11
บททีบทที7 7 นวัตกรรมทางการศึกษา นวัตกรรมทางการศึกษา บททีบทที7 7 นวัตกรรมทางการศึกษา นวัตกรรมทางการศึกษา

บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา

บทที ่บทที่ 7 7 นวัตกรรมทางการศ ึกษานวัตกรรมทางการศ ึกษา

บทที ่บทที่ 7 7 นวัตกรรมทางการศ ึกษานวัตกรรมทางการศ ึกษา

Page 2: บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา

สถานการณ์ป ัญหา(Problem-based learning)

สถานการณ์ป ัญหา(Problem-based learning)

กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลอืกและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเร ียนเปรม

สว ัสด ิ์ โรงเร ียนมหาชัย โรงเร ียนเทศบาลว ัดธาต ุ โรงเร ียนเปรมสว ัสด ิ์ เป็นโรงเรียนทีอ่ยู่ห่างไกล

ความเจริญ ไม่มีการเช่ือมโยงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพวิเตอร์ใช้บ้าง ซ่ึงเป็นห้องคอมพวิเตอร์ สำาหรับนักเรยีนความต้องการของโรงเรียน คืออยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจในการเรียนมากขึน้ สื่อน้ีสามารถทำาให้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง(Realistic) และเหมาะสมกับการศึกษารายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏสิัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพน่ิง ภาพเคลือ่นไหว เสียง หรือ วดีิทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อน้ัน เพื่อสร้างความตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อนทบทวนส่วนที่ต้องการได้ โดยไม่มีข้อจำากัด มีการประเมินเพื่อแกไ้ขข้อบกพร่องของตนเองได้ อาจจะออกแบบมาในลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้นมากขึ้นทั้งน้ีก็สอดแทรกเน้ือหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม

Page 3: บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา

สถานการณ์ป ัญหา(Problem-based learning)

สถานการณ์ป ัญหา(Problem-based learning)

โรงเร ียนมหาชัย ต้องการนวตักรรมทีส่ามารถแก้ไขข้อจำากัดด้านสถานที่และเวลา โดยประยุกต์ใช้คุณสมบัติเวิล์ดไวด์เว็บที่โรงเรียนมีอยู่ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียนการสอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลงัจากน้ันผู้เรียนศึกษาเน้ือหาอาจเป็นการอา่นบนจอหรือโหลดเน้ือหาลงมาที่เครื่องของตนหรือสั่งพิมพ์ ทางเครือ่งพิมพ์ เพื่อศึกษาภายหลังก็ได้ ผู้เรียนสามารถกำาหนดการเรียนได้ด้วยตนเอง (Self-directed) เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ตามสะดวก สามารถกำาหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง คลอบคลุมทั้งการเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning) และสามารถถามคำาถาม ทำาแบบฝึกหัด ทำารายงานกลุ่ม อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ และยังสามารถเข้าถึงเน้ือหาได้ทุกที่ทุกเวลาทุกสถานที่

Page 4: บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา

สถานการณ์ป ัญหา(Problem-based learning)

สถานการณ์ป ัญหา(Problem-based learning)

โรงเร ียนเทศบาลว ัดธาต ุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณป์ัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เม่ือไม่สามารถแก้ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการรว่มมือกันแก้ปัญหา สามารถแลกเปลีย่นความคิดเห็นระหวา่งกันได้ตลอดเวลา นอกจากน้ีนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถนำามาใช้ได้ ในหลายบริบทเน่ืองจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บางกลุ่มชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนำาไปใช้เรียนได้ทกุสถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์กส็ามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธภิาพได้

Page 5: บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา

ภารกิจภารกิจ

1 1 อธิบายความหมายและจ ำาแนกอธิบายความหมายและจ ำาแนกประเภทของส ิง่แวดลอ้มทางการประเภทของส ิง่แวดลอ้มทางการเร ียนร ู้เร ียนร ู้ความหมายของส ิง่แวดล ้อมทางการเร ียนร ู้ความหมายของส ิง่แวดล ้อมทางการเร ียนร ู้ตามแนวคอนสตร ัคต ิว ิสต ์ตามแนวคอนสตร ัคต ิว ิสต ์ส ิง่แวดล ้อมทางการเร ียนร ู้ท ี่พ ัฒนาตามแนว

คอนสตร ัคต ิว ิสต ์ เปน็การออกแบบที่ประสาน รวมกันระหว ่าง “ สือ่ (Media)” กับ “ ว ิธกีาร

(Methods)” โดยการนำาทฤษฎีคอนสตร ัคต ิ ว ิสต ์ มาเปน็พ ื้นฐานในการออกแบบรวมกับส ือ่

ซ ึ่งมคีณุล ักษณะของส ือ่และระบบสญัล ักษณ์ของส ือ่ท ี่สน ับสนนุการสร ้างความร ู้ของผ ูเ้ร ียน

Page 6: บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา

ภารกิจภารกิจ

ประเภทของส ิง่แวดลอ้มประเภทของส ิง่แวดลอ้มทางการเร ียนร ู้ทางการเร ียนร ู้

1) สิ่งแวดล ้อมทางการเร ียนร ู้บนเคร ือข ่ายตามแนวคอนสตร ัคต ิว ิสต ์2) มัลต ิมเีด ียตามแนวคอนสตร ัคต ิว ิสต ์3) ชดุสร ้างความร ู้

Page 7: บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา

22 ว ิเคราะห์เล ือกใชน้ว ัตกรรมการเร ียนร ู้ว ิเคราะห์เล ือกใชน้ว ัตกรรมการเร ียนร ู้ ให้สอดคล้องก ับบร ิบทของโรงเร ียนทั้ง ให้สอดคล้องก ับบร ิบทของโรงเร ียนทั้ง 3 3

แห่งน ี้แห ่งน ี้โรงเร ียนเปรมสว ัสด ิ์สื่อที่ควรใช้ คอื มัลติมีเดีย เพราะ

มัลติมีเดีย คือ ระบบการสื่อสาร ประกอบด้วย ข้อความ กราฟิก(Graphic) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เสียง (Sound) และวิดีทัศน์ (Video) เป็นต้น การใช้มัลติมีเดียในลักษณะปฏิสมัพันธ์ก็เพื่อชว่ยให้ผู้ใชส้ามารถเรียนรู้หรือทำากิจกรรม รวมถึงดูสื่อต่าง ๆ ด้วยตนเอง สื่อต่าง ๆ ที่นำามารวมไว้ในมัลติมีเดีย เชน่ ภาพ เสียง วิดีทัศน ์จะชว่ยให้เกิดความหลากหลาย น่าสนใจ และเร้าความสนใจ เพิ่มความสนุกสนานในการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น

Page 8: บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา

โรงเร ียนโรงเร ียนเทศบาลว ัดธาต ุเทศบาลว ัดธาต ุสื่อที่ควรใช้ คอื สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตาม

แนวคอนสตรัคติวิสต์ เพราะเน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเอง ด้วยการลงมือกระทำาที่ผา่นกระบวนการคิด และอาศัยประสบการณ์เดิมเชือ่มโยงกับประสบการณ์ใหม่ เพื่อขยายโครงสร้างทางปัญญา มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้โรงเร ียนโรงเร ียน

มหาชยัมหาชยัสือ่ที่ควรใชค้ือ E-learning เพราะเปน็นวัตกรรมที่ใช้เทคโนโลยีที่ก้าวหนา้ เชน่ อินเตอร์เน็ต ดาวเทียม การเรียนทางไกล การเรียนผ่านเว็บ

Page 9: บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา

33 จากประเภทของนวัตกรรมการเรยีนร ู้จากประเภทของนวัตกรรมการเรยีนร ู้ ในบทที ่ในบทที่ 7 7 ให้น ักศ ึกษาเสนอนวัตกรรมให้น ักศ ึกษาเสนอนวัตกรรม

การเร ียนร ู้ท ี่สอดคล้องก ับล ักษณะว ิชาการเร ียนร ู้ท ี่สอดคล้องก ับล ักษณะว ิชา เอกที่น ักศ ึกษาจะปฏิบ ัต ิหน ้าท ีส่อน พร้อม เอกที่น ักศ ึกษาจะปฏิบ ัต ิหน ้าท ีส่อน พร้อม

ทั้งอธบิายเหตุผลทั้งอธบิายเหตุผลคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพราะคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นการเรียนการสอนแบบรายบุคคลที่นำาเอาหลักการของบทเรียนโปรแกรมและเครื่องช่วยสอนมาผสมผสานกัน โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะตอบสนองในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลของผูเ้รียนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงคท์างการศึกษาเปน็รายบคุคล

Page 10: บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา

และคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีลักษณะการเรียนที่เป็นขั้นเป็นตอน ดังนี้

1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน 2. ขั้นการเสนอเนื้อหา 3. ขั้นคำาถามและคำาตอบ 4. ขั้นการตรวจคำาตอบ 5. ขั้นของการปดิบทเรียนซึ่งจะชว่ยให้ผูเ้รียนสามารถเรียนได้ตาม

ขั้นตอนจากง่ายไปยาก หรือเลือกบทเรียนได้ และทำาให้ผู้เรียนไม่เบื่อหน่ายการเรียน เพราะมีภาพ ภาพเคลื่อนไหว สี เสยีง และที่สำาคญัคือฝึกให้ผู้เรียนคิดอย่างมีเหตุผล ซึ่งก็เปน็หลักของวิชาคณิตศาสตร์

Page 11: บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา

นางสาวศศธิร แซ่จวิ563050139-1

นายเสฏฐวุฒิ เร ืองบ ุญ563050152-9

นางสาวณัฐฐาพร บาอุ้ย 563050087-4

จ ัดท ำาโดย

อ.ดร. อนชุาโสมาบุตร

เสนอ