36
อาจารย์ดวงพร แสงทอง องค์การบรหารส่วนตาบล (อบต.)

องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

อาจารย์ดวงพร แสงทอง

องค์การบริหารส่วนต าบล (อบต.)

Page 2: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

สถานการณ์ ณ ปัจจุบัน องค์การบริหารส่วนต าบล(อบต.)

• แม ้ว ่ากฎหมายจะม ีการปร ับปร ุงโครงสร ้างบ ้างบางส ่วน แต ่ก ็ไม ่ม ีการย ุบหร ือควบรวมองค ์กรปกครองส่วนท้องถิ ่นใดๆ ยังคงรูปแบบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่นเดิม

Page 3: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

การบริหารราชการส่วนท้องถิ ่น เป็นจุดเริ ่มต้นของการปกครองตนเองของประชาชนในระดับต าบลที่อยู่นอกเขตสุขาภิบาลและเทศบาล เพราะองค์การบริหารต าบลมีฐานะเป็นนิติบุคคล คือ มีพนักงานต าบลเป็นผู ้ปฎ ิบ ัต ิงานของตนเอง ม ีรายได ้และรายจ่ายตนเอง สามารถด าเนินกิจการของต าบลได้อย่างมีอิสระ แต่ทั ้งนี ้ให้อยู ่ภายใต้การควบคุมของนายอ าเภอและผู้ว่าราชการจังหวัด

Page 4: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

หลักเกณฑ์ในการจัดตั้งองค์การบริหารส่วนต าบล

1. เป็นต าบลที่มีเนื้อที่หรือรายได้จากภาษีบ ารุงท้องที่ตั้งแต่ 10,000 บาทขึ้นไป

2. มีพื้นที่ตั้งแต่ 50 ตารางกิโลเมตรขึ้นไป

3. เฉลี่ยความหนาแน่นของพลเมือง ตั้งแต่ 100 คนต่อตารางกิโลเมตรขึ้นไป

ส่วนวิธีการจัดตั้งนั้น เมื่อกระทรวงมหาดไทยเห็นสมควรจัดตั้งขึ้น และราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาต าบลจ านวนไม่ต่ ากว่า 3 ใน 4 ของผู ้สิทธิเลือกตั้งทั ้งหมดร้องขอ การจัดตั้งก็ให้กระท าโดยประกาศกระทรวงมหาดไทย

Page 5: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

องค์การบริหารส่วนต าบลภายใต้กฎหมายฉบับบใหม่ มีองค์ประกอบคือ

(ก) สภาต าบล มีสมาชิก 2 ประเภท คือ 1.1 สมาชิกประเภทเลือกตั้งที่ราษฎรในหมู่บ้านเลือกตั้งขึ้นมาหมู่บ้านละ 1

1.2 สมาชิกโดยต าแหน่ง คือ ก านันและผู ้ใหญ่บ้านทุกคนในต าบล มีอ านาจหน้าที ่ควบคุมการบริหารงานคณะกรรมการต าบล

(ข) คณะกรรมการต าบล ประกอบด้วย 1.1 ก านันเป็นประธาน

1.2 ผู้ใหญ่บ้านในต าบลทุกคนและแพทย์ประจ าต าบลเป็นกรรมการโดยต าแหน่ง

กรรมการอื่นซึ่งนายอ าเภอแต่งตั้งจากครูใหญ่โรงเรียนในต าบล หรือผู้ทรงคุณวุฒิอื่นจ านวนไม่เกิน 5 คน มีอ านาจหน้าที่รับผิดชอบการด าเนินกิจการส่วนต าบล

Page 6: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

สภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบลมีฐานะทางกฎหมายแตกต่างกัน เนื่องจากมีองค์ประกอบต่างๆ ที่แตกต่างดังนี้

1) สภาต าบล ประกอบด้วยสมาชิกสภาต าบล 2 ประเภท คือ

สมาชิกประเภทที ่เป็นโดยต าแหน่ง ได้แก่ ก านัน ซึ ่งเป็นผู ้ด ารงต าแหน่งประธานสภาต าบล แพทย์ประจ าต าบล และผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้านในต าบล และสมาชิกประเภทที ่มาจากการเลือกตั ้ง โดยราษฎรเลือกตัวแทนในแต่ละหมู ่บ้าน หมู่บ้านละ 1 คน อยู่ในต าแหน่งคราวละ 4 ปี

นายอ าเภอจะเป็นผู้แต่งตั ้งรองประธานสภาต าบล 1 คน จากสมาชิกสภาต าบล ตามมติของสภาต าบล และแต่งตั ้ง เลขาน ุการสภาต าบล 1 คน จากข้าราชการที่ปฏิบัติงานในต าบล หรือบุคคลอื่นที่มีคุณสมบัติตามมติของสภาต าบล

Page 7: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

อ านาจหน้าที่ของสภาต าบล (ก) พัฒนาต าบลตามแผนงาน โครงการ และงบประมาณของตนเอง

(ข) เสนอแนะส่วนราชการในการบริหารราชการและพัฒนาต าบล

(ค) ท าหรือจัดให้มีน้ าเพื่อการอุปโภค บริโภคและการเกษตร

(ง) จัดให้มีและรักษาทางระบายน้ า

(จ) การรักษาความสะอาดของถนน ทางน้ า ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งก าจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล

(ฉ) จัดให้มีการบ ารุงรักษาทางน้ าและทางบก

(ช) การคุ้มครองดูแลและบ ารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

(ซ) การบ ารุงและส่งเสริมอาชีพของราษฎร

(ฌ)การส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ

Page 8: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

สภาต าบลและองคก์ารบริหารส่วนต าบลมีฐานะทางกฎหมายแตกต่างกนั

เน่ืองจากมีองคป์ระกอบต่างๆ ท่ีแตกต่างดงัน้ี (ต่อ)

2) องค์การบริหารส่วนต าบล

แตกต่างจากสภาต าบล เพราะมีฐานะเป็นหน่วยราชการบริหารส่วนท้องและเป ็นน ิต ิบ ุคคลด้วย การจ ัดตั ้งองค ์การบร ิหารส ่วนต าบลมีหลักเกณฑ์คือ

1. ต าบลนั้นต้องมีรายได้ไม่รวมเงินอุดหนุนในปีงบประมาณที่ผ่านมาติดต่อกัน 3 ปี โดยเฉลี่ยไม่ต่ ากว่าปีละ 150,000 บาท

2. โครงสร้างขององค์การบริหารส่วนต าบลประกอบด้วย 2 ส่วน คือ สภาองค์การบริหารส่วนต าบล และคณะกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนต าบล

Page 9: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

องค์การบริหารส่วนต าบลในปัจจุบัน

องค์การบริหารส่วนต าบลในปัจจุบันก าเนินตาม พ.ร.บ. สภาต าบล และองค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 ซึ่งมีสาระส าคัญ คือ

ที่มาของคณะผู้บริหารหรือผู้บริหารขององค์การบริส่วนต าบล จากเดิมมาจากสภาองค์การบริหารส่วนต าบล แต่ตามกฎหมายใหม่ นี้ให้มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ท าให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกประเภทของไทยในปัจจุบันมีผู้บริหารมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนทั้งสิ้น

Page 10: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

องค์การบริหารส่วนต าบล (อบต.) ถือเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ ่นที ่อยู ่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที ่สุด มีจ านวนมากที ่ส ุด และเป็นองค์กรปกครองที ่ถ ือได้ว ่าม ีอ านาจหน้าที ่ที ่จะแก้ไขปัญหาต่างๆ ของประชาชนและสามารถตอบสนองความต้องการเบื้องต้นของประชาชนได้เป็นอย่างดี ในปัจจุบันการจัดระเบียบบริหารราชการขององค์การบริหารส่วนต าบลเป็นไปตามข้อก าหนดของพระราชบัญญัติสภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ. 2537 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 ทั ้งนี ้จะได้กล่าวถึงสาระส าคัญขององค์การบริหารส่วนต าบลใน 3 ส่วน ได้แก่

1. โครงสร้างการบริหาร

2. อ านาจหน้าที่

3. ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลส่วนกลางกับองค์การบริหารส่วนต าบล

Page 11: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

จ านวนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ข้อมูล ณ วันที่ 14 มิถุนายน 2562 รวบรวมโดย : กลุ่มงานกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น 2

กองกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด 76 แห่ง

2. เทศบาล 2,442 แห่ง

เทศบาลนคร 30 แห่ง

เทศบาลเมือง 179 แห่ง

เทศบาลต าบล 2,233 แห่ง

3. องค์การบริหารส่วนต าบล 5,332 แห่ง

4. องค์กรปกครองท้องถ่ินรูปแบบพิเศษ (กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา)

2 แห่ง

รวมทั้งสิ้น 7,852 แห่ง

Page 12: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

ปัจจุบันหลักเกณฑ์และขนาดขององค์การบริหารส่วนต าบล แบ่งออกเป็นดังน้ี

(1) องค์การบริหารส่วนต าบลขนาดใหญ่ เป็นองค์การบริหารต าบลที่มีรายได้ไม่รวมเงินอุดหนุน 20 ล้านบาทขึ้นไป

(2) องค์การบริหารส่วนต าบลขนาดกลาง เป็นองค์การบริหารต าบลที่มีรายได้ไม่รวมเงินอุดหนุน 6-20 ล้านบาทขึ้นไป

(3) องค์การบริหารส่วนต าบลขนาดเล็ก เป็นองค์การบริหารต าบลที่มีรายได้ไม่รวมเงินอุดหนุนต่ ากว่า 6 ล้านบาทขึ้นไป

65%

33%

2%

สดัสว่นรายได ้แบ่งขนาดขององคก์ารบริหารส่วนต าบล

อบต.ใหญ ่

อบต.กลาง

อบต.เล็ก

Page 13: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

โครงสร้าง

การบริหารองค์การบริหารส่วนต าบล

อ ง ค ์ก า ร บ ร ิห า ร ส ่ว น ต า บ ล มีโครงสร้างองค์การตามพระราชบัญญัติสภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบล (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 ดังนี ้

Page 14: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล
Page 15: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

โครงสร้างองค์การบริหารส่วนต าบล สภาองค์การบริหารส่วนต าบล นายยกองค์การบริหารส่วนต าบล

1. ประธานสภา 1 คน และรองประธานสภา อีก 1 คน มาจากการเลือกกันเองของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต าบล

2. รองประธานสภา 1 คน 3. สมาชิกสภามาจากเลือกตั้งโดยตรงของ

ประชาชนในแต่ละหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 2 คน

4 อายุของสภาองค์การบริหารส่วนต าบลมีก าหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง

1. นายกองค์การบริหารส่วนต าบลมาจากเลือกต้ังโดยตรงของประชาชน

2. รองนายกฯไม่เกิน 2 คน 3. เลขานุการนายกฯ 1 คน *** ส่วนการบริหารงานประจ าขององค์การ

บริหารส่วนต าบล เป็นภาระหน้าที่รับผิดชอบของพนักงานส่วนต าบล โดยมีปลัดองค์การบริหารส่วนต าบลเป็นหัวหน้า****

Page 16: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

นายก อบต. และสมาชิกสภา อบต. มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้นตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งนั้นตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น องค์ประกอบของ อบต. ในการปฏิบัติงาน ดังนี้ (1) สภา อบต. : ฝ่ายนิติบัญญัติ (2) นายก อบต . : ฝ่ายบริหาร (3) พนักงานส่วนต าบล : ฝ่ายราชการประจ า (4) ประชาชนในเขต อบต. : เป็นศูนย์กลางการพัฒนา และมีส่วนรวมด าเนินการ (5) ฝ่ายก ากับดูแล อบต. : นายอ าเภอและผู้ว่าราชการจังหวัด ทั้ง 5 ฝ่ายต้อง มีส่วนรวมในการด าเนินงานตามกรอบอ านาจหน้าที่อย่างสมดุล อบต. จึงพัฒนาอย่างยั่งยืนและเข้มแข็ง

Page 17: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

โครงสรา้งการบริหารองคก์รปกครองส่วนทอ้งถ่ินในรูปแบบใหม่

ตามกฎหมาย

Page 18: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

อ านาจหน้าท่ีขององค์การบริหารส่วนต าบล 1) อ านาจหน้าที่ตาม พรบ. สภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ. 2537 (ฉบับที่5) พ.ศ. 2546

มาตรา 66 องค์การบริหารส่วนต าบลมีอ านาจหน้าที่ในการพัฒนาต าบล ทั้งในด้านเสรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

มาตรา 67 องค์การบริหารส่วนต าบลมีหน้าที่ต้องท าในเขตองค์การบริหารส่วนต าบลดังต่อไปนี้

(1) จัดให้มีและบ ารุงรักษาทางน้ าและทางบก

(2) รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ า ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งขยะมูลฝอยและสิ่งปฎิกูล

(3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ

(4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

(5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

(6) ส่งเสริมพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ

(7) คุ้มครอง ดูแล และบ ารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

(8) บ ารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีท้องถิ่น

(9) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมาย โดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรให้ตามความจ าเป็นและสมควร

Page 19: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

(ต่อ) มาตรา 68 องค์การบริหารส่วนต าบลอาจจัดท ากิจการในเขตองค์การบริหารส่วนต าบลดังต่อไปน้ี

(1) ให้มีน้ าเพื่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตร

(2) ให้มีและบ ารุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น

(3) ให้มีและบ ารุงรักษาทางระบายน้ า

(4) ให้มีและบ ารุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ

(5) ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์

(6) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว

(7) บ ารุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร

(8) การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน

(9) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนต าบล

(10) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม

(11) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์

(12) การท่องเที่ยว

(13) การผังเมือง

2) อ านาจหน้าที่ตาม พ.ร.บ. ก าหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542

Page 20: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

สภาองค์การบริหารส่วนต าบล

สภาองค์การบริหารส่วนต าบลเป็นองค์กรฝ่ายนิติบ ัญญัติ สมาชิกสภามาจากเลือกตั ้งโดยตรงของราษฏรในแต่ละหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 2 คน ในกรณีที่ เขตองค์การบริหารส่วนต าบลใดมีเพียง 2 หมู่บ้าน ให้มีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต าบล หมู่บ้านละ 3 คน

สภาองค์การบริหารส่วนต าบลมีประธานสภา 1 คน และรองประธานสภา อีก 1 คนเป็นผู้ช่วย มาจากเลือกตั้งกันเองของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต าบล เพื่อท าหน้าที่ด าเนินการประชุมและด าเนินกิจการอ่ืนให้เป็นไปตามข้องบังคับ

Page 21: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

การประชุมที่กระทรวงมหาดไทยก าหนด

1. ในปีหนึ่งมีสมัยประชุมสามัญ 2 สมัย หรือหลายสมัยแล้วแต่สภาองค์การบริหารส่วนต าบลก าหนด แต่ต้องไม่เกิน 4 สมัย โดยสมัยการประชุมสามัญสมัยหนึ่ง ให้มีก าหนดไม่เกิน 15 วัน ในกรณีประชุมวิสามัญต้องการขยายเวลาออกไปต้องได้รับอนุญาตจากนายอ าเภอ

2. นายอ าเภอต้องก าหนดให้สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต าบลด าเนินการประชุมสภาองค์การบริหารส่วนต าบลครั้งแรกภายใน 15 วัน นับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้ง

กรณีทีสภาองค์การบริหารส่วนต าบลไม่อาจจัดให้มีการประชุมครั้งแรกได้ตามก าหนด หรือมีการประชุมแต่ไม่อาจเลือกประธานสภาสภาองค์การบริหารส่วนต าบลได้ นายอ าเภออาจเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดให้มีค าสั่งยุบสภาองค์การบริหารส่วนต าบล

Page 22: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต าบล ต้องมีคุณสมบัติดังน้ี

1. สัญชาติไทยโดยก าเนิด

2. มีอายุไม่ต่ ากว่า 25 ปี บริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง

3. มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร์ในหมู่บ้านของต าบลที่สมัครรับเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 1 ปี จนถึงวันสมัครรับเลือกตั้

4. ไม่เป็นผู ้ม ีพฤติกรรมในทางทุจริต หรือพ้นจากต าแหน่งสมาชิกสภาต าบล สมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่นหรือที่ปรึกษา เพราะเหตุที่มีส่วนได้ส่วนเสียไม่ว่าทางตรงทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระท ากับสภาต าบล หรือองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นยังไม่ถึง 5 ปี นับถึงวันสมัครเลือกตั้ง

Page 23: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

อ านาจหน้าท่ีสภาองค์การบริหารส่วนต าบล (1) ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาองค์การบริหารสว่นต าบล เพ่ือเป็นแนวทางในการบริหารกจิการของ

องคก์ารบริหารส่วนต าบล

(2) พิจารณาและให้ความเห็นชอบร่างข้อบัญญัตอิงคก์ารบริหารส่วนต าบล ร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ าปี และร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเตมิ

(3) ควบคุมการปฏบิัติงานของนายกองคก์ารบริหารต าบล ให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนาองค์การบริหารสว่นต าบล ขัอบัญญัติระเบียบ และข้อบังคับทางราชการ

(4) รับทราบนโยบายของนายกองคก์ารบริหารส่วนต าบล ซึ่งจ าเป็นต้องแถลงต่อสภาองคก์ารบริหารส่วนต าบลก่อนเขา้รับหนา้ที ่

(5) การตั้งกระทู้ถามต่อนายกองค์การบริหารส่วนต าบลหรือรองนายกองคก์ารบริหารสว่นต าบลเกี่ยวกับงานในหน้าที่

(6) การเสนอบัญญัติขอเปิดอภิปรายทั่วไปที่ประชุมสภาองค์การบริหารส่วนต าบล เพ่ือให้นายกองคก์ารบริหารส่วนต าบลแถลงข้เท็จจริงหรือแสดงความคดิเห็นเกี่ยวกับการบริหารสว่งนต าบล โดยไม่มีการลงมติิ

Page 24: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนต าบล

1. ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนต าบลทั่วไป

ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนต าบลจะเสนอได้ก็แต่โดยนายกองค์การบริหารส่วนต าบล หรือสมาชิกองค์การบริหารส่วนต าบล หรือราษฎร์ในเขตองค์การบริหารส่วนต าบล ตามกฏหมายว่าด้วยการเข้าชื ่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น

2. ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ าปี

ข้อบัญญัต ิงบประมาณรายจ่ายประจ าป ี และข ้อบ ัญญัต ิงบประมาณรายจ่ายเพิ ่มเติม นับว่ามีความส าคัญมากที่สุดต่อการบริหารส่วนต าบล เพื่อน าไปใช้ในการด าเนินกิจกรรมต่างๆ ตามแผนงานที่ได้วางไว้

Page 25: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

กระบวนการตราข้อบัญญัติ ก) ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนต าบลทั่วไป เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ / แก้ไข

สภาองค์การบริหารส่วนต าบลและนายอ าเภภเห็นชอบรา่งบัญญัติ

ให้นายยกองค์การบริหารส่วนต าบลลงช่ือ ประกาศใชเ้ป็นข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนต าบล

นายอ าเภไม่เห็นชอบรา่งข้อบัญญัติ สง่คือสภาองค์การบริหารส่วนต าบลภายใน 15 วัน หากนายอ าเภอไม่ส่งร่างข้อบัญญัตกิลับ คนืแก่สภาฯ ภายใน 15 วัน นับว่านายอ าเภอเห็นชอบกับร่างบัญญัต ิดังกล่าว เม่ือสภาฯ พิจารณาทบทวนทวนร่างข้อบัญญัติ มีมติยืนยันตามร่างฯ คะแนนเสยีงไมน่้อยกวา่ 2 ใน 3 ของสมาชกิสภาฯ นายกองค์การบริหารส่วนต าบลลงช่ือ ประกาศใชข้้อบัญญัติส่วนต าบลไดเ้ลย

Page 26: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

ข) ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ าปแีละงบประมาณเพิ่มเติม

เห็นชอบ 1.สภาองค์การบริหารส่วนต าบลเห็นชอบรา่งข้อบัญญัติ 2. เสนอนายอ าเภอเพ่ือขออนุมัติ 3. นายอ าเภอพิจารณาให้แลว้เสร็จภายใน 15 วัน 4. นายอ าเภอเสนอรา่งข้อบัญญัติฯไปยังผู้ว่าราชการจังหวัด 5. ผู้วา่ราชการจังหวัดพิจารณาภายใน 15 วัน 6. ผู้วา่ราชการจังหวัดเห็นชอบข้อบัญญัติ 7. ผู้วา่ราชการจังหวัดสง่ไปนายอ าเภอเพ่ือลงช่ืออนุมัติ

ถ้านายอ าเภอไม่อนุมัติแจ้งเหตุผลส่งคืนมาที่สภาองค์การบรหิารส่วนต าบล

เมื่อพิจารณาทบทวนร่างข้อบัญญัตินั้นใหม่ หากพ้นก าหนดแล้วนายอ าเภอพิ จ า รณ า ไ ม่ แ ล้ ว เ ส ร็ จ ใ ห้ ถื อ ว่ านายอ าเภออนุมัติร่างข้อบัญญัติแล้ว

การพิจารณาร่างข้อบัญญัติฯ สภาองค์การบริหารส่วนต าบลพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับร่างข้อบัญญัตินั้น เมื่อพ้นก าหนดเวลา ถ้าสภาองค์การบริหารส่วนต าบลไม่แล้วเสร็จถือว่าสภาฯ เห็นชอบตามที่นายกองค์การบรหิารส่วนต าบลเสนอ

Page 27: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

ข) ขอ้บญัญตังิบประมาณรายจา่ยประจ าปีและงบประมาณเพ่ิมเติม

แก้ไข/้ไม่รับหลักการ 1. ไมร่ับหลักการรา่งขัอบัญญัติงบประมาณรายจา่ยประจ าปี 2. นายอ าเภอคตั้งคณะกรรมการคณะหนึ่งประกอบดว้ย กรรมการจ านวน 7 คน 3. คณะกรรมการชุดนี้พจิารณาหาข้อยุติความขัดแยง้ ให้แลว้เสร็จ ภายใน 15 วัน 4. นายอ าเภอสง่รง่ข้อบัญญัติที่ผ่านการพจิารณาแล้ว นายกฯ 5. นายกฯ เสนอร่างข้อบัญญัต่อสภาฯ ภายใน 7 วัน 6. เม่ือสภา ได้รับรา่งข้บัญญัติฉบับปรับปรุงแก้ไขโดย คณะกรรมการแล้วต้องท าการพิจารณาใหแ้ล้วเสร็จ 30 วัน

**** หากสภาฯ พิจารณาไม่แล้วเสร็จภายในก าหนดหรือมติไม่เห็นชอบร่างฯ และให้ใช้ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายในปีงบประมาณรายจ่ายไปพลางก่อน ให้นายอ าเภอเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดให้มีค าสั่งยุบสภาองค์การบริหารส่วนต าบล****

1. สมาชกิสภาองคก์ารบริหารส่วนต าบล 3 คน 2. บุคคลที่ไม่ใช่สมาชิกสภาฯ 3 คน 3. เสนอบุคคลซึ่งไม่ไดเ้ป็นนายกฯ รองนายกฯ และไม่เป็นสมาชิกฯ ท าหน้าที่เป็นประธานกรรมการ

***โดยตั้งภายใน 7 วันนับแต่วันที่สภามมีติไม่รับในหลักการ***

หากนายกฯไมเ่สนอรา่งฯ ต่อสภาภายในเวลาที่ก าหนด ให้นายอ าเภอรายงานต่อผู้ว่าราชการจังหวัด เพ่ือสั่งให้นายกองค์การบริหารต าบล พ้นจากต าแหน่ง

Page 28: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

นายกองค์การบริหารส่วนต าบล

นายกองค์การบริหารส่วนต าบล เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์การบริหารส่วนต าบล มาจากเลือกตั้งโดยตรงของราษฎร์ มีวาระในการด ารงต าแหน่ง คราวละ 4 ปี น ับแต่ว ันเล ือกตั ้ง และสามารถด ารงต าแหน่งติดต่อกันได้ไม่เกิน 2 วาระ แต่จะด ารงต าแหน่งได้อีกครั้งเมื่อพ้นระยะเวลา 4 ปี นับแต่วันที่พ้นจากต าแหน่ง

นายกองค์การบริหารส่วนต าบลอาจแต่งตั้งรองนายกองค์การบริหารส่วนต าบล ซึ่งต้องไม่เป็นสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต าบล เพื่อช่วยในการบริหารงานได้ไม่เกิน 2 คน และแต่งตั้งเลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนต าบล 1 คน

Page 29: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นนายกองค์การบริหารส่วนต าบล ต้องมีคุณสมบัติดังน้ี

1. มีสัญชาติไทยโดยก าเนิด

2. อายุไม่ต่ ากว่า 30 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง

3. ส าเร็จการศึกษาไม่ต่ ากว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า หรือเคยเป็นสมาชิกสภาจังหวัด สมาชิกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ผู้บริหารท้องถิ่นหรือสมาชิกรัฐสภา

4. ไม่เป็นผู้มีพฤติกรรมในทางทุจริต หรือพ้นจากต าแหน่งสมาชิกสภาต าบล สมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่นหรือที่ปรึกษา เพราะเหตุที่มีส่วนได้ส่วนเสียไม่ว่าทางตรงทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระท ากับสภาต าบล หรือองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นยังไม่ถึง 5 ปี นับถึงวันสมัครเลือกตั้ง

Page 30: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

อ านาจหน้าท่ีของนายกองค์การบริหารส่วนต าบล 1) ก าหนดนโยบายโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย และรับผิดชอบในการบริหารราชการขององค์การบริหารส่วนต าบล

ให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนต าบล ข้อบัญญัติ และข้อบังคับทางราชการ

2) สั่ง อนุญาต และอนุมัติเกี่ยวกับราชการของอค์การบริหารส่วนต าบล

3) แต่งตั้งและถอดถอนรองนายกองค์การบริหารส่วนต าบล และเลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนต าบล

4) วางระเบียบเพ่ือให้งานขององค์การบริหารส่วนต าบลเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

5) ควบคุมและรับผิดชอบในการบริหารราชการขององค์การบริหารส่วนต าบล และเป็นผู ้บังคับบัญชาของพนักงานส่วนต าบลและลูกจ้างขององค์การบริหารส่วนต าบล โดยมีปลัดองค์การบริหารส่วนต าบลเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้าง

6) เข้าร่วมประชุมสภาองค์การบริหารส่วนต าบล และมีสิทธิแถลงข้อเท็จจริงตลอดจนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานในหน้าที่ของตนต่อที่ประชุมแต่ไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน

7) รักษาการให้เป็นไปตามข้บัญญัขององค์การบริหารส่วนต าบล

8) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัไว้ในพระราชบัญยัตินี้และกฎหมายอ่ืน

Page 31: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

รายได้และรายจ่าย รายได้

พ.ร.บ. สภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่5 ) พ.ศ. 2546 ระบุว่า องค์การบริหารส่วนต าบลมีรายได้จากภาษีอากรและค่าธรรมเนียมดังนี้

1) ภาษีบ ารุงท้องที่ 2) ภาษีโรงเรือนและที่ดิน

3)ภาษีป้าย 4) อากรการฆ่าสัตว์และค่าธรรมเนียม

5) ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเลื่อน

6) ภาษีธุรกิจเฉพาะตามประมวณกฎหมาย ซึ่งสถานประกอบการตั้งอยู่ในองค์การบริหารส่วนต าบล

7) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตขายสุรา 8) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตเล่นการพนัน

9)ค่าธรรมเนียมตามกฎหมายว่าด้วยน้ าบาดาล

10) เงินอากรประทานบัตร ใบอนุญาต และอาชญาบัตรตามกฎหมายว่าด้วยประมง

11) ค่าภาคหวงและค่าธรรมเนียมตามกฎหมาย 12) ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม

13) ค่าภาคหลวงแร่ 14) ค่าภาคหลวงปิโตเลียม

15) เงินที่เก็บตามกฎหมายว่าด้วยอุทยาน 16) ภาษีมูลค่าเพิ่ม

17) ค่าธรรมเนียม ค่าใบอนุญาต และค่าปรับตามที่กฎหมายก าหนด

Page 32: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

(ต่อ)

นอกจากนี้องค์การบริหารส่วนต าบลอาจมีรายได้ดังต่อไปนี้

ก) รายได้จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนต าบล

ข) รายได้จากสาธารณูปโภคของอค์การบริหารส่วนต าบล

ค) รายได้จากกิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์ขององค์การบริหารส่วนต าบล

ง) ค่าธรรมเนียม ค่าใบอนุญาต และค่าปรับ

จ) เงินและทรัพย์สินอ่ืนที่มีผู้อุทิศให้

ฉ) รายได้อ่ืนตามที่รัฐบาลหรือหน่วยงานของรัฐจัดสรรให้

ช) เงินอุดกนุนจากรัฐบาล

ซ) รายได้อ่ืนตามที่จะมีกฎหมายก าหนดให้เป็นขององค์การบริหารส่วนต าบล

Page 33: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

รายจ่าย มาตรา 85 องค์การบริหารส่วนต าบลอาจมีรายจ่ายดังต่อไปนี้

1) เงินเดือน

2) ค่าจ้าง

3) เงินค่าตอบแทนอ่ืนๆ

4) ค่าใช้สอย

5) ค่าวัสดุ

6) ค่าครุภัณฑ์

7) ค่าที่ดิน สิ่งก่อสร้าง และทรัพย์สิน

8) ค่าสาธารณูปโภค

9) เงินอุดหนุนหน่วยงานอ่ืน

10) รายจ่ายอ่ืนใดตามข้อผูกพัน หรือตามที่มีกฎหมายหรือระเบียบของกระทรวงมหาดไทยก าหนดไว้

Page 34: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

การก ากับดูแล พ.ร.บ. สภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่

5) พ.ศ. 2546 ส่วนที่5 ก าหนดให้มีก ากับดูแลองค์การบริหารส่วนต าบลดังนี้

1. นายอ าเภอมีอ านาจก ากับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนต าบลให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของทางราชการ

2. เมื่อนายอ าเภอเห็นว่านายกองค์การบริหารส่วนต าบลผู้ใดปฏิบัติการในทางที่อาจเป็นการเสียหายแก่องค์การบริหารส่วนต าบล และได้ชี้แจง แนะน า ตัดเตือนแล้วไม่ปฏิบัติตาม ให้นายอ าเภอมีอ านาจออกค าสั ่งระงับการปฏิบัติราชการของนายกองค์การบริหารส่วนต าบล แล้วรีบรายงานให้ผู้ว่าราชการจังหวัดทราบภายใน 15 วัน

3. เพื่อคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนต าบลหรือประโยชน์ของเป็นส่วนร่วม นายอ าเภอสามารถเสนอความเห็นต่อผู้ว่าราชการเพื่อยุบสภาองค์การบริหารส่วนต าบลได้ และให้มีการเลือกตั ้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต าบลขึ้นใหม่ภายใน 45 วัน

Page 35: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

(ต่อ)

4. หากปรากฏว่านายกองค์การบริหารต าบล รองนายกองค์การบริหารส่วนต าบล ประธานสภาองค์การบริหารส่วนต าบล หรือรองประธานฯ กระท าการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อยหรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือละเลยไม่ปฏิบัติการไม่ชอบด้วยอ านาจหน้าที่ ให้นายอ าเภอด าเนินการสอบสวนโดยเร็ว

ในกรณีผลการสอบสวนปรากฏว่า บุคคลดังกล่าวมีพฤติกรรมเช่นนั่นจริง ให้นายอ าเภอเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งให้บุคคลดังกล่าวพ้นจากต าแหน่ง โดยผู้ว่าราชการจังหวัดอาจด าเนินการสอบสวนเพิ่มเติมด้วยก็ได้ ค าสั่งของผู้ว่าราชการจังหวัดให้เป็นที่สุด

Page 36: องค์การบริหารส่วนต าบล อบต.)...สถานการณ ณ ป จจ บ น องค การบร หารส วนต าบล

• เอกสารประกอบการสอน วิชาการปกครองท้องถิ่นไทย อาจารย์ดวงพร แสงทอง

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://www.teacher.ssru.ac.th/duangphon_sa/