2
สถิติเชิงพรรณนาและการแสดงผลข้อมูล 161 บทที่6 สถิติเชิงพรรณนาและการแสดงผลข้อมูล ภาพรวม วัตถุประสงค์ของเครื่องมือเหล่านีเพื่อให้ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการกระจายตัวและคุณสมบัติของข้อมูลกลุ่มหนึ่ง ตัดสินใจว่าจะใช้เครื่องมือใด ข้อตกลงเกี่ยวกับศัพท์ทางสถิติ (Statistical Term Convention) (หน้า 163) กล่าวถึงมาตรฐานที่ใช้สำหรับสัญลักษณ์และศัพท์ที่ใช้ในสมการ ทางสถิติ ขอให้คุณทบทวนตามที่จำเป็น การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Measures of Central Tendency) (หน้า 164) กล่าวถึงวิธีคำนวณค่าเฉลี่ย (Mean) มัธยฐาน (Median) ฐานนิยม (Mode) คำนวณค่าเหล่านี้ด้วยตัวเองสำหรับชุดข้อมูลต่อเนื่อง ใดก็ตามที่ซอฟต์แวร์ไม่ได้คำนวณให้ Copyrighted Material of E.I.SQUARE PUBLISHING

Lean Six Sigma Pocket Tool Book Thai Version - 7

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Lean Six Sigma Pocket Tool Book Thai Version - 7

สถิติเชิงพรรณนาและการแสดงผลข้อมูล  161

บทที่ 6 

สถิติเชิงพรรณนาและการแสดงผลข้อมูล 

ภาพรวม 

วัตถุประสงค์ของเครื่องมือเหล่านี้ 

เพื่อให้ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการกระจายตัวและคุณสมบัติของข้อมูลกลุ่มหนึ่ง

ตัดสินใจว่าจะใช้เครื่องมือใด 

• ข้อตกลงเกี่ยวกับศัพท์ทางสถิติ (Statistical Term Convention) (หน้า

163) กล่าวถึงมาตรฐานที่ใช้สำหรับสัญลักษณ์และศัพท์ที่ใช้ในสมการ

ทางสถิติ ขอให้คุณทบทวนตามที่จำเป็น

• การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Measures of Central Tendency)

(หน้า 164) กล่าวถึงวิธีคำนวณค่าเฉลี่ย (Mean) มัธยฐาน (Median)

ฐานนิยม (Mode) คำนวณค่าเหล่านี้ด้วยตัวเองสำหรับชุดข้อมูลต่อเนื่อง

ใดก็ตามที่ซอฟต์แวร์ไม่ได้คำนวณให้

Copyri

ghted

Mate

rial o

f E.I.S

QUARE PUBLIS

HING

Page 2: Lean Six Sigma Pocket Tool Book Thai Version - 7

162  เครื่องมือ Lean  Six Sigma

• มาตรวัดของการกระจายตัว (Measures of Spread) (หน้า 167)

แสดงวิธีคำนวณพิสัย (Range) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard

Deviation) และความแปรปรวน (Variance) คุณต้องใช้การคำนวณเหล่านี้

กับเครื่องมือสถิติหลายประเภท (แผนภูมิควบคุม การทดสอบสมมติฐาน

ฯลฯ)

• แผนภูมิกล่อง (Box Plots) (หน้า 171) อธิบายแผนภาพประเภทหนึ่งที่

สรุปการแจกแจงหรือกระจายตัวของข้อมูลแบบต่อเนื่อง คุณคงมีโอกาส

น้อยที่จะวาดด้วยมือ แต่มักเห็นได้บ่อยหากใช้ซอฟต์แวร์สถิติ ขอให้คุณ

ทบทวนตามที่จำเป็น

• ผังความถี่/ฮิสโตแกรม (Frequency Plot/Histogram) (หน้า 172) สรุป

ผังความถี่ประเภทต่างๆ และตีความรูปแบบที่แสดงความหมายออกมา

เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในการประเมินการแจกแจงปกติ (Normality); เป็นสิ่งที่

แนะนำสำหรับกลุ่มตัวแทนของข้อมูลแบบต่อเนื่อง

• การแจกแจงปกติ (Normal Distribution) (หน้า 177) อธิบายคุณสมบัติ

ของการแจกแจง “ปกต”ิ หรือ “ระฆังคว่ำ” ขอให้คุณทบทวนตามที่จำเป็น

• การแจกแจงไม่ปกติ/ทฤษฎีแนวโน้มเข้าสู่ศูนย์กลาง (Non-Normal

Distribution/Central Limit Theorem) (หน้า 178) อธิบายการแจกแจง

หรือกระจายตัวประเภทอื่นๆ ที่พบกับข้อมูลแบบต่อเนื่อง และวิธีที่เรา

สามารถสรุปผลทางสถิติที่ใช้การได้แม้ว่าจะเป็นการแจกแจงแบบไม่ปกติ

ก็ตาม ขอให้คุณทบทวนตามที่จำเป็น

Copyri

ghted

Mate

rial o

f E.I.S

QUARE PUBLIS

HING