18
1 รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ สาหรับโครงการวิจัยจากแหล่งเงินงบประมาณแผ่นดิน/เงินรายได้ -------------------------------------------------- ก. ส่วนประกอบของรายงานวิจัย แบ่งออกเป็น 3 ส่วน มีรายละเอียดดังนี1. ส่วนนา มีส่วนประกอบดังนี1.1 ปกหน้า/ปกนอก (ใช้กระดาษแข็งสีพื้นและสามารถมีภาพผลงานวิจัยประกอบได้) 1.2 ใบรองปก (กระดาษขาวเปล่า รองทั้งปกหน้าและปกหลัง) 1.3 ปกใน (รายละเอียดเหมือนปกนอก) 1.4 บทคัดย่อภาษาไทยและบทคัดย่อภาษาอังกฤษ ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย วิธีดาเนินการวิจัย ผลการวิจัย ระดับนัยสาคัญทางสถิติ (ถ้ามีการทดสอบ) เป็นต้น มี ความยาวไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ ท้ายบทคัดย่อให้กาหนด คาสาคัญ (Keywords)ของงานวิจัยเรื่องนั้น ความยาวไม่ควรเกิน 6 คา 1.5 กิตติกรรมประกาศ คือ ข้อความที่กล่าวขอบคุณผู้ที่ให้การช่วยเหลือหรือให้ความร่วมมือเป็น อย่างดีในการวิจัย ความยาวไม่ควรเกิน 1 หน้ากระดาษ 1.6 สารบัญ เป็นส่วนที่ระบุตาแหน่งหน้าของส่วนประกอบทั้งหมดในรายงานวิจัย 1.7 สารบัญตาราง (ถ้ามี) เป็นส่วนที่ระบุตาแหน่งหน้าของตารางทั้งหมดที่มีอยู่ในรายงานวิจัย 1.8 สารบัญภาพ (ถ้ามี) เป็นส่วนที่ระบุตาแหน่งหน้าของภาพ แผนทีแผนภูมิ กราฟ ทั้งหมดที่มี อยู่ในรายงานวิจัย 1.9 คาอธิบายสัญลักษณ์ (ถ้ามี) เป็นส่วนที่อธิบายถึงสัญลักษณ์ และคาย่อต่างๆ ที่ใช้ในรายงาน วิจัย 2. ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.3 ขอบเขตของการวิจัย 1.4 วิธีดาเนินการวิจัย 1.5 สมมุติฐานงานวิจัย (ถ้ามี) 1.6 กรอบแนวความคิดในการวิจัย (ถ้ามี) 1.7 คาสาคัญของการวิจัย (ถ้ามี) 1.8 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.9 คานิยามศัพท์ (ถ้ามี)

รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... · 3 ข. ข้อก

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... · 3 ข. ข้อก

1

รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ส าหรับโครงการวิจัยจากแหล่งเงินงบประมาณแผ่นดิน/เงินรายได้

--------------------------------------------------

ก. ส่วนประกอบของรายงานวิจัย แบ่งออกเป็น 3 ส่วน มีรายละเอียดดังนี้ 1. ส่วนน า มีส่วนประกอบดังนี้ 1.1 ปกหน้า/ปกนอก (ใช้กระดาษแข็งสีพื้นและสามารถมีภาพผลงานวิจัยประกอบได้) 1.2 ใบรองปก (กระดาษขาวเปล่า รองทั้งปกหน้าและปกหลัง) 1.3 ปกใน (รายละเอียดเหมือนปกนอก) 1.4 บทคัดย่อภาษาไทยและบทคัดย่อภาษาอังกฤษ ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย วิธีด าเนินการวิจัย ผลการวิจัย ระดับนัยส าคัญทางสถิติ (ถ้ามีการทดสอบ) เป็นต้น มีความยาวไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ ท้ายบทคัดย่อให้ก าหนด “ค าส าคัญ (Keywords)” ของงานวิจัยเรื่องนั้น ความยาวไม่ควรเกิน 6 ค า 1.5 กิตติกรรมประกาศ คือ ข้อความที่กล่าวขอบคุณผู้ที่ให้การช่วยเหลือหรือให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการวิจัย ความยาวไม่ควรเกิน 1 หน้ากระดาษ 1.6 สารบัญ เป็นส่วนที่ระบุต าแหน่งหน้าของส่วนประกอบทั้งหมดในรายงานวิจัย 1.7 สารบัญตาราง (ถ้ามี) เป็นส่วนที่ระบุต าแหน่งหน้าของตารางทั้งหมดท่ีมีอยู่ในรายงานวิจัย 1.8 สารบัญภาพ (ถ้ามี) เป็นส่วนที่ระบุต าแหน่งหน้าของภาพ แผนที่ แผนภูมิ กราฟ ทั้งหมดที่มีอยู่ในรายงานวิจัย 1.9 ค าอธิบายสัญลักษณ์ (ถ้ามี) เป็นส่วนที่อธิบายถึงสัญลักษณ์ และค าย่อต่างๆ ที่ใช้ในรายงานวิจัย 2. ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย บทที่ 1 บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา 1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.3 ขอบเขตของการวิจัย 1.4 วิธีด าเนินการวิจัย 1.5 สมมุติฐานงานวิจัย (ถ้ามี) 1.6 กรอบแนวความคิดในการวิจัย (ถ้ามี) 1.7 ค าส าคัญของการวิจัย (ถ้ามี) 1.8 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.9 ค านิยามศัพท์ (ถ้ามี)

Page 2: รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... · 3 ข. ข้อก

2

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง/การทบทวนวรรณกรรม 2.1 แนวคิด ทฤษฎีหลักตามประเด็นให้ครอบคลุมเรื่องที่วิจัย 2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง/การทบทวนวรรณกรรม บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย บทที่ 4 ผลการวิจัย บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการวิจัย 5.2 ข้อเสนอแนะ (เป็นการกล่าวโดยสรุปเกี่ยวกับเรื่องราวในการวิจัยพร้อมทั้งเสนอแนะเกี่ยวกับการวิจัยในขั้นต่อไป ตลอดจนประโยชน์ในทางประยุกต์ของผลงานวิจัยที่ได้) 3. ส่วนท้าย ประกอบด้วย 3.1 บรรณานุกรม ระบุรายชื่อเอกสารอ้างอิงโดยเรียงล าดับเอกสารอ้างอิงภาษาไทยก่อนแล้วตามด้วนเอกสารภาษาต่างประเทศ ทั้งนี้ให้เรียงตามล าดับอักษร 3.2 ภาคผนวก (ถ้ามี) 3.3 ประวัตินักวิจัย (ถ้ามี)

Page 3: รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... · 3 ข. ข้อก

3

ข. ข้อก าหนดการพิมพ์รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

1. ก าหนดมาตรฐานกระดาษที่ใช้พิมพ์รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เป็นขนาดมาตรฐาน A4 และมีน้ าหนักไม่ต่ ากว่า 80 แกรม 2. การตั้งค่าหน้ากระดาษ ก าหนดให้เว้นขอบกระดาษไว้ 4 ด้าน ดังนี้ 2.1 ขอบกระดาษด้านบน 1.5 นิ้ว (หรือ 3.75 ซม.) 2.2 ขอบกระดาษด้านล่าง 1 นิ้ว (หรือ 2.54 ซม.) 2.3 ขอบกระดาษด้านซ้าย 1.5 นิ้ว (หรือ 3.75 ซม.) 2.4 ขอบกระดาษด้านขวา 1 นิ้ว (หรือ 2.54 ซม.) 3. ให้ใช้แบบอักษร Angsana New หรือ Cordia Newหรือ TH SarabunPSK ขนาดตัวอักษรดังต่อไปนี้ 3.1 ปกรายงานการวิจัย ให้ใช้ขนาด 24 พ. ตัวหนา 3.2 เนื้อหารายงานวิจัยปกติ

ลักษณะเนื้อหา ขนาดตัวอักษร บทที ่ 18 ตัวหนา ชื่อบท 18 ตัวหนา หัวข้อส าคัญ 16 ตัวหนา ล าดับที่ของรูปภาพและตาราง 16 ตัวหนา เนื้อหาอ่ืนๆ 16 ตัวธรรมดา

4. การล าดับหน้าและการพิมพ์เลขหน้า 4.1 ในส่วนหน้าไม่ต้องใส่เลขหน้าก ากับ

4.2 ส่วนเนื้อเรื่องนับตั้งแต่บทที่ 1 ใช้หมายเลข 1, 2, 3,... เว้นแต่หน้าแรกของแต่ละบท หน้าแรกของบรรณานุกรม และหน้าแรกของภาคผนวก ไม่ต้องใช้เลขหน้าก ากับแต่ให้นับจ านวนหน้ารวมไปด้วย 4.3 เลขหน้าให้พิมพ์ห่างจากริมกระดาษส่วนบน 1 นิ้ว และให้อยู่ในแนวเดียวกับขอบขวามือ 5. ชื่อบทและหัวข้อในส่วนประกอบเนื้อเรื่อง เมื่อเริ่มส่วนเนื้อเรื่องของแต่ละบทจะต้องขึ้นหน้าใหม่เสมอ โดยพิมพ์ค าว่าบทที่และตัวเลขก ากับบทไว้ตรงกลางตอนบนสุดของหน้ากระดาษ บรรทัดทัดลงมาเป็นชื่อบท 6. การพิมพ์ตาราง ให้พิมพ์ตารางแทรกลงในเนื้อเรื่องที่มีความสัมพันธ์กันของแต่ละบท โดยจัดวางตารางชิดขอบซ้ายของกระดาษ เว้นระยะจากข้อความบรรทัดบน 1 บรรทัดพิมพ์ พิมพ์ค าว่า “ตารางที่” (ขนาดตัวอักษร 16 ตัวหนา) ชิดขอบด้านซ้ายและเว้น 1 ระยะตัวอักษรตามด้วย หมายเลขบทที่ ตามด้วยเครื่องหมายมหัพภาค (.) และตามด้วยหมายเลขล าดับที่ของตารางในบทนั้น เว้น 1 ระยะตัวอักษร ตามด้วยชื่อตาราง (ด้วยรูปแบบตัวอักษรขนาด 16 ธรรมดา)

Page 4: รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... · 3 ข. ข้อก

4

ตัวอย่างการพิมพ์ตาราง ตารางท่ี 1.1 ข้อมูลทางกายภาพขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและความยาวของรังไหม

ล าดับที่

ชนิดพันธุ์ไหม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง (มิลลิเมตร) ความยาว

(มิลลิเมตร) ขั้วรัง กลางรัง ปลายรัง 1 พันธุ์นางน้อยศรีสะเกษ 10.88 12.81 8.40 30.64 2 พันธุ์ส าโรง 9.71 11.26 6.92 32.05 3 พันธุ์ยูบีวัน 11.66 13.07 10.15 30.42

7. การจัดวางภาพ การน าเสนอภาพให้แทรกลงในเนื้อเรื่องที่สัมพันธ์กันในแต่ละบท โดยจัดวางภาพไว้กลางหน้ากระดาษ ห่างจากบรรทัดบน 1 บรรทัดพิมพ์ และ ใส่ค าว่า “ภาพที่” ไว้ใต้ภาพและอยู่ในต าแหน่งกึ่งกลาง ถัดจากค าว่า “ภาพที่” ให้เว้น 1 ระยะตัวอักษรตามด้วย หมายเลขบทที่ ตามด้วยเครื่องหมายมหัพภาค (.) และตามด้วยหมายเลขล าดับที่ของภาพในบทนั้นๆ (ด้วยรูปแบบตัวอักษรขนาด 16 ตัวหนา) เว้น 1 ระยะตัวอักษร ตามด้วยชื่อภาพ (ด้วยรูปแบบตัวอักษร ขนาด 16 ธรรมดา) ด้านล่างของภาพให้พิมพ์ค าว่า “ที่มา” (อ้างอิงที่มาของภาพ) เว้น 1 ระยะตัวอักษร ตามด้วยเครื่องหมายทวิภาค (:) และเว้น 1 ระยะตัวอักษร (ด้วยรูปแบบตัวอักษร ขนาด 16 ตัวหนา) ตามด้วยชื่อ-นามสกุลของผู้แต่ง ตามด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) เว้น 1 ระยะตัวอักษร ใส่ปีที่พิมพ์ เว้น 1 ระยะตัวอักษร ตามด้วยเครื่องหมายทวิภาพ (:) เว้น 1 ระยะตัวอักษร และตามด้วยหมายเลขหน้า (ด้วยรูปแบบตัวอักษร ขนาด 16 ธรรมดา) ตัวอย่างการจัดวางภาพ

ภาพที่ 1.1 แสดงพีคความเข้มของการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ของรอยต่อวิวิธพันธุ์... ที่มา : รายงานการวิจัย, ฐิตินัย แก้วแดง, 2556

Page 5: รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... · 3 ข. ข้อก

5

ค. การเขียนบรรณานุกรม บรรณานุกรม หมายถึง รายการของทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดที่ผู้ท ารายงานได้ใช้ประกอบการเขียนรายงาน ทั้งท่ีปรากฏชัดเจนโดยเขียนอ้างอิงไว้ และส่วนที่ไม่ปรากฏชัดเจน แต่อาจเป็นเพียงการรวบรวมความคิดหลาย ๆ แนว แล้วน ามาเรียบเรียงใหม่ ซึ่งที่นิยมในปัจจุบัน คือการเขียนในรูปแบบของ American Psychological Association ( APA ) ซึ่งมีรูปแบบการเขียนดังนี้ รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม 1. หนังสือ

1.1 หนังสือทั่วไป

ตัวอย่าง ไพรัช ธัชยพงษ์ และกฤษณะ ช่างกล่อม. (2541). การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานสารสนเทศแห่งชาติเพื่อ การศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ส านักนายกรัฐมนตรี. Mitchell, T. R., & Larson, J. R., Jr. (1987). People in organizations: An introduction to organizational behavior (3rd ed.). New York: McGraw-Hill. 1.2 หนังสือแปล ตัวอย่าง พาร์กินสัน, ซี บี และรัสตอมจิ, เอ็ม เค. (2526). การบริหารยุคใหม่ (แปลจาก Rarlities in management. โดย เริงศักดิ์ ปานเจริญ). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. Lapalce, P. S. (1951). A philosophical essay on probabilities (F. W. Truscott & F. L. Emory, Trans.). New York: Dover.

1.3 หนังสือที่ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง

ตัวอย่าง สวดมนต์ไหว้พระฉบับชาวบ้านและผู้ปฏิบัติธรรม. (2541). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. Merriam-Webster’s collegiate dictionary. (10th ed. 1993). Springfield, MA: Merriam-Webster.

1.4 หนังสือที่มีผู้รับผิดชอบในการจัดท า

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อหนังสือ//(ครั้งที่พิมพ์).//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อหนังสือ//(ครั้งที่พิมพ์).//(แปลจาก/ชื่อหนังสือ.//โดย/ชื่อ/ นามสกุลผู้แปล).//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

ชื่อหนังสือ//(ครั้งที่พิมพ์).//(ปีที่พิมพ์).//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

Page 6: รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... · 3 ข. ข้อก

6

ตัวอย่าง ประมวล โกมารทัต, (บก.). (2546). ไม้ต้นประดับ เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: บ้านและสวน. Gibbs, J. T., & Huang, L. N. (Eds.). (1991). Children of color: Psychological interventions with behavior (3rd ed). New York: McGraw-Hill. 1.5 หนังสือที่ผูแ้ต่งเป็นหน่วยงาน

ตัวอย่าง กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (2535). รวมบทความการศึกษานอกโรงเรียน เล่ม 11. กรุงเทพฯ: กรมการ ศึกษานอกโรงเรียน. Australian Bureau of Statistics. (1991). Estimated resident population by age and sex in statistical local areas. New South Wales: Australian Bureau of Statistics.

1.6 หนังสือชุด

ตัวอย่าง เทียนฉาย กีระนันทน์. (2540). การวางแผนและการจัดท าโครงการของรัฐ. ใน สมหวัง พิริยานุวัฒน์ (บก.). รวมบทความทางการประเมินโครงการ : ชุดรวมบทความ เล่มที่ 4. (หน้า 1-24). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 1.7 หนังสือรวมเรื่อง

ตัวอย่าง สมบูรณ์ พรรณาภพ. (2535). อภิปรัชญากับการศึกษา. ใน คณะกรรมการโครงการสารานุกรมศึกษาศาสตร์

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง,/(ชื่อผู้รับผิดชอบ).//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อหนังสือ/ (ครั้งที่พิมพ์).//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

ชื่อหน่วยงาน.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อหนังสือ/ (ครั้งที่พิมพ์).//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อบทความ.//ใน/ชื่อผู้รวบรวมหรือบรรณาธิการ (ถ้ามี).//

ชื่อหนังสือ/:/ชื่อชุด/(ครั้งที่พิมพ์).//(หน้า/หมายเลขหน้าของบทความ).//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อบทความ.//ใน/ชื่อผู้รวบรวมหรือบรรณาธิการ (ถ้ามี).// ชื่อหนังสือ/(ครั้งที่พิมพ์).//(หน้า/หมายเลขหน้าของบทความ).//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

Page 7: รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... · 3 ข. ข้อก

7

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (บก.). สารานุกรมศึกษาศาสตร์ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ. (หน้า 407- 415). กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

2. รายงานการวิจัย รายงานทางวิชาการ ตัวอย่าง คณะกรรมการติดตามผลการมีงานท าของบัณฑิต. (2542). รายงานการติดตามผลผู้ส าเร็จการศึกษา จากสถาบันราชภัฏสวนสุนันทา ปีการศึกษา 2540-2541. กรุงเทพฯ: ส านักวิจัยและฝ่ายทะเบียน วัดผล สถาบันราชภัฏสวนสุนนัทา.

3. เอกสารการประชุม อบรม สัมมนา ตัวอย่าง วันชัย ศิริชนะ. (2541). การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา. ใน รายงานการสัมมนาเรื่อง ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา วันที่ 2-4 ธันวาคม พ.ศ.2541 (หน้า 2-4 ). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 4. วิทยานิพนธ์หรือปริญญานิพนธ์

ตัวอย่าง ฐิดาภรณ์ เพ็งหนู. (2543). พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสตรีที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงานของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศิลปากร. 5. บทความในสารานุกรม

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อรายงานการวิจัยหรือรายงานทางวิชาการ.//สถานที่พิมพ์:/ ส านักพิมพ์.

ชื่อ/นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อวิทยานิพนธ์หรือปริญญานิพนธ์.//ระดับวิทยานิพนธ์ หรือปริญญานิพนธ์/คณะที่สังกัด/ชื่อมหาวิทยาลัย. สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อบทความ.//ใน/ชื่อสารานุกรม/(เล่มที่ใช้,/เลขหน้าของ บทความ).//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่สัมมนา).//ชื่อบทความ.//ใน/ชื่อเรื่องรายงานการประชุม อบรม สัมมนา/ วัน/เดือน/ปีที่สัมมนา/(หน้า).//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์

Page 8: รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... · 3 ข. ข้อก

8

ตัวอย่าง นันทสาร สีสลับ. (2542). ภูมิปัญญาไทย. ใน สารานุกรมไทยส าหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (เล่ม 23, หน้า 11-30). กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้ง. Bregmann, P.G. (1993). Relativity. In The New Encyclopedia Britannica (Vol.26,

pp. 501-508). Chicago: Encyclopedia Britannica.

6. บทความในวารสาร

ตัวอย่าง ล้อม เพ็งแก้ว. (2542, มิถุนายน). สุนทรภู่เกิดท่ีไหน. ศิลปวัฒนธรรม, 20 (8), 103-105. Bekerian, D.A. (1993). In search of the typical eyewitness. American Psychologist,

48, 574-576. 7. บทความในหนังสือพิมพ์

ตัวอย่าง ภาคภูมิ ป้องภัย. (2542, กรกฎาคม 3). มุมที่ถูกลืมในพระราชวังบางปะอิน. มติชน, หน้า 12. Erlich, R. S. (1994, June 28). China a paradise for counterfeit CDs. Bangkok Post, p. 4. 8. จุลสาร แผ่นพับ

ตัวอย่าง กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม, กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน. (2544).

การควบคุมความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด [จุลสาร]. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

9. การสัมภาษณ์

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปี, เดือนที่วารสารออก).//ชื่อบทความ.//ชื่อวารสาร,/ปีที่/(ฉบับที่), /เลขหน้าของบทความ.

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์,/เดือน/วันที่).//ชื่อบทความ.//ชื่อหนังสือพิมพ์,/หน้า/เลขหน้าของบทความ.

ผู้แต่งหรือผู้จัดท า.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อจุลสาร/[จุลสาร].//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

ชื่อ//นามสกุลผู้ให้สัมภาษณ์.//(ปี,/เดือน/วันที่สัมภาษณ์).//ต าแหน่ง.//สถานที่สัมภาษณ์.//สัมภาษณ์.

Page 9: รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... · 3 ข. ข้อก

9

ตัวอย่าง ชวน หลีกภัย. (2542, ตุลาคม 12). นายกรัฐมนตรี. ท าเนียบรัฐบาล. สัมภาษณ์. Page, O. (1991, March 5). President. Austin Peay State University. Interview.

10. วัสดุไม่ตีพิมพ์หรือโสตทัศนวัสดุ

ตัวอย่าง ธนพล ฉันจรัสวิชัย. (2544). Perl บนฟรีเซริร์ฟเวอร์ [ซีดี-รอม]. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. Shocken, M. (1992). Over the waterfall on Arkansas traveler [CD]. New York: PolyGram Music. 11. เอกสารออนไลน์

ตัวอย่าง ซูม. (2542). บุญของคนไทย ใน ไทยรัฐ. ค้นเมื่อ ตุลาคม 25, 2542, จาก http://www.thairat.co.th. ส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2545). จรรณยาบรรณนักวิจัย. ค้นเมื่อ พฤษภาคม 3, 2548, จาก http://www/nrct.go.th~research/ethies.html International Organization for Standardization. Big benefits. (2005). Retrieved August 1, 2006, from http://www.iso.org/iso/en

ชื่อ//นามสกุลผู้จัดท า.//(ปีที่ผลิต).//ชื่อเรื่อง/[ประเภทของสื่อ].//สถานที่ผลิต:/หน่วยงานที่รับผิดชอบ.

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่จัดท า).//ชื่อเรื่องของเอกสาร.//ค้นเมื่อ/เดือน/วัน,/ปี,/จาก/URLของ เว็บไซต์ที่เข้าถึง

Page 10: รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... · 3 ข. ข้อก

10

ตัวอย่างปกรายงานการวิจัย (งบประมาณแผ่นดิน)

รายงานการวิจยั

โครงการวิจัยเรื่อง ภาษาไทย……………………………………………………..………………

ภาษาอังกฤษ…………………………………………………………....…….

คณะผู้วิจัย

1…………………………………… 2…………………………………… 3……………………………………. 4……………………………………..

ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.25……..

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

Page 11: รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... · 3 ข. ข้อก

11

ตัวอย่างปกรายงานการวิจัย (เงินรายได้)

รายงานการวิจยั

โครงการวิจัยเรื่อง ภาษาไทย……………………………………………………..………………

ภาษาอังกฤษ…………………………………………………………....…….

คณะผู้วิจัย

1…………………………………… 2…………………………………… 3……………………………………. 4……………………………………..

ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากงบประมาณกองทุนเพื่อการวิจัย (เงนิรายได้) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.25……..

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

Page 12: รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... · 3 ข. ข้อก

12

ใช้อักษรตวัหนา ขนาด 18 จดักลาง

ใช้อักษรตวัหนา ขนาด 16 จดัชดิขาว

สารบัญ

(เว้น 1 บรรทัดพิมพ์) หน้า

บทคัดย่อภาษาไทย ก หรือ I บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ข หรือ II กิตติกรรมประกาศ ค หรือ III สารบัญ ง หรือ I สารบัญตาราง จ หรือ I สารบัญภาพ ฉ หรือ I บทที/่1//บทน า 1 ///////1.1//ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา 1 ///////1.2//วัตถุประสงค์ของการวิจัย 4 ///////1.3//ขอบเขตของการวิจัย 5 ///////1.4//วิธีด าเนินการวิจัย 5 ///////1.5//สมมุติฐานงานวิจัย (ถ้ามี) 6 ///////1.6//กรอบแนวความคดิในการวิจัย (ถ้ามี) ///////1.7//ค าส าคัญของการวิจัย (ถ้ามี) ///////1.8//ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ///////1.9//นิยามศัพท์เฉพาะ (ถ้ามี) บทที/่2//ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ///////2.1//ทฤษฎีที่เก่ียวข้อง ///////2.2//งานวิจัยที่เก่ียวข้อง บทที/่3//วิธีด าเนินการวิจัย (ชื่อหัวข้อปรับให้เหมาะสมกับงานวิจัย ทางวิทยาศาสตร์/สังคมศาสตร์ ///////3.1// ///////3.2// บทที/่4//ผลการวิจัย ///////4.1// ///////4.2//

หมายเหตุ : เครื่องหมาย / หมายถึง การเว้นวรรค 1 ระยะตัวอักษร

ตัวอย่างสารบัญ

Page 13: รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... · 3 ข. ข้อก

13

ใช้อักษรตวัหนา ขนาด 18 จดักลาง

สารบัญ (ต่อ)

(เว้น 1 บรรทัดพิมพ์) หน้า

บทที/่5//สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ ///////5.1//สรุปผลการวิจัย ///////5.2//ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม/เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก ///////ภาคผนวก//ก ///////ภาคผนวก//ข หมายเหตุ

1. ชื่อหัวข้อและจ านวนบทสามารถปรับให้สอดคล้องกับงานวิจัยได้ตามความเหมาะสมของงานวิจัย ทางด้านวิทยาศาสตร์/ด้านสังคมศาสตร์

2. เครื่องหมาย / หมายถึง การเว้นวรรค 1 ระยะตัวอักษร

Page 14: รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... · 3 ข. ข้อก

14

สารบัญตาราง

(เว้น 1 บรรทัดพิมพ์) ตารางท่ี หน้า 2.1// 2.2// 3.1// 3.2// 3.3// 4.1// 4.2//

หมายเหตุ เครื่องหมาย / หมายถึง การเว้นวรรค 1 ระยะตัวอักษร

ตัวอย่างสารบัญตาราง

Page 15: รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... · 3 ข. ข้อก

15

สารบัญภาพ (เว้น 1 บรรทัดพิมพ์)

ภาพที่ หน้า 2.1// 2.2// 3.1// 3.2// 3.3// 4.1// 4.2// หมายเหตุ เครื่องหมาย / หมายถึง การเว้นวรรค 1 ระยะตัวอักษร

ตัวอย่างสารบัญภาพ

ตัวอักษรตวัหนา ขนาด 18

ตัวอักษรตวัหนา ขนาด 16

Page 16: รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... · 3 ข. ข้อก

16

ใช้อักษรตวัหนา ขนาด 18

ชื่อโครงการ (ภาษาไทย)// แหล่งเงิน// (ระบุแหล่งทุน) ประจ าปีงบประมาณ ระยะเวลาท าการวิจัย ปี ตั้งแต ่ ถึง ชื่อ-สกุล หัวหน้าโครงการ และผู้ร่วมโครงการวิจัย พร้อมระบุ หน่วยงานต้นสังกัด

(เว้น 1 บรรทัดพิมพ์) บทคัดย่อ

(เว้น 1 บรรทัดพิมพ์) ///////เริ่มพิมพ์ข้อความตัวอักษรตัวที่ 8 (ใช้อักษรขนาด 16 ธรรมดา มีความยาวไปเกิน 1 หน้ากระดาษ) เว้น 1 บรรทัด ค าส าคัญ : ตัวอักษรขนาด 16 จ านวน 3-8 ค า

ตัวอย่างบทคัดย่อภาษาไทย

Page 17: รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... · 3 ข. ข้อก

17

ใช้อักษรขนาด 18 ตัวหนา

Research Title: Researcher: Faculty: Department:

(เว้น 1 บรรทัดพิมพ์) ABSTRACT

(เว้น 1 บรรทัดพิมพ์) ///////เริ่มพิมพ์ข้อความตัวอักษรตัวที่ 8 (ใช้อักษรขนาด 16 ธรรมดา มีความยาวไปเกิน 1 หน้ากระดาษ) เว้น 1 บรรทัด Keywords : ตัวอักษรขนาด 16 จ านวน 3-8 ค า

ตัวอย่างบทคัดย่อภาษาอังกฤษ

Page 18: รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... · 3 ข. ข้อก

18

บทที่ 1 บทน า

(เว้น 1 บรรทัดพิมพ์) ///////ขอ้ความเริม่พิมพ์ตัวอักษรตวัที่ 8 ///////1.1 หัวข้อใหญ่ของบทท่ี 1 (ใช้อักษร ขนาด 16 ตัวหนา) ///////////ขอ้ความ (ใช้อักษรขนาด 16 ธรรมดา ///////////1.1.1 หัวข้อย่อย (ใช้อักษร ขนาด 16 ธรรมดา) /////////////////ข้อความ (ใช้อักษร ขนาด 16 ธรรมดา /////////////////1.1.1.1หัวข้อย่อยของ 1.1.1 (ใช้อักษร ขนาด 16 ธรรมดา) ////////////////////////ขอ้ความ (ใช้อักษร ขนาด 16 ธรรมดา ///////////////////////////1) หัวขอ้ย่อยของ 1.1.1.1 (ใช้อกัษร ขนาด 16 ธรรมดา) /////////////////////////////ขอ้ความ(ใช้อักษร ขนาด 16 ธรรมดา

หมายเหตุ : 1. ในแต่ละบทไม่จ าเป็นต้องแบ่งหัวข้อย่อยเหมือนกันทุกบท โดยทั่วไปบทสรุปจะไม่มีหัวข้อย่อย

2. เครื่องหมาย / หมายถึง การเว้นวรรค 1 ระยะตัวอักษร

ตัวอย่างการพิมพ์ส่วนประกอบของเนื้อเร่ืองของรายงานวิจัย

ตัวอักษรตัวหนา

ขนาด 18