระบบการศึกษาจาก 4 แหลงดวยกัน คือ รัฐบาลกลาง รัฐบาลทองถิ่น นักเรียนและผูปกครองและ

เงินกองทุนนิติบุคคล

งบประมาณสวนใหญไดมาจากรัฐบาลกลาง คือ ประมาณรอยละ 84 โดยรัฐบาลจะจัดสรร

มาใหทองถิ่นในรูปเงินกอน (lump – sum) ซึ่งเปนเงินจํานวนรวมที่ไมแจงรายละเอียดงบประมาณเพ่ือให

ผูมีหนาที่รับผิดชอบบริหารกันเอง สวนรัฐบาลทองถิ่นจะจัดสรรใหสํานักการศึกษาแขวง โดยสํานัก

การศึกษาของแขวงจะจัดสรรไปสูโรงเรียนอีกคร้ังหนึ่ง โดยแตละแขวงตางจะมีวิธีจัดสรรงบประมาณเปน

ของตนเอง

สวนงบประมาณของกระทรวงศึกษาธิการประกอบดวยงบทั่วไป ซึ่งไดแก งบดําเนินการ

เงินทุนอุดหนุนการศึกษาทองถิ่น และงบอุดหนุนสถาบันการศึกษาแหงชาติตลอดจนหนวยงานสนับสนุน

การศึกษากับงบเฉพาะเจาะจง เชน งบปรับส่ิงแวดลอมทางการศึกษา งบเงินเดือนครูและคาใชจายใน

การศึกษาภาคบังคับและตองถายโอนภาษีเพื่อการศึกษาไปสูทองถิ่นตามความแตกตางของประชากร

และจํานวนภาษีอากรที่เก็บไดในแตละพื้นที่

แหลงเงินงบประมาณทางการศึกษาของสาธารณรัฐเกาหลี ทั้ง 4 แหลง มีบทบาทการจัดสรร

งบประมาณจะแตกตางกนั ดังนี ้

1. รัฐบาลกลาง รัฐบาลกลางจัดสรรงบประมาณจากภาษีอากรทั่วประเทศ และภาษีเพื่อ

การศึกษาใหแกรัฐบาลทองถิ่น ซึ่งดูแลโรงเรียนระดับประถม มัธยม มหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัย

เอกชน (บางสวน) สถาบันวิจัยและหนวยงานเสริมการศึกษา บางปรัฐบาลกลางตองใชงบประมาณ

Page 110: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

95

ทางการศึกษาสูงถึงรอยละ 24 ของงบประมาณท้ังหมด ในปจจุบันรัฐมีเปาหมายที่จะเพ่ิมงบทาง

การศึกษาใหถึงรอยละ 5 ของ GNP โดยในป ค.ศ.1997 กอนที่ประเทศจะพบกับความผันผวนทาง

เศรษฐกิจ รัฐไดเพิ่มไปถึงรอยละ 4.8 งบประมาณที่รัฐบาลกลางอุดหนุนใหแกรัฐบาลทองถิ่น อยูในระดับ

รอยละ 83 - 84 ของงบที่ใชในการศึกษาทองถิ่น

ในป ค.ศ. 1997 งบการศึกษามีสัดสวนเปนรอยละ 18 จัดอยูในลําดับที่ 3 ของงบทั้งหมด

สัดสวนของการจัดสรรเงินไปสูสายงานตาง ๆ ซึ่งมีงบประมาณถึงรอยละ 50 ถูกจัดสรรใหแกการศึกษา

ในทองถิ่น ในดานภาพรวมของการจัดสรรเงินงบประมาณทางการศึกษาจากรัฐบาลกลางลงสูรัฐบาล

ทองถิ่น ซึ่งจัดสรรออกมาหลายลักษณะในรูปของเงินกอนใหญ (lump-sum) ที่ผูรับเปนผูมาทํา

รายละเอียดในการจายเอง เชน เงินกองทุนการศึกษาทองถิ่น เงินปรับปรุงส่ิงแวดลอมและเคร่ืองอํานวย

ความสะดวกทางการศึกษา เงินอุดหนุนสถาบันหรือมหาวิทยาลัยของรัฐ เงินสําหรับการกูยืมเพื่อลงทุน

และจากรัฐบาลทองถิ่นลงสูระดับโรงเรียน

2. รัฐบาลทองถิ่นโดยขอผูกพันทางกฎหมายรัฐบาลกลางตองจัดสรรงบประมาณอุดหนุนใน

รูปของเงินเหมารวม (lump-sum) ใหแกรัฐบาลทองถิ่นและตองจายเงินเดือนใหแกครูที่สอนอยูใน

โรงเรียนการศึกษาภาคบังคับ ในป 1997 มหานครและจังหวัดทั้ง 15 แหง ไดรับงบประมาณทาง

การศึกษาทั้งหมด 17,058 ลานลานวอน เปนเงินอุดหนุนจากรัฐบาลกลาง 14,388.9 ลานลานวอน

(ประมาณรอยละ 84.2) โอนมาจากรายไดทั่วไป 1,093 ลานลานวอน (รอยละ 6.4) คาหนวยกิตและราย

ไดจากการขายทรัพยสิน ตลอดจนรายไดอ่ืน ๆ 1,606.4 ลาน ลานวอน (รอยละ 9.4) จากรายไดจํานวน

นี้ ไดถูกจัดสรรออกเปนงบคาใชจายดังนี้ คือ งบอุดหนุนเงินเดือนครูโรงเรียนเอกชน 1,672.07 ลานวอน

(รอยละ9.8) งบบริหารจัดการ 1,850,803 ลานวอน (รอยละ10.9) งบอุปกรณและเคร่ืองอํานวยความ

สะดวก 3,058,805 ลานวอน (รอยละ17.9) งบเงินเดือนบุคลากร 10,371,782 ลานวอน (รอยละ60.8)

งบอ่ืน ๆ 104,265 ลานวอน (รอยละ 0.6)

3. ภาคเอกชน แหลงรายไดของการศึกษาเอกชนมาจากแหลงใหญ 3 แหลง คือ จากคา

หนวยกิตและคาบํารุงการศึกษา จากเงินอุดหนุนของรัฐ จากเงินกองทุนหรือจากมูลนิธิ และจากกองทุน

เงินกูของรัฐเพื่อใชสําหรับการลงทุนเพื่อปรับปรุงคุณภาพทางการศึกษา จากขอมูลในป 1997 ไดแสดง

ใหเห็นสัดสวนของรายไดและรายจายในสวนการศึกษาเอกชนทั่วประเทศ ดังรายละเอียดตารางที่ 4 - 5

Page 111: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

96

ตารางที ่4 รายรับของโรงเรียนเอกชน ในป ค.ศ. 1997

ระดับโรงเรียน คาเลาเรียน เงินอุดหนนุจากรัฐ เงินจากมูลนิธ ิ อ่ืน ๆ รวม

ประถมศึกษา 783

(83%)

3

(0.3%)

131

(13%)

36

(3.7%)

953

มัธยมศึกษา

ตอนตน

1,748

(21.3%)

5,992

(73.2%)

173

(2.1%)

277

(3.4%)

8,190

มัธยมศึกษา

ตอนปลาย

10,454

(53.5%)

8,067

(41.4%)

467

(2.4%)

535

(2.7%)

19,523

รวม 12,985

(45.3%)

14,062

(49.1%)

771

(2.7%)

848

(2.9%)

28,666

หมายเหตุ หนวย : ลานลานวอน

ที่มา : Tax for Education in Korea [Online], accessed 12 June 2007. Available

fromhttp://www. asiatradehub.com/s.korea/tax1.asp

ตารางที่ 5 สัดสวนของงบรายจายของโรงเรียนเอกชน ในป ค.ศ. 1997

ระดับโรงเรียน เงินเดือนและ

คาตอบแทน

งบบริหารจัดการ อุปกรณและเคร่ือง

อํานวยความสะดวก รวม

ประถมศึกษา 717

(75.2%)

183

(19.2%)

53

(5.6%)

953

มัธยมศึกษา

ตอนตน

7,444

(90.9%)

429

(5.2%)

318

(3.9%)

8,190

มัธยมศึกษาตอน

ปลาย

17,455

(89.4%)

984

(5.0%)

1,084

(5.6%)

19,523

รวม 25,616

(89.4%)

1,596

(5.6%)

1,454

(5.0%)

28,666

หมายเหตุ หนวย : ลานลานวอน

ที่มา : Tax for Education in Korea [Online], accessed 16 June 2007. Available

fromhttp://www. asiatradehub.com/s.korea/tax1.asp

Page 112: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

97

รายรับที่เอกชนนํามาใชลงทุนในการศึกษาสวนใหญไดมาจากคาเลาเรียนที่เก็บจากผู

ปกครอง และเงินอุดหนุนจากรัฐบาล โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา

ตอนปลายที่สูงถึงรอยละ 83 และ รอยละ 53.5 ตามลําดับ ในขณะที่ไดรับจากเงินกองทุนมูลนิธิของ

เอกชนเพียงรอยละ 13-2.4 เทานั้น เหตุที่รัฐใหการอุดหนุนเงินแกโรงเรียนเอกชนจํานวนนอยเนื่องจาก

การศึกษาระดับประถม เปนระดับที่รัฐลงทุนจัดใหประชาชนฟรีทั้งหมดอยูแลวโดยเฉพาะ อยางยิ่ง

นักเรียนที่อยูในยานที่ผูปกครองมีอาชีพทําเกษตรกรรมและการประมง ดังนั้นการเขาเรียนในโรงเรียน

เอกชนจึงเปนการเลือกที่ตองลงทุนสูงกวาโดยสมัครใจ

ระดับที่เงินอุดหนุนจากภาครัฐทุมเทลงไปจํานวนมาก คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนตนและ

ตอนปลายแสดงใหเห็นถึงแนวความคิดของการรวมแรงกันจัดการศึกษาระหวางรัฐและเอกชน แตเมื่อ

พิจารณาจากตัวเลขจะเห็นไดวา ถารัฐลงทุนนอยเทาใด ผูที่ตองลงทุนจายในสัดสวนที่มากข้ึนก็คือ ผู

ปกครองนักเรียน ในสวนของคาใชจาย เงินเดือน และคาตอบแทน มีสัดสวนที่สูงที่สุดทุกระดับ ในขณะที่

งบดานอุปกรณเคร่ืองอํานวยความสะดวกในการเรียนมีเพียงรอยละ 5 เทานั้น จึงเปนขอมูลสะทอนให

เห็นวาวัสดุอุปกรณยังเขาไปมีบทบาทในการเรียนการสอนนอยกวาครู ซึ่ง มีลักษณะที่ไมแตกตางจาก

การศึกษาของประเทศไทยเทาใดนัก

ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีเปนประเทศหนึ่งในภูมิภาคเอเชียที่มีนโยบายในการเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษา ซึ่งเปนภาษีที่มีเปาหมายเฉพาะเจาะจงเพื่อระดมเงินที่ไดมาจัดการศึกษา โดยรัฐบาลได

กําหนดระยะเวลาการทดลองเก็บภาษีดังกลาวเปนเวลา 5 ป เร่ิมต้ังแตป พ.ศ.2524 ผลปรากฏวา

การเก็บภาษีลักษณะดังกลาวไมประสบความสําเร็จเทาที่ควร เนื่องจากจํานวนรายรับจากภาษีเพื่อ

การศึกษาที่เก็บไดมีจํานวนไมมากพอในการบริหารการศึกษา ตามแนวทางการปฏิรูปที่วางไว ดังนั้น

รัฐบาลจึงไดแกไขกฎหมายภาษีเพื่อการศึกษาภายหลังทดลองใช 5 ป เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ

จัดเก็บตอไป ทั้งนี้ เพื่อเปนการประกันความมั่นคงในเร่ืองการเงินทางการศึกษาตอไป

เพื่อเปนการแบงเบาภาระดานคาใชจายเพื่อการจัดการศึกษารัฐบาลไดใหภาคเอกชนเขามา

มีสวนรวมเปนอยางมาก โดยที่สถานศึกษาเอกชนสามารถบริหารงานโดยใชคาเลาเรียนและคาหนวย

กิตที่เก็บจากผูเรียน ทั้งนี้ ในป พ.ศ.2538 จํานวนนักเรียนในโรงเรียนเอกชนระดับประถมศึกษา มีอยู

ประมาณรอยละ 1.6 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน รอยละ 24 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายรอยละ 60.1

และในระดับวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรอยละ 75.1 โดยในการสรางแรงจูงใจเพื่อชักชวนใหภาคเอกชนเขา

มาจัดการศึกษานั้น รัฐบาลไดกําหนดสิทธิพิเศษที่โรงเรียนเอกชนจะไดรับ คือ การยกเวนภาษีและไดรับ

เงินชวยเหลือในสวนของคาตอบแทนครู และงบบริหารจัดการตลอดจนไดรับการสนับสนุนเงินกูเพื่อการ

ขยายกิจการหรือลงทุนพัฒนาเทคโนโลยีใหม ๆ ทางการศึกษาที่รัฐจัดสรรผานกองทุนสงเสริมการศึกษา

เอกชนเกาหลีซึ่งนโยบายดังกลาวสามารถระดมทุนจากภาคเอกชนที่มาลงทุนเพื่อการศึกษาไดใน

ระดับหนึ่ง

Page 113: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

98

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาในประเทศญี่ปุน ญ่ีปุนแบงเขตการปกครองทองถิ่นออกเปน 47 จังหวัด (prefecture) ซึ่งรวมกรุงโตเกียว

(Tokyo Metropolis) ดวย การปกครองสวนทองถิ่นภายในจังหวัดแยกออกเปน นคร เมือง และหมูบาน

ยกเวนกรุงโตเกียวที่มีเขตการปกครอง เฉพาะในสวนใจกลาง 23 เขต นอกเหนือไปจากเขตชานกรุง ซึ่ง

ประกอบดวย 27 นคร 5 เมือง และ 8 หมูบาน รัฐบาลญ่ีปุนไดพยายามกระจายอํานาจการปกครองไปสู

ทองถิ่น โดยผูวาราชการจังหวัด นายกเทศมนตรีของนครขนาดใหญของเมืองและของหมูบานตลอดจน

สมาชิกสภาสวนทองถิ่นทุกระดับมาจากการเลือกต้ัง95

ในดานการบริหารงานงบประมาณการศึกษา ปรากฏวางบประมาณเพื่อการศึกษาซ่ึงจัดสรร

ใหโดยหนวยงานสวนกลางมี 2 ประเภท คือ งบประมาณสําหรับสถานศึกษาแหงชาติที่ข้ึนตรงกับ

สวนกลาง และเงินอุดหนุนเพื่อการศึกษาที่จัดใหกับจังหวัด เทศบาล สถานศึกษา เอกชน และองคกร

อ่ืน ๆ

นอกจากนี้ รัฐบาลกลางยังจัดสรรงบประมาณ local allocation tax grants ใหกับองคกร

ปกครองทองถิ่นทั้งระดับจังหวัดและเทศบาล เพื่อเปนหลักประกันวาองคกรปกครองทองถิ่นจะมีรายได

เพียงพอที่จะใหบริการแกประชาชน แต local allocation tax grants ดังกลาว ได กําหนดไวใน

กฎหมายวา จะตองเปนสัดสวนเทาใดของรายไดของรัฐ และเนื่องจากงบดังกลาวไมมีขอผูกพันเพื่อ

วัตถุประสงคใด ๆ เปนการเฉพาะดังนั้นองคกรปกครองทองถิ่นจึงสามารถนํางบอุดหนุนดังกลาวมาใช

เพื่อการศึกษาได

ในปงบประมาณ พ.ศ. 2547 รัฐบาลญ่ีปุนมีงบประมาณแผนดินเปนเงินทั้งส้ิน 80,110.9

พันลานเยน เปนงบประมาณของกระทรวงการศึกษาจํานวน 6,059.9 พันลานเยน ซึ่งคิดเปนรอยละ

12.67 ของงบประมาณที่จัดใหแตละกระทรวง และคิดเปนรอยละ 7.4 ของงบประมาณ พ.ศ.2547 นี้

รอยละ 41.5 เปนเงินที่จัดสรรเปนคาใชจายสําหรับการศึกษาภาคบังคับ รอยละ 22.9 เปน งบอุดหนุน

สถาบันอุดมศึกษาแหงชาติทั้งหมด รอยละ13.4 เปน คาใชจายในการสงเสริมและวิจัยดานวิทยาศาสตร

และเทคโนโลยี รอยละ 8.4 เปนคาใชจายสําหรับการเรียนรูตลอดชีวิตวัฒนธรรมและกีฬา รอยละ 5.4

เปนคาใชจายสําหรับอุดหนุนสถาบันอุดมศึกษาเอกชน รอยละ 2.1 เปนคาใชจายสําหรับกองทุน

สนับสนุนอาคารสถานที่ของโรงเรียนสังกัดทองถิ่น รอยละ 1.8 เปนคาใชจายในโครงการทุนการศึกษา

สําหรับนักเรียน รอยละ 1.7 เปนเงินอุดหนุนโรงเรียนเอกชนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รอยละ 1.7

95ฉันทนา จันทรบรรจง, การศึกษาแนวทางการบริหารและการจัดการศึกษาขององคกร

ปกครองสวนทองถิ่นในประเทศญ่ีปุน (กรุงเทพฯ : บริษัท อมรินทรพร้ินต้ิงแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด, 2543),

45.

Page 114: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

99

เปนคาใชจายสําหรับนโยบายดานพลังงาน รอยละ 0.7 เปนคาหนังสือเรียนสําหรับการศึกษาบังคับ

และรอยละ 0.4 เปนคาใชจายในการจายคาอ่ืน ๆ หรือคืนเงินกู

จะเห็นวากระทรวงศึกษาธิการ เปนกระทรวงเดียวที่รับผิดชอบเร่ืองการจัดการศึกษาของชาติ

รัฐบาลไดจัดสรรงบประมาณการศึกษาไปที่กระทรวงศึกษาธิการเพียงกระทรวงเดียว เพื่อให

กระทรวงศึกษาธิการ จัดสรรงบประมาณใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยตรงและงบประมาณเพื่อ

การศึกษาสวนใหญก็ใชไปเพื่อสนับสนุนการศึกษาภาคบังคับ ซึ่งเปนภาระของรัฐที่ตองจัดการศึกษาฟรี

ใหเปนเวลาเกาปจนถึงช้ันมัธยมศึกษาตอนตน

นอกจากสนบัสนุนงบประมาณเพื่อเปนคาใชจายเงนิเดือนครูการศึกษาภาคบังคับแลว

กระทรวงศึกษาธิการ ยังรวมรับผิดชอบคาใชจายเพื่อการศึกษาในดานอ่ืน ๆ อีกดวย

งบประมาณการศึกษาของ องคกรประกอบทองถิ่นระดับจังหวัด ประกอบดวย

1) งบประมาณสําหรับการใหบริการการศึกษาในความรับผิดชอบของจังหวัด 2) เงินเดือนและ

คาตอบแทนสําหรับครูสังกัดเทศบาล ไดแก โรงเรียนประถมศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนตน และ

หลักสูตรพิเศษโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย 3) เงินอุดหนุนใหเทศบาลสําหรับวัตถุประสงคทาง

การศึกษา สวนงบประมาณการศึกษาของ องคกรปกครองทองถิ่นระดับเทศบาล ประกอบดวย

1) งบประมาณสําหรับใหบริการการศึกษาระดับประถมและมัธยมศึกษาตอนตน (ยกเวนเงินเดือนครู)

2) งบประมาณสําหรับการบริหารสถานศึกษาและหนวยงานทางการศึกษาอ่ืน ๆ ที่อยูในความรับผิดชอบ

เมื่อพิจารณาสัดสวนของคาใชจายเพื่อการศึกษาระหวางรัฐบาลกลางกับองคกรปกครองสวน

ทองถิ่น จากการสํารวจในป พ.ศ.2545 พบวาสัดสวนการจัดสรรงบประมาณสําหรับเปนคาใชจายเพื่อ

การศึกษาระหวางรัฐบาลกลางกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นอยูที่ รอยละ 47 ตอ 53 จะเห็นไดวา

งบประมาณเกือบคร่ึงหนึ่งของคาใชจายเพื่อการศึกษาอยูในความรับผิดชอบของรัฐบาลกลางและอีก

กวาคร่ึงหนึ่งอยูในความรับผิดชอบขององคกรปกครองสวนทองถิ่น96

ในดานการเงินการงบประมาณท่ีระดับสถานศึกษานั้น จากการศึกษาภาคบังคับเปน

การศึกษาที่จัดใหเปลา โดยไมมีการจัดเก็บคาเลาเรียน ทั้งในโรงเรียนประถมและมัธยมศึกษาตอนตน

ของรัฐ ทั้งโรงเรียนที่ข้ึนอยูกับสวนกลางและโรงเรียนสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น แตมีการจัดเก็บ

คาเลาเรียนสําหรับระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ทั้งโรงเรียนที่ข้ึนอยูกับสวนกลางและโรงเรียนสังกัด

องคกรปกครองทองถิ่นและระดับอุดมศึกษา ทั้งของสวนกลางและสวนที่สังกัดองคกรปกครองทองถิ่น

สวนสถานศึกษาเอกชนนั้น รายไดสวนหนึ่งของสถานศึกษาเอกชนมาจากเงินอุดหนุนที่ไดรับจาก

กระทรวงการศึกษาและองคกรปกครองทองถิ่น

96วุฒิสาร ตันไชยและคณะ, ระบบและรูปแบบการจัดเก็บภาษีทองถิน่ ศึกษาเฉพาะกรณี

ประเทศญ่ีปุน (กรุงเทพฯ : วทิยาลัยพฒันาการปกครองทองถิ่น สถาบันพระปกเกลา, 2548), 34 - 36.

Page 115: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

100

ในเร่ืองการบริหารงบประมาณเพื่อการศึกษานี้ นับต้ังแตประเทศญ่ีปุนรับระบบการศึกษา

แบบตะวันตกเขามา ไดออกแบบระบบการบริหารการศึกษาใหม โดยใหการจัดการศึกษาในระดับ

ประถมศึกษาใหเปนหนาที่ของชุมชน โดยในระยะแรกผูปกครองรับภาระคาใชจายเอง แตตอมาไดมี

การออกกฎหมายจัดเก็บภาษีทองถิ่นเพื่อการศึกษาและเมื่อการศึกษาขยายถึงระดับมัธยมศึกษา ก็มี

ความตองการครูมีมากข้ึน ก็ไดมีการออกกฎหมายกําหนดใหรัฐบาลกลางสนับสนุนงบประมาณแผนดิน

ในสวนของเงินเดือนครู เพื่อชวยแบงเบาภาระของทองถิ่นเพิ่มข้ึน

การจัดการศกึษาและแนวทางการจัดทรัพยากรเพื่อการศึกษา ความหมายของการศึกษา ความหมายของการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ

พุทธศักราช 2542 มาตรา 4 ดังนี้ การศึกษา หมายความวา กระบวนการเรียนรูเพื่อความเจริญงอกงาม

ของบุคคลและสังคม โดยการถายทอดความรู การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การ

สรางสรรคจรรโลงความกาวหนาทางวิชาการ การสรางองคความรูอันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอม

สังคม การเรียนรูและปจจัยเกื้อหนุนใหบุคคลเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต97 วิวัฒนาการการจัดการศึกษาในประเทศไทย การจัดการศึกษาที่เกิดข้ึนเพื่อตอบสนองความตองการของสังคม เปนส่ิงสะทอนใหเห็น

สภาพการณและระดับความเจริญกาวหนาของสังคม การจัดการศึกษาของประเทศไทยนอกจากจะมี

ความสัมพันธกับระบบการปกครองของประเทศแลว ยังมีสวนเกี่ยวของกับพื้นฐานทางศาสนามาต้ังแต

แรกเร่ิม ดังจะเห็นไดวา สถานศึกษาแหงแรกเร่ิมข้ึนที่วัดนับต้ังแตสมัยสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี

และกรุงรัตนโกสินทรตอนตน การศึกษาแผนโบราณ เปนการจัดการศึกษาท่ีอนุโลมตามแบบแผนและ

ประเพณี ที่เนนหนักเร่ืองการเรียนรูภาษาเปนสวนใหญ โดยมีการเรียนคณิตศาสตรอยูบาง เปนการจัด

การศึกษาที่เกิดจากความรวมมือระหวางพระกับประชาชน โดยมีพระเจาแผนดินเปนผูใหการทํานุบํารุง

การศึกษาผานการทํานุบํารุงศาสนา แตยังไมมีการเนนในเร่ืองของการศึกษาคนควาทางวิทยาศาสตร

การจัดการศึกษาในชวงนี้เปนการศึกษาแบบไมเปนทางการ ยังไมมีการวางระเบียบ หลักสูตรหรือ

หลักเกณฑที่แนนอน มีพระเปนผูทําหนาที่ครูผูสอน โดยเนนการอานการเขียนภาษาไทย บาลี และ

ขอม ควบคูไปกับการใหการอบรมทางศาสนา ต้ังแตสมัยสุโขทัยสืบเนื่องมาจนถึง รัชสมัย

พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ประชาชนยังนิยมไปศึกษาหาความรูที่วัด โดยมีพระทําหนาที่

เปนครู มีการจัดการศึกษาในดานการปฏิบัติเพื่อการประกอบอาชีพ อาทิ วิชาการฝมือ ชางถม

ชางทอง ชางปน วิชาแพทยแผนโบราณ ฯลฯ เปนการจัดการเรียนการสอนในกลุมเล็ก ๆ ในวงศสกุล

97“พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542,” ราชกิจจานุเบกษา 116, 74 ก.(19

สิงหาคม 2542) : 24.

Page 116: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

101

ในครอบครัวหรือในทองถิ่น ยังไมมีการเรียนการสอนหรือการเผยแพรวิชาความรูออกไปใหกวางขวาง มี

การปดบังวิชาการไวเฉพาะกลุมหรือครอบครัวของตน ผูชายเทานั้นที่มีโอกาสไดเรียน การศึกษาของ

ผูหญิงยังไมมีการเรียนเขียนอาน แตเปนการสอนใหทําครัว ทําขนม เย็บปกถักรอยและกิจการใน

ครัวเรือน เปนการเรียนตามบาน และประชาชนมักนิยมสงเด็กหญิงไปอยูตามตําหนักเจานายเพื่อเรียนรู

ขนบธรรมเนียมประเพณี กริยามารยาทและการครองตน ในชวงระยะเวลาตอมามีการแสวงหารวบรวม

สรรพวิชาและตําราตาง ๆ มาเก็บรวบรวมไวที่พระอารามหลวง เพื่อใหประชาชนศึกษาเลาเรียน โดย

พระยังคงไดรับความไววางใจใหเปนผูจัดการศึกษา โรงเรียนมักจะอยูติดกับวัด ศาสนาจงึไดรับการทาํนุ

บํารุงสืบตอกันมา มีการเก็บคาเลาเรียนจากเด็กชายในโรงเรียนสามัญที่กรุงเทพฯ ผูชายสวนหนึ่งจะอาน

ออกเขียนได แตก็ยังไมไดรับการศึกษาชั้นสูงเกี่ยวกับเคร่ืองจักรกล เคร่ืองมือเดินเรือ มีการจัด

การศึกษาในครอบครัวที่มีฐานะดี โดยการจัดจางครูมาสอนบุตรหลานของตนที่บาน ในขณะที่ผูหญิง

ถูกทอดทิ้งใหไมไดรับโอกาสในการศึกษา วัดและบานยังคงรับภาระในการอบรมส่ังสอนเด็ก โดยรัฐทํา

หนาที่ควบคุมและใหความอุปถัมภตามสมควร ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว

เร่ิมมีการเรียนการสอนภาษา อังกฤษเพื่อใชในการเจรจาติดตอดานการคาขาย การทูต การทํา

สนธิสัญญากับชาวตางชาติ การจัดการศึกษาตองเรียนวิชาความรูวิทยาการและเทคโนโลยีของชาติ

ตะวันตก เพื่อไมใหเสียเปรียบชาวตางชาติและในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว

การศึกษาเร่ิมเปนทางการ (formal education) มีการต้ังโรงเรียน จัดต้ังกระทรวงธรรมการ ทํา

แผนการศึกษา วางระเบียบตางๆ เกี่ยวกับการศึกษา จัดต้ังการศึกษาในหัวเมือง เพื่อฝกคนเขารับ

ราชการ สอนภาษาไทย การคิดเลขและขนบธรรมเนียมราชการ เนื่องจากเห็นวา การศึกษาเปนส่ิง

สําคัญของราชการบานเมือง นักเรียนทุกคนจะไดรับพระราชทานเส้ือผา เบ้ียเล้ียง ไมตองเสียคาเลา

เรียน เพื่อเปนการจูงใจใหเจานาย ขาราชการสงบุตรหลานเขาเรียน มีการพัฒนาแบบเรียนเพื่อให

ผูเรียนสามารถเรียนสําเร็จไดภายในเวลาอันส้ัน จัดต้ังโรงเรียนหลวงสําหรับราษฎร แกไขหลักสูตร

กําหนดระเบียบการสอบ เพื่อใหการศึกษาแพรหลายออกไป สวนในระยะหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2

การศึกษาไดรับความสําคัญวาเปนส่ิงที่มีความจําเปนสําหรับคนทุกชาติทุกภาษา เนื่องจากเปนการสราง

คนไวทํากิจการสําหรับประเทศชาติในภายหนา ประชาชนจะมีสวนรวมในการปกครองประเทศ มีสิทธิ

หนาที่ในการเลือกต้ัง จึงตองไดรับการศึกษาอยางทั่วถึง อันจะนําไปสูการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย

ใหเจริญตอไป ประชาชนมีเสรีภาพในการศึกษาตามอัตภาพและสติปญญาของตนภายใตกฎหมาย

การศึกษาภาคบังคับเปนการศึกษาแบบใหเปลา โดยพิจารณาวาประชาชนเปนผูเสียภาษีอากรที่นํามา

ชวยการประถมศึกษา จึงควรใหประชาชนสงบุตรหลานเขาเรียนไดโดยไมตองเสียคาใชจาย เงินชวย

การประถมศึกษาดังกลาวเปนเงินที่เก็บจากประชาชน ทํานองเงินศึกษาพลี แตเมื่อเก็บไดในทองที่ใด

มิไดกําหนดใหใชสําหรับทองที่นั้นเหมือนศึกษาพลี เงินชวยการประถมศึกษาตองสงเปนเงินงบประมาณ

แผนดิน เพื่อนําไปทํานุบํารุงการประถมศึกษาโดยทั่วไป การจัดการศึกษาช้ันมัธยมศึกษาจดัอยางจาํกดั

Page 117: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

102

และไมกระจายทั่วถึง ทําใหคนในชนบทไมสะดวกที่จะเขารับการศึกษา รัฐจึงสงเสริมโดยการจัดทุนเพื่อ

การยกเวนคาเลาเรียนสําหรับนักเรียนในชนบทที่มีสติปญญาดี ใหเขามาศึกษาข้ันมัธยมศึกษาในชวง

ระยะเวลาดังกลาวมีการจัดทําแผนการศึกษาของชาติ พ.ศ.2479 การจัดต้ังโรงเรียนอาชีวศึกษา การ

จัดการศึกษาข้ันอนุบาล แตการจัดประถมศึกษาก็ยังเปนสวนสําคัญที่สุดของการศึกษา โดยมีกฎหมาย

บังคับใหประชาชนเขารับการศึกษาและรัฐบาลจัดสรรงบประมาณเพื่อการประถมศึกษามากที่สุด ไมวา

จะเปนโรงเรียนรัฐบาล โรงเรียนราษฎร โรงเรียนประชาบาลหรือโรงเรียนเทศบาล อยางไรก็ตาม

ในขณะนั้นปญหาครูเปนปญหาที่แกไขไดยากที่สุด เพราะครูมีจํานวนมากแตมีคุณวุฒิตํ่า เนื่องจาก

เงินเดือนนอย ผูที่มีความรูไมสนใจที่จะมาสมัครเปนครู รัฐบาลจึงไดจัดต้ังโรงเรียนฝกหัดครูในสวน

ภูมิภาคเพื่อผลิตครูคุณภาพใหมากข้ึน 98

โรงเรียนราษฎรไดชวยแบงเบาภาระการจัดการศึกษาของโรงเรียนรัฐบาลไดมากและรัฐบาล

ไดสงเสริมและใหเงินสนับสนุนโรงเรียนราษฎร ในเชิงของการลงทุนทางธุรกิจ เพื่อพัฒนาคุณภาพการ

จัดการศึกษาใหสูงข้ึน โดยกําหนดหลักเกณฑในการใหการอุดหนุนโรงเรียนตามความจําเปน ถาใน

ทองถิ่นนั้นไมมีโรงเรียนรัฐบาลใหบริการ รัฐก็สนับสนุนใหมีการจัดต้ังโรงเรียนราษฎร มีการใหการ

รับรองวิทยฐานะเทียบเทาโรงเรียนรัฐบาล ในชวงเวลาที่ผานมา การศึกษาที่จัดโดยเอกชนไดรับความ

นิยมและมีการขยายตัวอยางรวดเร็วในทุกระดับ สาเหตุ 2 ประการที่ทําใหเอกชนเขามามีสวนรวมใน

การจัดการศึกษามากข้ึนไดแก 1) การเพิ่มจํานวนประชากรอยางรวดเร็วและความตองการทางการ

ศึกษาที่รุดหนาตามความเจริญกาวหนาของประเทศและโลก 2) รัฐบาลไมสามารถจัดการศึกษาใหกับ

ประชาชนไดอยางเพียงพอ รัฐจึงมีนโยบายสงเสริมใหภาคเอกชนเขามาแบงเบาภาระในการจัด

การศึกษาและใหการอุดหนุนแกการศึกษาเอกชน ในปจจุบันประเทศไทยไดจัดการศึกษาภายใตกรอบ

กฎหมายการศึกษาคือ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 ซึ่งมีสาระสําคัญเกี่ยวของ

กับการจัดการศึกษาและมาตรการดานภาษีเพื่อการจัดการศึกษา ไดแก ในมาตรา 10 การจัดการศึกษา

ตองจัดใหบุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาข้ันพื้นฐานไมนอยกวาสิบสองป โดยรัฐ

ตองจัดใหอยางทั่วถึงมีคุณภาพและไมเก็บคาใชจาย

การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซึ่งมีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ

สังคม การส่ือสารและการเรียนรู หรือมีรางกายพิการหรือทุพพลภาพ หรือบุคคลซ่ึงไมสามารถ

พึ่งตนเองได หรือไมมีผูดูแล หรือดอยโอกาส ตองจัดใหบุคคลดังกลาวมีสิทธิและโอกาสไดรับการศึกษา

ข้ันพื้นฐานเปนพิเศษและการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการในวรรคสอง ใหจัดการศึกษาต้ังแตแรกเกิด

หรือพบความพิการโดยไมเสียคาใชจาย และใหบุคคลดังกลาวมีสิทธิไดรับส่ิงอํานวยความสะดวก ส่ือ

บริการและความชวยเหลืออื่นใดทางการศึกษาตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง สวน

98ดวงเดือน พิศาลบุตร, ประวัติการศึกษาไทย (พระนคร : มงคลการพิมพ, 2512), 20.

Page 118: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

103

การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซ่ึงมีความสามารถพิเศษ ตองจัดดวยรูปแบบที่เหมาะสมโดยคํานึงถึง

ความสามารถของบุคคล ในมาตรา 13 บิดามารดาหรือผูปกครองมีสิทธิไดรับสิทธิประโยชน ดังนี้ 1)

การสนับสนุนจากรัฐ ใหมีความรูความสามารถในการอบรมเล้ียงดูและการใหการศึกษาแกบุตรหรือ

บุคคลซึ่งอยูในความดูแล 2) เงินอุดหนุนจากรัฐ สําหรับการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานของบุตรหรือบุคคล

ซึ่งอยูในความดูแลที่ครอบครัวจัดให ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายกําหนด การลดหยอนหรือยกเวนภาษี

สําหรับคาใชจายการศึกษาตามที่กฎหมายกําหนด 3) การลดหยอนภาษีหรือยกเวนภาษี สําหรับ

คาใชจายการศึกษาตามที่กฎหมายกําหนดและในการสนับสนุนการศึกษาข้ันพื้นฐาน ในมาตรา 14

บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน

ประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืน ซึ่งสนับสนุนหรือจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีสิทธิไดรับสิทธิ

ประโยชนตามควรแกกรณี ดังนี้ 1) การสนับสนุนจากรัฐใหมีความรูความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู

บุคคลซึ่งอยูในความรับผิดชอบ 2) เงินอุดหนุนจากรัฐ สําหรับจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานตามที่กฎหมาย

กําหนด 3) การลดหยอนภาษีหรือยกเวนภาษี สําหรับคาใชจายการศึกษาตามท่ีกฎหมายกําหนด ใน

มาตรา 46 รัฐตองใหการสนับสนุนดานเงินอุดหนุน การลดหยอนหรือยกเวนภาษีและสิทธิประโยชน

อยางอ่ืนที่เปนประโยชนในทางการศึกษาแกสถานศึกษาเอกชนตามความเหมาะสมรวมท้ังสงเสริมและ

สนับสนุนดานวิชาการใหสถานศึกษาเอกชนมีมาตรฐานและสามารถพึ่งตนเองได ในมาตรา 58 ใหมี

การระดมทรัพยากรและการลงทุนดานงบประมาณ การเงินและทรัพยสินทั้งจากรัฐ องคกรปกครองสวน

ทองถิ่น บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชนเอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา

สถานประกอบการ สถาบันสังคมอ่ืนและตางประเทศมาใชจัดการศึกษา ดังนี้ 1) ใหรัฐและองคกร

ปกครองสวนทองถิ่นระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา โดยอาจจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาไดตามความ

เหมาะสม ทั้งนี้ ใหเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด 2) ใหบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกร

ปกครองสวนทองถิ่น เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และ

สถาบันสังคมอื่น ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา โดยเปนผูจัดและมีสวนรวมในการจัดการศึกษา

บริจาคทรัพยสินและทรัพยากรอื่นใหแกสถานศึกษาและมีสวนรวมรับภาระคาใชจายทางการศึกษาตาม

ความเหมาะสมและความจําเปน99

99“พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542,” ราชกิจจานุเบกษา 116, 74 ก.

(19 สิงหาคม 2542) : 24.

Page 119: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

104

แนวทางการจัดทรัพยากรเพื่อการศึกษา ในการจัดการศึกษาของประเทศไทยนั้น มีแหลงที่มาของเงินและทรัพยสินที่ใชเพื่อ

การศึกษา 100 ไดแก 1) งบประมาณแผนดินประจําป 2) เงินอ่ืน ๆ จากรัฐบาล เชน เงิน ก.ศ.ส.

(เงินบํารุงการศึกษาและสาธารณสุข) เงินสลากกินแบง 3) เงินงบประมาณเทศบาลและสวนทองถิ่น

4) ทรัพยสินที่เจาของโรงเรียนราษฎรลงทุนในการจัดต้ังโรงเรียนราษฎร 5) เงิน วัสดุกอสรางและแรงงาน

ที่เอกชนบริจาคสมทบการกอสรางโรงเรียน 6) ทรัพยสินเงินทองที่เอกชนบริจาคใหกับการศึกษา 7) เงินที่

ไดมาในรูปของการใหความชวยเหลือจากองคกรสหประชาชาติและประเทศเพื่อนบาน เงินศึกษาพลี เงินศึกษาพลีเปนเงินชวยประถมศึกษา ในสวนที่มีการเก็บภาษีเพื่อนํามาใชในการศึกษา

แหลงที่มาของเงินและทรัพยสินที่ใชเพื่อการศึกษาตามที่กลาวมาเหลานี้ มาจากหลายแหลงแตทั้งหมด

ลวนมาจากประชาชนโดยตรง นับต้ังแตไดมีการตราพระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ.2464 ออกมาใช

บังคับ โดยมีวัตถุประสงคที่จะกําหนดหนาที่ของรัฐ บังคับบิดามารดาหรือผูปกครองใหสงเด็กเขาเลา

เรียนในโรงเรียนประถมศึกษาซ่ึงเด็กทุกคนที่อยูในวัยเลาเรียนจะตองเรียนเพื่อใหไดความรูเบ้ืองตนอัน

เปนความรูมาตรฐานสําหรับพลเมืองไทยและมุงบังคับพลเมืองที่ยังไมเห็นคุณคาของการศึกษานั้นให

ตองศึกษา จึงไดจัดใหมีโรงเรียนประถมศึกษาชนิดที่สอนใหเปลา โดยไมเรียกรองคาสอนข้ึน ไดแก

โรงเรียนประชาบาลตางๆ และมีกฎหมายบังคับใหผูปกครองสงเด็กไปเลาเรียน สาระสําคัญของ

พระราชบัญญัติฉบับนี้ ไดแก ใหมีการบังคับเด็กทุกคนที่มีอายุต้ังแต 7 ปบริบูรณ ใหเรียนหนังสือใน

โรงเรียนประถมจนอายุ 14 ป แตถาจบกอนอายุครบ 14 ป ใหออกจากโรงเรียนได และพระราชบัญญัติ

ฉบับนี้ไดกําหนดใหชายทุกคนที่อยูในจังหวัด อําเภอ ตําบล ที่พระราชบัญญัตินี้บังคับและมีอายุต้ังแต

14 – 60 ป ตองเสียเงินศึกษาพลีปหนึ่งระหวาง 1 – 3 บาท เพื่อใชบํารุงการศึกษาประชาบาล

จนกระทั่ง พ.ศ.2472 เศรษฐกิจของประเทศตกตํ่า พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวจึงทรงโปรด

เกลาฯ ใหงดเก็บเงินศึกษาพลี และใหคลังหาเงินอ่ืนมาใชแทน ตอมา ไดมีการตราพระราชบัญญัติ

แกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร พ.ศ.2482 ลักษณะ 4 ต้ังแตมาตรา 167 ถึง 179 กําหนดใหเรียกเก็บ

เงินสมทบชวยการประถมศึกษาสําหรับคาใชจายในการบํารุงการประถมศึกษาแหงชาติ เงินชวยการ

ประถมศึกษามีหลักการและวิธีการจัดเก็บพอสรุปได ดังนี้ 1) ผูมีหนาที่ตองเสีย ไดแก ชายที่บรรลุนิติ

ภาวะทุกคนที่อยูในราชอาณาจักร โดยตองเสียเงินชวยการประถมศึกษา เปนจํานวนเงินคนละ 1 บาท

ตอป 2) ผูไดรับการยกเวน ไดแก ผูที่มีอายุครบหาสิบปบริบูรณในปที่จะตองเสียเงินชวยการ

ประถมศึกษา ภิกษุ สามเณร บาทหลวง-ครูสอนศาสนาคริสเตียน ผูสอนศาสนาอิสลาม ตามเกณฑและ

100อเนก เธียรถาวร, เศรษฐศาสตรการภาษีอากร (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง,

2528), 7 - 14.

Page 120: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

105

วิธีการที่กําหนดไวในกระทรวง ทหารหรือตํารวจประจําการ หรืออยูในกองหนุนประเภท 1 หรือผูที่พน

ราชการ ทหารหรือตํารวจประจําการ หรืออยูในกองหนุนประเภท 1 หรือผูที่พนราชการทหารประเภท 1

ตามกฎหมายวาดวยการรับราชการทหาร แตการยกเวนนี้มิใหรวมถึงนายทหาร นายตํารวจ ซึ่งเคยไดรับ

เงินเดือนต้ังแต 80 บาทข้ึนไป หรือกําลังรับอยูคนกองทุนหรือคนพนราชการทหารหรือตํารวจ ซึ่งเคย

รับราชการฝายพลเรือนหรือเทศบาลเคยไดรับเงินเดือน ต้ังแต 80 บาทข้ึนไป หรือกําลังรับอยูผูที่ตอง

รับอาญาอยูในเรือนจํา บุคคลทุพพลภาพหาเลี้ยงชีพไมได ซึ่งอําเภอเห็นควรยกเวน บุคคลผูที่ไดรับ

บริจาคเงินชวยเหลือการประถมศึกษาคราวเดียวเปนจํานวนต้ังแต 25 บาทข้ึนไป กํานัน ผูใหญบาน

แพทยประจําตําบล และสารวัตรกํานัน 3) เกณฑการจัดเก็บ ผูมีหนาที่ตองเสียชําระเงินชวยการ

ประถมศึกษาตออําเภอหรือพนักงานเจาหนาที่ในทองที่ซึ่งตนมีภูมิลําเนาอยูและถาเปนการจําเปนเพราะ

มิไดอยูในทองถิ่นนั้นหรือมีเหตุอ่ืนซ่ึงเปนการไมสะดวก ใหชําระตออําเภอที่ตนอยูในขณะนั้น และตอง

แสดงใบเสร็จตออําเภอซ่ึงตนมีภูมิลําเนาใน 30 วัน นับแตวันที่ไดกลับมา เงินชวยการประถมนีใ้หชาํระ

ในระหวางตนเดือนตุลาคมเปนตนไป จนถึงส้ินเดือนมีนาคมทุกป

การดําเนินการจัดเก็บเงินชวยการประถมศึกษาใหอยูในอํานาจหนาที่และการควบคุมของ

กรมสรรพากร สวนพนักงานเจาหนาที่เพื่อการนี้ใหหมายถึง กรรมการประจําอําเภอทองที่ประจําแผนก

และเสมียนพนักงานซ่ึงเปนขาราชการพลเรือนช้ันจัตวาอันดับ 7 ข้ึนไป ในสวนราชการ ขาหลวงตรวจ

การสรรพากรหรือจังหวัด หรืออําเภอ สําหรับในเขตที่ไมมีผูใหญบาน ผูใหญบานสําหรับในเขตที่มี

ผูใหญบาน ครูใหญประชาบาล สําหรับในเขตที่นายอําเภอมอบใหเรียกเก็บ

การสํารวจตรวจสอบเพ่ือดําเนินการเก็บเงินชวยการประถมศึกษาไดดําเนินการ ดังตอไปน้ี

ในเขตที่ไมมีผูใหญบาน ใหพนักงานเจาหนาที่ในขอขางตนทําแบบสํารวจสอบถามของอําเภอสงตอ

เจาของบาน เพื่อกรอกขอความเกี่ยวกับชายที่บรรลุนิติภาวะซ่ึงอยูในบานของตนภายในเดือนสิงหาคม

ทุกป แลวใหรับแบบสํารวจสอบถามที่กรอกแลวสงตออําเภอ ในเขตที่มีผูใหญบาน ใหกรรมการอําเภอ

จายแบบสํารวจสอบถามใหผูใหญบานไปสํารวจกรอกรายการเกี่ยวแกชายที่บรรลุนิติภาวะในเขตของตน

ภายในเดือนสิงหาคมทุกป แลวนําแบบสํารวจสอบถามที่กรอกแลวสงตออําเภอ ในกรณีที่มีเหตุอันควร

เช่ือไดวาผูใดยังมิไดเสียเงินชวยการประถมศึกษา ใหอําเภอมีอํานาจออกหมายเรียกตัวและเรียก

พยานหลักฐานอ่ืนอันควรแกเร่ืองมาสอบถามได ผูใดไมชําระเงินชวยการประถมศึกษาภายในกําหนด

ตองเสียเพิ่มข้ึนอีกเทาตัวและถาผูใดไมนําใบเสร็จไปแสดงตออําเภอและไมปฏิบัติตามหมายเรียกหรือไม

ตอบคําถามเมื่อซักถามก็ดี ไมแจงรายการสํารวจตรวจสอบเมื่ออําเภอสอบถามก็ดี ผูนั้นมีความผิดตอง

ระวางโทษปรับไมเกิน 20 บาท กรณีที่ครูใหญประชาบาลในเขตที่นายอําเภอไดมอบหมายใหเรียกเก็บ

นั้น ใหผูมีหนาที่เสียเงินชําระใหตอเมื่อพนักงานดังกลาวมีใบเสร็จรับเงินชวยการประถมศึกษา ซึ่ง

นายอําเภอไดลงลายมือชื่อมอบไวใหเทานั้น นอกจากนั้น ที่มาของงบประมาณที่ใชในการจัดการศึกษา

อีกสวนหนึ่งที่นาสนใจ ไดแก เงินที่ไดจากการเก็บคาอากรเพื่อการศึกษาและสาธารณสุข รายละเอียด

Page 121: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

106

พอสังเขปในเร่ืองคาอากรที่เรียกวา แสตมปเพื่อการศึกษาและการสาธารณสุข เปนความดําริที่จะหา

รายไดสําหรับใชจายในการศึกษาและการสาธารณสุขโดยเฉพาะ โดยกระทรวงการคลังไดทําบัญชีแสดง

รายการที่สมควรชักชวนใหปดแสตมป เพื่อใหหนวยราชการตาง ๆ ขอรองประชาชน ซึ่งบางกรณีเปน

การบังคับ และบางกรณีเปนการจัดเก็บจากสินคา ณ แหลงผลิตโดยตรง เชน ยาสูบ ไมขีดไฟ มิไดมี

การออกเปนกฎหมายบังคับ ปรากฏวาจัดเก็บไดเปนเงินจํานวนประมาณ 130 ลานบาท ในแตละป

ซึ่งไดจากยาสูบจํานวนประมาณ 98 ลานบาท ไมขีดไฟจํานวนประมาณ 13 ลานบาท กบัสุราอีกจํานวน

ประมาณ 6 ลานบาท ตอมาไดจัดเก็บจากแสตมปฉลอง 25 พุทธศตวรรษ เพิ่มข้ึนอีกสวนหนึ่ง

แสตมปเพื่อการศึกษาและการสาธารณสุขเปนเงินที่เรียกเก็บตามมติคณะรัฐมนตรี โดยมิไดอาศัย

อํานาจตามกฎหมาย แมจะอางวาประชาชนเสียโดยสมัครใจ แตมิใชเปนการสมัครใจโดยแท เพราะมี

ลักษณะบังคับผสมอยูดวย รัฐบาลไดพิจารณาเห็นวา เปนเร่ืองจุกจิกกอใหเกิดความรําคาญแก

ประชาชนและเกิดความไมเปนธรรมไดงาย จึงยกเลิกการจัดเก็บเงินแสตมปเพื่อการศึกษาและการ

สาธารณสุข เมื่อป พ.ศ. 2508 และนําเอาเงินแสตมปเพื่อการศึกษาและการสาธารณสุขนี้ไปรวมกับ

อัตราภาษีที่เกี่ยวของใหสูงข้ึนเพื่อชดเชยเงิน ที่ยกเลิกไป เชน เพิ่มรวมในคาธรรมเนียมหรือใบอนุญาตที่

เคยปดแสตมปเพื่อการศึกษาและการสาธารณสุขและไปรวมเปนคาอากรแสตมปที่เพิ่มอัตราคาอากร

แสตมปใหสูงข้ึน สวนเงินแสตมปเพื่อการศึกษาและการสาธารณสุขที่เรียกเก็บจากการผลิตสุรา ยาสูบ

ไมขีดไฟ ไดนําไปรวมเปนอัตราภาษีที่เรียกเก็บจากสินคาตาง ๆ ที่กลาวมาแลว101 มาตรการจูงใจดานภาษีเพื่อการศึกษาสําหรับเอกชน ตามที่รัฐไดอนุญาตใหเอกชนมีบทบาทในการจัดการศึกษาของชาตินับต้ังแตกอนการ

ประกาศใชพระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร ฉบับแรกเปนตนมา อาจจะกลาวไดวา ในป พ.ศ.2475 อัน

เปนปของการเปล่ียนแปลงการปกครองมาเปนระบอบประชาธิปไตย รัฐบาลตองการขยายการศึกษาให

แพรหลายออกไปโดยไมตองการใหเปนภาระดานการลงทุนแกรัฐบาล จึงไดเชิญชวนใหผูประกอบการ

ภาคเอกชนรวมกับรัฐในการจัดการศึกษาของประเทศ และกําหนดมาตรการเพื่อเปนการจูงใจ อาทิ

การรับรองวิทยฐานะและมาตรฐานของโรงเรียนราษฎรใหเทาเทียมกับโรงเรียนรัฐ เพื่อเปนศักด์ิศรีของ

โรงเรียนราษฎรในสมัยนั้น อันนํามาซ่ึงความเช่ือมั่นของสังคม ทําใหผูปกครองนําบุตรหลานมาศึกษา

ในโรงเรียนราษฎร เปนผลใหโรงเรียนราษฎรมีความมั่นคงในกิจการและแบงเบาภาระของรัฐไดตาม

ประสงค

101วุฒิชัย มูลศิลป, เมื่อเร่ิมปฏิรูปการศึกษา ในสมัยรัชกาลที่ ๕ – รัชกาลที่ ๗ (กรุงเทพฯ :

บริษัท ๒๐๒๐ เวิลด มีเดีย จํากัด, 2541), 59.

Page 122: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

107

มาตรการสําคัญทางภาษีที่รัฐบาลในสมัยนั้นไดกําหนดข้ึน ไดแก กําหนดขอยกเวนเกี่ยวกับ

ภาษีอากรที่รัฐพึงตองเรียกเก็บจาการประกอบกิจการของภาคเอกชนทุกประเภทโดยกระทรวงการคลังได

ออกกฎกระทรวงยกเวนการเรียกเก็บภาษีอากรจากโรงเรียนราษฎรและรัฐบาลหลายชุดในสมัยตอมาได

กําหนดแนวทางการสงเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชนไวหลายประการ อาทิ

การยกเวนภาษีอากรหลายลักษณะใหแกผูจัดการศึกษาเอกชนทั้งระดับโรงเรียนและสถาบันอุดมศึกษา

การลดหยอนภาษีเงินไดใหแกผูบริจาคทรัพยสินใหสถานศึกษาเอกชน การลดหยอนภาษีเงินไดใหกับ

สถานประกอบการที่มีสวนโดยทางตรงและทางออมในการสงเสริมการศึกษาหรือรวมจัดการศึกษา การ

ลดหยอนภาษีเงินไดสําหรับบิดามารดาหรือผูปกครองที่ออกคาใชจายเพื่อการศึกษาของบุตรหรือผูที่อยู

ในความอุปการะ การสงเสริมสนับสนุนใหประชาชนออมทุนเพื่อการศึกษาเปนตน สรุปรายละเอียดได

ดังนี้ 1. ภาษเีงินไดบุคคลธรรมดาจากการประกอบกิจการของสถานศึกษาเอกชน กฎกระทรวง ฉบับที่ 75 (พ.ศ.2496) ออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวย ภาษีเงิน

ได ระบุใหเงินไดสําหรับบุคคลธรรมดาจากการประกอบกิจการโรงเรียนราษฎรเปนเงินไดพึงประเมินที่

ไดรับการยกเวน ไมตองรวมคํานวณเพื่อเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาตามมาตรา 42 (17) แหง

ประมวลรัษฎากร ตอมากฎกระทรวง ฉบับที่ 75 (พ.ศ.2496) นี้ไดถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง ฉบับที่

110 (พ.ศ.2500) และกฎกระทรวง ฉบับที่ 110 (พ.ศ.2500) ไดถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง ฉบับที่

126 (พ.ศ.2509) ซึ่งในการยกเลิกทั้งสองครั้งนี้ยังคงเปนผลใหเงินไดบุคคลธรรมดาจากกิจการของ

โรงเรียนราษฎรเปนเงินไดพึงประเมินที่ไดรับการยกเวน ไมตองรวมคํานวณเพื่อเสียภาษีเงินไดบุคคล

ธรรมดาตามมาตรา 42 (17) แหงประมวลรัษฎากร โดยประมวลรัษฎากรไดระบุรายละเอียดของเงินได

พึงประเมินดังกลาวไว ในมาตรา 42 เงินไดพึงประเมินประเภทตอไปนี้ใหไดรับการยกเวนไมตองรวม

คํานวณเพ่ือเสียภาษีเงินได(17) เงินไดตามที่จะไดกําหนดยกเวนโดยกฎกระทรวง102 ตามกฎกระทรวง

ฉบับที่ 126 (พ.ศ.2509) ออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร ไดกําหนดไว

ดังนี้ ขอ 2 ใหกําหนดเงินไดตอไปนี้เปนเงินไดตาม (17) ของมาตรา 42 แหงประมวลรัษฎากร ซึ่ง

แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 10) พ.ศ.2496 สวนเงินได

จากกิจการของโรงเรียนราษฎรซึ่งไดต้ังข้ึนตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนราษฎร แตไมรวมถึงเงินไดจาก

การขายของ การรับจางทําของ หรือการใหบริการอ่ืนใดที่โรงเรียนราษฎรซึ่งเปนโรงเรียนอาชีวศึกษา

102กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 8 September 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/305.0.html

Page 123: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

108

ไดรับจากผูซึ่งมิใชนักเรียน103 ในเร่ืองของการยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาที่ไดจากการประกอบ

กิจการโรงเรียนราษฎรไดรับการกําหนดข้ึนกอนการยกเวนใหกิจการคาของหนวยงานราชการ องคการ

ของรัฐบาล เชน กระทรวง ทบวง กรม หนวยราชการของกระทรวง ทบวง กรม และศาลยุติธรรม

องคการของรัฐบาล ซึ่งตองสงรายรับทั้งส้ินใหแกรัฐ โดยไมหักคาใชจาย รวมทั้งธนาคารแหงประเทศ

ไทย ธนาคารอาคารสงเคราะห ธนาคารเพื่อการสหกรณ ธนาคารออมสิน เทศบาลและสุขาภิบาล ที่

ตางไดรับการกําหนดยกเวนไวในกฎกระทรวง ฉบับที่ 89 (พ.ศ.2496) ประกาศในวันที่ 23 กันยายน

พ.ศ.2496 แตกฎกระทรวงที่ยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาที่ไดจากการประกอบกิจการโรงเรียน

ราษฎรตามอางขางตน ประกาศใน วันที่ 25 เมษายน พ.ศ.2496 แมวาจะเปนการประกาศกอนใน

ระยะเวลาที่หางกัน 5 เดือนก็ตาม อาจแสดงใหเห็นวารัฐบาลในสมัยนั้นไดใหความสําคัญตอการ

สงเสริมการจัดการศึกษาของภาคเอกชนกอนกิจการอ่ืนของรัฐอยางชัดเจน

ในสวนของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไดรับการยกเวนในลักษณะเดียวกันกับโรงเรียนราษฎร

โดยที่ในระยะเร่ิมแรกสถานศึกษาเอกชนไดรับอนุมัติใหเปดสอนในระดับที่สูงกวามัธยมศึกษาตอนปลาย

และใหสังกัดกระทรวงศึกษาธิการเชนเดียวกับโรงเรียนราษฎรที่เปดสอนต้ังแตระดับอนุบาลศึกษาถึง

มัธยมศึกษาตอนปลายและอยูในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการเชนกัน ซึ่งตอมาใน พ.ศ.2512 ไดมีการตรา

พระราชบัญญัติวิทยาลัยเอกชนข้ึน และกําหนดใหวิทยาลัยเอกชนอยูภายใตการกํากับควบคุมของ

กระทรวงศึกษาธิการและจะใหอนุปริญญาประกาศนียบัตรช้ันสูงหรือปริญญาไดตอเมื่อไดรับใบรับรอง

มาตรฐานการศึกษาจากสํานักงานสภาการศึกษาแหงชาติโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร

สภาการศึกษาแหงชาติ ดังที่ระบุไวในมาตราตอไปนี้ แหงพระราชบัญญัติวิทยาลัยเอกชน พ.ศ.2512

มาตรา 5 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจ

แตงต้ังพนักงานเจาหนาที่ออกกฎกระทรวงกําหนดกิจการเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา

16 ใหวิทยาลัยเอกชนมีอํานาจใหประกาศนียบัตร ในสาขาวิชาที่มีการศึกษาในวิทยาลัยเอกชนแก

นักศึกษาซ่ึงสําเร็จตามหลักสูตร วิทยาลัยเอกชนจะใหอนุปริญญา ประกาศนียบัตรชั้นสูง หรือปริญญา

ในสาขาวิชาที่มีการศึกษาในวิทยาลัยเอกชนไดเมื่อไดรับใบรับรองมาตรฐานการศึกษาจากสํานักงาน

สภาการศึกษาแหงชาติโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารการศึกษาแหงชาติ

ในการตราพระราชบัญญัติวิทยาลัยเอกชน พ.ศ.2512 เปนผลใหโรงเรียนราษฎรจํานวน 6

แหงในขณะนั้น ตองดําเนินการเปล่ียนสภาพจากโรงเรียนราษฎรเปนวิทยาลัยเอกชน ไดแก วิทยาลัย

กรุงเทพ วิทยาลัยหอการคาไทย วิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย วิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาลัยไทยสุริยะ

103กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 9 September 2007. Available from http://www.rd.g.th/publish/2502.0.html

Page 124: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

109

วิทยาลัยพัฒนา ยังผลใหไดรับสิทธิประโยชนเดิมตามที่ไดรับในฐานะเปนโรงเรียนราษฎรอยูกอนการ

ประกาศใชพระราชบัญญัติวิทยาลัยเอกชน พ.ศ.2512 2. ภาษีเงินไดนิติบุคคล พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่

284) พ.ศ.2538 ไดประกาศยกเวนภาษีเงินไดสําหรับบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่มีเงินไดจากกําไร

เงินปนผลหรือเงินสวนแบงของกําไรอันเนื่องจากการประกอบกิจการโรงเ รียนเอกชนหรือ

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ดังนี้ ในมาตรา 3 ใหยกเวนภาษีเงินไดตามสวน 3 หมวด 3มีในลักษณะ 2

แหงประมวลรัษฎากรสําหรับเงินไดของบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล ดังนี้ 1) กําไรสุทธิที่ไดจาก

กิจการโรงเรียนเอกชนที่ต้ังข้ึนตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชนหรือกิจการสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่

ต้ังข้ึนตามกฎหมายวาดวยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน แตไมรวมถึงรายไดจากการขายของ การับจางทํา

ของหรือการใหบริการอื่นใดที่ได รับจากผูซึ่งมิใชนักเรียนหรือนักศึกษาของโรงเรียนเอกชนหรือ

สถาบันอุดมศึกษาเอกชนดังกลาว 2) เงินปนผลหรือเงินสวนแบงของกําไรที่ไดจากบริษัทหรือหาง

หุนสวนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการตามขอหนึ่ง104 ทั้งนี้ บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลตามวรรคหนึ่ง

จะตองมิไดประกอบกิจการอ่ืนนอกจากกิจการโรงเรียนเอกชนตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชนหรือ

กิจการสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามกฎหมายวาดวยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน” 3. ภาษีลดหยอนเน่ืองจากการจัดการหรือจัดใหมีพัฒนาฝมือแรงงาน การพัฒนาฝมือแรงงานเพ่ือเปนปจจัยสําคัญในการเพิ่มคุณภาพของผลิตผลทาง

ภาคอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมของประเทศ แตการพัฒนาฝมือแรงงานดังกลาวจําเปนตองอาศัย

การลงทุนจากผูประกอบการโดยจะตองเสียทรัพยากรทั้งทางการเงินและเวลาในการสงบุคลากรในสังกัด

เขารับการพัฒนา ดังนั้น เพื่อเปนการกระตุนใหเกิดการพัฒนาฝมือแรงงาน รัฐจึงไดกําหนดมาตรการ

ทางภาษีเพื่อเปนแรงจูงใจโดยออกพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการ

ยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ 284) พ.ศ.2538 ใหยกเวนภาษีเงินไดสําหรับบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่

ไดมีสวนรวมดําเนินการหรือใหการสนับสนุนการพัฒนาฝมือแรงงาน และการพัฒนาความรูเพื่อสงเสริม

และพัฒนากระบวนการทํางานลูกจางดวย โดยมีรายละเอียด ดังนี้ มาตรา 4 ใหยกเวนภาษีเงินไดตาม

สวน 3 หมวด 3 ในลักษณะ 2 แหงประมวลรัษฎากร สําหรับเงินไดของบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล

ดังนี้ 1) กําไรสุทธิที่ไดจากกิจการสถานฝกอบรมเพื่อพัฒนาฝมือแรงงานของลูกจางของบริษัทหรือหาง

หุนสวนนิติบุคคลนั้นหรือของบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลในเครือเดียวกัน 2) เงินปนผลหรือเงินสวน

แบงของกําไรที่ไดจากบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการตามขอหนึ่ง ทั้งนี้บริษัทหรือหาง

104กรมสรรพากร,กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 11 September 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/2777.0.html

Page 125: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

110

หุนสวนนิติบุคคลตามวรรคหน่ึง จะตองมิไดประกอบกิจการอ่ืนนอกจากกิจการสถานฝกอบรมเพือ่พฒันา

ฝมือแรงงาน ในมาตรา 5 กําหนดใหยกเวนภาษีเงินไดตามสวน 3 หมวด 3 ในลักษณะ 2 แหงประมวล

รัษฎากร สําหรับเงินไดของบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลเปนจํานวนรอยละ 50ของรายจายที่ไดจายไป

เปนคาใชจายในการสงลูกจางของบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลนั้นเขารับการศึกษาหรือฝกอบรมใน

สถานศึกษาหรือสถานฝกอบรมวิชาชีพที่ทางราชการจัดต้ังข้ึนหรือที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง

ประกาศกําหนด” 105 พระราชกฤษฎีกาดังกลาวแสดงใหเห็นวา การยกเวนภาษีเงินไดใหแกกําไรสุทธหิรือ

เงินปนผลอันเนื่องมาจากกิจการฝกอบรมหรือพัฒนาฝมือแรงงานท่ีบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล

ดําเนินการเองเพื่อพัฒนาบุคลากรของบริษัทหรือของหางหุนสวนนิติบุคคล หรือรวมลงทุนกับผูอ่ืนที่

ประกอบกิจการฝกอบรมดังกลาว เปนมาตรการทางภาษีที่ชัดเจนและเอ้ือตอการจัดการศึกษาหรือการมี

สวนรวมในการจัดการศึกษาโดยทางออมของสถานประกอบการ ซึ่งถือไดวาเปนองคกรของสังคมที่ไมมี

ภารกิจโดยตรงดานการจัดการหรือใหการศึกษา

ทั้งนี้ หากสถานประกอบการใดไมสามารถดําเนินกิจการฝกอบรมดวยตนเองหรือไมสามารถ

รวมลงทุนกับผูอ่ืนเพื่อจัดการฝกอบรมได แตจัดสงบุคลากรของตนเขารับฝกอบรมในสถานศึกษา

สถานฝกอบรมวิชาชีพของทางราชการหรือสถานประกอบการอ่ืนๆ แทน จะไดรับการยกเวนภาษีเงินได

เปนจํานวนรอยละ 50 ของคาใชจายในการสงบุคลากรไปฝกอบรม นับไดวาเปนมาตรการทางภาษีที่

สงเสริมการจัดการศึกษาและการฝกอบรมพัฒนากําลังคนทั้งที่จัดข้ึนโดยภาครัฐและภาคเอกชนอยาง

ชัดเจนในสวนของการฝกอาชีพซ่ึงถือเปนสวนหนึ่งของการจัดการศึกษานอกระบบสถานศึกษา รัฐไดให

ความสําคัญของการจัดการฝกอาชีพดวยการสงเสริมใหสถานประกอบการ คณะบุคคล หรือบุคคล

รวมจัดการฝกอาชีพโดยยกเวนภาษีเงินไดจากการจัดการฝกอาชีพ ซึ่งพระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 298

ไดกําหนดยกเวนภาษีเงินไดสําหรับเงินไดของผูดําเนินการฝกอาชีพ เปนจํานวนรอยละ 50 ของ

รายจายที่ไดจายไปเปนคาใชจายในการฝกการสอนตามพระราชบัญญัติสงเสริมการฝกอาชีพ พ.ศ.2537

โดยมีรายละเอียดในมาตรา 3 ที่กําหนดใหยกเวนภาษีเงินไดตามสวน 2 และสวน 3 หมวด 3 ในลักษณะ

2 แหงประมวลรัษฎากร สําหรับเงินไดของผูดําเนินการฝกอาชีพเปนจํานวนรอยละ 50 ของรายจายที่ได

จายไปเปนคาใชจายในการฝก การสอน ตามพระราชบัญญัติสงเสริมการฝกอาชีพ พ.ศ. 2537 106

การที่รัฐไดกําหนดมาตรการจูงใจดวยการยกเวนภาษีเงินไดใหแกผูดําเนินการฝกอาชีพรอย

ละ 50 ของรายจายที่ไดจายไปเปนคาใชจายในการฝกการสอนอาชีพ ซึ่งหากพิจารณาถึงการที่

105กรมสรรพากร,กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 20 September 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/2777.0.html

106กรมสรรพากร,กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 21 September 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/2771.0.html

Page 126: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

111

ผูดําเนินการฝกอาชีพใหการฝกแกบุคคลทั่วไปหรือนักเรียนนิสิตนักศึกษาเปนจํานวนมากแลว คาใชจาย

ในการฝกอาชีพยอมตองมีจํานวนสูง จะเปนผลใหผูดําเนินการฝกอาชีพนั้น สามารถนํารายจายไป

คํานวณยกเวนภาษีเงินไดในจํานวนที่สูงมากดวยเชนกัน อันเปนผลใหผูดําเนินการฝกมีรายรับเหลือเปน

แรงจูงใจในการชวยรัฐจัดการศึกษา อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติ

สงเสริมการฝกอาชีพ พ.ศ.2537 แลว อาจต้ังขอสังเกตที่สําคัญ คือ สถานประกอบการที่จะมารวม

ลงทุนเพื่อการศึกษาดวยการฝกอาชีพนี้จะตองมีขอผูกพันและการดําเนินการตามข้ันตอนมากมายหลาย

ประการ จึงจะไดประโยชนจากมาตรการจูงใจนี้ 4. ภาษทีี่ไดรบัการลดหยอนเน่ืองจากการจางทาํวจิัยและพัฒนา พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 297 ไดกําหนดใหบริษัทและหางหุนสวนนิติบุคคลไดรับการ

ยกเวนภาษีเงินไดสําหรับเงินไดของบริษัทและหางหุนสวนนิติบุคคลเปนจํานวนรอยละ 100 ของ

รายจายที่ไดจายไปเปนคาใชจางเพื่อทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีใหแกหนวยงานของรัฐหรือเอกชน

เพื่อสงเสริมใหภาคเอกชนจัดใหมีการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีมากข้ึนดังปรากฏในรายละเอียด ดังนี้

ในมาตรา 4 ใหยกเวนภาษีเงินไดตามสวน 3 หมวด 3 ในลักษณะ 2 แหงประมวลรัษฎากร สําหรับเงินได

ของบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลเปนจํานวนรอยละ 100ของรายจายที่ไดจายไปเปนคาจางเพื่อทํา

การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ใหแกหนวยงานของรัฐหรือเอกชนตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดในราช

กิจจานุเบกษา 107 ทั้งนี้ พิจารณาไดวา แมการยกเวนภาษีเงินไดขางตนเปนการยกเวนใหแกบริษัทและ

หางหุนสวนนิติบุคคลโดยอนุญาตใหนํารายจายถึงจํานวนรอยละ 100 ที่ไดจายเปนคาจางทําวิจัยและ

พัฒนาเทคโนโลยีใหแกหนวยงานอ่ืนหักออกจากเงินไดกอนนํามาคํานวณภาษีเงินไดที่ตองชําระนั้น จะ

ไมไดเปนสิทธิประโยชนที่ใหแกสถานศึกษาเอกชนโดยตรงประการใด แตอาจจะกลาวไดวา มาตรการ

ขางตนมีสวนโดยตรงในการสงเสริมการจัดการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนอยางชัดเจน โดย

พิจารณาวา หากบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลวาจางสถาบันอุดมศึกษาเอกชนทําวิจัยหรือพัฒนา

เทคโนโลยีใหแลว จะเปนการพัฒนาองคความรูใหมโดยสถาบันอุดมศึกษาเอกชนนั้น และเปนการ

สงเสริมใหสถาบันอุดมศึกษาเอกชนปฏิบัติภารกิจดานการวิจัยที่กําหนดใหเปนภารกิจสําคัญของ

สถาบันอุดมศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนไดอยางดียิ่ง นอกจากนี้ พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 297 นี้ มิได

จํากัดวา สิทธิประโยชนการยกเวนภาษีเงินไดจํานวนรอยละ 100 ของรายจายนี้เปนรายจายที่บริษัท

หรือหางหุนสวนนิติบุคคลจายใหสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาเทานั้น แตบริษัทหรือหางหุนสวนนติิ

บุคคลสามารถวาจางสถานศึกษาระดับตํ่ากวาปริญญาท้ังของรัฐเอกชนวัยหรือพัฒนาเทคโนโลยีได ซึ่ง

จะเปนผลใหมีการพัฒนาองคความรูที่สอดคลองกับภาระหนาที่ของสถานศึกษาและเอ้ือตอการจัด

107กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 21 September 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/2772.0.html

Page 127: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

112

การศึกษาที่มีคุณภาพในภาพรวม ในขณะเดียวกัน ก็เปนการสงเสริมการจัดการศึกษาของภาคเอกชน

ในระดับตํ่ากวาปริญญาดวย 5. ภาษเีงินไดบุคคลธรรมดา นอกเหนือจากการยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาสําหรับรายไดที่ไดมาจากการประกอบ

กิจการของโรงเรียนราษฎร ดังที่ไดอธิบายไวขางตน ที่วาดวยภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาในกรณีที่บุคคล

นั้นมีรายรับจากเงินปนผลหรือเงินสวนแบงของกําไรอันเนื่องมาจากกิจการของโรงเรียนเอกชนหรือ

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ตามขอ 2 แหงกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ.2509 ซึ่งออกตามความใน

ประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร ซึ่งแกไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 195 (พ.ศ.

2538) ออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร ความวา (37) เงินปนผลหรือเงิน

สวนแบงของกําไรจากบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่ไดจากกิจการโรงเรียนเอกชน ที่ต้ังข้ึนตาม

กฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชนหรือกิจการสถาบันอุดม ศึกษาเอกชนที่ต้ังข้ึนตามกฎหมายวาดวย

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ทั้งนี้ บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลดังกลาวจะตองมิไดประกอบกิจการอ่ืน

นอกจากกิจการโรงเรียนเอกชนตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชนหรือกิจการสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

ตามกฎหมายวาดวยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน” 108

ทั้งนี้ กฎกระทรวงการคลัง ฉบับที่ 197 ดังกลาวไดระบุเหตุผลประกาศใชวา เปนการ

สมควรที่ยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาสําหรับเงินปนผล หรือเงินสวนแบงของกําไรที่ไดรับจากบริษัท

หรือหางหุนสวนนิติบุคคลซึ่งประกอบกิจการโรงเรียนเอกชนหรือกิจการสถาบันอุดมศึกษาเอกชนเพื่อ

สนับสนุนใหภาคเอกชนเขามามีบทบาทในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยโดยการจัดต้ังสถานศึกษาที่มี

มาตรฐานสูง 6. ภาษปีาย กฎกระทรวง ฉบับที่ 90 (พ.ศ.2496) ออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยภาษีปาย

ระบุใหปายของกิจการของสถานศึกษาของทางราชการและโรงเรียนราษฎรไดรับการยกเวนภาษีปาย

ตามความในมาตรา 97 (4) แหงประมวลรัษฎากร เปนที่นาสังเกตวา ขอความระบุไวในเหตุผลทาย

กระทรวง ฉบับที่ 90 เกี่ยวกับการยกเวนภาษีปายขางตนกลับมิไดระบุเหตุผลของการสงเสริมการเขา

มามีสวนรวมของเอกชนในการจัดการศึกษาดวยการยกเวนภาษีปายใหแกกิจการโรงเรียนราษฎรแต

ประการใด โดยระบุเพียงวา เปนการสมควรที่จะยกเวนภาษีปายใหแกกิจการของรัฐบาล องคการของ

รัฐ เพื่อมิใหเปนภาระแกรัฐบาลในอันที่จะตองต้ังงบประมาณคาใชสอยเพิ่มข้ึนเพื่อนําเงินมาเสียภาษี

สนับสนุนการศาสนา การกุศลสาธารณะและเพื่อประคับประคองกิจการเล็ก ๆ นอย ๆ ซึ่งทําการผลิต

108กรมสรรพากร,กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 23 September 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/2502.0.html

Page 128: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

113

ในประเทศใหเจริญเติบโต เห็นไดวา ภาพความสําคัญของการจัดการศึกษาไมไดถูกนํามาสะทอนให

เห็นในการยกเวนภาษีปายแตประการใด ในทางตรงกันขาม เหตุผลทายกระทรวงฉบับนี้ไดเทียบเคียง

กิจการของโรงเรียนราษฎรเทากับธุรกิจเล็ก ๆ ที่รัฐเห็นความสําคัญในฐานะที่มีสวนรวมผลิตให

ประเทศชาติเติบโตข้ึน อยางไรก็ตาม ยังคงสรุปไดวา รัฐไดใหการสนับสนุนสงเสริมการจัดการศึกษา

ของภาคเอกชนดวยการยกเวนภาษีปาย โดยพิจารณากิจการของสถานศึกษาเอกชนรวมกับกิจการ

ประเภทอื่นพระราชบัญญัติภาษีปาย พ.ศ.2510 ไดบัญญัติไวในสวนที่เกี่ยวของกับการศึกษาเอกชน

ดังนี้มาตรา 6 ในพระราชบัญญัตินี้ ปาย หมายความวา ปายแสดงช่ือ ยี่หอ หรือเคร่ืองหมายที่ใชในการ

ประกอบการคาหรือประกอบกิจการอ่ืนเพื่อหารายไดหรือโฆษณาการคาหรือกิจการอ่ืนเพื่อหารายได ไม

วาจะไดแสดงหรือโฆษณาไวที่วัตถุใด ๆ ดวยอักษร ภาพ หรือเคร่ืองหมายที่เขียน แกะสลัก จารึกหรือทํา

ใหปรากฏดวยวิธีอ่ืน ในมาตรา 7 ใหเจาของปายมีหนาที่เสียภาษีปายโดยเสียเปนรายป ตามอัตราที่

กําหนดในกฎกระทรวงซ่ึงตองไมเกินอัตราที่กําหนดในบัญชีอัตราภาษีปายทายพระราชบัญญัตินี้ ใน

มาตรา 8 เจาของปายไมตองเสียภาษีปายสําหรับปายดังตอไปน้ี (9) ปายของโรงเรียนเอกชนตาม

กฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชนหรือสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามกฎหมายวาดวยสถาบันอุดมศึกษา

เอกชน ที่แสดงไว ณ อาคารหรือบริเวณของโรงเรียนเอกชนหรือสถาบันอุดมศึกษาเอกชนนั้น 109 7. ภาษีมูลคาเพิ่ม ประกาศกระทรวงการคลัง วาดวยภาษีเงินไดและภาษีมูลคาเพิ่ม (ฉบับที่ 33) เร่ืองกําหนด

องคการ สถานสาธารณสุข สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แหงประมวล

รัษฎากรและมาตรา 3 (4) (ข) แหงพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการ

ยกเวนภาษีมูลคาเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ.2534 ซึ่งแกไขเพิ่มเติม โดยพระราชกฤษฎีกา ออกตาม

ความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนภาษีมูลคาเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ.2535 ไดกําหนดไวใน

ขอ 2 ทวิ ความวา “ ใหสถานศึกษาที่ต้ังข้ึนตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชนโดยบริษัทหรือหาง

หุนสวนนิติบุคคลหรือนิติบุคคลอ่ืน และสถานศึกษาที่เปนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามกฎหมายวาดวย

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน เปนองคการ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาลและสถานศึกษา ตามมาตรา

47(7)(ข) แหงประมวลรัษฎากร และมาตรา 3(4)(ข) แหงพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวล

รัษฎากร วาดวยการยกเวนภาษีมูลคาเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราช

กฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการ ยกเวนภาษีมูลคาเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ.

109กรมสรรพากร,กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนกิส [Online],

accessed 25 September 2007. Available from http://www.oic.thaigov.go.th/ WINFOMA/DRAWERS

/LAWS/DATA0000/00000236.DOC

Page 129: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

114

2535” 110 มาตรา 47 (7) (ข) แหงประมวลรัษฎากร ความวา เงินไดพึงประเมินตามมาตรา 40 เม่ือได

หักตามมาตรา 42 ทวิ ถึงมาตรา 46 แลว เพื่อเปนการบรรเทาภาระภาษี ใหหักลดหยอนไดอีกตอไปนี้ (7)

เมื่อไดหักลดหยอนตาม (1)(2)(3)(4)(5) หรือ (6) แลวเหลือเทาใด ใหหักลดหยอนไดอีกสําหรับเงินบริจาค

ดังตอไปนี้ โดยใหหักไดเทาจํานวนที่บริจาค แตตองไมเกินรอยละ 10 ของเงินที่เหลือนั้นไดแกเงินที่

บริจาคแกสถานพยาบาลและสถานศึกษาของทางราชการและเงินที่บริจาคเปนสาธารณประโยชนแก

องคการหรือสถานสาธารณกุศลหรือแกสถานพยาบาล และสถานศึกษาอ่ืนนอกจากที่กลาวในขางตน

ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา 111การยกเวนภาษีใหแกบุคคล นิติบุคคล

องคกร หรือสถานประกอบการผูทําประโยชนดานการศึกษายังมีอีกหลายประการ ตามพระราช

กฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ 420) พ.ศ.2547

ความวาในมาตรา 3 ใหยกเวนภาษีเงินไดตามสวน 2 และสวน 3 หมวด 3 ในลักษณะ 2 แหงประมวล

รัษฎากร สําหรับเงินไดที่จายเปนคาใชจายเพื่อสนับสนุนการศึกษาใหแกสถานศึกษาของ ทางราชการ

สถานศึกษาขององคการของรัฐบาล โรงเรียนเอกชนที่ต้ังข้ึนตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชนหรือ

สถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ต้ังข้ึนตามกฎหมายวาดวยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ดังนี้ 1) สําหรับบุคคล

ธรรมดา ใหยกเวนภาษีเงินไดสําหรับเงินไดพึงประเมินหลังจากหักคาใชจายและหักคาลดหยอนตาม

มาตรา 47(1) (2) (3) (4) (5) หรือ (6) แหงประมวลรัษฎากร เปนจํานวนสองเทาของรายจายที่จายไปเปน

คาใชจายเพื่อสนับสนุนการศึกษา แตตองไมเกินรอยละสิบของเงินไดพึงประเมินหลังจากหักคาใชจาย

และหักคาลดหยอนดังกลาวนั้น 2) สําหรับบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล ใหยกเวนภาษีเงินไดสําหรับ

เงินไดเปนจํานวนเงินหรือมูลคาของทรัพยสินเปนจํานวนสองเทาของรายจายที่จายไปเปนคาใชจายเพื่อ

สนับสนุนการศึกษา แตตองไมเกินรอยละสิบของกําไรสุทธิกอนหักรายจายเพื่อการกุศลสาธารณะหรือ

เพื่อการสาธารณประโยชน และเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการกีฬา ตามมาตรา 65 (3) แหงประมวลรัษฎากร

ทั้งนี้ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกําหนด

คาใชจายสนับสนุนการศึกษาตามวรรคหนึ่ งตองเปนคาใชจายสําหรับโครงการที่

กระทรวงศึกษาธิการใหความเห็นชอบ และเปนคาใชจายสําหรับรายการดังตอไปนี้คือ 1) จัดหาหรือ

จัดสรางอาคาร อาคารพรอมที่ดิน หรือที่ดินใหแกสถานศึกษา เพื่อใชประโยชนทางการศึกษา 2) จัดหา

วัสดุอุปกรณเพื่อการศึกษา แบบเรียน ตํารา หนังสือทางวิชาการ ส่ือและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

110กรมสรรพากร,กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 27 September 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/2644.0.html

111กรมสรรพากร,กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนกิส [Online],

accessed 29 September 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/5937.

0.html#mata47

Page 130: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

115

ตลอดจนวัสดุอุปกรณอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของกับการศึกษาใหแกสถานศึกษา ตามที่รัฐมนตรีวาการ

กระทรวงการคลังกําหนด มาตรา 4 ใหยกเวนภาษีเงินไดตามสวน 2 และสวน 3 หมวด 3 ภาษีมูลคาเพิ่ม

ตามหมวด 4 ภาษีธุรกิจเฉพาะตามหมวด 5 และอากรแสตมปตามหมวด 6 ในลักษณะ 2 แหงประมวล

รัษฎากร ใหแกบุคคลธรรมดา หรือบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล สําหรับเงินไดที่ไดรับจากการโอน

ทรัพยสิน หรือการขายสินคา หรือสําหรับการกระทําตราสารอันเนื่องมาจากการดําเนินการสนับสนุน

การศึกษา ตามโครงการที่กระทรวงศึกษาธิการใหความเห็นชอบตามมาตรา 3 โดยผูโอนจะตองไมนํา

ตนทุนของทรัพยสินหรือสินคาซ่ึงไดรับยกเวนภาษีดังกลาวมาหักเปนคาใชจายในการคํานวณภาษีเงินได

ของบุคคลธรรมดา หรือบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล ทั้งนี้ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการและ

เงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกําหนด112 การยกเวนภาษีดังกลาวลวนแลวแตเปนส่ิงจูงใจใหมี

การสงเสริมการจัดการศึกษา แมวาจะชวยแบงเบาภาระของรัฐบาลไดบาง แตงบประมาณดาน

การศึกษาสวนมากก็ยังมาจากการจัดสรรของรัฐบาล โดยมีรายละเอียดงบประมาณดานการศึกษาของ

ประเทศไทยในยุคปจจุบัน ดังตารางที่ 6

112กรมสรรพากร, กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online],

accessed 29 September 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/21455.0.html

Page 131: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

116

ตารางที่ 6 รอยละของงบประมาณรายจายดานการศึกษากบังบประมาณทั้งหมดและรอยละ

ของงบประมาณดานการศึกษากับผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ ปงบประมาณ

พ.ศ. 2541 ถึง พ.ศ.2549

งบประมาณ

งบประมาณ รายจายดาน

การศึกษา

งบประมาณ รายจายรวม

ทั้งหมด

ผลิตภัณฑมวล

รวม ภายในประเทศ

(GDP)

รอยละของงบฯ

ดานการศึกษา

ตองบฯ ของ

ประเทศ

รอยละของ

งบประมาณ

ดาน

การศึกษาตอ

GDP

2541 201,707.59 800,000.00 4,628,431.00 25.21 4.36

2542 208,616.10 825,000.00 4,632,100.00 25.29 4.50

2543 220,620.80 860,000.00 4,904,700.00 25.65 4.50

2544 221,591.50 910,000.00 5,098,100.00 24.35 4.35

2545 222,989.80 1,023,000.00 5,309,200.00 21.80 4.20

2546 235,092.10 999,900.00 5,588,800.00 23.51 4.21

2547 251,301.00 1,028,000.00 6,476,100.00 24.4 3.88

2548 238,513.30 1,250,000.00 7,195,000.00 19.1 3.31

2549 265,748.90 1,360,000.00 7,878,500.00 19.5 3.37

ที่มา : สํานักงบประมาณ, สํานักนายกรัฐมนตรี, “GDP รายงานงบประมาณ ประจําป พ.ศ.2545 ถึง

พ.ศ.2549,” กันยายน 2550. (อัดสําเนา)

จากตารางที่ 6 งบประมาณรายจายดานการศึกษากับงบประมาณทั้งหมดและรอยละ ของ

งบประมาณดานการศึกษากับผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ รายจายงบประมาณดานการศึกษาและ

งบประมาณ รายจายรวมทั้งหมดใชขอมูลจากรายงานงบประมาณ โดยสังเขป ประจําปงบประมาณ

พ.ศ. 2541 ถึง พ.ศ. 2549 ผลิตภัณฑมวลรวม ภายในประเทศ (GDP) ป พ.ศ.2541 ถึง พ.ศ. 2549

พบวาการจัดทรัพยากรเพื่อการศึกษาในสวนที่เกี่ยวของกับการจัดเก็บภาษีอากรเพื่อการศึกษาที่ดําเนิน

มาต้ังแตเร่ิมมีการจัดการศึกษาอยางจริงจังในอดีตจวบจนปจจุบัน เปนการจัดเก็บภาษีในหลายรูปแบบ

ซึ่งสวนหนึ่งของภาษีที่จัดเก็บไดนั้น ไดนํามาจัดสรรเพื่อการศึกษาในประเทศไทยตลอดมา

Page 132: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

117

สรุป

การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษานั้นจะตองเปนไปตามหลักการภาษีอากร (principle) เนื่องจาก

หลักกฎหมายภาษีอากรเปนหลักการที่ใหอํานาจการจัดเก็บภาษีโดยขอบังคับของกฎหมายภายใต

บทบัญญัติของกฎหมายรัฐธรรมนูญซ่ึงถือเปนแผนแมบทที่ใหอํานาจรัฐสภาหรือรัฐบาลออกกฎหมาย

เกี่ยวกับภาษีอากร ในลักษณะตาง ๆ มาบังคับใหประชาชนตองเสียภาษีอากรใหแกรัฐ ซึ่งหมายความ

วา ฝายนิติบัญญัติหรือรัฐสภาเทานั้นเปนผูกําหนดอํานาจจัดเก็บภาษี รัฐบาลและผูบริหารภาษีอากร

จะกําหนดหรือเรียกเก็บเงินจากประชาชนตามใจชอบไมได การเก็บภาษีอากรจะตองไดรับการพิจารณา

และอนุมัติโดยรัฐสภา ตามสุภาษิตกฎหมายภาษีอากรที่วา “ไมมีการจัดเก็บภาษีใดที่ไรผูดําเนินการ”

(no taxation without representation)113

สําหรับเร่ืองของการจัดเก็บภาษีเพื่อระดมทุนมาใชจายในการจัดการศึกษา พิจารณาไดวา

โดยท่ีการศึกษามีความเปนลักษณะเฉพาะตามขอสมมติฐานในทางเศรษฐศาสตรวา การศึกษาเปน

ปจจัยสําคัญในการพัฒนาประเทศ114 และการศึกษากอใหเกิดประโยชนไมเฉพาะตอผูเรียนเทานั้น แต

ยังใหประโยชนแกสังคมโดยรวมอีกดวย ดังนั้น สังคมหรือประชาชนทั่วไปควรรับภาระตนทุนการจัด

การศึกษาเต็มจํานวน โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในกรณีที่รัฐจัดการศึกษาใหโดยที่ผูปกครองหรือผูเรียนไม

ตองเสียคาใชจายใด ๆ อยางไรก็ตาม สําหรับการศึกษาข้ันพื้นฐานนั้น มีเหตุผลทางเศรษฐศาสตร

สนับสนุนวา รัฐบาลควรเก็บภาษีตามความสามารถในการเสียภาษี เพราะผลประโยชนของสังคมจะมี

มากกวาผลประโยชนที่ไดรับโดยตรงจากผูเรียน ยิ่งไปกวานั้น หากพิจารณาเก็บภาษีตามผลประโยชนที่

ผู เสียภาษีหรือผูเรียนจะไดรับ อาจทําใหประชาชนที่มีรายไดตํ่ากวาระดับความเปนอยูพื้นฐาน

(subsistence level) ไมอาจเสียภาษีได ไมไดรับบริการดานการศึกษา ดังนั้นหลักการสําคัญของ

ระบบถือวา ผูมีโอกาสมากกวายอมตองชวยเหลือผูดอยโอกาส (gainers compensate losers) สวน

การศึกษาในระดับอุดมศึกษานั้น อาจวิเคราะหไดวา ผูเรียนจะไดรับประโยชนจากการศึกษาโดยตรง

จึงอาจพิจารณาการเก็บภาษีตามประโยชนที่ผูเรียนจะไดรับจากการศึกษาในระดับดังกลาว

จากการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการดานงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาในประเทศตาง ๆ พบวา

รัฐบาลของทุกประเทศดําเนินการโดยผานระบบภาษีอากรโดยการจัดเก็บภาษีโดยตรง และการใช

มาตรการจูงใจดานภาษีแบบทางออม ประเทศในแถบตะวันตก เชน สหรัฐอเมริกา แคนาดาและฝร่ังเศส

ใชมาตรการจูงใจทางภาษีในรูปแบบที่หลากหลายและเนนการมีสวนรวมของภาคเอกชนอยางกวางขวาง

113บุญชนะ อัตถากร, ทฤษฎีภาษีและทางปฏิบัติ (กรุงเทพฯ : รุงเรืองธรรม, 2500), 52.

114R.L. Johns and E.L. Morphet, The Economics and Financing of Education :

A Systems Approach (Prentice Hall, 1969), 70 - 73.

Page 133: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

118

มากกวาประเทศตะวันออก เชน สาธารณรัฐประชาชนจีนและสาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งยังใชมาตรการเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษาโดยตรง

หลักการสําคัญที่ควรใชพิจารณาเพื่อกําหนดมาตรการภาษี คือ ความเสมอภาคและความ

เปนธรรม ซึ่งในทางปฏิบัติไดมีการพิจารณาหลักการเชิงลึกอีก 2 ลักษณะ คือ การเก็บภาษีตามหลัก

ความสามารถของผูเสียภาษี (the ability to pay principle) และหลักผลประโยชนที่ผูเสียภาษีไดรับ

(the benefit principle) ในดานของการสรางมาตรการจูงใจทางภาษีนั้น รูปแบบที่ใชกันทั่วไป ไดแก

การยกเวนภาษี (tax exemption) การคืนหรือการใหเครดิตภาษี (tax credit) และการลดหยอนภาษี

(tax reduction) ซึ่งกําหนดมาตรการภาษีรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งยอมตองคํานึงถึงหลักของความเสมอ

ภาคและความเปนธรรมดวยเชนกัน ดังนั้นรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาตองไมมีผลกระทบตอกลไกของ

สังคมทั้งยังกอใหเกิดประโยชนสูงสุดแกการจัดการศึกษาของประเทศไทยตอไปในอนาคต

Page 134: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

119

บทที่ 3

การดําเนินการวิจยั

การดําเนินการวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงคเพื่อทราบรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทย

การวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive research) โดยใชองคกรปกครองสวนทองถิ่น

สถานศึกษาสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น สถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน

พื้นฐาน และสถานศึกษาเอกชน ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานเปนหนวยวิเคราะห (unit of analysis)

เคร่ืองมือที่ใชเปนแบบสอบถามเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา มีผูบริหารองคกรปกครองสวน

ทองถิ่น ผูอํานวยการสถานศึกษา ครูปฏิบัติงาน กรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ผูปกครองนักเรียนเปน

ผูตอบแบบสอบถาม การดําเนินการวิจัยประกอบดวยกระบวนการ 3 ข้ันตอน คือ ข้ันตอนการดําเนินการ

วิจัยและระเบียบวิธีวิจัย ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

ขั้นตอนการดําเนินการวจิัย

เพื่อใหการวิจัยดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงคของการวิจัย ผูวิจัยจึง

กําหนดข้ันตอนการดําเนินการวิจัยไวสามข้ันตอน คือ

ขั้นตอนที่ 1 การจัดเตรียมโครงการวิจัย เปนการศึกษารูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของ

ประเทศไทย โดยการวิเคราะหแนวคิด ทฤษฎีและวรรณกรรมและงานวิจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการ

จัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทยและตางประเทศ การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ใน

รูปแบบของมาตรการดานภาษีอากร ขอคําแนะนําและความเห็นชอบในการจัดทําโครงรางการวิจัยจาก

อาจารยที่ปรึกษา รับขอเสนอแนะมาปรับปรุง แกไข และจัดทําโครงรางของงานวิจัยเสนอขอความ

เห็นชอบและอนุมัติจากบัณฑิตจากบัณฑิตวิทยาลัย

ขั้นตอนท่ี 2 การดําเนินการวิจัย ผูวิจัยศึกษาวิเคราะหแนวคิด ทฤษฎี การจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาจากเอกสารและงานวิจัย รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาทั้งในประเทศและตางประเทศ และ

สัมภาษณผูทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดเก็บภาษี การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาโดยการ

ใชเทคนิคการสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง ทําการวิเคราะหและสังเคราะหตัวแปรที่ไดทั้งหมดมาสราง

เปนเคร่ืองมือและพัฒนาเคร่ืองมือ นําไปทดลองใช เสนอผูเช่ียวชาญปรับปรุงคุณภาพ นําเครื่องมือที่

119

Page 135: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

120

สรางและพัฒนาไปเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางและนําขอมูลที่ไดมาตรวจสอบความถูกตอง คํานวณคา

ทางสถิติ วิเคราะหขอมูล และแปลผลการวิเคราะหขอมูลสรุปผลไดเปน รางรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

นําไปสัมภาษณผูทรงคุณที่มีความเชี่ยวชาญพิเศษเร่ืองการจัดเก็บภาษี การระดมทรัพยากรเพื่อ

การศึกษา เพื่อยืนยันรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา (connoisseurship) ที่ไดใหมีความเหมาะสมพรอม

นําไปใชประโยชนตอไป

Page 136: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

121

ขั้นตอนของการดําเนินการวิจยั

ขั้นตอนท่ี 1 การศึกษาวิเคราะหและกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจยั

ขั้นตอนท่ี 2 สอบถามกลุมตัวอยาง รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

ตรวจสอบและการยืนยัน รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

ขั้นตอนท่ี 3 การวิเคราะหปรับปรุง และนําเสนอรูปแบบ

สรุปแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยการจัดเก็บภาษีเพ่ือ การศึกษาและ รูปแบบภาษีเพ่ือการศึกษา

รูปแบบภาษีเพ่ือการศึกษาที่ไดจากการวิเคราะหทางสถิติแบบสอบถามของกลุมตัวอยาง

นําเสนอรูปแบบที่ไดใหผูทรงคุณวุฒิที่มีความเช่ียว ชาญ พิจารณาและปรับปรุง (connoisseurship)

รูปแบบภาษีเพ่ือการศึกษา

ความคิดเห็นของผูทรงคุณ วุฒิที่มีความเช่ียวชาญใน การจัดเก็บภาษีและการระดมทรัพยากรเพ่ือการ ศึกษาใชเทคนิคการสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง

ศึกษาวิเคราะหแนวคิด ทฤษฎี - การจัดเก็บภาษีเพ่ือการศึกษา - รูปแบบภาษีเพ่ือการศึกษาตางประเทศ

ศึกษาวิเคราะหงานวิจัย - การจัดเก็บภาษีเพ่ือการศึกษา - รูปแบบภาษีเพ่ือการศึกษา

การจัดเก็บภาษีเพ่ือการศึกษาและ รูปแบบภาษีเพ่ือการศึกษา

สรางแบบสอบถามองคประกอบ

รูปแบบภาษีเพ่ือการศึกษา

ความคิดเห็นของกลุมตัวอยาง องคกรปกครองสวนทองถ่ิน จากแบบสอบถามโดยใชการวิเคราะหองคประกอบหลัก (factor analysis)

ความคิดเห็นของกลุมตัวอยาง สถานศึกษาที่สังกัด อปท. สพฐ,เอกชน จากแบบสอบถามโดย ใชการวิเคราะหองคประกอบหลัก (factor analysis)

แผนภูมิท่ี 3 แสดงข้ันตอนการวิจยั

Page 137: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

122

ขั้นตอนที่ 3 การรายงานผลการวิจัย ผูวิจัยทํารายงานผลการวิจัยฉบับรางเสนอตอคณะกรรมการ

ควบคุมวิทยานิพนธตรวจสอบความถูกตอง ทําการแกไขปรับปรุงขอบกพรองตามที่คณะกรรมการ

ควบคุมวิทยานิพนธเสนอแนะ แลวจัดพิมพรายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยศิลปากรและขออนุมัติจบการศึกษา

ระเบียบวิธกีารวิจยั

เพื่อใหงานวิจัยคร้ังนี้มีประสิทธิภาพสูงสุด และเปนไปตามวัตถุประสงคของการวิจัย

ผูวิจัยไดกําหนดรายละเอียดตาง ๆ ประกอบดวย แผนแบบการวิจัย ประชากร กลุมตัวอยาง ตัวแปรที่

ศึกษา เคร่ืองมือและการสรางเคร่ืองมือ การรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช

มีรายละเอียดดังตอไปนี้

แผนแบบการวิจัย การวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive research) ที่มีแผนแบบการวิจัยโดย

ใชกลุมตัวอยางกลุมเดียว ศึกษาสภาวการณมีการวัดผลเพียงคร้ังเดียวโดยไมมีการทดลอง (the one

shot, non-experimental case study) แสดงเปนแผนแบบ (diagram) ดังนี้

O

R X

เมื่อ R หมายถึง ตัวอยางที่ไดจากการสุม

X หมายถึง ตัวแปรที่ศึกษา

O หมายถึง ขอมูลที่ไดจากการศึกษา

ประชากร

ประชากรที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้คือ ใชหนวยประชากรออกเปน 3 กลุม ดังนี้

1) ผูทรงคุณวุฒิที่ดําเนินการเก็บขอมูลโดยวิธีการสัมภาษณประกอบดวยผูบริหารองคกร

ปกครองสวนทองถิ่น ผูทรงคุณวุฒิระดับมหาวิทยาลัย และผูบริหารระดับกรมและกระทรวงผูวิจัยเลือก

กลุมตัวอยางจํานวน 24 คน แบบเจาะจง (purposive sampling) โดยมีเกณฑการคัดเลือก คือ เปนผูที่

มีความเชี่ยวชาญในดานการจัดเก็บภาษีอากร การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาและการจัดการศึกษา

ไดแก

Page 138: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

123

ก) ผูบริหารองคการปกครองสวนทองถิ่น ที่มีความเช่ียวชาญในดานการจัดเก็บภาษี

อากร การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาและการจัดการศึกษา จํานวน 8 คน

ข) ผูทรงคุณวุฒิระดับมหาวิทยาลัย ที่มีความเช่ียวชาญในดานการจัดเก็บภาษีอากร,

การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาและการจัดการศึกษา จํานวน 8 คน

ค) ผูบริหารระดับสูงของกรมและกระทรวง ที่มีความเชี่ยวชาญในดานการจัดเก็บภาษี

อากร การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาและการจัดการศึกษา จํานวน 8 คน

ดังรายละเอียดตารางที่ 7

Page 139: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

124

ตารางที่ 7 ผูทรงคุณวุฒิในการตอบแบบสัมภาษณ

เกณฑการคัดเลือก ผูตอบแบบสัมภาษณ

1. ผูบ ริหารองคการปกครองสวน

ทองถิ่น(เทศบาล องคการบริหารสวน

จังหวัด)

1. นายวัลลภ พร้ิงพงษ

รองอธิบดีกรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิน่

2. นายสกล ลีโนทยั

ผูอํานวยการสวนนโยบายการคลังและพฒันารายได

3. นายเสรินทร แกวพิจิตร

นายกเทศมนตรีนครนครปฐม

4. นายถาวร จันทรกลํ่า

ปลัดเทศบาลนครนครปฐม

5. นายนิรันดร วัฒนศาสตรสาธร

นายกเมอืงพัทยา

6. นางวาสนา ผุดผองใส

ผูอํานวยการสํานักคลัง เมอืงพทัยา

7. คุณหญิงณฐนนท ทวีสิน

ปลัดกรุงเทพมหานคร

8. นางนภาพร อิสระเสรีพงษ

ผูอํานวยการกองรายไดสํานักการคลัง กทม

Page 140: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

125

ตารางที่ 7 (ตอ)

เกณฑการคัดเลือก ผูตอบแบบสัมภาษณ

2. ผูทรงคุณวุฒิระดับมหาวิทยาลัย

1. ดร. พรชนก คัมภีรยส คูเวนเบริค

คณะเศรษฐศาสตร จฬุาลงกรณมหาวทิยาลัย

2. ดร. จิรวรรณ เดชานพินธ

คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

3. รศ.ดร.ไตรรัตน โภคพลากรณ

คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

4. รศ.ดร.ภูมิ โชคเหมาะ

คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง

5. รศ.เพิ่มบุญ แกวเขียว

คณะนิติศาสตร มหาวทิยาลัยรามคําแหง

6. รศ.ดร.สุพักตร พิบูลย

คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยสุโขทยัธรรมาธิราช

7. รศ.ดร.สมคิด พรมจุย

คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยสุโขทยัธรรมาธิราช

8. รศ.ดร.รชานนท ศุภพงศพิเชษฐ

ภาควิชาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

Page 141: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

126

ตารางที่ 7 (ตอ)

เกณฑการคัดเลือก ผูตอบแบบสัมภาษณ

3. ผูบริหารระดับกรมและกระทรวง 1. ดร. กนตธีร นุชสุวรรณ

เศรษฐกร สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

2. ดร. ชฎิล โรจนานนท

เศรษฐกร สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

3. ดร. สมเกียรติ ชอบผล

รองเลขาธิการสภาการศึกษา

4. ดร. ชินภัทร ภูมิรัตน

รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

5. ดร.ชัยพฤกษ เสรีรักษ

ผูอํานวยการกองนโยบาย และแผน สพฐ.

6. นางจาํรัส แยมสรอยทอง

ผูอํานวยการสํานักอทุธรณภาษีอากร กรมสรรพากร

7. ดร.สมชัย สัจจพงษ

รองผูอํานวยการ สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

8. นางลาวัลย ภูวรรณ

ผูอํานวยการสํานักนโยบายภาษีสํานักงานเศรษฐกิจ

การคลัง

2) ประชากรที่ดําเนินการเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถาม ไดแก

ก) หนวยงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ประกอบไปดวย กรุงเทพมหานครเมือง

พัทยา เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตําบล องคการบริหารสวนจังหวัด และองคการบริหารสวน

ตําบล รวม 7,855 แหง

ข) สถานศึกษาสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น สถานศึกษาสังกัดสํานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการและสถานศึกษาเอกชน ในระดับการศึกษาข้ัน

พื้นฐาน รวม 37,467 แหง

รวมประชากรสําหรับการเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถามจํานวน 45,322 แหงใน 75

จังหวัดทั่วประเทศไทยและกรุงเทพมหานคร โดยแบงเปน 5 ภาค คือ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาค

ตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต

Page 142: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

127

3) ผูทรงคุณวุฒิที่ทําการสัมภาษณเพื่อตรวจสอบยืนยันรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาท่ี

เหมาะสม โดยวิธีอางอิงผูทรงคุณวุฒิ (connoisseurship model) ประกอบดวยผูบริหารองคกรปกครอง

สวนทองถิ่น ผูทรงคุณวุฒิระดับมหาวิทยาลัย และผูบริหารระดับกรมและกระทรวง ผูวิจัยเลือกกลุม

ตัวอยาง จํานวน 15 คน แบบเจาะจง (purposive sampling) โดยมีเกณฑการคัดเลือก คือ ผูที่มีความ

เชี่ยวชาญพิเศษ ในดานการจัดเก็บภาษีอากร การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาและการจัดการศึกษา

ไดแก

ก) ผูบริหารองคการปกครองสวนทองถิ่น ที่มีความเช่ียวชาญพิเศษในดานการจัดเก็บ

ภาษีอากร การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาและการจัดการศึกษา จํานวน 5 คน

ข) ผูทรงคุณวุฒิระดับมหาวิทยาลัย ที่มีความเชี่ยวชาญพิเศษในดานการจัดเก็บภาษี

อากร,การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาและการจัดการศึกษา จํานวน 5 คน

ค) ผูบริหารระดับสูงของกรมและกระทรวง ที่มีความเชี่ยวชาญพิเศษในดานการจัดเกบ็

ภาษีอากร การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาและการจัดการศึกษา จํานวน 5 คน

ดังรายละเอียดตารางที่ 8

Page 143: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

128

ตารางที่ 8 ผูทรงคุณวุฒิตอบแบบสัมภาษณยืนยันรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

เกณฑการคัดเลือก ผูตอบแบบสัมภาษณ

ผูทรงคุณวุฒิที่มีความเ ช่ียวชาญ

พิเศษในการสัมภาษณเพื่อพิจารณา

รู ป แ บ บ ภ า ษี เ พื่ อ ก า ร ศึ ก ษ า ที่

เหมาะสม

1. ดร.กนตธีร นุชสุวรรณ

เศรษฐกร สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

2. ดร.ชฎิล โรจนานนท

เศรษฐกร สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

3. ดร.สมเกียรติ ชอบผล

รองเลขาธิการสภาการศึกษา

4. ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน

รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

5. ดร.ชัยพฤกษ เสรีรักษ

ผูอํานวยการกองนโยบาย และแผน สพฐ.

6. ดร.สมชัย สัจจพงษ

รองผูอํานวยการ สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

7. นายวัลลภ พร้ิงพงษ

รองอธิบดีกรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิน่

8. นายสกล ลีโนทยั

ผูอํานวยการสวนนโยบายการคลังและพฒันารายได

9. นายเสรินทร แกวพิจิตร

นายกเทศมนตรีนครนครปฐม

10.นายถาวร จันทรกลํ่า

ปลัดเทศบาลนครนครปฐม

11. คุณหญิงณฐนนท ทวีสิน

ปลัดกรุงเทพมหานคร

12. นางนภาพร อิสระเสรีพงษ

ผูอํานวยการกองรายไดสํานักการคลัง กทม.

Page 144: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

129

ตารางที่ 8 (ตอ)

เกณฑการคัดเลือก ผูตอบแบบสัมภาษณ

ผูทรงคุณวุฒทิี่มีความเช่ียวชาญ

พิเศษในการสัมภาษณเพื่อพจิารณา

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาที่

เหมาะสม

13. รศ.ดร.สุพกัตร พิบูลย

คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยสุโขทยัธรรมาธิราช

14. รศ.ดร.สมคิด พรมจุย

คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยสุโขทยัธรรมาธิราช

15. รศ.ดร.รชานนท ศุภพงศพิเชษฐ

ภาควิชาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหดิล

กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถามในการวิจัยคร้ังนี้ ไดแก หนวยงานขององคกรปกครองสวน

ทองถิ่น ประกอบไปดวย กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตําบล

องคการบริหารสวนจังหวัด องคการบริหารสวนตําบล สถานศึกษาสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น

สถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการและสถานศึกษา

เอกชน ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

โดยเลือกกลุมตัวอยางจากหนวยงานดังกลาว ผูวิจัยไดทําการกําหนดขนาดกลุมตัวอยางจากการ

เปดตารางของทาโร ยามาเน (Taro Yamane) ที่ระดับความเช่ือมั่นรอยละ 95 ไดขนาดกลุมตัวอยาง

จํานวน 397 หนวยงาน สวนวิธีการไดมาซึ่งกลุมตัวอยางทําการสุมตัวอยางโดยวิธีการสุมแบบแบงช้ัน

(multi - stage random sampling) และทําการสุมตัวอยางจาก 75 จังหวัดทั่วประเทศไทยและ

กรุงเทพมหานคร โดยแบงออกเปน 5 ภาค คือ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต

ผูใหขอมูล ผูใหขอมูลในการวิจัยคร้ังนี้ ประกอบดวย ผูบริหารหนวยงานองคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับสูง

ฝายการเมือง 1 คน และผูบริหารระดับสูงฝายขาราชการประจํา 1 คน รวม 2 คน ไดแกผูวาราชการ

กรุงเทพมหานครและปลัดกรุงเทพมหานคร นายกเทศมนตรีเมืองพัทยาและปลัดเมืองพัทยา

นายกเทศมนตรีและปลัดเทศบาล เทศบาลนคร เทศบาลเมืองและเทศบาลตําบล นายกองคการบริหาร

สวนจังหวัดและปลัดองคการบริหารสวนจังหวัด นายกองคการบริหารสวนตําบลและปลัดองคการ

บริหารสวนตําบล 75 จังหวัดทั่วประเทศไทยและกรุงเทพมหานคร

Page 145: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

130

ผูใหขอมูลในสวนของสถานศึกษาประกอบดวย ผูอํานวยการสถานศึกษา 1 คน ครูปฏิบัติการ 1

คน กรรมการสถานศึกษาข้ันฐาน 1 คน และผูปกครอง 1 คน รวม 4 คน ซึ่งสังกัดสํานักงาน

คณะกรรมการการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ สังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่นและ

สถานศึกษาเอกชน ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน 75 จังหวัด ทั่วประเทศไทยและกรุงเทพมหานคร

ดังรายละเอียดตารางที่ 9 และตารางที่ 10

ตารางที่ 9 จํานวนกลุมตัวอยาง หนวยงานองคกรปกครองสวนทองถิ่น ประกอบไปดวย

กรุงเทพมหานคร เมืองพทัยา เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตําบล

องคการบริหารสวนจังหวัดและองคการบริหารสวนตําบล

ผูใหขอมูล

ภาค

จํานวน

จังหวัด

จํานวน

จังหวัด

(เลือก)

กลุม

ตัวอยาง

(เลือก) ผูบริหารสูงสุด

ฝายการเมือง

ผูบริหารสูงสุดฝาย

ขาราชการประจํา

รวมผูให

ขอมูล

กรุงเทพมหานคร 1 1 2 2 2 4

ภาคกลาง 21 16 64 64 64 128

ภาคเหนือ 17 13 52 52 52 104

ภาคตะวันออก 4 2 8 8 8 16

ภาคตะวันออก

เฉียงเหนือ

19 14 56 56 56 112

ภาคใต 14 11 44 44 44 88

รวม 76 57 226 226 226 452

Page 146: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

131

ตารางที่ 10 จํานวนกลุมตัวอยาง สถานศึกษาประกอบไป สถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะ

กรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ สังกัดองคกรปกครองสวน

ทองถิ่นและสถานศึกษาเอกชน

ผูใหขอมูล

ภาค

จํานวน

จังหวัด

จํานวน

จังหวัด

(เลือก)

กลุม

ตัวอยาง

(เลือก)

ผูอํานวย

การ

ครู

ปฏิบัติการ

คณะกรรมการ

สถานศึกษาขั้น

พื้นฐาน

ผูปก

ครอง

รวม

ผูให

ขอมูล

กรุงเทพมหานคร 1 1 3 3 3 3 3 12

ภาคกลาง 21 16 48 48 48 48 48 192

ภาคเหนือ 17 13 39 39 39 39 39 156

ภาคตะวันออก 4 2 6 6 6 6 6 24

ภาคตะวันออก

เฉียงเหนือ

19 14 42 42 42 42 42 168

ภาคใต 14 11 33 33 33 33 33 132

รวม 76 57 171 171 171 171 171 684

ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรที่ใชในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ประกอบดวยตัวแปรพื้นฐานและตัวแปรที่ศึกษามี

รายละเอียดดังนี้

1. ตัวแปรพื้นฐาน เปนตัวแปรเก่ียวกบัสถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถามไดแก

สถานภาพการศึกษา การดํารงตําแหนง และประสบการณในการทํางาน

2. ตัวแปรที่ศึกษา ประกอบดวย โครงสรางการจัดเก็บภาษี หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี และ

หลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากร

โครงสรางการจัดเก็บภาษี ตามแนวคิดของ อดัม สมิธ (Adam Smith) หมายถึง การ

เก็บภาษีที่ดี จะตองมีความแนนอนแกผูเสียภาษีทุกคน ภาษีทุกประเภทที่จะจัดเก็บจะตองชัดเจนใน

เร่ืองฐานภาษี อัตราภาษี ตลอดจนกําหนดระยะเวลาในการเสียภาษีรวมทั้งยังตองเนนถึงความ

ประหยัดใหกับผูเสียภาษีอีกดวย นอกจากนั้นการจัดเก็บภาษีจะตองทําใหเกิดความเสมอภาคและเปน

ธรรมในสังคมดวย โดยใชสัญลักษณแทนองคประกอบที่ 1 โครงสรางการจัดเก็บภาษี(A) ประกอบดวย

องคประกอบยอย 4 ดาน ไดแก หนวยงานจัดเก็บ (S1) ฐานภาษี (S2) อัตราภาษี (S3) ระยะเวลาการ

จัดเก็บ (S4)

Page 147: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

132

หลักเกณฑการจัดเก็บภาษีไดนําแนวคิด อดัม สมิธ (Adam Smith) มาใชในงาวิจัย ซึ่ง

ประกอบดวยหลัก 4 ประการ คือ

1. หลักความเปนธรรม (equity) หมายถึง ประชาชนทุกคนในแตละประเทศควรจะตอง

เสียสละรายได หรือผลประโยชนทางเศรษฐกิจของตน โดยการเสียภาษีตามสวนของฐานะและ

ความสามารถในการหารายได เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของรัฐ ทั้งนี้ เพราะแตละคนตางไดรับ

ประโยชนและการคุมครองจากรัฐ

2. หลักของความแนนอน (certainty) หมายถึง ภาษีที่ประชาชนแตละคนจะตองเสียนั้น

จะตองมีความแนนอน ในลักษณะและรูปแบบของภาษีตลอดจนจํานวนที่จะตองเสียภาษี จะตองเปนที่

ชัดแจงแกผูเสียภาษีทุกคน

3. หลักของความสะดวก (convenience) หมายถึง การเก็บภาษีทุกชนิดควรจะตอง

จัดเก็บตามเวลา สถานที่ที่ผูเสียภาษีสะดวก และจะตองอํานวยความสะดวกในการเสียภาษีแกผูเสีย

ภาษีดวย

4. หลักของความประหยัด (economy) หมายถึง ภาษีทุกชนิดที่จัดเก็บนั้น ควรจะตอง

เปนภาระแกผูเสียภาษีนอยที่สุด แตยังผลใหรัฐบาลไดรับรายไดมากที่สุดเทาที่จะทําได

โดยใชสัญลักษณแทน องคประกอบที่ 2 หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี (B) ประกอบดวย

องคประกอบยอย 4 ดาน ไดแก 1) หลักความเปนธรรม (T1) 2) หลักของความแนนอน (T2) 3) หลัก

ของความสะดวก (T3) 4) หลักของความประหยัด (T4)

หลักเกณฑเกีย่วกับประสิทธิภาพของภาษีอากรไดนําแนวคิดของรังสรรค ธนะพรพนัธุ มาใช

ในการวิจัย ซึ่งประกอบดวยหลัก 6 ประการ คือ

1. หลักความเปนธรรม (equity) หมายถงึ ภาษีอากรทีเ่ปนธรรมเพราะถาหากการเก็บภาษี

อากรเปนไปอยางไมเปนธรรมแลว การหลบหลีกภาษี (evasion) จะมมีาก

2. หลักความเปนกลาง (neutrality) หมายถึง ภาษีอากรควรมีโครงสรางที่เปนกลาง

กลาวคือ จะตองพยายามไมใหการเก็บภาษีอากรมีผลกระทบกระเทือนตอการทํางานของกลไกตลาด

หรือมีผลกระทบกระเทือนแตเพียงเล็กนอย ทั้งนี้เพื่อใหกลไกตลาดสามารถทําหนาที่ในการจัดสรร

ทรัพยากรไปใชอยางมีประสิทธิภาพ

3. หลักความแนนอน (certainty) หมายถึง ภาษีอากรที่ดีและที่มีประสิทธิภาพ ควรเปน

ภาษีที่มีลักษณะความแนนอน โดยเฉพาะอยางยิ่งในแงรายไดของรัฐบาล รายไดของรัฐบาลที่ไดจาก

การเก็บภาษีอากรนั้น

4. หลักความประจักษแจง (evidence) หมายถึง ภาษีอากรที่ดีและที่มีประสิทธภิาพนัน้ ควร

จะเปนภาษีอากรที่ผูเสียประจักษและตระหนักในภาษีอากรที่ตนตองเสีย ทั้งนี้เพราะเหตุวา เมื่อพิจารณา

Page 148: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

133

ถึงรายจายของรัฐบาลกับรายไดจากภาษีอากรในระยะยาวแลว ภาษีอากรโดยขอเท็จจริง เปนราคาที่

มหาชนจายเพื่อสินคาและบริการที่ผลิตโดยรัฐบาล

5. หลักประสิทธิภาพในการบริหาร (administrative efficiency) หมายถงึ ภาษีอากรที่ดี

และที่มีประสิทธิภาพ ควรเปนภาษีที่เสียตนทนุในการจัดเก็บ (collection cost) ตํ่า

6. หลักผลการจํากัดรายจายสุทธ ิ(net expenditure restraining effect) หมายถึงการลด

การใชจายของเอกชน เพราะฉะนัน้ ภาษอีากรที่ดีและที่มีประสิทธิภาพจึงควรเปนภาษีอากรที่มผีลใน

การลดรายจายของเอกชน

โดยใชสัญลักษณแทน องคประกอบที่ 3 (C) หลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากร

ประกอบดวยองคประกอบยอย 6 ดาน ไดแก 1) หลักความเปนธรรม (E1) 2) หลักความเปนกลาง (E2)

3) หลักความแนนอน (E3) 4) หลักความประจักษแจง (E4) 5) หลักประสิทธิภาพในการบริหาร (E5) 6)

หลักผลการจํากัดรายจายสุทธิ (E6)

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้ ประกอบดวย

1. แบบสัมภาษณชนิดไมมีโครงสราง เพื่อสัมภาษณผูเชี่ยวชาญในรอบแรกเพื่อหา ตัวแปร

เกี่ยวกับ รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาที่เหมาะสมของประเทศไทย

2. แบบสอบถาม เพื่อสํารวจความคิดเห็นของหนวยงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

ประกอบไปดวย กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตําบล องคการ

บริหารสวนจังหวัด องคการบริหารสวนตําบล สถานศึกษาสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น สถานศึกษา

สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการและสถานศึกษาเอกชน ใน

ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน เกี่ยวกับรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทยที่ เหมาะสม

แบบสอบถามฉบับนี้ประกอบไปดวย

ตอนที่1 เปนแบบสอบถามเก่ียวกับสถานภาพและขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามมี

ลักษณะเปนแบบตรวจสอบรายการ (checklist) ถามรายละเอียดเกี่ยวกับ สถานภาพการศึกษา การ

ดํารงตําแหนง และประสบการณในการทํางาน จํานวน 3 ขอ

ตอนที่ 2 เปนแบบสอบถามเก่ียวกับ โครงสรางการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา จํานวน 34 ขอ

หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี 15 ขอ และหลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากร 25 ขอ รวม

จํานวนขอคําถาม 74 ขอ เปนมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ ตามแบบ ของลิเคิรท (likert scale)1 โดย

ผูวิจัยกําหนดระดับคาคะแนนของชวงน้ําหนักเปน 5 ระดับซ่ึงมีความหมายดังนี้

1Rensis Likert, อางถงึในพวงรัตน ทวีรัตน, วธิีวิจยัทางพฤติกรรมศาสตร (กรุงเทพฯ :

ฟร้ิงเกอรปร้ิน แอนดมีเดีย จาํกัด, 2536), 114 – 115.

Page 149: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

134

ระดับที่ 1 หมายถึง มีความคิดเห็นของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา มีคาน้ําหนักเทากับ

1 คะแนน

ระดับที่ 2 หมายถึง มีความคิดเห็นของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา มีคาน้ําหนักเทากับ

2 คะแนน

ระดับที่ 3 หมายถึง มีความคิดเห็นของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา มีคาน้ําหนักเทากับ

3 คะแนน

ระดับที่ 4 หมายถึง มีความคิดเห็นของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา มีคาน้ําหนักเทากับ

4 คะแนน

ระดับที่ 5 หมายถึง มีความคิดเห็นของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา มีคาน้ําหนักเทากับ

5 คะแนน

ในตอนทายของแตละองคประกอบจะเปนคําถามแบบปลายเปด (open end) ตอทายในแต

ละองคประกอบเพื่อใหผูตอบแบบสอบถามใหขอเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับ รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

ของประเทศไทยที่เหมาะสม

3. การประเมินในรูปแบบการอางอิงผูทรงคุณวุฒิ (connoisseurship) ดวยวิธีการนําเสนอราง

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาที่ไดมาจากผลการคํานวณคาทางสถิติในขอ 2 ใหผูทรงคุณวุฒิที่มีความ

เช่ียวชาญพิเศษไดพิจารณาประเด็นดานความเหมาะสม ความเปนไปได ความถูกตองและการใช

ประโยชน พรอมทั้งขอเสนอแนะ การวิพากษ เพื่อปรับปรุงใหได รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศ

ไทยที่เหมาะสม

การสรางและพัฒนาเครื่องมือ ผูวิจัยไดดําเนนิการสรางเคร่ืองมือสําหรับการวิจยั โดยมีข้ันตอนดังนี ้

ข้ันที่ 1 ศึกษาวรรณกรรม หลักการ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของจาก ตํารา เอกสารและ

งานวิจัยทั้งในประเทศและตางประเทศที่เกี่ยวของกับรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา เพื่อนํามาเปนแนวทาง

ในการสรางเคร่ืองมือ

ข้ันที่ 2 สัมภาษณผูทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญดานภาษีอากร การระดมทรัพยากรเพื่อ

การศึกษาและนําขอมูลดังกลาวมาเปนแนวทางในการสรางเคร่ืองมือ

ข้ันที่ 3 นําขอมูลที่ไดจากการศึกษาในข้ันที่ 1 และการสัมภาษณในข้ันที่ 2 นํามาวิเคราะห

และสังเคราะหขอมูลเนื้อหาทั้งหมด (content analysis) เพื่อกําหนดเปนกรอบแนวคิดตัวแปรทฤษฏีและ

ตัวแปรความคิดของการวิจัยเพื่อนําไปสรางเปนเคร่ืองมือภายใตคําแนะนําของอาจารยผูควบคุม

วิทยานิพนธและผูทรงคุณวุฒิ

ข้ันที่ 4 สรางแบบสอบถามตามขอบเขตของแตละตัวแปรตามกรอบความคิดของการวิจัย

และนําเสนออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและผูทรงคุณวุฒิจํานวน 5 คนเพื่อพิจารณาตรวจสอบความ

Page 150: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

135

ตรงของเนื้อหา (content validity) และภาษาที่ใช แลวนํามาปรับปรุงแกไขโดยใชเทคนิค (Index of Item

Objective Congruence : IOC)

การทดลองใชเครื่องมือ ผูวิจัยไดนําแบบสอบถามที่ปรับปรุงแกไขแลวนําไปทดลองใช (try out) โดยนําเคร่ืองมือ

ดังกลาวไปทดลองใชกับองคปกครองสวนทองถิ่น และสถานศึกษาที่ไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 15

หนวยงาน ประกอบดวยองคกรปกครองสวนทองถิ่นจํานวน 10 แหง สถานศึกษาสังกัดองคกรปกครอง

สวนทองถิ่น สถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานและสถานศึกษาเอกชน

รวม 5 แหง จํานวน 40 ชุด

นําแบบสอบถามที่ไดกลับคืนมา ตรวจสอบความถูกตอง วิเคราะหหาคาความเช่ือมั่น

(reliability) โดยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟา (α-coefficient) ของครอนบาค (Cronbach) ไดคาความ

เชื่อมั่นทั้งฉบับ เทากับ 0.91

การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลของการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ ไดดําเนินการตามข้ันตอนดังนี ้

1. ผูวิจัยทําหนังสือถึงคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร เพื่อขอใหทําหนังสือขอ

ความรวมมือไปยังผูทรงคุณวุฒิจํานวน 24 คน เพื่อขอความอนุเคราะหใหสัมภาษณเร่ืองรูปแบบภาษี

เพื่อการศึกษาของประเทศไทย

2. ผูวิจัยทําหนังสือถึงคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร เพื่อขอใหทําหนังสือขอ

ความรวมมือไปยังองคกรปกครองสวนทองถิ่น สถานศึกษาสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น

สถานศึกษาสังกัด สํานักงานคณะกรรมการการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการและ

สถานศึกษาเอกชน ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ซึ่งเปนกลุมตัวอยางเพื่อขอความอนุเคราะหตอบ

แบบสอบถามในการวิจัยคร้ังนี้สถานศึกษา

3. ผูวิจัยทําหนังสือถึงคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร เพื่อขอใหทําหนังสือขอ

ความรวมมือไปยังผูทรงคุณวุฒิจํานวน 15 คน เพื่อขอความอนุเคราะหใหสัมภาษณเร่ืองพิจารณาและ

ยืนยัน รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทย

การวิเคราะหขอมูล การศึกษาวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยไดวิเคราะหขอมูลโดยการรวบรวมขอมูลที่ผานการตรวจสอบ

อยางถูกตอง และนําขอมูลไปจัดระบบเพื่อนําไปวิเคราะหทางสถิติโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS และ

วิเคราะห รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาดวยโปรแกรม LISREL เพื่อยืนยันการสกัด รูปแบบภาษีเพื่อ

การศึกษา (confirmatory factor analysis)

Page 151: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

136

สถิติที่ใชในการวิจัย เพื่อใหการวิเคราะหขอมูลตรงตามวัตถุประสงคของการวิจัยในคร้ังนี้ ผูวิจัยใชสถิติในการ

วิเคราะหขอมูลดังนี้

1. เพื่อใหทราบขอมูลเกี่ยวกับกรอบแนวคิดของการวิจัย สถานภาพสวนตัวของผูตอบ

แบบสอบถาม โดยใชการวิเคราะหเนื้อหา (content analysis) และคาสถิติคาความถี่ (frequency) และ

รอยละ (percentage)

2. ศึกษาระดับความคิดเห็นรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา จากหนวยงานองคกรปกครองสวน

ทองถิ่น สถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

สถานศึกษาสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่นและสถานศึกษาเอกชน ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS หาคาคาเฉลี่ย (Χ ) และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.)

คาสัมประสิทธิ์การกระจาย (C.V.) แลวนําคาเฉล่ียของคะแนนท่ีได ตรวจสอบแลวมาเทียบตามเกณฑที่

กําหนด Best 2ดังนี้

คาเฉลี่ย 1.00-1.49 แสดงวา ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษานอย

ที่สุด

คาเฉลี่ย 1.50-2.49 แสดงวา ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษานอย

คาเฉลี่ย 2.50-3.49 แสดงวา ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาปาน

กลาง

คาเฉลี่ย 3.50-4.49 แสดงวา ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษามาก

คาเฉลี่ย 4.50-5.00 แสดงวา ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษามาก

ที่สุด

3. วิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยัน (confirmatory factor analysis) โดยใชโปรแกรมลิสเรล

(LISREL) ทําการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยัน โดยใชวิธีการประมาณคาพารามิเตอรดวยวิธี

Maximum Likelihood : ML และประเมินความถูกตองของโมเดลรวมทั้งตรวจสอบความกลมกลืน

ระหวางขอมูลเชิงประจักษกับโมเดล (JÕreskog & SÕrbom, 1989) รวมทั้งพิจารณาคาสถิติตาง ๆ ไดแก

ความคลาดเคล่ือนมาตรฐาน (standard errors of estimates) และคาสถิติวัดระดับความกลมกลืน

(goodness of fit measures) โดยการพิจารณาคาสถิติและดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (goodness of

fit measures) มีดังนี้

2John W. Best, Research in Education (Englewood Cliffs : Prentice – Hall Inc.,

1970), 204 – 208.

Page 152: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

137

3.1 คาสถิติไค-สแควร (chi-square statistics) เปนคาสถิติที่ใชทดสอบสมมติฐานทาง

สถิติวาฟงกชั่นความกลมกลืนมีคาเปนศูนย การคํานวณคาไค-สแควรคํานวณจากผลคูณขององศาอิสระ

กับคาของฟงกชั่นความกลมกลืน ถาคาไค-สแควรมีคาสูงมากแสดงวาฟงกชั่นความกลมกลืนแตกตาง

จากศูนยอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ นั่นคือโมเดลไมมีความสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษ โดยวิธีการ

ตีความ พิจารณาดูจากคาสถิติไค-สแควรมีคาตํ่ามาก ยิ่งมีคาใกลศูนยมากเทาไร แสดงวาโมเดล

สอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษ

3.2 ดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (Goodness of Fit Index : GFI) เปนดัชนีที่

JÕreskog & SÕrbom พัฒนาข้ึนเพื่อใชประโยชนจากคาไค-สแควรในการเปรียบเทียบระดับความ

สอดคลองกลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษของโมเดลสองโมเดล โดยคาดัชนี GFI จะมีคาอยูระหวาง 0 ถึง

1 โดยถา คา GFI มีคาเขาใกล 1 แสดงวาโมเดลมีความกลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษ

3.3 ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแกแลว (Adjusted Goodness of Fit Index :

AGFI) เมื่อนําดัชนี GFI มาปรับแกไขโดยคํานึงถึงขนาดขององศาอิสระ ซึ่งรวมทั้งจํานวนตัวแปรและ

ขนาดของกลุมตัวอยาง จะไดคาดัชนี AGFI โดยแปลผลเหมือนกับคา GFI

3.4 ดัชนีรากของคาเฉลี่ยกําลังสองของสวนเหลือ (Root Mean Squared Residual :

RMR) เปนดัชนีที่บอกขนาดของสวนที่เหลือโดยเฉล่ียจากการเปรียบเทียบระดับความกลมกลืนของ

โมเดลสองโมเดลกับขอมูลเชิงประจักษ โดยที่คาดัชนี RMR มีคาเขาใกลศูนย แสดงวาโมเดลมีความ

กลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษ เพื่อตรวจสอบความตรงของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา การวัดตัวแปร

แฝงแตละดาน ทั้งหมด 3 ดาน คือ โครงสรางการจัดเก็บภาษี หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี และหลักเกณฑ

เกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากร รวมทั้งวิเคราะหความสัมพันธเชิงสาเหตุระหวางองคประกอบใน

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

4. การประเมินในรูปแบบการอางอิงผูทรงคุณวุฒิ (connoisseurship) ผูวิจัยไดนําราง

องคประกอบที่ไดจากการวิเคราะห รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาที่เหมาะสมและเปนไปได จากผลการ

คํานวณคาทางสถิติ มาตรวจสอบและเพิ่มความเช่ือถือในการสรางรูปแบบที่เหมาะสม โดยการนําเสนอ

องคประกอบของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา ดวยวิธีโดยนําเสนอรางรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาให

ผูทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญพิเศษไดพิจารณาประเด็นดานความเหมาะสม ความเปนไปได ความ

ถูกตองและการใชประโยชน พรอมทั้งขอเสนอแนะ การวิพากษ เพื่อปรับปรุงใหไดรูปแบบที่เหมาะสม

โดยใชคาความถี่ (frequency) คารอยละ (percentage) และการวิเคราะหเนื้อหา (content analysis)

ซึ่งผูวิจัยไดคัดเลือกกลุมประชากรจากเกณฑของการเปนตัวแทนประชากรในดานตาง ๆ รวมทั้งส้ิน

จํานวน 15 คน คือ ผูบริหารองคการปกครองสวนทองถิ่น ที่มีความเชี่ยวชาญในดานการจัดเก็บภาษี

อากรและการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาและการจัดการศึกษา จํานวน 5 คน ผูทรงคุณวุฒิระดับ

มหาวิทยาลัย ที่มีความเชี่ยวชาญในดานการจัดเก็บภาษีอากรและการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา

Page 153: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

138

จํานวน 5 คน และผูบริหารระดับสูงของกรมและกระทรวงท่ีมีความเชี่ยวชาญในดานการจัดเก็บภาษี

อากรและการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา จํานวน 5 คน

สรุป

การวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive research) มีวัตถุประสงคเพื่อทราบ

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาที่เหมาะสมกับประเทศไทย หนวยในการวิเคราะหคร้ังนี้คือองคกรปกครอง

สวนทองถิ่น สถานศึกษาสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น สถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการ

การจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการและสถานศึกษาเอกชน จํานวนรวมทั้งส้ิน 45,322

แหง 75 จังหวัด และกรุงเทพมหานคร โดยนํามาแบงตามภาคภูมิศาสตร คือ ภาคเหนือ ภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลางและภาคใต ไดกลุมตัวอยาง 397 หนวย จากตารางทาโร

ยามาเน (Taro yamana) ที่ระดับความเชื่อมั่นรอยละ 95

เคร่ืองมือการวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยศึกษาเอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวของทั้งในประเทศและ

ตางประเทศประกอบกับการใชแบบสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง เพื่อสัมภาษณผูเช่ียวชาญในดานภาษี

อากรและดานการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ผูตอบแบบสัมภาษณ ไดแกผูบริหารระดับสูงจาก

หนวยงานองคกรปกครองสวนทองถิ่น กระทรวงการคลังและกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อทราบรูปแบบภาษี

เพื่อการศึกษา ดานโครงสรางและองคประกอบที่สําคัญเกี่ยวกับภาษีเพื่อการศึกษา เพื่อทําการวิเคราะห

และสังเคราะหเนื้อหาไดตัวแปรในการจัดทําขอกระทงคําถาม

แบบสอบถามเปนการสอบถามระดับความคิดเห็นในเร่ืองความเหมาะสมของรูปแบบภาษีเพื่อ

การศึกษา ประกอบดวยสามตอน ตอนแรกเปนการสอบถามสถานภาพ การดํารงตําแหนง และ

ประสบการณในการดํารงตําแหนง ตอนที่สอง เปนการสอบถามระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับ โครงสราง

การจัดเก็บภาษี หลักเกณฑการจัดเก็บภาษีและหลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากร ในแต

ละองคประกอบจะเปนคําถามแบบปลายเปด (opened end)

การเก็บรวบรวมขอมูลผูวิจัยสงแบบสอบถามไปยังหนวยวิเคราะหจํานวน 397 แหง เปน

แบบสอบถาม 1,136 ฉบับ และไดรับแบบสอบถามที่สมบูรณ คืนจํานวน 322 แหง จํานวน 928 ฉบับ คิด

เปนรอยละ 81.12 ไดวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป (SPSS) เพื่อหาคารอยละ (percentage)

คาเฉลี่ย (mean) คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน (standard deviation) และการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยัน

(confirmatory factor analysis) โดยใชโปรแกรมลิสเรล (LISREL) เพื่อยืนยันการสกัดองคประกอบตัว

แปรแฝงแตละดาน ทั้งหมด 3 ดาน คือ โครงสรางการจัดเก็บภาษี หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี หลักเกณฑ

เกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากร รวมทั้งการวิเคราะหความสัมพันธเชิงสาเหตุระหวางองคประกอบ

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา และการประเมินรูปแบบการอางอิงผูทรงคุณวุฒิ (connoisseurship) โดยนํา

รางองคประกอบที่ไดจากการวิเคราะห รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาที่เหมาะสมและเปนไปได คํานวณหา

Page 154: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

139

คาทางสถิติ เพื่อตรวจสอบความเช่ือถือในการสรางรูปแบบที่เหมาะสม โดยการนําเสนอ รูปแบบภาษีเพื่อ

การศึกษา ใหผูทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญพิเศษไดพิจารณาประเด็นดานความเหมาะสม ความ

เปนไปได ความถูกตอง และการใชประโยชน พรอมทั้งขอเสนอแนะ การวิพากษ เพื่อปรับปรุงใหได

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาที่เหมาะสมของประเทศไทย

Page 155: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

140

บทที่ 4

การวิเคราะหขอมูล

การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทย หนวย

วิเคราะห คือ หนวยงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ซึ่งประกอบไปดวย กรุงเทพมหานคร เมอืงพทัยา

เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตําบล องคการบริหารสวนจังหวัด องคการบริหารสวนตําบล

รวมทั้งหนวยงานทางการศึกษาซึ่งประกอบไปดวย สถานศึกษาสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น

สถานศึกษาซ่ึงสังกัดสํานักคณะกรรมการการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการและ

สถานศึกษาเอกชน ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน 75 จังหวัดทั่วประเทศไทยและกรุงเทพมหานคร

แบงเปน 5 ภาค คือ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต รวมจํานวน

397 แหง เปนแบบสอบถาม 1,136 ฉบับ และไดรับแบบสอบถามที่สมบูรณ คืนจํานวน 322 แหง จํานวน

928 ฉบับ คิดเปนรอยละ 81.12 นําไปวิเคราะหเพื่อยืนยันการสกัดองคประกอบ (confirmatory factor

analysis) โดยผูวิจัยไดนําขอมูลมาวิเคราะหและเสนอผลการวิเคราะหโดยแบง 3 ตอน ดังนี้

ตอนท่ี 1 การวิเคราะหและกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ประกอบดวย 3 ตอน คือ

1.1 การวิเคราะหเอกสารที่เกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎีดวยการวิเคราะหเนื้อหา

(content analysis)

1.2 การสัมภาษณความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวกับองคประกอบ

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญดานการจัดเก็บภาษีอากร และ

การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา จํานวน 24 คน ผูบริหารองคการปกครองสวนทองถิ่น จํานวน 8 ทาน

ผูทรงคุณวุฒิระดับมหาวิทยาลัย จํานวน 8 ทาน และผูบริหารระดับสูงของกรมและกระทรวง จํานวน 8

ทาน เพื่อสรุปผลการสัมภาษณและแนวคิดทฤษฎีที่ไดจากการวิเคราะหเอกสารแลวนํามาสรางเปนตัว

แปรขอคําถามของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

ตอนท่ี 2 การวิเคราะหความเหมาะสมของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา ประกอบดวย 2 ข้ันตอน

2.1 การวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยัน (confirmatory factor analysis)

ความคิดเห็นของกลุมตัวอยาง ซึ่งผูตอบแบบสอบถามคือผูบริหารองคกรปกครองสวนถิ่น ผูบริหาร ครู

ปฏิบัติงาน กรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ผูปกครอง ของสถานศึกษาสังกัดองคกรปกครองสวน

Page 156: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

141

ทองถิน่และสังกัดคณะกรรมการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการและสถานศึกษาของ

ภาคเอกชน ในระดับการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน 3 ข้ันตอน ดังนี ้

2.1.1 การวิเคราะหสถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม

2.1.2 การวิเคราะหระดับความคิดเหน็เกีย่วกับตัวแปรทีเ่ปน

องคประกอบของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

2.1.3 การวเิคราะหองคประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง (second order

confirmatory factor analysis) ดวยวธิีการสกัดปจจัย (principal component analysis : P C A)

เพื่อใหเหลือตัวแปร ที่สําคัญ

ตอนท่ี 3 การวิเคราะหตรวจสอบยืนยนัรูปแบบภาษีเพือ่การศึกษาที่เหมาะสม โดยวิธีอางอิง

ผูทรงคุณวุฒ ิ(connoisseurship model) ประกอบดวย 2 ข้ันตอน คือ

3.1 การวิเคราะหคาความถี่และคารอยละของผูทรงคุณวุฒิที่มีตอรูปแบบภาษี

เพื่อการศึกษา

3.2 การสังเคราะหขอสรุปความคิดเห็นในดานขอเสนอแนะเพิ่มเติม และขอ

วิจารณของผูทรงคุณวุฒิที่มีตอองคประกอบของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

ตอนท่ี 1 การวิเคราะหและกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย

ในข้ันตอนนี้ผูวิจยัไดกําหนดการศึกษาวเิคราะหขอมูลและดําเนนิการ ดังนี ้

1.1 การศึกษาวิเคราะหแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของดังตอไปนี ้ 1.1.1 วิเคราะหหลักการแนวคิดทฤษฎี และขอคนพบตาง ๆ ที่เกี่ยวกับ

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

1.1.2 วิเคราะหหลักการแนวคิดทฤษฎีและขอคนพบเกี่ยวกับรูปแบบภาษีเพื่อ

การศึกษาของตางประเทศไดแก ประเทศสหรัฐอเมริกา ฝร่ังเศส แคนาดา สาธารณรัฐประชาชนจีน

เกาหลีใตและประเทศญ่ีปุน รวมทั้งขอคนพบจากการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญเร่ืองการ

จัดเก็บภาษีอากรและการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา 1.1.1 การวิเคราะหหลกัการแนวคิดทฤษฎี จากการวิเคราะหหลักการแนวคิดทฤษฎี และขอคนพบตาง ๆ ที่เกี่ยวกับขอมูลภาษีเพื่อ

การศึกษาทั้งในและตางประเทศไดดังนี้

โครงสรางการจัดเก็บภาษี ตามแนวคิดของ อดัม สมิธ (Adam Smith) หมายถึง การ

เก็บภาษีที่ดี จะตองมีความแนนอนแกผูเสียภาษีทุกคน ภาษีทุกประเภทท่ีจะจัดเก็บจะตองชัดเจนใน

เร่ืองฐานภาษี อัตราภาษี ตลอดจนกําหนดระยะเวลาในการเสียภาษี รวมทั้งยังตองเนนถึงความ

Page 157: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

142

ประหยัดใหกับผูเสียภาษีอีกดวย นอกจากนั้นการจัดเก็บภาษีจะตองทําใหเกิดความเสมอภาคและเปน

ธรรมในสังคมดวย

หลักเกณฑการจัดเก็บภาษีที่ดี 4 ประการ ตามทฤษฎีของ อดัม สมิธ (Adam Smith)

ไดแก

1. หลักความเปนธรรม (equity) หมายถึง ประชาชนทุกคนในแตละประเทศควรจะตอง

เสียสละรายได หรือผลประโยชนทางเศรษฐกิจของตน โดยการเสียภาษีตามสวนของฐานะและ

ความสามารถในการหารายได เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของรัฐ ทั้งนี้ เพราะแตละคนตางไดรับ

ประโยชนและการคุมครองจากรัฐ

2. หลักของความแนนอน (certainty) หมายถึง ภาษีที่ประชาชนแตละคนจะตองเสียนั้น

จะตองมีความแนนอน ในลักษณะและรูปแบบของภาษีตลอดจนจํานวนที่จะตองเสียภาษี จะตองเปนที่

ชัดแจงแกผูเสียภาษีทุกคน

3. หลักของความสะดวก (convenience) หมายถึง การเก็บภาษีทุกชนิดควรจะตองจัดเก็บ

ตามเวลา สถานที่ที่ผูเสียภาษีสะดวกและจะตองอํานวยความสะดวกในการเสียภาษีแกผูเสียภาษีดวย

4. หลักของความประหยัด (economy) หมายถึง ภาษีทุกชนิดที่จัดเก็บนั้น ควรจะตอง

เปนภาระแกผูเสียภาษีนอยที่สุด แตยังผลใหรัฐบาลไดรับรายไดมากที่สุดเทาที่จะทําได

จากแนวคิดของ อดัม สมิธ (Adam Smith) ที่เสนอไวขางตน สรุปไดวา การเก็บภาษี

อากรที่ดี จะตองมีความแนนอนแกผูเสียภาษีอากรทุกคน ภาษีอากรทุกประเภทที่จะจัดเก็บจะตองเปน

ที่ชัดเจนในเร่ืองฐานภาษี อัตราภาษี ตลอดจนกําหนดระยะเวลาในการเสียภาษี รวมทั้งยังตองเนนถึง

ความประหยัดใหกับผูเสียภาษีอีกดวย นอกจากนั้นการจัดเก็บภาษีจะตองทําใหเกิดความเสมอภาคและ

เปนธรรมในสังคมดวย ซึ่งถือวาเปนหัวใจของระบบภาษีอากรที่ดีนอกจากนี้ยังมีทฤษฎีการภาษีอ่ืน ๆ

อันมีหลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษี(efficiency criteria) ซึ่งเปนระบบภาษีที่มีประสิทธิภาพ

และเหมาะสมกับประเทศโดยสวนรวม รวม 6 หลักเกณฑ ตามที่รังสรรค ธนะพรพันธุ ไดเสนอไว คือ

1) หลักความเปนธรรม (equity) 2) หลักความเปนกลาง (neutrality) 3) หลักความแนนอน (certainty)

4) หลักความประจักษแจง (evidence) 5) หลักประสิทธิภาพในการบริหาร (administrative

efficiency) 6) หลักผลการจํากัดรายจายสุทธิ (net expenditure restraining effect) 1.1.2 การวิเคราะหรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของตางประเทศ ในประเทศสหรัฐอเมริกา ภาษีเพื่อการศึกษาสําหรับการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนของ

รัฐนั้น ไดมาจากเงินอุดหนุนจากรัฐบาลกลางโดยการจัดเก็บภาษีจากเงินไดของประชาชนและการ

จัดเก็บภาษีทรัพยสินและภาษีขายของมลรัฐทองถิ่น นอกจากนี้ ยังไดสงเงินอุดหนุนใหโรงเรียนเอกชน

เปนเงินชวยการศึกษาและทุนการศึกษาพรอมทั้งยังมีมาตรการจูงใจดานภาษี โดยมีมาตรการใหคูปอง

Page 158: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

143

และทุนการศึกษาเพื่อใหผูปกครองสามารถมีทางเลือกที่หลากหลายในการนําบุตรหลานเขาเรียนใน

โรงเรียนของรัฐหรือเอกชน สวนมาตรการเครดิตภาษีเพื่อการศึกษาก็คือการหักสวนเงินที่นําไปใชเพื่อ

การศึกษาออกจากยอดภาษีที่จะตองเสียเต็ม

ประเทศฝร่ังเศส เปนประเทศที่มีมาตรการจูงใจดานภาษี โดยรวมมือกับเปนโครงการ

ภายใตความรวมมือระหวางรัฐบาลกลางของฝร่ังเศสกับองคการบริหารสวนทองถิ่น โดยไดเจรจาความ

รวมมือกับกลุมอุตสาหกรรมบางกลุม เพื่อจัดต้ังกองทุนการเงินและมาตรการทางภาษีเพื่อกระตุนให

ภาคอุตสาหกรรมจัดกิจกรรมดานการวิจัยและพัฒนา มากยิ่งข้ึน ทั้งนี้ บริษัทตางๆ ที่มีคุณสมบัติตาม

เงื่อนไขที่กําหนดจะไดรับเงินอุดหนุนในรูปแบบของเงินชวยเหลือแบบใหเปลา หรือไดรับการสนับสนุน

การกูเงินในอัตราดอกเบี้ยตํ่า จากคณะกรรมการสาธารณูปโภคประจําเขต หรือสภาประชาคม และ

หอการคาสวนทองถิ่น นอกจากนั้นแลว สถานประกอบการตาง ๆ นี้สามารถนําคาใชจายจากการวิจัย

และพัฒนาที่เกิดข้ึนมาหักภาษีไดอีก

ประเทศแคนาดา ไดสรางมาตรการจูงใจดานการจัดภาษีเพื่อการศึกษากับบริษัทหรือธุรกิจ

อ่ืนที่ไมดําเนินกิจการในรูปของบริษัท โดยมอบหมายใหกระทรวงการคลังเปนผูดูแลรับผิดชอบโครงการ

โดยกําหนดใหเมืองออนทาริโอ (Ontario ) เปนพื้นที่เปาหมาย

สาธารณรัฐประชาชนจีนภายหลังจากที่มีการปฏิรูปการศึกษาไดเปล่ียนโครงสรางระบบ

การศึกษา การจัดสรรงบประมาณ และแนวทางการใชมาตรการทางภาษีเพื่อระดมทรัพยากรทาง

การศึกษาหลายสวนโดยไดกําหนดกรอบการจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาไวมากข้ึนโดยจัดสรร

งบประมาณจากรัฐบาลทองถิ่นและรัฐบาลกลางเปน 2 ตอ 1 ทั้งนี้เพื่อเปนการประกันเงื่อนไขพื้นฐานเพื่อ

การปฏิรูปการศึกษาดวยการขยายการจัดสรรงบประมาณ สวัสดิการและครุภัณฑ จึงไดมีกฎหมาย

การศึกษาแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยรัฐจะตองสรางระบบการจัดสรรงบประมาณในการจัดหาทุน

เพื่อการศึกษาดวยมาตรการตาง ๆ

นอกจากรัฐไดจัดสรรเงินงบประมาณเพื่อการศึกษารอยละ 4 ของผลิตภัณฑมวลรวม

ประชาชาติ ในขณะที่หนวยงานรัฐทุกระดับจะตองจัดต้ังเงินกองทุนพิเศษเพื่อจัดการศึกษาภาคบังคับใน

เขตพื้นที่ยากจน ซึ่งจะครอบคลุมรอยละ 15 ของประชากรในเขตดังกลาวและคอย ๆ เพิ่มการจัดสรร

งบประมาณเพื่อการศึกษาและรักษาเงินกองทุนพิเศษดวยอยางนอยไมตํ่ากวา 10 พันลานหยวนทุกป

รัฐจัดใหมีระบบจัดเก็บคาธรรมเนียมพิเศษซึ่งหมายถึงคาธรรมเนียมเพื่อการศึกษาในพื้นที่ชนบทและ

คาธรรมเนียมพิเศษทองถิ่นเพื่อการศึกษา

ในสวนนโยบายสนับสนุนดานภาษี รัฐบาลมีนโยบายจัดเก็บภาษีอัตราตํ่าหรือไมจัดเก็บภาษี

จากสถานประกอบการที่ดําเนินการเปนโรงเรียนหรือสถานศึกษา รวมทั้งสงเสริมใหมีการรับบริจาคเงิน

เพื่อการศึกษาจากทองถิ่นและองคการสังคมระหวางประเทศและสงเสริมใหโรงงาน สถานประกอบการ

Page 159: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

144

องคกรเพื่อสังคมรับบริจาคเงินทุนจากภายในและตางประเทศเพ่ือนํามาใชจายเพื่อการศึกษา

ทั้งนี้เงินบริจาคจะสามารถนํามาหักภาษีไดและเพื่อเปนการผอนคลายภาระคาใชจายในการจัด

การศึกษา สถานศึกษาบางประเภทสามารถจัดเก็บคาธรรมเนียมพิเศษเพื่อการศึกษา สําหรับระดับ

การศึกษาที่ไมใชการศึกษาภาคบังคับและสถานศึกษาสามารถเก็บคาเลาเรียนไดดวยการหารายไดจาก

โรงเรียนที่เปนสถานประกอบการ การเพิ่มเงินกองทุนเพื่อจัดการศึกษาในเขตชนบท การรับเงินบริจาค

จากหนวยงานภายในประเทศและองคกรสังคมตางประเทศและสรางธนาคารเพื่อการศึกษาสมาคม

กองทุนเพื่อการศึกษาแหงชาติจีน โดยรัฐบาลไดกําหนดอัตราภาษีใหมที่สอดคลองกับนโยบายการ

ขยายตัวดานการศกึษาอีกดวย

ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีใตมีนโยบายในการเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ซึ่งเปนภาษีที่มี

เปาหมายเฉพาะเจาะจง เพื่อระดมเงินที่ไดมาจัดการศึกษา โดยรัฐบาลไดกําหนดระยะเวลาการทดลอง

เก็บภาษีดังกลาวเปนเวลา 5 ป เร่ิมต้ังแตป พ.ศ.2524 ผลปรากฏวา การเก็บภาษีลักษณะดังกลาวไม

ประสบความสําเร็จเทาที่ควร เนื่องจากจํานวนรายรับจากภาษีเพื่อการศึกษาที่เก็บไดมีจํานวนไมมาก

พอในการบริหารการศึกษา ตามแนวทางการปฏิรูปที่วางไว ดังนั้น รัฐบาลจึงไดแกไขกฎหมายภาษีเพื่อ

การศึกษาภายหลังทดลองใช 5 ป เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บตอไป ทั้งนี้ เพื่อเปนการประกัน

ความม่ันคงในเร่ืองการเงินทางการศึกษาและเพื่อเปนการแบงเบาภาระดานคาใชจายเพื่อการจัด

การศึกษา รัฐบาลไดใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมเปนอยางมาก โดยที่สถานศึกษาเอกชนสามารถ

บริหารงานโดยใชคาเลาเรียนและคาหนวยกิตที่เก็บจากผูเรียน โดยในการสรางแรงจูงใจเพื่อชักชวนให

ภาคเอกชนเขามาจัดการศึกษานั้น รัฐบาลไดกําหนดสิทธิพิเศษที่โรงเรียนเอกชนจะไดรับ คือ การยกเวน

ภาษีและไดรับเงินชวยเหลือในสวนของคาตอบแทนครู และงบบริหารจัดการตลอดจนไดรับการ

สนับสนุนเงินกูเพื่อการขยายกิจการหรือลงทุนพัฒนาเทคโนโลยีใหม ๆ ทางการศึกษาที่รัฐจัดสรรผาน

กองทุนสงเสริมการศึกษาเอกชนเกาหลีใต ซึ่งนโยบายดังกลาวสามารถระดมทุนจากภาคเอกชนที่มา

ลงทุนเพื่อการศึกษาไดในระดับหนึ่ง

ในประเทศญี่ปุนกระทรวงศึกษาธิการ รับผิดชอบเร่ืองการจัดการศึกษาของชาติรัฐบาลได

จัดสรรงบประมาณการศึกษาไปที่กระทรวงศึกษาธิการเพียงกระทรวงเดียว เพื่อใหกระทรวงศึกษาธิการ

จัดสรรงบประมาณใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยตรงและงบประมาณเพื่อการศึกษาสวนใหญก็

ใชไปเพื่อสนับสนุนการศึกษาภาคบังคับ ซึ่งเปนภาระของรัฐที่ตองจัดการศึกษาฟรีใหเปนเวลาเกาปจนถึง

ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน งบประมาณเกือบคร่ึงหนึ่งของคาใชจายเพื่อการศึกษา อยูในความรับผิดชอบ

ของรัฐบาลกลางและอีกกวาคร่ึงหนึ่งอยูในความรับผิดชอบขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ในดาน

การเงินการงบประมาณที่ระดับสถานศึกษานั้นเองจากการศึกษาภาคบังคับเปนการศึกษาที่จัดใหโดยไม

มีการจัดเก็บคาเลาเรียน ทั้งในโรงเรียนประถมและมัธยมศึกษาตอนตนของรัฐ ทั้งโรงเรียนที่ข้ึนอยูกับ

Page 160: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

145

สวนกลางและโรงเรียนสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น แตมีการจัดเก็บคาเลาเรียนสําหรับระดับ

มัธยมศึกษาตอนปลาย ทั้งโรงเรียนที่ข้ึนอยูกับสวนกลางและโรงเรียนสังกัดองคกรปกครองทองถิ่นและ

ระดับอุดมศึกษา ทั้งของสวนกลางและสวนที่สังกัดองคกรปกครองทองถิ่น สวนสถานศึกษาเอกชนนั้น

รายไดสวนหนึ่งของสถานศึกษาเอกชนมาจากเงินอุดหนุนที่ไดรับจากกระทรวงศึกษาธิการและองคกร

ปกครองทองถิ่นดวยและเมื่อประเทศญ่ีปุนรับระบบการศึกษาแบบตะวันตกเขามา ไดออกแบบระบบ

การบริหารการศึกษาใหม โดยใหการจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษาใหเปนหนาที่ของชุมชน โดยใน

ระยะแรกผูปกครองรับภาระคาใชจายเอง แตตอมาไดมีการออกกฎหมายจัดเก็บภาษีทองถิ่นเพื่อ

การศึกษา และเมื่อการศึกษาขยายถึงระดับมัธยมศึกษามีความตองการครูมีมากข้ึน ไดมีการออก

กฎหมายกําหนดใหรัฐบาลกลางสนับสนุนงบประมาณแผนดินในสวนของเงินเดือนครู เพื่อชวยแบงเบา

ภาระของทองถิ่นเพิ่มข้ึน สรุปภาษีเพื่อการศึกษาในประเทศตาง ๆ ดังรายละเอียดตารางที่ 11

Page 161: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

146

ตารางที่ 11 สรุปภาษีเพื่อการศึกษาในประเทศตาง ๆ

ที ่ ประเทศ ฐานภาษ ี มาตรการอื่น

1. สหรัฐอเมริกา - ภาษีเงนิได

- ภาษีทรัพยสิน

- ภาษีมูลคาเพิ่ม

- ภาษีขายของมลรัฐทองถิน่

- เงนิอุดหนุนโรงเรียนเอกชน

- มาตรการจงูใจดานภาษ ี

- มาตรการเครดิตภาษี

2. ฝร่ังเศส - ภาษีเงนิได

- ภาษีมูลคาเพิ่ม

- มาตรการจงูใจดานภาษ ี

- มาตรการเครดิตภาษี

3. แคนาดา - ภาษีเงนิได

- ภาษีมูลคาเพิ่ม

- มาตรการจงูใจดานภาษ ี

4. สาธารณรัฐประชาชนจีน - ภาษีเงนิได

- ภาษีทองถิน่จัดเก็บ

- มาตรการจงูใจดานภาษ ี

- เงนิบริจาคเพื่อการศึกษา

5. เกาหลีใต - ภาษีเงนิได

- ภาษีเพื่อการศึกษา

- มาตรการจงูใจดานภาษ ี

- มาตรการเครดิตภาษี

6, ญ่ีปุน - ภาษีเงนิได

- ภาษีมูลคาเพิ่ม

- ภาษีเพื่อการศึกษา

- ไมพบวามีมาตรการจูงใจดาน

ภาษี

จากการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิ 3 กลุม คือ ผูบริหารองคการปกครองสวนทองถิ่น

ผูทรงคุณวุฒิระดับมหาวิทยาลัยและผูบริหารระดับกรมและกระทรวง ทุกคนมีความเห็นสอดคลองกันใน

การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา เพราะเปนประโยชนตอการจัดการศึกษาที่ยังขาดแคลนทรัพยากรและ

งบประมาณ ทั้งนี้ใหเปนไปตามกฎหมายที่เกี่ยวของ สวนแนวนโยบาย ผลกระทบและวิธีการการจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษานั้น มีความแตกตางกันบางกลาวคือ หนวยงานที่จัดเก็บสวนใหญเห็นวา ควรให

องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนผูจัดเก็บ โดยคํานึงถึงองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มีความพรอม ทั้งนี้

เพราะเหตุผลวาเปนหนวยงานนั้น ๆ ทราบขอมูลพื้นฐานของผูชําระภาษีไดดีกวาหนวยงานอ่ืน ดาน

ผลกระทบตอคาใชจายหากเปนการจัดเก็บกับบุคคลที่เกี่ยวของหรือไดรับประโยชนจากการศึกษา

โดยตรง ผูทรงคุณวุฒิสวนใหญเห็นวาจะมีผลกระทบนอยในการจัดเก็บจากฐานภาษีใหม กลาวคือ

ทรัพยสิน มรดก สินคาฟุมเฟอย ภาษีมลพิษและภาษีที่จัดเก็บจากแหลงอบายมุข (sin tax)

ดังรายละเอียดตารางที่ 12

Page 162: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

147

ตารางที่ 12 สรุปแนวคิดของผูทรงคุณวุฒิ

ที ่ หัวขอการศึกษา สาระสําคัญจากคําตอบ หมายเหตุ

1. ความเห็นเกี่ยวกับการจัดเกบ็

ภาษีเพื่อการศึกษาในประเทศ

ไทย

เห็นดวยกับการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษา

2. หนวยงานที่จดัเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษา

องคกรปกครองสวนทองถิน่

3. โครงสรางฐานภาษีเพื่อการศึกษา ฐานใหม เชน ทรัพยสิน

มรดก sin tax มลพิษ ธุรกิจ

การพนันและใหมีการทาํ

ประชาพิจารณ

4. อัตราการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาที่เหมาะสม

แบบภาษีมูลคาเพิ่มหรือแบบ

กาวหนาหรือแบบถดถอย

ทั้งนี้ควรมีการทําประชา

พิจารณ ระดับทองถิน่

5. ระยะเวลาและรูปแบบในการ

จัดเก็บภาษีเพือ่การศึกษาที่

เหมาะ

เวลาและรูปแบบเดิมที่

ทองถิน่จัดเก็บหรือทําประชา

พิจารณ

6. การจัดสรรเงินภาษีเพื่อการศึกษา ใหเทาเทียมทกุทองถิ่น โดย

คิดรายจากหัวนักเรียนและ

การอุดหนุนจากสวนกลาง

7. ความเปนธรรมในการจัดเกบ็ภาษี

เพื่อการศึกษา

ฐานภาษีใหม และ

ผูเกี่ยวของกับการศึกษา

8. ประสิทธิภาพการบริหารในการ

จัดเก็บภาษีเพือ่การศึกษา

องคกรปกครองสวนทองถิน่

และจุดชําระอ่ืน ๆ เชน

ธนาคาร

ผูวิจัยทําการสังเคราะหขอมูลที่ไดมาจากการคนควาทางเอกสารวิชาการ งานวิจัยทั้งใน

ประเทศและตางประเทศ รวมทั้งการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญทางภาษีอากร การระดม

Page 163: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

148

ทรัพยากรเพื่อการศึกษาและการจัดการศึกษาและไดขอสรุปเกี่ยวกับองคประกอบที่สําคัญของรูปแบบ

ภาษีเพื่อการศึกษา เพื่อนํามาสรางเปนขอคําถามใหแกกลุมตัวอยาง ดังรายละเอียดในตารางที่ 13

ตารางที่ 13 แสดงผลสรุปการสังเคราะหเอกสารทางวชิาการทั้งในและตางประเทศ และจาก

สัมภาษณผูทรงคุณวุฒิเกีย่วกับองคประกอบรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

แนวคิดทฤษฎีที่ศึกษา สาระสําคัญทีน่ําไปใช

ดานโครงสรางการจัดเก็บภาษี - การจัดสรรเงนิงบประมาณอุดหนนุรายหวั

นักเรียนในปจจุบันของกระทรวงศึกษาธิการ

มีความเหมาะสม

- ควรปรับหลักเกณฑการจดัสรรงบประมาณ

เงินอุดหนนุรายหวัแกโรงเรียนโดยคํานงึถงึ

สภาพที่ต้ังเขตในเมือง เขตชนบท และขนาด

โรงเรียน ใหญ กลาง เล็ก

- ในการพิจารณากําหนดอัตราและฐานภาษี

การศึกษาควรวิเคราะหตนทุนที่แทจริงของ

การจัดการศึกษาในแตละทองถิน่

- ประชาชนทกุคนควรมีสวนรวมในการจดั

การศึกษาโดยการชาํระภาษีเพื่อการศึกษา - ควรจัดเก็บภาษีจากสถานบันเทงิ สถาน

ประกอบธุรกจิการพนนั กาสิโน สนามจัด

แขงขันมา (sin tax) เพื่อจัดสรรสนับสนุน

การศึกษา

- ควรจัดเก็บภาษีจาก มรดก เพื่อจัดสรร

สนับสนนุการศึกษา

- ควรจัดเก็บภาษีจาก ทรัพยสิน เพื่อจัดสรร

สนับสนนุการศึกษา

Page 164: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

149

ตารางที่ 13 (ตอ)

แนวคิดทฤษฎีที่ศึกษา สาระสําคัญทีน่ําไปใช

ดานโครงสรางการจัดเก็บภาษี - ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพื่อนาํไปสนับ

สนนุแกเด็กยากจน เด็กดอยโอกาส เด็ก

พิการเพิ่มเติมเปนกรณีพิเศษ

- ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพื่อสนับสนุน

เปนกรณีพิเศษแกโรงเรียนที่มีผลการพฒันา

คุณภาพการศึกษาดี

- ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพิ่มพเิศษเพื่อ

สนบัสนนุโรงเรียนทีม่ีเด็กพกิารเรียนรวมเพื่อ

จัดครูพิเศษ และปรับปรุงพื้นอาคารสถานท่ีให

รองรับอยางเหมาะสม

- ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพิ่มพิเศษเพื่อ

สนับสนนุ สงเสริมการเรียนรูใหกับนักเรียนที่ม ี

ความสามารถพิเศษ (อัจฉริยะ)

- ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพื่อสนับสนุน

การจัดการศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัย

- กรมสรรพากรควรเปนหนวยงานหลักในการ

จัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาและจัดสรรคืนสู

ทองถิ่นอยางทัว่ถงึ

- อปท.ทราบขอมูลการประกอบธุรกิจของ

ผูประกอบการในทองถิน่ของตนดีกวาหนวย

งานอ่ืน

- อปท.ควรมีหนาที่จัดเก็บภาษีทกุประเภทใน

ทองถิน่และจัดสรรกลับคืนสูสวนกลาง

- อปท.ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากมลพิษ

- อปท.ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากทรัพยสิน - อปท.ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากมรดก

Page 165: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

150

ตารางที่ 13 (ตอ)

แนวคิดทฤษฎีที่ศึกษา สาระสําคัญทีน่ําไปใช

ดานโครงสรางการจัดเก็บภาษี - อปท.ควรมีหนาที่จัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาและ

จัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาในทองถิ่น

- รัฐมีหนาที่สนับสนนุให อปท. มีศักยภาพใน

การจัดเก็บภาษีในทองถิน่ อยางมีมาตรฐาน

- หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมกีารจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษาจากผูประกอบการคาส่ือ

ส่ิงพมิพที่ยัว่ยุหรือละเมิดศีลธรรม

- หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมกีารจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษาจากสินคาฟุมเฟอย

- หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมกีารจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษาจากผูประกอบการธรุกิจ

โรงงานอุตสาหกรรมที่กอมลพิษอันเปน

อันตรายตอสุขภาพ (เชน โรงโมหิน)

- หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมกีารจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษาจากผูประกอบการ

อุตสาหกรรมอันเปนการมอมเมาประชาชน

(เชน โรงงานผลิตสุรา โรงงานผลิตบุหร่ี)

-หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการ

จัดเก็บภาษีเพือ่การศึกษาจากผูประกอบการที่เปน

ผูแทนจําหนายสลากกินแบงของรัฐในทองถิน่

- หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหผูประกอบการ

จาํหนายเกมคอมพิวเตอร หรือจัดใหมีบริการเลน

เกมคอมพิวเตอรตาง ๆ อันเปนการมอมเมาเด็ก

และเยาวชน ตองชําระภาษีการศึกษา

- หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหผูประกอบ

การใหบริการส่ือสารอันฟุมเฟอยตองชําระ

ภาษีเพื่อการศึกษา (เชน ธรุกิจโทรศัพทมอืถือ)

Page 166: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

151

ตารางที่ 13 (ตอ)

แนวคิดทฤษฎีที่ศึกษา สาระสําคัญทีน่ําไปใช

หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี

- หนวยงานจัดเก็บควรสรางความเขาใจแก

ประชาชนเกีย่วกับผลดีจากการรวมมือชําระ

ภาษีเพื่อการศึกษา

- หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดมาตรการจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษา ใหชัดเจนเพื่อใหผูชําระ

ภาษีไดทราบถึงผลประโยชน และม่ันใจวาการ

ใชเงินดังกลาวเปนไปเพื่อการพัฒนาและ

สนับสนนุการจัดการศึกษาอยางเปนธรรม

โปรงใสและตรวจสอบได

- หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหประชาชนใน

ทองถิน่มีสวนรวมในการทาํประชาพิจารณเพื่อ

กําหนดฐาน อัตรา ระยะเวลาและวิธกีารชําระ

ภาษีเพื่อการศึกษา

- หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนด

ฐานการจัดเก็บ ภาษเีพื่อการศึกษาที่แตกตาง

กัน ตามความสามารถของประชากรใน

ทองถิน่

- หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนด

อัตราการชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่แตกตาง

ตามความสามารถของประชากรในทองถิ่น

- หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนด

ระยะเวลาการชําระภาษีเพือ่การศึกษาที ่

แตกตางกนั ตามความเหมาะสมของทองถิ่น

- หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนด

วิธีการชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่แตกตางกนั

ตามความสามารถในการชําระภาษี

Page 167: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

152

ตารางที่ 13 (ตอ)

แนวคิดทฤษฎีที่ศึกษา สาระสําคัญทีน่ําไปใช

หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี

- หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดฐานภาษีการ

ศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกนั

- หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดวิธกีารชําระภาษี

การศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน

- หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดอัตราการจัด

เก็บภาษีเพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑ

เดียวกนั

- หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดระยะเวลาการ

จัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑ

เดียวกนั

- หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดหลักเกณฑวิธ ี

การการประเมิน บทกําหนดโทษ เพื่อปอง

กันการหลบเล่ียงภาษีเพื่อการศึกษา โดยใช

หลักเกณฑเดียวกนั

- หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดหลักเกณฑการ

ชําระภาษีเพื่อการศึกษาใหชัดเจน เชน

วิธีการชําระ อัตรา และระยะเวลาการชําระ

ภาษีการศึกษา

- หนวยงานจัดเก็บควรบริหารการจัดเก็บภาษี

การศึกษาโดยกําหนดระบบการจัดเก็บภาษี

บุคลากร ฐานขอมูลและระบบติดตามตรวจ

สอบดวยระบบสารสนเทศ

- หนวยงานจัดเก็บควรใหประชาชนในทอง

ถิ่นมีสวนรวมโดยการประชาพิจารณ กาํหนด

หลักเกณฑ วิธีการประเมินภาษีและบทลงโทษ

Page 168: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

153

ตารางที่ 13 (ตอ)

แนวคิดทฤษฎีที่ศึกษา สาระสําคัญทีน่ําไปใช

หลักเกณฑเกีย่วกับประสิทธิภาพของภาษี

- การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บ

อัตราคงที่เชนเดียวกับภาษีมูลคาเพิ่ม

- การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บใน

อัตรากาวหนาเชนเดียวกับภาษีเงนิได

- การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บใน

อัตราถดถอย เชน มีผลกาํไรมากข้ึนจะชําระ

ภาษีนอยลง

- ประชาชนทกุคนทีม่ีหนาทีต่องชําระภาษีการ

ศึกษา โดยเทาเทียมกัน

- ประชาชนทกุคนทีม่ีหนาทีต่องชําระภาษี

การศึกษา แตกตางกนั ตามฐานรายไดทีไ่ม

เทาเทยีมกนั

- ประชาชนทกุคนทีม่ีหนาทีต่องชําระภาษีการ

ศึกษา แตกตางกนั ตามกาํลังความสามารถที ่

ไมเทาเทยีมกัน เชน ผูทีม่ภีาระคาใชจายใน

การเล้ียงดูบตุร

- ผูใดไดรับประโยชนจากการศึกษามาก จะตอง

ชําระภาษีเพือ่การศึกษามากกวาผูที่ไดรับ

ประโยชนนอยกวา เชน การนําผลวิจยัทาง

การศึกษาไปผลิตเปนสินคาจําหนายและไดรับ

ผลตอบแทนสูง

- ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจาก

สถานบันเทิงที่เปนการมอมเมาประชาชนเพื่อ

ควบคุมปริมาณของสถานบันเทงิดังกลาว

Page 169: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

154

ตารางที่ 13 (ตอ)

แนวคิดทฤษฎีที่ศึกษา สาระสําคัญทีน่ําไปใช

หลักเกณฑเกีย่วกับประสิทธิภาพของภาษี

- ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผู

ประกอบการจําหนายเกมคอมพิวเตอร หรือ

จัดใหมีบริการเลนเกมคอมพิวเตอรตาง ๆ อัน

เปนการมอมเมาเด็กและเยาวชนเพ่ือควบคุม

ปริมาณของผูประกอบการดังกลาวดังกลาว

- ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผู

ประกอบการอุตสาหกรรมอันเปนการมอมเมา

ประชาชน เชน โรงงานผลิตสุรา โรงงานผลิต

เบียร โรงงานผลิตบุหร่ี เพือ่ควบคุมปริมาณ

ของผูประกอบการดังกลาว

- ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผู

ประกอบการธุรกิจหรือโรงงานอุตสาหกรรมที ่

กอมลพิษเพือ่ควบคุมปริมาณของผูประกอบ

การดังกลาว

- ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผู

ประกอบการสื่อส่ิงพิมพทีเ่ปนการยั่วยุแกเด็ก

และเยาวชนเพื่อควบคุมปริมาณของ

ผูประกอบการดังกลาว

- ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผู

ประกอบการที่เปนผูแทนจําหนายสลากกิน

แบงของหนวยงานจัดเกบ็ซ่ึงเปนการมอมเมา

ประชาชนเพือ่ควบคุมปริมาณของผูประกอบ

การดังกลาว

- ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผู

ประกอบการที่จําหนายสินคาฟุมเฟอย

Page 170: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

155

ตารางที่ 13 (ตอ)

แนวคิดทฤษฎีที่ศึกษา สาระสําคัญทีน่ําไปใช

หลักเกณฑเกีย่วกับประสิทธิภาพของภาษี

- หนวยงานจัดเก็บ ควรประชาสัมพนัธให

ประชาชนทราบถึงหลักเกณฑ วธิีการ อัตรา

และสถานที่รับชําระภาษีเพือ่การศึกษา โดย

ทั่วถงึกนั

- หนวยงานจัดเก็บ ควรอํานวยความสะดวกแก

ประชาชนในการบริการรับชําระภาษีการ

ศึกษา เชน มกีารรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาที ่

หางสรรพสินคา และธนาคารพาณิชย

- หนวยงานจัดเก็บ ควรจัดสงแบบแสดงราย

การรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาพรอมเอกสาร

คําแนะนาํไปยังภูมิลําเนาของผูชําระภาษกีาร

ศึกษาในทุก ๆ ป

- หนวยงานจัดเก็บ ควรมอบรางวัลเกียรติคุณ

ใหแกผูชําระภาษีเพื่อการศึกษาดีเดนโดย

ดําเนนิ การขอพระราชทานเคร่ือง

ราชอิสริยาภรณใหเปนกรณีพิเศษ

- หนวยงานจัดเก็บ ควรตอบแทนใหแกผูชําระ

ภาษีเพื่อการศึกษาโดยใหสิทธิพเิศษในการ

เลือกสถานทีเ่ขาเรียนแกบตุรผูชําระภาษีดีเดน

ไดตามประสงค โดยเฉพาะการเขาศึกษาใน

ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

- หนวยงานจัดเก็บ ควรแสดงอัตราภาษีการ

ศึกษาไวบนฉลากสินคาใหเหน็เดนชัด

Page 171: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

156

ตารางที่ 13 (ตอ)

แนวคิดทฤษฎีที่ศึกษา สาระสําคัญทีน่ําไปใช

หลักเกณฑเกีย่วกับประสิทธิภาพของภาษี

- หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควร

กําหนดอัตราภาษีเพื่อการศึกษาใหเหมาะสม

เพื่อมิใหมีผลกระทบตอรายไดสุทธิของ

ประชาชน

- หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรใช

ระบบการรับชําระภาษีเพือ่การศึกษา

เชนเดียวกับระบบภาษีหกั ณ.ที่จาย เพื่อเปน

การประหยัดตอตนทุนในการจัดเก็บภาษี

- หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรใช

ระบบการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษา

เชนเดียวกับระบบภาษีมูลคาเพิ่ม เพื่อเปน

การลดตนทนุในการจัดเกบ็ภาษี

- หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรใช

ระบบสารสนเทศในการรับชําระภาษี เชน การ

ชําระภาษีทางอินเตอรเน็ต เพื่อเปนการลด

ตนทนุในการจัดเก็บภาษี

Page 172: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

157

ตอนท่ี 2 การวิเคราะหความเหมาะสมของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

การศึกษาเร่ืองรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาในข้ันตอนที่ 2 เปนการวิเคราะหขอมูลจาก

แบบสอบถามการวิจัย ที่เก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางคือ หนวยงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ซึ่ง

ประกอบไปดวย กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตําบล องคการ

บริหารสวนจังหวัด องคการบริหารสวนตําบล รวมทั้งหนวยงานทางการศึกษาซึ่งประกอบไปดวย

สถานศึกษาสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น สถานศึกษาซ่ึงสังกัดสํานักคณะกรรมการการจัด

การศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการและสถานศึกษาของภาคเอกชน ในระดับการศึกษาข้ัน

พื้นฐาน รวมจํานวน 397 แหง เปนแบบสอบถาม 1,136 ฉบับ และไดรับแบบสอบถามที่สมบูรณ คืน

จํานวน 322 แหง จํานวน 928 ฉบับ คิดเปนรอยละ 81.12 ซึ่งผูวิจัยไดนําเสนอ ผลการวิเคราะหเปน 3

ตอน ดังนี้

2.1.1 การวิเคราะหสถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม

2.1.2 การวิเคราะหระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวแปรที่เปนองคประกอบของรูปแบบ

ภาษีเพื่อการศึกษา

2.1.3 การวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง (second order

confirmatory factor analysis) ดวยวิธีการสกัดปจจัย (Principal Component Analysis : P C A)

เพื่อใหเหลือตัวแปรที่สําคัญ 2.1.1 การวิเคราะหสถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม สถานภาพสวนตัวของผู ตอบแบบสอบถาม ซึ่งเปนผูบริหารขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

จํานวน 360 คน และเปนผูอํานวยการโรงเรียน ครูปฏิบัติงาน กรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นผูปกครองของ

สถานศึกษาสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวน 208 คน สังกัดคณะกรรมการการศึกษาข้ัน

พื้นฐาน จํานวน 220 คน และสถานศึกษาภาคเอกชนจํานวน 140 คน เม่ือจําแนกระดับการศึกษาและ

ประสบการณในการทํางาน มีรายละเอียด ดังรายละเอียดตารางที่ 14

Page 173: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

158

ตารางที่ 14 ขอมูลทั่วไปเกีย่วกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม

จํานวน (คน)

รอยละ สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม

การศึกษา

ตํ่ากวา ปริญญาตรี 72 7.76

ปริญญาตรี 527 56.79

สูงกวา ปริญญาตรี 329 35.45

รวม 928 100.00

ประสบการณทํางาน

นอยกวา 4 ป 130 14.01

4-8 ป 176 18.97

9-12 ป 159 17.13

13-16 ป

17-20 ป

มากกวา 20 ป ข้ึนไป

127

83

253

13.69

8.94

27.26

รวม 928 100.00

จากตารางที่ 14 พบวา สถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถามในคร้ังนี ้สวนใหญสําเร็จ

วุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี มีมากที่สุดจํานวน 527 คน คิดเปนรอยละ 56.79 และวุฒิการศึกษาสูง

กวาปริญญาตรีมีจํานวน 329 คน คิดเปนรอยละ 35.45 และวุฒิการศึกษาตํ่ากวาปริญญาตรีมีนอยที่สุด

จํานวน 72 คน คิดเปนรอยละ 7.76 ผูมีประสบการณในการทํางาน 20 ปข้ึนไปมีมากที่สุด จํานวน 253

คน คิดเปนรอยละ 27.26 รองลงมามีประสบการณ 4 - 8 ป คิดเปนรอยละ 18.97 โดยมีสัดสวนใกลเคียง

กับผูมีประสบการณในการทํางาน 9-12 ป คิดเปนรอยละ 17.13 และผูมีประสบการณในการทํางาน 17

ถึง 20 ป มีนอยที่สุดจํานวน 83 คน คิดเปนรอยละ 8.94

Page 174: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

159

ตารางที่ 15 การดํารงตําแหนงของผูตอบแบบสอบถาม

ตําแหนง จํานวน (คน) รอยละ

นายก อบจ. 51 5.50

นายก อบต. 51 5.50

ปลัด อบจ. 51 5.50

ปลัด อบต. 51 5.50

นายกเทศบาลนคร 6 0.65

นายกเทศบาลเมือง 50 5.39

นายกเทศบาลตําบล 22 2.37

ปลัดเทศบาลนคร 6 0.65

ปลัดเทศบาลเมือง 50 5.39

ปลัดเทศบาลตําบล 22 2.37

ผอ. สพฐ 55 5.93

ครูปฏิบัติการสพฐ 55 5.93

กรรมการสถานศึกษาสพฐ 55 5.93

ผูปกครองสพฐ 55 5.93

ผอ. อปท 52 5.60

ครูปฏิบัติการ อปท 52 5.60

กรรมการสถานศึกษา อปท 52 5.60

ผูปกครอง อปท 52 5.60

ผอ. เอกชน 35 3.77

ครูปฏิบัติการเอกชน 35 3.77

กรรมการสถานศึกษาเอกชน 35 3.77

ผูปกครองเอกชน 35 3.77

รวม 928 100

Page 175: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

160

จากตารางที่ 15 พบวา การดํารงตําแหนงของผูตอบแบบสอบถามในครั้งนี้ประกอบไปดวย

ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น คือ นายกองคการบริหารสวนจังหวัดและปลัดองคการบริหารสวน

จังหวัด จํานวนกลุมละ 51 คนเทากัน คิดเปนรอยละ 5.50 เทากัน ดํารงตําแหนงนายกองคการบริหาร

สวนตําบลและปลัดองคการบริหารสวนตําบล จํานวนกลุมละ 51 คนเทากัน คิดเปนรอยละ 5.50 เทากัน

ดํารงตําแหนงนายกเทศมนตรีเทศบาลนครและปลัดเทศบาลนคร จํานวนกลุมละ 6 คนเทากัน คิดเปน

รอยละ 0.65 เทากัน ดํารงตําแหนงนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองและปลัดเทศบาลเมือง จํานวนกลุมละ

50 คนเทากัน คิดเปนรอยละ 5.39 เทากัน ดํารงตําแหนงนายกเทศมนตรีเทศบาลตําบลและ

ปลัดเทศบาลตําบล จํานวนกลุมละ 22 คนเทากัน คิดเปนรอยละ 2.37 เทากัน ในสวนของสถานศึกษาที่

จัดการศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานประกอบไปดวย สถานศึกษาที่สังกัดสํานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาข้ันพื้นฐาน ดํารงตําแหนงผูบริหารจํานวน 55 คน คิดเปนรอยละ 5.93 ครูปฏิบัติการจํานวน

55 คน คิดเปนรอยละ 5.93 กรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานจํานวน 55 คน คิดเปนรอยละ 5.93 และ

ผูปกครองนักเรียน จํานวน 55 คน คิดเปนรอยละ 5.93 เทากัน สถานศึกษาที่สังกัดองคกรปกครองสวน

ทองถิ่น ดํารงตําแหนงผูบริหารจํานวน 52 คน คิดเปนรอยละ 5.60 ครูปฏิบัติการจํานวน 52 คน คิดเปน

รอยละ 5.60 กรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานจํานวน 52 คน คิดเปนรอยละ 5.60 และผูปกครองนักเรียน

จํานวน 52 คน คิดเปนรอยละ 5.60 เทากัน สถานศึกษาของภาคเอกชน ดํารงตําแหนงผูบริหารจํานวน

35 คน คิดเปนรอยละ 3.77 ครูปฏิบัติการจํานวน 35 คน คิดเปนรอยละ 3.77 กรรมการสถานศึกษา

ข้ันพื้นฐานจํานวน 35 คน คิดเปนรอยละ 3.77 และผูปกครองจํานวน 35 คน คิดเปนรอยละ 3.77 เทากัน

Page 176: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

161

2.1.2 การวิเคราะหระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวแปรที่เปนองคประกอบของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

ตารางที่ 16 แสดงคาเฉลี่ยเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาสัมประสิทธิ์แปรผัน ตัวแปรทั้ง 34

รายการ ของโมเดลองคประกอบที่ 1 โครงสรางการจัดเกบ็ภาษี

ระดับความคิดเห็น ตัว

แปร ขอความ

Χ SD CV. ความสําคัญ

A1 การจัดสรรเงินงบประมาณอุดหนนุรายหัวนักเรียนใน

ปจจุบันของกระทรวงศึกษาธิการมีความเหมาะสม 3.47 1.06 0.31 ปานกลาง

A2 ควรปรับหลักเกณฑการจัดสรรงบประมาณเงินอุดหนนุ

รายหวัแกโรงเรียนโดยคํานงึถึงสภาพที่ต้ัง(เขตในเมือง

เขตชนบท) และขนาดโรงเรียน(ใหญ กลาง เล็ก) 4.25 0.87 0.20 มาก

A3 ในการพิจารณากําหนดอัตราและฐานภาษีเพื่อ

การศึกษาควรวิเคราะหตนทนุที่แทจริงของการจัด

การศึกษาในแตละทองถิ่น 4.25 0.83 0.20 มาก

A4 ประชาชนทุกคนควรมีสวนรวมในการจัดการศึกษาโดย

การชําระภาษเีพื่อการศึกษา 4.05 1.00 0.25 มาก

A5 ควรจัดเก็บภาษีจากสถานบันเทงิ, สถานประกอบธุรกิจ

การพนัน กาสิโน,สนามจัดแขงขันมา (SIN TAX) เพื่อ

จัดสรรสนับสนุนการศึกษา 4.40 0.94 0.21 มาก

A6 ควรจัดเก็บภาษีจาก มรดก เพื่อจัดสรรสนับสนุน

การศึกษา 3.81 1.05 0.28 มาก

A7 ควรจัดเก็บภาษีจาก ทรัพยสิน เพื่อจัดสรรสนับสนนุ

การศึกษา 3.87 1.00 0.26 มาก

A8 ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาสําหรับเพื่อนําไป

สนับสนนุใหแกเด็กยากจน เด็กดอยโอกาส เด็กพกิาร

เพิ่มเติมเปนกรณีพิเศษ เพื่อใหเด็กเหลานีม้ีโอกาสทาง

การศึกษา 4.33 0.83 0.19 มาก

Page 177: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

162

ตารางที่ 16 (ตอ)

ระดับความคิดเห็น ตัว

แปร ขอความ

Χ SD CV. ความสําคัญ

A9 ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพื่อสนับสนุนเปนกรณี

พิเศษแกโรงเรียนที่มีผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาดี 4.15 0.90 0.22 มาก

A10 ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพิ่มพเิศษเพื่อสนับสนุน

โรงเรียนที่มีเด็กพิการเรียนรวมเพื่อจัดครูพิเศษ และ

ปรับปรุงพื้นอาคารสถานท่ีใหรองรับอยางเหมาะสม 4.24 0.86 0.20 มาก

A11 ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพิ่มพเิศษเพื่อสนับสนุน

สงเสริมการเรียนรูใหกับนกัเรียนทีม่ีความสามารถพิเศษ 4.13 0.90 0.22 มาก

A12 ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพื่อสนับสนุนการจัด

การศึกษาสําหรับเด็กปฐมวยั 4.13 0.85 0.21 มาก

A13 กรมสรรพากรควรเปนหนวยงานหลักในการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษาและจัดสรรคืนสูทองถิน่อยางทั่วถงึ 4.34 0.85 0.20 มาก

A14 อปท.ทราบขอมูลการประกอบธุรกิจของผูประกอบการ

ในทองถิน่ของตนดีกวาหนวยงานอ่ืน 4.24 0.81 0.19 มาก

A15 อปท.ควรมหีนาที่จัดเก็บภาษีทุกประเภทในทองถิน่และ

จัดสรรกลับคืนสูสวนกลาง 3.95 1.05 0.27 มาก

A16 อปท.ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากมลพิษ 4.17 0.91 0.22 มาก

A17 อปท.ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากทรัพยสิน 3.89 0.98 0.25 มาก

A18 อปท.ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากมรดก 3.79 1.08 0.28 มาก

A19 อปท.ควรมหีนาที่จัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาและจัดสรร

งบประมาณเพื่อการศึกษาในทองถ่ินของตน 4.27 0.85 0.20 มาก

A20 รัฐมีหนาที่สนบัสนุนให อปท. มีศักยภาพในการจัดเกบ็

ภาษีในทองถิน่ อยางมีมาตรฐาน 4.43 0.71 0.16 มาก

Page 178: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

163

ตารางที่ 16 (ตอ)

ระดับความคิดเห็น ตัว

แปร ขอความ

Χ SD CV. ความสําคัญ

A21 อปท.ตองมีระบบบริหารงานในดานการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาอยางมีประสิทธิภาพตามหลัก ธรรมาภิบาล

(good governance) โปรงใสเปนธรรมและตรวจสอบได 4.54 0.72 0.16 มากที่สุด

A22 ผูปกครองหรือผูไดรับประโยชนจากการศึกษา ควรมี

สวนรวมรับผิดชอบในการชาํระภาษีเพื่อการศึกษาใน

ทองถิน่ของตนเอง 4.32 0.80 0.19 มาก

A23 กรณี อปท.ที่มรีายไดจากการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา

ไมเพียงพอ รัฐควรสนับสนนุงบประมาณเพิ่มเติมอยาง

ทั่วถงึและเปนธรรม 4.51 0.67 0.15 มากที่สุด

A24 หนวยงานที่จดัเก็บ ควรรายงานแผน การรับ- จาย เงนิ

ภาษีเพื่อการศึกษาใหประชาชนในทองถิ่นทราบทุกๆ ส้ิน

ปงบประมาณ 4.56 0.66 0.14 มากที่สุด

A25 หนวยงานจัดเก็บ ควรกาํหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาจากผูมีเงนิไดที่ไดรับประโยชนจากการศึกษา

(เชน โรงเรียนกวดวิชาตาง ๆ และผูจําหนายหนงัสือ และ

อุปกรณส่ือการเรียน) 4.34 0.80 0.18 มาก

A26 หนวยงานจัดเก็บ ควรกาํหนดใหมีการจัดเก็บภาษีการ

ศึกษาจากการถือครองอสังหาริมทรัพย เชน ที่ดินวาง

เปลา 3.99 0.93 0.23 มาก

A27 หนวยงานจัดเก็บ ควรกาํหนดใหมีการจัดเก็บภาษี

มูลคาเพิม่มากกวา 7 % เพือ่นําสวนที่เพิม่ข้ึนมาจัดสรร

เปนภาษีเพื่อการศึกษา 3.75 1.11 0.30 มาก

A28 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาจากผูประกอบการคาส่ือส่ิงพมิพที่ ยั่วยุหรือ

ละเมิดศีลธรรม 4.40 0.92 0.21 มาก

Page 179: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

164

ตารางที่ 16 (ตอ)

ระดับความคิดเห็น ตัว

แปร ขอความ

Χ SD CV. ความสําคัญ

A29 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาจากสินคาฟุมเฟอย(เชน เคร่ืองสําอาง น้าํหอม

เคร่ืองประดับ ฯลฯ) 4.31 0.86 0.20 มาก

A30 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาจากผูประกอบการธุรกิจ/โรงงานอุตสาหกรรม

ที่กอมลพิษอันเปนอันตรายตอสุขภาพ(เชน โรงโมหิน) 4.52 0.74 0.16 มากที่สุด

A31 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาจากผูประกอบการอุตสาหกรรมอันเปนการ

มอมเมาประชาชน (เชน โรงงานผลิตสุรา โรงงานผลิต

เบียร โรงงานผลิตบุหร่ีฯลฯ) 4.57 0.75 0.16 มากที่สุด

A32 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาจากผูประกอบการที่เปนผูแทนจําหนายสลาก

กินแบงของรัฐในทองถิน่ 4.27 0.92 0.22 มาก

A33 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหผูประกอบการจําหนาย

เกมคอมพวิเตอร หรือจัดใหมีบริการเลนเกม

คอมพิวเตอรตาง ๆ อันเปนการมอมเมาเด็กและเยาวชน

ตองชําระภาษีเพื่อการศึกษา 4.41 0.83 0.19 มาก

A34 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหผูประกอบการใหบริการ

ส่ือสารอันฟุมเฟอยตองชาํระภาษีเพื่อการศึกษา(เชน

ธุรกิจโทรศัพทมือถือ) 4.40 0.81 0.18 มาก

จากตารางที่ 16 พบวา ตัวบงช้ีองคประกอบโครงสรางการจัดเก็บภาษี ความสําคัญโดยรวมอยู

ในระดับมาก และเม่ือพิจารณารายขอพบวา ตัวแปรทั้ง 34 ตัวแปร มีคาเฉลี่ยอยูระหวาง 3.47 - 4.57 คา

เบ่ียงเบนมาตรฐานระหวาง 1.11 – 0.71 และสัมประสิทธิ์การกระจายมีคาระหวาง 0.14 – 0.31 แสดงวา

ตัวแปรทุกตัวมีความสําคัญระดับปานกลางถึงมากที่สุด และความคิดเห็นคอนขางกระจายพอประมาณ

ตัวแปรที่มีความสําคัญระดับมากที่สุด ไดแก หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาจากผูประกอบการอุตสาหกรรมอันเปนการมอมเมาประชาชน (เชน โรงงานผลิตสุรา

Page 180: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

165

โรงงานผลิตเบียร โรงงานผลิตบุหร่ีฯลฯ) (Χ =4.57) ตัวแปรที่มีคาเฉลี่ยระดับมากที่สุดตามลําดับไดแก

หนวยงานที่จัดเก็บ ควรรายงานแผน การรับ - จาย เงินภาษีเพื่อการศึกษาใหประชาชนในทองถิ่นทราบ

ทุกๆ ส้ินปงบประมาณ (Χ =4.56) อปท. ตองมีระบบบริหารงานในดานการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา

อยางมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล (good governance) โปรงใสเปนธรรมและตรวจสอบได

(Χ =4.54) หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากผูประกอบการธุรกิจหรือ

โรงงานอุตสาหกรรมที่กอมลพิษอันเปนอันตรายตอสุขภาพ(เชน โรงโมหิน) (Χ =4.52) กรณี อปท.ที่มี

รายไดจากการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาไมเพียงพอ รัฐควรสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมอยางทั่วถึง

และเปนธรรม (Χ =4.51) ตัวแปรที่มีคาเฉลี่ยปานกลางไดแก การจัดสรรเงินงบประมาณอุดหนุนรายหัว

นักเรียนในปจจุบันของกระทรวงศึกษาธิการมีความเหมาะสม (Χ =3.47) ตัวแปรที่เหลือมีความหมาย

ระดับมาก

Page 181: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

166

ตารางที่ 17 แสดงคาเฉลี่ยเลขคณิต สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน คาสัมประสิทธิ์แปรผัน ตัวแปรทั้ง

15 รายการของโมเดลองคประกอบที ่2 หลักเกณฑการจดัเก็บภาษี

ระดับความคิดเห็น ตัว

แปร ขอความ

Χ SD CV. ความสําคัญ

B1 หนวยงานจัดเก็บควรสรางความเขาใจแกประชาชน

เกี่ยวกับผลดีจากการรวมมือชําระภาษีเพื่อการศึกษา 4.54 0.70 0.15 มากที่สุด

B2 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดมาตรการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษา ใหชัดเจนเพื่อใหผูชําระภาษีไดทราบถงึ

ผลประโยชน และม่ันใจวาการใชเงนิดังกลาวเปนไปเพื่อ

การพัฒนาและสนับสนุนการจัดการศึกษาอยางเปน

ธรรม โปรงใสและตรวจสอบได 4.61 0.63 0.14 มากที่สุด

B3 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหประชาชนในทองถิน่มี

สวนรวมในการทําประชาพิจารณเพื่อกาํหนดฐาน อัตรา

ระยะเวลาและวิธีการชําระภาษีเพื่อการศึกษา 4.46 0.73 0.16 มาก

B4 หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนดฐานการ

จัดเก็บ ภาษเีพื่อการศึกษาที่แตกตางกัน ตามความ

สามารถของประชากรในทองถิน่ 4.27 0.87 0.20 มาก

B5 หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนดอัตราการ

ชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่แตกตางกนั ตาม

ความสามารถของประชากรในทองถิน่ 4.21 0.92 0.22 มาก

B6 หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนดระยะเวลา

การชําระภาษเีพื่อการศึกษาที่แตกตางกัน ตามความ

เหมาะสมของทองถิน่ 4.09 0.99 0.24 มาก

B7 หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนดวิธกีารชําระ

ภาษีเพื่อการศึกษาที่แตกตางกนั ตามความ

สามารถในการชําระภาษี 4.10 0.96 0.23 มาก

B8 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดฐานภาษีเพือ่การศึกษา

โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน 4.08 0.98 0.24 มาก

Page 182: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

167

ตารางที่ 17 (ตอ)

ระดับความคิดเห็น ตัว

แปร ขอความ

Χ SD CV. ความสําคัญ

B9 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดวิธีการชาํระภาษีการ

ศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกนั 4.09 0.95 0.23 มาก

B10 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดอัตราการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน 4.04 0.98 0.24 มาก

B11 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดระยะเวลาการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน 4.13 0.92 0.22 มาก

B12 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดหลักเกณฑวธิีการการ

ประเมิน บทกาํหนดโทษ เพือ่ปองกันการหลบเล่ียงภาษี

เพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน 4.31 0.83 0.19 มาก

B13 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดหลักเกณฑการชําระภาษี

เพื่อการศึกษาใหชัดเจน เชน วิธกีารชําระ อัตรา และ

ระยะเวลาการชําระภาษีเพื่อการศึกษา 4.41 0.75 0.17 มาก

B14 หนวยงานจัดเก็บควรบริหารการจัดเก็บภาษีการ

ศึกษาโดยกําหนดระบบการจัดเก็บภาษี บุคลากร

ฐานขอมูลและระบบติดตามตรวจสอบดวยระบบ

สารสนเทศ 4.38 0.75 0.17 มาก

B15 หนวยงานจัดเก็บควรใหประชาชนในทองถิน่มีสวนรวม

โดยการประชาพิจารณ กาํหนดหลักเกณฑ วิธกีาร

ประเมินภาษีและบทกําหนดโทษ เพื่อปองกันการหลบ

เล่ียงภาษีเพื่อการศึกษาในทองถิ่นของตน 4.41 0.76 0.17 มาก

จากตารางที่ 17 พบวา ตัวบงชี้องคประกอบหลักเกณฑการจัดเก็บภาษี ความสําคัญโดยรวมอยู

ในระดับมาก และเม่ือพิจารณารายขอพบวา ตัวแปรทั้ง 15 ตัวแปร มีคาเฉลี่ยอยูระหวาง 4.04 – 4.61 คา

เบ่ียงเบนมาตรฐานระหวาง 0.99 – 0.63 และสัมประสิทธิ์การกระจายมีคาระหวาง 0.14 – 0.24 แสดง

วา ตัวแปรทุกตัวมีความสําคัญระดับมากถึงมากที่สุดและความคิดเห็นคอนขางกระจายพอประมาณ ตัว

แปรที่มีความสําคัญระดับมากที่สุด หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดมาตรการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ให

Page 183: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

168

ชัดเจนเพื่อใหผูชําระภาษีไดทราบถึงผลประโยชน และมั่นใจวาการใชเงินดังกลาวเปนไปเพื่อการพัฒนา

และสนับสนุนการจัดการศึกษาอยางเปนธรรม โปรงใสและตรวจสอบได (Χ =4.61) ตัวแปรที่มีคาเฉลี่ย

ระดับมากที่สุดตามลําดับไดแกหนวยงานจัดเก็บควรสรางความเขาใจแกประชาชนเกี่ยวกับผลดีจากการ

รวมมือชําระภาษีเพื่อการศึกษา (Χ =4.54) ตัวแปรที่เหลือมีความหมายระดับมาก

Page 184: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

169

ตารางที่ 18 แสดงคาเฉลี่ยเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาสัมประสิทธิ์แปรผัน ตัวแปร ทั้ง 25

รายการ ของโมเดลองคประกอบที่ 3 หลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากร

ระดับความคิดเห็น ตัว

แปร ขอความ

Χ SD CV. ความสําคัญ

C1 การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บอัตราคงที่

เชนเดียวกับภาษีมูลคาเพิ่ม 3.86 1.04 0.27 มาก

C2 การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บในอัตรา

กาวหนาเชนเดียวกับภาษีเงนิได 3.84 1.07 0.28 มาก

C3 การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บในอัตรา

ถดถอย เชน มผีลกําไรมากข้ึนจะชําระภาษีนอยลง 3.29 1.32 0.40 ปานกลาง

C4 ประชาชนทุกคนท่ีมหีนาที่ตองชําระภาษีเพื่อการศึกษา

โดยเทาเทยีมกัน 3.78 1.20 0.32 มาก

C5 ประชาชนทุกคนท่ีมหีนาที่ตองชําระภาษีเพื่อการศึกษา

ที่แตกตางกันตามฐานรายไดที่ไมเทาเทยีมกัน 4.28 0.92 0.21 มาก

C6 ประชาชนทุกคนท่ีมหีนาที่ตองชําระภาษีเพื่อการศึกษา

แตกตางกนั ตามกาํลังความสามารถที่ไมเทาเทียมกัน

เชน ผูที่มีภาระคาใชจายในการ เล้ียงดูบุตร 4.23 0.86 0.20 มาก

C7 ผูใดไดรับประโยชนจากการศึกษามาก จะตองชําระภาษี

เพื่อการศึกษามากกวาผูที่ไดรับประโยชนนอยกวา เชน

การนาํผลวิจยัทางการศึกษาไปผลิตเปนสินคาจําหนาย

และไดรับผลตอบแทนสูง 4.10 0.96 0.23 มาก

C8 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากสถานบันเทิง

ที่เปนการมอมเมาประชาชนเพื่อควบคุมปริมาณของ

สถานบันเทิงดังกลาว 4.39 0.86 0.20 มาก

Page 185: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

170

ตารางที่ 18 (ตอ)

ระดับความคิดเห็น ตัว

แปร ขอความ

Χ SD CV. ความสําคัญ

C9 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการ

จําหนายเกมคอมพิวเตอร หรือจัดใหมีบริการเลนเกม

คอมพิวเตอรตาง ๆ อันเปนการมอมเมาเด็กและเยาวชน

เพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบการดังกลาวดังกลาว 4.40 0.83 0.19 มาก

C10 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการ

อุตสาหกรรมอันเปนการมอมเมาประชาชน เชน

โรงงานผลิตสุรา โรงงานผลิตเบียร โรงงานผลิตบุหร่ี เพือ่

ควบคุมปริมาณของผูประกอบการดังกลาว 4.52 0.74 0.16 มากที่สุด

C11 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการ

ธุรกิจ/โรงงานอุตสาหกรรมที่กอมลพิษเพือ่ควบคุม

ปริมาณของผูประกอบการดังกลาว 4.51 0.74 0.16 มากที่สุด

C12 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการ

ส่ือส่ิงพิมพทีเ่ปนการยั่วยุแกเด็กและเยาวชนเพื่อควบคุม

ปริมาณของผูประกอบการดังกลาว 4.49 0.80 0.18 มาก

C13 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการ

ที่เปนผูแทนจําหนายสลากกินแบงของหนวยงานจัดเกบ็

ซึ่งเปนการมอมเมาประชาชนเพื่อควบคุมปริมาณของ

ผูประกอบการดังกลาว 4.31 0.89 0.21 มาก

C14 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการ

ที่จําหนายสินคาฟุมเฟอย เชน เคร่ืองสําอาง น้าํหอม

เคร่ืองประดับ เพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบการ

ดังกลาว 4.27 0.87 0.20 มาก

Page 186: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

171

ตารางที่ 18 (ตอ)

ระดับความคิดเห็น ตัว

แปร ขอความ

Χ SD CV. ความสําคัญ

C15 หนวยงานจัดเก็บ ควรประชาสัมพนัธใหประชาชนทราบ

ถึงหลักเกณฑ วิธกีาร อัตรา และสถานที่ชาํระ 4.54 0.70 0.15 มากที่สุด

C16 หนวยงานจัดเก็บ ควรอํานวยความสะดวกแกประชาชน

ในการบริการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษา เชน มีการรับ

ชําระภาษีเพื่อการศึกษาทีห่างสรรพสินคา และธนาคาร

พาณิชยไดทุกแหง 4.54 0.68 0.15 มากที่สุด

C17 หนวยงานจัดเก็บ ควรจัดสงแบบแสดงรายการรับชําระ

ภาษีเพื่อการศึกษาพรอมเอกสารคําแนะนําไปยัง

ภูมิลําเนาของผูชําระภาษีเพือ่การศึกษาใน ทกุ ๆ ป 4.52 0.68 0.15 มากที่สุด

C18 หนวยงานจัดเก็บ ควรมอบรางวัลเกียรติคุณใหแกผูชําระ

ภาษีเพื่อการศึกษาดีเดนโดยดําเนนิการขอพระราชทาน

เคร่ืองราชอิสริยาภรณใหเปนกรณีพิเศษ 4.09 1.04 0.25 มาก

C19 หนวยงานจัดเก็บ ควรตอบแทนใหแกผูชําระภาษีเพื่อ

การศึกษาโดยใหสิทธพิิเศษในการเลือกสถานที่เขาเรียน

แกบุตรผูชําระภาษีดีเดน ไดตามประสงค 4.00 1.06 0.27 มาก

C20 หนวยงานจัดเก็บ ควรแสดงอัตราภาษีเพื่อการศึกษาไว

บนฉลากสินคาใหเห็นเดนชัด 4.33 0.79 0.18 มาก

C21 หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรกําหนดอัตรา

ภาษีเพื่อการศึกษาใหเหมาะสมเพื่อมิใหมผีลกระทบตอ

รายไดสุทธิของประชาชน 4.47 0.71 0.16 มาก

C22 หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรกําหนดฐาน

อัตราและวิธีการชําระภาษีเพื่อการศึกษา ดวยความเปน

ธรรมและเสมอภาคแกผูรับภาระภาษี เพือ่มิใหมี

ผลกระทบตอกลไกของตลาดการคา 4.43 0.71 0.16 มาก

Page 187: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

172

ตารางที่ 18 (ตอ)

ระดับความคิดเห็น ตัว

แปร ขอความ

Χ SD CV. ความสําคัญ

C23 หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรใชระบบการ

รับชําระภาษีเพื่อการศึกษาเชนเดียวกับระบบภาษีหกั

ณ.ที่จาย เพื่อเปนการประหยัดตอตนทนุในการจัดเก็บ

ภาษี 4.31 0.80 0.19 มาก

C24 หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรใชระบบการ

รับชําระภาษีเพื่อการศึกษาเชนเดียวกับระบบภาษี

มูลคาเพิม่ เพือ่เปนการลดตนทนุในการจัดเก็บภาษี 4.25 0.86 0.20 มาก

C25 หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรใชระบบ

สารสนเทศในการรับชําระภาษี เชน การชาํระภาษีทาง

อินเตอรเน็ต เพื่อเปนการลดตนทนุในการจัดเก็บภาษี 4.37 0.81 0.19 มาก

จากตารางที่ 18 พบวา ตัวบงช้ีองคประกอบหลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากร

ความสําคัญโดยรวมอยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายขอพบวา ตัวแปรทั้ง 25 ตัวแปร มีคาเฉลี่ยอยู

ระหวาง 3.29 – 4.54 คาเบ่ียงเบนมาตรฐานระหวาง 1.32 – 0.68 และสัมประสิทธิ์การกระจายมีคา

ระหวาง 0.15 – 0.27 แสดงวา ตัวแปรทุกตัวมีความสําคัญระดับปานกลางถึงมากที่สุด และความคิดเห็น

คอนขางกระจายพอประมาณ ตัวแปรที่มีความสําคัญระดับมากที่สุดไดแก หนวยงานจัดเก็บ ควร

ประชาสัมพันธใหประชาชนทราบถึงหลักเกณฑ วิธีการ อัตรา และสถานท่ีรับชําระภาษีเพื่อการศึกษา

โดยทั่วถึงกัน (Χ =4.54) หนวยงานจัดเก็บ ควรอํานวยความสะดวกแกประชาชนในการบริการรับชําระ

ภาษีเพื่อการศึกษา เชน มีการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่หางสรรพสินคา และธนาคารพาณิชยไดทุก

แหง (Χ =4.54) คาเฉลี่ยระดับมากที่สุดตามลําดับไดแก หนวยงานจัดเก็บ ควรจัดสงแบบแสดงรายการ

รับชําระภาษีเพื่อการศึกษาพรอมเอกสารคําแนะนําไปยังภูมิลําเนาของผูชําระภาษีเพื่อการศึกษาในทุก ๆ

ป (Χ =4.52) ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการอุตสาหกรรมอันเปนการมอมเมาประชาชน เชน โรงงานผลิตสุรา โรงงานผลิตเบียร โรงงานผลิตบุหร่ี เพื่อควบคุมปริมาณของ

ผูประกอบการดังกลาว (Χ =4.52) ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการอุตสาหกรรมอันเปนการมอมเมาประชาชน เชน โรงงานผลิตสุรา โรงงานผลิตเบียร โรงงานผลิตบุหร่ี เพือ่

ควบคุมปริมาณของผูประกอบการดังกลาว (Χ =4.51)ตัวแปรที่มีคาเฉลี่ยปานกลางไดแก การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บในอัตราถดถอย เชน มีผลกําไรมากข้ึนจะชําระภาษีนอยลง (Χ =3.29) ตัวแปรที่เหลือมีความหมายระดับมาก

Page 188: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

173

2.1.3 การวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง (second order confirmatory factor analysis) ตัวแปร(ตัวบงช้ี)ที่ใชในการวิเคราะหองคประกอบมี 74รายการ แบงตามองคประกอบหลัก

ไดแก โครงสรางการจัดเก็บภาษี หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี และหลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของ

ภาษีอากร มีคาสหสัมพันธตามองคประกอบ คาความคลาดเคล่ือนมาตรฐาน (standard error) ใน

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทย แสดงในตารางที่ 19

ตารางที่ 19 แสดงคาสหสัมพันธระหวางองคประกอบหลักในปจจัย

องคประกอบที่ 1 องคประกอบที่ 2 องคประกอบที่ 3

องคประกอบที่ 1 1.00 - -

องคประกอบที่ 2 0.77** 1.00 -

องคประกอบที่ 3 0.83** 0.80** 1.00

Χ 143.07 64.15 106.11

SD 18.68 8.64 14.03

หมายเหตุ **p<.001

จากตารางที่ 19 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของทั้ง 3 องคประกอบมี ความสัมพันธกันอยาง

มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ดังนี้

องคประกอบที่ 1 โครงสรางการจัดเก็บภาษีสัมพันธกับองคประกอบที่ 2 หลักเกณฑการ

จัดเก็บภาษี มีขนาดของความสัมพันธเทากับ 0.77 ทิศทางบวกอธิบายความแปรปรวนรวมกันไดรอยละ

59

องคประกอบที่ 1 โครงสรางการจัดเก็บภาษีสัมพันธกับองคประกอบที่ 3 หลักเกณฑ

เกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษี มีขนาดความสัมพันธเทากับ 0.83 ทิศทางบวก อธิบายความแปรปรวน

รวมกันไดรอยละ 69

องคประกอบที่ 2 หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี สัมพันธกับองคประกอบที่ 3 หลักเกณฑ

เกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษี มีขนาดความสัมพันธเทากับ 0.80 ทิศทางบวก อธิบายความแปรปรวน

รวมกันได รอยละ 64

Page 189: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

174

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทย ประกอบดวยองคประกอบหลัก และ

องคประกอบยอยตาง ๆ ดังนี้

องคประกอบที่ 1 (A) โครงสรางการจัดเก็บภาษี ประกอบดวยองคประกอบยอย 4

องคประกอบ ไดแก

1. หนวยงานจดัเก็บ (S1)

2. ฐานภาษี (S2)

3. อัตราภาษี (S3)

4. ระยะเวลาการจัดเก็บ (S4)

องคประกอบที่ 2 (B) หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี ประกอบดวยองคประกอบยอย 4

องคประกอบ ไดแก

1. หลักความเปนธรรม (T1)

2. หลักของความแนนอน (T2)

3. หลักของความสะดวก (T3)

4. หลักของความประหยัด (T4)

องคประกอบที่ 3 (C) หลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษี ประกอบดวยองคประกอบ

ยอย 6 องคประกอบ ไดแก

1. หลักความเปนธรรม (E1)

2. หลักความเปนกลาง (E2)

3. หลักความแนนอน (E3)

4. หลักความประจักษแจง (E4)

5. หลักประสิทธิภาพในการบริหาร (E5)

6. หลักผลการจํากัดรายจายสุทธิ (E6)

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทย ประกอบดวยองคประกอบหลัก 3 องคประกอบ

ไดแก

1. โครงสรางการจัดเก็บภาษี

2. หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี

3. หลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษี

ตัวแปร (ตัวบงชี้) ที่ใชในการวิเคราะหองคประกอบ ไดแก

องคประกอบยอยที่ 1 มีจํานวน 34 รายการ

องคประกอบยอยที่ 2 มีจํานวน 15 รายการ

Page 190: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

175

องคประกอบยอยที่ 3 มีจํานวน 25 รายการ

แบงตามองคประกอบหลักไดแก โครงสรางการจัดเก็บภาษี หลักเกณฑการจัดเก็บภาษีและ

หลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษี โดยมีคาสหสัมพันธตามองคประกอบหลัก น้ําหนัก

องคประกอบ (factor loading) ตามโมเดลรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทย

ดังรายละเอียดแสดงในตารางท่ี 20 - 22

Page 191: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

176

ตารางที่ 20 แสดงคาน้าํหนกัองคประกอบที่ 1 โครงสรางการจัดเก็บภาษี (34ขอ)

องคประกอบ ตัวแปร

1 2 3 4

A3 0.75

A4 0.74

A16 0.74

A2 0.73

A5 0.73

A15 0.70

A14 0.68

A1 0.65

A10 0.80

A9 0.77

A8 0.75

A11 0.75

A12 0.68

A7 0.67

A6 0.63

A13 0.62

A17 0.74

A22 0.73

A21 0.72

A23 0.72

A26 0.72

A20 0.71

A19 0.70

A24 0.70

A25 0.69

A18 0.67

Page 192: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

177

ตารางที่ 20 (ตอ)

องคประกอบ ตัว

แปร 1 2 3 4

A33 0.84

A34 0.84

A30 0.83

A28 0.80

A31 0.80

A29 0.79

A32 0.78

A27 0.59

Page 193: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

178

ตารางที่ 21 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบที่ 2 หลักเกณฑการจัดเกบ็ภาษี (15 ขอ)

องคประกอบ

ตัวแปร 1 2 3 4

B1 1.04

B2 0.70

B3 0.68

B7 0.86

B4 0.83

B5 0.83

B6 0.77

B10 0.91

B9 0.89

B11 0.88

B8 0.86

B14 0.92

B15 0.88

B12 0.84

B13 0.77

Page 194: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

179

ตารางที่ 22 แสดงคาน้าํหนกัองคประกอบที่ 3 หลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากร

องคประกอบ ตัวแปร

1 2 3 4 5 6

C2 0.89

C3 0.85

C1 0.84

C4 0.83

C6 0.85

C7 0.84

C8 0.83

C5 0.80

C10 0.90

C12 0.90

C11 0.88

C9 0.85

C15 0.87

C13 0.85

C16 0.85

C14 0.83

C18 0.90

C19 0.89

C20 0.88

C17 0.84

C21 0.94

C22 0.85

C24 0.84

C23 0.83

C25 0.82

Page 195: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

180

องคประกอบที่ 1 โครงสรางการจัดเกบ็ภาษี

ตารางที่ 23 แสดงคาน้าํหนกัองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อน

มาตรฐาน (standard error)และ คาสถิติทดสอบ t-testของตัวบงชี ้ใน

องคประกอบยอยที่ 1 หนวยงานจัดเก็บ

ตัวแปร ตัวแปร น้ําหนกั

องคประกอบ

SE t

A3 ในการพิจารณากําหนดอัตราและฐานภาษีเพื่อ

การศึกษาควรวิเคราะหตนทนุที่แทจริงของการ

จัดการศึกษาในแตละทองถิน่ 0.75

0.07 10.45**

A4 ประชาชนทุกคนควรมีสวนรวมในการจัด

การศึกษาโดยการชําระภาษเีพื่อการศึกษา 0.74

0.07 10.39**

A16 อปท.ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากมลพิษ 0.74 0.07 10.43**

A2 ควรปรับหลักเกณฑการจัดสรรงบประมาณเงิน

อุดหนนุรายหวัแกโรงเรียนโดยคํานงึถงึสภาพ

ที่ต้ัง(เขตในเมือง เขตชนบท) และขนาดโรงเรียน

(ใหญ กลาง เล็ก) 0.73 0.07 10.31**

A5 ควรจัดเก็บภาษีจากสถานบันเทงิ, สถาน

ประกอบธุรกิจการพนัน กาสิโน,สนามจัดแขงขัน

มา (SIN TAX) เพื่อจัดสรรสนับสนนุการศึกษา 0.73

0.07 10.28**

A15 อปท.ควรมหีนาที่จัดเก็บภาษีทุกประเภทใน

ทองถิน่และจัดสรรกลับคืนสูสวนกลาง 0.70

0.07 10.03**

A14 อปท.ทราบขอมูลการประกอบธุรกิจของ

ผูประกอบการในทองถิน่ของตนดีกวาหนวย

งานอ่ืน 0.68

0.07 9.90**

A1 การจัดสรรเงินงบประมาณอุดหนนุรายหัว

นักเรียนในปจจุบันของกระทรวงศึกษาธิการมี

ความเหมาะสม 0.65 - - หมายเหตุ ** p< .01 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Page 196: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

181

จากการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันอันดับสองของโครงสรางการจัดเก็บภาษี ใน

องคประกอบยอยในหนวยงานจัดเก็บ พบวาคาน้ําหนักองคประกอบของตัวบงชี้ทั้ง 8 มีคาน้ําหนัก

องคประกอบอยูระหวาง 0.65 ถึง 0.75 และทุกตัวมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ยกเวนตัวแปร A1

องคประกอบยอยหนวยงานจัดเก็บ ของโครงสรางการจัดเก็บภาษี พบวาตัวแปร A3 ในเร่ืองของ

การพิจารณากําหนดอัตราและฐานภาษีเพื่อการศึกษาควรวิเคราะหตนทุนที่แทจริงของการจัดการศึกษา

ในแตละทองถิ่น ซึ่งมีน้ําหนักองคประกอบสูงที่สุด เทากับ 0.75 รองลงมาไดแก การที่ประชาชนทุกคน

ควรมีสวนรวมในการจัดการศึกษาโดยการชําระภาษีเพื่อการศึกษา ซึ่งมีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ

A16 เร่ือง อปท.ควรจัดเก็บภาษีจากมลพิษ มีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ 0.74 นอกจากนี้ ตัวแปร

(ตัวบงชี้) อ่ืนๆ มีคาน้ําหนักองคประกอบอยูระหวาง 0.65 – 0.73

Page 197: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

182

ตารางที่ 24 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคล่ือน

มาตรฐาน (standard error)และ คาสถิติทดสอบ t-testของตัวบงชี ้ใน

องคประกอบยอยที ่2 ฐานภาษี

ตัวแปร ตัวแปร น้ําหนกั

องคประกอบ

SE t

A10 ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพิ่มพเิศษเพื่อ

สนับสนนุโรงเรียนทีม่ีเด็กพกิารเรียนรวมเพื่อจัด

ครูพิเศษ และปรับปรุงพื้นอาคารสถานท่ีให

รองรับอยางเหมาะสม 0.80 0.08 10.69**

A9 ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพื่อสนับสนุนเปน

กรณีพิเศษแกโรงเรียนที่มีผลการพัฒนาคุณภาพ

การศึกษาดี 0.77 0.07 10.47**

A8 ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพื่อนาํไปสนับ

สนุนใหแกเด็กยากจน เด็กดอยโอกาส เด็กพิการ

เพิ่มเติมเปนกรณีพิเศษ 0.75 0.07 10.31**

A11 ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพิ่มพเิศษเพื่อ

สนับสนนุ สงเสริมการเรียนรูใหกับนักเรียนที่มี

ความสามารถพิเศษ(อัจฉริยะ) 0.75 0.07 10.36**

A12 ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพื่อสนับสนุนการ

จัดการศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัย 0.68 0.07 9.83**

A7 ควรจัดเก็บภาษีจาก ทรัพยสิน เพื่อจัดสรร

สนับสนนุการศึกษา 0.67 0.06 11.20**

A6 ควรจัดเก็บภาษีจาก มรดก เพื่อจัดสรรสนับสนุน

การศึกษา 0.63 - -

A13 กรมสรรพากรควรเปนหนวยงานหลักในการ

จัดเก็บภาษีเพือ่การศึกษาและจัดสรรคืนสูทอง

ถิ่นอยางทั่วถึง 0.62 0.07 9.32** หมายเหตุ ** p< .01 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Page 198: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

183

จากการวิเคราะห องคประกอบเชิงยืนยันอันดับสองของโครงสรางการจัดเก็บภาษี ใน

องคประกอบยอยฐานภาษี พบวาคาน้ําหนักองคประกอบของตัวบงช้ีทั้ง 8 มีคาน้ําหนักองคประกอบอยู

ระหวาง 0.62 ถึง 0.80 และทุกตัวมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.01ยกเวน ตัวแปร A6

องคประกอบยอยฐานภาษีของโครงสรางการจัดเก็บภาษี พบวาตัวแปร A10 ในเร่ืองควรจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษาเพิ่มพิเศษเพื่อนสนับสนุนโรงเรียนที่มีเด็กพิการเรียนรวมเพื่อจัดครูพิเศษ และปรับปรุง

พื้นอาคารสถานที่ใหรองรับอยางเหมาะสม มีคาน้ําหนักองคประกอบสูงที่สุดในดานนี้ เทากับ 0.80

รองลงมาไดแก ตัวแปร A9 ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพื่อสนับสนุนเปนกรณีพิเศษแกโรงเรียนที่มีผล

การพัฒนาคุณภาพการศึกษาดี โดยมีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ 0.77 และยังพบวาตัวแปร A8 และ

A11 มีคาน้ําหนักองคประกอบเทากัน เทากับ 0.75 นั่นคือการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพื่อนําไป

สนับสนุนใหแกเด็กยากจน เด็กดอยโอกาส เด็กพิการเพิ่มเติมเปนกรณีพิเศษ และการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาเพิ่มพิเศษเพื่อสนับสนุนสงเสริมการเรียนรูใหกับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ (อัจฉริยะ) มี

ความสําคัญเปนอันดับที่ 3 โดยมีความสําคัญเทาๆกัน นั่นเอง นอกจากนี้ ตัวแปร (ตัวบงชี้) อ่ืนๆ มีคา

น้ําหนักองคประกอบอยูระหวาง 0.62 – 0.68

Page 199: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

184

ตารางที่ 25 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคล่ือน

มาตรฐาน (standard error)และ คาสถิติทดสอบ T-testของตัวบงชี้ ใน

องคประกอบยอยที ่3 อัตราภาษี

ตัวแปร ตัวแปร น้ําหนกั

องคประกอบ

SE t

A17 อปท.ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจาก

ทรัพยสิน

0.74

- -

A22 ผูปกครองหรือผูไดรับประโยชนจากการศึกษา

ควรมีสวนรวมรับผิดชอบในการชําระภาษกีาร

ศึกษาในทองถิ่นของตนเอง

0.73 0.06 11.50**

A21 อปท.ตองมีระบบบริหารงานในดานการจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพตาม

หลัก

ธรรมาภิบาล(good governance) โปรงใส เปน

ธรรม และตรวจสอบได

0.72

0.06 11.41**

A23 กรณี อปท.ที่มรีายไดจากการจัดเก็บภาษีการ

ศึกษาไมเพียงพอ รัฐควรสนบัสนุนงบประมาณ

เพิ่มเติมอยางทั่วถงึและเปนธรรม 0.72 0.06 11.46**

A26 หนวยงานจัดเก็บ ควรกาํหนดใหมีการจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษาจากการถอืครอง

อสังหาริมทรัพย เชน ที่ดินวางเปลา

0.72 0.06 11.38**

Page 200: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

185

ตัวแปร ตัวแปร น้ําหนกั

องคประกอบ

SE t

A20 รัฐมีหนาที่สนบัสนุนให อปท. มีศักยภาพในการ

จัดเก็บภาษีในทองถิน่ อยางมีมาตรฐาน

0.71 0.06 11.28**

A19 อปท.ควรมหีนาที่จัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาและ

จัด

สรรงบประมาณเพ่ือการศึกษาในทองถิ่นของ

ตน

0.70

0.06 11.20**

A24 หนวยงานที่จดัเก็บ ควรรายงานแผน การรับ-

จาย เงนิภาษีเพื่อการศึกษาใหประชาชนใน

ทองถิน่ทราบทุก ๆ ส้ินปงบประมาณ 0.70 0.06 11.19**

A25 หนวยงานจัดเก็บ ควรกาํหนดใหมีการจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษาจากผูมเีงนิไดที่ไดรับ

ประโยชนจากการศึกษา (เชน โรงเรียนกวดวิชา

ตาง ๆ และผูจาํหนายหนังสือ และอุปกรณส่ือ

การเรียน)

0.69

0.06

11.16**

A18 อปท.ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากมรดก 0.67 0.05 12.35** หมายเหตุ ** p< .01 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

จากการวิเคราะห องคประกอบเชิงยืนยันอันดับสองของโครงสรางการจัดเก็บภาษี ใน

องคประกอบยอยอัตราภาษี พบวาคาน้ําหนักองคประกอบของตัวบงช้ีทั้ง 10 มีคาน้ําหนักองคประกอบ

อยูระหวาง 0.67 ถึง 0.74 และทุกตัวมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ยกเวน ตัวแปร A17

โดยตัวแปรที่มีความสําคัญที่สุดในองคประกอบนี้ไดแก ตัวแปร A17 คือ อปท.ควรจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษาจากทรัพยสิน (โปรแกรมฯไมไดคํานวณคา t และ คา SE ให) มีคาน้ําหนักองคประกอบ

สูงสุดที่สุด เทากับ 0.74 รองลงมาไดแก A22 คือการที่ผูปกครองหรือผูไดรับประโยชนจากการศึกษา ควร

มีสวนรวมรับผิดชอบในการชําระภาษีเพื่อการศึกษาในทองถิ่นของตนเองโดยมีคาน้ําหนักองคประกอบ

เทากับ 0.73 และพบวาตัวแปร A21 A23 และ A26 มีความสําคัญที่เทากัน โดยคาน้ําหนักองคประกอบ

มีคาเทากัน เทากับ 0.72 นั่นคือ อปท.จะตองมีระบบบริหารงานในดานการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา

อยางมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล (good governance) โปรงใส เปนธรรม ตรวจสอบได มี

ตารางที่ 25 (ตอ)

Page 201: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

186

ความสําคัญพอๆกับ รัฐควรสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมอยางทั่วถึงและเปนธรรมกรณี อปท.มีรายได

จากการจัดเก็บศึกษาไมเพียงพอ รวมทั้งหนวยงานจัดเก็บ ควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา

จากการถือครองอสังหาริมทรัพย เชน ที่ดินวางเปลา

นอกจากนี้ตัวแปรอ่ืนๆ ก็มีความสําคัญตามลําดับ โดยตัวแปรอ่ืน ๆ นอกจากนี้ มีคาน้ําหนักอยู

ระหวาง 0.67 – 0.71 ดวย

Page 202: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

187

ตารางที่ 26 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคล่ือนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t-testของตัวบงชี้ ในองคประกอบยอยที่ 4

ระยะเวลาการจัดเก็บ

ตัวแปร ตัวแปร น้ําหนกั

องคประกอบ

SE t

A27 หนวยงานจัดเก็บ ควรกาํหนดใหมีการจัดเก็บ

ภาษีมูลคาเพิม่มากกวา 7 % เพื่อนาํสวนที่เพิม่

ข้ึนมาจัดสรรเปนภาษีเพื่อการศึกษา

0.59 - -

A28 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษาจากผูประกอบการคาส่ือส่ิงพิมพที่

ยั่วยหุรือละเมิดศีลธรรม

0.80 0.08 10.35**

A29 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษาจากสินคาฟุมเฟอย(เชน

เคร่ืองสําอาง น้ําหอม เคร่ืองประดับ ฯลฯ)

0.79 0.08 10.34**

A30 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษาจากผูประกอบการธุรกิจ/โรงงาน

อุตสาหกรรมที่กอมลพิษอันเปนอันตรายตอ

สุขภาพ(เชน โรงโมหนิ)

0.83 0.08 10.53**

A31 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษาจากผูประกอบการอุตสาหกรรมอัน

เปนการมอมเมาประชาชน (เชน โรงงานผลิตสุรา

โรงงานผลิตเบียร โรงงานผลิตบุหร่ีฯลฯ)

0.80 0.08 10.34**

A32 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษาจากผูประกอบการที่เปนผูแทน

จําหนายสลากกินแบงของรัฐในทองถิน่

0.78 0.08 10.23**

Page 203: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

188

ตารางที่ 26 (ตอ)

ตัวแปร ตัวแปร น้ําหนกั

องคประกอบ

SE t

A33 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหผูประกอบการ

จําหนายเกมคอมพิวเตอร หรือจัดใหมีบริการ

เลนเกมคอมพวิเตอรตาง ๆ อันเปนการมอมเมา

เด็กและเยาวชน ตองชาํระภาษีเพื่อการศึกษา

0.84 0.08 10.60**

A34 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหผูประกอบ

การใหบริการส่ือสารอันฟุมเฟอยตองชาํระภาษี

เพื่อการศึกษา(เชน ธุรกิจโทรศัพทมือถือ)

0.84 0.08 10.57** หมายเหตุ ** p< .01 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

จากการวิเคราะห องคประกอบเชิงยืนยันอันดับสองของโครงสรางการจัดเก็บภาษี ใน

องคประกอบยอยระยะเวลาการจัดเก็บ พบวาคาน้ําหนักองคประกอบของตัวบงช้ีทั้ง 8 มีคาน้ําหนัก

องคประกอบอยูระหวาง 0.59 ถึง 0.84 และทุกตัวมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ยกเวนตัวแปร A27

จะพบวาตัวแปร A33 และ A34 มีคาน้ําหนักองคประกอบสูงที่สุดในองคประกอบยอยดานนี้ นั่นคือ

หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหผูประกอบการจําหนายเกมคอมพิวเตอรตางๆ อันเปนสิง่มอมเมาเด็กและ

เยาวชน ตองชําระภาษีเพื่อการศึกษา และหนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหผูประกอบการใหบริการ

ส่ือสารอันฟุมเฟอยตองชําระภาษีเพื่อการศึกษา (เชน ธุรกิจโทรศัพทมือถือ) โดยทั้งสองมีคาน้ําหนัก

องคประกอบเทากับ 0.84

รองลงมาเปนตัวแปร A30 ไดแก หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษี การศึกษา

จากผูประกอบการธุรกิจและโรงงานอุตสาหกรรมที่กอมลพิษอันเปนอันตรายตอสุขภาพ เชน โรงโมหิน

เปนตน โดยมีน้ําหนักองคประกอบเทากับ 0.83

ทั้งนี้ตัวแปรอ่ืนๆ ก็มีความสําคัญและเปนสมาชิกขององคประกอบยอยดานนี้ ลดหล่ันกันไป โดย

มีคาน้ําหนักองคประกอบระหวาง 0.80 – 0.59 ดวย

Page 204: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

189

ตารางที่ 27 แสดงคาน้าํหนกัองคประกอบ (factor loading)คาความคลาดเคล่ือนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถติิทดสอบ t-test รายองคประกอบยอยในรูปแบบ

โครงสรางการจดัเก็บภาษี

โครงสรางการจัดเก็บภาษี น้ําหนกัองคประกอบ R square SE t

องคประกอบ

1. หนวยงานจดัเก็บ 0.77 0.59 0.07 11.60**

2. ฐานภาษี 0.83 0.68 0.07 11.67**

3. อัตราภาษี 0.84 0.70 0.06 13.76**

4. ระยะเวลาการจัดเก็บ 0.70 0.49 0.07 10.59**

x2 = 553.95 , df =517, P = 0.13, GFI = 0.96, AGFI = 0.96, RMR =0.063

หมายเหตุ *p < .05 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05, ** p< .01 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

GFI (Goodness of fit index) = ดัชนีวัดระดับความกลมกลืน

AGFI (Adjusted goodness of fit index) = ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแกแลว

RMR (Root mean square residual) = ดัชนีรากของคาเฉล่ียกําลังสองของสวนเหลือ

พิจารณาคาน้ําหนักองคประกอบ ขององคประกอบทั้ง 4 องคประกอบยอย ในองคประกอบ

โครงสรางการจัดเก็บภาษีมีคาเปนบวก มีขนาดต้ังแต 0.70 ถึง 0.84 โดยมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1

ทุกตัว โดยองคประกอบที่มีน้ําหนักมากที่สุด ไดแก อัตราภาษี โดยมีน้ําหนักองคประกอบ เทากับ 0.84

สามารถอธิบายความผันแปรในรูปแบบโครงสรางการจัดเก็บภาษี ไดถึงรอยละ 70

รองลงมาไดแก ฐานภาษี หนวยงานจัดเก็บ และระยะเวลาในการจัดเก็บโดยมีน้ําหนัก

องคประกอบ เทากับ 0.83 0.77 และ 0.70 ตามลําดับ รวมทั้งสามารถอธิบายความผันแปรในรูปแบบ

โครงสรางการจัดเก็บภาษี ไดถึงรอยละ 68 59 และ 49 ตามลําดับ

ผลการวิเคราะหความสอดคลองของโมเดลองคประกอบแรก โครงสรางการจัดเก็บภาษี ที่

ประกอบดวยองคประกอบยอยตาง ๆ ทั้ง 4 องคประกอบขางตน พบวามีความสอดคลองกลมกลืนกับ

ขอมูลเชิงประจักษดี พิจารณาจากคาสถิติที่ใชในการทดสอบ ไค สแควร (chi square) มีคาเทากับ

553.95, df=517, P = 0.13, รวมทั้งดัชนีตางๆ เชน GFI = 0.96, AGFI = 0.96, RMR = 0.063

Page 205: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

190

แผนภาพที่ 1 องคประกอบที่ 1 โครงสรางการจัดเก็บภาษี

A1

A2

A3

A4

A5

A6

A7

A8

A9

A10

A11

A12

A13

A14

A15

A16

A17

A18

A19

A20

A21

A22

A23

A24

A25

A26

A27

A28

A29

A30

A31

A32

A33

A34

0.65

0.73

0.75

0.74

0.73

0.63

0.67

0.75

0.77

0.80

0.75

0.68

0.62

0.68

0.70

0.74

0.74

0.67

0.70

0.71

0.72

0.73

0.72

0.70

0.69

0.72

0.59

0.80

0.79

0.83

0.80

0.78

0.84

0.84

องคประกอบที่ 1

Page 206: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

191

องคประกอบที่ 2 หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี

ตารางที่ 28 แสดงคาน้าํหนกัองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (standard

error) และ คาสถิติทดสอบ t-test ของตัวบงชี้ ในองคประกอบยอยที่ 1 หลักความเปนธรรม

ตัวแปร ตัวแปร น้ําหนกั

องคประกอบ

SE t

B1 หนวยงานจัดเก็บควรสรางความเขาใจแก

ประชาชนเกี่ยวกับผลดีจากการรวมมือ

ชําระภาษีเพื่อการศึกษา 1.04

- -

B2 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดมาตรการ

จัดเก็บภาษีเพือ่การศึกษา ใหชัดเจน

เพื่อให

ผูชําระภาษีไดทราบถงึผลประโยชน และ

มั่นใจวาการใชเงินดังกลาวเปนไปเพื่อการ

พัฒนาและสนบัสนุนการจัดการศึกษา

อยางเปนธรรม โปรงใสและตรวจสอบได 0.70

0.07 10.43**

B3 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหประชาชน

ในทองถิน่มีสวนรวมในการทําประชา

พิจารณเพื่อกาํหนดฐาน อัตรา ระยะเวลา

และวิธีการชําระภาษีเพื่อการศึกษา 0.68

0.07 9.55** หมายเหตุ ** p< .01 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

จากการวิเคราะห องคประกอบเชิงยืนยันอันดับสองของหลักเกณฑการจัดเก็บภาษี ใน

องคประกอบยอยหลักความเปนธรรม พบวาคาน้ําหนักองคประกอบของตัวบงชี้ทั้ง 3 มีคาน้ําหนัก

องคประกอบอยูระหวาง 0.68 ถึง 1.04 และมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

โดยตัวแปร B1 เร่ืองหนวยงานจัดเก็บควรสรางความเขาใจแกประชาชนเกี่ยวกับผลดีจากการ

รวมมือชําระภาษีเพื่อการศึกษา มีความสําคัญสูงสุดในเร่ืองหลักความเปนธรรม โดยมีคาน้ําหนัก

องคประกอบเทากับ 1.04 รองลงมาไดแก ตัวแปร B2 ในประเด็นหนวยงานจัดเก็บควรกําหนดมาตรการ

จัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ใหชัดเจนเพื่อใหผูชําระภาษีไดทราบถึงผลประโยชนและม่ันใจวาการใชเงิน

ดังกลาวเปนไปเพื่อการพัฒนาและสนับสนุนการจัดการศึกษาอยางเปนธรรม โปรงใส และตรวจสอบได

โดยมีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ 0.70 และทายสุด ของประเด็นดานหลักความเปนธรรม นั่นคือ

Page 207: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

192

หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมในการทําประชาพิจารณเพื่อกําหนด

มาตรฐาน อัตรา ระยะเวลาและวิธีการชําระภาษีเพื่อการศึกษา หรือตัวแปร B3 โดยมีน้ําหนัก

องคประกอบ เทากับ 0.68

Page 208: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

193

ตารางที่ 29 แสดงคาน้าํหนกัองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (standard

error) และ คาสถิติทดสอบ t-testของตัวบงชี้ ในองคประกอบยอยที่ 2 หลักความแนนอน

ตัวแปร ตัวแปร น้ําหนกั

องคประกอบ

SE t

B7 หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนด

วิธีการชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่แตกตางกัน

ตามความสามารถในการชําระภาษี 0.86 0.03 30.48

B4 หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนด

ฐานการจัดเกบ็ ภาษีเพื่อการศึกษาที่

แตกตางกนั ตามความสามารถของ

ประชากรในทองถิ่น 0.83 - -

B5 หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนด

อัตราการชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่แตกตาง

กัน ตามความสามารถของประชากรใน

ทองถิน่ 0.83 0.03 28.83

B6 หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนด

ระยะเวลาการชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่

แตก

ตางกัน ตามความเหมาะสมของทองถิ่น 0.77 0.03 27.01 หมายเหตุ ** p< .01 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

จากการวิเคราะห องคประกอบเชิงยืนยันอันดับสองของหลักเกณฑการจัดเก็บภาษี ใน

องคประกอบยอยหลักความแนนอน พบวาคาน้ําหนักองคประกอบของตัวบงช้ีทั้ง 4 มีคาน้ําหนัก

องคประกอบอยูระหวาง 0.77 ถึง 0.86 และมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

โดยตัวแปร B7 มีคาน้ําหนักสูงที่สุดในองคประกอบยอยนี้ นั้นคือ การที่หนวยงานจัดเก็บในแต

ละทองที่ อาจกําหนดวิธีการชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่แตกตางกัน ตามความสามารถในการชําระภาษี มี

ความสําคัญในสวนของหลักความแนนอน โดยมีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ 0.86

รองลงมาไดแก ตัวแปร B4 และ B5 ในเร่ืองหนวยงานจัดเก็บในทองที่กําหนดฐานการจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษาที่แตกตางกันตามความสามารถของประชากรในทองถิ่น และการที่หนวยงานจัดเก็บ

Page 209: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

194

ในแตละทองที่อาจกําหนดอัตราการชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่แตกตางกันตามความสามารถของ

ประชากรในทองถิ่น โดยทั้ง 2 ตัวแปร มีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ 0.83

นอกจากนี้ ตัวแปร B6 ในเรื่องระยะเวลาการชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่แตกตางกันตามความ

เหมาะสมของทองถิ่น ก็มีความสําคัญเปนลําดับสุดทายโดยมีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ 0.77

Page 210: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

195

ตารางที่ 30 แสดงคาน้าํหนกัองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (standard

error) และ คาสถิติทดสอบ t-testของตัวบงชี้ ในองคประกอบยอยที่ 3 หลักความสะดวก

ตัวแปร ตัวแปร น้ําหนกั

องคประกอบ

SE t

B10 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดระยะเวลาการ

จัดเก็บภาษีเพือ่การศึกษา โดยใชหลักเกณฑ

เดียวกนั

0.91 0.02 38.76**

B9 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดวิธีการชาํระภาษีการ

ศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกนั

0.89 0.02 37.85**

B11 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดอัตราการจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน

0.88 0.02 36.39**

B8 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดฐานภาษีเพือ่

การศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน

0.86 - - หมายเหตุ ** p< .01 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

จากการวิเคราะห องคประกอบเชิงยืนยันอันดับสองของหลักเกณฑการจัดเก็บภาษี ใน

องคประกอบยอยหลักความสะดวก พบวาคาน้ําหนักองคประกอบของตัวบงช้ีทั้ง 4 มีคาน้ําหนัก

องคประกอบอยูระหวาง 0.86 ถึง 0.91 และมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

โดยตัวแปร B10 มีคาน้ําหนักองคประกอบสูงที่สุด นั่นคือ หนวยงานจัดเก็บควรไดกําหนด

ระยะเวลาการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน มีน้ําหนักองคประกอบเทากับ 0.91

รองลงมาไดแก ตัวแปร B9 B11 และ B8 โดยมีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ 0.89 0.88 0.86

ตามลําดับ นั่นคือ หนวยงานจัดเก็บควรไดกําหนดวิธีการชําระภาษีเพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑ

เดียวกัน ซึ่งจะทําใหมีความสะดวกรองลงมา จากนั้นหนวยงานจัดเก็บควรไดกําหนดอัตราการจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน และกําหนดฐานภาษีเพื่อการศึกษาโดยใชหลักเกณฑ

เดียวกัน ตามลําดับดวย

Page 211: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

196

ตารางที่ 31 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคล่ือนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t-testของตัวบงชี้ ในองคประกอบยอยที่ 4

หลักของความประหยัด

ตัวแปร ตัวแปร น้ําหนกั

องคประกอบ

SE t

B14 หนวยงานจัดเก็บควรบริหารการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษาโดยกําหนดระบบการจัดเก็บ

ภาษี บุคลากร ฐานขอมูลและระบบติดตาม

ตรวจสอบดวยระบบสารสนเทศ

0.92 0.02 39.02**

B15 หนวยงานจัดเก็บควรใหประชาชนในทองถิน่มี

สวนรวมโดยการประชาพิจารณ กําหนดหลัก

เกณฑ วิธกีารประเมินภาษีและบทกําหนด

โทษ เพื่อปองกันการหลบเล่ียงภาษเีพื่อ

การศึกษาในทองถิ่นของตน

0.88 0.03 35.38**

B12 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดหลักเกณฑวธิี

การการประเมิน บทกาํหนดโทษ เพื่อปอง

กันการหลบเล่ียงภาษเีพื่อการศึกษา โดยใช

หลักเกณฑเดียวกนั

0.84 - -

B13 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดหลักเกณฑการ

ชําระภาษีเพื่อการศึกษาใหชดัเจน เชน วิธกีาร

ชําระ อัตรา และระยะเวลาการชําระภาษเีพื่อ

การศึกษา

0.77 0.03 28.28** หมายเหตุ ** p< .01 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

จากการวิเคราะห องคประกอบเชิงยืนยันอันดับสองของหลักเกณฑการจัดเก็บภาษี ใน

องคประกอบยอยหลักความประหยัด พบวาคาน้ําหนักองคประกอบของตัวบงชี้ทั้ง 4 มีคาน้ําหนัก

องคประกอบอยูระหวาง 0.77 ถึง 0.92 และมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

พิจารณาจากตัวแปร B14 มีคาน้ําหนักองคประกอบสูงที่สุดเทากับ 0.92 นั่นคือหนวยงาน

จัดเก็บควรบริหารการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาโดยกําหนดระบบการจัดเก็บภาษี บุคลากร ฐานขอมูล

และติตามตรวจสอบดวยระบบสารสนเทศ รองลงมาไดแก ตัวแปร B15 โดยหนวยงานจัดเก็บควรให

Page 212: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

197

ประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมโดยการประชาพิจารณ กําหนดหลักเกณฑ วิธีการประเมินภาษีและบท

กําหนดโทษเพื่อปองกันการหลบเล่ียงภาษีเพื่อการศึกษาในทองถิ่นของตน ซึ่งมีคาน้ําหนักองคประกอบ

เปนลําดับที่ 2 เทากับ 0.88

นอกจากนี้ตัวแปร B12 B13 มีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ 0.84 และ 0.77 นั่นคือ หนวยงาน

จัดเก็บควรกําหนดหลักเกณฑวิธีการการประเมิน บทกําหนดโทษ เพื่อ ปองกันการหลบเล่ียงภาษีเพื่อ

การศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน รวมทั้ง หนวยงานจัดเก็บควรกําหนด หลักเกณฑการชําระภาษีเพื่อ

การศึกษาใหชัดเจน เชน วิธีการชําระ อัตราและระยะเวลาการชําระภาษีเพื่อการศึกษาดวย

Page 213: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

198

ตารางที่ 32 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อน มาตรฐาน

(standard error)และ คาสถติิทดสอบ t-test รายองคประกอบ

ยอยในรูปแบบหลักเกณฑการจัดเก็บภาษี

หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี

น้ําหนกั

องคประกอบ

R square SE t

องคประกอบ

1. หลักความเปนธรรม (T1) 0.81 0.19 0.10 8.01**

2. หลักของความแนนอน (T2) 0.60 0.40 0.06 10.21**

3. หลักของความสะดวก (T3) 0.72 0.28 0.05 13.47**

4. หลักของความประหยัด (T4) 0.67 0.33 0.05 12.22**

x2 = 318.80 , df =65, P = 0.532, GFI = 0.96, AGFI = 0.92, RMR =0.024

หมายเหตุ *p < .05 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05, ** p< .01 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

GFI (Goodness of fit index) = ดัชนีวัดระดับความกลมกลืน

AGFI (Adjusted goodness of fit index) = ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแกแลว

RMR (Root mean square residual) = ดัชนีรากของคาเฉล่ียกําลังสองของสวนเหลือ

พิจารณาคาน้ําหนักองคประกอบ ขององคประกอบทั้ง 4 องคประกอบยอย ในองคประกอบ

หลักเกณฑการจัดเก็บภาษีมีคาเปนบวก มีขนาดต้ังแต 0.60 ถึง 0.81 โดยมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ

.01 ทุกตัว โดยองคประกอบที่มีน้ําหนักมากที่สุด ไดแก หลักความเปนธรรม โดยมีน้ําหนักองคประกอบ

เทากับ 0.81 สามารถอธิบายความผันแปรในรูปแบบหลักเกณฑการจัดเก็บภาษี ไดถึงรอยละ 19

รองลงมาไดแก หลักความสะดวก หลักความประหยัด และหลักความแนนอน โดยมีน้ําหนัก

องคประกอบ เทากับ 0.72 0.67 และ 0.601 ตามลําดับ รวมทั้งสามารถอธิบายความผันแปรในรูปแบบ

หลักเกณฑการจัดเก็บภาษีไดรอยละ 28 33 และ 40 ตามลําดับ

ผลการวิเคราะหความสอดคลองของโมเดลองคประกอบที่สองในเร่ืองหลักเกณฑการจัดเก็บ

ภาษี ที่ประกอบดวยองคประกอบยอยดานตาง ๆ ทั้ง 4 องคประกอบขางตน พบวามีความสอดคลอง

กลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษดี พิจารณาจากคาสถิติที่ใชในการทดสอบ ไค สแควร (chi square) มีคา

เทากับ 318.80 df = 65, P = 0.532, GFI = 0.96, AGFI = 0.92, RMR = 0.024

Page 214: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

199

แผนภาพที่ 2 องคประกอบที่ 2 หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี

B1

B2

B3

B4

B5

B6

B7

B8

B9

B10

B11

B12

B13

B14

B15

1.40

0.70

0.68

0.83

0.83

0.77

0.86

0.86

0.89

0.91

0.88

0.84

0.77

0.92

0.88

องคประกอบที่ 2

Page 215: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

200

องคประกอบที่ 3 หลักเกณฑเกี่ยวกบัประสิทธิภาพของภาษีอากร

ตารางที่ 33 แสดงคาน้าํหนกัองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t-testของตัวบงชี้ ในองคประกอบยอยที่ 1

หลักความเปนธรรม

ตัวแปร ตัวแปร น้ําหนกั

องคประกอบ

SE t

C2 การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บใน

อัตรากาวหนาเชนเดียวกับภาษีเงินได 0.89

0.07 12.44**

C3 การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บใน

อัตราถดถอย เชน มีผลกําไรมากข้ึนจะชําระ

ภาษีนอยลง 0.85

0.07 12.17**

C1 การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บ

อัตราคงที่เชนเดียวกับภาษีมลูคาเพิ่ม 0.84

- -

C4 ประชาชนทุกคนท่ีมหีนาที่ตองชําระภาษีการ

ศึกษา โดยเทาเทยีมกนั 0.83 0.07 12.03** หมายเหตุ ** p< .01 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

จากการวิเคราะห องคประกอบเชิงยืนยันอันดับสองหลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษี

อากร องคประกอบยอยในดานหลักความเปนธรรม พบวาคาน้ําหนักองคประกอบของตัวบงช้ีทั้ง 4 มีคา

น้ําหนักองคประกอบอยูระหวาง 0.83 ถึง 0.89 และมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

พิจารณาพบวา ตัวแปร C2 มีคาน้ําหนักองคประกอบสูงที่สุดเทากับ 0.89 นั่นคือ การจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บในอัตรากาวหนาเชนเดียวกับภาษีเงินได มีความสําคัญที่สุดในหลักของ

ความเปนธรรม รองลงมาไดแก ตัวแปร C3 ในเร่ืองการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บในอัตรา

ถดถอย เชน มีผลกําไรมากข้ึนจะชําระภาษีนอยลง โดยมีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ 0.85 และตัว

แปร C1 กับ C4 มีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ 0.84 และ 0.83 ตามลําดับ

Page 216: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

201

ตารางที่ 34 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t-test ของตัวบงชี้ องคประกอบยอยที ่2

หลักความเปนกลาง

ตัวแปร ตัวแปร น้ําหนกั

องคประกอบ

SE t

C6 ประชาชนทุกคนท่ีมหีนาที่ตองชําระภาษีการ

ศึกษา แตกตางกนั ตามกําลังความสามารถที่ไมเทา

เทียมกัน เชน ผูที่มีภาระคาใชจายในการเล้ียงดูบุตร 0.85 0.07 11.98**

C7 ผูใดไดรับประโยชนจากการศึกษามาก จะตองชําระ

ภาษีเพื่อการศึกษามากกวาผูที่ไดรับประโยชนนอย

กวา เชน การนําผลวิจัยทางการศึกษาไปผลิตเปน

สินคาจําหนายและไดรับผลตอบแทนสูง 0.84 0.07 11.91**

C8 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากสถาน

บันเทงิที่เปนการมอมเมาประชาชนเพื่อควบคุม

ปริมาณของสถานบันเทิงดังกลาว 0.83 0.07 11.85**

C5 ประชาชนทุกคนท่ีมหีนาที่ตองชําระภาษีการ

ศึกษา แตกตางกนั ตามฐานรายไดที่ไมเทาเทียมกัน 0.80 - - หมายเหตุ ** p< .01 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

จากการวิเคราะห องคประกอบเชิงยืนยันอันดับสองของเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษี

อากร องคประกอบยอยหลักความเปนธรรม พบวาคาน้ําหนักองคประกอบของตัวบงช้ีทั้ง 4 มีคาน้ําหนัก

องคประกอบอยูระหวาง 0.80 ถึง 0.85 และมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

โดยตัวแปร C6 มีคาน้ําหนักองคประกอบสูงที่สุด เทากับ 0.85 นั่นคือแตกตางกัน ตามกําลัง

ความสามารถที่ไมเทาเทียมกันประชาชนทุกคนมีหนาที่ตองชําระภาษีเพื่อการศึกษา เชน ผูที่มีภาระ

คาใชจายในการเล้ียงดูบุตร ซึ่งมีความสําคัญสูงที่สุดในดาน ความเปนธรรม รองลงมาไดแก ตัวแปร C7

คือผูใดไดรับประโยชนจากการศึกษามาก จะตองชําระภาษีเพื่อการศึกษามากกวาผูที่ไดรับประโยชน

นอยกวา เชน การนําผลวิจัยทางการศึกษาไปผลิตเปนสินคาจําหนายและไดรับผลตอบแทนสูง

นอกจากนี้ตัวแปร C8 C5 ก็มีความสําคัญลดหล่ันกันลงมา โดยมีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ

0.83 และ 0.80

Page 217: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

202

ตารางที่ 35 แสดงคาน้าํหนกัองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

(standard error)และ คาสถิติทดสอบ t-test ของตัวบงชี้ ในองคประกอบยอยที ่3

หลักความแนนอน

ตัวแปร ตัวแปร น้ําหนกั

องคประกอบ

SE t

C10 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผู

ประกอบการอุตสาหกรรมอันเปนการมอมเมา

ประชาชน เชน โรงงานผลิตสุรา โรงงานผลิต

เบียร โรงงานผลิตบุหร่ี เพื่อควบคุมปริมาณ

ของผูประกอบการดังกลาว

0.90 0.07 13.52**

C12 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผู

ประกอบการสือ่ส่ิงพิมพทีเ่ปนการยั่วยุแกเด็ก

และเยาวชนเพื่อควบคุมปริมาณขอผู

ประกอบการดังกลาว

0.90 0.07 13.54**

C11 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผู

ประกอบการธรุกิจ/โรงงานอุตสาหกรรมทีก่อ

มลพิษเพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบ

การดังกลาว

0.88 0.07 13.37**

C9 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผู

ประกอบการจาํหนายเกมคอมพิวเตอร หรือจัด

ใหมีบริการเลนเกมคอมพิวเตอรตาง ๆ อันเปน

การมอมเมาเด็กและเยาวชนเพ่ือควบคุม

ปริมาณของผูประกอบการดังกลาวดังกลาว

0.85 - - หมายเหตุ ** p< .01 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

จากการวิเคราะห องคประกอบเชิงยืนยันอันดับสองของเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษี

อากร องคประกอบยอยในดานหลักความแนนอน พบวาคาน้ําหนักองคประกอบของตัวบงช้ีทั้ง 4 มีคา

น้ําหนักองคประกอบอยูระหวาง 0.85 ถึง 0.90 และมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

โดยตัวแปร C10 และ C12 มีความสําคัญที่สุดหลักความแนนอน นั่นคือทั้งการเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการอุตสาหกรรมอันเปนการมอมเมาประชาชน เชน โรงงานผลิตสุรา

Page 218: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

203

โรงงานผลิตเบียร โรงงานผลิตบุหร่ี เพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบการดังกลาว และควรเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการสื่อส่ิงพิมพที่เปนการยั่วยุแกเด็กและเยาวชนเพื่อควบคุมปริมาณ

ของผูประกอบการดังกลาว มีความสําคัญพอ ๆ กัน โดยมีคาน้ําหนักองคประกอบที่เทากัน เทากับ 0.90

รองลงมา ไดแก ตัวแปร C11 และ C9 นั่นคืออันดับรองลงมาไดแก เก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูง

จากผูประกอบการธุรกิจหรือโรงงานอุตสาหกรรมที่ กอมลพิษเพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบการ

ดังกลาวและควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการจําหนายเกมคอมพิวเตอร หรือจัด

ใหมีบริการเลนเกมคอมพิวเตอรตาง ๆ อันเปนการมอมเมาเด็กและเยาวชนเพ่ือควบคุมปริมาณของ

ผูประกอบการดังกลาว ตามลําดับ

Page 219: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

204

ตารางที่ 36 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคล่ือนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t-test ของตัวบงชี้ ในองคประกอบยอยที่ 4

หลักความประจักษแจง

ตัวแปร ตัวแปร น้ําหนกั

องคประกอบ

SE t

C15 หนวยงานจัดเก็บ ควรประชาสัมพนัธให

ประชาชนทราบถึงหลักเกณฑ วิธีการ อัตรา

และสถานที่รับชําระภาษีเพือ่การศึกษา โดย

ทั่วถงึกนั

0.87 0.07 13.00**

C13 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจาก

ผูประกอบการที่เปนผูแทนจําหนายสลากกิน

แบงของหนวยงานจัดเก็บซ่ึงเปนการมอมเมา

ประชาชนเพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบ

การดังกลาว

0.85 - -

C16 หนวยงานจัดเก็บ ควรอํานวยความสะดวกแก

ประชาชนในการบริการรับชําระภาษีการ

ศึกษา เชน มกีารรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่

หางสรรพสินคา และธนาคารพาณิชยไดทกุ

แหง

0.85 0.07 12.81**

C14 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจาก

ผูประกอบการที่จําหนายสินคาฟุมเฟอย เชน

เคร่ืองสําอาง น้ําหอม เคร่ืองประดับ เพื่อ

ควบคุมปริมาณของผูประกอบการดังกลาว

0.83 0.07 12.60** หมายเหตุ ** p< .01 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

จากการวิเคราะห องคประกอบเชิงยืนยันอันดับสองของหลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของ

ภาษีอากร องคประกอบยอยในดานหลักความประจักษแจง พบวาคาน้ําหนักองคประกอบของตัวบงช้ีทั้ง

4 มีคาน้ําหนักองคประกอบอยูระหวาง 0.83 ถึง 0.87 และมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

โดยตัวแปรที่มีคาน้ําหนักสูงที่สุดไดแก C15 คือ หนวยงานจัดเก็บ ควรประชาสัมพันธให

ประชาชนทราบถึงหลักเกณฑ วิธีการ อัตรา และสถานที่รับชําระภาษีเพื่อการศึกษา โดยทั่วถึงกันสําคัญ

Page 220: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

205

เปนอันดับแรกของหลักความประจักษแจง โดยมีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ 0.87 รองลงมา ไดแกตัว

แปร C13 และ C16 นั่นคือ ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการที่เปนผูแทน

จําหนายสลากกินแบงของหนวยงานจัดเก็บซึ่งเปนการมอมเมาประชาชนเพื่อควบคุมปริมาณของ

ผูประกอบการดังกลาว และหนวยงานจัดเก็บ ควรอํานวยความสะดวกแกประชาชนในการบริการรับ

ชําระภาษีเพื่อการศึกษา เชน มีการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่ หางสรรพสินคา และธนาคารพาณิชย

ไดทุกแหง ซึ่งมีคาน้ําหนักองคประกอบเทากัน เทากับ 0.85 และลําดับสุดทายตัวแปร C14 เร่ืองการเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการที่จําหนายสินคาฟุมเฟอย เชน เคร่ืองสําอาง น้ําหอม

เคร่ืองประดับ เพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบการดังกลาว มีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ 0.83

Page 221: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

206

ตารางที่ 37 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคล่ือนมาตรฐาน

(standard error) และ คาสถิติทดสอบ t-testของตัวบงชี้ ในองคประกอบยอยที่ 5

หลักประสิทธภิาพในการบริหาร

ตัวแปร ตัวแปร น้ําหนกั

องคประกอบ

SE t

C18 หนวยงานจัดเก็บ ควรมอบรางวัลเกียรติคุณ

ใหแกผูชําระภาษีเพื่อการศึกษาดีเดนโดย

ดําเนนิการขอพระราชทานเคร่ือง

ราชอิสริยาภรณใหเปนกรณีพิเศษ

0.90 0.07 13.44**

C19 หนวยงานจัดเก็บ ควรตอบแทนใหแกผูชําระ

ภาษีเพื่อการศึกษาโดยใหสิทธิพิเศษในการ

เลือกสถานที่เขาเรียนแกบุตรผูชําระภาษีดีเดน

ไดตามประสงค โดยเฉพาะการเขาศึกษาใน

ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

0.89 0.07 13.33**

C20 หนวยงานจัดเก็บ ควรแสดงอัตราภาษีการ

ศึกษาไวบนฉลากสินคาใหเห็นเดนชัด

0.88 0.07 13.24**

C17 หนวยงานจัดเก็บ ควรจัดสงแบบแสดงราย

การรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาพรอมเอกสาร

คําแนะนําไปยงัภูมิลําเนาของผูชําระภาษีการ

ศึกษาในทุก ๆ ป

0.84 - - หมายเหตุ ** p< .01 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

จากการวิเคราะห องคประกอบเชิงยืนยันอันดับสองของหลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพ

ของภาษีอากร องคประกอบยอยหลักประสิทธิภาพในการบริหาร พบวาคาน้ําหนักองคประกอบของตัว

บงช้ีทั้ง 4 มีคาน้ําหนักองคประกอบอยูระหวาง 0.84 ถึง 0.90 และมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

พบวาตัวแปร C18 มีความสําคัญสูงที่สุด โดยมีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ 0.90

รองลงมาไดแก C19 มีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ 0.89 นั่นคือ หนวยงานจัดเก็บควรมอบรางวัล

เกียรติคุณใหแกผูชําระภาษีเพื่อการศึกษาดีเดนโดยดําเนิน การขอพระราชทานเคร่ืองอิสริยาภรณใหเปน

กรณีพิเศษ เปนประเด็นที่สําคัญมากที่สุดในหลักประสิทธิภาพของภาษีอากร รองลงมาไดแก การที่

Page 222: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

207

หนวยงานจัดเก็บ ตอบแทนใหแกผูชําระภาษีเพื่อการศึกษาโดยใหสิทธิพิเศษในการเลือกสถานที่เขาเรียน

แกบุตรผูชําระภาษีดีเดน ไดตามประสงค โดยเฉพาะการเขาศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

นอกจากนี้ ตัวแปร C20 ไดแก หนวยงานจัดเก็บ ควรแสดงอัตราภาษีเพื่อการศึกษาไวบน

ฉลากสินคาใหเห็นเดนชัด และ C17 ไดแก หนวยงานจัดเก็บ ควรจัดสงแบบแสดงรายการรับชําระภาษี

เพื่อการศึกษาพรอมเอกสารคําแนะนําไปยังภูมิลําเนาของผูชําระภาษีเพื่อการศึกษาในทุกๆป มีคา

น้ําหนักองคประกอบเทากับ 0.88 และ 0.84 ตามลําดับ ดวย

Page 223: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

208

ตารางที่ 38 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading) คาความคลาดเคล่ือนมาตรฐาน

(standard error)และ คาสถติิทดสอบ t-testของตัวบงชี ้ใน องคประกอบยอยที ่6

หลักผลการจํากัดรายจายสุทธิ

ตัวแปร ตัวแปร น้ําหนกั

องคประกอบ

SE t

C21 หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควร

กําหนดอัตราภาษีเพื่อการศึกษาใหเหมาะสม

เพื่อมิใหมีผลกระทบตอรายไดสุทธิของ

ประชาชน

0.94 - -

C22 หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควร

กําหนดฐาน อัตราและวิธีการชําระภาษีเพือ่

การศึกษา ดวยความเปนธรรมและเสมอภาค

แกผูรับภาระภาษี เพื่อมิใหมผีลกระทบตอ

กลไกของตลาดการคา

0.85 0.06 14.36**

C23 หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรใช

ระบบการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษา

เชนเดียวกับระบบภาษีหัก ณ.ที่จาย เพื่อเปน

การประหยัดตอตนทนุในการจัดเก็บภาษี

0.83

0.06 14.12**

C24 หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรใช

ระบบการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษา

เชนเดียวกับระบบภาษีมูลคาเพิ่ม เพื่อเปน

การลดตนทนุในการจัดเกบ็ภาษี

0.84

0.06 14.27**

C25 หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรใช

ระบบสารสนเทศในการรับชําระภาษี เชน

การชําระภาษทีางอินเตอรเน็ต เพื่อเปนการ

ลดตนทุนในการจัดเก็บภาษี

0.82

0.06 13.94** หมายเหตุ ** p< .01 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Page 224: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

209

จากการวิเคราะห องคประกอบเชิงยืนยันอันดับสองของหลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพ

ของภาษีอากร องคประกอบยอยหลักผลการจํากัดรายจายสุทธิ พบวาคาน้ําหนักองคประกอบของตัว

บงช้ีทั้ง 5 มีคาน้ําหนักองคประกอบอยูระหวาง 0.82 ถึง 0.94 และมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดย

ตัวแปร C21 มีคาน้ําหนักองคประกอบสูงสุดเทากับ 0.94 นั่นคือหนวยงานจัดเก็บการศึกษาควรกําหนด

อัตราภาษีเพื่อการศึกษาใหเหมาะสมเพื่อมิใหมีผลกระทบตอรายไดสุทธิของประชาชน สําคัญเปนลําดับ

แรกในดานหลัก หลักผลการจํากัดรายจายสุทธิ ลําดับตอไปคือ ตัวแปร C22 คือหนวยงานจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษา ควรกําหนดฐาน อัตราและวิธีการชําระภาษีเพื่อการศึกษาดวยความเปนธรรมและเสมอ

ภาคแกผูรับภาระภาษี เพื่อมิใหมีผลกระ ทบตอกลไกของตลาดการคา มีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ

0.85 นอกจากนี้ ตัวแปรอ่ืน ๆ

มีคาน้าํหนักองคประกอบ ระหวาง 0.82 – 0.84

Page 225: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

210

ตารางที่ 39 แสดงคาน้ําหนักองคประกอบ (factor loading)คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

(standard error)และ คาสถติิทดสอบ t-testรายองคประกอบยอยในรูปแบบหลักเกณฑ

เกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากร

หลักเกณฑเกีย่วกับประสิทธิภาพของภาษี

อากร

น้ําหนกั

องคประกอบ

R square SE t

องคประกอบ

1. หลักความเปนธรรม (E1) 0.53 0.28 0.05 10.29**

2. หลักความเปนกลาง (E2) 0.67 0.44 0.06 11.81**

3. หลักความแนนอน (E3) 0.63 0.40 0.05 12.17**

4. หลักความประจักษแจง (E4) 0.70 0.49 0.05 12.98**

5. หลักประสิทธิภาพในการบริหาร (E5) 0.68 0.46 0.05 12.73**

6. หลักผลการจํากัดรายจายสุทธิ (E6) 0.72 0.52 0.05 14.50**

x2 = 295.68 , df =269, P = 0.13, GFI = 0.98, AGFI = 0.97, RMR =0.058

หมายเหตุ *p < .05 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05, ** p< .01 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

GFI (Goodness of fit index) = ดัชนีวัดระดับความกลมกลืน

AGFI (Adjusted goodness of fit index) = ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแกแลว

RMR (Root mean square residual) = ดัชนีรากของคาเฉล่ียกําลังสองของสวนเหลือ

พิจารณาคาน้ําหนักองคประกอบ ขององคประกอบทั้ง 6 องคประกอบยอย หลักเกณฑ

เกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากร พบวาองคประกอบยอยดานหลักผลการจํากัดรายจายสุทธิมีคา

น้ําหนักองคประกอบสูงที่สุด เทากับ 0.72 โดยสามารถอธิบายความผันแปรองคประกอบหลักเกณฑ

เกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากร ไดถึงรอยละ 52

รองลงมาไดแก องคประกอบยอยหลักความประจักษแจง มีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ

0.70 โดยสามารถอธิบายความผันแปรองคประกอบหลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากร ได

ถึงรอยละ 49

องคประกอบยอยหลักประสิทธิภาพในการบริหาร มีคาน้ําหนักองคประกอบ เทากับ 0.68

โดยสามารถอธิบายความแปรผันองคประกอบหลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากรไดถึงรอย

ละ 46

Page 226: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

211

นอกจากนี้ องคประกอบยอยความเปนกลาง องคประกอบยอยหลักความแนนอน

องคประกอบยอยความเปนธรรม มีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ 0.67 0.63 และ 0.53 ตามลําดับ โดย

สามารถอธิบายความผันแปรองคประกอบหลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากร ไดถึงรอยละ

44 รอยละ 40 และรอยละ 28 ตามลําดับ

ผลการวิเคราะหความสอดคลองของโมเดลองคประกอบหลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพ

ของภาษีอากร พบวามีความสอดคลองกลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษดี พิจารณาจากคาสถิติที่ใชในการ

ทดสอบ ไค สแควร (chi square) มีคาเทากับ 295.68, df = 269, P = 0.13, GFI = 0.98, AGFI = 0.97,

RMR = 0.058

Page 227: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

212

แผนภาพที่ 3 องคประกอบที่ 3 หลักเกณฑเกีย่วกับประสิทธิภาพของภาษีอากร

c1

c2

c3

c4

c5

c6

c7

c8

c9

C10

C11

C12

C13

C14

C15

C16

C17

C18

C19

C20

C21

C22

c23

C24

C25

0.84

0.89

0.85

0.83

0.80

0.85

0.84

0.83

0.85

0.90

0.88

0.90

0.85

0.83

0.87

0.85

0.84

0.90

0.89

0.88

0.94

0.85

0.83

0.84

0.82

องคประกอบที่ 3

Page 228: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

213

รูปแบบภาษเีพื่อการศึกษา

ประกอบดวย 3 องคประกอบขางตน ดังรายละเอียดตารางท่ี 40

ตารางที่ 40 รูปแบบภาษีเพือ่การศึกษาของประเทศไทย

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาประเทศไทย

น้ําหนกั

องคประกอบ

R square SE t

องคประกอบ

1. โครงสรางการจัดเก็บภาษี 16.79 0.81 0.49 34.41**

2. หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี 7.44 0.74 0.23 32.20**

3. หลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของ

ภาษีอากร 12.98 0.86 0.36 36.07**

x2 = 0.0 , df =0, P = 0.10

หมายเหตุ ** p< .01 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

พิจารณาคาน้ําหนักองคประกอบ ขององคประกอบทั้ง 3 องคประกอบหลัก รูปแบบภาษเีพือ่

การศึกษาของประเทศไทย พบวาองคประกอบโครงสรางการจัดเก็บภาษี มีคาน้ําหนักองคประกอบสูง

ที่สุด เทากับ 16.79 ซึ่งสูงเปนสองเทากวาขององคประกอบที่ 2 ดวย โดยสามารถอธิบายความผันแปรใน

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทย ไดถึงรอยละ 81

รองลงมาไดแก องคประกอบหลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากร มีคาน้ําหนัก

องคประกอบ เทากับ 12.98 โดยสามารถอธิบายความผันแปรในรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศ

ไทย ไดถึงรอยละ 86 และลําดับสุดทายคือ องคประกอบหลักเกณฑการจัดเก็บภาษี มีคาน้ําหนัก

องคประกอบ เทากับ 7.44 โดยสามารถอธิบายความผันแปรในรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศ

ไทย ไดถึงรอยละ 74

ผลจากการวิเคราะหความสอดคลองของโมเดลรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทย

พบวามีความสอดคลองกลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษดีมาก พิจารณาจากคาสถิติที่ใชในการทดสอบ

ไค สแควร (chi square) มีคาเทากับ 0, df = 0, P = 0.10 (ขอมูลตามทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวของและ

ขอมูลเชิงประจักษ ไมมีความแตกตางกัน รวมทั้งโมเดลมีความสอดคลองกันดีมากจนไมมีคาเศษที่

เหลืออยู ดังนั้นจึงไมปรากฏคาดัชนี GFI, AGFI, RMR)

Page 229: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

214

ตอนที่ 3 การวิเคราะหตรวจสอบยืนยันรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาที่เหมาะสม โดยวิธีอางอิงผูทรงคุณวุฒิ (connoisseurship model) ประกอบดวย 2 ข้ันตอน คือ

3.1 การวิเคราะหคาความถี่และคารอยละของผูทรงคุณวุฒิที่มีตอรูปแบบภาษี

เพื่อการศึกษา

3.2 การสังเคราะหขอสรุปความคิดเห็นในดานขอเสนอแนะเพ่ิมเติมและขอ

วิจารณของผูทรงคุณวุฒิที่มีตอองคประกอบรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

3.1 การวิเคราะหคาความถี่และคารอยละของผูทรงคุณวุฒิที่มีตอรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา ในข้ันตอนนี้ผูวิจัยไดนํารางรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาที่ประกอบดวยองคประกอบที่ไดจาก

การวิเคราะห รูปแบบที่เหมาะสมและเปนไปได ในข้ันตอนที่ 2 มาตรวจสอบและเพิ่มความเชื่อถือในการ

สรางรูปแบบที่เหมาะสม โดยการนําเสนอองคประกอบของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา ดวยวิธีการประเมิน

ในรูปแบบการอางอิงผูทรงคุณวุฒิ (connoisseurship) โดยนําเสนอรางรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาให

ผูเชี่ยวชาญและผูทรงคุณวุฒิไดพิจารณาประเด็นดานความเหมาะสม ความเปนไปได ความถูกตอง และ

การใชประโยชน พรอมทั้งขอเสนอแนะ การวิพากษ เพื่อปรับปรุงใหไดรูปแบบที่เหมาะสม ซึ่งผูวิจัยได

คัดเลือกกลุมตัวอยางจากเกณฑของการเปนตัวแทนประชากรในดานตาง ๆ คือ ผูบริหารองคการ

ปกครองสวนทองถิ่น ที่มีความเชี่ยวชาญในดานการจัดเก็บภาษีอากรและการระดมทรัพยากรเพื่อ

การศึกษาและการจัดการศึกษา จํานวน 5 คน ผูทรงคุณวุฒิระดับมหาวิทยาลัย ที่มีความเชี่ยวชาญใน

ดานการจัดเก็บภาษีอากรและการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา จํานวน 5 คน และผูบริหารระดับสูง

ของกรมและกระทรวงที่มีความเชี่ยวชาญในดานการจัดเก็บภาษีอากรและการระดมทรัพยากรเพื่อ

การศึกษา จํานวน 5 คน รวมทั้งส้ินจํานวน 15 คน ซึ่งมีผลการวิเคราะห ดังรายละเอียดตามตารางที่

41 - 44

Page 230: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

215

ตารางที่ 41 แสดงคาความถี่และรอยละของความเห็นจากผูทรงคุณวุฒิมีตอองคประกอบของรูปแบบ

ภาษีเพื่อการศึกษาดานความเหมาะสม

ความคิดเหน็

เห็นวาเหมาะสม เห็นวาไมเหมาะสม องคประกอบของรูปแบบ

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

1. โครงสรางการจัดเก็บภาษี 1.1 หนวยงานจัดเก็บ (S1)

1.2 ฐานภาษี (S2)

1.3 อัตราภาษี (S3)

1.4 ระยะเวลาการจัดเก็บ (S4) 2. หลกัเกณฑการจัดเก็บภาษี 2.1 หลักความเปนธรรม (T1)

2.2 หลักของความแนนอน (T2)

2.3 หลักของความสะดวก (T3)

2.4 หลักของความประหยดั (T4) 3. หลกัเกณฑเกี่ยวกับประสิทธภิาพ 3.1 หลักความเปนธรรม (E1)

3.2 หลักความเปนกลาง (E2)

3.3 หลักความแนนอน (E3)

3.4.หลักความประจักษแจง (E4)

3.5 หลักประสิทธิภาพในการบริหาร(E5)

3.6 หลักผลการจํากัดรายจายสุทธ(ิE6)

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

รวมเฉล่ีย 15 100 - -

จากตารางที่ 41 พบวา ผูเช่ียวชาญและผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 15 คน มีความคิดเห็นตอ

องคประกอบของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา ดานความเหมาะสมของรูปแบบวารูปแบบมีความเหมาะสม

จํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 100

Page 231: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

216

ตารางที่ 42 แสดงคาความถี่และรอยละของความเห็นจากผูทรงคุณวุฒิมีตอองคประกอบของรูปแบบ

ภาษีเพื่อการศึกษาทางดานความเปนไปได

ความคิดเหน็

เห็นวาเหมาะสม เห็นวาไมเหมาะสม องคประกอบของรูปแบบ

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

1. โครงสรางการจัดเก็บภาษี 1.1 หนวยงานจัดเก็บ (S1)

1.2 ฐานภาษี (S2)

1.3 อัตราภาษี (S3)

1.4 ระยะเวลาการจัดเก็บ (S4) 2. หลกัเกณฑการจัดเก็บภาษี 2.1 หลักความเปนธรรม (T1)

2.2 หลักของความแนนอน (T2)

2.3 หลักของความสะดวก (T3)

2.4 หลักของความประหยดั (T4) 3. หลกัเกณฑเกี่ยวกับประสิทธภิาพ 3.1 หลักความเปนธรรม (E1)

3.2 หลักความเปนกลาง (E2)

3.3 หลักความแนนอน (E3)

3.4.หลักความประจักษแจง (E4)

3.5 หลักประสิทธิภาพในการบริหาร(E5)

3.6 หลักผลการจํากัดรายจายสุทธ(ิE6)

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

รวมเฉล่ีย 15 100 - -

จากตารางที่ 42 พบวา ผูเช่ียวชาญและผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 15 คน มีความคิดเห็นตอ

องคประกอบของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา ดานความเปนไปไดของรูปแบบวามีความเปนไปได จํานวน

15 คน คิดเปนรอยละ 100

Page 232: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

217

ตารางที่ 43 แสดงคาความถี่และรอยละของความเห็นจากผูทรงคุณวุฒิมีตอองคประกอบของรูปแบบ

ภาษีเพื่อการศึกษาทางดานความถูกตอง

ความคิดเหน็

เห็นวาเหมาะสม เห็นวาไมเหมาะสม องคประกอบของรูปแบบ

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

1. โครงสรางการจัดเก็บภาษี 1.1 หนวยงานจัดเก็บ (S1)

1.2 ฐานภาษี (S2)

1.3 อัตราภาษี (S3)

1.4 ระยะเวลาการจัดเก็บ (S4) 2. หลกัเกณฑการจัดเก็บภาษี 2.1 หลักความเปนธรรม (T1)

2.2 หลักของความแนนอน (T2)

2.3 หลักของความสะดวก (T3)

2.4 หลักของความประหยดั (T4) 3. หลกัเกณฑเกี่ยวกับประสิทธภิาพ 3.1 หลักความเปนธรรม (E1)

3.2 หลักความเปนกลาง (E2)

3.3 หลักความแนนอน (E3)

3.4.หลักความประจักษแจง (E4)

3.5 หลักประสิทธิภาพในการบริหาร(E5)

3.6 หลักผลการจํากัดรายจายสุทธ(ิE6)

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

รวมเฉล่ีย 15 100 - -

จากตารางที่ 43 พบวา ผูเช่ียวชาญและผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 15 คน มีความคิดเห็นตอ

องคประกอบของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา ดานความถูกตองของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา คิดเปน

รอยละ 100

Page 233: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

218

ตารางที่ 44 แสดงคาความถี่และรอยละของความเห็นจากผูทรงคุณวุฒิมีตอองคประกอบของ

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาดานการนําไปใชประโยชน

ความคิดเหน็

เห็นวาเหมาะสม เห็นวาไมเหมาะสม องคประกอบของรูปแบบ

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

1. โครงสรางการจัดเก็บภาษี 1.1 หนวยงานจัดเก็บ (S1)

1.2 ฐานภาษี (S2)

1.3 อัตราภาษี (S3)

1.4 ระยะเวลาการจัดเก็บ (S4) 2. หลกัเกณฑการจัดเก็บภาษี 2.1 หลักความเปนธรรม (T1)

2.2 หลักของความแนนอน (T2)

2.3 หลักของความสะดวก (T3)

2.4 หลักของความประหยดั (T4) 3. หลกัเกณฑเกี่ยวกับประสิทธภิาพ 3.1 หลักความเปนธรรม (E1)

3.2 หลักความเปนกลาง (E2)

3.3 หลักความแนนอน (E3)

3.4.หลักความประจักษแจง (E4)

3.5 หลักประสิทธิภาพในการบริหาร(E5)

3.6 หลักผลการจํากัดรายจายสุทธ(ิE6)

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

100

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

รวมเฉล่ีย 15 100 - -

จากตารางที่ 44 พบวา ผูเช่ียวชาญและผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 15 คน มีความคิดเห็นตอ

องคประกอบของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา ดานการนําไปใชประโยชนของรูปแบบวามีความเปน

ประโยชนตอการนําไปใช จํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 100

Page 234: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

219

3.2 การสังเคราะหขอสรุปความคิดเห็นในดานขอเสนอแนะเพ่ิมเติม และขอวิจารณของผูทรงคุณวุฒิที่มีตอองคประกอบของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา จากวิธีการประเมินในรูปแบบการอางอิงผูทรงคุณวุฒิ (connoisseurship) โดยนําเสนอ

รางรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาใหผูทรงคุณวุฒิจากตัวแทนประชากรที่มีความเช่ียวชาญในดานการ

จัดเก็บภาษีอากร การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาและการจัดการศึกษาประกอบไปดวย ผูบริหาร

องคการปกครองสวนทองถิ่น จํานวน 5 คน ผูทรงคุณวุฒิระดับมหาวิทยาลัย จํานวน 5 คน และ

ผูบริหารระดับสูงของกรมและกระทรวง จํานวน 5 คน รวมทั้งส้ินจํานวน 15 คนไดพิจารณารางรูปแบบ

ภาษีเพื่อการศึกษา ดานความเหมาะสม ความเปนไปได ความถูกตองและการใชประโยชน พรอมทั้ง

ขอเสนอแนะ การวิพากษ เพื่อปรับปรุงใหไดรูปแบบที่เหมาะสม ผูทรงคุณวุฒิทุกคนมีความคิดเห็น

สอดคลองไปในทิศทางเดียวกันวา รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาที่ไดจากการวิจัยนี้ มีความเหมาะสม มี

ความเปนไปได มีความถูกตอง และสามารถนําไปใชประโยชนได เพื่อเปนกระบวนการหนึ่งในการระดม

ทรัพยากรเพื่อการศึกษาของประเทศไทยในอนาคตตอไป

Page 235: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

บทที่ 5

สรุปผลการวจิัย อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

การวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive) มีวัตถุประสงคเพื่อทราบ รูปแบบภาษี

เพื่อการศึกษา โครงสรางการจัดเก็บภาษี หลักเกณฑการจัดเก็บภาษีและหลักเกณฑเกี่ยวกับ

ประสิทธิภาพของภาษี การวิจัยคร้ังนี้แบงเปน 3 ข้ันตอน คือ ข้ันที่ 1 การวิเคราะหและการกําหนดกรอบ

แนวคิดในการวิจัย ซึ่งประกอบดวยการวิเคราะหเอกสารที่เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีภาษี และการ

สัมภาษณผูทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับองคประกอบรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา ข้ันที่ 2 การวิเคราะหความ

เหมาะสมของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา หนวยวิเคราะหในการวิจัยคร้ังนี้ คือ องคกรปกครองสวน

ทองถิ่น สถานศึกษาสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น สถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาข้ันพื้นฐานและสถานศึกษาเอกชน จํานวน 45,322 แหง 75 จังหวัดทั่วประเทศและ

กรุงเทพมหานคร โดยมีผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น ฝายขาราชการการเมืองและขาราชการ

ประจํา หนวยละ 2 คน เปนผูใหขอมูล สวนสถานศึกษามีผูอํานวยการสถานศึกษา ครูปฏิบัติการ กรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานและผูปกครอง โรงเรียนละ 4 คน เปนผูใหขอมูล เคร่ืองมือที่ใชในการ

เก็บขอมูลเปนแบบสอบถามระดับความคิดเห็น โดยผูวิจัยสงแบบสอบถาม จํานวน 397 แหง ไดรับ

แบบสอบถามคืนจาก 322 แหง 928 ฉบับ คิดเปนรอยละ 81.12 นําไปวิเคราะหเพื่อยืนยันการสกัดองคประกอบ (confirmatory factor analysis) โดยผูวิจัยไดนําขอมูลที่ไดทําการวิเคราะหและเสนอผล

การวิเคราะห โดยใชตารางประกอบคําบรรยาย ข้ันที่ 3 การวิเคราะหเพื่อตรวจสอบยืนยันรูปแบบภาษี

เพื่อการศึกษา ที่เหมาะสมและเปนไปได โดยวิธีอางอิงผูทรงคุณวุฒิ เคร่ืองมือที่ใชในการเก็บขอมูลเปน 1) แบบสัมภาษณชนิดที่ไมมีโครงสรางเพื่อสัมภาษณ

ผูเช่ียวชาญ เพื่อหากรอบแนวคิดในการวิจัย 2) แบบสอบถามเก่ียวกับรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา โดย

แบงออกเปน 2 ตอน ไดแก ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถามไดแก

ระดับการศึกษา ตําแหนงหนาที่และประสบการณในการทํางาน โดยแบบสอบถามเปนแบบตรวจสอบ

รายการ (check list) ตอนที่ 2 แบบสอบถามเพื่อวัดระดับความคิดเห็น (rating scale) เพื่อสอบถามระดับความคิดเห็นของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา ดานโครงสรางการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา

หลักเกณฑการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาและหลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพภาษีเพื่อการศึกษา

ตอนทายของแตละองคประกอบจะเปน แบบสอบถามแบบปลายเปด (open ended) ใหผูตอบ

220

Page 236: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

221

แบบสอบถามไดใหขอเสนอแนะอ่ืน แบบสอบถามมีคาความเช่ือมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเทากับ

0.91สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลประกอบดวย ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย ( Χ ) และคาเบ่ียงเบน

มาตรฐาน (S.D.) การวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง (second order confirmatory factor

analysis) โดยใชโปรแกรม LISREL และวิเคราะหเนื้อหา (content analysis) 3) แบบสัมภาษณเพื่อ

ตรวจสอบยืนยัน รูปแบบภาษี เพื่ อการ ศึกษาที่ เ หมาะสมจากผูท รง คุณวุฒิ โดย วิธี อ า ง อิ ง

(connoisseurship)

สรุปผลการวจิัย

จากผลการวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยสามารถสรุปผลการวิจัยเ ร่ือง รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

ประกอบดวย 3 องคประกอบ โดยแตละองคประกอบมีองคประกอบยอย (เ รียงตามน้ําหนัก

องคประกอบ) ดังนี้

องคประกอบที่ 1 โครงสรางการจัดเกบ็ภาษีเพื่อการศึกษา ประกอบดวย 34 ตัวแปร อัตราภาษี 1. องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากทรัพยสิน

2. ผูปกครองหรือผูไดรับประโยชนจากการศึกษาควรมีสวนรวมรับผิดชอบในการชําระภาษี

เพื่อการศึกษาในทองถิ่นของตนเอง

3. องคกรปกครองสวนทองถิ่นตองมีระบบบริหารงานในดานการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา

อยางมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล (good governance) โปรงใส เปนธรรม และตรวจสอบได

4. กรณีองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มีรายไดจากการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาไมเพียงพอ

รัฐควรสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมอยางทั่วถึงและเปนธรรม

5. หนวยงานจัดเก็บ ควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากการถือครอง

อสังหาริมทรัพย เชน ที่ดินวางเปลา

6. รัฐมีหนาที่สนับสนุนให องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีศักยภาพในการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาในทองถิ่น อยางมีมาตรฐาน

7. องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรมีหนาที่จัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาและจัดสรร

งบประมาณเพื่อการศึกษาในทองถิ่นของตน

8. หนวยงานท่ีจัดเก็บ ควรรายงานแผน การรับและจาย เงินภาษีเพื่อการศึกษาให

ประชาชนในทองถิ่นทราบทุก ๆ ส้ินปงบประมาณ

9. หนวยงานจัดเก็บ ควรกําหนดใหมกีารจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากผูมีเงินไดที่ไดรับ

ประโยชนจากการศึกษา (เชน โรงเรียนกวดวิชาตาง ๆ และผูจําหนายหนงัสือและอุปกรณส่ือการเรียน)

10. องคกรปกครองสวนทองถิน่ควรจัดเกบ็ภาษีเพื่อการศึกษาจากมรดก

Page 237: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

222

ฐานภาษี 11. ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพิ่มพิเศษเพื่อสนับสนุนโรงเรียนที่มีเด็กพิการเรียนรวม

เพื่อจัดครูพิเศษ และปรับปรุงพื้นอาคารสถานที่ใหรองรับอยางเหมาะสม

12. ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพื่อสนับสนุนเปนกรณีพิเศษแกโรงเรียนที่มีผลการ

พัฒนาคุณภาพการศึกษาดี

13. ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพื่อนําไปสนับสนุนใหแกเด็กยากจนเด็กดอยโอกาส เด็ก

พิการเพิ่มเติมเปนกรณีพิเศษ

14. ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพิ่มพิเศษเพื่อสนับสนุน สงเสริมการเรียนรูใหกับนักเรียน

ที่มีความสามารถพิเศษ (อัจฉริยะ)

15. ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัย

16. ควรจัดเก็บภาษีจาก ทรัพยสิน เพื่อจัดสรรสนับสนุนการศึกษา

17. ควรจัดเก็บภาษีจาก มรดก เพื่อจัดสรรสนับสนุนการศึกษา

18. กรมสรรพากรควรเปนหนวยงานหลักในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาและจัดสรรคืนสู

ทองถิ่นอยางทั่วถึง หนวยงานจัดเก็บ 19. ในการพิจารณากําหนดอัตราและฐานภาษีเพื่อการศึกษาควรวิเคราะหตนทุนที่แทจริง

ของการจัดการศึกษาในแตละทองถิ่น

20. ประชาชนทุกคนควรมีสวนรวมในการจัดการศึกษาโดยการชําระภาษีเพื่อการศึกษา

21. องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากมลพิษ

22. ควรปรับหลักเกณฑการจัดสรรงบประมาณเงินอุดหนุนรายหัวแกโรงเรียนโดยคํานึงถึง

สภาพที่ต้ัง (เขตในเมือง เขตชนบท) และขนาดโรงเรียน (ใหญ กลาง เล็ก)

23. ควรจัดเก็บภาษีจากสถานบันเทิง สถานประกอบธุรกิจการพนัน คาสิโน สนามจัด

แขงขันมา (sin tax) เพื่อจัดสรรสนับสนุนการศึกษา

24. องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรมีหนาที่จัดเก็บภาษีทุกประเภทในทองถิ่นและจัดสรร

กลับคืนสูสวนกลาง

25. องคกรปกครองสวนทองถิ่นทราบขอมูลการประกอบธุรกิจของผูประกอบการในทองถิ่น

ของตนดีกวาหนวยงานอ่ืน

26. การจัดสรรเงินงบประมาณอุดหนนุรายหัวนักเรียนในปจจุบนัของกระทรวงศึกษาธิการมี

ความเหมาะสม

Page 238: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

223

ระยะเวลาการจัดเก็บ 27. หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหผูประกอบการจําหนายเกมคอมพิวเตอร หรือจัดใหมี

บริการเลนเกมคอมพิวเตอรตาง ๆ อันเปนการมอมเมาเด็กและเยาวชน ตองชําระภาษีเพื่อการศึกษา

28. หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหผูประกอบการใหบริการส่ือสารอันฟุมเฟอยตองชําระ

ภาษีเพื่อการศึกษา (เชน ธุรกิจโทรศัพทมือถือ)

29. หนวยงานจัดเก็บภาษีควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากผูประกอบการ

ธุรกิจหรือโรงงานอุตสาหกรรมที่กอมลพิษเปนอันตรายตอสุขภาพ (เชน โรงโมหิน)

30. หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากผูประกอบการคา

ส่ือส่ิงพิมพที่ยั่วยุหรือละเมิดศีลธรรม

31. หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากผูประกอบการ

อุตสาหกรรมอันเปนการมอมเมาประชาชน (เชน โรงงานผลิตสุรา โรงงานผลิตเบียร โรงงานผลิตบุหร่ี)

32. หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากสินคาฟุมเฟอย

(เชน เคร่ืองสําอาง น้ําหอม เคร่ืองประดับ ฯลฯ)

33. หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากผูประกอบการที่

เปนผูแทนจําหนายสลากกินแบงของรัฐในทองถิ่น

34. หนวยงานจัดเก็บ ควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษามูลคาเพิ่มมากกวารอย

ละ 7 เพื่อนําสวนที่เพิ่มข้ึนมาจัดสรรเปนภาษีเพื่อการศึกษา

องคประกอบที่ 2 หลกัเกณฑการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ประกอบดวย 15 ตัวแปร หลักความเปนธรรม 1. หนวยงานจัดเก็บควรสรางความเขาใจแกประชาชนเกี่ยวกับผลดีจากการรวมมือชําระ

ภาษีเพื่อการศึกษา

2. หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดมาตรการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาใหชัดเจนเพื่อใหผูชําระ

ภาษีไดทราบถึงผลประโยชน และม่ันใจวาการใชเงินดังกลาวเปนไปเพื่อการพัฒนาและสนับสนุนการจัด

การศึกษาอยางเปนธรรม โปรงใสและตรวจสอบได

3. หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมในการทําประชาพิจารณ

เพื่อกําหนดฐาน อัตรา ระยะเวลาและวิธีการชําระภาษีเพื่อการศึกษา หลักของความสะดวก 4. หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดระยะเวลาการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑ

เดียวกัน

5. หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดวิธีการชําระภาษีเพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน

Page 239: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

224

6. หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดอัตราการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑ

เดียวกัน

7. หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดฐานภาษีเพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน หลักของความประหยัด 8. หนวยงานจัดเก็บควรบริหารการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาโดยกําหนดระบบการจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษา บุคลากร ฐานขอมูลและระบบติดตามตรวจสอบดวยระบบสารสนเทศ

9. หนวยงานจัดเก็บควรใหประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมโดยการประชาพิจารณ กําหนด

หลักเกณฑ วิธีการประเมินภาษีและบทกําหนดโทษ เพื่อปองกันการหลบเล่ียงภาษีเพื่อการศึกษาใน

ทองถิ่นของตน

10. หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดหลักเกณฑวิธีการการประเมิน บทกําหนดโทษ เพื่อปองกัน

การหลบเล่ียงภาษีเพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน

11. หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดหลักเกณฑการชําระภาษีเพื่อการศึกษาใหชัดเจน เชน

วิธีการชําระ อัตราและระยะเวลาการชําระภาษีเพื่อการศึกษา หลักของความแนนอน 12. หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนดวิธีการชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่แตกตาง

กัน ตามความสามารถในการชําระภาษี

13. หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนดฐานการจัดเก็บ ภาษีเพื่อการศึกษาที่

แตกตางกัน ตามความสามารถของประชากรในทองถิ่น

14. หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนดอัตราการชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่

แตกตางกัน ตามความสามารถของประชากรในทองถิ่น

15. หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนดระยะเวลาการชําระภาษีเพื่อการศึกษาท่ี

แตกตางกัน ตามความเหมาะสมของทองถิ่น

องคประกอบที่ 3 หลกัเกณฑเกี่ยวกบัประสิทธิภาพของภาษ ีประกอบดวย 25 ตัวแปร หลักผลการจํากัดรายจายสุทธ ิ 1. หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรกําหนดอัตราภาษีเพื่อการศึกษาใหเหมาะสม

เพื่อมิใหมีผลกระทบตอรายไดสุทธิของประชาชน

2. หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรกําหนดฐาน อัตราและวิธีการชําระภาษีเพื่อ

การศึกษา ดวยความเปนธรรมและเสมอภาคแกผูรับภาระภาษี เพื่อมิใหมีผลกระทบตอกลไกของตลาด

การคา

3. หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรใชระบบการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษา

เชนเดียวกับระบบภาษีหัก ณ.ที่จาย เพื่อเปนการประหยัดตอตนทุนในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา

Page 240: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

225

4. หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรใชระบบการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษา

เชนเดียวกับระบบภาษีมูลคาเพิ่ม เพื่อเปนการลดตนทุนในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา

5. หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรใชระบบสารสนเทศในการรับชําระภาษี เชน

การชําระภาษีทางอินเตอรเน็ต เพื่อเปนการลดตนทุนในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา หลักความประจักษแจง 6. หนวยงานจัดเก็บ ควรประชาสัมพันธใหประชาชนทราบถึงหลักเกณฑ วิธีการ อัตรา และ

สถานที่รับชําระภาษีเพื่อการศึกษา โดยทั่วถึงกัน

7. ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการที่เปนผูแทนจําหนายสลากกิน

แบงของหนวยงานจัดเก็บซ่ึงเปนการมอมเมาประชาชนเพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบการดังกลาว

8. หนวยงานจัดเก็บ ควรอํานวยความสะดวกแกประชาชนในการบริการรับชําระภาษีเพื่อ

การศึกษา เชน มีการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่หางสรรพสินคาและที่ธนาคารพาณิชยได ทุกแหง

9. ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการที่จําหนายสินคาฟุมเฟอย เชน

เคร่ืองสําอาง น้ําหอม เคร่ืองประดับ เพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบการดังกลาว หลักประสิทธิภาพในการบริหาร 10. หนวยงานจัดเก็บ ควรมอบรางวัลเกียรติคุณใหแกผูชําระภาษีเพื่อการศึกษาดีเดนโดย

ดําเนินการขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณใหเปนกรณีพิเศษ

11. หนวยงานจัดเก็บ ควรตอบแทนใหแกผูชําระภาษีเพื่อการศึกษาโดยใหสิทธิพิเศษในการ

เลือกสถานที่เขาเรียนแกบุตรผูชําระภาษีดีเดน ไดตามประสงค โดยเฉพาะการเขาศึกษาในระดับ

การศึกษาข้ันพื้นฐาน

12. หนวยงานจัดเก็บ ควรแสดงอัตราภาษีเพื่อการศึกษาไวบนฉลากสินคาใหเห็นเดนชัด

13. หนวยงานจัดเก็บ ควรจัดสงแบบแสดงรายการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาพรอมเอกสาร

คําแนะนําไปยังภูมิลําเนาของผูชําระภาษีเพื่อการศึกษาในทุก ๆ ป หลักความเปนกลาง 14. ประชาชนทุกคนที่มีหนาที่ตองชําระภาษีเพื่อการศึกษาแตกตางกันตามกําลัง

ความสามารถที่ไมเทาเทียมกัน เชน ผูที่มีภาระคาใชจายในการเล้ียงดูบุตร

15. ผูใดไดรับประโยชนจากการศึกษามาก จะตองชําระภาษีเพื่อการศึกษามากกวาผูทีไ่ดรับ

ประโยชนนอยกวา เชน การนําผลวิจัยทางการศึกษาไปผลิตเปนสินคาจําหนายและไดรับผลตอบแทนสูง

16. ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากสถานบันเทิงที่เปนการมอมเมาประชาชนเพือ่

ควบคุมปริมาณของสถานบันเทิงดังกลาว

17. ประชาชนทุกคนที่มีหนาที่ตองชําระภาษีเพื่อการศึกษา แตกตางกัน ตามฐานรายไดที่ไม

เทาเทียมกัน

Page 241: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

226

หลักความแนนอน 18. ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการอุตสาหกรรมอันเปนการมอม

เมาประชาชน เชน โรงงานผลิตสุรา โรงงานผลิตเบียร โรงงานผลิตบุหร่ี เพื่อควบคุมปริมาณของ

ผูประกอบการดังกลาว

19. ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการส่ือส่ิงพิมพที่เปนการยั่วยุแก

เด็กและเยาวชนเพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบการดังกลาว

20. ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการธุรกิจหรือโรงงานอุตสาหกรรม

ที่กอมลพิษเพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบการดังกลาว

21. ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการจําหนายเกมคอมพิวเตอร หรือ

จัดใหมีบริการเลนเกมคอมพิวเตอรตาง ๆ อันเปนการมอมเมาเด็กและเยาวชนเพ่ือควบคุมปริมาณของ

ผูประกอบการดังกลาวดังกลาว หลักความเปนธรรม 22. การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บในอัตรากาวหนาเชนเดียวกับ ภาษีเงินได

23. การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บในอัตราถดถอย เชน มีผลกําไรมากข้ึนจะชําระ

ภาษีนอยลง

24. การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บอัตราคงที่เชนเดียวกับภาษีมูลคาเพิ่ม

25. ประชาชนทุกคนที่มีหนาที่ตองชําระภาษีเพื่อการศึกษา โดยเทาเทียมกัน

Page 242: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

227

อภิปรายผล

ผลจากการวิจัยคร้ังนี้มีประเด็นสําคัญที่คนพบจากรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทย

และสามารถนํามาอภิปรายผลตามวัตถุประสงคของการวิจัยไดดังนี้

องคประกอบของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทยประกอบไปดวย 3 องค

ประกอบหลัก

1. โครงสรางการจัดเก็บภาษี

2 .หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี

3 .หลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษ ี

จากการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง ตามโมเดลการวัดองคประกอบรูปแบบ

ภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทย พบวาองคประกอบของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทย

มีจํานวน 3 องคประกอบ และโมเดลมีความสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษดีมากพิจารณาไดจากคา ไค

สแควร (chi-square =0, p = 0.10) ซึ่งแตกตางจากศูนยอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ

เมื่อพิจารณาคาน้ําหนักองคประกอบ ขององคประกอบทั้งสาม พบวามนียัสําคัญทางสถติิที่

ระดับ .01 ทุกตัว โดยองคประกอบที่มีน้ําหนักมากที่สุด หรือมีความสําคัญมากที่สุดผูวิจัยจะกลาวเปน

รายองคประกอบตามลําดับ ดังนี้ องคประกอบที่ 1 โครงสรางการจัดเก็บภาษี ผลที่ไดจากการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ พบวา องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรเปนหนวยงานที่ทํา

หนาที่จัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาและจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาในทองถิ่นของตน เนื่องจากทราบ

ขอมูลการประกอบธุรกิจของผูประกอบการในทองถิ่นของตนดีกวาหนวยงานอ่ืน กรณีองคกรปกครอง

สวนทองถิ่นที่รายไดจากการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาไมเพียงพอ รัฐควรสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติม

อยางทั่วถึงและเปนธรรม องคกรปกครองสวนทองถิ่นตองมีระบบบริหารงานในดานการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาอยางมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล (good governance) โปรงใส เปนธรรมและ

ตรวจสอบได ควรรายงานแผน การรับและจายเงินภาษีเพื่อการศึกษาใหประชาชนในทองถิ่นทราบทุก ๆ

ส้ินปงบประมาณ รัฐมีหนาที่สนับสนุนให องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีศักยภาพในการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาในทองถิ่น อยางมีมาตรฐานในการพิจารณากําหนดอัตราและฐานภาษีเพื่อการศึกษาควร

วิเคราะหตนทุนที่แทจริงของการจัดการศึกษาในแตละทองถิ่น โดยองคประกอบมีความสอดคลองกับ

ตามหลักการแนวคิด ทฤษฎีของมัสเกรพ (Musgrave) มีความสอดคลองกับแนวคิดและวิธีการจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา ประทศญ่ีปุนและประเทศสาธารณรัฐเกาหลี

องคประกอบโครงสรางการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษามีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ 16.79

ซึ่งมีความสําคัญเปนอันดับแรกในงานวิจัยเร่ือง รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา โดยงานวิจัยของ พิชิต ลิขิต

กิจสมบูรณ ทําการศึกษาเร่ือง ภาษีอากรกับการกระจายรายไดของครัวเรือนของไทย ในป พ.ศ. 2524

Page 243: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

228

ผลการศึกษาพบวา โครงสรางอัตราภาษีของภาษีเงินไดบุคคลธรรมดามีลักษณะกาวหนาและสามารถ

ลดความไมเสมอภาคในแงของการกระจายรายไดไดดี ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ สุภาณี เชาวนดี

ในเร่ืองโครงสรางภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาที่มีลักษณะกาวหนา คือผูที่มีรายไดสูงตองรับภาระภาษีใน

อัตราที่สูงกวาผูที่มีรายไดตํ่า โดยภาระภาษีสวนใหญตกอยูกับผูที่มีรายไดจากเงินเดือนและคาจาง

มากกวาผูที่มีรายไดประเภทอื่น ซึ่ง วุฒิ พุทธมนต มีความแตกตางในเร่ืองของโครงสรางภาษีที่ได

นํามาศึกษาพบวามีลักษณะถดถอย มีผลทําใหการกระจายรายไดของครัวเรือนลดลง ซึ่งใน

องคประกอบที่ 1 ดานโครงสรางการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ยังประกอบดวยองคประกอบยอย 4

องคประกอบ ซึ่งอันดับตัวแปรยอยที่สําคัญ ไดแก

1.1 อัตราภาษี จากการวิจัยพบวา องคกรปกครองสวนทองถิ่นตองมีระบบบริหารงาน

ในดานการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล (good governance)

โปรงใส เปนธรรมและตรวจสอบได ควรรายงานแผน การรับและจาย เงินภาษีเพื่อการศึกษาใหประชาชน

ในทองถิ่นทราบทุก ๆ ส้ินปงบประมาณ รัฐมีหนาที่สนับสนุนให องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีศักยภาพ

ในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในทองถิ่น อยางมีมาตรฐานในการพิจารณากําหนดอัตราและฐานภาษี

เพื่อการศึกษาควรวิเคราะหตนทุนที่แทจริงของการจัดการศึกษาในแตละทองถิ่น โดยองคประกอบมี

ความสอดคลองกับตามหลักการแนวคิด ทฤษฎีของ มัสเกรพ (Musgrave) และแนวคิดของ อดัม สมิธ

(Adam Smith) ซึ่งเปนแนวคิดเดียวกันกับการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา ประ

ทศญ่ีปุนและประเทศสาธารณรัฐเกาหลี นอกจากนี้พบวา สุภรณ ดําเนินสวัสด์ิ ไดศึกษาวิจัยเร่ืองภาระ

ภาษีการคา โดยคํานวณอัตราภาระภาษีการคาที่ตกแกครัวเรือนในชั้นเงินไดและในภาคภูมิศาสตรตาง

ๆ โดยเทียบกับฐานเงินไดในรูปตัวเงิน โดยในงานวิจัยฉบับนี้ไดศึกษาองคประกอบยอยดานอัตราภาษี

พบวา องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรไดจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากทรัพยสิน ซึ่งมีความสอดรับกับ

งานวิจัยของ สมคิด บางโม ที่กลาววาการใชฐานทรัพยสินในการเรียกเก็บภาษีนิยมใชกันมานานแลว

เพราะวาทรัพยสินเปนส่ิงวัดความสามารถในการเก็บภาษีไดเปนอยางดี ผูใดมีทรัพยสินมากควรเสียภาษี

มากตามไปดวย ภาษีที่ใชฐานทรัพยสินนั้น นิยมเรียกเก็บจากทรัพยสินที่เปนทั้งอสังหาริมทรัพยและ

สังหาริมทรัพย ผูปกครองหรือผูไดรับประโยชนจากการศึกษา ควรมีสวนรวมรับผิดชอบในการชําระ

ภาษีเพื่อการศึกษาในทองถิ่นของตนเอง จากงานวิจัยของ สมคิด บางโม ฉบับนี้พบวิธีการเสียภาษีที่ผู

เสียภาษีมีหนาที่ตองยื่นแบบแสดงรายการภาษีพรอมทั้งคํานวณภาษีที่จะตองเสีย และตองชําระภาษี

ตามจํานวนที่คํานวณไดภายในกําหนดเวลาและสถานที่ตามที่กฎหมายกําหนดไว เมื่อเจาพนักงาน

ตรวจแบบในภายหลังพบวาไมถูกตองหรือไมครบถวน เจาหนาที่จะประเมินภาษีเพิ่มเติมใหถูกตอง

ตอไป องคกรปกครองสวนทองถิ่นตองมีระบบบริหารงานในดานการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาอยางมี

ประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล (good governance) โปรงใส เปนธรรม และตรวจสอบได เปนไปใน

แนวคิดเดียวกับ พนม ทินกร ณ อยุธยา ที่มีความเห็นเกี่ยวกับในเร่ืองการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา

Page 244: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

229

อยางประสิทธิภาพนั้นตองประกอบดวย วิธีการจัดเก็บภาษีอากรที่ตองอํานวยความสะดวกและงายตอ

การปฏิบัติ หมายความวางายตอการอานและทําความเขาใจ ซึ่งผูเสียภาษีโดยทั่วไปอานแลวจะตอง

สามารถเขาใจไดงาย ประกอบกับแบบฟอรมในการเสียภาษีตองเปนแบบฟอรมที่เขาใจงาย วิธีการ

จัดเก็บก็ควรกําหนดใหงายตอเจาหนาที่ในการจัดเก็บและตอผูเสียภาษี ซึ่งส่ิงดังกลาวจะชวยใหผูเสีย

ภาษีเกิดความรวมมือในการเสียภาษีมากข้ึนและนําไปสูการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาไดอยางมี

ประสิทธิภาพ กรณีองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มีรายไดจากการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาการศึกษา

ไมเพียงพอ รัฐควรสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมอยางทั่วถึงและเปนธรรม เปนไปในแนวทางเดียวกับ

การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศญ่ีปุนและประเทศสาธารณรัฐเกาหลี ที่

กําหนดใหหนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา เก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากการถือครองอสังหาริมทรัพย

เชน ที่ดินวางเปลา ตามพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน กลาววา ที่ดินซ่ึงใชตอเนื่องกับโรงเรือน

หรือส่ิงปลูกสรางนั้นและตองไมเขาบทยกเวนภาษี เจาของทรัพยสินมีหนาที่ยื่นแบบเพื่อแจงรายการ

ทรัพยสินตอพนักงานเจาหนาที่รัฐมีหนาที่สนับสนุนให องคกรปกครองสวนทองถิ่น พบวาประเทศ

สหรัฐอเมริกา ประทศญี่ปุนและประเทศสาธารณรัฐเกาหลี มีศักยภาพในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา

ในทองถิ่น อยางมีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ ดังนั้นจากงานวิจัยที่กลาวมาขางตน จึงสรุปไดวาองคกร

ปกครองสวนทองถิ่นควรมีหนาที่จัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาและจัดสรรงบประมาณเพ่ือการศึกษาใน

ทองถิ่นของตนเอง หนวยงานที่จัดเก็บภาษีควรรายงานแผนการรับและจาย เงินภาษีเพื่อการศึกษาให

ประชาชนในทองถิ่นทราบทุก ๆ ส้ินปงบประมาณ หนวยงานจัดเก็บ ควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาจากผูมีเงินไดที่ไดรับประโยชนจากการศึกษา (เชน โรงเรียนกวดวิชา ตาง ๆ และผูจําหนาย

หนังสือและอุปกรณส่ือการเรียน)

1.2 ฐานภาษี จากการวิจัยพบวาควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากทรัพยสิน มรดก

เปนไปในแนวทางเดียวกันกับการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศญ่ีปุน

และประเทศสาธารณรัฐเกาหลี สอดคลองกับการวิจัยของ พลประสิทธิ์ ฤทธิ์รักษา พบวาฐานภาษคืีอส่ิง

ที่เปนมูลเหตุใหมีภาระหนาที่ตองเสียภาษีของกฎหมายภาษีทรัพยสินแตละฉบับ ซึ่งจะไดพิจารณาถึง

ฐานภาษีของพระราชบัญญัติโรงเรียนและที่ดิน ในมาตรา 8 ที่กําหนดใหผูรับประเมินชําระภาษีปละ

คร้ัง ตามคารายปของทรัพยสิน ไดแก คาโรงเรือนหรือ ส่ิงปลูกสรางอยางอ่ืนกับที่ดิน ซึ่งใชตอเนื่อง

กับโรงเรือนหรือส่ิงปลูกสรางอยางอ่ืนนั้นในอัตรารอยละสิบสองคร่ึงของคารายป ซึ่งประกอบไปดวย ดังนี้

ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพิ่มพิเศษเพื่อสนับสนุนโรงเรียนที่มีเด็กพิการเรียนรวมเพื่อจัดครูพิเศษและ

ปรับปรุงพื้นอาคารสถานที่ใหรองรับกับผูพิการอยางเหมาะสม ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพื่อ

สนับสนุนเปนกรณีพิเศษแกโรงเรียนที่มีผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาดีและควรจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาเพื่อนําไปสนับสนุนใหแกเด็กยากจน เด็กดอยโอกาส เด็กพิการเพิ่มเติมเปนกรณีพิเศษ

นอกจากนี้ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพิ่มพิเศษเพื่อสนับสนุน สงเสริมการเรียนรูใหกับนักเรียนที่มี

Page 245: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

230

ความสามารถพิเศษ (อัจฉริยะ) ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาสําหรับเด็ก

ปฐมวัยและ เพื่อจัดสรรสนับสนุนการศึกษา โดยจัดเก็บภาษีจากมรดก กรมสรรพากรควรเปนหนวยงาน

หลักในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาและจัดสรรคืนสูทองถิ่นอยางทั่วถึง

1.3 หนวยงานจัดเก็บ จากการวิจัยพบวาองคกรปกครองสวนทองถิ่นควรเปน

หนวยงานที่ทําหนาที่จัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาและจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาในทองถิ่นของตน

เนื่องจากทราบขอมูลการประกอบธุรกิจของผูประกอบการในทองถิ่นของตนดีกวาหนวยงานอ่ืน องคกร

ปกครองสวนทองถิ่น มีศักยภาพในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในทองถิ่น อยางมีมาตรฐานในการ

พิจารณากําหนดอัตราและฐานภาษีเพื่อการศึกษาควรวิเคราะหตนทุนที่แทจริงของการจัดการศึกษาใน

แตละทองถิ่น โดยองคประกอบมีความสอดคลองกับตามหลักการแนวคิด ทฤษฎีของ มัสเกรพ

(Musgrave)และแนวคิดของ อดัม สมิธ (Adam Smith) และสอดคลองกับการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศญ่ีปุนและประเทศสาธารณรัฐเกาหลี แตแนวคิดที่กลาวมา

นั้นมีความไมสอดคลองกับ นิพนธ คําพา ที่ไดศึกษาวิจัยเร่ืองปญหาในการบริหารราชการสวนภูมิภาค

เปนการศึกษาเฉพาะกรณีในดานประสิทธิภาพในการใหบริการแกประชาชนระดับอําเภอ พบวา ปญหา

อุปสรรคที่ทําใหการบริการแกประชาชนในระดับอําเภอไมมีประสิทธิภาพ ไดแก อัตรากําลังเจาหนาที่ไม

เพียงพอ ในการพิจารณากําหนดอัตราและฐานภาษีเพื่อการศึกษาควรวิเคราะหตนทุนที่แทจริงของการ

จัดการศึกษาในแตละทองถิ่น ประชาชนทุกคนควรมีสวนรวมในการจัดการศึกษาโดยการชําระภาษีเพื่อ

การศึกษา ดังนั้นองคกรปกครองสวนทองถิ่นควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากมลพิษ ควรไดปรับ

หลักเกณฑการจัดสรรงบประมาณเงินอุดหนุนรายหัวแกโรงเรียนโดยคํานึงถึงสภาพที่ต้ัง (เขตในเมือง

เขตชนบท) และขนาดโรงเรียน (ใหญ กลาง เล็ก) ควรจัดเก็บภาษีจากสถานบันเทิง สถานประกอบธุรกิจ

การพนัน คาสิโน สนามจัดแขงขันมา (sin tax) เปนไปตามแนวคิดของประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศ

สาธารณรัฐเกาหลี ที่ตางนําเงินภาษีที่ไดจากการจัดเก็บไปจัดสรรสนับสนุนเพื่อการศึกษา ดังนั้นองคกร

ปกครองสวนทองถิ่นควรมีหนาที่จัดเก็บภาษีทุกประเภทในทองถิ่นและจัดสรรกลับคืนสูสวนกลาง ดวย

เหตุผลเพราะองคกรปกครองสวนทองถิ่นทราบขอมูลการประกอบธุรกิจของผูประกอบการในทองถิ่นของ

ตนดีกวาหนวยงานอ่ืน การจัดสรรเงินงบประมาณอุดหนุนรายหัวนักเรียนในปจจุบันของ

กระทรวงศึกษาธิการมีความเหมาะสม

1.4 ระยะเวลาการจัดเก็บ จากการวิจัยพบวา องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรเปน

หนวยงานที่ทําหนาที่จัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาและจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาในทองถิ่นของตน

เนื่องจากทราบขอมูลการประกอบธุรกิจของผูประกอบการในทองถิ่นของตนดีกวาหนวยงานอ่ืน องคกร

ปกครองสวนทองถิ่นตองมีระบบบริหารงานในดานการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ

ตามหลักธรรมาภิบาล (good governance) โปรงใส เปนธรรมและตรวจสอบได ควรรายงานแผน การ

รับและจาย เงินภาษีเพื่อการศึกษาใหประชาชนในทองถิ่นทราบทุก ๆ ส้ินปงบประมาณ รัฐมีหนาที่

Page 246: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

231

สนับสนุนให องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีศักยภาพในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในทองถิ่น อยางมี

มาตรฐานในการพิจารณากําหนดอัตราและฐานภาษีเพื่อการศึกษาควรวิเคราะหตนทุนที่แทจริงของการ

จัดการศึกษาในแตละทองถิ่น โดยองคประกอบมีความสอดคลองกับตามหลักการแนวคิด ทฤษฎีของ มัส

เกรพ (Musgrave) และแนวคิดของ อดัม สมิธ (Adam Smith) ในแนวทางเดียวกันกับการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศญ่ีปุนและประเทศสาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งประกอบไป

ดวย หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหผูประกอบการจําหนายเกมคอมพิวเตอร หรือจัดใหมีบริการเลนเกม

คอมพิวเตอรตาง ๆ อันเปนการมอมเมาเด็กและเยาวชนตองชําระภาษีเพื่อการศึกษาหนวยงานจัดเก็บ

ควรกําหนดใหผูประกอบการใหบริการส่ือสารอันฟุมเฟอยตองชําระภาษีเพื่อการศึกษา(เชน ธุรกิจ

โทรศัพทมือถือ) หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากผูประกอบการธุรกิจ

หรือโรงงานอุตสาหกรรมที่กอมลพิษอันเปนอันตรายตอสุขภาพ (เชน โรงโมหิน) หนวยงานจัดเก็บควร

กําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากผูประกอบการคาส่ือส่ิงพิมพที่ยั่วยุหรือละเมิดศีลธรรม

หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากผูประกอบการอุตสาหกรรมอันเปน

การมอมเมาประชาชน (เชน โรงงานผลิตสุรา โรงงานผลิตเบียร โรงงานผลิตบุหร่ี) หนวยงานจัดเก็บควร

กําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากสินคาฟุมเฟอย(เชน เคร่ืองสําอาง น้ําหอม เคร่ืองประดับ)

ซึ่งสอดคลองกับการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐเกาหลี หนวยงานจัดเก็บควร

กําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากผูประกอบการที่เปนผูแทนจําหนายสลากกินแบงของรัฐใน

ทองถิ่น หนวยงานจัดเก็บ ควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษามูลคาเพิ่มมากกวารอยละ 7

เพื่อนําสวนที่เพิ่มข้ึนมาจัดสรรเปนภาษีเพื่อการศึกษา

สรุปดานโครงสรางการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา กลาวคือ โครงสรางภาษีอากรที่ดีนั้น

จะตองมีความยืดหยุน ซึ่งสอดคลองกับ รังสรรค ธนะพรพันธุ และสามารถปรับตัวเขากับการ

เปล่ียนแปลงของภาวะเศรษฐกิจ เมื่อภาวะเศรษฐกิจขยายตัว รายไดของประชาชนเพิ่มรัฐบาลเก็บภาษี

ไดเพิ่มข้ึนในอัตราที่สูงกวาการเพิ่มข้ึนของรายไดประชาชาติและถาหากรัฐบาลยังคงรักษาระดับการใช

จายไวเทาเดิม งบประมาณก็จะเปนงบประมาณเกินดุล ในกรณีนี้ภาษีอากรจะไปชวยลดแรงกดดันของ

เงินเฟอไดมากในทางตรงกันขาม ถาเกิดภาวะเศรษฐกิจซบเซา รายไดของประชาชนลดลง ถา

โครงสรางภาษีอากรมีความยืดหยุนรัฐบาลเก็บภาษีไดลดลงในอัตราท่ีสูงกวาการลดลงของรายได

ประชาชาติและถารัฐบาลยังคงรักษาระดับการใชจายไวในระดับเดิม งบประมาณก็จะเปนงบประมาณ

ขาดดุล อุปสงครวมในระบบเศรษฐกิจจะลดลงไมมากนัก ทําใหระบบเศรษฐกิจไมซบเซาอยางรุนแรง

และการที่รัฐบาลเก็บภาษีนอยลง ยังชวยบรรเทาความเดือดรอนของผูเสียภาษีไดดวย

องคประกอบท่ี 2 หลักเกณฑการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา จากการวิจัยพบวา

หลักเกณฑการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรสรางความเขาใจแกประชาชนเกี่ยวกับผลดีจากการรวมมอื

ชําระภาษีเพื่อการศึกษา ควรกําหนดมาตรการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาใหชัดเจนเพื่อใหผูชําระภาษีได

Page 247: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

232

ทราบถึงผลประโยชน และมั่นใจวาการใชเงินดังกลาวเปนไปเพื่อการพัฒนาและสนับสนุนการจัด

การศึกษาอยางเปนธรรม โปรงใสและตรวจสอบได ควรกําหนดใหประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมในการ

ทําประชาพิจารณเพื่อกําหนดฐาน อัตรา ระยะเวลาและวิธีการชําระภาษีเพื่อการศึกษา ควรกําหนด

ระยะเวลาการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน ควรกําหนดอัตรา ฐานภาษี วิธีการ

ชําระภาษีเพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน ควรบริหารการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาโดยกาํหนด

ระบบการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา บุคลากร ฐานขอมูลและระบบติดตามตรวจสอบดวยระบบ

สารสนเทศ ควรใหประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมโดยการประชาพิจารณ กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ

ประเมินภาษีและบทกําหนดการลงโทษ เพื่อปองกันการหลบเล่ียงภาษีเพื่อการศึกษาในทองถิ่นของตน

โดยใชหลักเกณฑเดียวกันโดยมีความชัดเจน เชน วิธีการชําระ อัตรา และระยะเวลาการชําระภาษีเพื่อ

การศึกษา การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในแตละทองที่อาจกําหนดฐานภาษี อัตราภาษี วิธีการชําระ

ภาษีเพื่อการศึกษาท่ีแตกตางกัน ตามความสามารถในการชําระภาษีองคประกอบมีความสอดคลองกับ

ตามหลักการแนวคิดกับผลที่ไดจากการศึกษาวิจัยในคร้ังนี้ โดยพบวา องคประกอบดานหลักเกณฑการ

จัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา มีคาน้ําหนักองคประกอบเทากับ 7.44 ซึ่งมีความสําคัญเปนอันดับทายสุดของ

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา ซึ่งงานวิจัย สมคิด บางโม ในเร่ืองการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษานั้น

นอกจากวัตถุประสงคและนโยบายหลักของการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาอันเปนรายไดหลักของประเทศ

แลว การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษายังมีวัตถุประสงคและเปนนโยบายในการดําเนินการเพื่อใหบรรลุ

เปาหมายทางเศรษฐกิจในดานตาง ๆ อีกดวย พบวาในองคประกอบที่ 2 ดานหลักเกณฑการจดัเกบ็ภาษี

เพื่อการศึกษา ประกอบดวยองคประกอบยอย 4 ดาน ซึ่งอันดับตัวแปรยอยที่สําคัญ ไดแก

2.1 หลักความเปนธรรม จากการวิจัยพบวาการเสียภาษีตามหลักความเปนธรรม

คือผูที่มีความสามารถในการหารายไดเทากันควรเสียภาษีใหแกรัฐโดยเทาเทียมกัน ลักษณะเชนนี้

เรียกวาความเปนธรรมในแนวนอน ไมควรมีการใหอภิสิทธิ์โดยการยกเวน ภาษี หรือลดภาษีใหแก

บุคคลใดบุคคลหน่ึง ความเปนธรรมในที่นี้หมายความถึงความเทาเทียมกันในการเสียสละเงินใหแกรัฐ

ตามสวนแหงความสามารถในการเสียภาษีดวย โดยผูมีความสามารถในการเสียภาษีมากควรเสียภาษี

ใหแกรัฐมากกวาผูที่มีความสามารถในการเสียภาษีนอย ซึ่งเปนไปตามหลักความเปนธรรมในแนวต้ัง

โดยองคประกอบมีความสอดคลองกับตามหลักการแนวคิด เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม นั้นจําแนก

ออกเปนสองหลัก คือความเสมอภาคตามแนวนอน และความเสมอภาคในแนวต้ัง ขัดแยงกับ

ออตโต เอคสเตนท (Otto Eckstein) ที่กลาววา การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาที่ดีนั้นตองกอใหเกิด

ความยุติธรรมหรือความเสมอภาคในกลุมของผูเสียภาษีทุกคน ซึ่งหลักของความยุติธรรมในการเก็บ

ภาษีนับไดวาเปนหัวใจสําคัญของระบบภาษีที่ดี โดยพิจารณาในแงของความเปนธรรมเกี่ยวกับประเภท

ของภาษีและการปฏิบัติในจัดเก็บภาษีในแตละประเภทนั้น ๆ ดวย

Page 248: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

233

ซึ่งหลักความเปนธรรมในงานวิจัยนี้ ประกอบดวย การที่หนวยงานจัดเก็บควรจะสราง

ความเขาใจแกประชาชนเกี่ยวกับผลดีจากการรวมมือชําระภาษีเพื่อการศึกษา หนวยงานจัดเก็บควร

กําหนดมาตรการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ใหชัดเจนเพื่อใหผูชําระภาษีไดทราบถึงผลประโยชน และ

มั่นใจวาการใชเงินดังกลาวเปนไปเพื่อการพัฒนาและสนับสนุนการจัดการศึกษาอยางเปนธรรม โปรงใส

และตรวจสอบได หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมในการทําประชาพจิารณ

เพื่อกําหนดฐาน อัตรา ระยะเวลาและวิธีการชําระภาษีเพื่อการศึกษา

2.2 หลักของความสะดวก จากการวิจัยพบวา หนวยงานจัดเก็บควรกําหนด

ระยะเวลาการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดวิธีการ

ชําระภาษีเพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดอัตราการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกันหนวยงานจัดเก็บควรกําหนดฐานภาษีเพื่อการศึกษา โดยใช

หลักเกณฑเดียวกัน คือ วิธีการชําระหนี้ตองอํานวยใหผูเสียภาษีไดรับความสะดวกมากที่สุดเทาที่จะทํา

ได ทั้งกําหนดชวงเวลาและสถานท่ีชําระภาษีใหเหมาะสม เชน กําหนดชวงเวลาเสียภาษีในชวงที่ผูเสีย

ภาษีมีรายรับเขามาในชวงเวลานั้น สถานที่ชําระหนี้ตองมีทางคมนาคมที่สะดวก รูปแบบเอกสารการ

ชําระหนี้ตองเรียบงายไมยุงยากเขาใจและปฏิบัติไดสะดวกซ่ึงหลักความสะดวกในงานวิจัยคร้ังนี้ พบวา

องคประกอบมีความสอดคลองตามหลักการแนวคิด ทฤษฎีของ มัสเกรพ (Musgrave) และเกริกเกียรติ

พิพัฒนเสรีธรรม

2.3 หลักของความประหยัด จากการวิจัยพบวา หนวยงานจัดเก็บควรบริหารการ

จัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาโดยกําหนดระบบการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา บุคลากร ฐานขอมลูและระบบ

ติดตามตรวจสอบดวยระบบสารสนเทศ หนวยงานจัดเก็บควรใหประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมโดยการ

ประชาพิจารณ กําหนดหลักเกณฑ วิธีการประเมินภาษีและบทกําหนดโทษ เพื่อปองกันการหลบเลี่ยง

ภาษีเพื่อการศึกษาในทองถิ่นของตน หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดหลักเกณฑวิธีการการประเมิน บท

กําหนดโทษ เพื่อปองกันการหลบเล่ียงภาษีเพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน หนวยงานจัดเก็บ

ควรกําหนดหลักเกณฑการชําระภาษีเพื่อการศึกษาใหชัดเจน เชน วิธีการชําระ อัตรา และระยะเวลาการ

ชําระภาษี ระบบการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาที่ดีตองเปนระบบที่เสียคาใชจายในการจัดเก็บตํ่าที่สุด

และผูเสียภาษีก็เสียคาใชจายเกี่ยวกับการจายภาษีนั้น ๆ นอยที่สุดดวย โดยองคประกอบที่พบมีความ

สอดคลองกับตามหลักการแนวคิด อดัม สมิธ (Adam Smith) ดังกลาวไวขางตน สรุปไดวา การเก็บ

ภาษีที่ดีและมีประสิทธิภาพจะตองเปนการเก็บภาษีที่ใหความแนนอนและมั่นใจกับผูเสียภาษีทุกคน

ภาษีทุกประเภทที่จะจัดเก็บจะตองมีความชัดเจนในเร่ืองฐานภาษี อัตราภาษี ตลอดจนกําหนด

ระยะเวลาในการเสียภาษี รวมทั้งคํานึงในเร่ืองของความประหยัดใหกับผูเสียภาษี ที่สําคัญหลักในการ

จัดเก็บภาษีตองมีความเสมอภาคและเปนธรรมในสังคม จึงถือไดวาเปนหลักการและของระบบภาษีที่ดี

เพราะถาหากการเก็บภาษีอากรเปนไปอยางไมเปนธรรมแลว การหลบหลีกภาษีจะมีมาก รวมทั้งความ

Page 249: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

234

ขัดแยงในสังคมอาจมีมากจนถึงข้ันปฏิวัติได ดังนั้นจะเห็นไดวา การเก็บภาษีอากรอยางเปนธรรมนั้น

มิใชแตจะเปนส่ิงที่พึงปรารถนาทางจริยธรรมเพียงประการเดียวเทานั้น แตหากวายังมีสวนชวยลดความ

ขัดแยงในสังคมอีกดวย

2.4 หลักของความแนนอน จากการวิจัยพบวา หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจ

กําหนดวิธีการชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่แตกตางกัน ตามความสามารถในการชําระภาษี หนวยงาน

จัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนดฐานการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาที่แตกตางกัน ตามความสามารถ

ของประชากรในทองถิ่น หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนดอัตราการชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่

แตกตางกัน ตามความสามารถของประชากรในทองถิ่น หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนด

ระยะเวลาการชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่แตกตางกัน ตามความเหมาะสมของทองถิ่น โดยองคประกอบมี

ความสอดคลองกับตามหลักการแนวคิดของ อดัม สมิธ (Adam Smith) และ รังสรรค ธนะพรพันธุ ที่

กลาววา ตามหลักการจัดเก็บภาษีอากรที่ดีและที่มีประสิทธิภาพ ควรมีระบบการจัดเก็บภาษีที่มี

ลักษณะความแนนอน โดยเฉพาะอยางยิ่งในแงรายไดของรัฐบาล รายไดของรัฐบาลที่ไดจากการเก็บ

ภาษีอากรนั้นมักจะไมตรงตามที่คาดหมายไว ความขอนี้กอใหเกิดปญหา 2 ประการ คือ การที่รัฐไม

อาจเก็บภาษีอากรใหไดตามเปาหมายที่กําหนดไว ยอมกอใหเกิดปญหายุงยากในการชวยรักษาไวซึ่ง

เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ซึ่งไมสอดคลองกับแนวคิดของ สมคิด บางโม ที่กลาววา โดยหลักการเก็บ

ภาษีตองวางหลักและกฎเกณฑที่แนนอนชัดเจน เพื่อใหผูจัดเก็บและผูมีหนาที่ตองเสียภาษีปฏิบัติได

อยางถูกตอง

สรุปดานหลักเกณฑการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา กลาววา การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา

อากรจําเปนตองมีกฎหมายใหอํานาจไว กลาวคือ ภาษีอากรมีการจัดเก็บหลายประเภท จึงจําเปนตอง

มีกฎหมายหลายฉบับโดยจะตองมีหลักและวิธีการเพื่อเปนแนวทางในการบริหารจัดเก็บภาษีอากร

ไดแก หลักความแนนอน ความสะดวก ประหยัดและความเสมอภาค ในทางปฏิบัติการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาอากรเปนงานในความรับผิดชอบของกระทรวงการคลัง โดยมีองคกรจัดเก็บที่สําคัญ 3 กรม

คือ กรมสรรพากร กรมสรรพสามิตและกรมศุลกากรนอกจากนี้ยังมีการจัดเก็บโดยหนวยงานอ่ืน ๆ อีก องคประกอบที่ 3 หลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษี จากการวิจัยพบวาการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรกําหนดอัตราภาษีเพื่อการศึกษาให

เหมาะสมเพื่อมิใหมีผลกระทบตอรายไดสุทธิของประชาชน ควรกําหนดฐาน อัตราและวิธีการชําระภาษี

เพื่อการศึกษา ดวยความเปนธรรมและเสมอภาคแกผูรับภาระภาษี เพื่อมิใหมีผลกระทบตอกลไกของ

ตลาดการคา ควรใชระบบการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาเชนเดียวกับระบบภาษีหัก ณ.ที่จาย เพื่อเปน

การประหยัดตอตนทุนในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรใชระบบการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษา

เชนเดียวกับระบบภาษีมูลคาเพิ่ม เพื่อเปนการลดตนทุนในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรใชระบบ

สารสนเทศในการรับชําระภาษี เชน การชําระภาษีทางอินเตอรเน็ต เพื่อเปนการลดตนทุนในการจัดเก็บ

Page 250: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

235

ภาษีเพื่อการศึกษา ควรประชาสัมพันธใหประชาชนทราบถึงหลักเกณฑ วิธีการ อัตรา และสถานท่ีรับ

ชําระภาษีเพื่อการศึกษาโดยทั่วถึงกัน ควรอํานวยความสะดวกแกประชาชนในการบริการรับชําระภาษี

เพื่อการศึกษา เชน มีการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่หางสรรพสินคาและธนาคารพาณิชยไดทุกแหง

โดยมีการแสดงอัตราภาษีเพื่อการศึกษาไวบนฉลากสินคาใหเห็นเดนชัด ควรจัดสงแบบแสดงรายการรับ

ชําระภาษีเพื่อการศึกษาพรอมเอกสารคําแนะนําไปยังภูมิลําเนาของผูชําระภาษีเพื่อการศึกษาในทุก ๆ ป

ประชาชนทุกคนที่มีหนาที่ตองชําระภาษีเพื่อการศึกษาแตกตางกันตามกําลังความสามารถที่ไมเทาเทียม

กัน เชน ผูที่มีภาระคาใชจายในการเล้ียงดูบุตร ผูใดไดรับประโยชนจากการศึกษามากจะตองชําระภาษี

เพื่อการศึกษามากกวาผูที่ไดรับประโยชนนอยกวา เชน การนําผลวิจัยทางการศึกษาไปผลิตเปนสินคา

จําหนายและไดรับผลตอบแทนสูง ประชาชนทุกคนที่มีหนาที่ตองชําระภาษีเพื่อการศึกษา แตกตางกัน

ตามฐานรายไดที่ไมเทาเทียมกัน การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บในอัตรากาวหนาเชนเดียวกับ

ภาษีเงินได การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บในอัตราถดถอย เชน มีผลกําไรมากข้ึนจะชําระภาษี

นอยลง การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บอัตราคงท่ีเชนเดียวกับภาษีมูลคาเพิ่ม ประชาชนทุกคน

ที่มีหนาที่ตองชําระภาษีเพื่อการศึกษาโดยเทาเทียมกัน โดยองคประกอบมีความสอดคลองกับตาม

หลักการแนวคิด ทฤษฎีของ มัสเกรพ (Musgrave) และแนวคิดของ อดัม สมิธ (Adam Smith) สรุปไดวา

การเก็บภาษีที่ดีและมีประสิทธิภาพจะตองเปนการเก็บภาษีที่ใหความแนนอนและมั่นใจกับผูเสียภาษีทุก

คน ภาษีทุกประเภทท่ีจะจัดเก็บจะตองมีความชัดเจนในเร่ืองฐานภาษี อัตราภาษี ตลอดจนกําหนด

ระยะเวลาในการเสียภาษี รวมทั้งคํานึงในเร่ืองของความประหยัดใหกับผูเสียภาษี ที่สําคัญหลักในการ

จัดเก็บภาษีตองมีความเสมอภาคและเปนธรรมในสังคม จึงถือไดวาเปนหลักการและของระบบภาษีที่ดี

และสอดคลองกับหลักการและแนวคิดของ รังสรร ธนะพรพันธุ สวนองคประกอบยอยควรเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการที่เปนผูแทนจําหนายสลากกินแบง ซึ่งเปนการมอมเมาประชาชน

เพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบการดังกลาวและควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากสถาน

บันเทิงที่เปนการมอมเมาประชาชนเพื่อควบคุมปริมาณของสถานบันเทิงดังกลาว ควรเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาในอัตราสูง เชนเดียวกับการจัดเก็บภาษีจากผูประกอบการอุตสาหกรรมอันเปนการมอมเมา

ประชาชน เชน โรงงานผลิตสุรา โรงงานผลิตเบียร โรงงานผลิตบุหร่ี เพื่อควบคุมปริมาณของ

ผูประกอบการดังกลาว รวมทั้งควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการสื่อส่ิงพิมพที่เปน

การยั่วยุแกเด็กและเยาวชนเพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบการดังกลาว รวมทั้ง โรงงานอุตสาหกรรม

ที่กอมลพิษเพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบการดังกลาว และควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูง

จากผูประกอบการจําหนายเกมคอมพิวเตอร หรือจัดใหมีบริการเลนเกมคอมพิวเตอรตาง ๆ อันเปนการ

มอมเมาเด็กและเยาวชนเพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบการดังกลาวดังกลาว รวมทั้งควรเก็บภาษี

เพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการที่จําหนายสินคาฟุมเฟอย เชน เคร่ืองสําอาง น้ําหอม

เคร่ืองประดับ เพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบการดังกลาว โดยองคประกอบที่กลาวมามีความ

Page 251: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

236

สอดคลองกับการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศญ่ีปุนและประเทศ

สาธารณรัฐเกาหลี ที่จัดใหมีการสงเสริมและมอบรางวัลเกียรติคุณใหแกผูชําระภาษีเพื่อการศึกษาดีเดน

เชน การดําเนินการขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณใหเปนกรณีพิเศษ ควรตอบแทนใหแกผูชําระ

ภาษีเพื่อการศึกษา หรือการใหสิทธิพิเศษในการเลือกสถานที่เขาเรียนแกบุตรผูชําระภาษีดีเดน ไดตาม

ประสงค โดยเฉพาะการเขาศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน หลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของ

ภาษีในงานวิจัยนี้พบวา ประกอบดวยองคประกอบยอย 6 องคประกอบ ไดแก

3.1 หลักความเปนธรรม จากงานวิจัยนี้พบวา การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควร

จัดเก็บในอัตรากาวหนาเชนเดียวกับภาษีเงินได การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บในอัตรา

ถดถอย เชน มีผลกําไรมากข้ึนจะชําระภาษีนอยลง การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บอัตราคงที่

เชนเดียวกับภาษีมูลคาเพิ่ม ประชาชนทุกคนที่มีหนาที่ตองชําระภาษีเพื่อการศึกษา โดยเทาเทียมกัน โดย

องคประกอบมีความสอดคลองกับตามหลักการแนวคิด ทฤษฎีของ มัสเกรพ (Musgrave) และแนวคิด

ของ อดัม สมิธ (Adam Smith) และสอดคลองกับหลักการและแนวคิดของ รังสรร ธนะพรพันธุ และ

สอดคลองกับงานวิจัยของ มหาวิทยาลัยสุโขทัย ที่พบวา การชําระภาษีอากรที่ดีตองมีความเปนธรรมทั้ง

ในระหวางผูเสียภาษีดวยกันเองและระหวางรัฐผูเก็บภาษีกับประชาชนผูเสียภาษีอากร กลาวคือ ตอง

เก็บใหทั่วถึงโดยไมมีการเลือกปฏิบัติและเก็บตามกําลังความสามารถของผูเสียภาษีและการใชหลัก

ความเปนธรรมนี้ นับเปนหัวใจของระบบภาษีอากรที่ดีซึ่งสงผลถึงการเสียภาษีโดยสมัครใจ ในทาง

ทฤษฎีมีการแบงหลักของความเปนธรรมในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาออกเปน 2 หลัก คือ หลัก

ความเปนธรรมสัมบูรณและหลักความเปนธรรมสัมพันธ

3.2 หลักความเปนกลาง จากงานวิจัยนี้พบวาประชาชนทุกคนที่มีหนาที่ตองชําระภาษี

เพื่อการศึกษาแตกตางกันตามกําลังความสามารถที่ไมเทาเทียมกัน เชน ผูที่มีภาระคาใชจายในการเล้ียง

ดูบุตร ผูใดไดรับประโยชนจากการศึกษามาก จะตองชําระภาษีเพื่อการศึกษามากกวาผูที่ไดรับประโยชน

นอยกวา เชน การนําผลวิจัยทางการศึกษาไปผลิตเปนสินคาจําหนายและไดรับผลตอบแทนสูง

ประชาชนทุกคนที่มีหนาที่ตองชําระภาษีเพื่อการศึกษา แตกตางกัน ตามฐานรายไดที่ไมเทาเทยีมกนั โดย

องคประกอบมีความสอดคลองกับตามหลักการแนวคิด ทฤษฎีของ มัสเกรพ (Musgrave) และแนวคิด

ของ อดัม สมิธ (Adam Smith) และหลักการและแนวคิดของ รังสรร ธนะพรพันธุ รวมทั้งผลงานการวจิยั

ของ พนม ทินกร ที่กลาววา การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาตองยึดหลักความเปนกลางทางการเมือง

และตองเปดเผยการดําเนินการตอสถาบันรัฐสภาและประชาชนทั่วไป

3.3 หลักความแนนอน จากงานวิจัยนี้พบวา ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจาก

ผูประกอบการอุตสาหกรรมอันเปนการมอมเมาประชาชน เชน โรงงานผลิตสุรา โรงงานผลิตเบียร

โรงงานผลิตบุหร่ี เพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบการดังกลาว ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูง

จากผูประกอบการสื่อส่ิงพิมพที่เปนการยั่วยุแกเด็กและเยาวชนเพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบการ

Page 252: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

237

ดังกลาว ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการธุรกิจหรือโรงงานอุตสาหกรรมที่กอ

มลพิษเพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบการดังกลาว ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจาก

ผูประกอบการจําหนายเกมคอมพิวเตอร หรือจัดใหมีบริการเลนเกมคอมพิวเตอรตาง ๆ อันเปนการมอม

เมาเด็กและเยาวชน เพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบการดังกลาว โดยองคประกอบมีความสอดคลอง

กับตามหลักการแนวคิด ทฤษฎีของ มัสเกรพ (Musgrave) และแนวคิดของ อดัม สมิธ (Adam Smith)

และสอดคลองกับหลักการและแนวคิดของ รังสรร ธนะพรพันธุ โดยองคประกอบทั้งหมดที่กลาวมา

สอดคลองกับแนวคิด การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศญ่ีปุนและ

ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี และงานวิจัยของ ขจร สาธุพันธุ ที่กลาววา ในการบริหารการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษาอากรจะตองมีความแนนอนในเร่ืองบทบัญญัติของกฎหมายและวิธีปฏิบัติจัดเก็บ เชน

การกําหนดตัวบุคคลผูเสียภาษี ฐานที่จะนํามาใชในการคิดคํานวณภาษี อัตราภาษีที่เกี่ยวของ

กําหนดเวลาที่จะตองเสียภาษีและวิธีการชําระภาษี หากระบบการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาอากรใดมี

ความแนนอนและชัดแจงดังกลาวแลว ยอมจะสรางความสมัครใจในการเสียภาษีอากรไดดีข้ึน เพราะผู

เสียภาษีก็ตองการทราบภาระภาษีเพื่อวางแผนการประกอบธุรกิจหรือทํางานไดอยางถูกตอง ในบาง

ประเทศหนวยงานบริหารภาษีอากรทั้งหลายไดพยายามที่จะสรางความแนนอนและความชัดเจน

เกี่ยวกับการตีความกฎหมายและวิธีปฏิบัติโดยการออกระเบียบ คําส่ังอยางละเอียดและในบางคร้ังก็จะ

มีการตีความกฎหมายที่อาจเกิดปญหาลวงหนา ซึ่งจะชวยสรางความแนนอนใหเกิดข้ึนในทางปฏิบัติ

ไดมากข้ึน

3.4 หลักความประจักษแจง จากงานวิจัยนี้พบวาควรประชาสัมพันธใหประชาชนทราบ

ถึงหลักเกณฑ วิธีการ อัตรา และสถานที่รับชําระภาษีเพื่อการศึกษาโดยทั่วถึงกัน ควรเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการที่เปนผูแทนจําหนายสลากกินแบงของหนวยงานจัดเก็บซ่ึงเปน

การมอมเมาประชาชนเพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบการดังกลาว ควรอํานวยความสะดวกแก

ประชาชนในการบริการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษา เชน มีการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่

หางสรรพสินคาและธนาคารพาณิชยไดทุกแหง ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากผูประกอบการ

ที่จําหนายสินคาฟุมเฟอย เชน เคร่ืองสําอาง น้ําหอม เคร่ืองประดับ เพื่อควบคุมปริมาณของ

ผูประกอบการดังกลาว โดยองคประกอบมีความสอดคลองกับตามหลักการแนวคิด ทฤษฎีของ มัสเกรพ

(Musgrave) และ อดัม สมิธ (Adam Smith) รวมทั้งหลักการและแนวคิดของ รังสรร ธนะพรพันธุ ที่

กลาววาการบริหารงานจัดเก็บภาษีอากรแตละประเภทจะทําไดโดยงายข้ึนหากประชาชนใหความ

รวมมือในการเสียภาษีอากรและประชาชนจะใหความรวมมือในการเสียภาษีตอเม่ือภาษีอากรประเภท

นั้นไดรับการยอมรับจากประชาชนสวนใหญ การที่ประชาชนสวนใหญจะใหการยอมรับมากนอยเพยีงใด

ยอมข้ึนอยูกับความยุติธรรมในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาของรัฐเปนสําคัญ กลาวคือ ภาษีประเภท

นั้นตองสอดคลองกับสํานึกของประชาชนในเร่ืองประโยชนที่ไดรับจากเงินภาษีที่เสียไป

Page 253: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

238

3.5 หลักประสิทธิภาพในการบริหาร จากงานวิจัยนี้พบวา ควรแสดงอัตราภาษีเพื่อ

การศึกษาไวบนฉลากสินคาใหเห็นเดนชัด ควรจัดสงแบบแสดงรายการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาพรอม

เอกสารคําแนะนําไปยังภูมิลําเนาของผูชําระภาษีเพื่อการศึกษาในทุก ๆ ป โดยองคประกอบมีความ

สอดคลองกับตามหลักการแนวคิด ทฤษฎีของ มัสเกรพ (Musgrave) และ อดัม สมิธ (Adam Smith)

รวมทั้งสอดคลองกับหลักการและแนวคิดของ รังสรร ธนะพรพันธุ และงานวิจัยของ ปรีดา นาคเนาวทิม

ที่กลาวสรุปไดวา ระบบภาษีอากรที่ดีตองเปนระบบที่สามารถจัดเก็บไดอยางมีประสิทธิภาพ กลาวคือ

ควรเปนระบบที่เสียคาใชจายในการจัดเก็บนอยที่สุดและควรจะตองไดเงินภาษีเต็มเม็ดเต็มหนวยหรือ

ร่ัวไหลนอยที่สุด ประสิทธิภาพในแงผลของภาษีเมื่อเปรียบเทียบกับตนทุนของผูเสียภาษีและตนทุนใน

การบริหารการจัดเก็บ หรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือ จัดเก็บภาษีใหไดเต็มเม็ดเต็มหนวยหรือร่ัวไหลนอยที่สุด

สวนคาใชจายในการจัดเก็บเมื่อเปรียบเทียบกับรายไดจะตองตํ่าหรือประหยัดที่สุดดวย

3.6 หลักผลการจํากัดรายจายสุทธิ จากการวิจัยคร้ังนี้พบวา หนวยงานจัดเก็บควร

กําหนดอัตราภาษีเพื่อการศึกษาใหเหมาะสมเพื่อมิใหมีผลกระทบตอรายไดสุทธิของประชาชน ควร

กําหนดฐาน อัตราและวิธีการชําระภาษีเพื่อการศึกษา ดวยความเปนธรรมและเสมอภาคแกผูรับภาระ

ภาษี เพื่อมิใหมีผลกระทบตอกลไกของตลาดการคา ควรใชระบบการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษา

เชนเดียวกับระบบภาษีหัก ณ.ที่จาย เพื่อเปนการประหยัดตอตนทุนในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควร

ใชระบบการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาเชนเดียวกับระบบภาษีมูลคาเพิ่ม เพื่อเปนการลดตนทุนในการ

จัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรใชระบบสารสนเทศในการรับชําระภาษี เชน การชําระภาษีทาง

อินเตอรเน็ต เพื่อเปนการลดตนทุนในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาโดยองคประกอบมีความสอดคลอง

กับตามหลักการแนวคิด ทฤษฎีของ มัสเกรพ (Musgrave) และแนวคิดของ อดัม สมิธ (Adam Smith)

รวมทั้งหลักการและแนวคิดของ รังสรร ธนะพรพันธุ และงานวิจัยของ เมธากุล เกียรติกระจาย ที่กลาว

วา การรายงานคาใชจายจะทําเม่ือกิจการมีมูลคาลดลงหรือปรากฏวาไมมีผลกําไรที่เกิดจากการใช

ประโยชนจากสินคาและบริการนั้นในอนาคต

สรุปไดวาดานหลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษีอากรที่มีประสิทธิภาพตองไมมี

ลักษณะเปนการบิดเบือนการจัดสรรทรัพยากรเปนกลางทางเศรษฐกิจ กลาวคือ การบริหารการจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษาอากรที่ดี จะตองปลอยใหการตัดสินใจในทางเศรษฐกิจ เชน การซ้ือขายสินคาหรือ

บริการ การออมและการพักผอน เปนไปตามกลไกของราคาโดยการเปรียบเทียบอุปสงคและอุปทานใน

ส่ิงตาง ๆ ตลอดจนส่ิงอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของ โดยที่การบริหารการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาที่ดีจะตองไม

กระทบตอตนทุนหรือการตัดสินใจในทางเศรษฐกิจหรือไมเปนเหตุจูงใจในทางเศรษฐกิจ กลาวคือจะตอง

ไมทําใหตนทุนหรือประโยชนที่ไดสูงหรือตํ่ากวาความเปนจริง หรือกระทําดวยประการใด ๆ ที่

กระทบกระเทือนตอความเปนกลางทางเศรษฐกิจ

Page 254: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

239

ขอเสนอแนะ 1. องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรเปนหนวยงานที่รับผิดชอบในการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาทุกประเภทและจัดสรรกลับคืนสูสวนกลางเปนตัวบงชี้ไดวาองคกรปกครองสวนทองถิน่ควรเปน

หนวยงานท่ีรับผิดชอบการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา เนื่องจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นทราบขอมูล

การประกอบธุรกิจของผูประกอบการในทองถิ่นของตนดีกวาหนวยงานอ่ืนเปนตัวบงช้ีไดวาหนวยงานท่ี

จะจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาท่ีเหมาะสมคือองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยองคกรปกครองสวนทองถิ่น

ตองมีระบบบริหารงานในดานการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล

(good governance) โปรงใสเปนธรรมและสามารถตรวจสอบได เปนตัวบงช้ีไดวาองคกรปกครองสวน

ทองถิ่นควรตองมีระบบบริหารงานในดานรูปแบบการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาใหมีประสิทธิภาพตาม

หลักธรรมาภิบาล (good governance) โปรงใสเปนธรรมและสามารถตรวจสอบการปฏิบัติงานได

เพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาไดอยางมีประสิทธิผลและเปนธรรมแกผู

รับภาระการชําระภาษีเพื่อการศึกษา สามารถตรวจสอบการปฏิบัติงานได ควรกําหนดใหมีการจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษาจากผูประกอบการอุตสาหกรรมอันเปนการมอมเมาประชาชน เชน โรงงานผลิตสุรา

โรงงานผลิตเบียร โรงงานผลิตบุหร่ี ฯลฯ เปนตัวบงช้ีไดวาผูประกอบการดังกลาวควรเปนผูรับภาระการ

ชําระภาษีเพื่อการศึกษามากที่สุด เนื่องจากเปนผูประกอบธุรกิจที่สงผลกระทบตอสังคมมากที่สุด องคกร

ปกครองสวนทองถิ่นควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากผูประกอบการที่กอใหเกิดมลพิษ และควรจัดเก็บ

ภาษีจากสถานบันเทิง สถานประกอบธุรกิจการพนัน คาสิโน สนามจัดแขงขันมา (sin tax) เพื่อจัดสรร

สนับสนุนการศึกษาเปนตัวบงชี้ไดวาองคกรปกครองสวนทองถิ่นควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจาก

ผูประกอบการที่กอใหเกิดมลพิษและธุรกิจการพนัน คาสิโน สนามจัดแขงขันมา (sin tax) ควรจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษาจากทรัพยสิน มรดก สินคาฟุมเฟอย เชน ธุรกิจโทรศัพทมือถือ เคร่ืองสําอาง น้ําหอม

เคร่ืองประดับ ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากผูประกอบการจําหนายเกมคอมพิวเตอร หรือจัดใหมี

บริการเลนเกมคอมพิวเตอรตาง ๆ อันเปนการมอมเมาเด็กและเยาวชน จากผูประกอบการคาส่ือส่ิงพิมพ

ที่ยั่วยุหรือละเมิดศีลธรรม จากผูจําหนายสลากกินแบงในทองถิ่นนั้น ๆ ซึ่งองคประกอบดังกลาวนี้

สอดคลองกับการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐเกาหลีใต

2. รัฐบาล มีหนาที่หลักในการบริหารจัดการเร่ืองการจัดเก็บภาษีอากร จึงควรปฏิบัติดังนี้

2.1 ควรสรางความเขาใจแกประชาชนเกี่ยวกับผลดีจากการรวมมือในการชําระภาษี

เพื่อการศึกษา ควรกําหนดมาตรการการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาใหชัดเจน เพื่อใหทราบถึงประโยชน

และม่ันใจไดวาเงินภาษีดังกลาวเปนไปเพื่อการพัฒนาและสนับสนุนการศึกษาอยางเปนธรรม โปรงใส

และสามารถตรวจสอบได ควรใหประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมในการทําประชาพิจารณเพื่อกําหนดฐาน

อัตรา ระยะเวลาและวิธีการชําระภาษีเพื่อการศึกษาและสามารถกําหนดวิธีการชําระ กําหนดฐาน

กําหนดอัตราและระยะเวลาการชําระภาษีเพื่อการศึกษากําหนดหลักเกณฑ วิธีการประเมินภาษีและบท

Page 255: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

240

กําหนดโทษเพื่อปองกันการหลบเล่ียงภาษีเพื่อการศึกษา ตามความเหมาะสมของทองถิ่นนั้น ๆ ควร

บริหารการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาโดยกําหนดระบบการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา บุคลากร

ฐานขอมูลและระบบติดตามตรวจสอบดวยระบบสารสนเทศ และควรกําหนดหลักเกณฑการชําระภาษี

เพื่อการศึกษาใหชัดเจน เชน วิธีการชําระ อัตรา และระยะเวลาการชําระภาษีเพื่อการศึกษา

2.2 ควรประชาสัมพันธใหประชาชนทราบถึงหลักเกณฑ วิธีการ อัตรา และสถานที่รับ

ชําระภาษีเพื่อการศึกษาโดยทั่วถึง ควรอํานวยความสะดวกแกประชาชนในการบริการรับชําระภาษีเพื่อ

การศึกษา เชน มีการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่หางสรรพสินคาและธนาคารพาณิชยไดทุกแหง ควร

จัดสงแบบแสดงรายการการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาพรอมเอกสารคําแนะนําไปยังภูมิลําเนาของผู

ชําระภาษีเพื่อการศึกษาในทุก ๆ ป ควรกําหนดอัตราภาษีเพื่อการศึกษาใหเหมาะสมเพื่อมิใหมี

ผลกระทบตอรายไดสุทธิตอประชาชนควรกําหนดฐาน อัตราและวิธีการชําระภาษีเพื่อการศึกษาดวย

ความเปนธรรมและเสมอภาคแกผูรับภาระภาษี เพื่อมิใหมีผลกระทบตอกลไกของตลาดการคา ควรใช

ระบบสารสนเทศในการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษา เชน การชําระภาษีทางอินเตอรเน็ต เพื่อเปนการลด

ตนทุนในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรใชระบบการรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาเชนเดียวกับระบบ

ภาษีหัก ณ.ที่จาย หรือภาษีมูลคาเพิ่มเพื่อเปนการลดตนทุนในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา

ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป เพื่อใหงานวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา เปนประโยชนในการศึกษาและคนควา ใน

เร่ืองของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา ของผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นและผูบริหารสถานศึกษา

ตลอดจนครูและบุคลากรทางการศึกษา นักวิชาการและผูสนใจ ผูวิจัยจึงมีขอเสนอแนะในการวิจัยคร้ัง

ตอไป ดังนี้

1. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับปจจัยที่สงผลตอการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาในรูปแบบ

ภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทย

2. ควรศึกษาวิจัยในการนํารูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาไปทดลองใชเพื่อสรุปภาพรวมของ

รูปแบบและความถูกตองเหมาะสมของแตละองคประกอบ

3. ควรศึกษาวิจัยในแตละองคประกอบของรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาทั้งเชิงคุณภาพและ

เชิงปริมาณ

Page 256: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

241

บรรณานุกรม ภาษาไทย กรมสรรพสามิต. “ลําดับเหตุการณการรวมกรมสรรสามิตและกรมสรรพากร” สามิตสาร 54, 4

(กรกฎาคม - สิงหาคม 2541) : 29.

เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม. การคลังวาดวยการจัดสรรและการกระจาย. กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2541.

ขจร สาธุพันธุ. ภาษีอากร. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช, 2523.

คณะกรรมการพิจารณาและจัดพิมพเอกสารทางประวัติศาสตร. ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1 จารึก

กรุงสุโขทัย . กรุงเทพฯ : สํานักนายกรัฐมนตรี, 2521.

แคทรียา โสภา. “อุปสรรคสําคัญของการใชบังคับกฎหมายภาษีอากรของไทย.” (วิทยานิพนธ

นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545.

ชัย เรืองศิลป. ประวัติศาสตรไทยสมัย พ.ศ.2352-2453 ดานเศรษฐกิจ. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนา

พานิช, 2522.

ฉันทนา จันทรบรรจง. การศึกษาแนวทางการบริหารและการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวน

ทองถิ่นในประเทศญี่ปุน. กรุงเทพฯ : บริษัท อมรินทรพร้ินต้ิงแอนดพับลิชช่ิง จํากัด,

2543.

ญาดา ประภาพันธ. ระบบเจาภาษีนายอากรสมัยกรุงเทพฯ ยุคตน .กรุงเทพฯ : สรางสรรค, 2524.

ดรุณี จําปาทอง. “ระบบบริหารจัดการโรงเรียน : ความเขมแข็งของระบบการศึกษา”

การศึกษาไทย 3 ,19 (กมุภาพนัธ 2549) : 9 - 10.

ดวงเดือน พิศาลบุตร. ประวติัการศึกษาไทย .พระนคร : มงคลการพิมพ, 2512.

ธรรมเกียรติ กนัอริ. รายงานสภาวะการศึกษาไทย : พลิกสถานการณบนพืน้ฐานกฎหมายปฏิรูป

การศึกษา. กรุงเทพฯ : ชวนพิมพ, 2544

นคร พันธุณรงค.รศ. ประวัติศาสตรไทยสมัยกรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร, พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ

: พิฆเณศ, 2526.

นารี นันตติกูล. “การวิจัยเร่ืองประสิทธิภาพของการบริหารการจัดเก็บภาษี ศึกษาเฉพาะมิติดาน

ความพึงพอใจของผูรับบริการศึกษาเฉพาะกรณีเทศบาลตําบลทาขาม อําเภอ บางปะกง

จังหวัดฉะเชิงเทรา”. วิทยานิพนธรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโยบายสาธารณะ

มหาวิทยาลัยบูรพา, 2545.

Page 257: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

242

นารีลักษณ สุทธิรัตน. “ปญหาการปฏิบัติงานตามนโยบายขยายฐานภาษี” วทิยานพินธ

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทั่วไป มหาวทิยาลัยบูรพา, 2545.

บุญชนะ อัตถากร. ทฤษฎีภาษีและทางปฏิบัติ . พระนคร : รุงเรืองธรรม, 2500.

บุญศักด์ิ ใจจงกิจ. “รายงานการวิจัยเอกสารการปฏิรูปการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพ

ของตางประเทศ : สาธารณรัฐฝร่ังเศส.” 2542. (เอกสารอัดสําเนา)

เบญจพร แกวมีศรี. “การนําเสนอรูปแบบการพัฒนาคุณภาพลักษณะภาวะผูนําของผูบริหาร

วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข.” วิทยานิพนธปริญญาดุษฎีบัณฑิต

ภาควิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545.

ประพัฒน ตรีณรงค. ประวัติและผลงานสมเด็จเจาพระยาดํารงราชานุภาพ .กรุงเทพฯ : โรงพิมพ

ไทยสัมพันธ, 2516.

ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 65. พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม). ม.ป.ท.,

2503.

ปวย อ้ึงภากรณ. คําบรรยายวิชาการคลัง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. กรุงเทพฯ : ประมวลมิตร,

2498.

ปน มาลากุล. การศึกษาของไทยในปจจุบัน . กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา, 2516.

ปรีดา นาคเนาวทิม. เศรษฐศาสตรการบญัชีภาษีอากร 1. กรุงเทพมหานคร : สํานกัพิมพ

มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2535.

พวงรัตน ทวีรัตน. วิธวีิจัยทางพฤติกรรมศาสตร. กรุงเทพฯ : ฟร้ิงเกอรปร้ิน แอนดมีเดีย จํากัด, 2536.

พระยาอนุมานราชธน. ตํานานศุลกากร . พระนคร : กรมสารบรรณทหารเรือ, 2506.

“พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542.” ราชกิจจานุเบกษา 116, 74 ก.(19 สิงหาคม

2542) : 33.

พระวรวงศเธอพระองคเจาวิวัฒนไชย ไชยยันต. กฎหมายการคลัง . พระนคร : อักษรสาสน, 2504.

ไพฑูรย สายสวาง. รายงานผลการสัมมนาการเมืองและสภาพสังคมสมัยสุโขทัย. พิษณุโลก :

ศูนยสุโขทยัศึกษา มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวโิรฒ, 2521.

พูลสุข หิงคานนท. “การพัฒนารูปแบบการจัดองคกรของวิทยาลัยพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข.

” วิทยานิพนธปริญญาดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,” 2540.

เมธากุล เกียรติกระจาย. ทฤษฎีการบัญชี. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมชนสหกรณ, 2534.

เยาวดี วิบูลยศรี. การประเมินโครงการ : แนวคิด และแนวปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ

แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2542.

Page 258: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

243

รังสรรค ธนะพรพันธุ. ทฤษฎีการภาษีอากร. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเคล็ดไทย, 2516.

. เศรษฐศาสตรการคลังวาดวยการศึกษา. กรุงเทพ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2523.

“ลําดับเหตุการณการรวมกรมสรรสามิตและกรมสรรพากร.” สามิตสาร 54, (4 กรกฎาคม –

สิงหาคม 2541) : 125.

วัลลภ สุวรรณดี และคนอ่ืนๆ. รายงานการวิจัยเร่ือง แนวทางการใชมาตรการจูงใจทางภาษีเพื่อ

การระดมทรัพยากรทางการศึกษา. ม.ป.ท.,ม.ป.ป.

วุฒิชัย มูลศิลป. เมื่อเร่ิมปฏิรูปการศึกษา ในสมัยรัชกาลที่ ๕ – รัชกาลที่ ๗. กรุงเทพฯ : บริษัท

๒๐๒๐ เวิลด มีเดีย จํากัด, 2541.

วุฒิสาร ตันไชยและคณะ. ระบบและรูปแบบการจัดเก็บภาษีทองถิ่น ศึกษาเฉพาะกรณีประเทศ

ญ่ีปุน กรุงเทพฯ : วิทยาลัยพัฒนาการปกครองทองถิ่น สถาบันพระปกเกลา, 2548.

ศักด์ิชัย นิรัญทวี. รายงานการปฏิรูปการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐเกาหลี. กรุงเทพฯ :

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2541.

ศิราลักษณ อินทรไทยวงศ. เสถียรภาพและความยืดหยุนของภาษีอากรไทย. กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2547.

ศุรีพร เศวตพงษ. “รายงานการวิจัยเอกสารการปฏิรูปการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพของ

ตางประเทศ : สาธารณรัฐประชาชนเกาหลี.” 2542. (เอกสารอัดสําเนา)

สมเด็จพระบรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพ. อธิบายตํานานภาษีอากรและตํานานภาษี

บางอยาง .พระนคร : อักษรสาสน, 2512.

สมสวาท ชวนไชยสิทธิ์. การปฏิรูปภาษีอากรในรัชสมัยสมเด็จพระปยมหาราช .กรุงเทพฯ : คุรุสภา

ลาดพราว, 2518.

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. แผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ.2545 – 2559) : ฉบับ

สรุป. พิมพคร้ังที่ 2 . กรุงเทพฯ : บริษัท พริกหวาน จํากัด, 2545.

สํานักงานปฏิรูปการศึกษา (องคกรมหาชน). เสนทางปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ : สํานักงาน

ปฏิรูปการศึกษา, 2546.

สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

กรุงเทพฯ : สํานักการพิมพ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, 2550

สุเพ็ญศรี วิเศษพาณิชย. “การศึกษาภาระภาษีของครัวเรือน จําแนกตามชั้นของรายไดในชวงป

พ.ศ. 2543 – 2543.” ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2545.

สุรีพร เศวตพงษ. “รายงานการวิจัยเอกสารการปฏิรูปการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพของ

ตางประเทศ : สาธารณรัฐประชาชนจีน.” ม.ป.ท., 2542. (เอกสารอัดสําเนา)

Page 259: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

244

หลวงสุทธิวาทนฤพฒุิ. ประวติัศาสตรกฎหมายช้ันปริญญาโท. กรุงเทพฯ : ศรีสมบัติการพิมพ,

2529.

อมรวิชช นาครทรรพ. “วิกฤติคุณภาพการศึกษาการ : บทวิเคราะหเพื่อหาทางออก ประชุมสมัชชา

คุณภาพการศึกษา.” วันที่ 23-24 พฤศจิกายน 2550 อิมแพค เมืองทองธานี.

(เอกสารอัดสําเนา)

อุทุมพร ทองอุไทย จามรมาน. “โมเดลคืออะไร.” วารสารวิชาการ 1,3 (มีนาคม 2541) : 53.

ภาษาตางประเทศ Barro, R.J., and S. Martin. Economics Growth . Chicago : McGraw-Hill, 1975

Best, John W. Research in Education. Englewood Cliffs : Prentice – Hall Inc., 1970.

Brown, W. B., and D. J. Moberg. Organization theory and management: A

macro approach. New York : John Wiley and Sons,1980.

Friedman, Milton. Capitalism and Freedom .The University of Chicago Press, Ltd. 1962.

Grabowski, R. and M.P. Shields. Development Economics . New York : Blackwell,

1996.

Husen T., and N.T. Postlethwaite. The international encyclopedia of education,

[Online],Accessed 1 May 2007 Available from

http://www.jica.go.jp/english/resources/ publications/stydy/

topical/education/index.htm.

Johns, R.L. and E. L. Morphet. The Economics and Financing of Education : A

Systems Approach. Englewood Cliffs, New jersey : Prentice Hall, 1969.

Keeves, Peter J., Educational Research. Methodology and Meassurement : An

International Handbooks . Oxford : Oxford Pergamon Press, 1988.

Musgrave, R.A. and Musgrave P.B. Public Finance in Theory and Practice.

New York : McGraw – Hill, 1973.

Smith, Adam. The Wealth of Nations. New York : Bantam Dell A Division of Random

House, Inc, 2003.

Smith, Edward W. and Others. The Education’s Encyclopedia. New York : Prentice

Publishing, 1980.

Page 260: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

245

Internet กระทรวงการคลัง. การคลังของไทยต้ังแตสมัยการเปล่ียนแปลงการปกครองจนถึงปจจุบัน

[Online]. Accessed 1 January 2007 Available from http://www.mof.go.th/ mofhistory/history6.html กรมศุลกากร. กระทรวงการคลัง. “อัตราภาษีศุลกากร” [Online]. Accessed 29 August 2007.

Available from http://e-fpo.fpo.go.th/e-tax/custom/index.asp

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 1

February 2007 Available from http://www.rd.go.th/publish/814.0.html กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 15

March 2007 Available from http://www.rd.go.th/publish/309.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 29

May 2007 Available from http://www.rd.go.th/publish/549.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง.ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 1

June 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/23371.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง.ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนกิส [Online]. Accessed 7

June 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/308.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 12

June 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/835.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 20

June 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/7061.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 25 June 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/7060.0.html กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 20

July 2007 Available from http://www.rd.go.th/publish/550.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง.ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 20

July 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/7059.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 23

July 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/7058.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 29

July 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/7057.0.html

Page 261: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

246

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง.ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 31

July 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/7056.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 2 August 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/7054.0.html กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 5

August 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/306.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 12

August 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/684.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 15

August 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/683.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 15

August 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/14943.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 18

August 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/305.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 22

August 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/764.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 28

August 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/305.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง, ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online], Accessed 8

September 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/305.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 9

September 2007. Available from http://www.rd.g.th/publish/2502.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 11

September 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/2777.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 20

September 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/2777.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนกิส [Online]. Accessed 21

September 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/2771.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 21

September 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/2772.0.html

Page 262: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

247

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนกิส [Online]. Accessed 23

September 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/2502.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนกิส [Online]. Accessed 25

September 2007. Available from http://www.oic.thaigov.go.th/ WINFOMA/DRAWERS

/LAWS/DATA0000/00000236.DOC กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 27

September 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/2644.0.html

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนกิส [Online]. Accessed 29

September 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/5937.

.html#mata47

กรมสรรพากร. กระทรวงการคลัง. ประมวลรัษฎากร ฉบับอิเลกทรอนิกส [Online]. Accessed 29

Sptember 2007. Available from http://www.rd.go.th/publish/21455.0.html

กรมสรรพสามิต. กระทรวงการคลัง. อัตราภาษีสรรพสามิต [Online]. Accessed 22 August

2007. Available from http://e-fpo.fpo.go.th/e-tax/excise/index.asp

พระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองที ่พ.ศ. 2508. (รวมฉบับแกไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2525)

[Online], Accessed 29 August 2007http://209.85.175.104/ search?q =cache

t1PjzuE6o7MJ:203.155.220.217/office/donmeung/tax/buarung. htm+tax/ :

buarung&hl=en&ct=clnk&cd=1.

พระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองที ่พ.ศ. 2508 . (รวมฉบับแกไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2525)

[Online]. Accessed 31 August 2007http://:203.155.220.217/

office/donmeung/tax/buarung.htm+tax/:

Page 263: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

ภาคผนวก

Page 264: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

ภาคผนวก ก

หนงัสือขอความอนุเคราะหเพื่อการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒ ิ

Page 265: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

ที่ ศธ 0502.203.2/ 529 ถึง 536 ภาควิชาการบริหารการศึกษา

คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยศิลปากร

พระราชวงัสนามจนัทร นครปฐม 73000

30 กนัยายน 2549

เร่ือง ขอสัมภาษณงานวิจัยภาษีการศึกษา

เรียน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการคลัง, รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ, รองอธิบดี

กรมสรรพกร, รองอธิบดีกรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น, ผูอํานวยการสํานักกฎหมาย

กรมสรรพกร, ผูอํานวยการกองคลัง กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น, ผูอํานวยการ

สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง, รองผูอํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจการคลงั

ส่ิงที่สงมาดวย แบบสอบถาม จาํนวน 1 ชุด

ดวย อาจารยวรกาญจน สุขสดเขียว รหัสนักศึกษา 46252705 นักศึกษาระดับปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยศิลปากร ไดรับอนุมัติใหทําวิทยานิพนธ เร่ือง “รูปแบบภาษีการศึกษา”

ในการนี้ ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ใครขอความอนุเคราะหใหอาจารยวรกาญจน สุขสดเขียว สัมภาษณทานเกี่ยวกับภาษีการศึกษา เพื่อ

นําไปพัฒนางานวิจัย ภาควิชาการบริหารการศึกษาหวังเปนอยางยิ่งวาคงไดรับความอนเุคราะหจากทาน

เปนอยางดี

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาใหความอนุเคราะหดวย จักขอบคุณยิ่ง

ขอแสดงความนับถือ

(รองศาสตราจารย ดร.ชวนชม ชนิะตังกูร)

หัวหนาภาควชิาการบริหารการศึกษา งานธุรการ

โทรศัพท / โทรสาร 0 34 21 9136

250

Page 266: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

ภาคผนวก ข

หนงัสือขอความอนุเคราะหตรวจเคร่ืองมอืวิจัย

Page 267: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

ที่ ศธ 0502.203.2/ ว435 ภาควิชาการบริหารการศึกษา

คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยศิลปากร

พระราชวงัสนามจนัทร นครปฐม 73000

20 ธันวาคม 2549

เร่ือง ขอความอนุเคราะหตรวจเคร่ืองมือวิจยั

เรียน รองศาสตราจารย ดร.กาญจนา วัชนสุนทร

ส่ิงที่สงมาดวย แบบสอบถาม จาํนวน ฉบับ

ดวย นายวรกาญจน สุขสดเขียว รหัสนักศึกษา 46252705 นักศึกษาระดับปริญญา

ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยศิลปากร ไดรับอนุมัติใหทําวิทยานิพนธ เร่ือง “รูปแบบภาษีการศึกษา”

ในการนี้ ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร ใครขอความอนุเคราะห

จากทานตรวจสอบความเที่ยงตรงของเคร่ืองมือ เพื่อการวิจัย ที่แนบมาพรอมกับหนังสือนี้ ทั้งนี้

ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากรขอขอบคุณทานเปนอยางสูง

มา ณ โอกาสนี้

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาใหความอนุเคราะหดวย จักขอบคุณยิ่ง

ขอแสดงความนับถือ

(อาจารย ดร.ศริยา สุขพาณิช)

หัวหนาภาควิชาการบริหารการศึกษา

งานธุรการ

โทรศัพท / โทรสาร 0 34 21 9136

252

Page 268: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

ที่ ศธ 0502.203.2/ ว023 ภาควิชาการบริหารการศึกษา

คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยศิลปากร

พระราชวงัสนามจนัทร นครปฐม 73000

29 มกราคม 2550

เร่ือง ขอทดลองเคร่ืองมือ

เรียน นายกเทศมนตรี, ปลัดเทศบาล, ปลัดองคการบริหารสวนตําบล, นายกองคการบริหารสวนตําบล

และผูอํานวยการโรงเรียน

ส่ิงที่สงมาดวย แบบสอบถาม จาํนวน 1 ชุด

ดวย นายวรกาญจน สุขสดเขียว รหัสนักศึกษา 46252705 นักศึกษาระดับปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยศิลปากร ไดรับอนุมัติใหทําวิทยานิพนธ เร่ือง “รูปแบบภาษีการศึกษา”

ในการนี้ ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร ใครขอความอนุเคราะหให

นายวรกาญจน สุขสดเขียว ทําการทดสอความเช่ือมั่นในหนวยงานของทาน เพื่อนําไปปรับปรุงแกไข

กอนนําไปใชในการวิจัยกลุมตัวอยาง ภาควิชาการบริหารการศึกษาหวังเปนอยางยิ่งวาคงไดรับความ

อนุเคราะหจากทานเปนอยางดี

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาใหความอนุเคราะหดวย จักขอบคุณยิ่ง

ขอแสดงความนับถือ

(อาจารย ดร.ศริยา สุขพาณิช)

หัวหนาภาควิชาการบริหารการศึกษา

งานธุรการ

โทรศัพท / โทรสาร 0 34 21 9136

253

Page 269: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

กลุมทดลองเครื่องมือวิจัย

กลุมทดลองเครื่องมือในการวิจัยเร่ืองรูปแบบภาษีการศึกษาประกอบไปดวยหนวยงาน

ดังนี ้

1. เทศบาลนครนครปฐม ผูตอบแบบสอบถาม 2 ชุด

2. เทศบาลตําบลธรรมศาลา ผูตอบแบบสอบถาม 2 ชุด

3. เทศบาลตําบลโพรงมะเด่ือ ผูตอบแบบสอบถาม 2 ชุด

4. เทศบาลตําบลบางเลน ผูตอบแบบสอบถาม 2 ชุด

5. เทศบาลตําบลบางหลวง ผูตอบแบบสอบถาม 2 ชุด

6. องคการบริหารสวนจังหวัดนครปฐม ผูตอบแบบสอบถาม 2 ชุด

7. องคการบริหารสวนตําบลนครปฐม ผูตอบแบบสอบถาม 2 ชุด

8. องคการบริหารสวนตําบลสระกระเทยีม ผูตอบแบบสอบถาม 2 ชุด

9. องคการบริหารสวนตําบลตากอง ผูตอบแบบสอบถาม 2 ชุด

10. องคการบริหารสวนตําบลถนนขาด ผูตอบแบบสอบถาม 2 ชุด

11. โรงเรียนวัดหวยจระเขวทิยา ผูตอบแบบสอบถาม 4 ชุด

12. โรงเรียนเทศบาล 1 (วัดพระงาม) ผูตอบแบบสอบถาม 4 ชุด

13. โรงเรียนเทศบาล 2 (วัดเสนหา) ผูตอบแบบสอบถาม 4 ชุด

14. โรงเรียนบํารุงวิทยา ผูตอบแบบสอบถาม 4 ชุด

11. โรงเรียนเทคโนโลยีนครปฐม ผูตอบแบบสอบถาม 4 ชุด

รวมผูตอบแบบสอบถามทั้งส้ิน 40 ชุด

254

Page 270: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

ภาคผนวก ค

แบบสอบถามเพื่อการวิจัย

Page 271: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

256

แบบสอบถามเพ่ือการวิจัย เร่ือง

รูปแบบภาษเีพื่อการศึกษา

...................................................

คําชี้แจง

1. แบบสอบถามฉบับนี้มีวัตถุประสงคเพื่อทราบรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาที่เหมาะสมตาม

พระราชบัญญัติกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2542

2. ผูตอบแบบสอบถาม

2.1 หนวยงานองคกรปกครองสวนทองถิ่น ไดแก นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ปลัด

องคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาล และนายกองคการบริหารสวนตําบล และปลัด

องคการบริหารสวนตําบล

2.2 หนวยงานสถานศึกษาไดแก ผูอํานวยการโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน

พื้นฐาน และผูปกครองนักเรียน

3. คําตอบของผูตอบแบบสอบถามทุกทานจะไดรับการประมวลภาพรวมขององคความรูเร่ือง

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา เพื่อเปนพื้นฐานในการสรางนโยบายดานภาษีเพื่อการศึกษาของประเทศไทย

และจะไมมีผลกระทบใด ๆ ทั้งส้ินตอการปฏิบัติงานของทาน จึงใครขอความรวมมือใหทานตอบ

แบบสอบถามทุกขอ เพื่อใหเปนขอมูลที่สมบูรณ และมีประโยชนตอการสังเคราะหขอมูลสําหรับการวิจัย

ตอไป

4. แบบสอบถามฉบับนี้มี 2 ตอน

ตอนที่ 1 แบบสอบถามสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก วุฒิการศึกษา

ตําแหนง ประสบการณการทํางานในตําแหนง

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ซึ่งประกอบดวย

โครงสรางการจัดเก็บภาษี หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี และหลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษี

อากร

ผูวิจัยหวังเปนอยางยิ่งวาจะไดรับความอนุเคราะหจากทาน จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

นายวรกาญจน สุขสดเขียว

นักศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต

ภาควิชาการบริหารการศึกษา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 272: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

257

คํานิยามศัพทเฉพาะ

ภาษี หมายถึง ส่ิงที่รัฐบาลบังคับเก็บจากราษฎร และนํามาใชเพื่อประโยชนของสังคมสวนรวม

ฐานภาษี หมายถึง ส่ิงที่ถูกใชเปนฐานในการประเมินเก็บภาษีอากรแตละชนิดตามอัตราของภาษีที่ได

กําหนดไว ส่ิงที่ถูกใชเปนฐานในการจัดเก็บภาษีอาจจะไดแก รายได ความมั่งค่ัง มูลคาของสินคาหรือ

บริการที่ทําการซ้ือขายกัน หรือส่ิงอื่น ๆ ที่กําหนด

รายไดภาษี หมายถึง รายไดที่เกิดจากการนํามูลคาฐานของภาษี(รายได ความมั่งค่ัง มูลคาของสินคา

หรือบริการที่ทําการซ้ือขายกัน ) คูณดวยอัตราภาษีที่จัดเก็บนั้น

อัตราภาษี หมายถึง จํานวนที่กําหนดไวเพื่อใชคํานวณหาเงินไดภาษีอากรที่จะจัดเก็บจากผูเสียภาษี

ปจจุบัน อัตราภาษีแบงออกเปน 3 ประเภท

(1) อัตราภาษีคงท่ี (Flat Rate) หรืออัตราภาษีตามสัดสวน (Proportional Rate) เชน อัตราภาษีเงิน

ไดนิติบุคคลตามมาตรา 27 แหง พ.ร.ก.แกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 16) พ.ศ.2534 เรียกเก็บ

ในอัตรารอยละ 30 ของกําไรสุทธิ ดังนี้ไมวากําไรสุทธิจะมีจํานวนเทาใดก็ตาม อัตราภาษีที่ใชเรียกเก็บ

ยังคงอยูในอัตราเดิม

(2) อัตราภาษีแบบกาวหนา (Progressive Rate) อัตราภาษีประเภทนี้เปนอัตราภาษีที่มีคาไมคงที่

อัตราภาษีจะเพิ่มสูงข้ึนเม่ือฐานภาษีมีขนาดใหญข้ึน เชน อัตราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ตามมาตรา 26

แหง พ.ร.ก.แกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 16) พ.ศ. 2534 กําหนดไววา บุคคลธรรมดาที่มีเงินได

สุทธิไมเกิน 100,000 บาท เสียภาษีในอัตรารอยละ 5 ถาเงินสุทธิเกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 500,000

บาท ผูมีเงินไดจะตองเสียภาษีในอัตรารอยละ 10 ในสวนที่เกิน 100,000 บาท ถาเงินไดสุทธิเกิน

500,000 บาท แตไมเกิน 1,000,000 บาท สวนที่เกิน 500,000 บาท นี้ จะตองเสียภาษีในอัตรา

รอยละ 20 และอัตราภาษีจะสูงข้ึน ๆ จนถึงเงินไดสุทธิสวนที่เกิน 4,000,000 บาท ตองเสียภาษีในอัตรา

รอยละ 37

(3) อัตราภาษีแบบถดถอย (Regressive Rate) อัตราภาษีประเภทนี้เปนอัตราที่มีลักษณะตรงกันขาม

กับอัตราภาษีแบบกาวหนา กลาวคือ อัตราภาษีจะลดลงตามสวนเมื่อฐานภาษีมีขนาดใหญข้ึน

ตัวอยางเชน เมื่อมีเงินได 10,000 บาท ตองเสียภาษีรอยละ 30 แตถามีเงินได 30,000 บาท กลับเสียภาษี

นอยลงเปนรอยละ 20 และถามีเงินได 50,000 บาท เสียภาษีเพียงรอยละ 10 เปนตน

Page 273: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

258

ตอนท่ี 1 ขอมูลทั่วไปเกีย่วกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม คําชี้แจง โปรดพิจารณาขอคําถามเหลานี้และทําเคร่ืองหมาย ลงใน ชองหนาขอความที่ตรงกับ

สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม

ขอที ่ สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม

1. วุฒกิารศึกษา

ตํ่ากวาปริญญาตรี

ปริญญาตรี

สูงกวาปริญญาตรี

2. ดํารงตําแหนง ดํารงตําแหนง

ผูวาการ กทม. ปลัด กทม.

นายก อบจ. อบต.

ปลัด อบจ. อบต.

นายกเทศมนตรี เมืองพทัยา นคร

เมือง ตําบล

ปลัดเทศบาล เมืองพทัยา นคร

เมือง ตําบล

ดํารงตําแหนง ดํารงตําแหนง

ร.รสังกัด สพฐ. อปท. เอกชน

ผูอํานวยโรงเรียน

ครูปฏิบัติการ

กรรมการสถานศึกษาข้ันพืน้ฐาน

ผูปกครองนกัเรียน

3. ประสบการณ การทํางานในตําแหนง

นอยกวา 4 ป 4 – 8 ป

9 – 12 ป 13 - 16 ป

17 – 20 ป มากกวา 20 ปข้ึนไป

Page 274: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

259

ตอนท่ี 2 รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา โครงสรางการจัดเก็บภาษี หมายถึง องคประกอบตาง ๆ คือ องคกร หนวยงานท่ีทําหนาที่จัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษา รวมทั้งกระบวนการ วิธีการ อัตราและระยะเวลาการจัดเก็บ

หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี หมายถึง หลักความเปนธรรม หลักของความแนนอน หลักของความ

สะดวก หลักของความประหยัด

หลักเกณฑเกี่ยวกับประสิทธิภาพของภาษี หมายถึง หลักความเปนธรรม หลักความเปนกลาง หลัก

ความแนนอน หลักความประจักษแจง หลักประสิทธิภาพในการบริหาร หลักเกณฑเร่ืองผลการจํากัด

รายจายสุทธิ

หนวยงานจัดเก็บ หมายถึง องคกรปกครองสวนทองถิ่น ไดแก เมืองพัทยา เทศบาลนคร เทศบาลเมือง

องคการบริหารสวนจังหวัด และองคการบริหารสวนตําบล

คําช้ีแจง โปรดพิจารณาขอคําถามเหลานี้และทําเคร่ืองหมาย ลงใน ชองระดับความเหมาะสม

ในการจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาที่ตรงกับความคิดเห็น ของทานมากที่สุด

รูปแบบภาษีเพ่ือการศึกษา

ระดับความคิดเห็น

ขอ

โครงสรางการจัดเก็บภาษี

นอย

ที่สุด

1

นอย

2

ปาน

กลาง

3

มาก

4

มาก

ที่สุด

5

1

การจัดสรรเงินงบประมาณอุดหนนุรายหัวนักเรียนใน

ปจจุบันของกระทรวงศึกษาธิการ

มีความเหมาะสม

2 ควรปรับหลักเกณฑการจัดสรรงบประมาณเงิน

อุดหนนุรายหวัแกโรงเรียนโดยคํานงึถงึสภาพที่ต้ัง

(เขตในเมือง เขตชนบท) และขนาดโรงเรียน(ใหญ

กลาง เล็ก)

3 ในการพิจารณากําหนดอัตราและฐานภาษีเพื่อ

การศึกษาควรวิเคราะหตนทนุที่แทจริงของการจัด

การศึกษาในแตละทองถิ่น

4 ประชาชนทุกคนควรมีสวนรวมในการจัดการศึกษา

โดยการชาํระภาษีเพื่อการศึกษา

Page 275: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

260

รูปแบบภาษีเพ่ือการศึกษา

ระดับความคิดเห็น

ขอ

โครงสรางการจัดเก็บภาษี

นอย

ที่สุด

1

นอย

2

ปาน

กลาง

3

มาก

4

มาก

ที่สุด

5

5

ควรจัดเก็บภาษีจากสถานบันเทงิ, สถานประกอบ

ธุรกิจการพนนั กาสิโน,สนามจัดแขงขันมา (SIN

TAX) เพื่อจัดสรรสนับสนุนการศึกษา

6 ควรจัดเก็บภาษีจาก มรดก เพื่อจัดสรรสนับสนุน

การศึกษา

7 ควรจัดเก็บภาษีจาก ทรัพยสิน เพื่อจัดสรรสนับสนนุ

การศึกษา

8 ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพื่อนาํไปสนับ

สนุนใหแกเด็กยากจน เด็กดอยโอกาส เด็กพิการ

เพิ่มเติมเปนกรณีพิเศษ

9 ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพื่อสนับสนุนเปนกรณี

พิเศษแกโรงเรียนที่มีผลการพัฒนาคุณภาพ

การศึกษาดี

10 ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพิ่มพเิศษเพื่อ

สนับสนนุโรงเรียนทีม่ีเด็กพกิารเรียนรวมเพื่อจัดครู

พิเศษ และปรับปรุงพืน้อาคารสถานท่ีใหรองรับอยาง

เหมาะสม

11 ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพิ่มพเิศษเพื่อ

สนับสนนุ สงเสริมการเรียนรูใหกับนักเรียนที่มี

ความสามารถพิเศษ(อัจฉริยะ)

12 ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาเพื่อสนับสนุนการจัด

การศึกษาสําหรับเด็กปฐมวยั

Page 276: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

261

รูปแบบภาษีเพ่ือการศึกษา

ระดับความคิดเห็น

ขอ

โครงสรางการจัดเก็บภาษี

นอย

ที่สุด

1

นอย

2

ปาน

กลาง

3

มาก

4

มาก

ที่สุด

5

13 กรมสรรพากรควรเปนหนวยงานหลักในการจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษาและจัดสรรคืนสูทองถิน่อยาง

ทั่วถงึ

14 อปท.ทราบขอมูลการประกอบธุรกิจของ

ผูประกอบการในทองถิน่ของตนดีกวาหนวย

งานอ่ืน

15 อปท.ควรมหีนาที่จัดเก็บภาษีทุกประเภทในทองถิน่

และจัดสรรกลับคืนสูสวนกลาง

16 อปท.ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากมลพิษ

17 อปท.ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากทรัพยสิน

18 อปท.ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากมรดก

19 อปท.ควรมหีนาที่จัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาและ

จัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาในทองถิ่นของตน

20 รัฐมีหนาที่สนบัสนุนให อปท. มีศักยภาพในการ

จัดเก็บภาษีในทองถิน่ อยางมีมาตรฐาน

21 อปท.ตองมีระบบบริหารงานในดานการจัด

เก็บภาษีเพื่อการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพตามหลัก

ธรรมาภิบาล(Good Governance) โปรงใส เปน

ธรรม และตรวจสอบได

22 ผูปกครองหรือผูไดรับประโยชนจากการศึกษา

ควรมีสวนรวมรับผิดชอบในการชําระภาษเีพื่อ

การศึกษาในทองถิ่นของตนเอง

Page 277: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

262

รูปแบบภาษีเพ่ือการศึกษา

ระดับความคิดเห็น

ขอ

โครงสรางการจัดเก็บภาษี

นอย

ที่สุด

1

นอย

2

ปาน

กลาง

3

มาก

4

มาก

ที่สุด

5

23 กรณี อปท.ที่มรีายไดจากการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาไมเพียงพอ รัฐควรสนับสนุนงบประมาณ

เพิ่มเติมอยางทั่วถงึและเปนธรรม

24 หนวยงานที่จดัเก็บ ควรรายงานแผน การรับ- จาย

เงินภาษีเพื่อการศึกษาใหประชาชนในทองถิ่นทราบ

ทุก ๆ ส้ินปงบประมาณ

25 หนวยงานจัดเก็บ ควรกาํหนดใหมีการจัด

เก็บภาษีเพื่อการศึกษาจากผูมีเงนิไดที่ไดรับ

ประโยชนจากการศึกษา (เชน โรงเรียนกวดวิชา

ตาง ๆ และผูจาํหนายหนังสือและอุปกรณส่ือ

การเรียน)

26 หนวยงานจัดเก็บ ควรกาํหนดใหมีการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษาจากการถือครองอสังหาริมทรัพย เชน

ที่ดินวางเปลา

27 หนวยงานจัดเก็บ ควรกาํหนดใหมีการจัด

เก็บภาษีมูลคาเพิ่มมากกวา 7 % เพื่อนาํสวนที่เพิม่

ข้ึนมาจัดสรรเปนภาษีเพื่อการศึกษา

28 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษาจากผูประกอบการคาส่ือส่ิงพิมพที่ยัว่ยุ

หรือละเมิดศีลธรรม

29 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษาจากสินคาฟุมเฟอย (เชน เคร่ือง

สําอาง น้าํหอม เคร่ืองประดับ ฯลฯ)

Page 278: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

263

รูปแบบภาษีเพ่ือการศึกษา

ระดับความคิดเห็น

ขอ

โครงสรางการจัดเก็บภาษี

นอย

ที่สุด

1

นอย

2

ปาน

กลาง

3

มาก

4

มาก

ที่สุด

5

30 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษาจากผูประกอบการธุรกิจ/โรงงาน

อุตสาหกรรมที่กอมลพิษอันเปนอันตรายตอสุขภาพ

(เชน โรงโมหิน)

31 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษาจากผูประกอบการอุตสาหกรรมอัน

เปน การมอมเมาประชาชน (เชน โรงงานผลิตสุรา

โรงงานผลิตเบียร โรงงานผลิตบุหร่ีฯลฯ)

32 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหมีการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษาจากผูประกอบการที่เปนผู

แทนจําหนายสลากกินแบงของรัฐในทองถิ่น

33 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหผูประกอบ

การจําหนายเกมคอมพวิเตอร หรือจัดใหมีบริการเลน

เกมคอมพวิเตอรตาง ๆ อันเปนการมอมเมาเด็กและ

เยาวชน ตองชาํระภาษีเพื่อการศึกษา

34 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหผูประกอบ

การใหบริการส่ือสารอันฟุมเฟอยตองชาํระภาษีเพื่อ

การศึกษา(เชน ธุรกจิโทรศัพทมือถือ)

Page 279: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

264

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

ระดับความคิดเห็น

ขอ

หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี

นอย

ที่สุด

1

นอย

2

ปาน

กลาง

3

มาก

4

มาก

ที่สุด

5

1 หนวยงานจัดเก็บควรสรางความเขาใจแกประชาชน

เกี่ยวกับผลดีจากการรวมมือชําระภาษีเพื่อการศึกษา

2 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดมาตรการจัดเก็บภาษี

เพื่อการศึกษา ใหชัดเจนเพื่อใหผูชําระภาษไีดทราบ

ถึงผลประโยชน และม่ันใจวาการใชเงินดังกลาว

เปนไปเพื่อการพัฒนาและสนับสนนุการจัด

การศึกษาอยางเปนธรรม โปรงใสและตรวจสอบได

3 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดใหประชาชนในทองถิน่

มีสวนรวมในการทําประชาพจิารณเพื่อกาํหนดฐาน

อัตรา ระยะเวลาและวิธกีารชําระภาษีเพื่อการศึกษา

4 หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนดฐานการ

จัดเก็บ ภาษเีพื่อการศึกษาที่แตกตางกัน ตาม

ความสามารถของประชากรในทองถิน่

5 หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนดอัตรา

การชําระภาษเีพื่อการศึกษาที่แตกตางกัน ตาม

ความสามารถของประชากรในทองถิน่

6 หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนด

ระยะเวลาการชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่แตกตางกนั

ตามความเหมาะสมของทองถิ่น

7 หนวยงานจัดเก็บในแตละทองที่อาจกําหนดวิธกีาร

ชําระภาษีเพื่อการศึกษาที่แตกตางกนั ตาม

ความสามารถในการชาํระภาษี

Page 280: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

265

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

ระดับความคิดเห็น

ขอ

หลักเกณฑการจัดเก็บภาษี

นอย

ที่สุด

1

นอย

2

ปาน

กลาง

3

มาก

4

มาก

ที่สุด

5

8 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดฐานภาษีการศึกษา

โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน

9 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดวิธีการชาํระภาษีเพื่อ

การศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน

10 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดอัตราการจัด

เก็บภาษีเพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกนั

11 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดระยะเวลาการจัดเก็บ

ภาษีเพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑเดียวกัน

12 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดหลักเกณฑวธิี

การการประเมิน บทกาํหนดโทษ เพื่อปองกนัการ

หลบเล่ียงภาษีเพื่อการศึกษา โดยใชหลักเกณฑ

เดียวกนั

13 หนวยงานจัดเก็บควรกําหนดหลักเกณฑการชําระ

ภาษีเพื่อการศึกษาใหชัดเจน เชน วธิีการชาํระ

อัตรา และระยะเวลาการชําระภาษีเพื่อการศึกษา

14 หนวยงานจัดเก็บควรบริหารการจัดเก็บภาษีเพื่อ

การศึกษาโดยกําหนดระบบการจัดเก็บภาษี

บุคลากร ฐานขอมูลและระบบติดตามตรวจสอบดวย

ระบบสารสนเทศ

15 หนวยงานจัดเก็บควรใหประชาชนในทองถิน่มีสวน

รวมโดยการประชาพิจารณ กําหนดหลักเกณฑ

วิธีการประเมินภาษีและบทกําหนดโทษ เพื่อปองกนั

การหลบเล่ียงภาษีเพื่อการศึกษาในทองถิน่ของตน

Page 281: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

266

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

ระดับความคิดเห็น

ขอ

หลักเกณฑเกี่ยวกับประสทิธิภาพของภาษ ี

นอย

ที่สุด

1

นอย

2

ปาน

กลาง

3

มาก

4

มาก

ที่สุด

5

1 การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บอัตราคงที่

เชนเดียวกับภาษีมูลคาเพิ่ม

2 การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บในอัตรา

กาวหนาเชนเดียวกับภาษีเงนิได

3 การจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาควรจัดเก็บในอัตรา

ถดถอย เชน มผีลกําไรมากข้ึนจะชําระภาษีนอยลง

4 ประชาชนทุกคนท่ีมหีนาที่ตองชําระภาษีการ

ศึกษา โดยเทาเทยีมกนั

5 ประชาชนทุกคนท่ีมหีนาที่ตองชําระภาษีเพื่อ

การศึกษา แตกตางกัน ตามฐานรายไดที่

ไมเทาเทียมกนั

6 ประชาชนทุกคนท่ีมหีนาที่ตองชําระภาษีการ

ศึกษา แตกตางกนั ตามกําลังความสามารถที่ไมเทา

เทียมกัน เชน ผูที่มีภาระคาใชจายในการเล้ียงดูบุตร

7 ผูใดไดรับประโยชนจากการศึกษามาก จะตองชําระ

ภาษีเพื่อการศึกษามากกวาผูที่ไดรับประโยชนนอย

กวา เชน การนําผลวิจัยทางการศึกษาไปผลิตเปน

สินคาจําหนายและไดรับผลตอบแทนสูง

8 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจากสถาน

บันเทงิที่เปนการมอมเมาประชาชนเพื่อควบคุม

ปริมาณของสถานบันเทิงดังกลาว

Page 282: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

267

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

ระดับความคิดเห็น

ขอ

หลักเกณฑเกี่ยวกับประสทิธิภาพของภาษ ี

นอย

ที่สุด

1

นอย

2

ปาน

กลาง

3

มาก

4

มาก

ที่สุด

5

9 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจาก

ผูประกอบการจําหนายเกมคอมพิวเตอร หรือจัดใหมี

บริการเลนเกมคอมพิวเตอรตาง ๆ อันเปนการมอม

เมาเด็กและเยาวชนเพ่ือควบคุมปริมาณของ

ผูประกอบการดังกลาวดังกลาว

10 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจาก

ผูประกอบการอุตสาหกรรมอันเปนการมอมเมา

ประชาชน เชน โรงงานผลิตสุรา โรงงานผลิตเบียร

โรงงานผลิตบุหร่ี เพื่อควบคุมปริมาณของ

ผูประกอบการดังกลาว

11 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจาก

ผูประกอบการธุรกิจ/โรงงานอุตสาหกรรมที่กอมลพิษ

เพื่อควบคุมปริมาณของผูประกอบ

การดังกลาว

12 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจาก

ผูประกอบการสื่อส่ิงพิมพทีเ่ปนการยั่วยุแกเด็กและ

เยาวชนเพื่อควบคุมปริมาณของ

ผูประกอบการดังกลาว

13 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจาก

ผูประกอบการที่เปนผูแทนจําหนายสลากกินแบงของ

หนวยงานจัดเก็บซ่ึงเปนการมอมเมาประชาชนเพื่อ

ควบคุมปริมาณของผูประกอบ

การดังกลาว

Page 283: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

268

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

ระดับความคิดเห็น

ขอ

หลักเกณฑเกี่ยวกับประสทิธิภาพของภาษ ี

นอย

ที่สุด

1

นอย

2

ปาน

กลาง

3

มาก

4

มาก

ที่สุด

5

14 ควรเก็บภาษีเพื่อการศึกษาในอัตราสูงจาก

ผูประกอบการที่จําหนายสินคาฟุมเฟอย เชน

เคร่ืองสําอาง น้ําหอม เคร่ืองประดับ เพื่อควบคุม

ปริมาณของผูประกอบการดังกลาว

15 หนวยงานจัดเก็บ ควรประชาสัมพนัธใหประชาชน

ทราบถงึหลักเกณฑ วิธีการ อัตรา และสถานที่รับ

ชําระภาษีเพื่อการศึกษา โดยทั่วถึงกัน

16 หนวยงานจัดเก็บ ควรอํานวยความสะดวกแก

ประชาชนในการบริการรับชําระภาษีการ

ศึกษา เชน มกีารรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาทีห่าง

สรรพสินคา และธนาคารพาณิชยไดทุกแหง

17 หนวยงานจัดเก็บ ควรจัดสงแบบแสดงราย

การรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาพรอมเอกสารคํา

แนะนาํไปยังภูมิลําเนาของผูชําระภาษีการ

ศึกษาในทุก ๆ ป

18 หนวยงานจัดเก็บ ควรมอบรางวัลเกียรติคุณใหแกผู

ชําระภาษีเพื่อการศึกษาดีเดนโดยดําเนนิ

การขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ

ใหเปนกรณีพิเศษ

19 หนวยงานจัดเก็บ ควรตอบแทนใหแกผูชําระภาษีเพื่อ

การศึกษาโดยใหสิทธพิิเศษในการเลือกสถานที่เขา

เรียนแกบุตรผูชําระภาษีดีเดน ไดตามประสงค

โดยเฉพาะการเขาศึกษาในระดับการศึกษา

ข้ันพืน้ฐาน

Page 284: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

269

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา

ระดับความคิดเห็น

ขอ

หลักเกณฑเกี่ยวกับประสทิธิภาพของภาษ ี

นอย

ที่สุด

1

นอย

2

ปาน

กลาง

3

มาก

4

มาก

ที่สุด

5

20 หนวยงานจัดเก็บ ควรแสดงอัตราภาษีการ

ศึกษาไวบนฉลากสินคาใหเห็นเดนชัด

21 หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรกําหนด

อัตราภาษีเพื่อการศึกษาใหเหมาะสมเพื่อมิใหมี

ผลกระทบตอรายไดสุทธิของประชาชน

22 หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรกําหนด

ฐาน อัตราและวิธีการชําระภาษีเพื่อการศึกษา ดวย

ความเปนธรรมและเสมอภาคแกผูรับภาระภาษี เพื่อ

มิใหมีผลกระทบตอกลไกของตลาดการคา

23 หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรใชระบบ

การรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาเชนเดียวกบัระบบ

ภาษีหัก ณ.ทีจ่าย เพื่อเปนการประหยัดตอตน

ทุนในการจัดเก็บภาษี

24 หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรใชระบบ

การรับชําระภาษีเพื่อการศึกษาเชนเดียวกบัระบบ

ภาษีมูลคาเพิม่ เพื่อเปนการลดตนทุนในการ

จัดเก็บภาษี

25 หนวยงานจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษา ควรใชระบบ

สารสนเทศในการรับชําระภาษี เชน การชาํระภาษี

ทางอินเตอรเน็ต เพื่อเปนการลดตนทนุในการจัดเก็บ

ภาษี

Page 285: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

ภาคผนวก ง

หนงัสือขอความอนุเคราะหเพื่อเก็บขอมูล

Page 286: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

271

ที่ มท 0808.3/1746 กรมสงเสริมการปกครองทองถิน่

ถนนราชสีมา กทม. 10300

12 กมุภาพนัธ 2550

เร่ือง ขอความอนุเคราะหในการเกบ็รวบรวมขอมลู

เรียน นายกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ทั่วประเทศ

ส่ิงที่สงมาดวย แบบสอบถามเพื่อการวิจัย เร่ือง “รูปแบบภาษีการศึกษาของประเทศไทย”

ดวยบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร มีหนังสือขอความอนุเคราะหในการเก็บ

รวบรวมขอมูลจากผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น ไดแก นายกองคการบริหารสวนจังหวัด

ปลัดองคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาล นายกองคการบริหารสวนตําบลและ

ปลัดองคการบริหารสวนตําบล เนื่องจากนายวรกาญจน สุขสดเขียว นักศึกษาระดับปริญญาดุษฎี

บัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร กําลังทํา

วิทยานิพนธเร่ือง “รูปแบบภาษีการศึกษาของประเทศไทย” จึงขอความรวมมือผูบริหารองคกรปกครอง

สวนทองถิ่นทั่วประเทศ ในการตอบแบบสอบถามเพื่อเปนประโยชนในการทําวิทยานิพนธ รายละเอียด

ปรากฏตามส่ิงที่สงมาดวย

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นพิจารณาแลวเห็นวา ผลการวิจัยงานรูปแบบภาษี

การศึกษา อาจจะเปนประโยชนตอการพัฒนารายไดขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในอนาคต จึงขอ

ความรวมมือทานในการตอบแบบสอบถามดังกลาวดวย พรอมทั้งสงคืนแบบสอบถามไปที่ บัณฑิต

วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร นครปฐม 73000 จักขอบคุณยิ่ง

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

ขอแสดงความนับถือ

(นายวัลลภ พร้ิงพงษ)

รองอธิบดี รักษาราชการแทน

อธิบดีกรมสงเสริมการปกครองทองถิน่ สํานักบริหารการคลังทองถ่ิน

สวนนโยบายการคลังและพัฒนารายได

โทร 0-2241-0755

โทรสาร 0-2241-9041

Page 287: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

272

ที่ ศธ 0502.107 (นฐ) / 0908 บัณฑิตวทิยาลัยมหาวทิยาลัยศิลปากร

พระราชวงัสนามจนัทร นครปฐม 73000

19 กุมภาพันธ 2550

เร่ือง ขอความอนุเคราะหในการเกบ็รวบรวมขอมลู

เรียน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

ดวย นายวรกาญจน สุขสดเขียว นักศึกษาระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา

การบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร กําลังทําวิทยานิพนธ เร่ือง

“รูปแบบภาษีการศึกษาของประเทศไทย” มีความประสงคจะขอเก็บรวบรวมขอมูลจากผูบริหาร

ครูปฏิบัติการสอน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานและผูปกครอง ในโรงเรียนสังกัดหนวยงานของ

ทาน เพื่อประกอบการทําวิทยานิพนธ ในการนี้บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร จึงขอความ

อนุเคราะหจากทานโปรดแจงโรงเรียนทราบ เพื่อขอความรวมมือในการตอบแบบสอบถามใหแกนกัศึกษา

ดังกลาวดวย

จึงเรียนมาเพื่อโปรดอนุเคราะห จักขอบคุณยิ่ง

ขอแสดงความนับถือ

(รองศาสตราจารย ดร.ศิริชัย ชนิะตังกูร)

คณบดีบณัฑิตวิทยาลัย

สํานักงานบัณฑิตวทิยาลัย

นครปฐม โทร.0-3421-8788 , 0-3424-3435

Page 288: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

ภาคผนวก จ

รายนามผูทรงคุณวุฒิในการสัมภาษณรอบแรก

Page 289: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

274

ผูทรงคุณวุฒิในการตอบแบบสัมภาษณ (รอบแรก)

เกณฑการคัดเลือก ผูตอบแบบสัมภาษณ

1. ผูบริหารองคการปกครองสวน

ทองถิ่น(เทศบาล องคการบริหาร

สวนจังหวัด)

1. นายวัลลภ พร้ิงพงษ

รองอธิบดีกรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิน่

2. นายสกล ลีโนทยั

ผูอํานวยการสวนนโยบายการคลังและพฒันารายได

3. นายเสรินทร แกวพิจิตร

นายกเทศมนตรีนครนครปฐม

4. นายถาวร จันทรกลํ่า

ปลัดเทศบาลนครนครปฐม

5. นายนิรันดร วัฒนศาสตรสาธร

นายกเมืองพัทยา

6. นางวาสนา ผุดผองใส

ผูอํานวยการสํานักคลัง เมอืงพทัยา

7. คุณหญิงณฐนนท ทวีสิน

ปลัดกรุงเทพมหานคร

8. นางนภาพร อิสระเสรีพงษ

ผูอํานวยการกองรายไดสํานักการคลัง กทม

Page 290: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

275

เกณฑการคัดเลือก ผูตอบแบบสัมภาษณ

2. ผูทรงคุณวุฒิระดับมหาวิทยาลัย

1. ดร. พรชนก คัมภีรยส คูเวนเบริค

คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย

2. ดร. จิรวรรณ เดชานพินธ

คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

3. รศ.ดร.ไตรรัตน โภคพลากรณ

คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

4. รศ.ดร.ภูมิ โชคเหมาะ

คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง

5. รศ.เพิ่มบุญ แกวเขียว

คณะนิติศาสตร มหาวทิยาลัยรามคําแหง

6. รศ.ดร.สุพักตร พิบูลย

คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยสุโขทยัธรรมาธิราช

7. รศ.ดร.สมคิด พรมจุย

คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยสุโขทยัธรรมาธิราช

8. รศ.ดร.รชานนท ศุภพงศพิเชษฐ

ภาควิชาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

Page 291: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

276

เกณฑการคัดเลือก ผูตอบแบบสัมภาษณ

3. ผูบริหารระดับกรมและกระทรวง 1. ดร. กนตธีร นชุสุวรรณ

เศรษฐกร สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

2. ดร. ชฎิล โรจนานนท

เศรษฐกร สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

3. ดร. สมเกียรติ ชอบผล

รองเลขาธิการสภาการศึกษา

4. ดร. ชินภัทร ภูมิรัตน

รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

5. ดร.ชัยพฤกษ เสรีรักษ

ผูอํานวยการกองนโยบาย และแผน สพฐ.

6. นางจาํรัส แยมสรอยทอง

ผูอํานวยการสํานักอุทธรณภาษีอากร กรมสรรพากร

7. ดร.สมชัย สัจจพงษ

รองผูอํานวยการ สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

8. นางลาวัลย ภูวรรณ

ผูอํานวยการสํานักนโยบายภาษีสํานักงานเศรษฐกิจ

การคลัง

Page 292: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

ภาคผนวก ฉ

รายนามผูทรงคุณวุฒิในการสัมภาษณรอบสอง

Page 293: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

278

ผูทรงคุณวุฒิตอบแบบสัมภาษณยืนยันรูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา (รอบสอง)

เกณฑการคัดเลือก ผูตอบแบบสัมภาษณ

ผูทรงคุณวุฒิที่มีความเ ช่ียวชาญ

พิเศษในการสัมภาษณเพื่อพิจารณา

รู ป แ บ บ ภ า ษี เ พื่ อ ก า ร ศึ ก ษ า ที่

เหมาะสม

1. ดร.กนตธีร นุชสุวรรณ

เศรษฐกร สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

2. ดร.ชฎิล โรจนานนท

เศรษฐกร สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

3. ดร.สมเกียรติ ชอบผล

รองเลขาธิการสภาการศึกษา

4. ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน

รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

5. ดร.ชัยพฤกษ เสรีรักษ

ผูอํานวยการกองนโยบาย และแผน สพฐ.

6. ดร.สมชัย สัจจพงษ

รองผูอํานวยการ สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

7. นายวัลลภ พร้ิงพงษ

รองอธิบดีกรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิน่

8. นายสกล ลีโนทยั

ผูอํานวยการสวนนโยบายการคลังและพฒันารายได

9. นายเสรินทร แกวพิจิตร

นายกเทศมนตรีนครนครปฐม

10.นายถาวร จันทรกลํ่า

ปลัดเทศบาลนครนครปฐม

11. คุณหญิงณฐนนท ทวีสิน

ปลัดกรุงเทพมหานคร

12. นางนภาพร อิสระเสรีพงษ

ผูอํานวยการกองรายไดสํานักการคลัง กทม.

Page 294: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

279

เกณฑการคัดเลือก ผูตอบแบบสัมภาษณ

ผูทรงคุณวุฒทิี่มีความเช่ียวชาญ

พิเศษในการสัมภาษณเพื่อพจิารณา

รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษาที่

เหมาะสม

13. รศ.ดร.สุพกัตร พิบูลย

คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยสุโขทยัธรรมาธิราช

14. รศ.ดร.สมคิด พรมจุย

คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยสุโขทยัธรรมาธิราช

15. รศ.ดร.รชานนท ศุภพงศพิเชษฐ

ภาควิชาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหดิล

Page 295: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

ภาคผนวก ช

รายช่ือกลุมตัวอยาง

Page 296: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

281

Page 297: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

282

Page 298: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

283

Page 299: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

284

Page 300: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

285

Page 301: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

286

Page 302: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

287

Page 303: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

288

Page 304: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

289

Page 305: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

290

Page 306: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

291

Page 307: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

292

Page 308: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

293

Page 309: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

294

Page 310: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

ภาคผนวก ซ

คาสถิติและความเชื่อมั่น

Page 311: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

296

Page 312: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

297

Page 313: รูปแบบภาษีเพื่อการศึกษา...บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ด

298

ประวัติผูวิจยั

ชื่อ นายวรกาญจน สุขสดเขียว

ที่อยู 96 ซอยทางรถไฟตะวนัตก 3 ถนนทางรถไฟตะวันตก ตําบลนครปฐม

อําเภอเมืองนครปฐม จังหวดันครปฐม

ที่ทาํงาน คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยศิลปากร วทิยาเขตพระราชวังสนามจันทร

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2518 ประถมศึกษา โรงเรียนหนองฉาง จังหวัดอุทัยธาน ี

พ.ศ. 2523 มัธยมศึกษา โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จงัหวัดราชบุรี

พ.ศ. 2527 นิติศาสตรบัณฑิต มหาวทิยาลัยรามคําแหง

พ.ศ. 2546 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร

พ.ศ. 2546 ศึกษาตอระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา

คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยศิลปากร

ประวัติการทํางาน

พ.ศ. 2535 สํานักงานกฎหมายและบัญชีวรกาญจน

พ.ศ. 2542 เทศมนตรีเทศบาลนครนครปฐม

พ.ศ. 2545 ประธานโครงการ E.P.โรงเรียนอนุบาลนครปฐม

พ.ศ. 2547 เหรัญญิกสมาคมครูผูปกครองและศิษยเกา

วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม

พ.ศ. 2547 กรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานโรงเรียนวดัหวยจระเขวทิยาคม

พ.ศ. 2547 กรรมการและผูชวยเหรัญญิกมูลนธิิสงเคราะหคนชรานครปฐม

พ.ศ. 2548 กรรมการพทุธสมาคมจังหวดันครปฐม

พ.ศ. 2548 กรรมการหอการคาจังหวัดนครปฐม

พ.ศ. 2548 อาจารยประจําภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร

ถึงปจจุบนั