17
ภาคผนวก

ภาคผนวก - Mahasarakham University (16).pdf · 2014-03-07 · 1. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในปัจจุบัน

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ภาคผนวก - Mahasarakham University (16).pdf · 2014-03-07 · 1. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในปัจจุบัน

ภาคผนวก

Page 2: ภาคผนวก - Mahasarakham University (16).pdf · 2014-03-07 · 1. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในปัจจุบัน

ภาคผนวก ก

บทนําเสนอโครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ

Page 3: ภาคผนวก - Mahasarakham University (16).pdf · 2014-03-07 · 1. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในปัจจุบัน

บทนําเสนอโครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ 1

ประจําภาคเรียนที ่1/2556 วิชา : 0904402 โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ 1 จ านวน 1 หน่วยกิจ (0-2-0) ชื่อโครงงาน : การออกแบบและพัฒนาแอพพลิเคชั่นควบคุมการเปิด-ปิดไฟ บนระบบปฏิบัตกิาร Android รายช่ือผู้ศึกษาโครงงาน :

ชื่อ – สกุล จุฑามาศ เพ็ชรศรี รหัสประจ าตัว 53010916101 อาจารย์ท่ีปรึกษาโครงงาน : อ.ปวรปรัชญ์ หงสากล

(………………………………………………) กรรมการที่ปรึกษา

วันที…่………/……………………../…………

(…….………………………………………) กรรมการคนที่ 1

วันที่…………/……………………../…………

(………….…………………………………)

กรรมการคนที่ 2 วันที่…………/……………………../…………

Page 4: ภาคผนวก - Mahasarakham University (16).pdf · 2014-03-07 · 1. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในปัจจุบัน

1. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในปัจจุบัน App Inventor เป็นเครื่องมือที่ใช้ส าหรับสร้างแอพพลิเคชันส าหรับสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตที่เป็นระบบปฏิบัติการ Android ซึ่งบริษัท Google ร่วมมือกับ MIT พัฒนาโปรแกรม App inventor ขึ้น ต่อมา Google ถอนตัวออกมาและยกให้ MIT พัฒนาต่อเอง (โดยเน้นกลุ่มผู้ใช้ด้านการศึกษามากกว่า) App Inventor server เป็นเครื่องที่ให้บริการและเก็บงานโปรเจ็กต่างๆ ที่ผู้ใช้สร้างข้ึนมา เพ่ือให้ผู้ใช้พัฒนาโปรแกรมมือถือ Android โดยสร้างโปรเจคและเขียนโปรแกรมบนเว็บเบราว์เซอร์ที่เชื่อมต่อไปยัง App Inventor servers เมื่อได้โปรแกรมมา ก็สามารถทดสอบกับโปรแกรมมือถือจ าลอง (Android emulator) หรือโทรศัพท์มือถือ Android App Inventor จึงเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง ที่เหมาะส าหรับใช้ในการสอนเขียนโปรแกรม ให้นักเรียนในระดับมัธยมปลาย หรือระดับมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะผู้ที่ไม่เคยเขียนโปรแกรมมาก่อนหรือไม่ได้เรียนอยู่ในสายคอมพิวเตอร์ App Inventor ใช้หลักการคล้ายๆกับ Scratch แต่ซับซ้อนกว่า โดยลักษณะการเขียนโปรแกรมแบบ Visual Programming คือ เขียนโปรแกรมด้วยการต่อบล็อกค าสั่ง เน้นการออกแบบเพื่อแก้ปัญหา (problem solving) ด้วยการสร้างโปรแกรมท่ีผู้เรียนสนใจ บนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนความจ าเป็นที่ต้องการท า APP INVENTOR ควบคุมการเปิด-ปิดไฟ เพ่ือท าให้สะดวกสบายในการเปิด-ปิดไฟในระยะไกลได้ โดยไม่ต้องเสียเวลาในการเดินมาเปิด-ปิดไฟบ่อยๆและยังมีความปลอดภัย

2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา

2.1 เพ่ือศึกษาและออกแบบการควบคุมการเปิด-ปิดไฟ ผ่านทางระบบสัญญาณ BLUETOOTH

2.2 เพ่ือศึกษาและออกแบบการสร้าง App Inventor ให้สามารถน ามาประยุกต์ใช้กับ

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ได้

2.3 เพ่ือศึกษาการต่อวงจรไฟฟ้าหรือบอร์ดในลักษณะต่างๆ

3. ขอบเขตการดําเนินงาน

1.3.1 ศึกษาและพัฒนา App Inventor ให้สามารถน ามาประยุกต์ใช้กับอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ได้

1.3.2 ศึกษาการส่งสัญญาณควบคุมการเปิด-ปิดไฟผ่านทางสัญญาณ BLUETOOTH

ในระบบปฎิบัติการ Android

1.3.3 ศึกษาการต่อวงจรไฟฟ้าและBoard

Page 5: ภาคผนวก - Mahasarakham University (16).pdf · 2014-03-07 · 1. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในปัจจุบัน

4. อุปกรณ์และเครื่องมือในการดําเนนิงาน

4.1 ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการพัฒนา - MIT App Inventor / โปรแกรม App Inventor Setup

- เบราว์เซอร์ ที่ติดตั้ง Java

- ไดรเวอร์ของโทรศัพท์ Android (เฉพาะ Windows)

ระบบปฏิบัติการใช้ได้ทั้ง Windows, Mac OS, Linux

4.2 ฮาร์ดแวร์ที่ใช้ในการพัฒนา - Board ControlBLUE-04

- Tablet หรือ มือถือบนระบบปฏิบัติการ Android

- Notebook 1 เครื่อง (ใช้ในส่วนตัว Code)

- หลอดไฟ 4 ดวง

5. ขั้นตอนในการดําเนินงาน 5.1 น าเสนอหัวข้อโปรเจกต่ออาจารย์ที่ปรึกษา

5.2 ศึกษาและรวบรวมข้อมูล

5.3 ออกแบบระบบ

5.4 พัฒนาระบบ

5.5 ทดสอบและท าการปรับปรุงแก้ไขระบบ

5.6 น าเสนอผลงานต่อคณะกรรมการ

5.7 จัดท ารูปเล่มรายงาน

Page 6: ภาคผนวก - Mahasarakham University (16).pdf · 2014-03-07 · 1. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในปัจจุบัน

6. ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน

ตารางท่ี 1-1 ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน

กิจกรรม พ.ศ.2556 พ.ศ.2557

มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ.

1.น าเสนอหัวข้อโปรเจกต่ออาจารย์ที่ปรึกษา

2.ศึกษาและรวบรวมข้อมูล

3.ออกแบบระบบ

4.พัฒนาระบบ

5.ทดสอบและท าการปรับปรุงแก้ไขระบบ

6.น าเสนอผลงานต่อคณะกรรมการ

7.จัดท ารูปเล่มรายงาน

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 ได้ความรู้ในเรื่องการท างานของวงจรไฟฟ้าและBoard

7.2 ได้ความรู้ในเรื่องของโปรแกรม App Inventor

7.3 ผู้ใช้งานสามารถใช้ระบบปฏิบัติการ Android ในการควบคุมการเปิด-ปิดไฟ

ได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย

7.4 ได้ประยุกต์ความรู้ด้านการพัฒนา App Inventor บนระบบปฏิบัติการ Android

Page 7: ภาคผนวก - Mahasarakham University (16).pdf · 2014-03-07 · 1. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในปัจจุบัน

ภาคผนวก ข

Source Code

Page 8: ภาคผนวก - Mahasarakham University (16).pdf · 2014-03-07 · 1. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในปัจจุบัน

Source Code From

ก่อนที่จะใช้ระบบ ให้ท าการเชื่อมต่อกับปุ่ม CONNECTก่อน แล้วท าการเชื่อมต่อกับบลูทูธของผู้ใช้หรือที่

อยู่ของบลูทูธที่ต้องการ

เมื่อท าการเชื่อมต่อกับบลูทูธที่ต้องการแล้ว ระบบจะพร้อมใช้งาน แต่ถ้ายังไม่ได้ท าการเชื่อมต่อกับบลูทูธ

ระบบจะแจ้งเตือนข้อความว่า Unable a Bluetooth Connection นั้นก็หมายถึงไม่สามารถเชื่อมต่อบลูทูธได้

ให้ท าการเชื่อมต่อบลูทูธก่อน

ปุ่ม Disconnect คือปุ่มที่ใช้ส าหรับการตัดการเชื่อมต่อกับบลูทูธ เมื่อท าการกดปุ่ม Disconnect ระบบจะ

หยุดการเชื่อมต่อทันที่

Page 9: ภาคผนวก - Mahasarakham University (16).pdf · 2014-03-07 · 1. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในปัจจุบัน

ในส่วนของโค้ดนาฬิกาจับเวลา

H เป็นชื่อย่อของ (ชม.) Hour

M เป็นชื่อย่อของ (นาที) Minute

S เป็นชื่อย่อของ (วินาที) Second

ให้ S หรือ วินาที เพ่ิมขึ้นที่ละ 1 จนถึง 59 เมื่อวินาทีถึงจ านวนท่ี 59 จะกลายเป็น 1 นาที

เมื่อ 1 นาทีครบจนถึง 59 นาที ก็จะกลายเป็น 1 ชม. จะ loop ไปเร่ือยๆตามท่ีก าหนดไว้

Page 10: ภาคผนวก - Mahasarakham University (16).pdf · 2014-03-07 · 1. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในปัจจุบัน

ปุ่มการก าหนดเวลา (ชม.) ฝั่งด้านน้อย (<)

เมื่อท าการก าหนดปุ่ม (< ) ในโค้ดส่วนนี้ก็จะลดที่ละ 1

ปุ่มการก าหนดเวลา(ชม.) ฝั่งด้านมาก ( >)

เมื่อท าการก าหนดปุ่ม (> ) ในโค้ดส่วนที่นี้ก็จะเพ่ิมที่ละ 1 ( ก าหนดให้ (ชม.) สูงสุดถึง 24 ชม.)

Page 11: ภาคผนวก - Mahasarakham University (16).pdf · 2014-03-07 · 1. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในปัจจุบัน

ปุ่มการก าหนดเวลา (นาที) ฝั่งด้านน้อย (<)

เมื่อท าการก าหนดปุ่ม (< ) ในโค้ดส่วนนี้ก็จะลดที่ละ 1

ปุ่มการก าหนดเวลา (นาที) ฝั่งด้านมาก (<)

เมื่อท าการก าหนดปุ่ม (> ) ในโค้ดส่วนที่นี้ก็จะเพ่ิมที่ละ 1 และก าหนดให้ (นาที) เพ่ิมได้ถึง 60 เท่านั้น

Page 12: ภาคผนวก - Mahasarakham University (16).pdf · 2014-03-07 · 1. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในปัจจุบัน

เป็นโค้ดในส่วนของ ปุ่มเปิดไฟ ซึ่งก าหนดให้บลูทูธนั้น เก็บค่าเป็นตัวเอใหญ่ A และให้เวลานั้นท างานได้

ตามท่ีได้ก าหนดการตั้งเวลาไว้

เป็นโค้ดในส่วนของ ปุ่มปิดไฟ ซึ่งก าหนดให้บลูทูธนั้น เก็บค่าเป็นตัวเอเล็ก a และให้เวลานั้นหยุดการ

ท างานและเริ่มการตั้งค่าใหม่

Page 13: ภาคผนวก - Mahasarakham University (16).pdf · 2014-03-07 · 1. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในปัจจุบัน

เป็นโค้ดในส่วนของปุ่มเปิดไฟทั้งหมด หลังจากการก าหนดเวลาของไฟแต่ละดวงแล้ว เวลาที่ก าหนดไว้จะ

เริ่มท างานทั้งหมด

Page 14: ภาคผนวก - Mahasarakham University (16).pdf · 2014-03-07 · 1. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในปัจจุบัน

เป็นโค้ดในส่วนของปุ่มปิดไฟทั้งหมด เมื่อกดปุ่มปิดไฟทั้งหมด เวลาทั้งหมดหรือไฟทุกดวงที่ก าหนดเวลาไว้

จะหยุดการท างานและเริ่มต้นการตั้งค่าใหม่ทั้งหมด

Page 15: ภาคผนวก - Mahasarakham University (16).pdf · 2014-03-07 · 1. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในปัจจุบัน

เป็นส่วนโค้ดท้ังหมด

Page 16: ภาคผนวก - Mahasarakham University (16).pdf · 2014-03-07 · 1. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในปัจจุบัน

ภาคผนวก ค

รายงานการพบที่ปรึกษา

Page 17: ภาคผนวก - Mahasarakham University (16).pdf · 2014-03-07 · 1. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในปัจจุบัน

รายงานการพบที่ปรึกษา

ชื่อโครงงาน การออกแบบและพัฒนาแอพพลิเคชั่นควบคุมการเปิด-ปิดไฟ

บนระบบปฏิบัติการ Android

ผู้ศึกษา นางสาวจุฑามาศ เพ็ชรศรี รหัสนิสิต 53010916101

ที่ปรึกษา อาจารย์ อ.ปวรปรัชญ์ หงสากล

วัน เดือน ป ี รายงานความคืบหน้า ลายมือชื่อที่ปรึกษา 21/11/2013 ออกแบบแผนการน าเสนอ 14/12/2013 ตรวจสอบเอกสาร 08/01/2014 น าเสนอโปรเจคต่อกรรมการ

พิจารณา ในงาน MBS Festival

14/02/2015 ส่งเอกสารบทที่ 1-5