22
1 ทิศทางพลังงานหมุนเวียน กฟผ. นายรัมย์ เหราบัตย์ รองผู้ว่าการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย อ้างอิง นายสหรัฐ บุญโพธิภักดี รองผู้ว่าการประจําสํานักผู้ว่าการ ฝ่ายพัฒนาพลังงานหมุนเวียน “Affordable and Clean Energy: a Road to a Sustainable Future” Global Business Dialogue: Sustainable Development Goals 16 มิถุนายน 2560

นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

1

ทิศทางพลังงานหมุนเวียน กฟผ.

นายรัมย์ เหราบัตย์

รองผู้ว่าการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

อ้างอิง นายสหรัฐ บุญโพธิภักดี รองผู้ว่าการประจําสํานักผู้ว่าการ

ฝ่ายพัฒนาพลังงานหมุนเวียน

“Affordable and Clean Energy: a Road to a Sustainable Future”

Global Business Dialogue: Sustainable Development Goals

16 มิถุนายน 2560

Page 2: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

2

Page 3: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

33

ผลงานที่ผ่านมาของ กฟผ. [โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พิภพ]โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พิภพ ขนาดกําลังผลิต 300 kW อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ (2532)

เป็นแห่งแรก และแห่งเดียวของประเทศไทย

Page 4: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

44

ผลงานที่ผ่านมาของ กฟผ. [โรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์]โรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ คลองช่องกล่ํา ขนาดกําลังผลิต 19.5 kW จ.สระแก้ว (2529)

ใช้งานรว่มกับเครื่องผลติไฟฟ้าพลงัน้าํขนาดเลก็ 20 kW

ที่มีอยู่แล้ว และสาธิตการใช้งานในระบบร่วม (HYBRID SYSTEM)

Page 5: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

55

ผลงานที่ผ่านมาของ กฟผ. [สถานีพลังงานทดแทน]สถานีพลังงานทดแทน แหลมพรหมเทพ จ.ภูเก็ต (แสงอาทิตย์ 8 kW , พลังลม 192.35 kW) (2533)

พ.ศ. 2526 ได้เริ่มตดิตัง้กังหันลมขนาดเลก็เพื่อทดสอบการใช้งานที่สถานแีห่งนี้ จํานวน 6 ชุด*

ปัจจุบัน เหลือใช้งานเพียง 3 ชุด (156 kW)

หมายเหตุ : จํานวน 6 ชุดได้แก่ AEROWATT 1kW , WINDANE 12 18.5kW ,SVIAB 0.85kW , DUNLITE 2kW , BWC EXCEL-R 10kW , NORDTANK NTK150XLR 150kW

Wind 150kW

Solar 5kW

Wind 10kW

Wind 1kW

Solar 3kW

Page 6: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

66

ผลงานที่ผ่านมาของ กฟผ. [สถานีพลังงานทดแทน]สถานีพลังงานทดแทน สันกําแพง จ.เชียงใหม่ (แสงอาทิตย์ 14 kW) (2536)

Solar Home , Solar Ground , Solar Tracking (ชุดวิจัยและต้นแบบ)

เป็นสถานีพลังงานทดแทนที่

กฟผ. เริ่มวิจัยและพัฒนา ด้าน

พลังงานแสงอาทิตย์ รวมถึง

ระบบติดตามดวงอาทิตย์แบบ

ถ่วงน้ําหนักด้วยน้ํา

Page 7: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

77

ผลงานที่ผ่านมาของ กฟผ. [โรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์]โรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ ผาบ่อง ขนาดกําลังผลิต 500 kW จ.แม่ฮ่องสอน (2547) ร่วมกับระบบ BESS2

เพื่อรองรับความต้องการใช้ไฟฟ้าใน

จังหวัดแม่ฮ่องสอน1 อีกทั้งยังเป็น

ต้นแบบในการศึกษาด้าน

RE Smoothing

หมายเหตุ 1: จังหวัดแม่ฮ่องสอนมีการผลิตไฟฟ้าสนับสนุนจากโรงไฟฟ้าพลังน้ําอีก 2 แห่ง ซึ่งดําเนินการโดย พพ. คือ โรงไฟฟ้าพลังน้ําแม่สะงา 5 MW และโรงไฟฟ้าพลังน้ําผาบ่อง 850 kW

2: เป็นชนิด Lead Acid 1,200 Ah เป็นระบบ Renew Smoothing ลดความผันผวนของแสงอาทิตย์จากการผลิตไฟฟ้ากรณีมีเมฆบัง

Page 8: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

88

ผลงานที่ผ่านมาของ กฟผ. [โรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์]โรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ เขื่อนสิรินธร ขนาดกําลังผลิต 1.012 MW จ.อุบลราชธานี (2552)

เป็นระบบติดตามดวงอาทิตย์ถ่วงน้ําหนักด้วยน้ํา1 โดยต่อยอดงานวิจัยต้นแบบจากสถานีพลังงานทดแทน สันกําแพง

หมายเหตุ 1: อนุสิทธิบัตร เลขที่ 3461 ในนามของ กฟผ.

2: ข้อมูล ณ ปี 2553-2558

ทําให้เซลล์แสงอาทิตย์ผลิตไฟฟา้ไดม้ากกว่าแบบที่

ติดตั้งคงที่ประมาณ 10-20 %

ที่แรก

ระบบติดตามดวง

อาทิตย์แบบถ่วงน้ําหนัก

ด้วยน้ํา

Page 9: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

99

ผลงานที่ผ่านมาของ กฟผ. [โรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์]โรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์บนทุ่นลอยน้ํา เขื่อนศรีนครินทร์ ขนาดกําลังผลิต 30.24 kW จ.กาญจนบุรี(2554)

เป็นการติดตั้งแบบติดตามดวงอาทิตย์แบบถ่วงน้ําหนักด้วยน้ํา 26.88 kW และการติดตั้งแบบคงที่ 3.36 kW

เป็นหนึ่งความภาคภูมิใจของ กฟผ.

เป็นระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์

แสงอาทิตย์บนทุ่นลอยน้ํา แห่ง

แรกของประเทศไทย

Page 10: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

1010

ผลงานที่ผ่านมาของ กฟผ. [โรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์]โรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ ทับสะแก ขนาดกําลังผลิต 5 MW1 จ.ประจวบคีรีขันธ์ (2559)

ใช้แผงเซลล์แสงอาทิคย์ 4 ชนิด เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าของเซลล์แสงอาทิตย์แต่ละชนิดว่ามีความ

เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ซึ่งติดตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเลที่มีภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย

หมายเหตุ 1: กําลังผลิตติดตั้ง 5 MW

2 : ใช้แผงเซลล์ 4 ชนิด ได้แก่ คลิสตัลไลน์ซิลคิอน 1 MW เป็นระบบติดตามดวงอาทิตย์แบบถ่วงน้ําหนักด้วยน้ํา , อะมอร์ฟัสซิลิคอน 2 MW ,

ไมโครคริสตอลไลน์อะมอร์ฟัสซิลิคอน 1 MW และ คอปเปอร์อินเดียมแกลเลียมไดเซเลไนด์ 1 MW

รวมถึงศูนย์การเรียนรู้

“คิดดี” โดยออกแบบเป็น

อาคารประหยัดพลังงาน พื้นที่

ประมาณ

1,700 ตารางเมตร

และงานวิจัยการพัฒนาโรงไฟฟ้า

ระบบก๊าซชีวภาพหญ้าเนเปียร์

500 kW

Page 11: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

11

Page 12: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

12

Solar ทุ่นลอยน้ําเขื่อนสิรินธร

(2.0 MW)

โครงการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน กฟผ. ที่กําหนดแล้วเสร็จในปี 2560-64

2560 2561 2562 2563 2564

Solar ทุ่นลอยน้ําเขื่อนสิรินธร

(งานวิจัย) (0.25 MW)

พลังน้ําท้ายเขื่อนกิ่วคอหมา(5.5 MW)

Wind ลําตะคอง ระยะที่ 2

(24 MW)

Biogas หญ้าเนเปียร์ ทับสะแก (งานวิจัย)

(0.5 MW)

Solar โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ กฟผ. Smart Energy

(งานวิจัย) (3.0 MW + BESS 4.0 MW 1 MWh)

พลังน้ําท้ายเขื่อนคลองตรอน

(2.5 MW)

Solar ทุ่นลอยน้ํา รฟ.วังน้อย

(2.0 MW)

Solar สฟ.จอมบึง

(8.0 MW)

Solar ทุ่นลอยน้ํา รฟ.กระบี่

(2.0 MW) Biomass*

(4.0 MW)

Solar ทุ่นลอยน้ํา ห้วยทราย (2.0 MW)

Solar ทุ่นลอยน้ํา ห้วยเป็ด (2.0 MW)

Solar ทุ่นลอยน้ํา เขื่อนน้ําพุง(2.0 MW)

Solar อ่างเก็บน้ําแม่ขาม (50.0 MW)

ความร้อนใต้พิภพ อ.ฝาง(2.0 MW)

48.70 MW

0.25 MW(งานวิจัย)76.5 MW

179.95 MW

3.25MW (งานวิจัย)

Solar รฟ.แม่เมาะ(6.0 MW)

Solar สฟ.ชัยภูมิ 2(10.0 MW)

พลังงานขยะ*(1.0 MW)

พลังน้ําท้ายเขื่อนจุฬาภรณ์

(1.25 MW)

เขื่อนผาจุก

(14 MW)

พลังน้ําท้ายเขื่อนลําตะคอง(1.5 MW)

พลังน้ําท้ายเขื่อน

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์(6.7 MW)

พลังน้ําท้ายเขื่อน

เขื่อนแม่กลอง(12 MW)

2 MW

3 MW (งานวิจัย)13.75 MW 39 MW

Biomass*

(9.0 MW)

* อยู่ในช่วงกําลังคัดเลือกสถานที่ตั้งโรงไฟฟ้า

หน่วย : กําลังผลิตตามสัญญา (MW)

ณ วันที่ 29 พ.ค. 60

Page 13: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

1313

โครงการผลิตไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์บนทุ่นลอยน้ํา 4 โครงการProject พื้นที่รฟ.วังน้อย พื้นที่รฟ.กระบี่ พื้นที่รฟ.แม่เมาะ พื้นที่รฟ.แม่เมาะ

Locationอ่างเก็บน้ําในพื้นที่ รฟ.วังน้อย

อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา

อ่างเก็บน้ําบางปูดํา ภายใน รฟ.กระบี่

อ.เหนือคลอง จ.กระบี่

อ่างเก็บน้ําห้วยเป็ด ในพื้นที่

รฟ.แม่เมาะจ.ลําปาง

อ่างเก็บน้ําห้วยทราย ในพื้นที่

รฟ.แม่เมาะจ.ลําปาง

Area 20 ไร่

PV Type ผลึกซิลิคอน (c-Si)

Floating Mat. HDPE

Capacity 2.6 MWdc (2 MWac)

Avg. production 4.12 ล้านหนว่ย/ปี 3.86 ล้านหนว่ย/ปี 3.80 ล้านหนว่ย/ปี 3.80 ล้านหนว่ย/ปี

Plant Factor 18.10 % 16.96 % 16.69 % 16.69 %

Grid Connection ระบบส่ง กฟผ. 22 kV

Price 138.23 ล้านบาท 144 ล้านบาท 145 ล้านบาท 145 ล้านบาท

COD ธ.ค. 61 ก.ย. 62 1 ธ.ค. 63 ธ.ค. 63

Page 14: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

1414

โครงการผลิตไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์บนดิน 3 โครงการProject พื้นที่สฟ.จอมบึง พื้นที่สฟ.มุกดาหาร 2 พื้นที่รฟ.แม่เมาะ

Locationติดกับ สฟ. จอมบึง อําเภอจอมบึง

จังหวัดราชบุรี

ติดกับ สฟ. มุกดาหาร 2 อําเภอเมือง

จังหวัดมุกดาหาร

บริเวณ รฟ.แม่เมาะ อําเภอแม่เมาะ

จังหวัดลําปาง

Area 104 ไร่ 130 ไร่ 78 ไร่

PV Type ผลึกซิลิคอน (c-Si)

Capacity 10.4 MWdc (8 MWac) 13 MWdc (10 MWac) 7.8 MWdc (6 MWac)

Avg. production 14.06 ล้านหน่วย/ปี 16.89 ล้านหนว่ย/ปี 9.75 ล้านหนว่ย/ปี

Plant Factor 15.43% 15.76% 15.17%

Grid Connection ระบบส่ง กฟภ. 22 kV ระบบส่ง กฟผ. 22 kV

COD ธ.ค. 62 ม.ค. 63 มี.ค. 64

*PV+Battery Storage

Page 15: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

15

Frontier Renewable Strategy Solar

• นําร่องระบบ Solar + ESS

• พัฒนาธุรกิจ ESS รองรับ

ระยะ 5 ปีแรก (2560 - 2564)

Windนําร่องระบบ Wind Hybrid Fuel Cell กังหันลมลําตะคอง

( 24 MW ) ( 0.3 MW )

เร่งหาพื้นที่ศักยภาพพลงังานลม

Survey + Investment + Collect Data

Biomass

เป็นผู้นําโรงไฟฟ้าชีวมวลที่ทันสมัยและเป็นมิตรLess Consumption + High Efficiency

Less Emission + Firm Generation( 13 MW )

1

• Very Fast Growing Tree• Modern Farming• Creating Shared Value (CSV)

• พัฒนาโครงการในพื้นที่ที่แตกต่าง

• Floating Solar ( 62 MW )

• Solar Farm @ Fishery / Agricultural Area

Page 16: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

16

Page 17: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

1717

RE EGAT 2,000 MWเป้าหมายการเพิ่มสัดส่วนกําลังผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน เป็น 2,000 MW

โดยเน้นเพิ่มสัดส่วนในเชื้อเพลิง เซลล์แสงอาทิตย์ (ทุ่นลอยน้ํา 62%)และชีวมวล

Biomass595.84 MW

29.78%

Biogas56.00 MW

2.80%

Solar901.26 MW

45.04%MSW

50.40 MW2.52%

Wind231.00 MW

11.54%

Hydro164.50 MW

8.22%

Geothermal2.00 MW0.10% Floating

554.31 MW62%

Ground93.45 MW

10%

TBC253.50 MW

28%

Page 18: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

18

Frontier Renewable Strategy

ระยะปีที่ 5-10 (2565 - 2569)2

Real-time Data

Display SystemSolar

Wind

Biomass

ESS

Information Management

Page 19: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

19

ใช้พื้นที่มีประสิทธิภาพลดต้นทุนการผลิต

แนวทางการพัฒนาการปลูกพืชพลังงาน

Research Solution

งานวิจัยไม้โตเร็วยิ่งขึ้น

งานวิจัยเพิ่มผลผลิตจากไม้โตเร็ว

Research Farm

Corporate Solution

Commercial Scale

บริษัทในเครือ

Supply

Trade

1) งานวิจัยการปลูกพืชพลังงาน

2) พัฒนาความร่วมมือการปลูกพืชพลังงาน

Community Modern Farm

วิสาหกิจชุมชน

ระยะปีที่ 5-10 (2565 - 2569)2

Page 20: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

20

แนวทางการบริหารจัดการเชื้อเพลิงชีวมวล

DataCenter

ServiceFeedstockManagement

Solution

แหล่งเชื้อเพลิง- รวบรวมข้อมูลเชื้อเพลิง

- ประมาณการปริมาณเชื้อเพลิงและช่วงเวลาที่จะเก็บเกี่ยว

- วางแผนจัดจ้าง การปลูกไม้ การล้มไม้ การซื้อเชื้อเพลิง

จุดรับซื้อและคลังเชื้อเพลิง

- Monitor ปริมาณเชื้อเพลิงในคลัง

- มีระบบแจ้งเตือนเมื่อใกล้จะเต็ม

ระบบขนส่ง- ควบคุมและติดตามการขนส่งของรถทุกคัน ทุกช่วงเวลา - วางแผนเส้นทางที่เหมาะสมในการขนสง่ และหลีกเลี่ยงช่วงเวลาเร่งด่วน

- คํานวนปริมาณเชื้อเพลิง เพื่อจัดส่งจํานวนรถที่เหมาะสม - รวบรวมข้อมูล เส้นทาง ความถี่ ช่วงเวลา เพื่อนําไปวิเคราะห์มลพิษชุมชน

GPS system

โรงไฟฟา้ชวีมวล- Monitor ปริมาณเชื้อเพลิงในคลัง

- มีระบบแจ้งเตือนเมื่อเชื้อเพลิงเหลือน้อย

- ประมาณการปริมาณการใช้เชื้อเพลิง

(รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน รายปี)

ธุรกิจต้นน้ํา- คํานวนปริมาณการขายทีเ่หมาะสม

- กําหนดราคาขายที่เหมาะสม

- ช่วยเหลือโรงไฟฟ้าชวีมวลใกลเ้คียง Contract Farming

Wood Industry

Plantation

Page 21: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

21

Frontier Renewable Strategy ระยะปีที่ 11 - 20 (2570 - 2579)3

Site and Plant

Modules

War RoomDream Run

Coaches +Specialists Regional

Model Siteand

Model Plant

Page 22: นายรัมย์เหราบัตย์ รองผู้ว่า ......1 ท ศทางพล งงานหม นเว ยนกฟผ. นายร มย เหราบ

22