3
ใบความรู้ที2 การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาอย่างมีข้นตอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เวลา 2 ชั่วโมง ครูผู้สอน ณัฐพล บัวอุไร 1. การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาอย่างมีข้นตอน การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาอย่างมีข้นตอน ทาได2 ลักษณะ ดังนี1.1 การใช้ข้อความหรือคาบรรยาย เป็นการเขียนเค้าโครงด้วยการบรรยายเป็นภาษาที่มนุษย์ใช้ในการสื่อสารกัน เพื่อให้ทราบถึงการทางานของการแก้ปัญหาแต่ละขั้นตอน เช่น ตัวอย่างที1 การวางแผนการไปโรงเรียน การจาลองความคิดเป็นข้อความ เริ่มต้น ตื่นนอน อาบน้าแต่งตัว ไปโรงเรียน จบ ตัวอย่างที2 การจาลองความคิดในการหาผลบวก 1, 2, 3, 4, 5 ... จนถึง 20 (นั่นคือจะ หาค่า 1 + 2 + 3 + 4 + ... + 20) เป็นข้อความหรือแผนภาพ การจาลองความคิดเป็นข้อความ เริ่มต้น กาหนดให้ N มีค่าเริ่มต้นเป็น 0 กาหนดให้ K มีค่าเริ่มต้นเป็น 1 นาค่า K มารวมกับค่า N เดิม ได้ผลลัพธ์เท่าไรไปเก็บไว้ทีN นาค่า 1 มารวมกับค่า K เดิม ได้ผลลัพธ์เท่าไรไปเก็บไว้ทีK เปรียบเทียบค่า K กับ 20 ถ้า K น้อยกว่าหรือเท่ากับ 20 ให้วนกลับไปทาในขั้น 3 และทาคาสั่ง ถัดลงมาตามลาดับ แต่ถ้า K มากกว่า 20 ให้แสดงได้คาตอบ

ใบความรู้ที่ 2 การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอน

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: ใบความรู้ที่ 2 การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอน

ใบความรู้ที่ 2 การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอน

วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เวลา 2 ชั่วโมง ครูผู้สอน ณัฐพล บัวอุไร

1. การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอน

การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอน ท าได้ 2 ลักษณะ ดังนี้

1.1 การใช้ข้อความหรือค าบรรยาย เป็นการเขียนเค้าโครงด้วยการบรรยายเป็นภาษาที่มนุษย์ใช้ในการสื่อสารกัน

เพื่อให้ทราบถึงการท างานของการแก้ปัญหาแต่ละขั้นตอน เช่น

ตัวอย่างที่ 1 การวางแผนการไปโรงเรียน การจ าลองความคิดเป็นข้อความ เริ่มต้น ตื่นนอน อาบน้ าแต่งตัว ไปโรงเรียน จบ ตัวอย่างที่ 2 การจ าลองความคิดในการหาผลบวก 1, 2, 3, 4, 5 ... จนถึง 20 (นั่นคือจะหาค่า 1 + 2 + 3 + 4 + ... + 20) เป็นข้อความหรือแผนภาพ การจ าลองความคิดเป็นข้อความ เริ่มต้น ก าหนดให้ N มีค่าเริ่มต้นเป็น 0 ก าหนดให้ K มีค่าเริ่มต้นเป็น 1 น าค่า K มารวมกับค่า N เดิม ได้ผลลัพธ์เท่าไรไปเก็บไว้ที่ N น าค่า 1 มารวมกับค่า K เดิม ได้ผลลัพธ์เท่าไรไปเก็บไว้ที่ K เปรียบเทียบค่า K กับ 20 ถ้า K น้อยกว่าหรือเท่ากับ 20 ให้วนกลับไปท าในขั้น 3 และท าค าสั่งถัดลงมาตามล าดับ แต่ถ้า K มากกว่า 20 ให้แสดงได้ค าตอบ

Page 2: ใบความรู้ที่ 2 การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอน

2.2 การใช้สัญลักษณ์ เป็นการน าสัญลักษณ์รูปแบบต่างๆ ที่ก าหนดขึ้นโดยสถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริการ (The American National Standard Institute : ANSI) มาใช้ส าหรับสื่อสารขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหาให้เข้าใจตรงกัน ดังนี้

สัญลักษณ์ ชื่อเรียก ความหมาย

การท างานด้วยมือ แทนจุดที่มีการท างานด้วยแรงคน

การน าข้อมูลเข้า – ออกโดยทั่วไป แทนจุดที่จะน าข้อมูลเข้าหรือออกจากระบบคอมพิวเตอร์โดยไม่ระบุชนิดของอุปกรณ์

แถบบันทึกข้อมูล แทนจุดที่น าข้อมูลเข้าหรือออกจากโปรแกรมด้วยแถบบันทึกข้อมูล

การน าข้อมูลเข้าด้วยมือ แทนจุดที่แสดงข้อมูลเข้าด้วยมือ

การแสดงข้อมูล แทนจุดที่มีการแสดงข้อมูลด้วยจอภาพ

การท าเอกสาร แทนจุดที่มีข้อมูลเป็นเอกสารหรือแสดงข้อมูลด้วยเครื่องพิมพ์

การปฏิบัติงาน แทนจุดที่มีการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง

การเตรียมการ แทนจุดก าหนดชื่อข้อมูลหรือค่าเริ่มต้นต่างๆ

การตัดสินใจ แทนจุดที่จะต้องเลือกปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง

จุดเชื่อมต่อ แทนจุดเชื่อมต่อของผังงานเมื่อใช้สัญลักษณ์เพื่อให้ดูง่าย

เริ่มต้นและสิ้นสุด แทนจุดเริ่มต้นและลงท้ายของผังงานของโปรแกรมหลักและโปรแกรมย่อย

Page 3: ใบความรู้ที่ 2 การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอน

ตัวอย่างการถ่ายทอดความคิดเป็นสัญลักษณ์

เร่ิมต้น

สิน้สดุ

สืบค้นข้อมลูวิธีชงกาแฟโบราณ

การรวบรวมข้อมลูไว้ในโปรแกรม

จดัเก็บข้อมลูไว้บนแผน่ดิสก์

ท าแผน่พบัวิธีการชงกาแฟโบราณ