191
เอกสารสรุป ชื่อ ........................................................................... นามสกุล................................................................... เลขที........................... ห้อง ม.5/....................... ปีการศึกษา 2560 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที ่ 5 โครงการสอนและการวัดและประเมินผล วิทย์ คณิต ภาคเรียนที 2

เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

เอกสารสรุป

ชื่อ ........................................................................... นามสกุล................................................................... เลขที่ ........................... ห้อง ม.5/.......................

ปีการศกึษา 2560

ระดบัช ัน้มธัยมศกึษาปีที่ 5

โครงการสอนและการวดัและประเมนิผล

วิทย ์– คณติ

ภาคเรียนที่ 2

Page 2: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา ภาษาไทยพื้นฐานรหัส ท 32104 ครูผู้สอน มาสเตอร์ชัยพล ขอดทอง ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ 5ภาคเรียนที่ 2/2560 จ านวน2คาบ/สัปดาห์ 40คาบ/ภาค จ านวน 1.0หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ...................... ค าอธิบายรายวิชา นักเรียนตีความ แปลความ ขยายความจากเรื่องที่อ่านเช่น บทความ ร้อยแก้วประเภทต่างๆฉันทลักษณ์หลายชนิด วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับวิถีชีวิตของคนในสังคม สังเคราะห์ข้อคิดเพ่ือน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันผ่านวรรณคดีมรดกและวรรณกรรมร่วมสมัย เช่น มัทนะพาธา ศึกษารายละเอียดของวรรณคดีในแง่มุมต่างๆ จินตภาพ โวหารภาพจน์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบ คุณค่าทางวรรณศิลป์ คุณค่าทางสังคม นาฎลีลาในบทประพันธ์ ตลอดจน ฉันทลักษณ์หลากหลายรูปแบบเช่น โคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ โคลงสี่สุภาพ กาพย์ยานี 11 กาพย์ฉบัง16 กาพย์สุรางคนางค์28 กลอนสุภาพ ร่ายยาว ร่ายดั้น อินทรวิเชียร์ฉันท์ ภุชงคประยาตฉันต์ เป็นต้น ศึกษาระดับของภาษาเพื่อวิเคราะห์ ความแตกต่างของระดับภาษาแต่ละระดับและใช้ได้อย่างถูกต้อง ฝึกกระบวนการพัฒนาการสื่อสาร แสดงความสัมพันธ์ของการใช้ภาษากับความคิด ภาษากับเหตุผล การร้อยเรียงประโยคผ่านกระบวนการ เชื่อมค า ซ้ าค า ละค า และแทนค าฝึกทุกษะการสังเกตค า เช่น การอ่านออกเสียง การสะกดค า ตลอดจนการใช้ค าให้เหมาะสมและถูกต้อง สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวนตัวช้ีวัด) สาระท่ี 1 การอ่าน มาตรฐานที่ ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพ่ือน าไปตัดสินใจ แก้ปัญหาในการด าเนินชีวิตและมี นิสยัรักการอ่าน ตัวช้ีวัด 2. ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อ่าน 3.วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่านในทุก ๆ ด้านอย่างมีเหตุผล 4. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน และประเมินค่าเพ่ือนน าความรู้ ความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการ ด าเนินชีวิต 5. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งกับเรื่องที่อ่าน

6. ตอบค าถามจากการอ่านประเภทต่าง ๆ ภายในเวลาที่ก าหนด 7. อ่านเรื่องต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน

8. สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแห่งเรียนรู้ต่าง ๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการ เรียนและพัฒนาความรู้ทางอาชีพ สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐานที่ ท 2.1ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียน

รายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ

Page 3: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

ตัวช้ีวัด 1. เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้องมีข้อมูลและสาระส าคัญ ชัดเจน 4. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่าง ๆ 6. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องท่ีสนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการและใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่าง ถูกต้อง 7. บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพ่ือน าไปพัฒนาตนเองอย่างสม่ าเสมอ 8. มีมารยาทในการเขียน สาระท่ี 3 การการฟัง การดู และการพูด มาตรฐานที่ ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่าง

ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ตัวช้ีวัด 1. สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู 2. วิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล 3. ประเมินเรื่องที่ฟังและดูแล้วก าหนดแนวทางน าไปประยุกต์ใช้ในการด าเนินชีวิต 4. มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟังและดู 5. พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจและเสนอแนวคิดใหม่ 6. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด สาระท่ี 4 หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐานที่ ท 4.1เข้าใจธรรมชาติของภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษาและรักษาภาษาไทยไว้ เป็นสมบัติของชาติ ตัวช้ีวัด 1. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษาและลักษณะของภาษา 2. ใช้ค าและกลุ่มค าสร้างประโยคตามวัตถุประสงค์ 7. วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐานที่ ท 5.1เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและน ามา ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตัวช้ีวัด 1. วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น 2. วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต 3. วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ของชาติ 4. สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

Page 4: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค)

1. การสื่อสาร10 คะแนน ท.1.1 (2,3,4,5,6,7,8) ท 2.1 (1,4,7) ท 3.1 (1,2,3,5,6)

คะแนนเต็ม 30 คะแนน

ท.1.1 (2,3,4,5,6,7,8) ท 2.1 (1,4,8) ท 3.1 (1,2,3,5,6) ท 4.1 (1,2,7) ท 5.1 (1,2,3,4)

2.สภาพจริง 20คะแนน

ท.1.1 (2,3,4,5,6,7,8) ท 2.1 (1,4,8) ท 3.1 (1,2,3,5,6) ท 4.1 (1,2,7) ท 5.1 (1,2,3,4)

3.กลางภาค/ปฏิบัติ30 คะแนน

ท.1.1 (2,3,4,5,6,7,8) ท 2.1 (1,4,8) ท 3.1 (1,2,3,4,5,6) ท 4.1 (1) ท 5.1 (1,2,3,4)

4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน ท.1.1 (2,3,4,5,6,7,8) ท 2.1 (1,4,8) ท 3.1 (1,2,3,5,6)

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)30 คะแนน รายละเอียดการสอบ

- แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ - โครงสร้างของการแสดงเหตุผล - วิธีแสดงเหตุผลและการอนุมาน - การใช้ค าและความหมาย - การใช้ภาษาอธิบาย บรรยายและการพรรณนา

รายละเอียดการสอบ

- แนวคิดและค่านิยมในงานประพันธ์ - การถามตอบอย่างมีประสิทธิภาพ - การเขียนผังมโนภาพ - คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร - ภาษากับวัฒนธรรม

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม - หนังสือหลักและการใช้ภาษาไทย ของ กรมวิชาการและอาจารย์ก าชัย ทองหล่อ - หนังสือหลักภาษาไทย ของ อาจารย์จงชัย เจนหัตถการกิจ - หนังสือประวัติวรรณคดีไทย 1 ของ เสนีย์ วิลาวรรณ และคณะ

2. สอบปลายภาค 30 คะแนน

Page 5: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject :Mathematics IE Code ค 32104 Instructors:1. Miss NattareeSiricharoonwong, 2. Miss Maria VerberlieRedoble

ClassLevelPrimary ................Secondary5 Semester2 Academic year2017 2 periods /week 40 periods/semester 1 units of learning Basic Subject Intensive SubjectOthers........................ Course Description :

To enrich mathematical skills and processes, so that the students are able to practice, experiment, conclude and report so as to improve their calculating assessment, problem solving, valid argument, and mathematical communication. In addition students should be able to select and use appropriate and efficient techniques and strategies to solve problems of increasing difficulty for lifelong learning and adaptation to everyday situations. The students must have a positive attitude towards mathematics and be able to work neatly and logically.

The assessment and the evaluation are conducive to diversification of the different aspects depending on the actual performance of content and skills that have to be improved. LearningStandards and Indicators :

Strand Standards

Strand :Statistics and Data Sub-Strand :

1. Examples of Cases and Problems 2. Definition of Statistics 3. Decisions Making and Planning 4. Data and Collecting Data

Standard M5.2: Application ofstatistical methodology and knowledge ofprobabilityforvalid estimation

Strand 5: Data Analysis Sub-Strand :

1. Frequency Distribution 2. Relative Frequency 3. Relative Cumulative Frequency 4. Graphical Representation of Data 5. Measure of Central Tendency 6. Partition Values 7. Dispersion or Variation 8. The 95% Rule 9. Box-and-whisker Plot

Standard 5.1 :Understanding and ability to apply statistical methodology for data analysis. Standard 5.2 : Application ofstatistical methodology and knowledge ofprobabilityforvalid estimation.

Page 6: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Indicators (Learning Outcomes): Strand : Statistics and Data / Data Analysis 1. Define statistics 2. Differentiate descriptive statistics from inferential statistics 3. State and explain the statistical methods 4. Differentiate information from data 5. Compare the types of data 6. Identify the methods of collecting data 7. State the importance of Statistics 8. Construct ungrouped and grouped frequency distribution table 9. Identify variable and frequency 10. Explain how to find the cumulative frequency 11. Make a cumulative frequency table of ungrouped and grouped data 12. Compute the relative frequency and relative cumulative frequency 13. Identify the different kinds of graphical representation of data 14. Construct histogram 15. Make a stem-and-leaf plot 16. Identify the measures of central tendency 17. Compute the mean of raw, ungrouped and grouped data 18. Determine the median of raw, ungrouped and grouped data 19. Solve the mode of raw, ungrouped and grouped data 20. Interpret the graph of the given data 21. State the appropriate measure of central tendency to be used in a given situation 22. Identify the partition values 23. Solve the quartile of raw, ungrouped and grouped data 24. Compute the deciles of raw, ungrouped and grouped data 25. Calculate the percentile of raw, ungrouped and grouped data 26. Identify the range of the given set of data 27. Calculate the standard deviation and variance in a set of data 28. Explain the 95% rule 29. State the relationship among frequency distribution, central tendency and dispersion 30. Construct a box-and-whisker plot 31. Interpret box-and-whisker plot 32. Appreciate the importance of data analyzes Skill/ Process (used for every content) 33. Use various strategies to solve problems 34. Use mathematical knowledge to solve problems in real life situations. 35. Use inductive and deductive reasoning to help making conclusion and decision.

Page 7: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

36. Use mathematical language and symbols to communicate and represent ideas precisely and appropriately.

37. Connect mathematical concepts, principles, and methods and other knowledge to explain conclusions.

38. Apply mathematical knowledge and skills in working and living. 39. Work creatively.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination

Indicators (Final examination)

1.Communication 10 marks 33 - 39 30 Marks

1 – 32 2.Authentic Test 20 marks 1 - 39

3.Performance test (Mid-term) 30 marks

1 - 25

4.Portfolio10 marks 1 - 39

Total 100 marks

Assessment 1. Mid-term Test /Performance Assessment (20 marks)

Topics Content

Chapter 3: Statistics and Data 1. Definition of Statistics 2. Data and Collecting Data

Chapter 4: Data Analysis

1. Frequency Distribution 2. Relative Frequency 3. Relative Cumulative Frequency 4. Graphical Representation of Data 5. Measure of Central Tendency 6. Partition Values

Page 8: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

2. Final Examination (30 marks)

References:According the text book from ipst (สสวท) in Basic Thailand Education Curriculum and handouts provided. Remarks : This course outline may be changed in any suitable case.

Topics Content

Chapter 3: Statistics and Data 1. Definition of Statistics 2 Data and Collecting Data

Chapter 4: Data Analysis

1. Frequency Distribution 2. Relative Frequency 3. Relative Cumulative Frequency 4. Graphical Representation of Data 5. Measure of Central Tendency 6. Partition Values 7. Dispersion or Variation 8. box-and-whisker plot 9. 95% rule

Page 9: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment Subject : Science I.E Code Sc32104

Instructors: Mr. PremsakRatiwiriyapong

ClassLevel: Secondary 5 Semester2 Academic year2017 2 periods/week40 periods/semester 1.0 credit of learning

Basic Subject Intensive SubjectOthers...............

Course Description : The course gives an overview over the processes of ecosystem, distinguish between biotic and abiotic factors of the environment, and describe the different levels of ecological organization. Define biological interactions and give examples.Explain the dispersion patterns of different populations.Explainabout 10% law in ecosystem and distinguish among the type of pyramid in ecosystem. Distinguish among producers, consumers, anddecomposers and describe the differences between a food chain and a food web. Describe and draw the diagram the water cycle and explain its importance to living organisms. Discuss the relationship between the oxygen cycle and the carbon cycle and diagram the carbon-oxygen cycle and explain its importance to living organisms. Explain why balance is important in an ecosystem and name and briefly describe the major issues in ecology today. Explain the term biodiversity. Learning Standard:

Strand Standard Strand 1 : Ecology Strand 2 : Population Ecology Strand 3 : Mineral cycle

Standard Sc2.1: Understanding of local environment;

relationship between the environment and living things;

relationship between living things in the eco-system;

investigative process for seeking knowledge and scientific

mind; and communicating acquired knowledge that could

be applied for useful purposes

Strand 4 : Biodiversity Strand 5 : World Issue

Standard Sc2.2: Appreciating the importance of natural

resources; utilization of natural resources at local, national

and global levels; and application of knowledge for

management of natural resources and local environment on

a sustainable basis

Page 10: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Indicators :(Write the details in items) Standard Sc2.1: Understanding of local environment; relationship between the environment and living things; relationship between living things in the eco-system; investigative process for seeking knowledge and scientific mind; and communicating acquired knowledge that could be applied for useful purposes1. Distinguish between biotic and abiotic factors of the environment.

2. Describe the different levels of ecological organization 3. Distinguish among the role of organism in ecosystem. 4. Describe the differences between a "food chain" and a "food web.” 5. Explain 10% law in ecosystem. 6. Distinguish among the pyramid of number, the pyramid of energy, the pyramid of biomass. 7. Define biological interactions between the organisms 8. Explain and calculate the population density and population patterns

9. Describe and diagram the water, oxygen, carbon dioxide and nitrogen cycle and explain its importance to living organisms.

Standard Sc2.2: Appreciating the importance of natural resources; utilization of natural resources at local, national and global levels; and application of knowledge for management of natural resources and local environment on a sustainable basis

1. Name and briefly describe the major issues in environment today 2. Explain the term biodiversity. Explain the term of biodiversity. 3. Explain the classification system 4. Explain the difference between the 5 kingdoms of organisms 5. Describe the characters of the organism in each Kingdom 6. Discuss the human activities can change the balance of ecosystem

7. Explain cause of global warming, green house effect Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication10 marks Standard Sc2.1(1-9) Standard Sc2.2(1-7)

30 marks Standard Sc2.2(1-7)

Authentic 20 marks Standard Sc2.1(1-9) Standard Sc2.2(1-7)

Performance test 30 marks Listening test 5 marks

Standard Sc2.1(1-9)

Portfolio10 marks Standard Sc2.1(1-9) Standard Sc2.2(1-7) Standard Sc3.1(1-6)

Total100marks

Page 11: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Assessment 1. Performance Assessment ( 30 marks) Topic / subject matter:

- Ecology 3. Final Examination ( 30 marks) Topic / subject matter:

-Biodiversity and world issue References : My World of Science Secondary 4-6 Biology, Orient Blackswan Private Limited, Indi

Page 12: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject :Social Studies IE. Code SO32107 Instructors: Mr. Napoth Rattanakosai

ClassLevel: Secondary ……5……....Semester………2………. Academic year2017 2 Periods /week ........40...... Periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description : This course is study about Ancient Civilization on the eastern and the western part of the world. This content are including the advancement and the innovation of Ancient Civilization which has an affected to the world nowadays such as Mesopotamia, Egypt, China, India, Greek and Roman Students will be trained the needed skills such as critical skill and analytical skill by using historical process to acquire knowledge and comprehension. to analyze the ancient civilization that shows human’s ability The Learning Standard:

Strand Standard Strand 4 : History Unit 1: Mesopotamia Unit 2: Ancient Egypt Unit 3: Ancient Greek Unit 4: Roman Empire Unit 5: Indus valley Civilization Unit 6: Ancient China

So 4.2.1 Analyze the importance of ancient civilizations and communication between the Eastern and Western world affecting development and change in the world. So 4.2.2 Analyze various important events affecting social, economic and political changes leading to the present world.

Indicators :So 4.2.1 1. Are capable of describing the definition of history 2. Are capable of describing the different between culture and civilization 3. Understand important events in the history of Ancient Civilization 4. Know the Ancient Civilizationculture Indicator :So 4.2.2 1. Know the Ancient Civilization advancement 2. know the Ancient Civilization innovation 3. Understand contributions of the Ancient Civilization to the modern world.

Page 13: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication.10.marks So.4.2.1.1 – So.4.2.2.3 30 Mark So.4.2.1.1 – So.4.2.2.3 Authentic..20..marks So.4.2.1.1 – So.4.2.2.3 Performance test....30...marks

So.4.2.1.1 – So.4.2.2.3

Portfolio ....10..marks So.4.2.1.1 – So.4.2.2.3

Total100marks Assessment 1. Performance Assessment (30 marks) Topic / subject matter: - Unit 1: Mesopotamia - Unit 2: Ancient Egypt - Unit 3: Ancient Greek 2. Final Examination (30 marks) Topic / subject matter: - Unit 4: Roman Empire

- Unit 5: Indus valley Civilization - Unit 6: Ancient China References: Topic / subject matter: -Worksheet and notebook

Page 14: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิชา ประวัติศาสตร์ พ้ืนฐานรหัส ส 32107

ครูผู้สอน 1. มาสเตอร์วิเชียร ภคพามงคลชัย 2. มาสเตอร์ธงชัย พรหมจรรย์

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2/2560

จ านวน 2 คาบ/สัปดาห์ 40 คาบ/ภาค จ านวน 1 หน่วยการเรียน

วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................

ค าอธิบายรายวิชา

ตระหนักถึงความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติศึกษา

การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ วิ เคราะห์อิทธิพลของอารย

ธรรมโบราณและการติดต่อระหว่างโลกตะวันออกและตะวันตกที่มอิีทธิพลต่อการพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของโลก

โดยใช้กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการท างาน กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสืบค้น

กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการแก้ปัญหา

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความส าคัญของเวลาและยุคประวัติศาสตร์ สามารถน าความรู้มา

ปรับใช้ในการด าเนินชีวิตที่จะต้องรับผลกระทบจาการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกช่วยให้ด าเนินชีวิตอย่างสันติสุข

วิเคราะห์เหตุการณ์ส าคัญต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน

ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกาและเอเชีย สถานการณ์ของโลกใน

คริสต์ศตวรรษที่ 21

โดยใช้กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการท างาน กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสืบค้น

กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการแก้ปัญหา

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงเหตุการณ์ส าคัญต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก

ซึ่งสามารถน าความรู้มาปรับใช้ในการด าเนินชีวิตที่จะต้องรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและ

การเมืองของโลกปัจจุบัน ช่วยให้สังคมเกิดสันติสุข

สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน6 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 4 มาตรฐานที ่ส.4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง

ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ ตัวช้ีวัด 1.ตระหนักถึงความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของ

มนุษยชาติ 2.สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ

Page 15: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

มาตรฐานที ่ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความส าคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดข้ึน ตัวช้ีวัด 1.วิเคราะห์อิทธิพลของอารยธรรรมโบราณ และการติดต่อระหว่างโลกตะวันออกโลกตะวันตก ที่มีผลต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของโลก 2. วิเคราะห์เหตุการณ์ส าคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน 3. วิเคราะห์ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย 4. วิเคราะห์สถานการณ์ของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวชี้วัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดที(่ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน

ส 4.1 ข้อ 1, 2

คะแนนเต็ม 30 คะแนน ส 4.2 ข้อ 1, 2,3,4

2. สภาพจริง 20 คะแนน

3. กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

4. แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1เวลา ยุคสมัยและวิธีการทางประวัติศาสตร์

- ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

- การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล

- การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์สากล

- ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์

- ตัวอย่างการน าวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์สากล

2. หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 พัฒนาการและการสร้างสรรค์อารยธรรม

- แหล่งอารยธรรมตะวันตก

-

รายละเอียดการสอบ

1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 3เหตุการณ์ส าคัญในประวัติศาสตร์โลก

2. สอบปลายภาค (Final Examination) 30คะแนนคะแนน

Page 16: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

- เหตุการณ์ส าคัญในประวัติศาสตร์โลกที่มีผลกระทบต่อโลกปัจจุบัน

- ความร่วมมือและความขัดแย้งของมนุษยชาติ

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

กุลพล พลวัน. (2527). สิทธิมนุษยชนกับสหประชาชาติ. กรุงเทพฯ:ศูนยบริการเอกสาร กรมอัยการ.จุณณเจิม ยุวรี และ

คณะ. (2541). เหตุการณโลกปจจุบัน. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฎสวนดุสิต.

ฉัตรทิพย นาถสุภา. (2526). ลัทธิเศรษฐกิจการเมือง. กรุงเทพฯ:ไทยวัฒนาพานิชย.

ชาคริต ชุมวัฒนะ. (2546). ชีวิตและสังคมแรงงานชั้นอังกฤษในคริสศตวรรษที่ 19. กรุงเทพฯ:ศักดิ์โสภาการพิมพ

ธนู แกวโอภาส. (2542). ประวัติศาสตรโลก. กรุงเทพฯ:สุขภาพใจปรีชา ศรีอาลัย. (2546). สงครามโลกครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:

โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส.ปรีชา ศรีวาลัย. (2548). สงครามโลกครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ:โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2543). สารานุกรมประวัติศาสตรสากลสมัยใหม:ยุโรป เลม 3 อักษร E – G ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.

กรุงเทพฯ:ราชบัณฑิตยสถาน.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). สารานุกรมประวัติศาสตรสากลสมัยใหม:ยุโรป เลม 4 อักษร H – K ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.

กรุงเทพฯ:ราชบัณฑิตยสถาน.

วิมลวรรณภัทโรดม. (2540). ยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่สอง. กรุงเทพฯ:ศักดิ์โสภาการพิมพ

ศิโรฒน คลามไพบูลย. (2545). จักรวรรดินิยมกับการกอการราย. กรุงเทพฯ:โครงการวิดีทรรศน

สมพงษ ชูมาก. (2533). องคการระหวางประเทศ:สันนิบาตชาติสหประชาชาติ. กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สัญชัย สุวังบุตร. (2545). ประวัติศาสตรโซเวียตสมัยเลนิน ค.ศ.1917 – 1924. กรุงเทพฯ:ศักดิ์โสภาการพิมพ

สุปราณี มุขวิชิต. (2532). ประวัติศาสตรยุโรป ค.ศ. 1815 – ปจจุบัน เลม 1. กรุงเทพฯ:โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส.อักษรศาสตร,

คณะ. (2533). อารยธรรมสมัยใหม – ปจจุบัน. กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Page 17: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา สุขศึกษารหัส พ. 32104 ครูผู้สอน มิสฤทัยทิพย์ เอ่ียมสุเมธ

ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ …5/1-8..... ภาคเรียนที่ …2…./2560 จ านวน 1 คาบ/สัปดาห์ 20คาบ/ภาคเรียน จ านวน 0.5หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วชิาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ....................

ค าอธิบายรายวิชา 1. ใส่ใจสุขภาพ การที่เราจะมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีนั้น การดูแลและใส่ใจสุขภาพเป็นเรื่องส าคัญยิ่ง โดยเฉพาะการปฏิบัติตามหลักการดูแลและใส่ใจสุขภาพที่ถูกต้อง ทั้งในเรื่องการดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่เราอยู่ การเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ การระมัดระวังตนเองในขณะประกอบอาชีพ การจัดการกับอารมณ์และความเครียด การให้เวลาในการออกก าลังกาย พักผ่อน ผ่อนคลายด้วยกิจกรรมนันทนาการและการเลือกใช้ภูมิปัญญาไทยในการป้องกันและบ าบัดรักษาโรค ทั้งนี้สุขภาพที่ดีที่เราตั้งเป้าหมายไว้ก็จะบรรลุผลส าเร็จได้นั่นเอง

2. ชีวิตปลอดภัย ในปัจจุบันการด าเนินชีวิตของมนุษย์ในแต่ละวัน มีแต่ความรีบเร่งและเร่งด่วน เป้าหมายของมนุษย์คือการหารายได้เพ่ือน ามาใช้จ่ายในชีวิตประจ าวันและสนองต่อความต้องการของตนเอง จนบางครั้งลืมนึกถึงความจ าเป็นและความปลอดภัยของตนเองโดยเฉพาะการเรียนรู้ทักษะในการป้องกันตนเองออกจากสิ่งที่เป็นอันตรายและภัยพิบัติต่างๆ การศึกษาทักษะการตัดสินใจออกจากความรุนแรง การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากสาธารณภัย ความปลอดภัยในชุมชน ภัยจากอุบัติเหตุและการใช้ยาและการรู้จักช่วยฟื้นคืนชีพจึงเป็นสิ่งจ าเป็นอย่างยิ่ง

สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน…5….ตัวช้ีวัด) สาระท่ี ……3……….. (ใส่ใจสุขภาพ)

มาตรฐานที่ พ4.1 รู้และเข้าใจ ปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชน ปัญหาสุขภาพในชุมชน หลักในการเลือกและวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์สุขภาพ โรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ การประเมินและจัดการกับอารมณ์และความเครียด กิจกรรมการออกก าลังกาย การพักผ่อนและนันทนาการเพื่อสุขภาพและสามารถสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคด้วยภูมิปัญญาไทยได้อย่างเหมาะสม

ตัวช้ีวัด 1 , 3 , 4 , 5 , 6 ตัวชี้วัดที่ 1 : วิเคราะห์บทบาทและความรับผิดชอบของบุคคลที่มีต่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรคในชุมชน ตัวชี้วัดที่ 3 : ปฏิบัติตนตามสิทธิของผู้บริโภค ตัวชี้วัดที่ 4 : วิเคราะห์สาเหตุและเสนอแนวทางการป้องกันการเจ็บป่วยและการตายของคนไทย ตัวชี้วัดที่ 5 : วางแผนและปฏิบัติตามแผนการพัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครัว ตัวชี้วัดที่ 6 : มีส่วนร่วมในการส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพของบุคคลในชุมชน

Page 18: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน …6…. ตัวช้ีวัด) สาระท่ี ……4……….. (ชีวิตปลอดภัย)

มาตรฐานที่ พ5.1 เข้าใจและหลีกเลี่ยงจากความรุนแรง สาธารณภัย รู้และเข้าใจปัญหาความปลอดภัยในชุมชน ปัญหาจากอุบัติเหตุและการใช้ยา ตลอดจนวิธีการช่วยฟื้นคืนชีพผู้ประสบอุบัติเหตุ

ตัวช้ีวัด 1 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 ตัวชี้วัดที่ 1 : มีส่วนร่วมในการป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยาการใช้สารเสพติดและความรุนแรง เพ่ือสุขภาพ ของตนเอง ครอบครัวและสังคม ตัวชี้วัดที่ 3 : วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพหรือความรุนแรงของคนไทยและเสนอแนวทางป้องกัน ตัวชี้วัดที่ 4 : วางแผนก าหนดแนวทางลดอุบัติเหตุและสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน ตัวชี้วัดที่ 5 : มีส่วนร่วมในการสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน ตัวชี้วัดที่ 6 : ใช้ทักษะการตัดสินใจแก้ปัญหาในสถานการณ์ท่ีเสี่ยงต่อสุขภาพและความรุนแรง ตัวชี้วัดที่ 7 : แสดงวิธีการช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกวิธี

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค) 1. การสื่อสาร …10… คะแนน มฐ.พ4.1

ตวัชี้วัดที่ 1

20

มฐ.พ4.1

ตัวชี้วัด 1 , 3 , 4 , 5 , 6 มฐ.พ5.1

ตัวช้ีวัด 1 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7

2.สภาพจริง …30…คะแนน มฐ.พ4.1 ตัวชี้วัดที่ 1,3

3.กลางภาค/ปฏิบัติ …30…คะแนน มฐ.พ5.1 ตัวชี้วัดที่ 1,3,4

4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน มฐ.พ5.1 ตัวชี้วัดที่ 7

รวมคะแนนทั้งหมด …100…….. คะแนน การทดสอบ 1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)…30…. คะแนน รายละเอียดการสอบ

1. สิ่งแวดล้อมในชุมชน , ปัญหาสุขภาพในชุมชน

2. การบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ 3. การประกันสุขภาพ 4. โรคจากการประกอบอาชีพ 5. การประเมินและจัดการกับอารมณ์และความเครียด 6. กิจกรรมนันทนาการและการพักผ่อน

7. การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคด้วยภูมิปัญญาไทย

Page 19: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

2. สอบปลายภาค ……20……… คะแนน

รายละเอียดการสอบ 1. ใส่ใจสุขภาพ

2. ชีวิตปลอดภัย

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. ใบงานความรู้ 2. หนังสือแบบเรียน 3. ข้อมูล website ต่างๆ

Page 20: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา ศิลปะ (พ้ืนฐาน) รหัสศ 32104 ครูผู้สอน มาสเตอร์ชัยวัฒน์ ชนะกานนท์ ระดับชั้น ประถมศึกษา มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียนที่ 2 / 2560

จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียนจ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ...........................

ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาและฝึกปฏิบัติ การใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบต่างๆ บรรยาย

จุดประสงค์และเนื้อหาของงานทัศนศิลป์โดยใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์ การใช้วัสดุอุปกรณ์และกระบวนการทางทัศนศิลป์ที่สูงขึ้นการสร้างงานทัศนศิลป์ด้วยเทคโนโลยีต่างๆ โดยเน้นหลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์ จุดมุ่งหมายของศิลปินในการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ เทคนิคและเนื้อหาในการสร้างงานการประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์โดยใช้ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทยและสากลด้วยการศึกษางานของศิลปินที่ตนชื่นชอบ วิเคราะห์และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออก รูปแบบตะวันตก และงานทัศนศิลป์ของศิลปินที่มีชื่อเสียง การประเมินคุณค่า พัฒนาทักษะ และประยุกต์ใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆโดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างค่านิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป์ วิเคราะห์ สร้างความคิดวิจารณญาณ เพ่ือให้ผู้เรียนมีลักษณะนิสัยด้านศิลปะชื่นชม ร่วมกิจกรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการท างาน รักความเป็นไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระที่ 1ทัศนศิลป์ มฐ. ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 1 , 2 , 4 , 5 , 7 , 8 , 9 , 10 มฐ. ศ 1.2 ตัวชี้วัดที่ 1 , 2 รวม 10 ตัวชี้วัด ตัวช้ีวัด มาตราฐาน. ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึกความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจ าวัน 1.วิเคราะห์การใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบต่างๆ

2. บรรยายจุดประสงค์และเนื้อหาของงานทัศนศิลป์โดยใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์ 4. มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุอุปกรณ์และกระบวนการที่สูงขึ้น ในการสร้างงานทัศนศิลป์ 5. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ด้วยเทคโนโลยีต่างๆ โดยเน้นหลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์ 7. วิเคราะห์และอธิบายจุดมุ่งหมายของศิลปินในการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เทคนิคและเนื้อหาเพ่ือสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ 8. ประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์โดยใช้ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ 9. จัดกลุ่มงานทัศนศิลป์ เพ่ือสะท้อนพัฒนาการ และความก้าวหน้าของตนเอง 10. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทยสากล โดยศึกษาแนวคิดและวิธีการสร้างงานของศิลปินที่ตนชื่นชอบ

Page 21: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

มาตราฐาน. ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคา่งานทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล

1. วิเคราะห์และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก 2. ระบุงานทัศนศิลป์ของของศิลปินที่มีชื่อเสียงและบรรยายผลตอบรับของสังคม

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ )ระหว่างภาค( คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดที่ )ปลายภาค(

การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 1 ,2,7,8,9 ศ 1.2 ตัวชี้วัดที1,2

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 1,4,5,7,9

สภาพจริง 30 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 4,5,7 ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5,7,8,9 แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 10

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

1. การประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1.พฤติกรรมในห้องเรียน 5 การเอาใจใส่ ตั้งใจท างานที่ได้รับมอบหมาย

2.ความรับผิดชอบ 3 ส่งงานครบทุกชิ้น และส่งตรงเวลาที่ก าหนด 3.การตอบค าถามในเรื่องที่ก าหนด 2 การมีส่วนร่วมในชั้นเรียนโดยการตอบค าถาม

2. การประเมินสภาพจริง ( 30คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. ความคิดสร้างสรรค์ 10 ฝึกฝนเทคนิคการไล่น้ าหนักสีด้วยสีไม้ 2เทคนิคการสร้างงานและการน าเสนอ 10 วาดการ์ตูนที่ชอบ และระบายสีไล่น้ าหนักสี 3.จริยะ อ่านคิดวิเคราะห์ 5 ตอบปัญหาเหตุการณ์จากโจทย์โดยยึดหลักคุณธรรมและ

จริยธรรม 4.แบบฝึกหัดภาคทฤษฎี 5 องค์ความรู้ทางด้านทัศนศิลป์

3. การประเมินปฏิบัติ / กลางภาค ( 30 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. การจัดองค์ประกอบศิลป์ 10 หลักการจัดองประกอบศิลป์ถูกต้องชัดเจน

2. เทคนิค สี ขาวด า 10 วาดภาพและระบายสีโดยใช้สีโทนร้อน โทนเย็นและขาวด า 3. การน าเสนอผลงาน 10 การอธิบายงาน บุคลิกภาพ การพูด ความพร้อม

Page 22: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

4. การประเมินแฟ้มสะสมงาน ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. การจัดท าแฟ้มสะสมงาน 5 เลือกผลงานของตนเองที่ชอบหรือประทับใจ 1 ชิ้น 2. การเขียนแสดงความคิดเห็น 3 เขียนบรรยายวิธีการท างานและความประทับใจในผลงานชิ้นนั้น

3. การส่งผลงาน 2 ความเรียบร้อย ตรงต่อเวลา

5. การประเมินปลายภาค ( 20 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

การจัดองค์ประกอบศิลป์ หัวข้อ “อนาคตของเรา”

7 การวาดภาพ จัดองค์ประกอบภาพ

7 การระบายสี ไล่น้ าหนักสี เรียบร้อย สวยงามมีความหมาย 6 ความตั้งใจ สะอาด ส่งตรงเวลา

หัวข้อเนื้อหาวิชา

1. ทฤษฎีศิลปะ 2. ทัศนธาตุและการเรียนองค์ประกอบศิลป์ 3. วิจารณ์ผลงานกับการทดสอบความรู้ความเข้าใจในศิลปะขั้นพื้นฐาน

หนังสืออ้างอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม องค์ประกอบศิลป์ (ชลูด นิ่มเสมอ) องค์ประกอบศิลป์ (ฉัตรชัย อรรถปักษ์) Internet

Page 23: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชาศิลปะดนตรีไทย (ปี่พาทย์มอญ) รหัส ศ 32103 - ศ 32104 ครูผู้สอน มาสเตอร์ชัยวัฒน์ คุณสมบัติ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ........... มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1-2 / 2560

จ านวน 1 คาบ / สัปดาห ์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระพ้ืนฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ........................ ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝึกปฏิบัติการใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบต่างๆจุดประสงค์และเนื้อหาของงานทัศนศิลป์โดยใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์การใช้วัสดุอุปกรณ์และกระบวนการทางทัศนศิลป์ที่สูงขึ้นการสร้างงานทัศนศิลป์ด้วยเทคโนโลยีต่างๆโดยเน้นหลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์จุดมุ่งหมายของศิลปินในการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เทคนิคและเนื้อหาในการสร้างงานการประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์โดยใช้ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทยและสากลด้วยการศึกษางานของศิลปินที่ตนชื่นชอบวิเคราะห์และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรปูแบบตะวันออก รูปแบบตะวันตก และงานทัศนศิลป์ของศิลปินที่มีชื่อเสียง

บทเพลงวงดนตรีประเภทรูปแบบวงดนตรีไทยและสากลสร้างสรรค์งานดนตรีอ่านเขียนโน้ตดนตรีไทย -สากล เล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวงเทคนิคการแสดงออกทางดนตรีคุณภาพของการแสดงการประพันธ์และการเล่นดนตรีความซาบซึ้งในงานดนตรีจากต่างวัฒนธรรมงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการผสมผสานการแสดงรูปแบบต่างๆประเมินคุณค่า พัฒนทักษะ และประยุกต์ใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ

โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างค่านิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป์ วิเคราะห์ สร้างทักษะการปฏิบัติทางดนตรี เทคโนโลยี สร้างความคิดวิจารณญาน เพ่ือให้ผู้เรียนมีลักษณะนิสัยด้านศิลปะชื่นชม ร่วมกิจกรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการท างาน รักความเป็นไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา

สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด สาระดนตรี มฐ. ศ 2.1 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5,6,7,8

มฐ. ศ 2.2 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5 มฐ. ศ 3.1 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5,6,7,8 มฐ. ศ 3.2 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4

ตัวช้ีวัด (ให้เขียนรายละเอียดเป็นข้อๆ) มฐ. ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่าดนตรีถ่ายทอดความรู้สึกความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน

1. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและวงดนตรีแต่ละประเภท 2. จ าแนกประเภทและรูปแบบของวง วงดนตรีทั้งไทยและสากล 3. อธิบายเหตุผลที่คนต่างวัฒนธรรมสร้างสรรค์งานดนตรีแตกต่างกัน 4. อ่าน เขียน โน๊ตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะต่างๆ

Page 24: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

5. ร้องเพลง หรือเล่นดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเน้นเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง 6. สร้างเกณฑ์ส าหรับประเมินคุณภาพ การประพันธ์และการเล่นดนตรี ของตนเองและผู้ อ่ืนได้อย่าง

เหมาะสม 7. เปรียบเทียบอารมณ์ และความรู้สึก ที่ได้รับจากงานดนตรีที่มาจากวัฒนธรรม ต่างกัน 8. น าดนตรีไปประยุกต์ใช้ในงานอ่ืน ๆ

มฐ. ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล

1. วิเคราะห์รูปแบบของดนตรีปี่พาทย์มอญในยุคสมัยต่าง ๆ 2. วิเคราะห์สถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมต่าง ๆ 3. เปรียบเทียบลักษณะเด่นของดนตรี ในวัฒนธรรมต่างๆ 4. อธิบายบทบาทของดนตรีในการ สะท้อนแนวความคิดและค่านิยม ที่เปลี่ยนไปของคนในสังคม 5. น าเสนอแนวทางในการส่งเสริมและ อนุรักษ์ดนตรีในฐานะมรดกของชาติ

มฐ. ศ 3.1เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์ วิจารณ์ คุณค่าทางนาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน

1. มีทักษะในการแสดงหลากหลาย รูปแบบ 2. สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบ ที่ชื่นชอบ 3. ใช้ความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลป์ เป็นคู่ และหมู่ 4. วิจารณ์การแสดงตามหลักนาฏศิลป์ และการละคร 5. วิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์ และการละครที่ต้องการสื่อความหมาย ในการแสดง. 6. บรรยาย วิเคราะห์ อิทธิพลของ เครื่องแต่งกาย แสง สี เสียง ฉากอุปกรณ์ และสถานที่ท่ีมีผลต่อการแสดง 7. พัฒนาและใช้เกณฑ์การประเมินในการ ประเมินการแสดง 8. วิเคราะห์ท่าทาง และการเคลื่อนไหว ของผู้คนในชีวิตประจ าวันและน ามา ประยุกต์ใช้ในการแสดง

มฐ. ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยสากล

1. เปรียบเทียบการน าการแสดงไปใช้ใน โอกาสต่าง ๆ 2. อภิปรายบทบาทของบุคคลส าคัญ ในวงการนาฏศิลป์และการละคร ของประเทศไทยในยุคสมัยต่างๆ 3. บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และ การละครไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 4. น าเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์ นาฏศิลป์ไทย

Page 25: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค) การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.1 / ศ 2.1.2 / ศ 2.1.3

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

ศ 2.1.7 สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.8 / ศ 3.1.1 ศ 3.1.2ศ

3.1.4 / ศ 3.1.6 ศ 3.1.8 ศ 3.2.1

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.4 /ศ 2.1.5 / ศ 2.2.1 ศ 2.2.2 /ศ 2.2.3 / ศ 3.1.3ศ 2.2.4

แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.6 / ศ 2.2.5 / ศ 3.1.5ศ 3.1.7 / ศ 3.2.2 / ศ 3.2.3 ศ 3.2.4

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

หัวข้อเนื้อหาวิชา

1. ทฤษฏีดนตรีไทย 2. ปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย 3. ดนตรีในวิถีชีวิต 4. ดุริยกวีดนตรีไทย 5. นาฏกรรมสยาม

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พร้อมเกณฑ์การให้คะแนน) ระหว่างเรียน 80 คะแนน

การประเมินจากการสื่อสารส่วนบุคคล(10คะแนน) ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน o การสอบปากเปล่า (ถาม/ตอบ) 5 คะแนน o ความสนใจระหว่างเรียน 3 คะแนน o มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาดนตรี 2 คะแนน

การประเมินจากการปฏิบัติ (30คะแนน) การบรรเลงเดี่ยว ตามบทเพลงที่ก าหนดให้ (โดยแบ่งการเก็บคะแนนออกเป็น 3 ครั้งๆ ละ 10 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ท านอง ถูกต้องและแม่นย า 5 คะแนน o มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

Page 26: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30คะแนน) 3.1 ความส าเร็จของชิ้นงาน (20 คะแนน)

ชิ้นงานที่ได้รับมอบหมายเป็นงานกลุ่มหรือเดี่ยว (โดยแบ่งการเก็บคะแนนออกเป็น2 ครั้งๆ ละ10คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

o รายละเอียดต่างๆ ของชิ้นงาน 5 คะแนน o ความสะอาด / เป็นระเบียบ 3 คะแนน o ทัศนคติของนักเรียนต่อการเรียนดนตรีและชิ้นงาน 2 คะแนน 3.2 การทดสอบอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียนสื่อความ (5 คะแนน) ประเมินจากการสอบข้อเขียน โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

เกณฑ์การให้คะแนน o การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม 3 คะแนน o พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุ่มดนตรี) 2 คะแนน 3.3 การสอบภาคทฤษฎี (5 คะแนน) ประเมินการสอบเนื้อหาทฤษฎีดนตรี (ไทย-สากล) – นาฏศิลป์ ตามแนวหลักสูตรแกนกลางฯ เป็นข้อสอบ

ปรนัย 4 ตัวเลือกจ านวน 15 ข้อ เกณฑ์การให้คะแนน o การทดสอบตัวเลือก 5 คะแนน

การประเมินจากการแฟ้มสะสมงาน (10 คะแนน) รายงาน เรื่อง “ศิลปินที่ข้าพเจ้าชื่นชอบ” เกณฑ์การให้คะแนน o เนื้อหาข้อมูล / องค์ประกอบหลัก 5 คะแนน o ความรับผิดชอบ / รูปแบบ 3 คะแนน o ตรงเวลา 2 คะแนน

การสอบปลายภาค 20 คะแนน การบรรเลงรวมวงตามหลักดุริยางคศาสตร์ ตามบทเพลงที่ก าหนดไว้ในหลักสูตร (20 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน o บรรเลงตามจังหวะ / ท านอง ถูกต้องและแม่นย า 10 คะแนน o มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง 5 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 5 คะแนน

หนังสืออ้างอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. ดุริยางค์ศาสตร์ไทย (กรมศิลปากร) 2. นาฏกรรมชาวสยาม (เอนก นาวิกมูล) 3. สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย (ฉบับราชบณัฑิต) 4. การละเล่นของไทย (มนตรี ตราโมท) 5. โลกใบนี้ดนตรีไทย (ขุนอิน โตสง่า) 6. พัฒนาการดนตรีไทย : บ้าน – วัด – วัง (อนันต์ สบฤกษ์)

Page 27: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject: Web Design Code: ง 32104 Instructor: Ms. RenuRuttanapon Class Level: Primary……. Secondary 5 Semester: 2 Academic Year: 2017 2 periods / week 40 periods/semester Basic Subject Intensive Subject Others ………….

Course Description

Study and design site structure and site navigation including content management. Students will be able to use special techniques to develop web pages by using Application Software. Therefore, they have to practice using a variety of software in order to develop web projects. Additionally, they will be able to design graphics for web, create form for receiving data and searching for information suitable and effectively. Creatively, they will be able to search for information, and use the information to develop web pages, so, they will be able to develop their web pages and to recognize techniques, which are suitable on web pages. They will be able to create web pages with Scripts developmentally and apply technology in the most useful way to create web pages. It will make their web pages more interesting. More importantly, students will know about the importance, the usefulness and the process involved in designing web pages.

Moreover, they will work on and solve problems both individually and with others; so, they will be able to know how to work efficiently as a team and individual. They must take responsibility to protect all school properties and class material. Understand working methods to help themselves, their families and the public, use materials correctly as required for the type of work.

They will also have the morality of not copying the information from other people or companies. They are taught about habits of work that show enthusiasm, punctuality, economy, care for society, cleanliness and carefulness. Developmentally, students will be able to realize how to organize a web site project creatively and to create their web site project with special techniques in advanced. They know and understand about occupations as well as have knowledge, capacity and morality related to occupations.

Page 28: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

The Learning Standard:

Strand Standard Strand 1: Living and Family

Understanding of concept of work; endowment with creativity and skills for various aspects and work processes, management, teamwork, investigation for seeking knowledge, morality, diligence, and awareness of the need to economise on the use of energy and the environment for one’s life and for family

Strand 2: Design and Technology

Understanding of technology and technological processes; design and creation of objects and utensils or methodologies through creative technological processes; selective utilisation of technologies beneficial to one’s life, society and the environment, and participation in sustainable technological management

Strand 3: Information and Communication Technology

Understanding, appreciation, and efficient, effective and ethical use of information technology processes in searching for data, communicating, problem–solving, working and livelihood

Indicators: (Write the details in items)

O 1.1.2 Create achievements through creative thinking and have teamwork skills.

O 1.1.3 Have management skills for work.

O 1.1.4 Have skills for problem-solving processes.

O 1.1.6 Have morality and desirable characteristics and habits when working.

O 1.1.7 Cost-effectively and sustainably use energy and resources in working for conservation of the environment.

O 2.1.2 Analyse the technological system.

O 3.1.3 Explain the data communication system for computer networks.

O 3.1.5 Efficiently solve problems through information technology processes.

O 3.1.7 Develop computer projects.

O 3.1.8 Use hardware and software appropriate to various tasks.

O 3.1.9 Communicate and search for data through the Internet.

O 3.1.10 Use computers in processing data to serve as information for decision-making.

Page 29: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination

Indicators

Communication 10 marks 1.1(2) 3.1(9)

20 Marks

1.1(3, 4) 2.1(2) 3.1(5, 7, 8, 9, 10) Authentic30 marks

1.1(2, 3, 4, 6) 2.1(2) 3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10)

Performance test 30 marks

1.1(2, 3, 4, 6, 7) 2.1(2) 3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10)

Portfolio10 marks 3.1(7, 8, 9)

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Assessment (30 Marks)

Topic / subject matter:

1. Web Graphic Design

2. Creating web pages by using Tables and AP elements

3. Creating web pages with Scripts

2. Final Examination (20 Marks)

Topic / subject matter:

1. Web Site Design and Web Graphic Design

2. Creating web pages by using Tables or AP elements

References:

Topic / subject matter:

101 Techniques for creating web sites: by DuangpornKiengkum Adobe Dreamweaver CC Classroom in a book

Page 30: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject:Computer (C Programming Language) Code ง 32104 Instructor: Ms. Katika Meksute Class/LevelPrimary…. Secondary 5 Semester2 Academic year 2017 2 periods/week 40periods/semester 4 units of learning Basic Subject Intensive Subject Others..........................

Course Description : In this course students are introduced to the basics of programming logic and to algorithm

design and development, using flowcharts, pseudo-code and the C programming language. Students will learn the basic constructs of programming, including variables, constants, expressions, control structures, functions pointers and arrays, and are introduced to functional, decision-based and iterative processing of data.

Students will achieve understanding by practice, problems solving, management in group work, reporting results, and seeking knowledge and also understand methods to help themselves, their families, and the public. Using the process of cooperative learning systematically in order to have students gain knowledge and skills through ICT processes. Using materials, instruments and equipment correctly as required for the type of work. They are also made aware about the benefits of information technology instruments.

Additionally, the students will enjoy learning among their friends. This course will also fulfill their characteristics and habits of work that show sacrifice and morality. It also supports students’ decisions with proper reasoning and let them have an awareness of economical and cost effective use of energy, resources and the environment. Additionally they also learn how to take care of computer equipment and must follow lab rules, take responsibility to protect all school properties and class materials. Understand working and improve each step of working, have skills in management, team working and systematic working, and have creative thinking, have characteristics and habit of work that show diligence, patience, responsibility, and honesty.

The Learning Standard: Strand : Standard Strand 1: Living and Family Understanding of concept of work; endowment with creativity and skills for various

aspects and work processes, management, teamwork, investigation for seeking knowledge, morality, diligence, and awareness of the need to economise on the use of energy and the environment for one’s life and for family

Strand 2: Design and Technology

Understanding of technology and technological processes; design and creation of objects and utensils or methodologies through creative technological processes;

Page 31: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

selective utilisation of technologies beneficial to one’s life, society and the environment, and participation in sustainable technological management

Strand 3: Information and Communication Technology

Understanding, appreciation, and efficient, effective and ethical use of information technology processes in searching for data, communicating, problem–solving, working and livelihood

Indicators: (Write the details in items)

O 1.1.2 Create achievements through creative thinking and have teamwork skills.

O 1.1.3 Have management skills for work.

O 1.1.4 Have skills for problem-solving processes.

O 1.1.6 Have morality and desirable characteristics and habits when working.

O 2.1.2 Analyse the technological system.

O 2.1.4 Have creativity in problem-solving or responding to needs for their own products or

development of others’ products.

O 3.1.3 Explain the data communication system for computer networks. O 3.1.5 Efficiently solve problems through information technology processes. O 3.1.7 Develop computer projects. O 3.1.8 Use hardware and software appropriate to various tasks. O 3.1.9 Communicate and search for data through the Internet. O 3.1.10 Use computers in processing data to serve as information for decision-making.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination

Indicators (Final examination)

1.Communication 10 marks 1.1(2) 3.1(9)

20 Marks

1.1(3, 4) 2.1(2) 3.1(5, 7, 8, 10) 2.Authentic 30 marks 1.1(2, 3, 4, 6)

2.1(2, 4) 3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10)

3.Performance test 30 marks

1.1(2, 3, 4, 6) 2.1(2, 4) 3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10)

4.Portfolio 10 marks 3.1(7, 8, 9)

Total 100 marks

1. Performance Test (30 Marks) Topic / subject matter:

Creating a work flowchart

Page 32: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Creating and use data types

Creating and identify the major elements in an object-oriented programming language Design reasoning skills using a robotics context

2. Final Examination ( 20 Marks )

Topic / subject matter:

- Creating a flowcharts

- C Programming

- Input and Output

- Variables and Math

- Condition Statements

References:

Topic / subject matter:

My world of computer secondary 5

Page 33: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : Grammar Code E. 32104 Instructors:Master WorawatTiamsuwan

ClassLevel: Secondary 5/1-8 Semester 2Academic year2017 2 periods /week40 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description : This course provides students with practical concepts and knowledge of Present Subjunctive, PastSubjunctive, Past Perfect Subjunctive and Tenses. Subject and Verb Agreement for the Mid-Term Test and the Review of Phrases, Clauses and Tenses are for the Final Examinations. The main objective of this course is designed to strengthen students the practice of advanced English sentence structures. The analyses of more complex structures of the English language, commonly found in various authentic texts such as newspapers, magazines, and articles, are systematically practiced through project-based, collaborative, and student-centered learning to enhance the accuracy and fluency of the English language use. The Learning Standard:

Strand Standard Strand 1 : English for Communication F1.1 Understanding of and capacity to interpret

what has been heard and read from various types of media, and ability to express opinions with proper reasoning. F1.2 Endowment with language communication skills for exchange of data and information; efficient expression of feelings and opinions.

Strand 2 : Language and Culture F2.1 Appreciation of the relationship between language and culture of native speakers and capacity for use of language appropriate to occasions and places. F2.2 Appreciation of similarities and differences between language and culture of native and Thai speakers, and capacity for accurate and appropriate use of language.

Page 34: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Strand 4 : Language and Relationship with Community and the World

F4.1 Ability to use foreign languages in various situations in school, community and society. F4.2 Usage of foreign languages as basic tools for further education, livelihood and exchange of learning with the world community.

Indicators :(Write the details in items) F1.2.1 Converse and write to exchange data about themselves and various matters around them, experiences, situations, news/incidents and issues of interest to society, and communicate the data continuously and appropriately. F1.2.4 Speak and write appropriately to ask for and give data, describe, explain, compare and express opinions about matters/ issues/ news and situations heard and read. F2.1.1 Choose the language, tone of voice, gestures and manners appropriate to various persons, occasions and places by observing social manners and culture of native speakers. F.2.2.1 Analyse/discuss similarities and differences between the lifestyles, beliefs and culture of native speakers and those of Thais, and apply them appropriately. F4.1.1 Use language for communication in real situations, simulated situations in the classroom, school, community and society. F4.2.1 Use foreign languages in conducting research, collecting, analysing and summarising knowledge/ various data from the media and different learning sources for further education and livelihood.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination Indicators

Communication10 marks F. 1.2.1 , F. 1.2.4

30 marks F.2.1.1, F.2.2.1

Authentic20 marks F. 1.2.1, F. 2.1.1, F. 4.1.1

Performance test30 marks

F.2.1.1, F.2.2.1

Portfolio10 marks F.4.2.1 Total100marks

Assessment 1. Performance Assessment ( 30 marks) Topic / subject matter: The purpose of this performance test is designed to assess students’ English capabilities of the topics students will be studying during the first half of the semester. As written in the course

Page 35: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

description, three main topics are provided to students in this semester; they are (1) Present Subjunctive (2) Past Subjunctive and Past Perfect Subjunctive(3) Subject and Verb Agreement. (4) Tenses. 2. Final Examination ( 30 marks) Topic / subject matter: Concerning the purpose of the use of the final examination, it is designed to assess students’ English knowledge gained during the whole course in order to evaluate if students meet the objectives of the course. The final examination assesses students the review of main topics in English grammar. These are (1) The Review of Phrases (2) The Review of Clauses and (3) The Review of Tenses. References Topic / subject matter:

1. Understanding and Using English Grammar by Betty S. Azar 2. My World of English Secondary 5 by Saint Gabriel’s Foundation 3. Grammar, Usage, and Mechanics 6th course by Saint Gabriel’s College 4. Toeic Practice Exams by Barron’s The leader in Test Preparation 5. Longman Complete Course for the TOEFL Test by Deborah Phillips

Page 36: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม รหัส ค32204 ครูผู้สอน 1. ม.พร้อมพงศ์ กวีกิจธนา 2. มิสอรนิภา ไทยแท้ 3. มิสอมรรัตน์ เขียวประไพ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ 5/1-7 ภาคเรียนที่ 2/2560 จ านวน 3 คาบ/สัปดาห์ 60 คาบ/ภาคเรียนจ านวน 1.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ ค าอธิบายรายวิชา ศึกษา / ฝึกทักษะการคิดค านวณและฝึกการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี้ ความน่าจะเป็น กฏเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ แฟคทอเรียล n วิธีเรียงสับเปลี่ยน วิธีจัดหมู่ ความน่าจะเป็นและกฎที่ส าคัญบางประการของความน่าจะเป็น การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น การวัดค่ากลางของข้อมูลโดยใช้มัธยฐาน การวัดต าแหน่งที่ของข้อมูล และการวัดการกระจายของข้อมูล การแจกแจงปกติค่ามาตรฐาน การแจกแจงปกติและเส้นโค้งปกติ พ้ืนที่ใต้เส้นโค้งปกติ ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล แผนภาพการกระจาย ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่ประกอบด้วยสองตัวแปร ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่อยู่ในรูปของอนุกรมเวลา การจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงานเพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดค านวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และน าประสบการณ์ความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจ าวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถท างานอย่างมีระบบระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเชื่อมั่นในตนเอง

สาระ/ตัวชี้วัด สาระท่ี 5ตัวช้ีวัด 1. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวโดยใช้กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ 2. น าความรู้เรื่องทฤษฎีบททวินามไปใช้ได้ 3. หาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ก าหนดให้ได้ 4. เลือกวิธีวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นและอธิบายผลการวิเคราะห์ข้อมูลได้ถูกต้อง 5. น าความรู้เรื่องผลการวิเคราะห์ข้อมูลไปใช้แก้ปัญหาบางประการได้ 6. น าความรู้เรื่องค่ามาตรฐานไปใช้ในการเปรียบเทียบข้อมูลได้ 7. หาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติและน าความรู้เกี่ยวกับพ้ืนที่ใต้เส้นโค้งปกติไปใช้ได้ 8. เข้าใจความหมายของการสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่ประกอบด้วยสองตัวแปร 9. สร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวแปรสองตัวแปรที่อยู่ในรูปของอนุกรมเวลา โดยใช้เครื่องค านวณ

Page 37: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

10. ใช้ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลท านายตัวแปรตามเมื่อก าหนดตัวแปรอิสระให้ รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พร้อมเกณฑ์การให้คะแนน) อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาคกับคะแนนสอบ 40 / 60

คะแนนเก็บระหว่างภาค สาระ/ตัวชี้วัดที่(ระหว่าง

ภาค) คะแนนปลายภาค สาระ/ตัวชี้วัดที่(ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน สาระที่ 5 ตัวชี้วัด 1-10

30 คะแนน สาระที่ 5ตัวชี้วัด 1-10 สภาพจริง 20 คะแนน สาระที่ 5ตัวชี้วัด 1-10 กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน สาระที่ 5 ตัวชี้วัด 1-5 แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน สาระที่ 5 ตัวชี้วัด 1-10

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

การทดสอบ 1. สอบกลางภาค / สอบปฎิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)(20 คะแนน) รายละเอียดการสอบ

เรื่อง / บทที่ รายละเอียด คะแนน

1. ความน่าจะเป็น ข้อสอบอัตนัยและข้อสอบปรนัย

20

2. การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ข้อสอบอัตนัยและข้อสอบปรนัย

10

รายละเอียดการสอบ

เรื่อง / บทที่ รายละเอียด คะแนน

1. ความน่าจะเป็น ข้อสอบปรนัย 5

2. การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ข้อสอบปรนัย 7

3.การแจกแจงปกติ ข้อสอบปรนัย 13

4. ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล ข้อสอบปรนัย 5

2. การสอบปลายภาค( 30 คะแนน)

Page 38: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

หนังสืออ้างอิงและเอกสารประกอบการสอนและหนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพ่ิมเติม คณิตศาสตร์ เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอนที่ครูผู้สอนผลิต 3. หนังสือคณิตศาสตร์ของส านักพิมพ์ต่างๆที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน 4. ข้อสอบ Entrance , A-NET , PAT 1

Page 39: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา ฟิสิกส์รหัส ว32204 ครูผู้สอน 1. ม. อวิรุทธิ์ วิเศษชาติ 2. ม.ทัศน์ชัย สิทธิโคตร ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ 5/1-7 ภาคเรียนที่ 2/2560 จ านวน 3 คาบ/สัปดาห์ 60 คาบ/ภาคเรียน จ านวน 1.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ

ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักการของสภาพยืดหยุ่นของวัตถุและมอดุลัสหลักการของสสารในเรื่องความร้อนการเปลี่ยนสถานะของ

สารทฤษฎีจลน์ของแก๊สกฎของแก๊สและพลังงานภายในระบบของแก๊สความดันในของไหลและกฎพาสคัลแรงพยุงและหลักอาร์คิมีดีสความตึงผิวการเคลื่อนที่ในของไหลและหลักแบร์นูลลีโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้นข้อมูลการส ารวจตรวจสอบ

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด มีความสามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ การตัดสินใจ การน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน มีจิตวิทยาศาสตร์จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม สาระ เพิ่มเติม มาตรฐานมาตรฐาน ว 9.5เข้าใจลักษณะสภาพยืดหยุ่น สมบัติเชิงกลของสาร ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สมี กระบวนการสืบเสาะหา ความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน า ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 9.5 ข้อ 1-9 รวม 9 ตัวช้ีวัด ตัวช้ีวัด

1. อธิบายสภาพยืดหยุ่นของของแข็งและมอดุลัสของยัง 2. อธิบายความดันหลักการของเครื่องวัดความดัน 3. อธิบายหลักอาร์คิมีดิสและน าไปใช้อธิบายเกี่ยวกับการลอยของวัตถุในของไหล 4. อธิบายความตึงผิวของของเหลวและความหนืดในของเหลว 5. อธิบายการไหลของของไหลอุดมคติซึ่งเป็นการเคลื่อนที่ที่เป็นไปตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน 6. อธิบายผลของความร้อนที่ท าให้สารเปลี่ยนอุณหภูมิและเปลี่ยนสถานะ 7. อธิบายแก๊สอุดมคติกฏของแก๊สและใช้กฎของแก๊สอธิบายพฤติกรรมของแก๊ส 8. อธิบายทฤษฎีจลน์ของแก๊สและใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊สอธิบายสมบัติทางกายภาพของแก๊สได้ 9. อธิบายพลังงานภายในระบบและความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานความร้อนพลังงานภายใน

ระบบและงานที่ระบบท าหรือรับจากสิ่งแวดล้อม

Page 40: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การวัดและประเมินผล คะแนนระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที(่ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน 1-9 คะแนนเต็ม 30 คะแนน

6-9 สภาพจริง 20 คะแนน 1-9

กลางภาค 30 คะแนน 1-5 แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน 1-9

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน การทดสอบ 1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) 30 คะแนน ของแข็ง สภาพยืดหยุ่น ของเหลว ความดัน แรงดัน กฎของปาสคาล หลักของอาร์คิมิดิสความตึงผิว ความหนืด พลศาสตร์ของของไหล 2. การสอบปลายภาค 30 คะแนน ความร้อน

พลังงานความร้อน สมดุลความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์

แก๊สอุดมคติ ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส พลังงานภายในระบบ หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

1. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์พื้นฐานและเพ่ิมเติมฟิสิกส์ เล่ม 2,5กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ ตามหลักสูตรการศึกษาพ้ืนฐานปี 2551

2. Physics for science and engineers with modern physics serwaybeicher 3. เทคนิคตะลุยโจทย์เอนทรานซ์ ม. 4-6 3000 ข้อ เล่ม 3 อ. กฤตนัย จันทรจตุรงค์ 4. ฟิสิกส์ หลักสูตรแห่งชาติระดับมัธยมศึกษา (GCSE) ของประเทศอังกฤษ

Page 41: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา เคมีรหัส ว32224 ครูผู้สอน มาสเตอร์กรกฎ ถมมา ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่……… มัธยมศึกษาปีที่ 5/1-5ภาคเรียนที่ 2/2560 จ านวน3 คาบ/สัปดาห์ 60 คาบ/ภาคเรียนจ านวน 1.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อืนๆ………………………….. ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาเคมีเพ่ิมเติมเก่ียวกับสารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน สารประกอบของคาร์บอนที่มีหมู่อะตอมที่แสดงสมบัติเฉพาะ ถ่านหินหินน้ ามัน ปิโตรเลียมและพอลิเมอร์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การทดลอง การสืบเสาะหาความรู้ การส ารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน มีจิตวิทยาศาสตร์จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน 10 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 10 เคมีเพิ่มเติม มาตรฐานที่ ว 10.4 เข้าใจลักษณะของอินทรีย์เคมี เชื้อเพลิง ซากดึกด าบรรพ์ และผลิตภัณฑ์กระบวนการสืบเสาะหา

ความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวช้ีวัด

1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์ เขียนสูตรโครงสร้างของสารประกอบ อินทรีย์ใน

รูปแบบลิวอีส แบบย่อ แบบผสม และแบบใช้เส้นและมุม และเขียนไอโซเมอร์ ได้

2. ระบุประเภทของสารประกอบอินทรีย์โดยใช้หมู่ฟังก์ชันเป็นเกณฑ์ และบอกประเภทของสารประกอบ

ไฮโดรคาร์บอนโดยใช้พันธะในโมเลกุลและสมบัติบางประการเป็นเกณฑ์ ได้

3. เรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ประเภทต่าง ๆ

4. สรุปความสัมพันธ์ระหว่างการละลายน้ า จุดหลอมเหลวและจุดเดือดกับจ านวนอะตอมของคาร์บอนในโมเลกุล

ของสารประกอบอินทรีย์ และเปรียบเทียบจุดเดือดจุดหลอมเหลวได้

5. อธิบาย อภิปราย และจ าแนกสารประกอบอินทรีย์จากสมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมี การเกิดปฏิกิริยา

ต่าง ๆ พร้อมทั้งเขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

6. อธิบายการเกิดองค์ประกอบทางเคมีและการส ารวจหาแหล่งเชื้อเพลิงซากดึกด าบรรพ์ชนิดต่าง ๆ และประโยชน์

จากถ่านหินและหินน้ ามัน

7. อธิบายกระบวนการกลั่นน้ ามันดิบและการแยกแก๊สธรรมชาติพร้อมทั้งยกตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ได้และการน าไปใช้

ประโยชน์

8. อธิบายความหมายของ ปิโตรเลียม เลขออกเทน เลขซีเทน อุตสาหกรรมปิโตร พอลิเมอร์ พลาสติกเส้นใย

ยาง และกระบวนการวัลคาไนเซชัน

Page 42: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

9. อธิบายการเกิดพอลิเมอร์และความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างกับพอลิเมอร์ ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ และ

ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่น ามาใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์สังเคราะห์ พร้อมยกตัวอย่าง

10. อธิบายผลที่เกิดจากการผลิตและการใช้ผลิตภัณฑ์จากเชื้อเพลิงซากดึกด าบรรพ์ต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน

1-10

คะแนนเต็ม

30

คะแนน

3, 5-10 2.สภาพจริง20 คะแนน 3.กลางภาค30 คะแนน 4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนทั้งหมด100 คะแนน 1. สอบกลางภาค (Mid-term Test) 30 คะแนน รายละเอียดการสอบ

- ประเภทของสารอินทรีย์ - การเรียกชื่อของสารประกอบอินทรีย์ (แอลเคนแอลคีนแอลไคน์แอลกอฮอล์ คาร์บอซิลิกเอสเทอร์) - ไอโซเมอร์ของสารประกอบอินทรีย์ (แอลเคน แอลคีนแอลไคน์) - การละลาย จุดเดือดจุดหลอมเหลว และปฏิกิริยาของสารประกอบอินทรีย์ (แอลเคน แอลคีนแอลไคน์

อะโรมาติก)

รายละเอียดการสอบ

- สมบัติและปฏิกิริยาของสารประกอบอินทรีย์ (แอลเคน แอลคีนแอลไคน์อะโรมาติก แอลกอฮอล์ คาร์บอกซิลิกเอสเทอร์เอมีน เอไมด์)

- ปิโตรเลียม พอลิเมอร์

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. หนังสือเรียน รายวิชาเพ่ิมเติม เคมีเล่ม 5จัดท าโดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี (สสวท.) 2. หนังสือเรียน เคมี เล่ม 4 จัดท าโดยโครงการต าราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มูลนิธิ สอวน. 3. เอกสารประกอบการเรียน และแบบฝึกหัดเพ่ิมเติมโดยครูผู้สอน

2. สอบปลายภาค30คะแนน

Page 43: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชาชีววิทยารหัส ว 32244 ครูผู้สอน มิสทรานนท์ ธรรมโชติ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ...........มัธยมศึกษาปีท่ี 5 /1- 5/5 ภาคเรียนที่ 2/2560 จ านวน 3 คาบ/สัปดาห์ 60 คาบ/ภาคเรียนจ านวน 1.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระพ้ืนฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ..................................

ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาวิเคราะห์ อธิบาย การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตโครงสร้างของอวัยวะของการสืบพันธุ์สัตว์ มนุษย์ และพืช การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของ

สิ่งมีชีวิต หลักการและรูปแบบของการปฏิสนธิ เทคโนโลยีการผสมพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต อธิบายโครงสร้างและองค์ประกอบของพืชดอก การปฏิสนธิของพืชดอกและการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของพืชหลังการปฏิสนธิพืชดอก

การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต แบบแผนการเจริญเติบโตของสัตว์และมนุษย์ การวัดการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต การรับรู้และการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสิ่งมีชีวิต โครงสร้าง ชนิด และกลไกการท างานของเซลล์ประสาท

โครงสร้าง หน้าที่ และกลไกการท างานระบบประสาท ของสิ่งมีชีวิต โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การทดลอง การสืบเสาะหาความรู้ การส ารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล

และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการน าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจ าวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม สาระ เพิ่มเติม มาตรฐาน ว11.4เข้าใจลักษณะของการสืบพันธ์ของสิ่งมีชีวิต การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต การรับรู้และการ

ตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสิ่งมีชีวิต ระบบต่อมไร้ท่อมีกระบวนการสืบ เสาะหา ความรู้และ จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตัวช้ีวัดที่ 1- 10 1. อธิบายความหมายและของกระบวนการสืบพันธุ์

2. อธิบายกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของคนและระบุหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ในระบบสืบพันธุ์ของคน

3. อธิบาย สรุปกระบวนการใช้เทคโนโลยีในการผสมพันธุ์สัตว์

4. อธิบายโครงสร้างกระบวนการสืบพันธุ์ของพืชดอกและระบุหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอก

5. อธิบายแบบแผนการเจริญเติบโตของสัตว์และมนุษย์

6. อธิบายกระบวนการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต และระบุเกณฑ์การวัดการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต

7. อธิบาย สรุป เปรียบเทียบการรับรู้ และการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสัตว์

8. อธิบาย สรุป โครงสร้าง ชนิด และกลไกการท างานของเซลล์ประสาท

Page 44: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

9. อธิบาย สรุป กลไกการท างานของระบบประสาท

10. อธิบายโครงสร้างและการท างานของอวัยวะรับสัมผัส

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค) 1. การสื่อสาร 10 คะแนน 1-10

คะแนนเต็ม

30 คะแนน

7-10 2.สภาพจริง20คะแนน ทดสอบระหว่างเรียน10คะแนน ปฏิบัติการทดลอง 10 คะแนน

1-10

4.กลางภาค/ปฏิบัติ 20 คะแนน 1-6 5.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน 1-10

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล 1. สอบกลางภาค / สอบปฎิบัติ (Mid-term Test) 30คะแนน รายละเอียดการสอบ

1. การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต

ความหมายของการสืบพันธุ์

การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ

การสืบพันธุ์ในสัตว์และมนุษย์

การสืบพันธุ์พืชดอก

2. การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต

กระบานการและแบบแผนการเจริญของสัตว์และมนุษย์

การวัดการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต

2. สอบปลายภาค (Final Test)30คะแนน รายละเอียดการสอบ

1. การรับรู้และการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสิ่งมีชีวิต

วิวัฒนาการของระบบประสาท

ส่วนประกอบ ชนิด และกลไกการท างานของเซลล์ประสาท และ ระบบประสาท

โครงสร้างและการท างานของอวัยวะรับสัมผัส

Page 45: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

หนังสืออ้างอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

- โครงการต าราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มูลนิธิ สอวน. ชีววิทยา

- เอกสารประกอบการเรียนชีววิทยา ม.5 โรงเรียนเซนต์คาเบรียล

- Cambell, N. A. and Reece, J. B. Biology 7thed. Peason Education, Inc. Publishing as Benjamin Cumming, San Fancisco.

Page 46: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา(มวยไทย) รหัส พ32204 ครูผู้สอน มาสเตอร์ไพโรจน์ สายทอง ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ .... มัธยมศึกษาปีที่ 5/1-9 ภาคเรียนที่ 2/2560 จ านวน 1 คาบ/สัปดาห์ 20 คาบ/ภาคเรียน จ านวน 1 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ..................

ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาและฝึกปฏิบัติ สมรรถภาพทางกาย ทักษะพื้นฐาน การเล่นเชิงการไหว้ครูและการชกมวยไทยโดยใช้

กระบวนการวิเคราะห์เชื่อมโยง การฝึกปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการสืบค้น เพ่ือให้มีระเบียบวินัย ใฝ่เรียนรู้ เคารพกฎกติกา มุ่งมั่นในการท างาน ความสามารถในการคิด การสื่อสาร การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี การใช้ทักษะชีวิต มีทัศนคติท่ีดีต่อการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวชุมชนและรักในการออกก าลังกาย ตัวชี้วัด มาตรฐาน พ3.1ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5 พ3.2 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4 รวม 9 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน พ 3.1เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา 1. วิเคราะห์ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบต่างๆ ในการเล่นกีฬา 2. ใช้ความสามารถของตน เพ่ือเพ่ิมศักยภาพของทีม ค านึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อ่ืนและสังคม 3. เล่นกีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบุคคล / คู่ กีฬาประเภททีมได้อย่างน้อย 1 ชนิด 4. แสดงการเคลื่อนไหวได้อย่างสร้างสรรค์ 5. เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการนอกโรงเรียน และน าหลักการแนวคิด ไปปรับปรุงและพัฒนา

คุณภาพชีวิตของตนและสังคม มาตรฐาน พ 3.2รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าสม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา

1. ออกก าลังกายและเล่นกีฬา ที่เหมาะสมกับตนเองอย่างสม่ าเสมอ และใช้ความสามารถของตนเองเพ่ิมศักยภาพของทีม ลดความเป็นตัวตน ค านึงถึงผลที่เกิดต่อสังคม

2. อธิบายและปฏิบัติเกี่ยวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธีต่างๆ ในระหว่างการเล่น การแข่งขันกีฬากับผู้อ่ืนและน าไปสรุปเป็นแนวปฏิบัติและใช้ในชีวิตประจ าวันอย่างต่อเนื่อง

3. แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเล่นและการแข่งขันกีฬา ด้วยความมีน้ าใจนักกีฬา และน าไปใช้ปฏิบัติทุกโอกาส จนเป็นบุคลิกภาพท่ีดี

4. ร่วมกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬาอย่างมีความสุข ชื่นชมในคุณค่าและความงามของการกีฬา

Page 47: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.3.1 ตัวชี้วัดที่ 1-5 มฐ.3.2 ตัวชี้วัดที่ 1-4

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

มฐ.3.1 ตัวชี้วัดที่ 1-5 มฐ.3.2 ตัวชี้วัดที่ 1-4

สภาพจริง 25+5 คะแนน

กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พร้อมเกณฑ์การให้คะแนน) คะแนนการสื่อสาร 10 คะแนน

1. ความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา 4 คะแนน

2. ความสนใจต่อกระบวนการเรียนรู้ 3 คะแนน

3. การถ่ายทอด สื่อสาร น าความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 3 คะแนน

คะแนนภาคปฏิบัติ 30 คะแนน

1. การพันผ้าชกมวยไทย 15 คะแนน

2. ทักษะการกระโดดเชือก 15 คะแนน

คะแนนสอบตามสภาพจริง25+5คะแนน หัวข้อเรื่อง การล่อเป้า (10 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะการล่อเป้า 5

ความต่อเนื่องในการล่อเป้า 5 หัวข้อเรื่อง การชกเป้า (10 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะการต่อยมวย 5 ทักษะการชกเป้า

ความแม่นย าในการล่อเป้า 5 หัวข้อเรื่อง อ่าน คิด วิเคราะห์ ( 5คะแนน)

Page 48: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

สอบปลายภาค 20 คะแนน รายละเอียดการสอบ หัวข้อเรื่อง การจับคู่ชก (20 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะกีฬามวยไทย 10

ความต่อเนื่องของทักษะมวยไทย 10 หนังสืออ้างอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติมหนังสือแบบเรียน วพ มวยไทยเอกสาร แบบฝึกหัด แผ่นภาพ หนังสือค้นคว้าเพ่ิมเติม จากอินเตอร์เน็ต ห้องสมุด

Page 49: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา(มวยสากล)รหัส พ.32204 ครูผู้สอนมาสเตอร์ สง่า จาระนัย ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ... มัธยมศึกษาปีที่ ....5/1-8..ภาคเรียนที่ 2/2560 จ านวน 1 คาบ/สัปดาห์ 20 คาบ/ภาคเรียน จ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาและฝึกปฏิบัติ สมรรถภาพทางกาย การวางแผนการเตรียมตัวก่อนชก ทักษะพ้ืนฐาน รูปแบบการชก และการชกมวยสากลโดยใช้กระบวนการวิเคราะห์เชื่อมโยง การฝึกปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการสืบค้น เพ่ือให้มีระเบียบวินัย ใฝ่เรียนรู้ เคารพกฎกติกา มุ่งมั่นในการท างาน ความสามารถในการคิด การสื่อสาร การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี การใช้ทักษะชีวิต มีทัศนคติท่ีดีต่อการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวชุมชนและรักใน การออกก าลังกาย ตัวชี้วัด มาตรฐาน พ3.1ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5 พ3.2 ตัวชีว้ัดที่ 1,2,3,4 รวม 9 ตัวชีว้ดั ตัวช้ีวัด มาตรฐาน พ 3.1เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา 1.วิเคราะห์ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบต่างๆ ในการเล่นกีฬา 2.ใช้ความสามารถของตน เพ่ือเพ่ิมศักยภาพของทีม ค านึงถึงผล ที่เกิดต่อผู้อื่นและสังคม 3.เล่นกีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบุคคล / คู่ กีฬาประเภททีมได้อย่างน้อย 1 ชนิด 4. แสดงการเคลื่อนไหวได้อย่างสร้างสรรค์ 5.เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการนอกโรงเรียน และน าหลักการแนวคิด ไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนและสังคม มาตรฐาน พ 3.2รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าสม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา 1.ออกก าลังกายและเล่นกีฬาที่เหมาะสมกับตนเองอย่างสม่ าเสมอ และใช้ความสามารถของตนเองเพ่ิมศักยภาพของทีม ลดความเป็นตัวตน ค านึงถึงผลที่เกิดต่อสังคม 2.อธิบายและปฏิบัติเกี่ยวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธีต่างๆ ในระหว่างการเล่น การแข่งขันกีฬากับผู้อื่นและน าไปสรุปเป็นแนวปฏิบัติและใช้ในชีวิตประจ าวันอย่างต่อเนื่อง 3.แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเล่นและการแข่งขันกีฬา ด้วยความมีน้ าใจนักกีฬา และน าไปใช้ปฏิบัติทุกโอกาส จนเป็นบุคลิกภาพที่ดี 4.ร่วมกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬาอย่างมีความสุข ชื่นชมในคุณค่าและความงามของการกีฬา

Page 50: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค)

คะแนนปลายภาค

ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.3.1 ตัวชี้วัดที่ 1-5 มฐ.3.2 ตัวชี้วัดที่ 1-4

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

มฐ.3.1 ตัวชี้วัดที่ 1-5 มฐ.3.2 ตัวชี้วัดที่ 1-4

สภาพจริง 25+5 คะแนน กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พร้อมเกณฑ์การให้คะแนน) คะแนนการสื่อสาร 10 คะแนน

1. ความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา 5 คะแนน

2. ความสนใจต่อกระบวนการเรียนรู้ 5 คะแนน

รายละเอียดการสอบ หัวข้อเรื่องการล่อเป้า( 15 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะการล่อเป้า 10 ความต่อเนื่องในการล่อเป้า 5

หัวข้อเรื่องการชกเป้า (15 คะแนน) พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะการต่อยมวยสากล 5 ทักษะการชกเป้า 5

ความแม่นย าในการล่อเป้า 5 คะแนนสอบตามสภาพจริง25+5คะแนน หัวข้อเรื่องกระโดดเชือก(10 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะความถูกต้อง 5

จ านวนครั้งตามเวลาที่ก าหนด 5 หัวข้อเรื่องการต่อยหมัดชุด (15 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะความถูกต้อง 15

จ านวนครั้งตามเวลาที่ก าหนด

สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)

Page 51: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

หัวข้อเรื่องอ่าน คิด วิเคราะห์ ( 5คะแนน) คะแนนสอบแฟ้มสะสมงาน 10คะแนน หัวข้อเรื่องพันมือ(10 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะความถูกต้อง 5

ท าได้ตามเวลาที่ก าหนด 5 สอบปลายภาค 20 คะแนน รายละเอียดการสอบ หัวข้อเรื่องการจับคู่ชก(20 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะกีฬามวยสากล 10 ทักษะการป้องกันตัว 5

ความมีน้ าใจนักกีฬา 5 หนังสืออ้างอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม หนังสือแบบเรียน วพ มวยสากล เอกสาร แบบฝึกหัด แผ่นภาพ หนังสือห้องสมุด ค้นคว้าเพ่ิมเติมจากอินเตอร์เน็ต

Page 52: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment

Course Title :English IE. 2 (Reading) Course Code: EN32204 Instructors: 1. Mr. CharinwitSeedanont 2. Ms. ChatchadaStanley

ClassLevel: Secondary 5 Semester 2 Academic year2017 2 periods / week 40 periods/semester (Class 5/1-5)

3 periods/ week 60 periods/semester (Class 5/8) 4 periods/ week 80 periods/semester (Class 5/6 – 7) Basic Subject Intensive Subject Others............... Course Description : The English Reading course aims to ameliorate students’ multi-tasking abilities through communicating in English academically, formally, and globally. Students are perfecting their reading skills through various materials available in printed materials and on the Internet. Information retrieved will be analyzed and synthesized into useful matters, for students are able to deploy the latter into their presentations of multi-form units. Regarding the process of learning, students are required to do research for certain data to support their arguments made upon enquiries, concerning either quotations or lengthy passages provided. The reliability of supporting information retrieved must be clarified by students’ capacity in making decisions.

Note that all in-class and extra exercises are to motivate the students’ honesty, responsibility, discipline, attempt, and their inquisitive mind in learning. To achieve, they need to have precise work, self-confidence, creativity, loyalty to the school as well as having positive attitude towards learning English. Basic Standard of Learning : Component : Standard : F 1 Language for Communication F1.1 Understanding of and capacity to interpret what

has been heard and read from various types of

media, and ability to express opinions with

proper reasoning.

F 2 Language and Culture F2.2 Appreciation of similarities and differences between language and culture of native and Thai speakers, and capacity for accurate and appropriate use of language.

Page 53: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Component : Standard :

F 3 Language and Relationship with Other Learning Areas

F3.1 Usage of foreign languages to link knowledge

with other learning areas, as foundation for

further development and to seek knowledge

and widen one’s world view.

F 4 Language and Relationship with Community and the World

F4.1 Ability to use foreign languages in various situations in school, community and society.

F4.2 Usage of foreign languages as basic tools for further education, livelihood and exchange of learning with the world community.

Indicators : F1.1.2 Accurately read aloud texts, news, advertisements, poems, and skits by observing the principles

of reading.

F1.1.4 Identify the main idea, analyse the essence, interpret and express opinions from listening to

and reading feature articles and entertainment articles, as well as provide justification and examples

for illustration.

F2.2.2 Compare the differences/similarities between the festivals, celebrations and traditions of native

speakers and those of Thai.

F3.1.1 Research/search for, make records, summarizes and express opinions about the data related to

other learning areas, and present then through speaking and writing.

F4.1.1 Use language for communication in real situations/simulated situations in the classroom,

school, community and society.

F4.2.1 Disseminate/ convey to the public data and news about the school, community and the local

area/ the nation in foreign languages

Evaluation and Assessment

During the course Indicators (Mid-term) Final examination

Indicators (Final examination)

Communication 10 marks

F1.1.2, F1.1.4

30 marks

F1.1.2, F1.1.4

Authentic 20 marks

F2.2.2 F2.2.2

Performance test F3.1.1 F3.1.1

Page 54: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

30 marks Portfolio

10 marks F4.1.1, F4.2.1 F4.1.1, F4.2.1

Total 100 marks

Assessment 1. Performance Assessment (30 marks) The performance assessment is divided into 2 sections. The first division is of written examination. It asks students to clarify the underlined parts according to various purposes. The second part is to underline students’ ability in analyzing data and information acquired through reading. This is of 40 multiple-choice items. The proportion of each section’s marks is to be declared in class, otherwise the first task will be one-third of the entire marks while the rest is of two-thirds. 2. Final Examination (30 marks) The assessment aims to evaluate the progress of students’ critical thinking skill through matters discussed in class – identical or unseen. There are cartoon strips, quotes, some excerpts of literary works, articles in magazines, and also their vocabulary acquisition.

References : 1. Practical English for Developing Analytical Ability by C. Seedanont 2. IELTS Language Practice by M. Vince & A. French 3. English by Newspaperby T. Fredrickson & P. Vedel 4. Active Skills for Reading 3 by Anderson 5. Highlight of Reading and Writing 6 by L. Kesornkam& S. Suwannaaksorn 6. Pragmatics by G. Yule 7. Concentrate of Critical Reading 6A by W. Rangabtook& S. Porsattayarak 8. Total English Upper Intermediate: Student’s Book by R. Acklam& A. Crace 9. Mastery by G.Valcourt&L.Wells 10.Interactions2: Reading by P.Heartmann&E.Kirn

Remarks : Reference 1 is a supplementary textbook composed by the current responsible teacher, C. Seedanont, which aims to develop the critical thinking skill through reading various types of texts.

Page 55: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชา หน้าที่พลเมือง รหัส ส30224 ครูผู้สอน มาสเตอร์ธงชัย พรหมจรรย์ มาสเตอร์วิเชียร ภคพามงคลชัย

ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 /2560 จ านวน 1คาบ/สัปดาห์ 20คาบ/ภาคเรียน จ านวน 0.5หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา แสดงออก แนะน าผู้อ่ืน และยกย่องบุคคลที่มีความเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องใฝ่หาความรู้ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม และสนับสนุนให้ผู้อ่ืนแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง ประยุกต์และเผยแพร่ พระบรมราโชวาท ในเรื่องการมีระเบียบวินัย ความสามัคคี หลักการทรงงาน ในเรื่องระเบิดจากข้างใน ไม่ติดต าราบริการรวมที่จุดเดียว ใช้ธรรมะปราบอธรรม และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ และยอมรับผลที่เกิดจากการกระท าของตนเอง ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างและส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้อื่นเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในเรื่องการเป็นผู้น าและการเป็นสมาชิกที่ดี การใช้สิทธิและหน้าที่ การใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ ความกล้าหาญทางจริยธรรม การเสนอแนวทางการแก้ปัญหาสังคมต่อสาธารณะ การติดตามและประเมินข่าวสารทางการเมือง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมือง ประยุกต์ใช้กระบวนการประชาธิปไตยในการวิพากษ์ประเด็นนโยบายสาธารณะที่ตนสนใจ มีส่วนร่วมและตัดสินใจเลือกตั้งอย่างมีวิจารณญาณ รู้ทันข่าวสารและรู้ทันสื่อคาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้าบนพ้ืนฐานของข้อมูล มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาเมื่อเกิดความขัดแย้งโดยสันติวิธี ด้วยการเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรอง การระงับความขัดแย้ง และสร้างเครือข่ายป้องกันปัญหาความขัดแย้ง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต อดทน และยอมรับผลที่เกิดจากการกระท าของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแก้ปัญหา และกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนมีลักษณะที่ดีของคนไทย ภาคภูมิใจในความเป็นไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง มีวิจารณญาณในการเลือกตั้ง และการวิพากษ์นโยบายสาธารณะ อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสันติ สามารถจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี และมีวินัยในตนเอง สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน8ผลการเรียนรู้) สาระท่ี 2 หน้าที่พลเมือง จุดเน้นที่ ความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ผลการเรียนรู้ (4) เป็นแบบอย่างและส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้อ่ืนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย (5) ประยุกต์ใช้กระบวนการประชาธิปไตยในการวิพากษ์ประเด็นนโยบายสาธารณะที่ตนสนใจ (6) มีส่วนร่วมและตัดสินใจเลือกตั้งอย่างมีวิจารณญาณ (7) รู้ทันข่าวสารและรู้ทันสื่อ (8) คาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้าบนพื้นฐานของข้อมูล

Page 56: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

จุดเน้นที่ 4 ความปรองดอง สมานฉันท์ ผลการเรียนรู้ 1. มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเมื่อเกิดความขัดแย้งโดยสันติวิธี และสร้างเครือข่ายป้องกันปัญหาความขัดแย้ง จุดเน้นที่ 5 ความมีวินัยในตนเอง ผลการเรียนรู้ 1. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค)

1. การสื่อสาร …10… คะแนน จุดเน้นที่ 3, 4, 5 ผลการเรียนรู้ที่ 4, 5, 6,

7, 8, 10 และ 13

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

จุดเน้นที่ 3, 4, 5 ผลการเรียนรู้ที่ 4, 5, 6, 7, 8,

10 และ 13

2.สภาพจริง …30… คะแนน จุดเน้นที่ 3, 4, 5 ผลการเรียนรู้ที่ 4, 5, 6,

7, 8, 10 และ 13 3.กลางภาค/ปฏิบัติ …30… คะแนน จุดเน้นที่ 3

ผลการเรียนรู้ที่ 4, 5, 6, 7, 8

4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน จุดเน้นที่ 3, 4, 5 ผลการเรียนรู้ที่ 4, 5, 6,

7, 8, 10 และ 13 รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน 1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)…30…. คะแนน รายละเอียดการสอบ 1. สอบเก็บคะแนนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (15 คะแนน) 2. สอบปฏิบัติ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การจัดการความขัดแย้งและสันติวิธี การค้นคว้า และสืบค้นข้อมูล และการน าเสนอหน้าชั้นเรียนเป็นรายกลุ่ม (การสร้างเครือข่ายป้องกันปัญหาความขัดแย้งและสันติวิธี) (15 คะแนน) รายละเอียดการสอบ 1.พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย 2.การมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง(เช่น การใช้กระบวนการประชาธิปไตยในการวิพากษ์ประเด็นนโยบายสาธารณะ, การมีส่วนร่วมและตัดสินใจเลือกตั้งอย่างมีวิจารณญาณ , การรู้ทันข่าวสารและรู้ทันสื่อและการคาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้าบนพ้ืนฐานของข้อมูล) 3. การจัดการความขัดแย้งและสันติวิธี หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. เอกสารประกอบการเรียนที่ครูผู้สอนจัดท าขึ้น 2. หนังสือเรียนกิจกรรมรายวิชาเพ่ิมเติม หน้าที่พลเมือง 3-4 ส านักพิมพ์วัฒนาพาณิชย์

2. สอบปลายภาค 20 คะแนน

Page 57: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

เอกสารสรุป

ชื่อ ........................................................................... นามสกุล................................................................... เลขที่ ........................... ห้อง ม.5/.......................

ปีการศกึษา 2560

ระดบัช ัน้มธัยมศกึษาปีที่ 5

โครงการสอนและการวดัและประเมนิผล

ศลิป์ค านวณ

ภาคเรียนที่ 2

Page 58: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา ภาษาไทยพื้นฐานรหัส ท 32104 ครูผู้สอน มาสเตอร์ชัยพล ขอดทอง ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2/2560 จ านวน2คาบ/สัปดาห์ 40คาบ/ภาค จ านวน 1.0หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วชิาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ...................... ค าอธิบายรายวิชา นักเรียนตีความ แปลความ ขยายความจากเรื่องที่อ่านเช่น บทความ ร้อยแก้วประเภทต่างๆฉันทลักษณ์หลายชนิด วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับวิถีชีวิตของคนในสังคม สังเคราะห์ข้อคิดเพ่ือน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันผ่านวรรณคดีมรดกและวรรณกรรมร่วมสมัย เช่น มัทนะพาธา ศึกษารายละเอียดของวรรณคดีในแง่มุมต่างๆ จินตภาพ โวหารภาพจน์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบ คุณค่าทางวรรณศิลป์ คุณค่าทางสังคม นาฎลีลาในบทประพันธ์ ตลอดจน ฉันทลักษณ์หลากหลายรูปแบบเช่น โคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ โคลงสี่สุภาพ กาพย์ยานี 11 กาพย์ฉบัง16 กาพย์สุรางคนางค์28 กลอนสุภาพ ร่ายยาว ร่ายดั้น อินทรวิเชียร์ฉันท์ ภุชงคประยาตฉันต์ เป็นต้น ศึกษาระดับของภาษาเพื่อวิเคราะห์ ความแตกต่างของระดับภาษาแต่ละระดับและใช้ได้อย่างถูกต้อง ฝึกกระบวนการพัฒนาการสื่อสาร แสดงความสัมพันธ์ของการใช้ภาษากับความคิด ภาษากับเหตุผล การร้อยเรียงประโยคผ่านกระบวนการ เชื่อมค า ซ้ าค า ละค า และแทนค าฝึกทุกษะการสังเกตค า เช่น การอ่านออกเสียง การสะกดค า ตลอดจนการใช้ค าให้เหมาะสมและถูกต้อง สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวนตัวช้ีวัด) สาระท่ี 1 การอ่าน มาตรฐานที่ ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพ่ือน าไปตัดสินใจ แก้ปัญหาในการด าเนินชีวิตและมี นิสยัรักการอ่าน ตัวช้ีวัด 2. ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อ่าน 3.วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่านในทุก ๆ ด้านอย่างมีเหตุผล 4. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน และประเมินค่าเพ่ือนน าความรู้ ความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการ ด าเนินชีวิต 5. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งกับเรื่องที่อ่าน

6. ตอบค าถามจากการอ่านประเภทต่าง ๆ ภายในเวลาที่ก าหนด 7. อ่านเรื่องต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน

8. สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแห่งเรียนรู้ต่าง ๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการ เรียนและพัฒนาความรู้ทางอาชีพ สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐานที่ ท 2.1ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียน

รายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ

Page 59: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

ตัวช้ีวัด 1. เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้องมีข้อมูลและสาระส าคัญ ชัดเจน 4. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่าง ๆ 6. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องท่ีสนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการและใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่าง ถูกต้อง 7. บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพ่ือน าไปพัฒนาตนเองอย่างสม่ าเสมอ 8. มีมารยาทในการเขียน สาระท่ี 3 การการฟัง การดู และการพูด มาตรฐานที่ ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่าง

ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ตัวช้ีวัด 1. สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู 2. วิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล 3. ประเมินเรื่องที่ฟังและดูแล้วก าหนดแนวทางน าไปประยุกต์ใช้ในการด าเนินชีวิต 4. มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟังและดู 5. พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจและเสนอแนวคิดใหม่ 6. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด สาระท่ี 4 หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐานที่ ท 4.1เข้าใจธรรมชาติของภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษาและรักษาภาษาไทยไว้ เป็นสมบัติของชาติ ตัวช้ีวัด 1. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษาและลักษณะของภาษา 2. ใช้ค าและกลุ่มค าสร้างประโยคตามวัตถุประสงค์ 7. วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐานที่ ท 5.1เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและน ามา ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตัวช้ีวัด 1. วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น 2. วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต 3. วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ของชาติ 4. สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

Page 60: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค)

1. การสื่อสาร10 คะแนน ท.1.1 (2,3,4,5,6,7,8) ท 2.1 (1,4,7) ท 3.1 (1,2,3,5,6)

คะแนนเต็ม 30 คะแนน

ท.1.1 (2,3,4,5,6,7,8) ท 2.1 (1,4,8) ท 3.1 (1,2,3,5,6) ท 4.1 (1,2,7) ท 5.1 (1,2,3,4)

2.สภาพจริง 20คะแนน

ท.1.1 (2,3,4,5,6,7,8) ท 2.1 (1,4,8) ท 3.1 (1,2,3,5,6) ท 4.1 (1,2,7) ท 5.1 (1,2,3,4)

3.กลางภาค/ปฏิบัติ30 คะแนน

ท.1.1 (2,3,4,5,6,7,8) ท 2.1 (1,4,8) ท 3.1 (1,2,3,4,5,6) ท 4.1 (1) ท 5.1 (1,2,3,4)

4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน ท.1.1 (2,3,4,5,6,7,8) ท 2.1 (1,4,8) ท 3.1 (1,2,3,5,6)

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)30 คะแนน รายละเอียดการสอบ

- แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ - โครงสร้างของการแสดงเหตุผล - วิธีแสดงเหตุผลและการอนุมาน - การใช้ค าและความหมาย - การใช้ภาษาอธิบาย บรรยายและการพรรณนา

รายละเอียดการสอบ

- แนวคิดและค่านิยมในงานประพันธ์ - การถามตอบอย่างมีประสิทธิภาพ - การเขียนผังมโนภาพ - คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร - ภาษากับวัฒนธรรม

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม - หนังสือหลักและการใช้ภาษาไทย ของ กรมวิชาการและอาจารย์ก าชัย ทองหล่อ - หนังสือหลักภาษาไทย ของ อาจารย์จงชัย เจนหัตถการกิจ - หนังสือประวัติวรรณคดีไทย 1 ของ เสนีย์ วิลาวรรณ และคณะ

2. สอบปลายภาค 30 คะแนน

Page 61: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject :Mathematics IE Code ค 32104 Instructors: 1. Miss NattareeSiricharoonwong, 2. Miss Maria VerberlieRedoble

ClassLevel Primary ................Secondary5 Semester2 Academic year2017 2 periods /week 40 periods/semester 1 units of learning Basic Subject Intensive Subject Others........................ Course Description :

To enrich mathematical skills and processes, so that the students are able to practice, experiment, conclude and report so as to improve their calculating assessment, problem solving, valid argument, and mathematical communication. In addition students should be able to select and use appropriate and efficient techniques and strategies to solve problems of increasing difficulty for lifelong learning and adaptation to everyday situations. The students must have a positive attitude towards mathematics and be able to work neatly and logically.

The assessment and the evaluation are conducive to diversification of the different aspects depending on the actual performance of content and skills that have to be improved. Learning Standards and Indicators :

Strand Standards

Strand :Statistics and Data Sub-Strand :

1. Examples of Cases and Problems 2. Definition of Statistics 3. Decisions Making and Planning 4. Data and Collecting Data

Standard M5.2: Application ofstatistical methodology and knowledge ofprobabilityforvalid estimation

Strand 5: Data Analysis Sub-Strand :

1. Frequency Distribution 2. Relative Frequency 3. Relative Cumulative Frequency 4. Graphical Representation of Data 5. Measure of Central Tendency 6. Partition Values 7. Dispersion or Variation 8. The 95% Rule 9. Box-and-whisker Plot

Standard 5.1 :Understanding and ability to apply statistical methodology for data analysis. Standard 5.2 : Application ofstatistical methodology and knowledge ofprobabilityforvalid estimation.

Page 62: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Indicators (Learning Outcomes): Strand : Statistics and Data / Data Analysis 1. Define statistics 2. Differentiate descriptive statistics from inferential statistics 3. State and explain the statistical methods 4. Differentiate information from data 5. Compare the types of data 6. Identify the methods of collecting data 7. State the importance of Statistics 8. Construct ungrouped and grouped frequency distribution table 9. Identify variable and frequency 10. Explain how to find the cumulative frequency 11. Make a cumulative frequency table of ungrouped and grouped data 12. Compute the relative frequency and relative cumulative frequency 13. Identify the different kinds of graphical representation of data 14. Construct histogram 15. Make a stem-and-leaf plot 16. Identify the measures of central tendency 17. Compute the mean of raw, ungrouped and grouped data 18. Determine the median of raw, ungrouped and grouped data 19. Solve the mode of raw, ungrouped and grouped data 20. Interpret the graph of the given data 21. State the appropriate measure of central tendency to be used in a given situation 22. Identify the partition values 23. Solve the quartile of raw, ungrouped and grouped data 24. Compute the deciles of raw, ungrouped and grouped data 25. Calculate the percentile of raw, ungrouped and grouped data 26. Identify the range of the given set of data 27. Calculate the standard deviation and variance in a set of data 28. Explain the 95% rule 29. State the relationship among frequency distribution, central tendency and dispersion 30. Construct a box-and-whisker plot 31. Interpret box-and-whisker plot 32. Appreciate the importance of data analyzes Skill/ Process (used for every content) 33. Use various strategies to solve problems 34. Use mathematical knowledge to solve problems in real life situations. 35. Use inductive and deductive reasoning to help making conclusion and decision.

Page 63: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

36. Use mathematical language and symbols to communicate and represent ideas precisely and appropriately.

37. Connect mathematical concepts, principles, and methods and other knowledge to explain conclusions.

38. Apply mathematical knowledge and skills in working and living. 39. Work creatively.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination

Indicators (Final examination)

1.Communication 10 marks 33 - 39 30 Marks

1 – 32 2.Authentic Test 20 marks 1 - 39

3.Performance test (Mid-term) 30 marks

1 - 25

4.Portfolio10 marks 1 - 39

Total 100 marks

Assessment 1. Mid-term Test /Performance Assessment (20 marks)

Topics Content

Chapter 3: Statistics and Data 1. Definition of Statistics 2. Data and Collecting Data

Chapter 4: Data Analysis

1. Frequency Distribution 2. Relative Frequency 3. Relative Cumulative Frequency 4. Graphical Representation of Data 5. Measure of Central Tendency 6. Partition Values

Page 64: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

2. Final Examination (30 marks)

References:According the text book from ipst (สสวท) in Basic Thailand Education Curriculum and handouts provided. Remarks : This course outline may be changed in any suitable case.

Topics Content

Chapter 3: Statistics and Data 1. Definition of Statistics 2 Data and Collecting Data

Chapter 4: Data Analysis

1. Frequency Distribution 2. Relative Frequency 3. Relative Cumulative Frequency 4. Graphical Representation of Data 5. Measure of Central Tendency 6. Partition Values 7. Dispersion or Variation 8. box-and-whisker plot 9. 95% rule

Page 65: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment Subject : Science I.E Code Sc32104

Instructors: Mr. Premsak Ratiwiriyapong

ClassLevel: Secondary 5 Semester2 Academic year2017 2 periods/week40 periods/semester 1.0 credit of learning

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description : The course gives an overview over the processes of ecosystem, distinguish between biotic and abiotic factors of the environment, and describe the different levels of ecological organization. Define biological interactions and give examples.Explain the dispersion patterns of different populations.Explainabout 10% law in ecosystem and distinguish among the type of pyramid in ecosystem. Distinguish among producers, consumers, anddecomposers and describe the differences between a food chain and a food web. Describe and draw the diagram the water cycle and explain its importance to living organisms. Discuss the relationship between the oxygen cycle and the carbon cycle and diagram the carbon-oxygen cycle and explain its importance to living organisms. Explain why balance is important in an ecosystem and name and briefly describe the major issues in ecology today. Explain the term biodiversity. Learning Standard:

Strand Standard Strand 1 : Ecology Strand 2 : Population Ecology Strand 3 : Mineral cycle

Standard Sc2.1: Understanding of local environment;

relationship between the environment and living things;

relationship between living things in the eco-system;

investigative process for seeking knowledge and scientific

mind; and communicating acquired knowledge that could

be applied for useful purposes

Strand 4 : Biodiversity Strand 5 : World Issue

Standard Sc2.2: Appreciating the importance of natural

resources; utilization of natural resources at local, national

and global levels; and application of knowledge for

management of natural resources and local environment on

a sustainable basis

Page 66: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Indicators :(Write the details in items) Standard Sc2.1: Understanding of local environment; relationship between the environment and living things; relationship between living things in the eco-system; investigative process for seeking knowledge and scientific mind; and communicating acquired knowledge that could be applied for useful purposes1. Distinguish between biotic and abiotic factors of the environment.

2. Describe the different levels of ecological organization 3. Distinguish among the role of organism in ecosystem. 4. Describe the differences between a "food chain" and a "food web.” 5. Explain 10% law in ecosystem. 6. Distinguish among the pyramid of number, the pyramid of energy, the pyramid of biomass. 7. Define biological interactions between the organisms 8. Explain and calculate the population density and population patterns

9. Describe and diagram the water, oxygen, carbon dioxide and nitrogen cycle and explain its importance to living organisms.

Standard Sc2.2: Appreciating the importance of natural resources; utilization of natural resources at local, national and global levels; and application of knowledge for management of natural resources and local environment on a sustainable basis

1. Name and briefly describe the major issues in environment today 2. Explain the term biodiversity. Explain the term of biodiversity. 3. Explain the classification system 4. Explain the difference between the 5 kingdoms of organisms 5. Describe the characters of the organism in each Kingdom 6. Discuss the human activities can change the balance of ecosystem

7. Explain cause of global warming, green house effect Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication10 marks Standard Sc2.1(1-9) Standard Sc2.2(1-7)

30 marks Standard Sc2.2(1-7)

Authentic 20 marks Standard Sc2.1(1-9) Standard Sc2.2(1-7)

Performance test 30 marks Listening test 5 marks

Standard Sc2.1(1-9)

Portfolio10 marks Standard Sc2.1(1-9) Standard Sc2.2(1-7) Standard Sc3.1(1-6)

Total100marks

Page 67: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Assessment 1. Performance Assessment ( 30 marks) Topic / subject matter:

- Ecology 3. Final Examination ( 30 marks) Topic / subject matter:

-Biodiversity and world issue References : My World of Science Secondary 4-6 Biology, Orient Blackswan Private Limited, Indi

Page 68: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject :Social Studies IE. Code SO32107 Instructors: Mr. Napoth Rattanakosai

ClassLevel: Secondary ……5……....Semester………2………. Academic year2017 2 Periods /week ........40...... Periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description : This course is study about Ancient Civilization on the eastern and the western part of the world. This content are including the advancement and the innovation of Ancient Civilization which has an affected to the world nowadays such as Mesopotamia, Egypt, China, India, Greek and Roman Students will be trained the needed skills such as critical skill and analytical skill by using historical process to acquire knowledge and comprehension. to analyze the ancient civilization that shows human’s ability The Learning Standard:

Strand Standard Strand 4 : History Unit 1: Mesopotamia Unit 2: Ancient Egypt Unit 3: Ancient Greek Unit 4: Roman Empire Unit 5: Indus valley Civilization Unit 6: Ancient China

So 4.2.1 Analyze the importance of ancient civilizations and communication between the Eastern and Western world affecting development and change in the world. So 4.2.2 Analyze various important events affecting social, economic and political changes leading to the present world.

Indicators :So 4.2.1 1. Are capable of describing the definition of history 2. Are capable of describing the different between culture and civilization 3. Understand important events in the history of Ancient Civilization 4. Know the Ancient Civilizationculture Indicator :So 4.2.2 1. Know the Ancient Civilization advancement 2. know the Ancient Civilization innovation 3. Understand contributions of the Ancient Civilization to the modern world.

Page 69: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication.10.marks So.4.2.1.1 – So.4.2.2.3 30 Mark So.4.2.1.1 – So.4.2.2.3 Authentic..20..marks So.4.2.1.1 – So.4.2.2.3 Performance test....30...marks

So.4.2.1.1 – So.4.2.2.3

Portfolio ....10..marks So.4.2.1.1 – So.4.2.2.3

Total100marks Assessment 1. Performance Assessment (30 marks) Topic / subject matter: - Unit 1: Mesopotamia - Unit 2: Ancient Egypt - Unit 3: Ancient Greek 2. Final Examination (30 marks) Topic / subject matter: - Unit 4: Roman Empire

- Unit 5: Indus valley Civilization - Unit 6: Ancient China References: Topic / subject matter: -Worksheet and notebook

Page 70: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิชา ประวัติศาสตร์ พ้ืนฐานรหัส ส 32107

ครูผู้สอน 1. มาสเตอร์วิเชียร ภคพามงคลชัย 2. มาสเตอร์ธงชัย พรหมจรรย์

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2/2560

จ านวน 2 คาบ/สัปดาห์ 40 คาบ/ภาค จ านวน 1 หน่วยการเรียน

วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................

ค าอธิบายรายวิชา

ตระหนักถึงความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติศึกษา

การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ วิเคราะห์อิทธิพลของอารย

ธรรมโบราณและการติดต่อระหว่างโลกตะวันออกและตะวันตกที่มอิีทธิพลต่อการพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของโลก

โดยใช้กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการท างาน กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสืบค้น

กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการแก้ปัญหา

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความส าคัญของเวลาและยุคประวัติศาสตร์ สามารถน าความรู้มา

ปรับใช้ในการด าเนินชีวิตที่จะต้องรับผลกระทบจาการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกช่วยให้ด าเนินชีวิตอย่างสันติสุข

วิเคราะห์เหตุการณ์ส าคัญต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน

ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกาและเอเชีย สถานการณ์ของโลกใน

คริสต์ศตวรรษที่ 21

โดยใช้กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการท างาน กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสืบค้น

กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการแก้ปัญหา

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงเหตุการณ์ส าคัญต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก

ซึ่งสามารถน าความรู้มาปรับใช้ในการด าเนินชีวิตที่จะต้องรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและ

การเมืองของโลกปัจจุบัน ช่วยให้สังคมเกิดสันติสุข

สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน6 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 4 มาตรฐานที ่ส.4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง

ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ ตัวช้ีวัด 1.ตระหนักถึงความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของ

มนุษยชาติ 2.สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ

Page 71: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

มาตรฐานที ่ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความส าคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดข้ึน ตัวช้ีวัด 1.วิเคราะห์อิทธิพลของอารยธรรรมโบราณ และการติดต่อระหว่างโลกตะวันออกโลกตะวันตก ที่มีผลต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของโลก 2. วิเคราะห์เหตุการณ์ส าคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน 3. วิเคราะห์ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย 4. วิเคราะห์สถานการณ์ของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวชี้วัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดที(่ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน

ส 4.1 ข้อ 1, 2

คะแนนเต็ม 30 คะแนน ส 4.2 ข้อ 1, 2,3,4

2. สภาพจริง 20 คะแนน

3. กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

4. แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1เวลา ยุคสมัยและวิธีการทางประวัติศาสตร์

- ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

- การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล

- การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์สากล

- ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์

- ตัวอย่างการน าวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์สากล

2. หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 พัฒนาการและการสร้างสรรค์อารยธรรม

- แหล่งอารยธรรมตะวันตก

-

รายละเอียดการสอบ

1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 3เหตุการณ์ส าคัญในประวัติศาสตร์โลก

2. สอบปลายภาค (Final Examination) 30คะแนนคะแนน

Page 72: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

- เหตุการณ์ส าคัญในประวัติศาสตร์โลกที่มีผลกระทบต่อโลกปัจจุบัน

- ความร่วมมือและความขัดแย้งของมนุษยชาติ

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

กุลพล พลวัน. (2527). สิทธิมนุษยชนกับสหประชาชาติ. กรุงเทพฯ:ศูนยบริการเอกสาร กรมอัยการ.จุณณเจิม ยุวรี และ

คณะ. (2541). เหตุการณโลกปจจุบัน. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฎสวนดุสิต.

ฉัตรทิพย นาถสุภา. (2526). ลัทธิเศรษฐกิจการเมือง. กรุงเทพฯ:ไทยวัฒนาพานิชย.

ชาคริต ชุมวัฒนะ. (2546). ชีวิตและสังคมแรงงานชั้นอังกฤษในคริสศตวรรษที่ 19. กรุงเทพฯ:ศักดิ์โสภาการพิมพ

ธนู แกวโอภาส. (2542). ประวัติศาสตรโลก. กรุงเทพฯ:สุขภาพใจปรีชา ศรีอาลัย. (2546). สงครามโลกครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:

โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส.ปรีชา ศรีวาลัย. (2548). สงครามโลกครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ:โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2543). สารานุกรมประวัติศาสตรสากลสมัยใหม:ยุโรป เลม 3 อักษร E – G ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.

กรุงเทพฯ:ราชบัณฑิตยสถาน.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). สารานุกรมประวัติศาสตรสากลสมัยใหม:ยุโรป เลม 4 อักษร H – K ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.

กรุงเทพฯ:ราชบัณฑิตยสถาน.

วิมลวรรณภัทโรดม. (2540). ยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่สอง. กรุงเทพฯ:ศักดิ์โสภาการพิมพ

ศิโรฒน คลามไพบูลย. (2545). จักรวรรดินิยมกับการกอการราย. กรุงเทพฯ:โครงการวิดีทรรศน

สมพงษ ชูมาก. (2533). องคการระหวางประเทศ:สันนิบาตชาติสหประชาชาติ. กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สัญชัย สุวังบุตร. (2545). ประวัติศาสตรโซเวียตสมัยเลนิน ค.ศ.1917 – 1924. กรุงเทพฯ:ศักดิ์โสภาการพิมพ

สุปราณี มุขวิชิต. (2532). ประวัติศาสตรยุโรป ค.ศ. 1815 – ปจจุบัน เลม 1. กรุงเทพฯ:โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส.อักษรศาสตร,

คณะ. (2533). อารยธรรมสมัยใหม – ปจจุบัน. กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Page 73: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา สุขศึกษารหัส พ. 32104 ครูผู้สอน มิสฤทัยทิพย์ เอ่ียมสุเมธ

ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ …5/1-8..... ภาคเรียนที่ …2…./2560 จ านวน 1 คาบ/สัปดาห์ 20คาบ/ภาคเรียน จ านวน 0.5หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วชิาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ....................

ค าอธิบายรายวิชา 1. ใส่ใจสุขภาพ การที่เราจะมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีนั้น การดูแลและใส่ใจสุขภาพเป็นเรื่องส าคัญยิ่ง โดยเฉพาะการปฏิบัติตามหลักการดูแลและใส่ใจสุขภาพที่ถูกต้อง ทั้งในเรื่องการดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่เราอยู่ การเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ การระมัดระวังตนเองในขณะประกอบอาชีพ การจัดการกับอารมณ์และความเครียด การให้เวลาในการออกก าลังกาย พักผ่อน ผ่อนคลายด้วยกิจกรรมนันทนาการและการเลือกใช้ภูมิปัญญาไทยในการป้องกันและบ าบัดรักษาโรค ทั้งนี้สุขภาพที่ดีที่เราตั้งเป้าหมายไว้ก็จะบรรลุผลส าเร็จได้นั่นเอง

2. ชีวิตปลอดภัย ในปัจจุบันการด าเนินชีวิตของมนุษย์ในแต่ละวัน มีแต่ความรีบเร่งและเร่งด่วน เป้าหมายของมนุษย์คือการหารายได้เพ่ือน ามาใช้จ่ายในชีวิตประจ าวันและสนองต่อความต้องการของตนเอง จนบางครั้งลืมนึกถึงความจ าเป็นและความปลอดภัยของตนเองโดยเฉพาะการเรียนรู้ทักษะในการป้องกันตนเองออกจากสิ่งที่เป็นอันตรายและภัยพิบัติต่างๆ การศึกษาทักษะการตัดสินใจออกจากความรุนแรง การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากสาธารณภัย ความปลอดภัยในชุมชน ภัยจากอุบัติเหตุและการใช้ยาและการรู้จักช่วยฟื้นคืนชีพจึงเป็นสิ่งจ าเป็นอย่างยิ่ง

สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน…5….ตัวช้ีวัด) สาระท่ี ……3……….. (ใส่ใจสุขภาพ)

มาตรฐานที่ พ4.1 รู้และเข้าใจ ปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชน ปัญหาสุขภาพในชุมชน หลักในการเลือกและวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์สุขภาพ โรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ การประเมินและจัดการกับอารมณ์และความเครียด กิจกรรมการออกก าลังกาย การพักผ่อนและนันทนาการเพื่อสุขภาพและสามารถสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคด้วยภูมิปัญญาไทยได้อย่างเหมาะสม

ตัวช้ีวัด 1 , 3 , 4 , 5 , 6 ตัวชี้วัดที่ 1 : วิเคราะห์บทบาทและความรับผิดชอบของบุคคลที่มีต่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรคในชุมชน ตัวชี้วัดที่ 3 : ปฏิบัติตนตามสิทธิของผู้บริโภค ตัวชี้วัดที่ 4 : วิเคราะห์สาเหตุและเสนอแนวทางการป้องกันการเจ็บป่วยและการตายของคนไทย ตัวชี้วัดที่ 5 : วางแผนและปฏิบัติตามแผนการพัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครัว ตัวชี้วัดที่ 6 : มีส่วนร่วมในการส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพของบุคคลในชุมชน

Page 74: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน …6…. ตัวช้ีวัด) สาระท่ี ……4……….. (ชีวิตปลอดภัย)

มาตรฐานที่ พ5.1 เข้าใจและหลีกเลี่ยงจากความรุนแรง สาธารณภัย รู้และเข้าใจปัญหาความปลอดภัยในชุมชน ปัญหาจากอุบัติเหตุและการใช้ยา ตลอดจนวิธีการช่วยฟื้นคืนชีพผู้ประสบอุบัติเหตุ

ตัวช้ีวัด 1 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 ตัวชี้วัดที่ 1 : มีส่วนร่วมในการป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยาการใช้สารเสพติดและความรุนแรง เพ่ือสุขภาพ ของตนเอง ครอบครัวและสังคม ตัวชี้วัดที่ 3 : วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพหรือความรุนแรงของคนไทยและเสนอแนวทางป้องกัน ตัวชี้วัดที่ 4 : วางแผนก าหนดแนวทางลดอุบัติเหตุและสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน ตัวชี้วัดที่ 5 : มีส่วนร่วมในการสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน ตัวชี้วัดที่ 6 : ใช้ทักษะการตัดสินใจแก้ปัญหาในสถานการณ์ท่ีเสี่ยงต่อสุขภาพและความรุนแรง ตัวชี้วัดที่ 7 : แสดงวิธีการช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกวิธี

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค) 1. การสื่อสาร …10… คะแนน มฐ.พ4.1

ตวัชี้วัดที่ 1

20

มฐ.พ4.1

ตัวชี้วัด 1 , 3 , 4 , 5 , 6 มฐ.พ5.1

ตัวช้ีวัด 1 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7

2.สภาพจริง …30…คะแนน มฐ.พ4.1 ตัวชี้วัดที่ 1,3

3.กลางภาค/ปฏิบัติ …30…คะแนน มฐ.พ5.1 ตัวชี้วัดที่ 1,3,4

4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน มฐ.พ5.1 ตัวชี้วัดที่ 7

รวมคะแนนทั้งหมด …100…….. คะแนน การทดสอบ 1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)…30…. คะแนน รายละเอียดการสอบ

1. สิ่งแวดล้อมในชุมชน , ปัญหาสุขภาพในชุมชน

2. การบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ 3. การประกันสุขภาพ 4. โรคจากการประกอบอาชีพ 5. การประเมินและจัดการกับอารมณ์และความเครียด 6. กิจกรรมนันทนาการและการพักผ่อน

7. การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคด้วยภูมิปัญญาไทย

Page 75: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

2. สอบปลายภาค ……20……… คะแนน

รายละเอียดการสอบ 1. ใส่ใจสุขภาพ

2. ชีวิตปลอดภัย

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. ใบงานความรู้ 2. หนังสือแบบเรียน 3. ข้อมูล website ต่างๆ

Page 76: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา ศิลปะ (พ้ืนฐาน) รหัสศ 32104 ครูผู้สอน มาสเตอร์ชัยวัฒน์ ชนะกานนท์ ระดับชั้น ประถมศึกษา มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียนที่ 2 / 2560

จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียนจ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ...........................

ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาและฝึกปฏิบัติ การใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบต่างๆ บรรยาย

จุดประสงค์และเนื้อหาของงานทัศนศิลป์โดยใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์ การใช้วัสดุอุปกรณ์และกระบวนการทางทัศนศิลป์ที่สูงขึ้นการสร้างงานทัศนศิลป์ด้วยเทคโนโลยีต่างๆ โดยเน้นหลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์ จุดมุ่งหมายของศิลปินในการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ เทคนิคและเนื้อหาในการสร้างงานการประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์โดยใช้ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทยและสากลด้วยการศึกษางานของศิลปินที่ตนชื่นชอบ วิเคราะห์และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออก รูปแบบตะวันตก และงานทัศนศิลป์ของศิลปินที่มีชื่อเสียง การประเมินคุณค่า พัฒนาทักษะ และประยุกต์ใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆโดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างค่านิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป์ วิเคราะห์ สร้างความคิดวิจารณญาณ เพ่ือให้ผู้เรียนมีลักษณะนิสัยด้านศิลปะชื่นชม ร่วมกิจกรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการท างาน รักความเป็นไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระที่ 1ทัศนศิลป์ มฐ. ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 1 , 2 , 4 , 5 , 7 , 8 , 9 , 10 มฐ. ศ 1.2 ตัวชี้วัดที่ 1 , 2 รวม 10 ตัวชี้วัด ตัวช้ีวัด มาตราฐาน. ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึกความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจ าวัน 1.วิเคราะห์การใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบต่างๆ

2. บรรยายจุดประสงค์และเนื้อหาของงานทัศนศิลป์โดยใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์ 4. มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุอุปกรณ์และกระบวนการที่สูงขึ้น ในการสร้างงานทัศนศิลป์ 5. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ด้วยเทคโนโลยีต่างๆ โดยเน้นหลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์ 7. วิเคราะห์และอธิบายจุดมุ่งหมายของศิลปินในการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เทคนิคและเนื้อหาเพ่ือสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ 8. ประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์โดยใช้ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ 9. จัดกลุ่มงานทัศนศิลป์ เพ่ือสะท้อนพัฒนาการ และความก้าวหน้าของตนเอง 10. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทยสากล โดยศึกษาแนวคิดและวิธีการสร้างงานของศิลปินที่ตนชื่นชอบ

Page 77: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

มาตราฐาน. ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคา่งานทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล

1. วิเคราะห์และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก 2. ระบุงานทัศนศิลป์ของของศิลปินที่มีชื่อเสียงและบรรยายผลตอบรับของสังคม

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ )ระหว่างภาค( คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดที่ )ปลายภาค(

การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 1 ,2,7,8,9 ศ 1.2 ตัวชี้วัดที1,2

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 1,4,5,7,9

สภาพจริง 30 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 4,5,7 ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5,7,8,9 แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 10

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

1. การประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1.พฤติกรรมในห้องเรียน 5 การเอาใจใส่ ตั้งใจท างานที่ได้รับมอบหมาย

2.ความรับผิดชอบ 3 ส่งงานครบทุกชิ้น และส่งตรงเวลาที่ก าหนด 3.การตอบค าถามในเรื่องที่ก าหนด 2 การมีส่วนร่วมในชั้นเรียนโดยการตอบค าถาม

2. การประเมินสภาพจริง ( 30คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. ความคิดสร้างสรรค์ 10 ฝึกฝนเทคนิคการไล่น้ าหนักสีด้วยสีไม้ 2เทคนิคการสร้างงานและการน าเสนอ 10 วาดการ์ตูนที่ชอบ และระบายสีไล่น้ าหนักสี 3.จริยะ อ่านคิดวิเคราะห์ 5 ตอบปัญหาเหตุการณ์จากโจทย์โดยยึดหลักคุณธรรมและ

จริยธรรม 4.แบบฝึกหัดภาคทฤษฎี 5 องค์ความรู้ทางด้านทัศนศิลป์

3. การประเมินปฏิบัติ / กลางภาค ( 30 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. การจัดองค์ประกอบศิลป์ 10 หลักการจัดองประกอบศิลป์ถูกต้องชัดเจน

2. เทคนิค สี ขาวด า 10 วาดภาพและระบายสีโดยใช้สีโทนร้อน โทนเย็นและขาวด า 3. การน าเสนอผลงาน 10 การอธิบายงาน บุคลิกภาพ การพูด ความพร้อม

Page 78: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

4. การประเมินแฟ้มสะสมงาน ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. การจัดท าแฟ้มสะสมงาน 5 เลือกผลงานของตนเองที่ชอบหรือประทับใจ 1 ชิ้น 2. การเขียนแสดงความคิดเห็น 3 เขียนบรรยายวิธีการท างานและความประทับใจในผลงานชิ้นนั้น

3. การส่งผลงาน 2 ความเรียบร้อย ตรงต่อเวลา

5. การประเมินปลายภาค ( 20 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

การจัดองค์ประกอบศิลป์ หัวข้อ “อนาคตของเรา”

7 การวาดภาพ จัดองค์ประกอบภาพ

7 การระบายสี ไล่น้ าหนักสี เรียบร้อย สวยงามมีความหมาย 6 ความตั้งใจ สะอาด ส่งตรงเวลา

หัวข้อเนื้อหาวิชา

1. ทฤษฎีศิลปะ 2. ทัศนธาตุและการเรียนองค์ประกอบศิลป์ 3. วิจารณ์ผลงานกับการทดสอบความรู้ความเข้าใจในศิลปะขั้นพื้นฐาน

หนังสืออ้างอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม องค์ประกอบศิลป์ (ชลูด นิ่มเสมอ) องค์ประกอบศิลป์ (ฉัตรชัย อรรถปักษ์) Internet

Page 79: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชาศิลปะดนตรีไทย (ปี่พาทย์มอญ) รหัส ศ 32103 - ศ 32104 ครูผู้สอน มาสเตอร์ชัยวัฒน์ คุณสมบัติ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ........... มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1-2 / 2560

จ านวน 1 คาบ / สัปดาห ์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระพ้ืนฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ........................ ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝึกปฏิบัติการใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบต่างๆจุดประสงค์และเนื้อหาของงานทัศนศิลป์โดยใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์การใช้วัสดุอุปกรณ์และกระบวนการทางทัศนศิลป์ที่สูงขึ้นการสร้างงานทัศนศิลป์ด้วยเทคโนโลยีต่างๆโดยเน้นหลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์จุดมุ่งหมายของศิลปินในการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เทคนิคและเนื้อหาในการสร้างงานการประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์โดยใช้ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทยและสากลด้วยการศึกษางานของศิลปินที่ตนชื่นชอบวิเคราะห์และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรปูแบบตะวันออก รูปแบบตะวันตก และงานทัศนศิลป์ของศิลปินที่มีชื่อเสียง

บทเพลงวงดนตรีประเภทรูปแบบวงดนตรีไทยและสากลสร้างสรรค์งานดนตรีอ่านเขียนโน้ตดนตรีไทย -สากล เล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวงเทคนิคการแสดงออกทางดนตรีคุณภาพของการแสดงการประพันธ์และการเล่นดนตรีความซาบซึ้งในงานดนตรีจากต่างวัฒนธรรมงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการผสมผสานการแสดงรูปแบบต่างๆประเมินคุณค่า พัฒนทักษะ และประยุกต์ใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ

โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างค่านิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป์ วิเคราะห์ สร้างทักษะการปฏิบัติทางดนตรี เทคโนโลยี สร้างความคิดวิจารณญาน เพ่ือให้ผู้เรียนมีลักษณะนิสัยด้านศิลปะชื่นชม ร่วมกิจกรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการท างาน รักความเป็นไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา

สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด สาระดนตรี มฐ. ศ 2.1 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5,6,7,8

มฐ. ศ 2.2 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5 มฐ. ศ 3.1 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5,6,7,8 มฐ. ศ 3.2 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4

ตัวช้ีวัด (ให้เขียนรายละเอียดเป็นข้อๆ) มฐ. ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่าดนตรีถ่ายทอดความรู้สึกความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน

1. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและวงดนตรีแต่ละประเภท 2. จ าแนกประเภทและรูปแบบของวง วงดนตรีทั้งไทยและสากล 3. อธิบายเหตุผลที่คนต่างวัฒนธรรมสร้างสรรค์งานดนตรีแตกต่างกัน 4. อ่าน เขียน โน๊ตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะต่างๆ

Page 80: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

5. ร้องเพลง หรือเล่นดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเน้นเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง 6. สร้างเกณฑ์ส าหรับประเมินคุณภาพ การประพันธ์และการเล่นดนตรี ของตนเองและผู้ อ่ืนได้อย่าง

เหมาะสม 7. เปรียบเทียบอารมณ์ และความรู้สึก ที่ได้รับจากงานดนตรีที่มาจากวัฒนธรรม ต่างกัน 8. น าดนตรีไปประยุกต์ใช้ในงานอ่ืน ๆ

มฐ. ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล

1. วิเคราะห์รูปแบบของดนตรีปี่พาทย์มอญในยุคสมัยต่าง ๆ 2. วิเคราะห์สถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมต่าง ๆ 3. เปรียบเทียบลักษณะเด่นของดนตรี ในวัฒนธรรมต่างๆ 4. อธิบายบทบาทของดนตรีในการ สะท้อนแนวความคิดและค่านิยม ที่เปลี่ยนไปของคนในสังคม 5. น าเสนอแนวทางในการส่งเสริมและ อนุรักษ์ดนตรีในฐานะมรดกของชาติ

มฐ. ศ 3.1เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์ วิจารณ์ คุณค่าทางนาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน

1. มีทักษะในการแสดงหลากหลาย รูปแบบ 2. สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบ ที่ชื่นชอบ 3. ใช้ความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลป์ เป็นคู่ และหมู่ 4. วิจารณ์การแสดงตามหลักนาฏศิลป์ และการละคร 5. วิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์ และการละครที่ต้องการสื่อความหมาย ในการแสดง. 6. บรรยาย วิเคราะห์ อิทธิพลของ เครื่องแต่งกาย แสง สี เสียง ฉากอุปกรณ์ และสถานที่ท่ีมีผลต่อการแสดง 7. พัฒนาและใช้เกณฑ์การประเมินในการ ประเมินการแสดง 8. วิเคราะห์ท่าทาง และการเคลื่อนไหว ของผู้คนในชีวิตประจ าวันและน ามา ประยุกต์ใช้ในการแสดง

มฐ. ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยสากล

1. เปรียบเทียบการน าการแสดงไปใช้ใน โอกาสต่าง ๆ 2. อภิปรายบทบาทของบุคคลส าคัญ ในวงการนาฏศิลป์และการละคร ของประเทศไทยในยุคสมัยต่างๆ 3. บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และ การละครไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 4. น าเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์ นาฏศิลป์ไทย

Page 81: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค) การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.1 / ศ 2.1.2 / ศ 2.1.3

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

ศ 2.1.7 สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.8 / ศ 3.1.1 ศ 3.1.2ศ

3.1.4 / ศ 3.1.6 ศ 3.1.8 ศ 3.2.1

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.4 /ศ 2.1.5 / ศ 2.2.1 ศ 2.2.2 /ศ 2.2.3 / ศ 3.1.3ศ 2.2.4

แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.6 / ศ 2.2.5 / ศ 3.1.5ศ 3.1.7 / ศ 3.2.2 / ศ 3.2.3 ศ 3.2.4

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

หัวข้อเนื้อหาวิชา

1. ทฤษฏีดนตรีไทย 2. ปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย 3. ดนตรีในวิถีชีวิต 4. ดุริยกวีดนตรีไทย 5. นาฏกรรมสยาม

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พร้อมเกณฑ์การให้คะแนน) ระหว่างเรียน 80 คะแนน

การประเมินจากการสื่อสารส่วนบุคคล(10คะแนน) ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน o การสอบปากเปล่า (ถาม/ตอบ) 5 คะแนน o ความสนใจระหว่างเรียน 3 คะแนน o มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาดนตรี 2 คะแนน

การประเมินจากการปฏิบัติ (30คะแนน) การบรรเลงเดี่ยว ตามบทเพลงที่ก าหนดให้ (โดยแบ่งการเก็บคะแนนออกเป็น 3 ครั้งๆ ละ 10 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ท านอง ถูกต้องและแม่นย า 5 คะแนน o มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

Page 82: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30คะแนน) 3.1 ความส าเร็จของชิ้นงาน (20 คะแนน)

ชิ้นงานที่ได้รับมอบหมายเป็นงานกลุ่มหรือเดี่ยว (โดยแบ่งการเก็บคะแนนออกเป็น2 ครั้งๆ ละ10คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

o รายละเอียดต่างๆ ของชิ้นงาน 5 คะแนน o ความสะอาด / เป็นระเบียบ 3 คะแนน o ทัศนคติของนักเรียนต่อการเรียนดนตรีและชิ้นงาน 2 คะแนน 3.2 การทดสอบอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียนสื่อความ (5 คะแนน) ประเมินจากการสอบข้อเขียน โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

เกณฑ์การให้คะแนน o การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม 3 คะแนน o พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุ่มดนตรี) 2 คะแนน 3.3 การสอบภาคทฤษฎี (5 คะแนน) ประเมินการสอบเนื้อหาทฤษฎีดนตรี (ไทย-สากล) – นาฏศิลป์ ตามแนวหลักสูตรแกนกลางฯ เป็นข้อสอบ

ปรนัย 4 ตัวเลือกจ านวน 15 ข้อ เกณฑ์การให้คะแนน o การทดสอบตัวเลือก 5 คะแนน

การประเมินจากการแฟ้มสะสมงาน (10 คะแนน) รายงาน เรื่อง “ศิลปินที่ข้าพเจ้าชื่นชอบ” เกณฑ์การให้คะแนน o เนื้อหาข้อมูล / องค์ประกอบหลัก 5 คะแนน o ความรับผิดชอบ / รูปแบบ 3 คะแนน o ตรงเวลา 2 คะแนน

การสอบปลายภาค 20 คะแนน การบรรเลงรวมวงตามหลักดุริยางคศาสตร์ ตามบทเพลงที่ก าหนดไว้ในหลักสูตร (20 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน o บรรเลงตามจังหวะ / ท านอง ถูกต้องและแม่นย า 10 คะแนน o มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง 5 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 5 คะแนน

หนังสืออ้างอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. ดุริยางคศ์าสตร์ไทย (กรมศิลปากร) 2. นาฏกรรมชาวสยาม (เอนก นาวิกมูล) 3. สารานุกรมศัพท์ดนตรไีทย (ฉบับราชบัณฑิต) 4. การละเล่นของไทย (มนตรี ตราโมท) 5. โลกใบนี้ดนตรีไทย (ขุนอิน โตสง่า) 6. พัฒนาการดนตรีไทย : บ้าน – วัด – วัง (อนันต์ สบฤกษ์)

Page 83: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject: Web Design Code: ง 32104 Instructor: Ms. Renu Ruttanapon Class Level: Primary……. Secondary 5 Semester: 2 Academic Year: 2017 2 periods / week 40 periods/semester Basic Subject Intensive Subject Others ………….

Course Description

Study and design site structure and site navigation including content management. Students will be able to use special techniques to develop web pages by using Application Software. Therefore, they have to practice using a variety of software in order to develop web projects. Additionally, they will be able to design graphics for web, create form for receiving data and searching for information suitable and effectively. Creatively, they will be able to search for information, and use the information to develop web pages, so, they will be able to develop their web pages and to recognize techniques, which are suitable on web pages. They will be able to create web pages with Scripts developmentally and apply technology in the most useful way to create web pages. It will make their web pages more interesting. More importantly, students will know about the importance, the usefulness and the process involved in designing web pages.

Moreover, they will work on and solve problems both individually and with others; so, they will be able to know how to work efficiently as a team and individual. They must take responsibility to protect all school properties and class material. Understand working methods to help themselves, their families and the public, use materials correctly as required for the type of work.

They will also have the morality of not copying the information from other people or companies. They are taught about habits of work that show enthusiasm, punctuality, economy, care for society, cleanliness and carefulness. Developmentally, students will be able to realize how to organize a web site project creatively and to create their web site project with special techniques in advanced. They know and understand about occupations as well as have knowledge, capacity and morality related to occupations.

Page 84: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

The Learning Standard:

Strand Standard Strand 1: Living and Family

Understanding of concept of work; endowment with creativity and skills for various aspects and work processes, management, teamwork, investigation for seeking knowledge, morality, diligence, and awareness of the need to economise on the use of energy and the environment for one’s life and for family

Strand 2: Design and Technology

Understanding of technology and technological processes; design and creation of objects and utensils or methodologies through creative technological processes; selective utilisation of technologies beneficial to one’s life, society and the environment, and participation in sustainable technological management

Strand 3: Information and Communication Technology

Understanding, appreciation, and efficient, effective and ethical use of information technology processes in searching for data, communicating, problem–solving, working and livelihood

Indicators: (Write the details in items)

O 1.1.2 Create achievements through creative thinking and have teamwork skills.

O 1.1.3 Have management skills for work.

O 1.1.4 Have skills for problem-solving processes.

O 1.1.6 Have morality and desirable characteristics and habits when working.

O 1.1.7 Cost-effectively and sustainably use energy and resources in working for conservation of the environment.

O 2.1.2 Analyse the technological system.

O 3.1.3 Explain the data communication system for computer networks.

O 3.1.5 Efficiently solve problems through information technology processes.

O 3.1.7 Develop computer projects.

O 3.1.8 Use hardware and software appropriate to various tasks.

O 3.1.9 Communicate and search for data through the Internet.

O 3.1.10 Use computers in processing data to serve as information for decision-making.

Page 85: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination

Indicators

Communication 10 marks 1.1(2) 3.1(9)

20 Marks

1.1(3, 4) 2.1(2) 3.1(5, 7, 8, 9, 10) Authentic30 marks

1.1(2, 3, 4, 6) 2.1(2) 3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10)

Performance test 30 marks

1.1(2, 3, 4, 6, 7) 2.1(2) 3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10)

Portfolio10 marks 3.1(7, 8, 9)

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Assessment (30 Marks)

Topic / subject matter:

1. Web Graphic Design

2. Creating web pages by using Tables and AP elements

3. Creating web pages with Scripts

2. Final Examination (20 Marks)

Topic / subject matter:

1. Web Site Design and Web Graphic Design

2. Creating web pages by using Tables or AP elements

References:

Topic / subject matter:

101 Techniques for creating web sites: by DuangpornKiengkum Adobe Dreamweaver CC Classroom in a book

Page 86: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject:Computer (C Programming Language) Code ง 32104 Instructor: Ms. Katika Meksute Class/LevelPrimary…. Secondary 5 Semester2 Academic year 2017 2 periods/week 40periods/semester 4 units of learning Basic Subject Intensive Subject Others..........................

Course Description : In this course students are introduced to the basics of programming logic and to algorithm

design and development, using flowcharts, pseudo-code and the C programming language. Students will learn the basic constructs of programming, including variables, constants, expressions, control structures, functions pointers and arrays, and are introduced to functional, decision-based and iterative processing of data.

Students will achieve understanding by practice, problems solving, management in group work, reporting results, and seeking knowledge and also understand methods to help themselves, their families, and the public. Using the process of cooperative learning systematically in order to have students gain knowledge and skills through ICT processes. Using materials, instruments and equipment correctly as required for the type of work. They are also made aware about the benefits of information technology instruments.

Additionally, the students will enjoy learning among their friends. This course will also fulfill their characteristics and habits of work that show sacrifice and morality. It also supports students’ decisions with proper reasoning and let them have an awareness of economical and cost effective use of energy, resources and the environment. Additionally they also learn how to take care of computer equipment and must follow lab rules, take responsibility to protect all school properties and class materials. Understand working and improve each step of working, have skills in management, team working and systematic working, and have creative thinking, have characteristics and habit of work that show diligence, patience, responsibility, and honesty.

The Learning Standard: Strand : Standard Strand 1: Living and Family Understanding of concept of work; endowment with creativity and skills for various

aspects and work processes, management, teamwork, investigation for seeking knowledge, morality, diligence, and awareness of the need to economise on the use of energy and the environment for one’s life and for family

Strand 2: Design and Technology

Understanding of technology and technological processes; design and creation of objects and utensils or methodologies through creative technological processes;

Page 87: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

selective utilisation of technologies beneficial to one’s life, society and the environment, and participation in sustainable technological management

Strand 3: Information and Communication Technology

Understanding, appreciation, and efficient, effective and ethical use of information technology processes in searching for data, communicating, problem–solving, working and livelihood

Indicators: (Write the details in items)

O 1.1.2 Create achievements through creative thinking and have teamwork skills.

O 1.1.3 Have management skills for work.

O 1.1.4 Have skills for problem-solving processes.

O 1.1.6 Have morality and desirable characteristics and habits when working.

O 2.1.2 Analyse the technological system.

O 2.1.4 Have creativity in problem-solving or responding to needs for their own products or

development of others’ products.

O 3.1.3 Explain the data communication system for computer networks. O 3.1.5 Efficiently solve problems through information technology processes. O 3.1.7 Develop computer projects. O 3.1.8 Use hardware and software appropriate to various tasks. O 3.1.9 Communicate and search for data through the Internet. O 3.1.10 Use computers in processing data to serve as information for decision-making.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination

Indicators (Final examination)

1.Communication 10 marks 1.1(2) 3.1(9)

20 Marks

1.1(3, 4) 2.1(2) 3.1(5, 7, 8, 10) 2.Authentic 30 marks 1.1(2, 3, 4, 6)

2.1(2, 4) 3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10)

3.Performance test 30 marks

1.1(2, 3, 4, 6) 2.1(2, 4) 3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10)

4.Portfolio 10 marks 3.1(7, 8, 9)

Total 100 marks

1. Performance Test (30 Marks) Topic / subject matter:

Creating a work flowchart

Page 88: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Creating and use data types

Creating and identify the major elements in an object-oriented programming language Design reasoning skills using a robotics context

2. Final Examination ( 20 Marks )

Topic / subject matter:

- Creating a flowcharts

- C Programming

- Input and Output

- Variables and Math

- Condition Statements

References:

Topic / subject matter:

My world of computer secondary 5

Page 89: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : Grammar Code E. 32104 Instructors: Master Worawat Tiamsuwan

ClassLevel: Secondary 5/1-8 Semester 2Academic year2017 2 periods /week40 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description : This course provides students with practical concepts and knowledge of Present Subjunctive, PastSubjunctive, Past Perfect Subjunctive and Tenses. Subject and Verb Agreement for the Mid-Term Test and the Review of Phrases, Clauses and Tenses are for the Final Examinations. The main objective of this course is designed to strengthen students the practice of advanced English sentence structures. The analyses of more complex structures of the English language, commonly found in various authentic texts such as newspapers, magazines, and articles, are systematically practiced through project-based, collaborative, and student-centered learning to enhance the accuracy and fluency of the English language use. The Learning Standard:

Strand Standard Strand 1 : English for Communication F1.1 Understanding of and capacity to interpret

what has been heard and read from various types of media, and ability to express opinions with proper reasoning. F1.2 Endowment with language communication skills for exchange of data and information; efficient expression of feelings and opinions.

Strand 2 : Language and Culture F2.1 Appreciation of the relationship between language and culture of native speakers and capacity for use of language appropriate to occasions and places. F2.2 Appreciation of similarities and differences between language and culture of native and Thai speakers, and capacity for accurate and appropriate use of language.

Strand 4 : Language and Relationship with F4.1 Ability to use foreign languages in various

Page 90: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Community and the World situations in school, community and society. F4.2 Usage of foreign languages as basic tools for further education, livelihood and exchange of learning with the world community.

Indicators :(Write the details in items) F1.2.1 Converse and write to exchange data about themselves and various matters around them, experiences, situations, news/incidents and issues of interest to society, and communicate the data continuously and appropriately. F1.2.4 Speak and write appropriately to ask for and give data, describe, explain, compare and express opinions about matters/ issues/ news and situations heard and read. F2.1.1 Choose the language, tone of voice, gestures and manners appropriate to various persons, occasions and places by observing social manners and culture of native speakers. F.2.2.1 Analyse/discuss similarities and differences between the lifestyles, beliefs and culture of native speakers and those of Thais, and apply them appropriately. F4.1.1 Use language for communication in real situations, simulated situations in the classroom, school, community and society. F4.2.1 Use foreign languages in conducting research, collecting, analysing and summarising knowledge/ various data from the media and different learning sources for further education and livelihood.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination Indicators

Communication10 marks F. 1.2.1 , F. 1.2.4

30 marks F.2.1.1, F.2.2.1

Authentic20 marks F. 1.2.1, F. 2.1.1, F. 4.1.1

Performance test30 marks

F.2.1.1, F.2.2.1

Portfolio10 marks F.4.2.1 Total100marks

Assessment 1. Performance Assessment ( 30 marks) Topic / subject matter: The purpose of this performance test is designed to assess students’ English capabilities of the topics students will be studying during the first half of the semester. As written in the course description, three main topics are provided to students in this semester; they are (1) Present Subjunctive (2) Past Subjunctive and Past Perfect Subjunctive(3) Subject and Verb Agreement.

Page 91: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

(4) Tenses. 2. Final Examination ( 30 marks) Topic / subject matter: Concerning the purpose of the use of the final examination, it is designed to assess students’ English knowledge gained during the whole course in order to evaluate if students meet the objectives of the course. The final examination assesses students the review of main topics in English grammar. These are (1) The Review of Phrases (2) The Review of Clauses and (3) The Review of Tenses. References Topic / subject matter:

1. Understanding and Using English Grammar by Betty S. Azar 2. My World of English Secondary 5 by Saint Gabriel’s Foundation 3. Grammar, Usage, and Mechanics 6th course by Saint Gabriel’s College 4. TOEIC Practice Exams by Barron’s The leader in Test Preparation 5. Longman Complete Course for the TOEFL Test by Deborah Phillips

Page 92: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม รหัส ค32204 ครูผู้สอน 1. ม.พร้อมพงศ์ กวีกิจธนา 2. มิสอรนิภา ไทยแท้ 3. มิสอมรรัตน์ เขียวประไพ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ 5/1-7 ภาคเรียนที่ 2/2560 จ านวน 3 คาบ/สัปดาห์ 60 คาบ/ภาคเรียนจ านวน 1.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ ค าอธิบายรายวิชา ศึกษา / ฝึกทักษะการคิดค านวณและฝึกการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี้ ความน่าจะเป็น กฏเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ แฟคทอเรียล n วิธีเรียงสับเปลี่ยน วิธีจัดหมู่ ความน่าจะเป็นและกฎที่ส าคัญบางประการของความน่าจะเป็น การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น การวัดค่ากลางของข้อมูลโดยใช้มัธยฐาน การวัดต าแหน่งที่ของข้อมูล และการวัดการกระจายของข้อมูล การแจกแจงปกติค่ามาตรฐาน การแจกแจงปกติและเส้นโค้งปกติ พ้ืนที่ใต้เส้นโค้งปกติ ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล แผนภาพการกระจาย ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่ประกอบด้วยสองตัวแปร ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่อยู่ในรูปของอนุกรมเวลา การจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงานเพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดค านวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และน าประสบการณ์ความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจ าวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถท างานอย่างมีระบบระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเชื่อมั่นในตนเอง

สาระ/ตัวชี้วัด สาระท่ี 5ตัวช้ีวัด 1. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวโดยใช้กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ 2. น าความรู้เรื่องทฤษฎีบททวินามไปใช้ได้ 3. หาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ก าหนดให้ได้ 4. เลือกวิธีวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นและอธิบายผลการวิเคราะห์ข้อมูลได้ถูกต้อง 5. น าความรู้เรื่องผลการวิเคราะห์ข้อมูลไปใช้แก้ปัญหาบางประการได้ 6. น าความรู้เรื่องค่ามาตรฐานไปใช้ในการเปรียบเทียบข้อมูลได้ 7. หาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติและน าความรู้เกี่ยวกับพ้ืนที่ใต้เส้นโค้งปกติไปใช้ได้ 8. เข้าใจความหมายของการสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่ประกอบด้วยสองตัวแปร 9. สร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวแปรสองตัวแปรที่อยู่ในรูปของอนุกรมเวลา โดยใช้เครื่องค านวณ

Page 93: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

10. ใช้ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลท านายตัวแปรตามเมื่อก าหนดตัวแปรอิสระให้ รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พร้อมเกณฑ์การให้คะแนน) อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาคกับคะแนนสอบ 40 / 60

คะแนนเก็บระหว่างภาค สาระ/ตัวชี้วัดที่(ระหว่าง

ภาค) คะแนนปลายภาค สาระ/ตัวชี้วัดที่(ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน สาระที่ 5 ตัวชี้วัด 1-10

30 คะแนน สาระที่ 5ตัวชี้วัด 1-10 สภาพจริง 20 คะแนน สาระที่ 5ตัวชี้วัด 1-10 กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน สาระที่ 5 ตัวชี้วัด 1-5 แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน สาระที่ 5 ตัวชี้วัด 1-10

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

การทดสอบ 1. สอบกลางภาค / สอบปฎิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)(20 คะแนน) รายละเอียดการสอบ

เรื่อง / บทที่ รายละเอียด คะแนน

1. ความน่าจะเป็น ข้อสอบอัตนัยและข้อสอบปรนัย

20

2. การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ข้อสอบอัตนัยและข้อสอบปรนัย

10

รายละเอียดการสอบ

เรื่อง / บทที่ รายละเอียด คะแนน

1. ความน่าจะเป็น ข้อสอบปรนัย 5

2. การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ข้อสอบปรนัย 7

3.การแจกแจงปกติ ข้อสอบปรนัย 13

4. ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล ข้อสอบปรนัย 5

หนังสืออ้างอิงและเอกสารประกอบการสอนและหนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพ่ิมเติม คณิตศาสตร์ เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอนที่ครูผู้สอนผลิต 3. หนังสือคณิตศาสตร์ของส านักพิมพ์ต่างๆที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน 4. ข้อสอบ Entrance , A-NET , PAT 1

2. การสอบปลายภาค( 30 คะแนน)

Page 94: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและการประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา ภาษาไทยเพิ่มเติม รหัส ท ๓๒๒๐๔ ครูผู้สอน มิสรักตาภา ธนาวรรณิต ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ......... มัธยมศึกษาปีที่ ๕/๖-๘ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๐ จ านวน ๓ คาบ/สัปดาห์ ๖๐ คาบ/ภาคเรียน จ านวน๑.๕หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ............................... ค าอธิบายรายวิชา ฝึกใช้ทักษะและกระบวนการทางภาษา พัฒนาการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด โดยอ่านข้อความ เรื่องราว สื่อสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณ การอ่านตีความ แปลความ สรุปความ การอ่านคิดเชิงวิเคราะห์ วิจารณ์ และการอ่านประเมินค่าจากบทความสารคดี อ่านระบุประเด็นที่ส าคัญ และฝึกการเขียนบรรณนานุกรม เขียนย่อความ เขียนสารคดี เขียนสะกดค าและการเขียนค าขวัญ วิเคราะห์เรื่องที่ฟังและดูสื่อสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณ พูดแสดงความคิดเห็น พูดโน้มน้าวใจ และศึกษาหลักการใช้ภาษาเกี่ยวกับ โครงสร้างพยางค์ พยางค์ปิด พยางค์เปิด วรรณยุกต์ระดับและวรรณยุกต์เปลี่ยนระดับ โวหารที่ใช้ในการเขียน การใช้ค าเชื่อม การใช้ค าผิดหน้าที่ กลุ่มค าและประโยค และฉันทลักษณ์ วิเคราะห์องค์ประกอบของวรรณกรรมประเภทเรื่องสั้น บทความ โดยหลักการวิจารณ์เบื้องต้น พิจารณาเรื่องที่อ่าน เพ่ือประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ เนื้อหา และคุณค่าทางสังคม และน าไปใช้ในชีวิตจริง โดยใช้กระบวนการทักษะทางภาษาการใช้เหตุผล การฝึกปฏิบัติ สาระ /มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด มฐ. ท๑.๑ มฐ. ท๑.๑ ตัวชี้วัดที่ ๒,๓,๕,๖ มฐ. ท ๒.๑ มฐ. ท ๒.๑ ตัวชี้วัดที่ ๑, ๓, ๔ มฐ. ท ๓.๑ มฐ. ท ๓.๑ ตัวชี้วัดที่ ๒,๓,๕ มฐ . ท ๔.๑ มฐ. ท ๔.๑ ตัวชี้วัดที่ ๑,๒,๓,๔ มฐ. ท ๕.๑ มฐ. ท ๕.๑ ตัวชี้วัดที่ ๒,๓ สาระการอ่าน มาตรฐาน ท๑.๑ / ตัวชีว้ัดที่ ๒,๓,๕,๖ ๒. ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อ่าน ๓. วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่านในทุก ๆ ด้านอย่างมีเหตุผล ๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งเก่ียวกับเรื่องที่อ่าน และ เสนอความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล ๖. ตอบค าถามจากการอ่าน งานเขียนประเภทต่าง ๆ ภายในเวลาที่ก าหนด สาระการเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ / ตัวชีว้ดัที่ ๑, ๓, ๔ ๑. เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้องมีข้อมูลและสาระส าคัญชัดเจน ๓. เขียนย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบและเนื้อหาหลากหลาย ๔. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่าง ๆ

Page 95: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

สาระการฟังและดู มาตรฐาน ท ๓.๑ / ตัวชี้วัดที่ ๒,๓, ๕ ๒. วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟัง และดูอย่างมีเหตุผล ๓. ประเมินเรื่องท่ีฟัง และดู แล้วก าหนดแนวทางน าไปประยุกต์ใช้ ในการด าเนินชีวิต ๕. พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษาท่ีถูกต้องเหมาะสม สาระหลักและการใช้ มาตรฐาน ท ๔.๑ / ตัวชี้วัดที่ ๑,๒,๓, ๔ ๑. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา ๒. ใช้ค าและกลุ่มค าสร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ ๓. ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะและบุคคล รวมทั้งค าราชาศัพท์อย่างเหมาะสม ๔. แต่งบทร้อยกรอง สาระวรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ / ตัวชี้วัดที่ ๒,๓ ๒.วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทาง ประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต ๓. วิเคราะห์ และประเมินคุณค่า ด้านวรรณศิลป์ของกวี และวรรณกรรมในฐานะที่เป็นเอกทางวัฒนธรรมของชาติ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวชี้วัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัด(ปลายภาค) การสื่อสาร๑๐คะแนน มฐ. ท๑.๑ ( ๖)

ม ฐ. ท ๓.๑ (๕)

คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน

มฐ. ท ๑.๑ (๒.๓,๕,๖ ) ม ฐ. ท ๒.๑ (๑) ม ฐ. ท ๓.๑ (๒,๓) ม ฐ.ท ๔.๑ (๒,๓) ม ฐ. ท ๕.๑ (๒)

สภาพจริง๒๐คะแนน ม ฐ.ท ๒.๑ ( ๔) มฐ. ท ๓.๑(๑ ) มฐ.ท ๔.๑ (๔)

กลางภาคปฏิบัติ ๓๐คะแนน ม ฐ. ท๑.๑ ( ๒,๓,๖) ม ฐ. ท ๒.๑ (๑,๓ ) ม ฐ..ท ๓.๑ (๒,๓) ม ฐ. ท ๔.๑ (๑, ๒,๓,) ม ฐ. ท ๕.๑(๒,๓)

แฟ้มสะสมงาน ๑๐ คะแนน ม ฐ. ท ๒.๑ (๑ ) รวมคะแนนทั้งหมด ๑๐๐ คะแนน

Page 96: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

๑. การสอบปฏิบัติ / กลางภาค (๓๐คะแนน)

เรื่อง / บทที่

รายละเอียด

๑. - อ่านคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ จากบทร้อยแก้ว บทร้อยกรองได้ ถูกต้อง

๒. - อ่านระบุประเด็น สรุปความ

๓. - อ่านและเขียนสะกดค าได้ถูกต้อง

๔. - เขียนรายงาน ประกาศ ค าขวัญ การเขียนย่อความ

๕. - วิเคราะห์สื่อ โฆษณาอย่างมีเหตุผล

๖ - โครงสร้างพยางค์ พยางค์ปิด พยางค์เปิด วรรณยุกต์ระดับ วรรณยุกต์เปลี่ยนระดับ

๗. - ส านวน สภุาษิต ค าพังเพย

๘. - การเขียนแหล่งที่มา เชิงอรรถ บรรณนานุกรมและการสืบค้น ข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต

๙. - การอนุมานตีความจากบทร้อยกรอง

๑๐. - โวหารที่ใช้ในการเขียน

๑๐. - ฉันทลักษณ์ของบทร้อยกรองและคุณค่าทางวรรณศิลป์

๒. การสอบปลายภาค ( ๓๐ คะแนน )

เรื่อง / บทที่ รายละเอียด

๑. - อ่านคิดเชิงวิเคราะห์ อ่านตีความ อ่านระบุประเด็น อ่านสรุปความ

๒. - เขียนสารคดีท่องเที่ยวและสารคดีชีวประวัติ

๓. - วิเคราะห์เรื่องที่ฟังและดู

๔. - การอ่านและเขียนสะกดค า

๕. - การเรียบเรียงประโยคและการเชื่อมประโยค

๖. - การใช้ค าเชื่อมและการเลือกใช้ค า

๗ - โครงสร้างประโยค

๘. - ชนิดของประโยค

๙. - การใช้ค าผิดหน้าที่

Page 97: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

๑๐. - การแสดงทรรศนะ

๑๑. - โวหารที่ใช้ในการเขียน

๑๒. - ฉันทลักษณ์บทร้อยกรอง

๑๓. - อ่านคิดวิเคราะห์จากเรื่อง บทความบทร้อยกรอง

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

1. หลักและการใช้ภาษาไทย 2. หนังสือภาษาไทยระดับชั้น ม.ปลาย 3. แนวข้อสอบ O-NET / A- NET /GAT / ๙ วิชาสามัญ 4. หนังสือคู่มือภาษาไทย

หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม หนังสือภาษาไทยระดับชั้น ม. ปลาย หมายเหตุ: โครงการสอนนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

Page 98: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา ประวัติศาสตร์ รหัส ส 32204 ครูผู้สอน มาสเตอร์วิเชียร ภคพามงคลชัย

ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ….....มัธยมศึกษาปีที่ ….5/6-8 ภาคเรียนที่ …2…./2560 จ านวน …3…..ชั่วโมง/สัปดาห์ ……60…….คาบ/ภาคเรียน จ านวน ………4……..หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา

วิเคราะห์ อภิปราย เปรียบเทียบประเด็นส าคัญของประวัติศาสตร์ไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ 6 - 9) ในเรื่องความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ ความส าคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย ปัจจัยที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทย และวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีผลต่อสังคมไทยในยุคปัจจุบัน สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ เห็นคุณค่าผลงานของบุคคลส าคัญทั้งชาวไทยและต่างประเทศที่มีส่วนสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทยและประวัติศาสตร์ไทย วางแผนก าหนดแนวทางและการมีส่วนร่วมการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน7ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 4 มาตรฐาน ส.4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง

ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ ตัวช้ีวัดที่ 1 ตระหนักถึงความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของ

มนุษยชาติ ตัวช้ีวัดที่ 2 สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส.4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธ ารงความ

เป็นไทย ตัวช้ีวัดที่ 1 วิเคราะห์ประเด็นส าคัญของประวัติศาสตร์ไทย ตัวช้ีวัดที่ 2 วิเคราะห์ความส าคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย ตัวช้ีวัดที่ 3 วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทย และวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีผลต่อสังคมไทย

ในยุคปัจจุบัน ตัวช้ีวัดที่ 4 วิเคราะห์ผลงานของบุคคลส าคัญท้ังชาวไทยและต่างประเทศท่ีมีส่วนสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทย และประวัติศาสตร์ไทย ตัวช้ีวัดที่ 5 วางแผนก าหนดแนวทางและการมีส่วนร่วมการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย

Page 99: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน ส 4.1 ข้อ 1,2

30 ส 4.1 ข้อ 1, 2 ส 4.3 ข้อ 1, 2,3,4,5 2.สภาพจริง 20 คะแนน

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน 4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน 1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)20 คะแนน รายละเอียดการสอบ

การแบ่งยุคสมัยและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยในสมัยรัตนโกสินทร์(รัชกาลที่ 6 - 9)และ ลักษณะการเมืองการปกครองในสมัยรัชกาลที่6 ถึง รัชกาลที่ 9

รายละเอียดการสอบ ลักษณะการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์(รัชกาลที่ 6 - 9) หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

รศ.ดร.ไพฑูรย์ มีกุศล และ รศ.ทวีศักดิ์ ล้อมลิ้ม.2544.ประวัติศาสตร์ ม.5.กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพาณิชย์.

2. สอบปลายภาค 30 คะแนน

Page 100: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา(มวยไทย)รหัส พ32204 ครูผู้สอน มาสเตอร์ไพโรจน์ สายทอง ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ .... มัธยมศึกษาปีที่ 5/1-9 ภาคเรียนที่ 2/2560 จ านวน 1 คาบ/สัปดาห์ 20 คาบ/ภาคเรียน จ านวน 1 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ..................

ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาและฝึกปฏิบัติ สมรรถภาพทางกาย ทักษะพื้นฐาน การเล่นเชิงการไหว้ครูและการชกมวยไทยโดยใช้

กระบวนการวิเคราะห์เชื่อมโยง การฝึกปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการสืบค้น เพ่ือให้มีระเบียบวินัย ใฝ่เรียนรู้ เคารพกฎกติกา มุ่งมั่นในการท างาน ความสามารถในการคิด การสื่อสาร การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี การใช้ทักษะชีวิต มีทัศนคติท่ีดีต่อการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวชุมชนและรักในการออกก าลังกาย ตัวชี้วัด มาตรฐาน พ3.1ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5 พ3.2 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4 รวม 9 ตัวชี้วัด มาตรฐาน พ 3.1เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา

1. วิเคราะห์ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบต่างๆ ในการเล่นกีฬา 2. ใช้ความสามารถของตน เพ่ือเพ่ิมศักยภาพของทีม ค านึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อ่ืนและสังคม 3. เล่นกีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบุคคล / คู่ กีฬาประเภททีมได้อย่างน้อย 1 ชนิด 4. แสดงการเคลื่อนไหวได้อย่างสร้างสรรค์ 5. เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการนอกโรงเรียน และน าหลักการแนวคิด ไปปรับปรุงและพัฒนา

คุณภาพชีวิตของตนและสังคม

มาตรฐาน พ 3.2รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าสม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา

1. ออกก าลังกายและเล่นกีฬา ที่เหมาะสมกับตนเองอย่างสม่ าเสมอ และใช้ความสามารถของตนเองเพ่ิมศักยภาพของทีม ลดความเป็นตัวตน ค านึงถึงผลที่เกิดต่อสังคม

2. อธิบายและปฏิบัติเกี่ยวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธีต่างๆ ในระหว่างการเล่น การแข่งขันกีฬากับผู้อ่ืนและน าไปสรุปเป็นแนวปฏิบัติและใช้ในชีวิตประจ าวันอย่างต่อเนื่อง

3. แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเล่นและการแข่งขันกีฬา ด้วยความมีน้ าใจนักกีฬา และน าไปใช้ปฏิบัติทุกโอกาส จนเป็นบุคลิกภาพท่ีดี

4. ร่วมกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬาอย่างมีความสุข ชื่นชมในคุณค่าและความงามของการกีฬา

Page 101: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.3.1 ตัวชี้วัดที่ 1-5 มฐ.3.2 ตัวชี้วัดที่ 1-4

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

มฐ.3.1 ตัวชี้วัดที่ 1-5 มฐ.3.2 ตัวชี้วัดที่ 1-4

สภาพจริง 25+5 คะแนน

กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พร้อมเกณฑ์การให้คะแนน) คะแนนการสื่อสาร 10 คะแนน

1. ความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา 4 คะแนน

2. ความสนใจต่อกระบวนการเรียนรู้ 3 คะแนน

3. การถ่ายทอด สื่อสาร น าความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 3 คะแนน

คะแนนภาคปฏิบัติ 30 คะแนน

1. การพันผ้าชกมวยไทย 15 คะแนน

2. ทักษะการกระโดดเชือก 15 คะแนน

คะแนนสอบตามสภาพจริง25+5คะแนน หัวข้อเรื่อง การล่อเป้า (10 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะการล่อเป้า 5

ความต่อเนื่องในการล่อเป้า 5 หัวข้อเรื่อง การชกเป้า (10 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะการต่อยมวย 5 ทักษะการชกเป้า

ความแม่นย าในการล่อเป้า 5 หัวข้อเรื่อง อ่าน คิด วิเคราะห์ ( 5คะแนน)

Page 102: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

สอบปลายภาค 20 คะแนน รายละเอียดการสอบ หัวข้อเรื่อง การจับคู่ชก (20 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะกีฬามวยไทย 10

ความต่อเนื่องของทักษะมวยไทย 10 หนังสืออ้างอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติมหนังสือแบบเรียน วพ มวยไทยเอกสาร แบบฝึกหัด แผ่นภาพ หนังสือค้นคว้าเพ่ิมเติม จากอินเตอร์เน็ต ห้องสมุด

Page 103: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา(มวยสากล)รหัส พ.32204 ครูผู้สอนมาสเตอร์ สง่า จาระนัย ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ... มัธยมศึกษาปีที่ ....5/1-8..ภาคเรียนที่ 2/2560 จ านวน 1 คาบ/สัปดาห์ 20 คาบ/ภาคเรียน จ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาและฝึกปฏิบัติ สมรรถภาพทางกาย การวางแผนการเตรียมตัวก่อนชก ทักษะพ้ืนฐาน รูปแบบการชก และการชกมวยสากลโดยใช้กระบวนการวิเคราะห์เชื่อมโยง การฝึกปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการสืบค้น เพ่ือให้มีระเบียบวินัย ใฝ่เรียนรู้ เคารพกฎกติกา มุ่งมั่นในการท างาน ความสามารถในการคิด การสื่อสาร การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี การใช้ทักษะชีวิต มีทัศนคติท่ีดีต่อการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวชุมชนและรักใน การออกก าลังกาย ตัวชี้วัด มาตรฐาน พ3.1ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5 พ3.2 ตัวชีว้ัดที่ 1,2,3,4 รวม 9 ตัวชีว้ดั ตัวช้ีวัด มาตรฐาน พ 3.1เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา 1.วิเคราะห์ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบต่างๆ ในการเล่นกีฬา 2.ใช้ความสามารถของตน เพ่ือเพ่ิมศักยภาพของทีม ค านึงถึงผล ที่เกิดต่อผู้อื่นและสังคม 3.เล่นกีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบุคคล / คู่ กีฬาประเภททีมได้อย่างน้อย 1 ชนิด 4. แสดงการเคลื่อนไหวได้อย่างสร้างสรรค์ 5.เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการนอกโรงเรียน และน าหลักการแนวคิด ไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนและสังคม มาตรฐาน พ 3.2รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าสม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา 1.ออกก าลังกายและเล่นกีฬาที่เหมาะสมกับตนเองอย่างสม่ าเสมอ และใช้ความสามารถของตนเองเพ่ิมศักยภาพของทีม ลดความเป็นตัวตน ค านึงถึงผลที่เกิดต่อสังคม 2.อธิบายและปฏิบัติเกี่ยวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธีต่างๆ ในระหว่างการเล่น การแข่งขันกีฬากับผู้อื่นและน าไปสรุปเป็นแนวปฏิบัติและใช้ในชีวิตประจ าวันอย่างต่อเนื่อง 3.แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเล่นและการแข่งขันกีฬา ด้วยความมีน้ าใจนักกีฬา และน าไปใช้ปฏิบัติทุกโอกาส จนเป็นบุคลิกภาพที่ดี 4.ร่วมกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬาอย่างมีความสุข ชื่นชมในคุณค่าและความงามของการกีฬา

Page 104: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค)

คะแนนปลายภาค

ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.3.1 ตัวชี้วัดที่ 1-5 มฐ.3.2 ตัวชี้วัดที่ 1-4

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

มฐ.3.1 ตัวชี้วัดที่ 1-5 มฐ.3.2 ตัวชี้วัดที่ 1-4

สภาพจริง 25+5 คะแนน กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พร้อมเกณฑ์การให้คะแนน) คะแนนการสื่อสาร 10 คะแนน

1. ความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา 5 คะแนน

2. ความสนใจต่อกระบวนการเรียนรู้ 5 คะแนน

รายละเอียดการสอบ หัวข้อเรื่องการล่อเป้า( 15 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะการล่อเป้า 10 ความต่อเนื่องในการล่อเป้า 5

หัวข้อเรื่องการชกเป้า (15 คะแนน) พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะการต่อยมวยสากล 5 ทักษะการชกเป้า 5

ความแม่นย าในการล่อเป้า 5 คะแนนสอบตามสภาพจริง25+5คะแนน หัวข้อเรื่องกระโดดเชือก(10 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะความถูกต้อง 5

จ านวนครั้งตามเวลาที่ก าหนด 5 หัวข้อเรื่องการต่อยหมัดชุด (15 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะความถูกต้อง 15

จ านวนครั้งตามเวลาที่ก าหนด

สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)

Page 105: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

หัวข้อเรื่องอ่าน คิด วิเคราะห์ ( 5คะแนน) คะแนนสอบแฟ้มสะสมงาน 10คะแนน หัวข้อเรื่องพันมือ(10 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะความถูกต้อง 5

ท าได้ตามเวลาที่ก าหนด 5 สอบปลายภาค 20 คะแนน รายละเอียดการสอบ หัวข้อเรื่องการจับคู่ชก(20 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะกีฬามวยสากล 10 ทักษะการป้องกันตัว 5

ความมีน้ าใจนักกีฬา 5 หนังสืออ้างอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม หนังสือแบบเรียน วพ มวยสากล เอกสาร แบบฝึกหัด แผ่นภาพ หนังสือห้องสมุด ค้นคว้าเพ่ิมเติมจากอินเตอร์เน็ต

Page 106: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและการประเมินผล

กลุ่มสาระการเรียนรู้: ศิลปะ วิชา: ดนตรีไทย (เพ่ิมเติม) รหัส: ศ 32203 - 32204 ครูผู้สอน: มิสสาวิตรี แจ่มใจ ระดับชั้น ประถมศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ 5/6-8ภาคเรียนที่ 1-2 / 2560

จ านวน 2 คาบ / สัปดาห์ 40 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 1 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ...........................

**************************************************************************************

ค าอธิบายรายวิชา เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านดนตรีศึกษาวิธีการสร้างสรรค์งานดนตรีและการแสดง จาก

แนวคิดและวิธีการสร้างงานของศิลปินที่ตนชื่นชอบ ประวัติสังคีตกวี ชีวประวัติบุคคลส าคัญในวงการดนตรี น าเสนอโดยใช้เทคโนโลยี เพ่ือแสดงความคิดเห็นในเชิงสร้างสรรค์ศึกษาการจัดวงดนตรีและการจ าแนกประเภทวงดนตรีไทยและสากล รูปแบบของงการแสดงและวิธีการสร้างสรรค์การแสดงในรูปแบบต่าง ๆโอกาสและสถานที่วิธีการเล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวงโดยเน้นเทคนิคการแสดงออกและคุณภาพของการแสดง เปรียบเทียบอารมณ์และความรู้สึกที่ได้รับจากงานดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างกันมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิตและการใช้เทคโนโลยีเพ่ือ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านดนตรีโดยค านึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการท างาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด สาระดนตรี มาตรฐานที่ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตัวช้ีวัดที่

1. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและ วงดนตรีแต่ละประเภท 2. จ าแนกประเภทและรูปแบบของ วงดนตรีทั้งไทยและดนตรีสากล 3. อธิบายเหตุผลที่คนต่างวัฒนธรรม สร้างสรรค์งานดนตรีแตกต่างกัน 4. อ่าน เขียน โน้ตดนตรีไทย ในอัตราจังหวะต่างๆ 5. ร้องเพลง หรือเล่นดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเน้นเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง 6. สร้างเกณฑ์ส าหรับประเมินคุณภาพ การประพันธ์และการเล่นดนตรี ของตนเองและผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม 7. เปรียบเทียบอารมณ์ และความรู้สึก ที่ได้รับจากงานดนตรีที่มาจากวัฒนธรรม ต่างกัน 8. น าดนตรีไปประยุกต์ใช้ในงานอ่ืน ๆ

มาตรฐานที่ ศ 2.2เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่เป็นมรดกทาง

วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล

Page 107: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

ตัวช้ีวัดที่ 1. วิเคราะห์รูปแบบของดนตรีไทยและ ดนตรีสากลในยุคสมัยต่าง ๆ 2. วิเคราะห์สถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมต่าง ๆ 3. เปรียบเทียบลักษณะเด่นของดนตรี ในวัฒนธรรมต่างๆ 4. อธิบายบทบาทของดนตรีในการ สะท้อนแนวความคิดและค่านิยม ที่เปลี่ยนไปของคนในสังคม 5. น าเสนอแนวทางในการส่งเสริมและ อนุรักษ์ดนตรีในฐานะมรดกของชาติ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค) การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.3 / 2.1.7 / 2.2.4

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

ศ 2.1.6 / 2.2.5 สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.8 / 2.2.1 / 2.2.2 / 2.2.3 ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.4 / 2.1.5 แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.1 / 2.2.2

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

หัวข้อเนื้อหาวิชา

1. การขับร้อง-ปฏิบัติเครื่องดนตรี 1.1. ทักษะ, แบบฝึกหัดการปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย 1.2. ปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย 1.3. การขับร้องเพลงไทย

2. ทฤษฎีดนตรีไทย 2.1. ทฤษฎีโน้ตไทย 2.2. การวิจารณ์ผลงานดนตรีการแสดง 2.3. อ่าน คิด วิเคราะห์ เขียนสื่อความ

3. การแสดง/น าเสนอผลงาน 3.1. การจัดท าแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) 3.2. การบูรณาการ การเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic) 3.3. การสอบปฏิบัติรวมวงเครื่องดนตรีไทย (Final)

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พร้อมเกณฑ์การให้คะแนน) ระหว่างเรียน 80 คะแนน

1. การประเมินจากการสื่อสารส่วนบุคคล(10คะแนน) ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน o การสอบปากเปล่า (ถาม/ตอบ) 5 คะแนน o ความสนใจระหว่างเรียน 3 คะแนน o มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาดนตรี 2 คะแนน

Page 108: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

2. การประเมินจากการปฏิบัติ (30คะแนน)

2.1. ทักษะ, แบบฝึกหัด การปฏิบัติเครื่องดนตรี เป็นบทเพลงประกอบการแสดงละครพันทาง เกณฑ์การให้คะแนน

o ทักษะพ้ืนฐานการปฏิบัติเครื่องดนตรี 3 คะแนน o แบบฝึกหัดการปฏิบัติเครื่องดนตรี 2 คะแนน

2.2. การบรรเลงรายบุคคล ตามบทเพลงที่ก าหนดให้ เกณฑ์การให้คะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ท านอง ถูกต้องและแม่นย า 15 คะแนน o มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

2.3. การขับร้องเพลงไทย ตามบทเพลงที่ก าหนดให้ เกณฑ์การให้คะแนน

o ขับร้องตรงจังหวะ / ท านองของเพลง 3 คะแนน o ความไพเราะของการขับร้อง 2 คะแนน

3. การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30คะแนน)

3.1. ความส าเร็จของชิ้นงาน (20 คะแนน) ชิ้นงานที่ได้รับมอบหมายเป็นงานกลุ่มหรือเดี่ยว เกณฑ์การให้คะแนน

o รายละเอียด, ความส าเร็จของชิ้นงานที่ได้รับมอบหมาย 10 คะแนน o ความสะอาด / เป็นระเบียบ 5 คะแนน o ทัศนคติของนักเรียนต่อการเรียนดนตรีและชิ้นงาน 5 คะแนน

3.2. การทดสอบอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียนสื่อความ (5 คะแนน) ประเมินจากการสอบข้อเขียน โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

เกณฑ์การให้คะแนน o การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม 3 คะแนน o พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุ่มดนตรี) 2 คะแนน

3.3. การสอบภาคทฤษฎี (5 คะแนน) ประเมินการสอบเนื้อหาทฤษฎีดนตรี เป็นข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือกจ านวน 20 ข้อ

เกณฑ์การให้คะแนน o การทดสอบตัวเลือก 5 คะแนน

Page 109: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

4. การประเมินจากการแฟ้มสะสมงาน (10 คะแนน) เลือกชิ้นงานตามหัวข้อที่ก าหนดให้

เกณฑ์การให้คะแนน o เนื้อหาข้อมูล / องค์ประกอบหลัก 5 คะแนน o ความรับผิดชอบ / รูปแบบ 3 คะแนน o การตรงต่อเวลา 2 คะแนน

5. การสอบปลายภาค 20 คะแนน

การบรรเลงรวมวง ตามหลักดุริยางคศาสตร์ ตามบทเพลงที่ก าหนดไว้ในหลักสูตร (20 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ท านอง ถูกต้องและแม่นย า 10 คะแนน o มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง 5 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 5 คะแนน

หนังสืออ้างอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

เอกสารประกอบการเรียนการสอนดนตรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

Page 110: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชาศิลปะ (ดนตรีสากล/เพิ่มเติม) รหัส ศ32203 – ศ32204 ครูผู้สอน มาสเตอร์อชิตพล ทิณรัตน์ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ 5/6-8 ภาคเรียนที่ 1-2/2560 จ านวน 1 คาบ/สัปดาห์ 20 คาบ/ภาคเรียน จ านวน 1 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วชิาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ดนตรีในยุคต่าง ๆ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ดนตรี และ ระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมดนตรี และ โปรแกรมเสริม (Plugins) รวมทั้งวิวัฒนาการที่เกิดข้ึนในปัจจุบัน และ อนาคต การใช้คอมพิวเตอร์ดนตรีเบื้องต้น การใช้โปรแกรมส าเร็จรูปทางดนตรีในการสร้างผลงานดนตรี ศึกษาระบบ และ การบันทึกข้อมูล MIDI และ Wave การใช้โปรแกรมประเภท Sequencer การวิเคราะห์ การแก้ไขปรับปรุงข้อมูลการใช้โปรแกรมเสริม VST, VSTi สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด

สาระดนตรี มฐ. ศ 2.1 ตัวชี้วัดที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 มฐ. ศ 2.2 ตัวชี้วัดที่ 1, 2

มาตรฐานที่ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตัวช้ีวัดที่ 1. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและ วงดนตรีแต่ละประเภท 2. จ าแนกประเภทและรูปแบบของ วงดนตรีทั้งไทยและสากล 3. อธิบายเหตุผลที่คนต่างวัฒนธรรม สร้างสรรค์งานดนตรีแตกต่างกัน 4. อ่าน เขียน โน้ตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะต่างๆ 5. ร้องเพลง หรือเล่นดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเน้นเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง 6. สร้างเกณฑ์ส าหรับประเมินคุณภาพ การประพันธ์และการเล่นดนตรี ของตนเองและผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม 7. เปรียบเทียบอารมณ์ และความรู้สึก ที่ได้รับจากงานดนตรีที่มาจากวัฒนธรรม ต่างกัน 8. น าดนตรีไปประยุกต์ใช้ในงานอ่ืน ๆ

มาตรฐานที่ ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวช้ีวัดที่ 1. วิเคราะห์รูปแบบของดนตรีไทยและ ดนตรีสากลในยุคสมัยต่าง ๆ 2. วิเคราะห์สถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมต่าง ๆ 3. เปรียบเทียบลักษณะเด่นของดนตรี ในวัฒนธรรมต่างๆ 4. อธิบายบทบาทของดนตรีในการ สะท้อนแนวความคิดและค่านิยม ที่เปลี่ยนไปของคนในสังคม

Page 111: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

5. น าเสนอแนวทางในการส่งเสริมและ อนุรักษ์ดนตรีในฐานะมรดกของชาติ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค) 1. การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.4

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

ศ 2.1.7 2.สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.1 / 2.1.5 / 2.2.1

/ 2.2.2

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.2 / 2.1.3

4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.6

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล

ระหว่างเรียน 80 คะแนน

การประเมินจากการสื่อสารส่วนบุคคล (10 คะแนน) ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน มีอุปกรณ์และเอกสารประกอบการเรียน........................................ 5 คะแนน มีความรับผิดชอบในการเรียน....................................................... 3 คะแนน มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาดนตรี............................................................ 2 คะแนน

การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน)

บรรเลงบทเพลง นักเรียนบรรเลงบทเพลงตามที่ก าหนดให้ เกณฑ์การให้คะแนน

บทเพลงตรงตามจังหวะ-ท านอง ถูกต้องแม่นย า............................. 20 คะแนน บรรเลงบทเพลงตามเครื่องหมายและอารมณ์เพลง......................... 10 คะแนน

การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน)

การสอบบรรเลงเพลง (20 คะแนน) นักเรียนเลือกบทเพลง หรือครูก าหนดบทเพลง

เกณฑ์การให้คะแนน ความถูกต้องในโน้ตและจังหวะ ....................................................... 10 คะแนน เทคนิคการบรรเลงตามรูปแบบของบทเพลงที่บรรเลง......................... 5 คะแนน ความต่อเนื่องในการบรรเลงและทักษะการอ่านโน้ต.. ......................... 5 คะแนน

การทดสอบอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียนสื่อความ (5 คะแนน) ประเมินจากการสอบอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความ จากบทความที่ครูก าหนด พร้อมเขียนความคิดเห็นโดย

สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

Page 112: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

เกณฑ์การให้คะแนน การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม........................................... 3 คะแนน พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุ่มดนตรี)................................................ 2 คะแนน

การสอบทฤษฎี (5 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

การทดสอบตัวเลือก................................................................... 5 คะแนน

การประเมินจากการแฟ้มสะสมงาน (10 คะแนน) นักเรียนน าเสนอรูปแบบโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ ตามหัวข้อที่ครูก าหนดให้

เกณฑ์การให้คะแนน เนื้อหาข้อมูล / องค์ประกอบหลัก............................................. 5 คะแนน ความรับผิดชอบ / รูปแบบ....................................................... 3 คะแนน ตรงเวลา ................................................................................ 2 คะแนน

สอบปลายภาค 20 คะแนน การสอบแสดงผลงานผ่านการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ดนตรีเป็นผลงานเดี่ยว และ กลุ่มตามท่ีครูก าหนด (20 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน - บรรเลงตามจังหวะ / ตัวโน้ต ถูกต้องและแม่นย า........................ 10 คะแนน - บุคลิกภาพของผู้สอบ.............................................................. 5 คะแนน - มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง................................ 5 คะแนน

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาดนตรีเพิ่มเติมระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

Page 113: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา ศิลปะ (เพ่ิมเติม) รหัส ศ 32204 ครูผู้สอน มาสเตอร์สันติ หาญจิตตระการ ระดับชั้น ประถมศึกษา มัธยมศึกษาปีท่ี 5/6-7 ภาคเรียนที่ 1-2 / 2560

จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ........................... ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาวิเคราะห์เรื่ององค์ประกอบในการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ใช้ในชีวิตประจ าวัน รวมถึงการน าวัสดุที่มีอยู่ทั่วไปมาสร้างสรรค์ให้เกิดผลิตภัณฑ์อีกรูปแบบ

การใช้ความรู้ทางทัศนธาตุ และหลักการออกแบบเบื้องต้นในการใช้สื่อความหมายในรูปแบบและเทคนิคต่างๆ สามารถเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์และเทคนิคข้ันตอนเพ่ือการแสดงออกทางทัศนศิลป์รวมถึง การจัดองค์ประกอบศิลปะในงานออกแบบ ( Composition of Design ) เพ่ือการสร้างสรรค์งานองค์ประกอบศิลป์ โดยสามารถแสดงออกถึงแนวความคิดและเทคนิคกระบวนการท างานอย่างเป็นขั้นตอน

โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ตามสภาพจริง ที่เน้นศักยภาพของสมองซีกซ้ายและขวา การเรียนรู้ในเชิงพหุปัญญา มุ่งไปสู่การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เพ่ือการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง การวัดผล ติดตามและประเมินผลงานตามสภาพจริงจากศักยภาพของผู้เรียนทุกด้าน โดยวัดประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้

เพ่ือให้ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ(มาตรฐานที่ 8) ชื่นชม ร่วมกิจกรรมและมีผลงานด้านศิลปะ มีความรัก ความสนใจงานศิลปะ มีผลงานด้านศิลปะและการวาดภาพที่ตนเองภาคภูมิใจ สามารถวิพากษ์วิจารณ์งานศิลป์ได้ มีความสนใจ ซาบซึ้งและเห็นคุณค่าในผลงานด้านศิลปะ แสวงหาความรู้และพัฒนาทักษะของตนเองในด้านศิลปะอย่างต่อเนื่อง เข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะตามความถนัดและความสนใจของตนเอง สามารถแสดงทักษะหรือความสามารถทางศิลปะตามความสามารถของตนเอง ใฝ่เรียนรู้ มีความวิริยะ อุตสาหะ มุ่งมั่นในการท างาน มีวินัยและรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ ตรงต่อเวลา และรักษาความสะอาด สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระท่ี 1 ทัศนศิลป์ มฐ. ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 1, 3, 4,10 รวม 4 ตัวชี้วัด ตัวช้ีวัด มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึกความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจ าวัน 1. วิเคราะห์การใช้ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบต่างๆ 3. วิเคราะห์การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเทคนิคของศิลปินในการแสดงออกทางทัศนศิลป์ 4. มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และกระบวนการที่สูงข้ึนในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ 10. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทย สากล โดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการสร้างงานของศิลปินที่ตนชื่นชอบ

Page 114: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่

(ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

การสื่อสาร......10........คะแนน มาตรฐานที่ ศ 1.1

ตัวชี้วัดที่ 1,3,4,10

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

มาตรฐานที่ ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 1,3,4

สภาพจริง........30........คะแนน กลางภาค/ปฏิบัติ.....30....คะแนน แฟ้มสะสมงาน....10...คะแนน

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน 1. การประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1.พฤติกรรมในห้องเรียน 5 การเอาใจใส่ ตั้งใจท างานที่ได้รับมอบหมาย

2.ความรับผิดชอบ 3 ส่งงานครบทุกชิ้น และส่งตรงเวลาที่ก าหนด

3.การตอบค าถามในเรื่องที่ก าหนด 2 การมีส่วนร่วมในชั้นเรียนโดยการตอบค าถาม

คะแนนรวม 10

2. การประเมินสภาพจริง ( 30 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1.สร้างสรรค์งานด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ 10 ความคิดสร้างสรรค์

2. องค์ประกอบ Sketch Design 10 ค่าน้ าหนักของสี

3. ทฤษฎีออกแบบผลิตภัณฑ์

*ครูผู้สอนจัดสอบในชั่วโมงเรียน*

5 เนื้อหาและความรู้เกี่ยวกับงานประยุกต์ศิลป์ การออกแบบ

ผลิตภัณฑ์

4. จริยะ อ่านคิดวิเคราะห์

*ครูผู้สอนจัดสอบในชั่วโมงเรียน*

5 ตอบปัญหาเหตุการณ์จากโจทย์โดยยึดหลักคุณธรรมและ

จริยธรรม

คะแนนรวม 30

3. การประเมินแฟ้มสะสมงาน ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. การจัดท าแฟ้มสะสมงาน 5 เลือกผลงานของตนเองที่ชอบหรือประทับใจ 1 ชิ้น

2. การเขียนแสดงความคิดเห็น 3 เขียนบรรยายวิธีการท างานและความประทับใจในผลงานชิ้นนั้น

3. การส่งผลงาน 2 ความเรียบร้อย ตรงต่อเวลา

Page 115: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

คะแนนรวม 10

4. การสอบปฏิบัติ ( 30 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. product D.I.Y. 10 หลักการออกแบบและความคิดสร้างสรรค์

2. cardboard chair

(idea,development,skd)

10 ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบและการลงสี

3. cardboard chair (Model) 10 ความสวยงามและความถูกต้อง

คะแนนรวม 30

5. การสอบปลายภาค ( 20 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

การออกแบบผลิตภัณฑ์เพ่ือ

สิ่งแวดล้อม

7 ความถูกต้องตามหลักการออกแบบ

7 การระบายสี ไล่น้ าหนักสี เรียบร้อย สวยงาม

6 ความตั้งใจ สะอาด ส่งตรงเวลา

คะแนนรวม 20

หนังสืออ้างอิง / เอกสารประกอบการสอน และหนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

- ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย // ความถนัดทางศิลปกรรม // องค์ประกอบศิลปะ

- นิตยสาร Art 4 D // นิตยสาร I-Desing // นิตยสาร Fine Art และอ่ืนๆ

Page 116: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment

Course Title :English IE. 2 (Reading) Course Code: EN32204 Instructors: 1. Mr. CharinwitSeedanont 2. Ms. ChatchadaStanley

ClassLevel: Secondary 5 Semester 2 Academic year2017 2 periods / week 40 periods/semester (Class 5/1-5)

3 periods/ week 60 periods/semester (Class 5/8) 4 periods/ week 80 periods/semester (Class 5/6 – 7) Basic Subject Intensive Subject Others............... Course Description : The English Reading course aims to ameliorate students’ multi-tasking abilities through communicating in English academically, formally, and globally. Students are perfecting their reading skills through various materials available in printed materials and on the Internet. Information retrieved will be analyzed and synthesized into useful matters, for students are able to deploy the latter into their presentations of multi-form units. Regarding the process of learning, students are required to do research for certain data to support their arguments made upon enquiries, concerning either quotations or lengthy passages provided. The reliability of supporting information retrieved must be clarified by students’ capacity in making decisions.

Note that all in-class and extra exercises are to motivate the students’ honesty, responsibility, discipline, attempt, and their inquisitive mind in learning. To achieve, they need to have precise work, self-confidence, creativity, loyalty to the school as well as having positive attitude towards learning English. Basic Standard of Learning : Component : Standard : F 1 Language for Communication F1.1 Understanding of and capacity to interpret what

has been heard and read from various types of

media, and ability to express opinions with

proper reasoning.

F 2 Language and Culture F2.2 Appreciation of similarities and differences between language and culture of native and Thai speakers, and capacity for accurate and appropriate use of language.

Page 117: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Component : Standard : F 3 Language and Relationship with Other Learning Areas

F3.1 Usage of foreign languages to link knowledge

with other learning areas, as foundation for

further development and to seek knowledge

and widen one’s world view.

F 4 Language and Relationship with Community and the World

F4.1 Ability to use foreign languages in various situations in school, community and society.

F4.2 Usage of foreign languages as basic tools for further education, livelihood and exchange of learning with the world community.

Indicators : F1.1.2 Accurately read aloud texts, news, advertisements, poems, and skits by observing the principles

of reading.

F1.1.4 Identify the main idea, analyse the essence, interpret and express opinions from listening to

and reading feature articles and entertainment articles, as well as provide justification and examples

for illustration.

F2.2.2 Compare the differences/similarities between the festivals, celebrations and traditions of native

speakers and those of Thai.

F3.1.1 Research/search for, make records, summarizes and express opinions about the data related to

other learning areas, and present then through speaking and writing.

F4.1.1 Use language for communication in real situations/simulated situations in the classroom,

school, community and society.

F4.2.1 Disseminate/ convey to the public data and news about the school, community and the local

area/ the nation in foreign languages

Evaluation and Assessment

During the course Indicators (Mid-term) Final examination

Indicators (Final examination)

Communication 10 marks F1.1.2, F1.1.4

30 marks

F1.1.2, F1.1.4 Authentic 20 marks F2.2.2 F2.2.2 Performance test 30 marks F3.1.1 F3.1.1 Portfolio 10 marks F4.1.1, F4.2.1 F4.1.1, F4.2.1

Total 100 marks

Page 118: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Assessment 1. Performance Assessment (30 marks) The performance assessment is divided into 2 sections. The first division is of written examination. It asks students to clarify the underlined parts according to various purposes. The second part is to underline students’ ability in analyzing data and information acquired through reading. This is of 40 multiple-choice items. The proportion of each section’s marks is to be declared in class, otherwise the first task will be one-third of the entire marks while the rest is of two-thirds. 2. Final Examination (30 marks) The assessment aims to evaluate the progress of students’ critical thinking skill through matters discussed in class – identical or unseen. There are cartoon strips, quotes, some excerpts of literary works, articles in magazines, and also their vocabulary acquisition.

References : 1. Practical English for Developing Analytical Ability by C. Seedanont 2. IELTS Language Practice by M. Vince & A. French 3. English by Newspaperby T. Fredrickson & P. Vedel 4. Active Skills for Reading 3 by Anderson 5. Highlight of Reading and Writing 6 by L. Kesornkam& S. Suwannaaksorn 6. Pragmatics by G. Yule 7. Concentrate of Critical Reading 6A by W. Rangabtook& S. Porsattayarak 8. Total English Upper Intermediate: Student’s Book by R. Acklam& A. Crace 9. Mastery by G.Valcourt&L.Wells 10.Interactions2: Reading by P.Heartmann&E.Kirn

Remarks : Reference 1 is a supplementary textbook composed by the current responsible teacher, C. Seedanont, which aims to develop the critical thinking skill through reading various types of texts.

Page 119: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชา หน้าที่พลเมือง รหัส ส30224 ครูผู้สอน มาสเตอร์ธงชัย พรหมจรรย์ มาสเตอร์วิเชียร ภคพามงคลชัย

ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 /2560 จ านวน 1คาบ/สัปดาห์ 20คาบ/ภาคเรียน จ านวน 0.5หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา แสดงออก แนะน าผู้อ่ืน และยกย่องบุคคลที่มีความเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องใฝ่หาความรู้ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม และสนับสนุนให้ผู้อ่ืนแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง ประยุกต์และเผยแพร่ พระบรมราโชวาท ในเรื่องการมีระเบียบวินัย ความสามัคคี หลักการทรงงาน ในเรื่องระเบิดจากข้างใน ไม่ติดต าราบริการรวมที่จุดเดียว ใช้ธรรมะปราบอธรรม และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ และยอมรับผลที่เกิดจากการกระท าของตนเอง ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างและส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้อื่นเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในเรื่องการเป็นผู้น าและการเป็นสมาชิกที่ดี การใช้สิทธิและหน้าที่ การใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ ความกล้าหาญทางจริยธรรม การเสนอแนวทางการแก้ปัญหาสังคมต่อสาธารณะ การติดตามและประเมินข่าวสารทางการเมือง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมือง ประยุกต์ใช้กระบวนการประชาธิปไตยในการวิพากษ์ประเด็นนโยบายสาธารณะที่ตนสนใจ มีส่วนร่วมและตัดสินใจเลือกตั้งอย่างมีวิจารณญาณ รู้ทันข่าวสารและรู้ทันสื่อคาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้าบนพ้ืนฐานของข้อมูล มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาเมื่อเกิดความขัดแย้งโดยสันติวิธี ด้วยการเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรอง การระงับความขัดแย้ง และสร้างเครือข่ายป้องกันปัญหาความขัดแย้ง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต อดทน และยอมรับผลที่เกิดจากการกระท าของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแก้ปัญหา และกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนมีลักษณะที่ดีของคนไทย ภาคภูมิใจในความเป็นไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง มีวิจารณญาณในการเลือกตั้ง และการวิพากษ์นโยบายสาธารณะ อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสันติ สามารถจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี และมีวินัยในตนเอง สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน8ผลการเรียนรู้) สาระท่ี 2 หน้าที่พลเมือง จุดเน้นที่ ความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ผลการเรียนรู้ (4) เป็นแบบอย่างและส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้อ่ืนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย (5) ประยุกต์ใช้กระบวนการประชาธิปไตยในการวิพากษ์ประเด็นนโยบายสาธารณะที่ตนสนใจ (6) มีส่วนร่วมและตัดสินใจเลือกตั้งอย่างมีวิจารณญาณ (7) รู้ทันข่าวสารและรู้ทันสื่อ (8) คาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้าบนพื้นฐานของข้อมูล

Page 120: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

จุดเน้นที่ 4 ความปรองดอง สมานฉันท์ ผลการเรียนรู้ 1. มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเมื่อเกิดความขัดแย้งโดยสันติวิธี และสร้างเครือข่ายป้องกันปัญหาความขัดแย้ง จุดเน้นที่ 5 ความมีวินัยในตนเอง ผลการเรียนรู้ 1. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค)

1. การสื่อสาร …10… คะแนน จุดเน้นที่ 3, 4, 5 ผลการเรียนรู้ที่ 4, 5, 6,

7, 8, 10 และ 13

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

จุดเน้นที่ 3, 4, 5 ผลการเรียนรู้ที่ 4, 5, 6, 7, 8,

10 และ 13

2.สภาพจริง …30… คะแนน จุดเน้นที่ 3, 4, 5 ผลการเรียนรู้ที่ 4, 5, 6,

7, 8, 10 และ 13 3.กลางภาค/ปฏิบัติ …30… คะแนน จุดเน้นที่ 3

ผลการเรียนรู้ที่ 4, 5, 6, 7, 8

4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน จุดเน้นที่ 3, 4, 5 ผลการเรียนรู้ที่ 4, 5, 6,

7, 8, 10 และ 13 รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน 1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)…30…. คะแนน รายละเอียดการสอบ 1. สอบเก็บคะแนนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (15 คะแนน) 2. สอบปฏิบัติ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การจัดการความขัดแย้งและสันติวิธี การค้นคว้า และสืบค้นข้อมูล และการน าเสนอหน้าชั้นเรียนเป็นรายกลุ่ม (การสร้างเครือข่ายป้องกันปัญหาความขัดแย้งและสันติวิธี) (15 คะแนน) รายละเอียดการสอบ 1.พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย 2.การมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง(เช่น การใช้กระบวนการประชาธิปไตยในการวิพากษ์ประเด็นนโยบายสาธารณะ, การมีส่วนร่วมและตัดสินใจเลือกตั้งอย่างมีวิจารณญาณ , การรู้ทันข่าวสารและรู้ทันสื่อและการคาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้าบนพ้ืนฐานของข้อมูล) 3. การจัดการความขัดแย้งและสันติวิธี หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. เอกสารประกอบการเรียนที่ครูผู้สอนจัดท าขึ้น 2. หนังสือเรียนกิจกรรมรายวิชาเพ่ิมเติม หน้าที่พลเมือง 3-4 ส านักพิมพ์วัฒนาพาณิชย์

2. สอบปลายภาค 20 คะแนน

Page 121: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

เอกสารสรุป

ชื่อ ........................................................................... นามสกุล................................................................... เลขที่ ........................... ห้อง ม.5/.......................

ปีการศกึษา 2560

ระดบัช ัน้มธัยมศกึษาปีที่ 5

โครงการสอนและการวดัและประเมนิผล

สหศลิป์

ภาคเรียนที่ 2

Page 122: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา ภาษาไทยพื้นฐานรหัส ท 32104 ครูผู้สอน มาสเตอร์ชัยพล ขอดทอง ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2/2560 จ านวน2คาบ/สัปดาห์ 40คาบ/ภาค จ านวน 1.0หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วชิาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ...................... ค าอธิบายรายวิชา นักเรียนตีความ แปลความ ขยายความจากเรื่องที่อ่านเช่น บทความ ร้อยแก้วประเภทต่างๆฉันทลักษณ์หลายชนิด วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับวิถีชีวิตของคนในสังคม สังเคราะห์ข้อคิดเพ่ือน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันผ่านวรรณคดีมรดกและวรรณกรรมร่วมสมัย เช่น มัทนะพาธา ศึกษารายละเอียดของวรรณคดีในแง่มุมต่างๆ จินตภาพ โวหารภาพจน์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบ คุณค่าทางวรรณศิลป์ คุณค่าทางสังคม นาฎลีลาในบทประพันธ์ ตลอดจน ฉันทลักษณ์หลากหลายรูปแบบเช่น โคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ โคลงสี่สุภาพ กาพย์ยานี 11 กาพย์ฉบัง16 กาพย์สุรางคนางค์28 กลอนสุภาพ ร่ายยาว ร่ายดั้น อินทรวิเชียร์ฉันท์ ภุชงคประยาตฉันต์ เป็นต้น ศึกษาระดับของภาษาเพื่อวิเคราะห์ ความแตกต่างของระดับภาษาแต่ละระดับและใช้ได้อย่างถูกต้อง ฝึกกระบวนการพัฒนาการสื่อสาร แสดงความสัมพันธ์ของการใช้ภาษากับความคิด ภาษากับเหตุผล การร้อยเรียงประโยคผ่านกระบวนการ เชื่อมค า ซ้ าค า ละค า และแทนค าฝึกทุกษะการสังเกตค า เช่น การอ่านออกเสียง การสะกดค า ตลอดจนการใช้ค าให้เหมาะสมและถูกต้อง สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวนตัวช้ีวัด) สาระท่ี 1 การอ่าน มาตรฐานที่ ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพ่ือน าไปตัดสินใจ แก้ปัญหาในการด าเนินชีวิตและมี นิสยัรักการอ่าน ตัวช้ีวัด 2. ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อ่าน 3.วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่านในทุก ๆ ด้านอย่างมีเหตุผล 4. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน และประเมินค่าเพ่ือนน าความรู้ ความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการ ด าเนินชีวิต 5. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งกับเรื่องที่อ่าน

6. ตอบค าถามจากการอ่านประเภทต่าง ๆ ภายในเวลาที่ก าหนด 7. อ่านเรื่องต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน

8. สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแห่งเรียนรู้ต่าง ๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการ เรียนและพัฒนาความรู้ทางอาชีพ สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐานที่ ท 2.1ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียน

รายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ

Page 123: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

ตัวช้ีวัด 1. เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้องมีข้อมูลและสาระส าคัญ ชัดเจน 4. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่าง ๆ 6. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องท่ีสนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการและใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่าง ถูกต้อง 7. บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพ่ือน าไปพัฒนาตนเองอย่างสม่ าเสมอ 8. มีมารยาทในการเขียน สาระท่ี 3 การการฟัง การดู และการพูด มาตรฐานที่ ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่าง

ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ตัวช้ีวัด 1. สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู 2. วิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล 3. ประเมินเรื่องที่ฟังและดูแล้วก าหนดแนวทางน าไปประยุกต์ใช้ในการด าเนินชีวิต 4. มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟังและดู 5. พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจและเสนอแนวคิดใหม่ 6. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด สาระท่ี 4 หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐานที่ ท 4.1เข้าใจธรรมชาติของภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษาและรักษาภาษาไทยไว้ เป็นสมบัติของชาติ ตัวช้ีวัด 1. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษาและลักษณะของภาษา 2. ใช้ค าและกลุ่มค าสร้างประโยคตามวัตถุประสงค์ 7. วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐานที่ ท 5.1เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและน ามา ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตัวช้ีวัด 1. วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น 2. วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต 3. วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ของชาติ 4. สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

Page 124: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค)

1. การสื่อสาร10 คะแนน ท.1.1 (2,3,4,5,6,7,8) ท 2.1 (1,4,7) ท 3.1 (1,2,3,5,6)

คะแนนเต็ม 30 คะแนน

ท.1.1 (2,3,4,5,6,7,8) ท 2.1 (1,4,8) ท 3.1 (1,2,3,5,6) ท 4.1 (1,2,7) ท 5.1 (1,2,3,4)

2.สภาพจริง 20คะแนน

ท.1.1 (2,3,4,5,6,7,8) ท 2.1 (1,4,8) ท 3.1 (1,2,3,5,6) ท 4.1 (1,2,7) ท 5.1 (1,2,3,4)

3.กลางภาค/ปฏิบัติ30 คะแนน

ท.1.1 (2,3,4,5,6,7,8) ท 2.1 (1,4,8) ท 3.1 (1,2,3,4,5,6) ท 4.1 (1) ท 5.1 (1,2,3,4)

4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน ท.1.1 (2,3,4,5,6,7,8) ท 2.1 (1,4,8) ท 3.1 (1,2,3,5,6)

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)30 คะแนน รายละเอียดการสอบ

- แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ - โครงสร้างของการแสดงเหตุผล - วิธีแสดงเหตุผลและการอนุมาน - การใช้ค าและความหมาย - การใช้ภาษาอธิบาย บรรยายและการพรรณนา

รายละเอียดการสอบ

- แนวคิดและค่านิยมในงานประพันธ์ - การถามตอบอย่างมีประสิทธิภาพ - การเขียนผังมโนภาพ - คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร - ภาษากับวัฒนธรรม

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม - หนังสือหลักและการใช้ภาษาไทย ของ กรมวิชาการและอาจารย์ก าชัย ทองหล่อ - หนังสือหลักภาษาไทย ของ อาจารย์จงชัย เจนหัตถการกิจ - หนังสือประวัติวรรณคดีไทย 1 ของ เสนีย์ วิลาวรรณ และคณะ

2. สอบปลายภาค 30 คะแนน

Page 125: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject :Mathematics IE Code ค 32104 Instructors: 1. Miss NattareeSiricharoonwong, 2. Miss Maria VerberlieRedoble

ClassLevel Primary ................Secondary5 Semester2 Academic year2017 2 periods /week 40 periods/semester 1 units of learning Basic Subject Intensive Subject Others........................ Course Description :

To enrich mathematical skills and processes, so that the students are able to practice, experiment, conclude and report so as to improve their calculating assessment, problem solving, valid argument, and mathematical communication. In addition students should be able to select and use appropriate and efficient techniques and strategies to solve problems of increasing difficulty for lifelong learning and adaptation to everyday situations. The students must have a positive attitude towards mathematics and be able to work neatly and logically.

The assessment and the evaluation are conducive to diversification of the different aspects depending on the actual performance of content and skills that have to be improved. Learning Standards and Indicators :

Strand Standards

Strand :Statistics and Data Sub-Strand :

1. Examples of Cases and Problems 2. Definition of Statistics 3. Decisions Making and Planning 4. Data and Collecting Data

Standard M5.2: Application ofstatistical methodology and knowledge ofprobabilityforvalid estimation

Strand 5: Data Analysis Sub-Strand :

1. Frequency Distribution 2. Relative Frequency 3. Relative Cumulative Frequency 4. Graphical Representation of Data 5. Measure of Central Tendency 6. Partition Values 7. Dispersion or Variation 8. The 95% Rule 9. Box-and-whisker Plot

Standard 5.1 :Understanding and ability to apply statistical methodology for data analysis. Standard 5.2 : Application ofstatistical methodology and knowledge ofprobabilityforvalid estimation.

Page 126: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Indicators (Learning Outcomes): Strand : Statistics and Data / Data Analysis 1. Define statistics 2. Differentiate descriptive statistics from inferential statistics 3. State and explain the statistical methods 4. Differentiate information from data 5. Compare the types of data 6. Identify the methods of collecting data 7. State the importance of Statistics 8. Construct ungrouped and grouped frequency distribution table 9. Identify variable and frequency 10. Explain how to find the cumulative frequency 11. Make a cumulative frequency table of ungrouped and grouped data 12. Compute the relative frequency and relative cumulative frequency 13. Identify the different kinds of graphical representation of data 14. Construct histogram 15. Make a stem-and-leaf plot 16. Identify the measures of central tendency 17. Compute the mean of raw, ungrouped and grouped data 18. Determine the median of raw, ungrouped and grouped data 19. Solve the mode of raw, ungrouped and grouped data 20. Interpret the graph of the given data 21. State the appropriate measure of central tendency to be used in a given situation 22. Identify the partition values 23. Solve the quartile of raw, ungrouped and grouped data 24. Compute the deciles of raw, ungrouped and grouped data 25. Calculate the percentile of raw, ungrouped and grouped data 26. Identify the range of the given set of data 27. Calculate the standard deviation and variance in a set of data 28. Explain the 95% rule 29. State the relationship among frequency distribution, central tendency and dispersion 30. Construct a box-and-whisker plot 31. Interpret box-and-whisker plot 32. Appreciate the importance of data analyzes Skill/ Process (used for every content) 33. Use various strategies to solve problems 34. Use mathematical knowledge to solve problems in real life situations. 35. Use inductive and deductive reasoning to help making conclusion and decision.

Page 127: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

36. Use mathematical language and symbols to communicate and represent ideas precisely and appropriately.

37. Connect mathematical concepts, principles, and methods and other knowledge to explain conclusions.

38. Apply mathematical knowledge and skills in working and living. 39. Work creatively.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination

Indicators (Final examination)

1.Communication 10 marks 33 - 39 30 Marks

1 – 32 2.Authentic Test 20 marks 1 - 39

3.Performance test (Mid-term) 30 marks

1 - 25

4.Portfolio10 marks 1 - 39

Total 100 marks

Assessment 1. Mid-term Test /Performance Assessment (20 marks)

Topics Content

Chapter 3: Statistics and Data 1. Definition of Statistics 2. Data and Collecting Data

Chapter 4: Data Analysis

1. Frequency Distribution 2. Relative Frequency 3. Relative Cumulative Frequency 4. Graphical Representation of Data 5. Measure of Central Tendency 6. Partition Values

Page 128: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

2. Final Examination (30 marks)

References: According the text book from ipst (สสวท) in Basic Thailand Education Curriculum and handouts provided. Remarks : This course outline may be changed in any suitable case.

Topics Content

Chapter 3: Statistics and Data 1. Definition of Statistics 2 Data and Collecting Data

Chapter 4: Data Analysis

1. Frequency Distribution 2. Relative Frequency 3. Relative Cumulative Frequency 4. Graphical Representation of Data 5. Measure of Central Tendency 6. Partition Values 7. Dispersion or Variation 8. box-and-whisker plot 9. 95% rule

Page 129: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment Subject : Science I.E Code Sc32104

Instructors: Mr. Premsak Ratiwiriyapong

ClassLevel: Secondary 5 Semester2 Academic year2017 2 periods/week40 periods/semester 1.0 credit of learning

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description : The course gives an overview over the processes of ecosystem, distinguish between biotic and abiotic factors of the environment, and describe the different levels of ecological organization. Define biological interactions and give examples. Explain the dispersion patterns of different populations.Explainabout 10% law in ecosystem and distinguish among the type of pyramid in ecosystem. Distinguish among producers, consumers, and decomposers and describe the differences between a food chain and a food web. Describe and draw the diagram the water cycle and explain its importance to living organisms. Discuss the relationship between the oxygen cycle and the carbon cycle and diagram the carbon-oxygen cycle and explain its importance to living organisms. Explain why balance is important in an ecosystem and name and briefly describe the major issues in ecology today. Explain the term biodiversity. Learning Standard:

Strand Standard Strand 1 : Ecology Strand 2 : Population Ecology Strand 3 : Mineral cycle

Standard Sc2.1: Understanding of local environment;

relationship between the environment and living things;

relationship between living things in the eco-system;

investigative process for seeking knowledge and scientific

mind; and communicating acquired knowledge that could

be applied for useful purposes

Strand 4 : Biodiversity Strand 5 : World Issue

Standard Sc2.2: Appreciating the importance of natural

resources; utilization of natural resources at local, national

and global levels; and application of knowledge for

management of natural resources and local environment on

a sustainable basis

Page 130: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Indicators :(Write the details in items) Standard Sc2.1: Understanding of local environment; relationship between the environment and living things; relationship between living things in the eco-system; investigative process for seeking knowledge and scientific mind; and communicating acquired knowledge that could be applied for useful purposes1. Distinguish between biotic and a biotic factors of the environment.

2. Describe the different levels of ecological organization 3. Distinguish among the role of organism in ecosystem. 4. Describe the differences between a "food chain" and a "food web.” 5. Explain 10% law in ecosystem. 6. Distinguish among the pyramid of number, the pyramid of energy, the pyramid of biomass. 7. Define biological interactions between the organisms 8. Explain and calculate the population density and population patterns

9. Describe and diagram the water, oxygen, carbon dioxide and nitrogen cycle and explain its importance to living organisms. Standard Sc2.2: Appreciating the importance of natural resources; utilization of natural resources at local, national and global levels; and application of knowledge for management of natural resources and local environment on a sustainable basis

1. Name and briefly describe the major issues in environment today 2. Explain the term biodiversity. Explain the term of biodiversity. 3. Explain the classification system 4. Explain the difference between the 5 kingdoms of organisms 5. Describe the characters of the organism in each Kingdom 6. Discuss the human activities can change the balance of ecosystem

7. Explain cause of global warming, green house effect Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication10 marks Standard Sc2.1(1-9) Standard Sc2.2(1-7)

30 marks Standard Sc2.2(1-7)

Authentic 20 marks Standard Sc2.1(1-9) Standard Sc2.2(1-7)

Performance test 30 marks Listening test 5 marks

Standard Sc2.1(1-9)

Portfolio10 marks Standard Sc2.1(1-9) Standard Sc2.2(1-7) Standard Sc3.1(1-6)

Total100marks

Page 131: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Assessment 1. Performance Assessment ( 30 marks) Topic / subject matter:

- Ecology 3. Final Examination ( 30 marks) Topic / subject matter:

-Biodiversity and world issue References : My World of Science Secondary 4-6 Biology, Orient Blackswan Private Limited, Indi

Page 132: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject :Social Studies IE. Code SO32107 Instructors: Mr. Napoth Rattanakosai

ClassLevel: Secondary ……5……....Semester………2………. Academic year2017 2 Periods /week ........40...... Periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description : This course is study about Ancient Civilization on the eastern and the western part of the world. This content are including the advancement and the innovation of Ancient Civilization which has an affected to the world nowadays such as Mesopotamia, Egypt, China, India, Greek and Roman Students will be trained the needed skills such as critical skill and analytical skill by using historical process to acquire knowledge and comprehension. to analyze the ancient civilization that shows human’s ability The Learning Standard:

Strand Standard Strand 4 : History Unit 1: Mesopotamia Unit 2: Ancient Egypt Unit 3: Ancient Greek Unit 4: Roman Empire Unit 5: Indus valley Civilization Unit 6: Ancient China

So 4.2.1 Analyze the importance of ancient civilizations and communication between the Eastern and Western world affecting development and change in the world. So 4.2.2 Analyze various important events affecting social, economic and political changes leading to the present world.

Indicators :So 4.2.1 1. Are capable of describing the definition of history 2. Are capable of describing the different between culture and civilization 3. Understand important events in the history of Ancient Civilization 4. Know the Ancient Civilizationculture Indicator :So 4.2.2 1. Know the Ancient Civilization advancement 2. know the Ancient Civilization innovation 3. Understand contributions of the Ancient Civilization to the modern world.

Page 133: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication.10.marks So.4.2.1.1 – So.4.2.2.3 30 Mark So.4.2.1.1 – So.4.2.2.3 Authentic..20..marks So.4.2.1.1 – So.4.2.2.3 Performance test....30...marks

So.4.2.1.1 – So.4.2.2.3

Portfolio ....10..marks So.4.2.1.1 – So.4.2.2.3

Total100marks Assessment 1. Performance Assessment (30 marks) Topic / subject matter: - Unit 1: Mesopotamia - Unit 2: Ancient Egypt - Unit 3: Ancient Greek 2. Final Examination (30 marks) Topic / subject matter: - Unit 4: Roman Empire

- Unit 5: Indus valley Civilization - Unit 6: Ancient China References: Topic / subject matter: -Worksheet and notebook

Page 134: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิชา ประวัติศาสตร์ พ้ืนฐานรหัส ส 32107

ครูผู้สอน 1. มาสเตอร์วิเชียร ภคพามงคลชัย 2. มาสเตอร์ธงชัย พรหมจรรย์

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2/2560

จ านวน 2 คาบ/สัปดาห์ 40 คาบ/ภาค จ านวน 1 หน่วยการเรียน

วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................

ค าอธิบายรายวิชา

ตระหนักถึงความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติศึกษา

การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ วิ เคราะห์อิทธิพลของอารย

ธรรมโบราณและการติดต่อระหว่างโลกตะวันออกและตะวันตกที่มอิีทธิพลต่อการพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของโลก

โดยใช้กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการท างาน กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสืบค้น

กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการแก้ปัญหา

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความส าคัญของเวลาและยุคประวัติศาสตร์ สามารถน าความรู้มา

ปรับใช้ในการด าเนินชีวิตที่จะต้องรับผลกระทบจาการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกช่วยให้ด าเนินชีวิตอย่างสันติสุข

วิเคราะห์เหตุการณ์ส าคัญต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน

ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกาและเอเชีย สถานการณ์ของโลกใน

คริสต์ศตวรรษที่ 21

โดยใช้กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการท างาน กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสืบค้น

กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการแก้ปัญหา

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงเหตุการณ์ส าคัญต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก

ซึ่งสามารถน าความรู้มาปรับใช้ในการด าเนินชีวิตที่จะต้องรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและ

การเมืองของโลกปัจจุบัน ช่วยให้สังคมเกิดสันติสุข

สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน6 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 4 มาตรฐานที ่ส.4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง

ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ ตัวช้ีวัด 1.ตระหนักถึงความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของ

มนุษยชาติ 2.สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ

Page 135: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

มาตรฐานที ่ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความส าคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดข้ึน ตัวช้ีวัด 1.วิเคราะห์อิทธิพลของอารยธรรรมโบราณ และการติดต่อระหว่างโลกตะวันออกโลกตะวันตก ที่มีผลต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของโลก 2. วิเคราะห์เหตุการณ์ส าคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน 3. วิเคราะห์ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย 4. วิเคราะห์สถานการณ์ของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวชี้วัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดที(่ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน

ส 4.1 ข้อ 1, 2

คะแนนเต็ม 30 คะแนน ส 4.2 ข้อ 1, 2,3,4

2. สภาพจริง 20 คะแนน

3. กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

4. แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1เวลา ยุคสมัยและวิธีการทางประวัติศาสตร์

- ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

- การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล

- การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์สากล

- ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์

- ตัวอย่างการน าวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์สากล

2. หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 พัฒนาการและการสร้างสรรค์อารยธรรม

- แหล่งอารยธรรมตะวันตก

Page 136: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

-

รายละเอียดการสอบ

1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 3เหตุการณ์ส าคัญในประวัติศาสตร์โลก

- เหตุการณ์ส าคัญในประวัติศาสตร์โลกที่มีผลกระทบต่อโลกปัจจุบัน

- ความร่วมมือและความขัดแย้งของมนุษยชาติ

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

กุลพล พลวัน. (2527). สิทธิมนุษยชนกับสหประชาชาติ. กรุงเทพฯ:ศูนยบริการเอกสาร กรมอัยการ.จุณณเจิม ยุวรี และ

คณะ. (2541). เหตุการณโลกปจจุบัน. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฎสวนดุสิต.

ฉัตรทิพย นาถสุภา. (2526). ลัทธิเศรษฐกิจการเมือง. กรุงเทพฯ:ไทยวัฒนาพานิชย.

ชาคริต ชุมวัฒนะ. (2546). ชีวิตและสังคมแรงงานชั้นอังกฤษในคริสศตวรรษที่ 19. กรุงเทพฯ:ศักดิ์โสภาการพิมพ

ธนู แกวโอภาส. (2542). ประวัติศาสตรโลก. กรุงเทพฯ:สุขภาพใจปรีชา ศรีอาลัย. (2546). สงครามโลกครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:

โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส.ปรีชา ศรีวาลัย. (2548). สงครามโลกครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ:โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2543). สารานุกรมประวัติศาสตรสากลสมัยใหม:ยุโรป เลม 3 อักษร E – G ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.

กรุงเทพฯ:ราชบัณฑิตยสถาน.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). สารานุกรมประวัติศาสตรสากลสมัยใหม:ยุโรป เลม 4 อักษร H – K ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.

กรุงเทพฯ:ราชบัณฑิตยสถาน.

วิมลวรรณภัทโรดม. (2540). ยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่สอง. กรุงเทพฯ:ศักดิ์โสภาการพิมพ

ศิโรฒน คลามไพบูลย. (2545). จักรวรรดินิยมกับการกอการราย. กรุงเทพฯ:โครงการวิดีทรรศน

สมพงษ ชูมาก. (2533). องคการระหวางประเทศ:สันนิบาตชาติสหประชาชาติ. กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สัญชัย สุวังบุตร. (2545). ประวัติศาสตรโซเวียตสมัยเลนิน ค.ศ.1917 – 1924. กรุงเทพฯ:ศักดิ์โสภาการพิมพ

สุปราณี มุขวิชิต. (2532). ประวัติศาสตรยุโรป ค.ศ. 1815 – ปจจุบัน เลม 1. กรุงเทพฯ:โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส.อักษรศาสตร,

คณะ. (2533). อารยธรรมสมัยใหม – ปจจุบัน. กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

2. สอบปลายภาค (Final Examination) 30คะแนนคะแนน

Page 137: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา สุขศึกษารหัส พ. 32104 ครูผู้สอน มิสฤทัยทิพย์ เอ่ียมสุเมธ

ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ …5/1-8..... ภาคเรียนที่ …2…./2560 จ านวน 1 คาบ/สัปดาห์ 20คาบ/ภาคเรียน จ านวน 0.5หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ....................

ค าอธิบายรายวิชา 1. ใส่ใจสุขภาพ การที่เราจะมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีนั้น การดูแลและใส่ใจสุขภาพเป็นเรื่องส าคัญยิ่ง โดยเฉพาะการปฏิบัติตามหลักการดูแลและใส่ใจสุขภาพที่ถูกต้อง ทั้งในเรื่องการดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่เราอยู่ การเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ การระมัดระวังตนเองในขณะประกอบอาชีพ การจัดการกับอารมณ์และความเครียด การให้เวลาในการออกก าลังกาย พักผ่อน ผ่อนคลายด้วยกิจกรรมนันทนาการและการเลือกใช้ภูมิปัญญาไทยในการป้องกันและบ าบัดรักษาโรค ทั้งนี้สุขภาพที่ดีที่เราตั้งเป้าหมายไว้ก็จะบรรลุผลส าเร็จได้นั่นเอง

2. ชีวิตปลอดภัย ในปัจจุบันการด าเนินชีวิตของมนุษย์ในแต่ละวัน มีแต่ความรีบเร่งและเร่งด่วน เป้าหมายของมนุษย์คือการหารายได้เพ่ือน ามาใช้จ่ายในชีวิตประจ าวันและสนองต่อความต้องการของตนเอง จนบางครั้งลืมนึกถึงความจ าเป็นและความปลอดภัยของตนเองโดยเฉพาะการเรียนรู้ทักษะในการป้องกันตนเองออกจากสิ่งที่เป็นอันตรายและภัยพิบัติต่างๆ การศึกษาทักษะการตัดสินใจออกจากความรุนแรง การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากสาธารณภัย ความปลอดภัยในชุมชน ภัยจากอุบัติเหตุและการใช้ยาและการรู้จักช่วยฟื้นคืนชีพจึงเป็นสิ่งจ าเป็นอย่างยิ่ง

สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน…5….ตัวช้ีวัด) สาระท่ี ……3……….. (ใส่ใจสุขภาพ)

มาตรฐานที่ พ4.1 รู้และเข้าใจ ปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชน ปัญหาสุขภาพในชุมชน หลักในการเลือกและวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์สุขภาพ โรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ การประเมินและจัดการกับอารมณ์และความเครียด กิจกรรมการออกก าลังกาย การพักผ่อนและนันทนาการเพื่อสุขภาพและสามารถสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคด้วยภูมิปัญญาไทยได้อย่างเหมาะสม

ตัวช้ีวัด 1 , 3 , 4 , 5 , 6 ตัวชี้วัดที่ 1 : วิเคราะห์บทบาทและความรับผิดชอบของบุคคลที่มีต่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรคในชุมชน ตัวชี้วัดที่ 3 : ปฏิบัติตนตามสิทธิของผู้บริโภค ตัวชี้วัดที่ 4 : วิเคราะห์สาเหตุและเสนอแนวทางการป้องกันการเจ็บป่วยและการตายของคนไทย ตัวชี้วัดที่ 5 : วางแผนและปฏิบัติตามแผนการพัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครัว ตัวชี้วัดที่ 6 : มีส่วนร่วมในการส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพของบุคคลในชุมชน

Page 138: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน …6…. ตัวช้ีวัด) สาระท่ี ……4……….. (ชีวิตปลอดภัย)

มาตรฐานที่ พ5.1 เข้าใจและหลีกเลี่ยงจากความรุนแรง สาธารณภัย รู้และเข้าใจปัญหาความปลอดภัยในชุมชน ปัญหาจากอุบัติเหตุและการใช้ยา ตลอดจนวิธีการช่วยฟื้นคืนชีพผู้ประสบอุบัติเหตุ

ตัวช้ีวัด 1 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 ตัวชี้วัดที่ 1 : มีส่วนร่วมในการป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยาการใช้สารเสพติดและความรุนแรง เพ่ือสุขภาพ ของตนเอง ครอบครัวและสังคม ตัวชี้วัดที่ 3 : วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพหรือความรุนแรงของคนไทยและเสนอแนวทางป้องกัน ตัวชี้วัดที่ 4 : วางแผนก าหนดแนวทางลดอุบัติเหตุและสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน ตัวชี้วัดที่ 5 : มีส่วนร่วมในการสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน ตัวชี้วัดที่ 6 : ใช้ทักษะการตัดสินใจแก้ปัญหาในสถานการณ์ท่ีเสี่ยงต่อสุขภาพและความรุนแรง ตัวชี้วัดที่ 7 : แสดงวิธีการช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกวิธี

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค) 1. การสื่อสาร …10… คะแนน มฐ.พ4.1

ตวัชี้วัดที่ 1

20

มฐ.พ4.1

ตัวชี้วัด 1 , 3 , 4 , 5 , 6 มฐ.พ5.1

ตัวช้ีวัด 1 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7

2.สภาพจริง …30…คะแนน มฐ.พ4.1 ตัวชี้วัดที่ 1,3

3.ทดสอบระหว่างเรียน …คะแนน - 4.กลางภาค/ปฏิบัติ …30…คะแนน มฐ.พ5.1

ตัวชี้วัดที่ 1,3,4 5.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน มฐ.พ5.1

ตัวชี้วัดที่ 7 รวมคะแนนทั้งหมด …100…….. คะแนน การทดสอบ 1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)…30…. คะแนน รายละเอียดการสอบ

1. สิ่งแวดล้อมในชุมชน , ปัญหาสุขภาพในชุมชน

2. การบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ 3. การประกันสุขภาพ 4. โรคจากการประกอบอาชีพ 5. การประเมินและจัดการกับอารมณ์และความเครียด 6. กิจกรรมนันทนาการและการพักผ่อน

7. การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคด้วยภูมิปัญญาไทย

Page 139: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

2. สอบปลายภาค ……20……… คะแนน

รายละเอียดการสอบ 1. ใส่ใจสุขภาพ

2. ชีวิตปลอดภัย

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. ใบงานความรู้ 2. หนังสือแบบเรียน 3. ข้อมูล website ต่างๆ

Page 140: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา ศิลปะ (พ้ืนฐาน) รหัสศ 32104 ครูผู้สอน มาสเตอร์ชัยวัฒน์ ชนะกานนท์ ระดับชั้น ประถมศึกษา มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียนที่ 2 / 2560

จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียนจ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ...........................

ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาและฝึกปฏิบัติ การใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบต่างๆ บรรยาย

จุดประสงค์และเนื้อหาของงานทัศนศิลป์โดยใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์ การใช้วัสดุอุปกรณ์และกระบวนการทางทัศนศิลป์ที่สูงขึ้นการสร้างงานทัศนศิลป์ด้วยเทคโนโลยีต่างๆ โดยเน้นหลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์ จุดมุ่งหมายของศิลปินในการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ เทคนิคและเนื้อหาในการสร้างงานการประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์โดยใช้ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทยและสากลด้วยการศึกษางานของศิลปินที่ตนชื่นชอบ วิเคราะห์และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออก รูปแบบตะวันตก และงานทัศนศิลป์ของศิลปินที่มีชื่อเสียง การประเมินคุณค่า พัฒนาทักษะ และประยุกต์ใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆโดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างค่านิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป์ วิเคราะห์ สร้างความคิดวิจารณญาณ เพ่ือให้ผู้เรียนมีลักษณะนิสัยด้านศิลปะชื่นชม ร่วมกิจกรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการท างาน รักความเป็นไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระที่ 1ทัศนศิลป์ มฐ. ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 1 , 2 , 4 , 5 , 7 , 8 , 9 , 10 มฐ. ศ 1.2 ตวัชี้วัดที่ 1 , 2 รวม 10 ตัวชี้วัด ตัวช้ีวัด มาตราฐาน. ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึกความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจ าวัน 1.วิเคราะห์การใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบต่างๆ

2. บรรยายจุดประสงค์และเนื้อหาของงานทัศนศิลป์โดยใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์ 4. มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุอุปกรณ์และกระบวนการที่สูงขึ้น ในการสร้างงานทัศนศิลป์ 5. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ด้วยเทคโนโลยีต่างๆ โดยเน้นหลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์ 7. วิเคราะห์และอธิบายจุดมุ่งหมายของศิลปินในการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เทคนิคและเนื้อหาเพ่ือสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ 8. ประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์โดยใช้ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ 9. จัดกลุ่มงานทัศนศิลป์ เพ่ือสะท้อนพัฒนาการ และความก้าวหน้าของตนเอง 10. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทยสากล โดยศึกษาแนวคิดและวิธีการสร้างงานของศิลปินที่ตนชื่นชอบ

Page 141: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

มาตราฐาน. ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคา่งานทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล

1. วิเคราะห์และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก 2. ระบุงานทัศนศิลป์ของของศิลปินที่มีชื่อเสียงและบรรยายผลตอบรับของสังคม

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ )ระหว่างภาค( คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดที่ )ปลายภาค(

การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 1 ,2,7,8,9 ศ 1.2 ตัวชี้วัดที1,2

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 1,4,5,7,9

สภาพจริง 30 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 4,5,7 ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5,7,8,9 แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 10

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

1. การประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1.พฤติกรรมในห้องเรียน 5 การเอาใจใส่ ตั้งใจท างานที่ได้รับมอบหมาย

2.ความรับผิดชอบ 3 ส่งงานครบทุกชิ้น และส่งตรงเวลาที่ก าหนด 3.การตอบค าถามในเรื่องที่ก าหนด 2 การมีส่วนร่วมในชั้นเรียนโดยการตอบค าถาม

2. การประเมินสภาพจริง ( 30คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. ความคิดสร้างสรรค์ 10 ฝึกฝนเทคนิคการไล่น้ าหนักสีด้วยสีไม้ 2เทคนิคการสร้างงานและการน าเสนอ 10 วาดการ์ตูนที่ชอบ และระบายสีไล่น้ าหนักสี 3.จริยะ อ่านคิดวิเคราะห์ 5 ตอบปัญหาเหตุการณ์จากโจทย์โดยยึดหลักคุณธรรมและ

จริยธรรม 4.แบบฝึกหัดภาคทฤษฎี 5 องค์ความรู้ทางด้านทัศนศิลป์

3. การประเมินปฏิบัติ / กลางภาค ( 30 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. การจัดองค์ประกอบศิลป์ 10 หลักการจัดองประกอบศิลป์ถูกต้องชัดเจน

2. เทคนิค สี ขาวด า 10 วาดภาพและระบายสีโดยใช้สีโทนร้อน โทนเย็นและขาวด า 3. การน าเสนอผลงาน 10 การอธิบายงาน บุคลิกภาพ การพูด ความพร้อม

Page 142: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

4. การประเมินแฟ้มสะสมงาน ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. การจัดท าแฟ้มสะสมงาน 5 เลือกผลงานของตนเองที่ชอบหรือประทับใจ 1 ชิ้น 2. การเขียนแสดงความคิดเห็น 3 เขียนบรรยายวิธีการท างานและความประทับใจในผลงานชิ้นนั้น

3. การส่งผลงาน 2 ความเรียบร้อย ตรงต่อเวลา

5. การประเมินปลายภาค ( 20 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

การจัดองค์ประกอบศิลป์ หัวข้อ “อนาคตของเรา”

7 การวาดภาพ จัดองค์ประกอบภาพ

7 การระบายสี ไล่น้ าหนักสี เรียบร้อย สวยงามมีความหมาย 6 ความตั้งใจ สะอาด ส่งตรงเวลา

หัวข้อเนื้อหาวิชา

1. ทฤษฎีศิลปะ 2. ทัศนธาตุและการเรียนองค์ประกอบศิลป์ 3. วิจารณ์ผลงานกับการทดสอบความรู้ความเข้าใจในศิลปะขั้นพื้นฐาน

หนังสืออ้างอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม องค์ประกอบศิลป์ (ชลูด นิ่มเสมอ) องค์ประกอบศิลป์ (ฉัตรชัย อรรถปักษ์) Internet

Page 143: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชาศิลปะดนตรีไทย (ปี่พาทย์มอญ) รหัส ศ 32103 - ศ 32104 ครูผู้สอน มาสเตอร์ชัยวัฒน์ คุณสมบัติ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ........... มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1-2 / 2560

จ านวน 1 คาบ / สัปดาห ์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระพ้ืนฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ........................ ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝึกปฏิบัติการใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบต่างๆจุดประสงค์และเนื้อหาของงานทัศนศิลป์โดยใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์การใช้วัสดุอุปกรณ์และกระบวนการทางทัศนศิลป์ที่สูงขึ้นการสร้างงานทัศนศิลป์ด้วยเทคโนโลยีต่างๆโดยเน้นหลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์จุดมุ่งหมายของศิลปินในการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เทคนิคและเนื้อหาในการสร้างงานการประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์โดยใช้ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทยและสากลด้วยการศึกษางานของศิลปินที่ตนชื่นชอบวิเคราะห์และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรปูแบบตะวันออก รูปแบบตะวันตก และงานทัศนศิลป์ของศิลปินที่มีชื่อเสียง

บทเพลงวงดนตรีประเภทรูปแบบวงดนตรีไทยและสากลสร้างสรรค์งานดนตรีอ่านเขียนโน้ตดนตรีไทย -สากล เล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวงเทคนิคการแสดงออกทางดนตรีคุณภาพของการแสดงการประพันธ์และการเล่นดนตรีความซาบซึ้งในงานดนตรีจากต่างวัฒนธรรมงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการผสมผสานการแสดงรูปแบบต่างๆประเมินคุณค่า พัฒนทักษะ และประยุกต์ใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ

โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างค่านิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป์ วิเคราะห์ สร้างทักษะการปฏิบัติทางดนตรี เทคโนโลยี สร้างความคิดวิจารณญาน เพ่ือให้ผู้เรียนมีลักษณะนิสัยด้านศิลปะชื่นชม ร่วมกิจกรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการท างาน รักความเป็นไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา

สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด สาระดนตรี มฐ. ศ 2.1 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5,6,7,8

มฐ. ศ 2.2 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5 มฐ. ศ 3.1 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5,6,7,8 มฐ. ศ 3.2 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4

ตัวช้ีวัด (ให้เขียนรายละเอียดเป็นข้อๆ) มฐ. ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่าดนตรีถ่ายทอดความรู้สึกความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน

1. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและวงดนตรีแต่ละประเภท 2. จ าแนกประเภทและรูปแบบของวง วงดนตรีทั้งไทยและสากล 3. อธิบายเหตุผลที่คนต่างวัฒนธรรมสร้างสรรค์งานดนตรีแตกต่างกัน 4. อ่าน เขียน โน๊ตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะต่างๆ

Page 144: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

5. ร้องเพลง หรือเล่นดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเน้นเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง 6. สร้างเกณฑ์ส าหรับประเมินคุณภาพ การประพันธ์และการเล่นดนตรี ของตนเองและผู้ อ่ืนได้อย่าง

เหมาะสม 7. เปรียบเทียบอารมณ์ และความรู้สึก ที่ได้รับจากงานดนตรีที่มาจากวัฒนธรรม ต่างกัน 8. น าดนตรีไปประยุกตใ์ช้ในงานอื่น ๆ

มฐ. ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล

1. วิเคราะห์รูปแบบของดนตรีปี่พาทย์มอญในยุคสมัยต่าง ๆ 2. วิเคราะห์สถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมต่าง ๆ 3. เปรียบเทียบลักษณะเด่นของดนตรี ในวัฒนธรรมต่างๆ 4. อธิบายบทบาทของดนตรีในการ สะท้อนแนวความคิดและค่านิยม ที่เปลี่ยนไปของคนในสังคม 5. น าเสนอแนวทางในการส่งเสริมและ อนุรักษ์ดนตรีในฐานะมรดกของชาติ

มฐ. ศ 3.1เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์ วิจารณ์ คุณค่าทางนาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน

1. มีทักษะในการแสดงหลากหลาย รูปแบบ 2. สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบ ที่ชื่นชอบ 3. ใช้ความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลป์ เป็นคู่ และหมู่ 4. วิจารณ์การแสดงตามหลักนาฏศิลป์ และการละคร 5. วิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์ และการละครที่ต้องการสื่อความหมาย ในการแสดง. 6. บรรยาย วิเคราะห์ อิทธิพลของ เครื่องแต่งกาย แสง สี เสียง ฉากอุปกรณ์ และสถานที่ท่ีมีผลต่อการแสดง 7. พัฒนาและใช้เกณฑ์การประเมินในการ ประเมินการแสดง 8. วิเคราะห์ท่าทาง และการเคลื่อนไหว ของผู้คนในชีวิตประจ าวันและน ามา ประยุกต์ใช้ในการแสดง

มฐ. ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยสากล

1. เปรียบเทียบการน าการแสดงไปใช้ใน โอกาสต่าง ๆ 2. อภิปรายบทบาทของบุคคลส าคัญ ในวงการนาฏศิลป์และการละคร ของประเทศไทยในยุคสมัยต่างๆ 3. บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และ การละครไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 4. น าเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์ นาฏศิลป์ไทย

Page 145: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค) การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.1 / ศ 2.1.2 / ศ 2.1.3

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

ศ 2.1.7 สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.8 / ศ 3.1.1 ศ 3.1.2ศ

3.1.4 / ศ 3.1.6 ศ 3.1.8 ศ 3.2.1

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.4 /ศ 2.1.5 / ศ 2.2.1 ศ 2.2.2 /ศ 2.2.3 / ศ 3.1.3ศ 2.2.4

แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.6 / ศ 2.2.5 / ศ 3.1.5ศ 3.1.7 / ศ 3.2.2 / ศ 3.2.3 ศ 3.2.4

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

หัวข้อเนื้อหาวิชา

1. ทฤษฏีดนตรีไทย 2. ปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย 3. ดนตรีในวิถีชีวิต 4. ดุริยกวีดนตรีไทย 5. นาฏกรรมสยาม

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พร้อมเกณฑ์การให้คะแนน) ระหว่างเรียน 80 คะแนน

การประเมินจากการสื่อสารส่วนบุคคล(10คะแนน) ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน o การสอบปากเปล่า (ถาม/ตอบ) 5 คะแนน o ความสนใจระหว่างเรียน 3 คะแนน o มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาดนตรี 2 คะแนน

การประเมินจากการปฏิบัติ (30คะแนน) การบรรเลงเดี่ยว ตามบทเพลงที่ก าหนดให้ (โดยแบ่งการเก็บคะแนนออกเป็น 3 ครั้งๆ ละ 10 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ท านอง ถูกต้องและแม่นย า 5 คะแนน o มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

Page 146: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30คะแนน) 3.1 ความส าเร็จของชิ้นงาน (20 คะแนน)

ชิ้นงานที่ได้รับมอบหมายเป็นงานกลุ่มหรือเดี่ยว (โดยแบ่งการเก็บคะแนนออกเป็น2 ครั้งๆ ละ10คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

o รายละเอียดต่างๆ ของชิ้นงาน 5 คะแนน o ความสะอาด / เป็นระเบียบ 3 คะแนน o ทัศนคติของนักเรียนต่อการเรียนดนตรีและชิ้นงาน 2 คะแนน 3.2 การทดสอบอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียนสื่อความ (5 คะแนน) ประเมินจากการสอบข้อเขียน โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

เกณฑ์การให้คะแนน o การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม 3 คะแนน o พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุ่มดนตรี) 2 คะแนน 3.3 การสอบภาคทฤษฎี (5 คะแนน) ประเมินการสอบเนื้อหาทฤษฎีดนตรี (ไทย-สากล) – นาฏศิลป์ ตามแนวหลักสูตรแกนกลางฯ เป็นข้อสอบ

ปรนัย 4 ตัวเลือกจ านวน 15 ข้อ เกณฑ์การให้คะแนน o การทดสอบตัวเลือก 5 คะแนน

การประเมินจากการแฟ้มสะสมงาน (10 คะแนน) รายงาน เรื่อง “ศิลปินที่ข้าพเจ้าชื่นชอบ” เกณฑ์การให้คะแนน o เนื้อหาข้อมูล / องค์ประกอบหลัก 5 คะแนน o ความรับผิดชอบ / รูปแบบ 3 คะแนน o ตรงเวลา 2 คะแนน

การสอบปลายภาค 20 คะแนน การบรรเลงรวมวงตามหลักดุริยางคศาสตร์ ตามบทเพลงที่ก าหนดไว้ในหลักสูตร (20 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน o บรรเลงตามจังหวะ / ท านอง ถูกต้องและแม่นย า 10 คะแนน o มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง 5 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 5 คะแนน

หนังสืออ้างอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. ดุริยางค์ศาสตร์ไทย (กรมศิลปากร) 2. นาฏกรรมชาวสยาม (เอนก นาวิกมูล) 3. สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย (ฉบับราชบณัฑิต) 4. การละเล่นของไทย (มนตรี ตราโมท) 5. โลกใบนี้ดนตรีไทย (ขุนอิน โตสง่า) 6. พัฒนาการดนตรีไทย : บ้าน – วัด – วัง (อนันต์ สบฤกษ์)

Page 147: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject: Web Design Code: ง 32104 Instructor: Ms. Renu Ruttanapon Class Level: Primary……. Secondary 5 Semester: 2 Academic Year: 2017 2 periods / week 40 periods/semester Basic Subject Intensive Subject Others ………….

Course Description

Study and design site structure and site navigation including content management. Students will be able to use special techniques to develop web pages by using Application Software. Therefore, they have to practice using a variety of software in order to develop web projects. Additionally, they will be able to design graphics for web, create form for receiving data and searching for information suitable and effectively. Creatively, they will be able to search for information, and use the information to develop web pages, so, they will be able to develop their web pages and to recognize techniques, which are suitable on web pages. They will be able to create web pages with Scripts developmentally and apply technology in the most useful way to create web pages. It will make their web pages more interesting. More importantly, students will know about the importance, the usefulness and the process involved in designing web pages.

Moreover, they will work on and solve problems both individually and with others; so, they will be able to know how to work efficiently as a team and individual. They must take responsibility to protect all school properties and class material. Understand working methods to help themselves, their families and the public, use materials correctly as required for the type of work.

They will also have the morality of not copying the information from other people or companies. They are taught about habits of work that show enthusiasm, punctuality, economy, care for society, cleanliness and carefulness. Developmentally, students will be able to realize how to organize a web site project creatively and to create their web site project with special techniques in advanced. They know and understand about occupations as well as have knowledge, capacity and morality related to occupations.

Page 148: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

The Learning Standard:

Strand Standard Strand 1: Living and Family

Understanding of concept of work; endowment with creativity and skills for various aspects and work processes, management, teamwork, investigation for seeking knowledge, morality, diligence, and awareness of the need to economise on the use of energy and the environment for one’s life and for family

Strand 2: Design and Technology

Understanding of technology and technological processes; design and creation of objects and utensils or methodologies through creative technological processes; selective utilisation of technologies beneficial to one’s life, society and the environment, and participation in sustainable technological management

Strand 3: Information and Communication Technology

Understanding, appreciation, and efficient, effective and ethical use of information technology processes in searching for data, communicating, problem–solving, working and livelihood

Indicators: (Write the details in items)

O 1.1.2 Create achievements through creative thinking and have teamwork skills.

O 1.1.3 Have management skills for work.

O 1.1.4 Have skills for problem-solving processes.

O 1.1.6 Have morality and desirable characteristics and habits when working.

O 1.1.7 Cost-effectively and sustainably use energy and resources in working for conservation of the environment.

O 2.1.2 Analyse the technological system.

O 3.1.3 Explain the data communication system for computer networks.

O 3.1.5 Efficiently solve problems through information technology processes.

O 3.1.7 Develop computer projects.

O 3.1.8 Use hardware and software appropriate to various tasks.

O 3.1.9 Communicate and search for data through the Internet.

O 3.1.10 Use computers in processing data to serve as information for decision-making.

Page 149: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination

Indicators

Communication 10 marks 1.1(2) 3.1(9)

20 Marks

1.1(3, 4) 2.1(2) 3.1(5, 7, 8, 9, 10) Authentic30 marks

1.1(2, 3, 4, 6) 2.1(2) 3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10)

Performance test 30 marks

1.1(2, 3, 4, 6, 7) 2.1(2) 3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10)

Portfolio10 marks 3.1(7, 8, 9)

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Assessment (30 Marks)

Topic / subject matter:

1. Web Graphic Design

2. Creating web pages by using Tables and AP elements

3. Creating web pages with Scripts

2. Final Examination (20 Marks)

Topic / subject matter:

1. Web Site Design and Web Graphic Design

2. Creating web pages by using Tables or AP elements

References:

Topic / subject matter:

101 Techniques for creating web sites: by DuangpornKiengkum Adobe Dreamweaver CC Classroom in a book

Page 150: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject: Computer (C Programming Language) Code ง 32104 Instructor: Ms. Katika Meksute Class/LevelPrimary…. Secondary 5 Semester2 Academic year 2017 2 periods/week 40periods/semester 4 units of learning Basic Subject Intensive Subject Others..........................

Course Description : In this course students are introduced to the basics of programming logic and to algorithm

design and development, using flowcharts, pseudo-code and the C programming language. Students will learn the basic constructs of programming, including variables, constants, expressions, control structures, functions pointers and arrays, and are introduced to functional, decision-based and iterative processing of data.

Students will achieve understanding by practice, problems solving, management in group work, reporting results, and seeking knowledge and also understand methods to help themselves, their families, and the public. Using the process of cooperative learning systematically in order to have students gain knowledge and skills through ICT processes. Using materials, instruments and equipment correctly as required for the type of work. They are also made aware about the benefits of information technology instruments.

Additionally, the students will enjoy learning among their friends. This course will also fulfill their characteristics and habits of work that show sacrifice and morality. It also supports students’ decisions with proper reasoning and let them have an awareness of economical and cost effective use of energy, resources and the environment. Additionally they also learn how to take care of computer equipment and must follow lab rules, take responsibility to protect all school properties and class materials. Understand working and improve each step of working, have skills in management, team working and systematic working, and have creative thinking, have characteristics and habit of work that show diligence, patience, responsibility, and honesty.

The Learning Standard: Strand : Standard Strand 1: Living and Family Understanding of concept of work; endowment with creativity and skills for various

aspects and work processes, management, teamwork, investigation for seeking knowledge, morality, diligence, and awareness of the need to economise on the use of energy and the environment for one’s life and for family

Strand 2: Design and Technology

Understanding of technology and technological processes; design and creation of objects and utensils or methodologies through creative technological processes;

Page 151: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

selective utilisation of technologies beneficial to one’s life, society and the environment, and participation in sustainable technological management

Strand 3: Information and Communication Technology

Understanding, appreciation, and efficient, effective and ethical use of information technology processes in searching for data, communicating, problem–solving, working and livelihood

Indicators: (Write the details in items)

O 1.1.2 Create achievements through creative thinking and have teamwork skills.

O 1.1.3 Have management skills for work.

O 1.1.4 Have skills for problem-solving processes.

O 1.1.6 Have morality and desirable characteristics and habits when working.

O 2.1.2 Analyse the technological system.

O 2.1.4 Have creativity in problem-solving or responding to needs for their own products or

development of others’ products.

O 3.1.3 Explain the data communication system for computer networks. O 3.1.5 Efficiently solve problems through information technology processes. O 3.1.7 Develop computer projects. O 3.1.8 Use hardware and software appropriate to various tasks. O 3.1.9 Communicate and search for data through the Internet. O 3.1.10 Use computers in processing data to serve as information for decision-making.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination

Indicators (Final examination)

1.Communication 10 marks 1.1(2) 3.1(9)

20 Marks

1.1(3, 4) 2.1(2) 3.1(5, 7, 8, 10) 2.Authentic 30 marks 1.1(2, 3, 4, 6)

2.1(2, 4) 3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10)

3.Performance test 30 marks

1.1(2, 3, 4, 6) 2.1(2, 4) 3.1(3, 5, 7, 8, 9, 10)

4.Portfolio 10 marks 3.1(7, 8, 9)

Total 100 marks

Page 152: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

1. Performance Test (30 Marks) Topic / subject matter:

Creating a work flowchart

Creating and use data types

Creating and identify the major elements in an object-oriented programming language Design reasoning skills using a robotics context

2. Final Examination ( 20 Marks )

Topic / subject matter:

- Creating a flowcharts

- C Programming

- Input and Output

- Variables and Math

- Condition Statements

References:

Topic / subject matter:

My world of computer secondary 5

Page 153: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : Grammar Code E. 32104 Instructors: Master Worawat Tiamsuwan

Class Level: Secondary 5/1-8 Semester 2Academic year2017 2 periods /week40 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description : This course provides students with practical concepts and knowledge of Present Subjunctive, PastSubjunctive, Past Perfect Subjunctive and Tenses. Subject and Verb Agreement for the Mid-Term Test and the Review of Phrases, Clauses and Tenses are for the Final Examinations. The main objective of this course is designed to strengthen students the practice of advanced English sentence structures. The analyses of more complex structures of the English language, commonly found in various authentic texts such as newspapers, magazines, and articles, are systematically practiced through project-based, collaborative, and student-centered learning to enhance the accuracy and fluency of the English language use. The Learning Standard:

Strand Standard Strand 1 : English for Communication F1.1 Understanding of and capacity to interpret

what has been heard and read from various types of media, and ability to express opinions with proper reasoning. F1.2 Endowment with language communication skills for exchange of data and information; efficient expression of feelings and opinions.

Strand 2 : Language and Culture F2.1 Appreciation of the relationship between language and culture of native speakers and capacity for use of language appropriate to occasions and places. F2.2 Appreciation of similarities and differences between language and culture of native and Thai speakers, and capacity for accurate and appropriate use of language.

Page 154: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Strand 4 : Language and Relationship with Community and the World

F4.1 Ability to use foreign languages in various situations in school, community and society. F4.2 Usage of foreign languages as basic tools for further education, livelihood and exchange of learning with the world community.

Indicators :(Write the details in items) F1.2.1 Converse and write to exchange data about themselves and various matters around them, experiences, situations, news/incidents and issues of interest to society, and communicate the data continuously and appropriately. F1.2.4 Speak and write appropriately to ask for and give data, describe, explain, compare and express opinions about matters/ issues/ news and situations heard and read. F2.1.1 Choose the language, tone of voice, gestures and manners appropriate to various persons, occasions and places by observing social manners and culture of native speakers. F.2.2.1 Analyse/discuss similarities and differences between the lifestyles, beliefs and culture of native speakers and those of Thais, and apply them appropriately. F4.1.1 Use language for communication in real situations, simulated situations in the classroom, school, community and society. F4.2.1 Use foreign languages in conducting research, collecting, analysing and summarising knowledge/ various data from the media and different learning sources for further education and livelihood.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination Indicators

Communication10 marks F. 1.2.1 , F. 1.2.4

30 marks F.2.1.1, F.2.2.1

Authentic20 marks F. 1.2.1, F. 2.1.1, F. 4.1.1

Performance test30 marks

F.2.1.1, F.2.2.1

Portfolio10 marks F.4.2.1 Total100marks

Assessment 1. Performance Assessment ( 30 marks) Topic / subject matter: The purpose of this performance test is designed to assess students’ English capabilities of the topics students will be studying during the first half of the semester. As written in the course

Page 155: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

description, three main topics are provided to students in this semester; they are (1) Present Subjunctive (2) Past Subjunctive and Past Perfect Subjunctive(3) Subject and Verb Agreement. (4) Tenses. 2. Final Examination ( 30 marks) Topic / subject matter: Concerning the purpose of the use of the final examination, it is designed to assess students’ English knowledge gained during the whole course in order to evaluate if students meet the objectives of the course. The final examination assesses students the review of main topics in English grammar. These are (1) The Review of Phrases (2) The Review of Clauses and (3) The Review of Tenses. References Topic / subject matter:

1. Understanding and Using English Grammar by Betty S. Azar 2. My World of English Secondary 5 by Saint Gabriel’s Foundation 3. Grammar, Usage, and Mechanics 6th course by Saint Gabriel’s College 4. TOEIC Practice Exams by Barron’s The leader in Test Preparation 5. Longman Complete Course for the TOEFL Test by Deborah Phillips

Page 156: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและการประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา ภาษาไทยเพิ่มเติม รหัส ท ๓๒๒๐๔ ครูผู้สอน มิสรักตาภา ธนาวรรณิต ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ......... มัธยมศึกษาปีที่ ๕/๖-๘ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๐ จ านวน ๓ คาบ/สัปดาห์ ๖๐ คาบ/ภาคเรียน จ านวน๑.๕หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ............................... ค าอธิบายรายวิชา ฝึกใช้ทักษะและกระบวนการทางภาษา พัฒนาการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด โดยอ่านข้อความ เรื่องราว สื่อสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณ การอ่านตีความ แปลความ สรุปความ การอ่านคิดเชิงวเิคราะห์ วิจารณ์ และการอ่านประเมินค่าจากบทความสารคดี อ่านระบุประเด็นที่ส าคัญ และฝึกการเขียนบรรณนานุกรม เขียนย่อความ เขียนสารคดี เขียนสะกดค าและการเขียนค าขวัญ วิเคราะห์เรื่องที่ฟังและดูสื่อสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณ พูดแสดงความคิดเห็น พูดโน้มน้าวใจ และศึกษาหลักการใช้ภาษาเกี่ยวกับ โครงสร้างพยางค์ พยางค์ปิด พยางค์เปิด วรรณยุกต์ระดับและวรรณยุกต์เปลี่ยนระดับ โวหารที่ใช้ในการเขียน การใช้ค าเชื่อม การใช้ค าผิดหน้าที่ กลุ่มค าและประโยค และฉันทลักษณ์ วิเคราะห์องค์ประกอบของวรรณกรรมประเภทเรื่องสั้น บทความ โดยหลักการวิจารณ์เบื้องต้น พิจารณาเรื่องที่อ่าน เพ่ือประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ เนื้อหา และคุณค่าทางสังคม และน าไปใช้ในชีวิตจริง โดยใช้กระบวนการทักษะทางภาษาการใช้เหตุผล การฝึกปฏิบัติ สาระ /มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด มฐ. ท๑.๑ มฐ. ท๑.๑ ตัวชี้วัดที่ ๒,๓,๕,๖ มฐ. ท ๒.๑ มฐ. ท ๒.๑ ตัวชี้วัดที่ ๑, ๓, ๔ มฐ. ท ๓.๑ มฐ. ท ๓.๑ ตัวชี้วัดที่ ๒,๓,๕ มฐ . ท ๔.๑ มฐ. ท ๔.๑ ตัวชี้วัดที่ ๑,๒,๓,๔ มฐ. ท ๕.๑ มฐ. ท ๕.๑ ตัวชี้วัดที่ ๒,๓ สาระการอ่าน มาตรฐาน ท๑.๑ / ตัวชีว้ัดที่ ๒,๓,๕,๖ ๒. ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อ่าน ๓. วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่านในทุก ๆ ด้านอย่างมีเหตุผล ๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งเก่ียวกับเรื่องที่อ่าน และ เสนอความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล ๖. ตอบค าถามจากการอ่าน งานเขียนประเภทต่าง ๆ ภายในเวลาที่ก าหนด สาระการเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ / ตัวชีว้ดัที่ ๑, ๓, ๔ ๑. เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้องมีข้อมูลและสาระส าคัญชัดเจน ๓. เขียนย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบและเนื้อหาหลากหลาย

Page 157: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

๔. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่าง ๆ สาระการฟังและดู มาตรฐาน ท ๓.๑ / ตัวชี้วัดที่ ๒,๓, ๕ ๒. วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟัง และดูอย่างมีเหตุผล ๓. ประเมินเรื่องท่ีฟัง และดู แล้วก าหนดแนวทางน าไปประยุกต์ใช้ ในการด าเนินชีวิต ๕. พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษาท่ีถูกต้องเหมาะสม สาระหลักและการใช้ มาตรฐาน ท ๔.๑ / ตัวชี้วัดที่ ๑,๒,๓, ๔ ๑. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา ๒. ใช้ค าและกลุ่มค าสร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ ๓. ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะและบุคคล รวมทั้งค าราชาศัพท์อย่างเหมาะสม ๔. แต่งบทร้อยกรอง สาระวรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ / ตัวชี้วัดที่ ๒,๓ ๒.วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทาง ประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต ๓. วิเคราะห์ และประเมินคุณค่า ด้านวรรณศิลป์ของกวี และวรรณกรรมในฐานะที่เป็นเอกทางวัฒนธรรมของชาติ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวชี้วัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัด(ปลายภาค) การสื่อสาร๑๐คะแนน มฐ. ท๑.๑ ( ๖)

ม ฐ. ท ๓.๑ (๕)

คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน

มฐ. ท ๑.๑ (๒.๓,๕,๖ ) ม ฐ. ท ๒.๑ (๑) ม ฐ. ท ๓.๑ (๒,๓) ม ฐ.ท ๔.๑ (๒,๓) ม ฐ. ท ๕.๑ (๒)

สภาพจริง๒๐คะแนน ม ฐ.ท ๒.๑ ( ๔) มฐ. ท ๓.๑(๑ ) มฐ.ท ๔.๑ (๔)

กลางภาคปฏิบัติ ๓๐คะแนน ม ฐ. ท๑.๑ ( ๒,๓,๖) ม ฐ. ท ๒.๑ (๑,๓ ) ม ฐ..ท ๓.๑ (๒,๓) ม ฐ. ท ๔.๑ (๑, ๒,๓,) ม ฐ. ท ๕.๑(๒,๓)

แฟ้มสะสมงาน ๑๐ คะแนน ม ฐ. ท ๒.๑ (๑ ) รวมคะแนนทั้งหมด ๑๐๐ คะแนน

Page 158: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

๑. การสอบปฏิบัติ / กลางภาค (๓๐คะแนน)

เรื่อง / บทที่

รายละเอียด

๑. - อ่านคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ จากบทร้อยแก้ว บทร้อยกรองได้ ถูกต้อง

๒. - อ่านระบุประเด็น สรุปความ

๓. - อ่านและเขียนสะกดค าได้ถูกต้อง

๔. - เขียนรายงาน ประกาศ ค าขวัญ การเขียนย่อความ

๕. - วิเคราะห์สื่อ โฆษณาอย่างมีเหตุผล

๖ - โครงสร้างพยางค์ พยางค์ปิด พยางค์เปิด วรรณยุกต์ระดับ วรรณยุกต์เปลี่ยนระดับ

๗. - ส านวน สภุาษิต ค าพังเพย

๘. - การเขียนแหล่งที่มา เชิงอรรถ บรรณนานุกรมและการสืบค้น ข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต

๙. - การอนุมานตีความจากบทร้อยกรอง

๑๐. - โวหารที่ใช้ในการเขียน

๑๐. - ฉันทลักษณ์ของบทร้อยกรองและคุณค่าทางวรรณศิลป์

๒. การสอบปลายภาค ( ๓๐ คะแนน )

เรื่อง / บทที่ รายละเอียด

๑. - อ่านคิดเชิงวิเคราะห์ อ่านตีความ อ่านระบุประเด็น อ่านสรุปความ

๒. - เขียนสารคดีท่องเที่ยวและสารคดีชีวประวัติ

๓. - วิเคราะห์เรื่องที่ฟังและดู

๔. - การอ่านและเขียนสะกดค า

๕. - การเรียบเรียงประโยคและการเชื่อมประโยค

๖. - การใช้ค าเชื่อมและการเลือกใช้ค า

๗ - โครงสร้างประโยค

๘. - ชนิดของประโยค

Page 159: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

๙. - การใช้ค าผิดหน้าที่

๑๐. - การแสดงทรรศนะ

๑๑. - โวหารที่ใช้ในการเขียน

๑๒. - ฉันทลักษณ์บทร้อยกรอง

๑๓. - อ่านคิดวิเคราะห์จากเรื่อง บทความบทร้อยกรอง

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

1. หลักและการใช้ภาษาไทย 2. หนังสือภาษาไทยระดับชั้น ม.ปลาย 3. แนวข้อสอบ O-NET / A- NET /GAT / ๙ วิชาสามัญ 4. หนังสือคู่มือภาษาไทย

หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม หนังสือภาษาไทยระดับชั้น ม. ปลาย หมายเหตุ: โครงการสอนนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

Page 160: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา ประวัติศาสตร์ รหัส ส 32204 ครูผู้สอน มาสเตอร์วิเชียร ภคพามงคลชัย

ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ….....มัธยมศึกษาปีที่ ….5/6-8 ภาคเรียนที่ …2…./2560 จ านวน …3…..ชั่วโมง/สัปดาห์ ……60…….คาบ/ภาคเรียน จ านวน ………4……..หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา

วิเคราะห์ อภิปราย เปรียบเทียบประเด็นส าคัญของประวัติศาสตร์ไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ 6 - 9) ในเรื่องความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ ความส าคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย ปัจจัยที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทย และวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีผลต่อสังคมไทยในยุคปัจจุบัน สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ เห็นคุณค่าผลงานของบุคคลส าคัญทั้งชาวไทยและต่างประเทศที่มีส่วนสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทยและประวัติศาสตร์ไทย วางแผนก าหนดแนวทางและการมีส่วนร่วมการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน7ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 4 มาตรฐาน ส.4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง

ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ ตัวช้ีวัดที่ 1 ตระหนักถึงความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของ

มนุษยชาติ ตัวช้ีวัดที่ 2 สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส.4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธ ารงความ

เป็นไทย ตัวช้ีวัดที่ 1 วิเคราะห์ประเด็นส าคัญของประวัติศาสตร์ไทย ตัวช้ีวัดที่ 2 วิเคราะห์ความส าคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย ตัวช้ีวัดที่ 3 วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทย และวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีผลต่อสังคมไทย

ในยุคปัจจุบัน ตัวช้ีวัดที่ 4 วิเคราะห์ผลงานของบุคคลส าคัญท้ังชาวไทยและต่างประเทศท่ีมีส่วนสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทย และประวัติศาสตร์ไทย ตัวช้ีวัดที่ 5 วางแผนก าหนดแนวทางและการมีส่วนร่วมการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย

Page 161: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน ส 4.1 ข้อ 1,2

30 ส 4.1 ข้อ 1, 2 ส 4.3 ข้อ 1, 2,3,4,5 2.สภาพจริง 20 คะแนน

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน 4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน 1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)20 คะแนน รายละเอียดการสอบ

การแบ่งยุคสมัยและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยในสมัยรัตนโกสินทร์(รัชกาลที่ 6 - 9)และ ลักษณะการเมืองการปกครองในสมัยรัชกาลที่6 ถึง รัชกาลที่ 9

รายละเอียดการสอบ ลักษณะการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์(รัชกาลที่ 6 - 9) หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

รศ.ดร.ไพฑูรย์ มีกุศล และ รศ.ทวีศักดิ์ ล้อมลิ้ม.2544.ประวัติศาสตร์ ม.5.กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพาณิชย์.

2. สอบปลายภาค 30 คะแนน

Page 162: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา(มวยไทย)รหัส พ32204 ครูผู้สอน มาสเตอร์ไพโรจน์ สายทอง ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ .... มัธยมศึกษาปีที่ 5/1-9 ภาคเรียนที่ 2/2560 จ านวน 1 คาบ/สัปดาห์ 20 คาบ/ภาคเรียน จ านวน 1 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ..................

ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาและฝึกปฏิบัติ สมรรถภาพทางกาย ทักษะพื้นฐาน การเล่นเชิงการไหว้ครูและการชกมวยไทยโดยใช้

กระบวนการวิเคราะห์เชื่อมโยง การฝึกปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการสืบค้น เพ่ือให้มีระเบียบวินัย ใฝ่เรียนรู้ เคารพกฎกติกา มุ่งมั่นในการท างาน ความสามารถในการคิด การสื่อสาร การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี การใช้ทักษะชีวิต มีทัศนคติท่ีดีต่อการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวชุมชนและรักในการออกก าลังกาย ตัวชี้วัด มาตรฐาน พ3.1ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5 พ3.2 ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4 รวม 9 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน พ 3.1เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา 1. วิเคราะห์ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบต่างๆ ในการเล่นกีฬา 2. ใช้ความสามารถของตน เพ่ือเพ่ิมศักยภาพของทีม ค านึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อ่ืนและสังคม 3. เล่นกีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบุคคล / คู่ กีฬาประเภททีมได้อย่างน้อย 1 ชนิด 4. แสดงการเคลื่อนไหวได้อย่างสร้างสรรค์ 5. เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการนอกโรงเรียน และน าหลักการแนวคิด ไปปรับปรุงและพัฒนา

คุณภาพชีวิตของตนและสังคม

มาตรฐาน พ 3.2รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าสม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา

1. ออกก าลังกายและเล่นกีฬา ที่เหมาะสมกับตนเองอย่างสม่ าเสมอ และใช้ความสามารถของตนเองเพ่ิมศักยภาพของทีม ลดความเป็นตัวตน ค านึงถึงผลที่เกิดต่อสังคม

2. อธิบายและปฏิบัติเกี่ยวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธีต่างๆ ในระหว่างการเล่น การแข่งขันกีฬากับผู้อ่ืนและน าไปสรุปเป็นแนวปฏิบัติและใช้ในชีวิตประจ าวันอย่างต่อเนื่อง

3. แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเล่นและการแข่งขันกีฬา ด้วยความมีน้ าใจนักกีฬา และน าไปใช้ปฏิบัติทุกโอกาส จนเป็นบุคลิกภาพท่ีดี

4. ร่วมกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬาอย่างมีความสุข ชื่นชมในคุณค่าและความงามของการกีฬา

Page 163: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.3.1 ตัวชี้วัดที่ 1-5 มฐ.3.2 ตัวชี้วัดที่ 1-4

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

มฐ.3.1 ตัวชี้วัดที่ 1-5 มฐ.3.2 ตัวชี้วัดที่ 1-4

สภาพจริง 25+5 คะแนน

กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พร้อมเกณฑ์การให้คะแนน) คะแนนการสื่อสาร 10 คะแนน

1. ความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา 4 คะแนน

2. ความสนใจต่อกระบวนการเรียนรู้ 3 คะแนน

3. การถ่ายทอด สื่อสาร น าความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 3 คะแนน

คะแนนภาคปฏิบัติ 30 คะแนน

1. การพันผ้าชกมวยไทย 15 คะแนน

2. ทักษะการกระโดดเชือก 15 คะแนน

คะแนนสอบตามสภาพจริง25+5คะแนน หัวข้อเรื่อง การล่อเป้า (10 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะการล่อเป้า 5

ความต่อเนื่องในการล่อเป้า 5 หัวข้อเรื่อง การชกเป้า (10 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะการต่อยมวย 5 ทักษะการชกเป้า

ความแม่นย าในการล่อเป้า 5 หัวข้อเรื่อง อ่าน คิด วิเคราะห์ ( 5คะแนน)

Page 164: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

สอบปลายภาค 20 คะแนน รายละเอียดการสอบ หัวข้อเรื่อง การจับคู่ชก (20 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะกีฬามวยไทย 10

ความต่อเนื่องของทักษะมวยไทย 10 หนังสืออ้างอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติมหนังสือแบบเรียน วพ มวยไทยเอกสาร แบบฝึกหัด แผ่นภาพ หนังสือค้นคว้าเพ่ิมเติม จากอินเตอร์เน็ต ห้องสมุด

Page 165: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา(มวยสากล)รหัส พ.32204 ครูผู้สอนมาสเตอร์ สง่า จาระนัย ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ... มัธยมศึกษาปีที่ ....5/1-8.. ภาคเรียนที่ 2/2560 จ านวน 1 คาบ/สัปดาห์ 20 คาบ/ภาคเรียน จ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาและฝึกปฏิบัติ สมรรถภาพทางกาย การวางแผนการเตรียมตัวก่อนชก ทักษะพ้ืนฐาน รูปแบบการชก และการชกมวยสากลโดยใช้กระบวนการวิเคราะห์เชื่อมโยง การฝึกปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการสืบค้น เพ่ือให้มีระเบียบวินัย ใฝ่เรียนรู้ เคารพกฎกติกา มุ่งมั่นในการท างาน ความสามารถในการคิด การสื่อสาร การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี การใช้ทักษะชีวิต มีทัศนคติท่ีดีต่อการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวชุมชนและรักใน การออกก าลังกาย ตัวชี้วัด มาตรฐาน พ3.1ตัวชี้วัดที่ 1,2,3,4,5 พ3.2 ตัวชีว้ัดที่ 1,2,3,4 รวม 9 ตัวชีว้ดั ตัวช้ีวัด มาตรฐาน พ 3.1เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา 1.วิเคราะห์ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบต่างๆ ในการเล่นกีฬา 2.ใช้ความสามารถของตน เพ่ือเพ่ิมศักยภาพของทีม ค านึงถึงผล ที่เกิดต่อผู้อื่นและสังคม 3.เล่นกีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบุคคล / คู่ กีฬาประเภททีมได้อย่างน้อย 1 ชนิด 4. แสดงการเคลื่อนไหวได้อย่างสร้างสรรค์ 5.เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการนอกโรงเรียน และน าหลักการแนวคิด ไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนและสังคม มาตรฐาน พ 3.2รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าสม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา 1.ออกก าลังกายและเล่นกีฬาที่เหมาะสมกับตนเองอย่างสม่ าเสมอ และใช้ความสามารถของตนเองเพ่ิมศักยภาพของทีม ลดความเป็นตัวตน ค านึงถึงผลที่เกิดต่อสังคม 2.อธิบายและปฏิบัติเกี่ยวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธีต่างๆ ในระหว่างการเล่น การแข่งขันกีฬากับผู้อื่นและน าไปสรุปเป็นแนวปฏิบัติและใช้ในชีวิตประจ าวันอย่างต่อเนื่อง 3.แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเล่นและการแข่งขันกีฬา ด้วยความมีน้ าใจนักกีฬา และน าไปใช้ปฏิบัติทุกโอกาส จนเป็นบุคลิกภาพที่ดี 4.ร่วมกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬาอย่างมีความสุข ชื่นชมในคุณค่าและความงามของการกีฬา

Page 166: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค)

คะแนนปลายภาค

ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.3.1 ตัวชี้วัดที่ 1-5 มฐ.3.2 ตัวชี้วัดที่ 1-4

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

มฐ.3.1 ตัวชี้วัดที่ 1-5 มฐ.3.2 ตัวชี้วัดที่ 1-4

สภาพจริง 25+5 คะแนน กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พร้อมเกณฑ์การให้คะแนน) คะแนนการสื่อสาร 10 คะแนน

1. ความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา 5 คะแนน

2. ความสนใจต่อกระบวนการเรียนรู้ 5 คะแนน

รายละเอียดการสอบ หัวข้อเรื่องการล่อเป้า( 15 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะการล่อเป้า 10 ความต่อเนื่องในการล่อเป้า 5

หัวข้อเรื่องการชกเป้า (15 คะแนน) พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะการต่อยมวยสากล 5 ทักษะการชกเป้า 5

ความแม่นย าในการล่อเป้า 5 คะแนนสอบตามสภาพจริง25+5คะแนน หัวข้อเรื่องกระโดดเชือก(10 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะความถูกต้อง 5

จ านวนครั้งตามเวลาที่ก าหนด 5 หัวข้อเรื่องการต่อยหมัดชุด (15 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะความถูกต้อง 15

จ านวนครั้งตามเวลาที่ก าหนด

สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)

Page 167: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

หัวข้อเรื่องอ่าน คิด วิเคราะห์ ( 5คะแนน) คะแนนสอบแฟ้มสะสมงาน 10คะแนน หัวข้อเรื่องพันมือ(10 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะความถูกต้อง 5

ท าได้ตามเวลาที่ก าหนด 5 สอบปลายภาค 20 คะแนน รายละเอียดการสอบ หัวข้อเรื่องการจับคู่ชก(20 คะแนน)

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน ทักษะกีฬามวยสากล 10 ทักษะการป้องกันตัว 5

ความมีน้ าใจนักกีฬา 5 หนังสืออ้างอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม หนังสือแบบเรียน วพ มวยสากล เอกสาร แบบฝึกหัด แผ่นภาพ หนังสือห้องสมุด ค้นคว้าเพ่ิมเติมจากอินเตอร์เน็ต

Page 168: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและการประเมินผล

กลุ่มสาระการเรียนรู้: ศิลปะ วิชา: ดนตรีไทย (เพ่ิมเติม) รหัส: ศ 32203 - 32204 ครูผู้สอน: มิสสาวิตรี แจ่มใจ ระดับชั้น ประถมศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ 5/6-8 ภาคเรียนที่ 1-2 / 2560

จ านวน 2 คาบ / สัปดาห์ 40 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 1 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ...........................

**************************************************************************************

ค าอธิบายรายวิชา เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านดนตรีศึกษาวิธีการสร้างสรรค์งานดนตรีและการแสดง จาก

แนวคิดและวิธีการสร้างงานของศิลปินที่ตนชื่นชอบ ประวัติสังคีตกวี ชีวประวัติบุคคลส าคัญในวงการดนตรี น าเสนอโดยใช้เทคโนโลยี เพ่ือแสดงความคิดเห็นในเชิงสร้างสรรค์ศึกษาการจัดวงดนตรีและการจ าแนกประเภทวงดนตรีไทยและสากล รูปแบบของงการแสดงและวิธีการสร้างสรรค์การแสดงในรูปแบบต่าง ๆโอกาสและสถานที่วิธีการเล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวงโดยเน้นเทคนิคการแสดงออกและคุณภาพของการแสดง เปรียบเทียบอารมณ์และความรู้สึกที่ได้รับจากงานดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างกันมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิตและการใช้เทคโนโลยีเพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านดนตรีโดยค านึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการท างาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด สาระดนตรี มาตรฐานที่ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตัวช้ีวัดที่

1. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและ วงดนตรีแต่ละประเภท 2. จ าแนกประเภทและรูปแบบของ วงดนตรีทั้งไทยและดนตรีสากล 3. อธิบายเหตุผลที่คนต่างวัฒนธรรม สร้างสรรค์งานดนตรีแตกต่างกัน 4. อ่าน เขียน โน้ตดนตรีไทย ในอัตราจังหวะต่างๆ 5. ร้องเพลง หรือเล่นดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเน้นเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง 6. สร้างเกณฑ์ส าหรับประเมินคุณภาพ การประพันธ์และการเล่นดนตรี ของตนเองและผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม 7. เปรียบเทียบอารมณ์ และความรู้สึก ที่ได้รับจากงานดนตรีที่มาจากวัฒนธรรม ต่างกัน 8. น าดนตรีไปประยุกต์ใช้ในงานอ่ืน ๆ

มาตรฐานที่ ศ 2.2เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่เป็นมรดกทาง

วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล

Page 169: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

ตัวช้ีวัดที่ 1. วิเคราะห์รูปแบบของดนตรีไทยและ ดนตรีสากลในยุคสมัยต่าง ๆ 2. วิเคราะห์สถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมต่าง ๆ 3. เปรียบเทียบลักษณะเด่นของดนตรี ในวัฒนธรรมต่างๆ 4. อธิบายบทบาทของดนตรีในการ สะท้อนแนวความคิดและค่านิยม ที่เปลี่ยนไปของคนในสังคม 5. น าเสนอแนวทางในการส่งเสริมและ อนุรักษ์ดนตรีในฐานะมรดกของชาติ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค) การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.3 / 2.1.7 / 2.2.4

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

ศ 2.1.6 / 2.2.5 สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.8 / 2.2.1 / 2.2.2 / 2.2.3 ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.4 / 2.1.5 แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.1 / 2.2.2

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

หัวข้อเนื้อหาวิชา

1. การขับร้อง-ปฏิบัติเครื่องดนตรี 1.1. ทักษะ, แบบฝึกหัดการปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย 1.2. ปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย 1.3. การขับร้องเพลงไทย

2. ทฤษฎีดนตรีไทย 2.1. ทฤษฎีโน้ตไทย 2.2. การวิจารณ์ผลงานดนตรีการแสดง 2.3. อ่าน คิด วิเคราะห์ เขียนสื่อความ

3. การแสดง/น าเสนอผลงาน 3.1. การจัดท าแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) 3.2. การบูรณาการ การเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic) 3.3. การสอบปฏิบัติรวมวงเครื่องดนตรีไทย (Final)

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พร้อมเกณฑ์การให้คะแนน) ระหว่างเรียน 80 คะแนน

1. การประเมินจากการสื่อสารส่วนบุคคล(10คะแนน) ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน o การสอบปากเปล่า (ถาม/ตอบ) 5 คะแนน o ความสนใจระหว่างเรียน 3 คะแนน

Page 170: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

o มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาดนตรี 2 คะแนน 2. การประเมินจากการปฏิบัติ (30คะแนน)

2.1. ทักษะ, แบบฝึกหัด การปฏิบัติเครื่องดนตรี เป็นบทเพลงประกอบการแสดงละครพันทาง เกณฑ์การให้คะแนน

o ทักษะพ้ืนฐานการปฏิบัติเครื่องดนตรี 3 คะแนน o แบบฝึกหัดการปฏิบัติเครื่องดนตรี 2 คะแนน

2.2. การบรรเลงรายบุคคล ตามบทเพลงที่ก าหนดให้ เกณฑ์การให้คะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ท านอง ถูกต้องและแม่นย า 15 คะแนน o มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

2.3. การขับร้องเพลงไทย ตามบทเพลงที่ก าหนดให้ เกณฑ์การให้คะแนน

o ขับร้องตรงจังหวะ / ท านองของเพลง 3 คะแนน o ความไพเราะของการขับร้อง 2 คะแนน

3. การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30คะแนน)

3.1. ความส าเร็จของชิ้นงาน (20 คะแนน) ชิ้นงานที่ได้รับมอบหมายเป็นงานกลุ่มหรือเดี่ยว เกณฑ์การให้คะแนน

o รายละเอียด, ความส าเร็จของชิ้นงานที่ได้รับมอบหมาย 10 คะแนน o ความสะอาด / เป็นระเบียบ 5 คะแนน o ทัศนคติของนักเรียนต่อการเรียนดนตรีและชิ้นงาน 5 คะแนน

3.2. การทดสอบอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียนสื่อความ (5 คะแนน) ประเมินจากการสอบข้อเขียน โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

เกณฑ์การให้คะแนน o การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม 3 คะแนน o พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุ่มดนตรี) 2 คะแนน

3.3. การสอบภาคทฤษฎี (5 คะแนน) ประเมินการสอบเนื้อหาทฤษฎีดนตรี เป็นข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือกจ านวน 20 ข้อ

เกณฑ์การให้คะแนน o การทดสอบตัวเลือก 5 คะแนน

4. การประเมินจากการแฟ้มสะสมงาน (10 คะแนน) เลือกชิ้นงานตามหัวข้อที่ก าหนดให้

เกณฑ์การให้คะแนน o เนื้อหาข้อมูล / องค์ประกอบหลัก 5 คะแนน

Page 171: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

o ความรับผิดชอบ / รูปแบบ 3 คะแนน o การตรงต่อเวลา 2 คะแนน

5. การสอบปลายภาค 20 คะแนน

การบรรเลงรวมวง ตามหลักดุริยางคศาสตร์ ตามบทเพลงที่ก าหนดไว้ในหลักสูตร (20 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ท านอง ถูกต้องและแม่นย า 10 คะแนน o มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง 5 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 5 คะแนน

หนังสืออ้างอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

เอกสารประกอบการเรียนการสอนดนตรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

Page 172: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชาศิลปะ (ดนตรีสากล/เพิ่มเติม) รหัส ศ32203 – ศ32204 ครูผู้สอน มาสเตอร์อชิตพล ทิณรัตน์ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ 5/6-8 ภาคเรียนที่ 1-2/2560 จ านวน 1 คาบ/สัปดาห์ 20 คาบ/ภาคเรียน จ านวน 1 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วชิาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ดนตรีในยุคต่าง ๆ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ดนตรี และ ระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมดนตรี และ โปรแกรมเสริม (Plugins) รวมทั้งวิวัฒนาการที่เกิดข้ึนในปัจจุบัน และ อนาคต การใช้คอมพิวเตอร์ดนตรีเบื้องต้น การใช้โปรแกรมส าเร็จรูปทางดนตรีในการสร้างผลงานดนตรี ศึกษาระบบ และ การบันทึกข้อมูล MIDI และ Wave การใช้โปรแกรมประเภท Sequencer การวิเคราะห์ การแก้ไขปรับปรุงข้อมูลการใช้โปรแกรมเสริม VST, VSTi สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด

สาระดนตรี มฐ. ศ 2.1 ตัวชี้วัดที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 มฐ. ศ 2.2 ตัวชี้วัดที่ 1, 2

มาตรฐานที่ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตัวช้ีวัดที่ 1. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและ วงดนตรีแต่ละประเภท 2. จ าแนกประเภทและรูปแบบของ วงดนตรีทั้งไทยและสากล 3. อธิบายเหตุผลที่คนต่างวัฒนธรรม สร้างสรรค์งานดนตรีแตกต่างกัน 4. อ่าน เขียน โน้ตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะต่างๆ 5. ร้องเพลง หรือเล่นดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเน้นเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง 6. สร้างเกณฑ์ส าหรับประเมินคุณภาพ การประพันธ์และการเล่นดนตรี ของตนเองและผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม 7. เปรียบเทียบอารมณ์ และความรู้สึก ที่ได้รับจากงานดนตรีที่มาจากวัฒนธรรม ต่างกัน 8. น าดนตรีไปประยุกต์ใช้ในงานอ่ืน ๆ

มาตรฐานที่ ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวช้ีวัดที่ 1. วิเคราะห์รูปแบบของดนตรีไทยและ ดนตรีสากลในยุคสมัยต่าง ๆ 2. วิเคราะห์สถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมต่าง ๆ 3. เปรียบเทียบลักษณะเด่นของดนตรี ในวัฒนธรรมต่างๆ 4. อธิบายบทบาทของดนตรีในการ สะท้อนแนวความคิดและค่านิยม ที่เปลี่ยนไปของคนในสังคม

Page 173: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

5. น าเสนอแนวทางในการส่งเสริมและ อนุรักษ์ดนตรีในฐานะมรดกของชาติ

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.4 คะแนนเต็ม

20 คะแนน

ศ 2.1.7 2.สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.1 / 2.1.5 / 2.2.1

/ 2.2.2

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.2 / 2.1.3

4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.6

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล

ระหว่างเรียน 80 คะแนน

การประเมินจากการสื่อสารส่วนบุคคล (10 คะแนน) ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน มีอุปกรณ์และเอกสารประกอบการเรียน........................................ 5 คะแนน มีความรับผิดชอบในการเรียน....................................................... 3 คะแนน มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาดนตรี............................................................ 2 คะแนน

การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน)

บรรเลงบทเพลง นักเรียนบรรเลงบทเพลงตามที่ก าหนดให้ เกณฑ์การให้คะแนน

บทเพลงตรงตามจังหวะ-ท านอง ถูกต้องแม่นย า............................. 20 คะแนน บรรเลงบทเพลงตามเครื่องหมายและอารมณ์เพลง......................... 10 คะแนน

การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน)

การสอบบรรเลงเพลง (20 คะแนน) นักเรียนเลือกบทเพลง หรือครูก าหนดบทเพลง

เกณฑ์การให้คะแนน ความถูกต้องในโน้ตและจังหวะ ....................................................... 10 คะแนน เทคนิคการบรรเลงตามรูปแบบของบทเพลงที่บรรเลง......................... 5 คะแนน ความต่อเนื่องในการบรรเลงและทักษะการอ่านโน้ต.. ......................... 5 คะแนน

การทดสอบอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียนสื่อความ (5 คะแนน) ประเมินจากการสอบอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความ จากบทความที่ครูก าหนด พร้อมเขียนความคิดเห็นโดย

สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

Page 174: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

เกณฑ์การให้คะแนน การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม........................................... 3 คะแนน พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุ่มดนตรี)................................................ 2 คะแนน

การสอบทฤษฎี (5 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

การทดสอบตัวเลือก................................................................... 5 คะแนน

การประเมินจากการแฟ้มสะสมงาน (10 คะแนน) นักเรียนน าเสนอรูปแบบโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ ตามหัวข้อที่ครูก าหนดให้

เกณฑ์การให้คะแนน เนื้อหาข้อมูล / องค์ประกอบหลัก............................................. 5 คะแนน ความรับผิดชอบ / รูปแบบ....................................................... 3 คะแนน ตรงเวลา ................................................................................ 2 คะแนน

สอบปลายภาค 20 คะแนน การสอบแสดงผลงานผ่านการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ดนตรีเป็นผลงานเดี่ยว และ กลุ่มตามท่ีครูก าหนด (20 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน - บรรเลงตามจังหวะ / ตัวโน้ต ถูกต้องและแม่นย า........................ 10 คะแนน - บุคลิกภาพของผู้สอบ.............................................................. 5 คะแนน - มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง................................ 5 คะแนน

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาดนตรีเพิ่มเติมระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

Page 175: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา ศิลปะ (เพ่ิมเติม) รหัส ศ 32204 ครูผู้สอน มาสเตอร์สันติ หาญจิตตระการ ระดับชั้น ประถมศึกษา มัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 ภาคเรียนที่ 2 / 2560

จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ........................... ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาวิเคราะห์เรื่ององค์ประกอบในการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ใช้ในชีวิตประจ าวัน รวมถึงการน าวัสดุที่มีอยู่ทั่วไปมาสร้างสรรค์ให้เกิดผลิตภัณฑ์อีกรูปแบบ

การใช้ความรู้ทางทัศนธาตุ และหลักการออกแบบเบื้องต้นในการใช้สื่อความหมายในรูปแบบและเทคนิคต่างๆ สามารถเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์และเทคนิคข้ันตอนเพ่ือการแสดงออกทางทัศนศิลป์รวมถึง การจัดองค์ประกอบศิลปะในงานออกแบบ ( Composition of Design ) เพ่ือการสร้างสรรค์งานองค์ประกอบศิลป์ โดยสามารถแสดงออกถึงแนวความคิดและเทคนิคกระบวนการท างานอย่างเป็นขั้นตอน

โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ตามสภาพจริง ที่เน้นศักยภาพของสมองซีกซ้ายและขวา การเรียนรู้ในเชิงพหุปัญญา มุ่งไปสู่การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เพ่ือการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง การวัดผล ติดตามและประเมินผลงานตามสภาพจริงจากศักยภาพของผู้เรียนทุกด้าน โดยวัดประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้

เพ่ือให้ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ(มาตรฐานที่ 8) ชื่นชม ร่วมกิจกรรมและมีผลงานด้านศิลปะ มีความรัก ความสนใจงานศิลปะ มีผลงานด้านศิลปะและการวาดภาพที่ตนเองภาคภูมิใจ สามารถวิพากษ์วิจารณ์งานศิลป์ได้ มีความสนใจ ซาบซึ้งและเห็นคุณค่าในผลงานด้านศิลปะ แสวงหาความรู้และพัฒนาทักษะของตนเองในด้านศิลปะอย่างต่อเนื่อง เข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะตามความถนัดและความสนใจของตนเอง สามารถแสดงทักษะหรือความสามารถทางศิลปะตามความสามารถของตนเอง ใฝ่เรียนรู้ มีความวิริยะ อุตสาหะ มุ่งมั่นในการท างาน มีวินัยและรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ ตรงต่อเวลา และรักษาความสะอาด สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระท่ี 1 ทัศนศิลป์ มฐ. ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 1, 3, 4,10 รวม 4 ตัวชี้วัด ตัวช้ีวัด มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึกความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจ าวัน 1. วิเคราะห์การใช้ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบต่างๆ 3. วิเคราะห์การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเทคนิคของศิลปินในการแสดงออกทางทัศนศิลป์ 4. มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และกระบวนการที่สูงข้ึนในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ 10. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทย สากล โดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการสร้างงานของศิลปินที่ตนชื่นชอบ

Page 176: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่

(ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

การสื่อสาร......10........คะแนน มาตรฐานที่ ศ 1.1

ตัวชี้วัดที่ 1,3,4,10

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

มาตรฐานที่ ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 1,3,4

สภาพจริง........30........คะแนน กลางภาค/ปฏิบัติ.....30....คะแนน แฟ้มสะสมงาน....10...คะแนน

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน 1. การประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1.พฤติกรรมในห้องเรียน 5 การเอาใจใส่ ตั้งใจท างานที่ได้รับมอบหมาย

2.ความรับผิดชอบ 3 ส่งงานครบทุกชิ้น และส่งตรงเวลาที่ก าหนด

3.การตอบค าถามในเรื่องที่ก าหนด 2 การมีส่วนร่วมในชั้นเรียนโดยการตอบค าถาม

คะแนนรวม 10

2. การประเมินสภาพจริง ( 30 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1.สร้างสรรค์งานด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ 10 ความคิดสร้างสรรค์

2. องค์ประกอบ Sketch Design 10 ค่าน้ าหนักของสี

3. ทฤษฎีออกแบบผลิตภัณฑ์

*ครูผู้สอนจัดสอบในชั่วโมงเรียน*

5 เนื้อหาและความรู้เกี่ยวกับงานประยุกต์ศิลป์ การออกแบบ

ผลิตภัณฑ์

4. จริยะ อ่านคิดวิเคราะห์

*ครูผู้สอนจัดสอบในชั่วโมงเรียน*

5 ตอบปัญหาเหตุการณ์จากโจทย์โดยยึดหลักคุณธรรมและ

จริยธรรม

คะแนนรวม 30

3. การประเมินแฟ้มสะสมงาน ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. การจัดท าแฟ้มสะสมงาน 5 เลือกผลงานของตนเองที่ชอบหรือประทับใจ 1 ชิ้น

2. การเขียนแสดงความคิดเห็น 3 เขียนบรรยายวิธีการท างานและความประทับใจในผลงานชิ้นนั้น

3. การส่งผลงาน 2 ความเรียบร้อย ตรงต่อเวลา

คะแนนรวม 10

Page 177: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

4. การสอบปฏิบัติ ( 30 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. product D.I.Y. 10 หลักการออกแบบและความคิดสร้างสรรค์

2. cardboard chair

(idea,development,skd)

10 ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบและการลงสี

3. cardboard chair (Model) 10 ความสวยงามและความถูกต้อง

คะแนนรวม 30

5. การสอบปลายภาค ( 20 คะแนน )

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

การออกแบบผลิตภัณฑ์เพ่ือ

สิ่งแวดล้อม

7 ความถูกต้องตามหลักการออกแบบ

7 การระบายสี ไล่น้ าหนักสี เรียบร้อย สวยงาม

6 ความตั้งใจ สะอาด ส่งตรงเวลา

คะแนนรวม 20

หนังสืออ้างอิง / เอกสารประกอบการสอน และหนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

- ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย // ความถนัดทางศิลปกรรม // องค์ประกอบศิลปะ

- นิตยสาร Art 4 D // นิตยสาร I-Desing // นิตยสาร Fine Art และอ่ืนๆ

Page 178: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Course Outline and Evaluation and Assessment

Course Title :English IE. 2 (Reading) Course Code: EN32204 Instructors: 1. Mr. CharinwitSeedanont 2. Ms. ChatchadaStanley

ClassLevel: Secondary 5 Semester 2 Academic year2017 2 periods / week 40 periods/semester (Class 5/1-5)

3 periods/ week 60 periods/semester (Class 5/8) 4 periods/ week 80 periods/semester (Class 5/6 – 7) Basic Subject Intensive Subject Others............... Course Description : The English Reading course aims to ameliorate students’ multi-tasking abilities through communicating in English academically, formally, and globally. Students are perfecting their reading skills through various materials available in printed materials and on the Internet. Information retrieved will be analyzed and synthesized into useful matters, for students are able to deploy the latter into their presentations of multi-form units. Regarding the process of learning, students are required to do research for certain data to support their arguments made upon enquiries, concerning either quotations or lengthy passages provided. The reliability of supporting information retrieved must be clarified by students’ capacity in making decisions.

Note that all in-class and extra exercises are to motivate the students’ honesty, responsibility, discipline, attempt, and their inquisitive mind in learning. To achieve, they need to have precise work, self-confidence, creativity, loyalty to the school as well as having positive attitude towards learning English. Basic Standard of Learning : Component : Standard : F 1 Language for Communication F1.1 Understanding of and capacity to interpret what

has been heard and read from various types of

media, and ability to express opinions with

proper reasoning.

F 2 Language and Culture F2.2 Appreciation of similarities and differences between language and culture of native and Thai speakers, and capacity for accurate and appropriate use of language.

Page 179: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Component : Standard :

F 3 Language and Relationship with Other Learning Areas

F3.1 Usage of foreign languages to link knowledge

with other learning areas, as foundation for

further development and to seek knowledge

and widen one’s world view.

F 4 Language and Relationship with Community and the World

F4.1 Ability to use foreign languages in various situations in school, community and society.

F4.2 Usage of foreign languages as basic tools for further education, livelihood and exchange of learning with the world community.

Indicators : F1.1.2 Accurately read aloud texts, news, advertisements, poems, and skits by observing the principles

of reading.

F1.1.4 Identify the main idea, analyse the essence, interpret and express opinions from listening to

and reading feature articles and entertainment articles, as well as provide justification and examples

for illustration.

F2.2.2 Compare the differences/similarities between the festivals, celebrations and traditions of native

speakers and those of Thai.

F3.1.1 Research/search for, make records, summarizes and express opinions about the data related to

other learning areas, and present then through speaking and writing.

F4.1.1 Use language for communication in real situations/simulated situations in the classroom,

school, community and society.

F4.2.1 Disseminate/ convey to the public data and news about the school, community and the local

area/ the nation in foreign languages

Page 180: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

Evaluation and Assessment

During the course Indicators (Mid-term) Final examination

Indicators (Final examination)

Communication 10 marks

F1.1.2, F1.1.4

30 marks

F1.1.2, F1.1.4

Authentic 20 marks

F2.2.2 F2.2.2

Performance test 30 marks

F3.1.1 F3.1.1

Portfolio 10 marks

F4.1.1, F4.2.1 F4.1.1, F4.2.1

Total 100 marks

Assessment 1. Performance Assessment (30 marks) The performance assessment is divided into 2 sections. The first division is of written examination. It asks students to clarify the underlined parts according to various purposes. The second part is to underline students’ ability in analyzing data and information acquired through reading. This is of 40 multiple-choice items. The proportion of each section’s marks is to be declared in class, otherwise the first task will be one-third of the entire marks while the rest is of two-thirds. 2. Final Examination (30 marks) The assessment aims to evaluate the progress of students’ critical thinking skill through matters discussed in class – identical or unseen. There are cartoon strips, quotes, some excerpts of literary works, articles in magazines, and also their vocabulary acquisition.

References : 1. Practical English for Developing Analytical Ability by C. Seedanont 2. IELTS Language Practice by M. Vince & A. French 3. English by Newspaperby T. Fredrickson & P. Vedel 4. Active Skills for Reading 3 by Anderson 5. Highlight of Reading and Writing 6 by L. Kesornkam& S. Suwannaaksorn 6. Pragmatics by G. Yule 7. Concentrate of Critical Reading 6A by W. Rangabtook& S. Porsattayarak 8. Total English Upper Intermediate: Student’s Book by R. Acklam& A. Crace 9. Mastery by G.Valcourt&L.Wells

Page 181: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

10.Interactions2: Reading by P.Heartmann&E.Kirn Remarks : Reference 1 is a supplementary textbook composed by the current responsible teacher, C. Seedanont, which aims to develop the critical thinking skill through reading various types of texts.

Page 182: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชา หน้าที่พลเมือง รหัส ส30224 ครูผู้สอน มาสเตอร์ธงชัย พรหมจรรย์ มาสเตอร์วิเชียร ภคพามงคลชัย

ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ …..... มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 /2560 จ านวน 1คาบ/สัปดาห์ 20คาบ/ภาคเรียน จ านวน 0.5หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา แสดงออก แนะน าผู้อ่ืน และยกย่องบุคคลที่มีความเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องใฝ่หาความรู้ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม และสนับสนุนให้ผู้อ่ืนแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง ประยุกต์และเผยแพร่ พระบรมราโชวาท ในเรื่องการมีระเบียบวินัย ความสามัคคี หลักการทรงงาน ในเรื่องระเบิดจากข้างใน ไม่ติดต าราบริการรวมที่จุดเดียว ใช้ธรรมะปราบอธรรม และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ และยอมรับผลที่เกิดจากการกระท าของตนเอง ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างและส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้อื่นเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในเรื่องการเป็นผู้น าและการเป็นสมาชิกที่ดี การใช้สิทธิและหน้าที่ การใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ ความกล้าหาญทางจริยธรรม การเสนอแนวทางการแก้ปัญหาสังคมต่อสาธารณะ การติดตามและประเมินข่าวสารทางการเมือง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมือง ประยุกต์ใช้กระบวนการประชาธิปไตยในการวิพากษ์ประเด็นนโยบายสาธารณะที่ตนสนใจ มีส่วนร่วมและตัดสินใจเลือกตั้งอย่างมีวิจารณญาณ รู้ทันข่าวสารและรู้ทันสื่อคาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้าบนพ้ืนฐานของข้อมูล มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาเมื่อเกิดความขัดแย้งโดยสันติวิธี ด้วยการเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรอง การระงับความขัดแย้ง และสร้างเครือข่ายป้องกันปัญหาความขัดแย้ง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต อดทน และยอมรับผลที่เกิดจากการกระท าของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแก้ปัญหา และกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนมีลักษณะที่ดีของคนไทย ภาคภูมิใจในความเป็นไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง มีวิจารณญาณในการเลือกตั้ง และการวิพากษ์นโยบายสาธารณะ อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสันติ สามารถจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี และมีวินัยในตนเอง สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน8ผลการเรียนรู้) สาระท่ี 2 หน้าที่พลเมือง จุดเน้นที่ ความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ผลการเรียนรู้ (4) เป็นแบบอย่างและส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้อ่ืนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย (5) ประยุกต์ใช้กระบวนการประชาธิปไตยในการวิพากษ์ประเด็นนโยบายสาธารณะที่ตนสนใจ (6) มีส่วนร่วมและตัดสินใจเลือกตั้งอย่างมีวิจารณญาณ (7) รู้ทันข่าวสารและรู้ทันสื่อ (8) คาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้าบนพื้นฐานของข้อมูล

Page 183: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

จุดเน้นที่ 4 ความปรองดอง สมานฉันท์ ผลการเรียนรู้ 1. มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเมื่อเกิดความขัดแย้งโดยสันติวิธี และสร้างเครือข่ายป้องกันปัญหาความขัดแย้ง จุดเน้นที่ 5 ความมีวินัยในตนเอง ผลการเรียนรู้ 1. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค)

1. การสื่อสาร …10… คะแนน จุดเน้นที่ 3, 4, 5 ผลการเรียนรู้ที่ 4, 5, 6,

7, 8, 10 และ 13

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

จุดเน้นที่ 3, 4, 5 ผลการเรียนรู้ที่ 4, 5, 6, 7, 8,

10 และ 13

2.สภาพจริง …30… คะแนน จุดเน้นที่ 3, 4, 5 ผลการเรียนรู้ที่ 4, 5, 6,

7, 8, 10 และ 13 3.กลางภาค/ปฏิบัติ …30… คะแนน จุดเน้นที่ 3

ผลการเรียนรู้ที่ 4, 5, 6, 7, 8

4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน จุดเน้นที่ 3, 4, 5 ผลการเรียนรู้ที่ 4, 5, 6,

7, 8, 10 และ 13 รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน 1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)…30…. คะแนน รายละเอียดการสอบ 1. สอบเก็บคะแนนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (15 คะแนน) 2. สอบปฏิบัติ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การจัดการความขัดแย้งและสันติวิธี การค้นคว้า และสืบค้นข้อมูล และการน าเสนอหน้าชั้นเรียนเป็นรายกลุ่ม (การสร้างเครือข่ายป้องกันปัญหาความขัดแย้งและสันติวิธี) (15 คะแนน) รายละเอียดการสอบ 1.พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย 2.การมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง(เช่น การใช้กระบวนการประชาธิปไตยในการวิพากษ์ประเด็นนโยบายสาธารณะ, การมีส่วนร่วมและตัดสินใจเลือกตั้งอย่างมีวิจารณญาณ , การรู้ทันข่าวสารและรู้ทันสื่อและการคาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้าบนพ้ืนฐานของข้อมูล) 3. การจัดการความขัดแย้งและสันติวิธี หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. เอกสารประกอบการเรียนที่ครูผู้สอนจัดท าขึ้น 2. หนังสือเรียนกิจกรรมรายวิชาเพ่ิมเติม หน้าที่พลเมือง 3-4 ส านักพิมพ์วัฒนาพาณิชย์

2. สอบปลายภาค 20 คะแนน

Page 184: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา ภาษาญี่ปุ่น4 รหัส ญ32204 ครูผู้สอน มาสเตอร์ศักดิธัช จันทร์ประดับ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2/2560 จ านวน 6 คาบ/สัปดาห์ 120 คาบ/ภาคเรียน จ านวน 3 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วชิาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา

วิชาภาษาญี่ปุ่นมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาญี่ปุ่นในการสื่อสารผ่านบทสนทนาเบื้องต้นในชีวิตประจ าวันได้ เช่น ถามและบอกอาการป่วย แนะน าเพื่อนเรื่องสุขภาพ เข้าใจค าแนะน าเรื่องสุขภาพที่แพทย์แนะน า พูดเรื่องการเปลี่ยนแปลงของตัวเองและสังคม ถามและบอกความต้องการเก่ียวกับการจัดงาน ถ่ายทอดข้อมูลจากการฟังและการอ่านเรื่องในโรงเรียน ถามและอธิบายเกี่ยวกับผลงานในงานนิทรรศการวิชาการได้ ปรึกษาเรื่องการนัดหมายกับเพ่ือนได้ นอกจากนั้นผู้เรียนจะได้เรียนรู้วัฒนธรรมของชาวญี่ปุ่น รวมไปถึงมารยาทในการเข้าสังคมต่อเจ้าของภาษาอีกด้วย ผู้เรียนจะได้ฝึกทักษะ ฟัง พูด อ่าน เขียน จากแบบฝึกหัดและบทสนทนาท้ายบทเรียน อีกท้ังยังได้รับการฝึกฝนการใช้ภาษา ท่าทาง น้ าเสียง ของแต่ละบทสนทนาเพ่ือแสดงความรู้สึกในการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง เมือ่เรียนจบรายวิชานี้แล้ว ผูเ้รียนจะสามารถสื่อสารภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้นในชีวิตประจ าวัน อ่านและคันจิประมาณ 250ตัว สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน 21 ตัวชี้วัด ) สาระที่ 1 ภาษาเพ่ือการสื่อสาร

มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต 1.3 น าเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆโดยการพูดและการเขียน

สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของภาษาต่างประเทศที่เรียน และน าไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของภาษาต่างประเทศที่เรียนและวัฒนธรรมของไทย และน าไปใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศที่เรียนในการเช่ือมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นและเป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน

สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนโลก มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศท่ีเรียนในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชนและสังคม มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศที่เรียนเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อการประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก

ตัวชี้วัด 1.1.1 ปฏิบัติตามค าสั่ง ค าขอร้อง ค าแนะน า ค าอธิบาย และค าบรรยายที่ฟังหรืออ่าน

Page 185: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

1.1.2 อ่านออกเสียงค า กลุ่มค า ประโยค ข้อความ และบทความสั้นๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน 1.1.3 อธิบายหรือเขียนข้อความให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่างๆที่อ่าน รวมทั้งระบุและเขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบ

ต่างๆให้สัมพันธ์กับประโยคและข้อความที่ฟังหรืออ่าน 1.1.4 จับใจความส าคัญและตอบค าถามจากการฟังและอ่านบทสนทนา บทอ่านสั้นๆ และเรื่องเล่า 1.2.1 สนทนาและเขียนโต้ตอบเกี่ยวกับตนเอง เรื่องใกล้ตัว สถานการณ์ในชีวิตประจ าวัน ประสบการณ์ และสื่อสารอย่างต่อเนื่องและ

เหมาะสม 1.2.2 เลือกและใช้ค าขอร้อง ให้ค าแนะน า ค าขออนุญาต ค าช้ีแจง และค าอธิบาย ตามสถานการณ์อย่างเหมาะสม 1.2.3 พูดและเขียนแสดงความต้องการขอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่างๆอย่าง

เหมาะสม 1.2.4 พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย และเปรียบเทียบเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังหรืออ่านอย่างเหมาะสม 1.2.5 พูดและเขียนบรรยาย แสดงความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับเรื่องใกล้ตัว กิจกรม และประสบการณ์อย่างมีเหตุผล 1.3.1 พูดและเขียนน าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจ าวัน สิ่งแวดล้อมใกล้ตัวและประสบการณ์ 1.3.2 พูดและเขียนสรุปใจความส าคัญที่ได้จากเรื่องราว กิจกรรม เหตุการณ์ที่อยู่ในความสนใจ 1.3.3 พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมหรือเรื่องใกล้ตัว พร้อมทั้งให้เหตุผลสั้นๆ 2.1.1 ใช้ภาษา น้ าเสียง และกริยาท่าทางอย่างสุภาพเหมาะสมกับระดับบุคคลและโอกาสตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของญี่ปุ่น 2.1.2 ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเทศกาล วันส าคัญ งานฉลอง และชีวิตความเป็นอยู่ของญี่ปุ่น 2.1.3 เข้าร่วม แนะน า จัดกิจกรรมทางภาษา และวัฒนธรรมญี่ปุ่นตามความสนใจ 2.2.1 บอกความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคข้อความ การล าดับค าตามโครงสร้างประโยคภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย 2.2.2 อธิบายเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างเทศกาล งานฉลอง วันส าคัญ และชีวิตความเป็นอยู่ของญี่ปุ่ นกับของไทย 3.1.1 ค้นคว้า รวบรวม และสรุปข้อมูล ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ และน าเสนอด้วยการพูด

หรือเขียน 4.1.1 ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริงหรือสถานการณ์จ าลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา และชุมชน 4.2.1 ใช้ภาษาญี่ปุ่นในการสืบค้น ค้นคว้า สรุปความรู้หรือข้อมูลจากสื่อและแหล่งเรียนรู้ต่างๆ 4.2.2 เผยแพร่หรือประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารโรงเรียน ชุมชน เป็นภาษาญี่ปุ่น การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค

ตัวชี้วัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดที ่ (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร …10… คะแนน

1.1.1,1.1.2,1.1.3,1.1.4,1.2.1,1.2.2,1.2.3,1.2.4,1.2.5,2.1.1,2.1.2,3.1.1,4.1.1,4.2.2

30 1.1.1,1.1.2,1.1.3,1.1.4,1.2.3,1.2.4,1.2.5,1.3.1,1.3.2,1.3.3,2.2.1,2.2.2,3.1.1

2.สภาพจริง …20… คะแนน

1.1.1,1.1.2,1.1.3,1.1.4,2.1.3,4.2.2

3.กลางภาค/ปฏิบัติ …30… คะแนน

1.1.1,1.1.2,1.1.3,1.1.4,1.2.3,1.2.4,1.2.5,1.3.1,1.3.2,1.3.3,2.2.1,2.2.2,3.1.1

4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน

1.1.1,1.1.2,1.1.3,1.1.4

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

Page 186: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) …30…. คะแนน รายละเอียดการสอบ บทที่ 16-18 รายละเอียดการสอบ บทที่ 19-21 หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม ต าราเรียน อะกิโกะโตะโทะโมะดะจิ 4 ฉบับปรับปรุง แบบฝึกหัด อะกิโกะโตะโทะโมะดะจิ 3+4 ฉบับปรับปรุง

2. สอบปลายภาค ……30……… คะแนน

Page 187: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา ภาษาเยอรมัน 4 รหัส ย 32204 ครูผู้สอน ม.ยุทธชัย อิทธิวรเชษฐ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2/2560 จ านวน 5ชั่วโมง/สัปดาห์ จ านวน 3หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา วิชาภาษาเยอรมันส าหรับเยาวชนที่มีความรู้ภาษาเยอรมันเบื้องต้นมาแล้ว ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาเยอรมันที่น าเสนอผ่านสถานการณ์ตัวอย่าง ได้แก่ การเปรียบเทียบ การแสดงความพอใจ/ไม่พอใจ การแสดงรสนิยม การบอกสถานที ่การบอกความบ่อยหรือความถี่ การบรรยายสภาพอากาศ การให้รายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ การเตือน การอธิบายสถานการณ์ การแสดงความเห็น การเห็นด้วย/ไม่เห็นด้วย การสร้างข้อจ ากัด การพูดคุยเกี่ยวกับสุขภาพ การขอบคุณ การบอกลา การสอบถามข้อมูล การแสดงความสบายใจ/เสียใจหรือเสียดาย การบอกระยะเวลา การบอกก าหนดเวลา การถามเวลา การอธิบายเรื่องการสายหรือความล่าช้า การแสดงความเป็นเจ้าของ การพูดคุยเก่ียวกับอดีต การบอกต าแหน่งของคนหรือสิ่งของ การบรรยายสถานที ่การบอกระยะทาง การเชื้อเชิญ การบอกทิศทาง การบรรยายสถานการณ์ในครอบครัว การเล่าเหตุการณ์ การตั้งค าถามโดยอ้อม การขอร้อง/แสดงความต้องการ การถามเกี่ยวกับความปรารถนา และบอกความปรารถนาของตนเอง

ผู้เรียนจะได้รับการฝึกทักษะการสื่อสารผ่านการ พูด ฟัง อ่าน เขียน ในชั้นเรียน เพ่ือท าความเข้าใจค าถามอย่างง่าย ป้ายข้อความ โน้ตโทรศัพท์ ข้อมูลจากรายการวิทยุ และบทสนทนาที่กระชับ ฝึกจับใจความจากข้อความที่เขียนสั้นๆ โฆษณา ค าอธิบาย จดหมาย และเนื้อข่าวอย่างง่าย ฝึกการเขียนข้อมูลส่วนตัว แนะน าตัวและตอบค าถามเกี่ยวกับตนเอง ฝึกถามตอบในบทสนทนาที่เกี่ยวข้องกับบริบทชีวิตของตน และฝึกสร้างประโยคขอร้องและค าถามเพ่ือใช้โต้ตอบในชีวิตประจ าวัน เมื่อเรียนจบรายวิชานี้แล้ว ผู้เรียนจะสามารถเขียนข้อความ จดหมาย อีเมล์ เป็นภาษาเยอรมันได้ มีส่วนร่วมในการถกหรืออภิปรายเป็นภาษาเยอรมัน สื่อสารถึงสถานการณ์ที่เป็นกิจวัตร เข้าใจข้อมูลที่มีความซับซ้อนยิ่งขึ้น และสามารถใช้ภาษาเพ่ือแสดงความคิดเห็นและแสดงจุดยืนทางความคิดของตน สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน 15ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐานที่ ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มาตรฐานที่ ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น

อย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐานที่ ต 1.3 น าเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและการ

เขียน

Page 188: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

สาระท่ี 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐานที่ ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและน าไปใช้ได้อย่างเหมาะสม

กับกาลเทศะ ตัวชี้วัด 1.1.1 ปฏิบัติตาม ค าสั่ง ค าขอร้อง และค าแนะน าง่ายๆที่ฟังหรืออ่าน 1.1.2 อ่านออกเสียงตัวอักษร สะกดค า อ่านกลุ่มค า ประโยค และข้อความง่ายๆถูกต้องตามหลักการอ่าน 1.1.3 เลือกและระบุภาพ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายตรงตามความหมายของค า กลุ่มค า ประโยค และข้อความสั้นๆที่ฟัง หรืออ่าน 1.1.4 บอกใจความส าคัญ และตอบค าถามจากการฟังและอ่านประโยค บทสนทนา และข้อความสั้นๆ 1.2.1 พูด/เขียนโต้ตอบด้วยค าสั้นๆง่ายๆในการแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่องต่างๆใกล้ตัว และสถานการณ์ใน ชีวิตประจ าวัน 1.2.2 ใช้ค าสั่ง ค าขอร้อง ค าขออนุญาต และให้ค าแนะน าง่ายๆ 1.2.3 พูดและเขียนแสดงความต้องการของตนเอง และขอความช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ 1.2.4 พูดและเขียนเพ่ือขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ตนเอง เพ่ือน ครอบครัว และเรื่องใกล้ตัว 1.2.5 พูดและเขียนแสดงความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่างๆใกล้ตัว กิจกรรมต่างๆและประสบการณ์ 1.3.1 พูดและเขียนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน กิจวัตรประจ าวัน และเรื่องใกล้ตัว 1.3.2 พูดหรือเขียนภาพ แผนภูมิ และตารางแสดงข้อมูลต่างๆ เพ่ือสรุปใจความส าคัญจากเรื่องที่ได้ฟังหรืออ่าน 1.3.3 พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นง่ายๆเกี่ยวกับเรื่องต่างๆใกล้ตัว 2.1.1 ใช้ถ้อยค า น้ าเสียง และกิริยาท่าทางอย่างสุภาพ เหมาะสมกับระดับบุคคล ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรม เยอรมัน 2.1.2 บอกชื่อและค าศัพท์ง่ายๆเก่ียวกับเทศกาล วันส าคัญ งานฉลอง และชีวิตความเป็นอยู่ของชาวเยอรมัน 2.1.3 เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมเยอรมันตามความสนใจ การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที(่ปลายภาค) 1. การสื่อสาร 10 คะแนน 1.1.1, 1.1.2, 1.2.2,

1.3.3, 2.1.1 30 คะแนน 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4,

1.2.1, 1.2.2, 1.2.3, 1.2.4, 1.2.5, 1.3.1, 1.3.2, 1.3.3, 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3

2.สภาพจริง 20คะแนน 1.1.2, 1.2.4, 1.3.2 3.ทดสอบระหว่างเรียน 10 คะแนน 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3,

1.1.4, 1.2.1, 1.2.2, 1.2.3, 1.2.4, 1.2.5, 1.3.1, 1.3.2, 1.3.3, 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3

4.กลางภาค/ปฏิบัติ 20 คะแนน

5.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน 1.1.3, 1.1.4, 1.2.1, 1.2.4, 1.3.1, 2.1.2

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

Page 189: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การทดสอบ รายละเอียดการสอบ

รายละเอียดการสอบ Lektion 28-32 Leseverständnis, Kommunikation, Wortshatz und Grammatik การอ่าน การใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสาร ค าศัพท์ และไวยากรณ์ รายละเอียดการสอบ Lektion 33-36 Leseverständnis, Kommunikation, Wortshatz und Grammatik การอ่าน การใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสาร ค าศัพท์ และไวยากรณ์ หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน Neuner, Gerhard et al. (2009): deutsch.com 2 Kursbuch. Ismaning: Hueber Verlag. Breitsameter, Anna et al. (2009): deutsch.com 2 Arbeitsbuch. Ismaning: Hueber Verlag.

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test/Performance Assessment)30 คะแนน

2. สอบปลายภาค 30 คะแนน

Page 190: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา ภาษาจีน รหัส จ. 33204 ครูผู้สอน มาสเตอร์จุลธัช อัครธราดล ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที ่5ภาคเรียนที่ 2/2560 จ านวน 5 คาบ/สัปดาห์ 100 คาบ/ภาค จ านวน 3หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา

ฟังพูดอ่านและเขียนค าชี้แจงค าบรรยายค าแนะน าเข้าใจโครงสร้างที่ของไวยากรณ์จีนที่เปน็โครงสร้างหลัก ฝึกแปลข้อความจากจนีเป็นไทยและไทยเป็นจนีได้ถูกต้องตามความหมายฝึกการโตต้อบที่เปน็บทสนทนาภาษาจีนได้อย่าง คล่องแคล่วตลอดจนเข้าใจภาษาท่าทางในการสื่อสารได้เหมาะสมกับบุคคลกาลเทศะบนพืน้ฐานของความเข้าใจวัฒนธรรม ทางภาษามีความสนใจต่อการศกึษาหาความรู้เพิ่มเติมในด้านภาษาจนีและรู้จักการน าภาษาจนีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการ ค้นคว้าหาความรู้ที่เก่ียวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน10ตัวช้ีวัด) สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเร่ืองที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลีย่นข้อมูลข่าวสาร แสดงความรูส้ึกและความคิดเห็นอย่างมี ประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต 1.3 น าเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเร่ืองต่าง ๆ โดยการพูดและการเขียน สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวฒันธรรมของเจ้าของภาษา และน าไปใช้ได้อยา่งเหมาะสมกบักาลเทศะ มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวฒันธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและวฒันธรรมไทย และน ามาใช้อยา่งถูกต้องและเหมาะสม ตัวชี้วัด มาตรฐาน ต.1.1 ตัวชี้วัดที่ 2 ระบุสัทอักษรพินอินอ่านออกเสียงและประสมเสียงตามหลักการออกเสียง ตัวชี้วัดที่ 3 บอกความหมายของค า กลุ่มค า ประโยค หรือข้อความสั้นๆ ตามที่ฟังหรืออ่านจากสื่อในรูปแบบต่าง ๆ ตัวชี้วัดที่ 4 ตอบค าถาม จับใจความส าคัญ สรุปและแสดงความคิดเห็นจากการฟังหรืออ่านประโยค บทสนทนา หรือนิทาน มาตรฐาน ต.1.2 ตัวชี้วัดที่ 1 สนทนาหรือเขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ตัวชี้วัดที่ 4 พูดและเขียน เพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเร่ืองที่ฟัง และอ่าน มาตรฐาน ต 1.3 ตัวชี้วัดที่ 1 พูดหรือเขียนให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน สิ่งแวดล้อม และเร่ืองใกล้ตัว ตัวชี้วัดที่ 3 พูดและเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเร่ืองใกล้ตัว พร้อมให้เหตุผลสั้นๆ ประกอบ มาตรฐาน ต.2.1 ตัวชี้วัดที่ 2 บอกชื่อ/ค าศัพท์ และตอบค าถามเก่ียวกับเทศกาล วันส าคัญ งานฉลอง และชีวิตความเป็นอยู่ของจีน ตัวชี้วัดที่ 4 ตอบค าถาม จับใจความส าคัญ สรุปและแสดงความคิดเห็นจากการฟังหรืออ่านประโยค บทสนทนา หรือนิทาน มาตรฐาน ต.2.2 ตัวชี้วัดที่ 1 บอกความแตกต่างระหว่างการออกเสียงตัวอักษร ค า วลี การใช้เคร่ืองหมายวรรคตอน และการล าดบัค าตาม

โครงสร้างประโยคของภาษาจีนกับภาษาไทย

Page 191: เอกสารสรุปedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/m5-60.pdf3.ว เคราะห และว จารณ เร องท อานในท ก ๆ ดานอยางม

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค มาตรฐาน/ตัวช้ีวัดที่

(ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค มาตรฐาน/ตัวช้ีวัดที่(ปลาย

ภาค) 1. การสื่อสาร 10 คะแนน มาตรฐาน 1.1 / 2, 3 30 คะแนน มาตรฐาน 1.1 / 2, 3, 4

มาตรฐาน 1.2 / 1, 4 มาตรฐาน 2.1 / 2, 4 มาตรฐาน 2.2 / 1

2.สภาพจริง 20คะแนน มาตรฐาน 1.2 / 1, 4 มาตรฐาน 2.1 / 2, 4

4.กลางภาค/ปฏิบัติ 30คะแนน มาตรฐาน 1.2 / 1, 4 มาตรฐาน 2.1 / 2, 4

5.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน มาตรฐาน 1.3 / 1, 3 มาตรฐาน 2.1 / 2, 4

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

การทดสอบ 1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment)30 คะแนน รายละเอียดการสอบ

1. 把”和“被”句子 2. 补语

รายละเอียดการสอบ

1. 把”和“被”句子 2. 补语 3. 副词 4. 反问句 5. HSK ระดับ 2-3

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 汉语阶梯快速阅读(第一级),李禄兴、幺书君,北京大学出版社,2005。

HSK 考前强化(语法),苗东霞,北京语言大学出版社,2005 HSK 60 天强化:汉语水平考试模拟习题集(初、中等),李永硕,北京大学出版社,2005。

2. สอบปลายภาค 30 คะแนน