237

คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

Embed Size (px)

DESCRIPTION

นายวาทิต คุ้มฉายา นักรังสีการแพทย์

Citation preview

Page 1: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง
Page 2: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง
Page 3: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

สารบัญ

หนา

บทที่ 1 บทนํา 1

ประวัติความเปนมา 1

วัตถุประสงค 2

ผลที่คาดวาจะไดรับ 2

ขอบเขตคูมือปฏิบัติงาน 2

บทที่ 2 บทบาทหนาที่ความรับผิดชอบ 3

หนาที่ ความรับผิดชอบหลัก (Major Responsibilities) 3

ลักษณะงานทีป่ฏิบัติ (Job Characteristics) 4

โครงสรางการบรหิารจัดการ 5

บทที่ 3 หลักเกณฑ วิธีปฏิบัติงาน และเงื่อนไข 7

หลักเกณฑการปฏบิัติงาน 7

วิธีการปฏิบัต ิ 8

เงื่อนไขการปฏิบัติงาน 9

กฎ ระเบียบ คําสั่ง ประกาศ ขอบังคบั มติ เกณฑมาตรฐาน 11

บทที่ 4 เทคนิคในการปฏิบัติงาน 15

แผนกลยทุธในการปฏบิัติงาน 15

ขั้นตอนในการปฏิบัตงิาน (Work flow) 16

การประสานบริการ 17

เทคนิคและการใชงานเครื่องเอกซเรยระบบหลอดเลือด 18

บทที่ 5 ปญหา อุปสรรคและแนวทางแกไข 59

ปญหาประจําในการทํางาน 59

ขอเสนอแนะ แนวทางแกไขและพัฒนางาน 63

บรรณานุกรม 71

ภาคผนวก 73

ภาคผนวก ก เครื่องเอกซเรยระบบหลอดเลือด

เครื่องมือและอุปกรณเสริมสําหรบัเครื่องเอกซเรยระบบหลอดเลือด

หองปฏิบัติงาน

อุปกรณสําหรับทําหัตถการ

75

94

97

107

ภาคผนวก ข หนาที่ของนกัรังสีการแพทยในหองทําหัตถการปลอดเชื้อ

หนาที่ของนกัรังสีการแพทยในการเตรียมผูปวยกอนทําหัตถการ

109

110

Page 4: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

หนา

ภาคผนวก ค นโยบาย เรื่อง การใหบริการตรวจทางรังสีวินิจฉัย RD-01-1-001-01

ระเบียบปฏิบัติ เรื่อง การใหบริการตรวจวินิจฉัย/รักษาทางรังสีวิทยา

หลอดเลือด RD-01-2-019-00

ระเบียบปฏิบัติ เรื่อง การปองกันและควบคุมโรคติดเชื้อในการทํา

หัตถการทางรังสี RD-01-2-001-01

ระเบียบปฏิบัติ เรื่อง การปฏิบัติเมื่อผูปวยแพสารทึบรังสีและ/หรือสาร

เหนี่ยวนําคลื่นแมเหล็ก RD-01-2-022-00

ระเบียบปฏิบัติ เรื่อง การประสานงานเจาหนาที่ กรณีผูปวยรังสีวินิจฉัย

เกิดภาวะวิกฤต ิRD-01-2-023-00

วิธีปฏิบัติ เรื่อง การดูแลเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดและสิ่งแวดลอม RD-

01-3-004-00

วิธีปฏิบัติ เรื่อง การทําหัตถการทางรังสีปลอดเชื้อ RD-01-3-005-00

วิธปีฏิบัติ เรื่อง การเตรียมอุปกรณสําหรับหัตถการของหนวยรังสีวิทยา

หลอดเลือดและรังสีรวมรักษา RD-01-3-006-00

วิธีปฏิบัติ เรื่อง การบันทึกขอมูลผูปวย การบันทึกหัตถการและการ

จัดการฐานขอมูลผูปวยรังสีวิทยาหลอดเลือด RD-01-3-007-00

วิธีปฏิบัติ เรื่อง การใชสารทึบรังสี RD-01-3-012-00

วิธีปฏิบัติ เรื่อง วิธีปฏิบัติในการชวยเหลือผูปวยแพสารทึบรังสี RD-01-

2-014-00

113

116

121

124

130

133

136

138

140

143

150

ภาคผนวก ง พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ.2542

พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541

พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ พ.ศ.2550

พระราชกฤษฎีกากําหนดใหสาขารังสีเทคนิคเปนสาขาการประกอบโรค

ศิลปะตามพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ.2542 พ.ศ.2545

ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขวาดวยการรักษาจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ

ของผูประกอบโรคศิลปะ สาขารังสีเทคนิค พ.ศ.2547

ประกาศคณะกรรมการวิชาชีพรังสี เทคนิค เรื่อง สมรรถนะและ

มาตรฐานวิชาชีพสําหรับผูประกอบโรคศิลปะสาขารังสีเทคนิค พ.ศ.

2551

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กําหนดเครื่องมือหรืออุปกรณทาง

รังสีวิทยา พ.ศ.2549

155

175

194

212

216

221

231

Page 5: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

บทที่ 1

บทนํา

ประวัติความเปนมา

รังสีรวมรักษาระบบประสาทในประเทศไทย เริ่มตนครั้งแรก โดยนายแพทยอุดม โปษะกฤษณะ (ปจจุบันดํารง

ตําแหนง ศาสตราจารยเกียรติคุณ) ประสาทศัลยแพทย ซึ่งทําการตรวจหลอดเลือดสมอง ดวยการฉีดสารทึบรังสี

(Cerebral Angiography) เปนครั้งแรกในปพุทธศักราช 2486 โดยใชวิธีผาตัดโดยตรง และเริ่มใชวธิีการแทงเข็มผาน

ผิวหนัง (Direct puncture) ในปพุทธศักราช 2496 ที่ภาควิชาศัลยศาสตร คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาลมาตลอด

ซึ่งตอมาทานไดรับตําแหนงศาสตราจารย และดํารงตําแหนงคณบดีคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล และ

รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข

ในปพุทธศักราช 2507 แพทยหญิงปรียา กาญจนัษฐิต ิ(ปจจุบันดํารงตําแหนง ศาสตราจารย) รังสีแพทย ไดรับ

American Board of Radiology เปนผูริเริ่มทํา Cerebral Angiography ที่แผนกเอกซเรยเองในปดังกลาว และทาง

แผนกเอกซเรยไดพัฒนาทางดานเทคโนโลยีขึ้น โดยในปพุทธศักราช 2513 ไดมีการติดตั้งเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด

ระบบสองระนาบ (Biplane Angiography) รวมกับการใชเครื่องฉีดสารทึบรังสีระบบอัตโนมัติ จึงมีการเปดใหบริการ

การตรวจหลอดเลือดระบบประสาทใหแกผูปวยของประสาทอายุรแพทย ตอมาในปพุทธศักราช 2515 เมื่อทานจบ

การศึกษาตอยอด ดานรังสีวิทยาระบบประสาท จากประเทศนอรเวย จึงไดเริ่มการตรวจหลอดเลือดสมอง ดวยการฉีด

สารทึบรังสี โดยวิธีการใสสายสวนผานหลอดเลือดดําที่ตนขา (Transfemoral Cerebral Angiography) ในป

พุทธศักราช 2516

คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล ไดแพทยหญิงวิยะดา ภูพัฒน (ปจจุบันดํารงตําแหนง รองศาสตราจารย)

และ นายแพทยสุทธิศักดิ์ สุทธิพงษชัย (ปจจุบันดํารงตําแหนง ศาสตราจารย) มารวมงานในปพุทธศักราช 2519 และ

2521 ตามลําดับ และไดเริ่มงานดานรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีรวมรักษาทางระบบประสาท (Neuro

Interventional Radiology) ครั้งแรกในปพุทธศักราช 25221

ปจจุบัน หนวยรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีรวมรักษา เปนหนวยตรวจสังกัดสาขาวิชารังสีวินิจฉัย ภาควิชารังสี

วิทยา คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งอยูที่ ตึก 72 ป ชั้น 2 โรงพยาบาลศิริราช เปด

ใหบริการตรวจวินิจฉัย การรักษา และใหคําปรึกษาแกผูปวยทางหลอดเลือด โดยมี ทีมแพทย และบุคลากรทางการ

แพทยที่มีความชํานาญ ภายใตการดูแลของ รองศาสตราจารยแพทยหญิงอัญชลี ชูโรจน หัวหนาหนวยงาน พรอมดวย

อุปกรณและเครื่องมือในการตรวจรักษาที่ทันสมัย และเปนสากล

นักรังสีการแพทย (Radiological technologist) ประจําหองทําหัตถการมีหนาที่ในการสนับสนุนการบริการ

ทางการแพทย โดยมีลักษณะหนาที่ตามวิชาชีพรังสีเทคนิค (Radiological technology) ในการควบคุม ดูแล

เครื่องเอกซเรยระบบหลอดเลือด (Digital subtraction angiography machine) สําหรับการชวยสรางภาพทางรังสี

ระหวางการทําหัตถการ ซึ่งตองมีความรูในดานการใชภาพทางรังสีขั้นสูง (Advance imaging) ชวยในการสรางภาพรังสี

ที่จําเปนและชวยในการตัดสินใจของรังสีแพทยระหวางหัตถการตางๆ

1 เอนก สุวรรณบัณฑิต, วาทิต คุมฉายา, สมจิตร จอมแกว. รังสีรวมรักษาระบบประสาท : เรื่องเลาของความสําเร็จ. วารสารชมรมรังสีเทคนิคและพยาบาล

เฉพาะทางรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีรวมรักษาไทย. 2551; 2(2): 113-20

Page 6: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

2

ดังนั้นนักรังสีการแพทยประจําหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง จะตองมีความรูความ

ชํานาญในดานการควบคุมดูแลเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดและความรูในหัตถการที่เกี่ยวของ อยางมีประสิทธิภาพและ

สามารถถายทอดองคความรูแกนักรังสีการแพทยอื่นๆ เพื่อใหสามารถทํางานรวมกับทีมแพทยผาตัดไดอยางมี

ประสิทธิภาพ

วัตถุประสงค

1. เพื่อใชเปนคูมือการปฏิบัติงานของนักรังสีการแพทย ในการควบคุมการใชเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดอยาง

มีประสิทธิภาพ

2. เพื่อใหนักรังสีการแพทยสามารถใชเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดที่มีมูลคาสูงไดอยางคุมคา

3. เพื่อใหนักรังสีการแพทยทราบหนาที่และรายละเอียดของงานที่รับผิดชอบ

4. เพื่อเปนประมวลความรูเบื้องตน มาตรฐานในการปฏิบัติงาน แนวทางการวิเคราะหลักษณะงาน และ

แนวทางการแกไขปญหาของนักรังสีการแพทยตามมาตรฐานในวิชาชีพ

5. เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง มีคุณภาพ รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และเปนมาตรฐานเดียวกัน

โดยคํานึงถึงประโยชนสูงสุดที่ผูปวยจะไดรับ โดยสอดคลองกับนโยบาย วิสัยทัศน ภารกิจ และเปาหมายของ

หนวยงาน

6. เพื่อชวยลดขั้นตอนของการปฏิบัติงานที่ซับซอน รวมไปถึงความผิดพลาดจากการปฏิบัติงานที่ไมเปน

ระบบ

7. ใชเปนเอกสารอางอิงในการปฏิบัตงิาน และการฝกอบรมนักศึกษาฝกปฏิบัติงานรังสีเทคนิค ใหทราบถึง

เทคนิคในการปฏิบัตงิาน เพื่อเสริมสรางความรู ใหสามารถเริ่มปฏิบัติงานไดอยางถูกตองรวดเร็ว

ผลที่คาดวาจะไดรับ

1. นักรังสีการแพทยที่เวียนมาชวยปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานทดแทนนักรังสีการแพทยประจําประจําหอง

เอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง ไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. นักรังสีการแพทยสามารถใชคูมือปฏิบัติงานในการแกไขปญหาเบื้องตนของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด

ระหวางการทําหัตถการได

3. แพทยและบุคลากรทางการแพทยประจําประจําหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง ทราบ

และเขาใจบทบาทหนาที่และแนวทางการทํางานของนักรังสีการแพทยไดเปนอยางดี

ขอบเขตคูมือปฏิบัติงาน

นักรังสีการแพทยประจําหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง มีขอบเขตความรับผดิชอบหลกัคอื

การควบคุมดูแลเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดประจําหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง ใหทํางานไดอยาง

เต็มประสิทธิภาพ รวมไปถึงการพิจารณาปริมาณรังสีแกผูปวยในขณะทําหัตถการ และการปองกันอันตรายจากรังสีแก

รังสีแพทย และบุคลากรทางการแพทย เชน ทีมพยาบาล ทีมวิสัญญี ในระหวางการทําหัตถการ รวมทั้งการวางแผนการ

ใชงานเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดเพื่อความคุมคา

Page 7: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

บทที่ 2

บทบาทหนาที่ความรับผิดชอบ

นักรังสีการแพทยประจําหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง จะตองรูและเขาใจ บทบาท

(Role) หนาที่ (Duty) ความรับผิดชอบ (Responsibility) เพื่อใหการปฏิบัติงานเปนไปอยางเรียบรอย ครบถวน และ

เกิดประสิทธิภาพในการทํางาน

บทบาทหนาที่ความรับผิดชอบประจําตําแหนงนักรังสีการแพทย

นักรังสีการแพทยมีบทบาทสําคัญในการปฏิบัติงามตามมาตรฐานวิชาชีพรังสีเทคนิคในการใชรังสีเพื่อการตรวจ

วินิจฉัย รักษาแกผูปวย โดยจะตองแสดงบทบาทในทางวิชาการ (Scholar) และการสนับสนุนการบริการทางการแพทย

(Medical service) ใหดําเนินไปอยางมีมาตรฐาน โดยนักรังสีการแพทยประจําหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมอง

และไขสันหลัง จะมีหนาที่ความรับผิดชอบดังนี้

1. หนาที่ความรับผิดชอบหลัก (Major responsibilities)

หองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลังนั้น ปฏิบัติงาน 7 ชั่วโมงในวันและเวลาราชการ อีกทั้ง

รองรับผูปวยกรณีฉุกเฉิน 24 ชั่วโมง เพื่อใหเกิดความคุมคา และประโยชนสูงสุด

นักรังสีการแพทยประจําหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง ตองปฏิบัติงานรวมกับทีมรังสี

แพทย ไดอยางเหมาะสม และมีความรอบรูในหัตถการที่เกี่ยวของนั้นๆ เพื่อใหสามารถควบคุมเครื่องเอกซเรยหลอด

เลือดและการเลือกใชโปรแกรมการสรางภาพทางรังสีที่เหมาะสมได เชน

1. Diagnosis cerebral angiography

2. Cerebral angiography with embolizations

3. Spinal angiography

4. Vertebroplasty

5. Bleomycin injection and Alcohol Injection

6. Balloon occlusion test

Page 8: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

4

2. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ (Job characteristics)

ลักษณะงานของนักรังสีการแพทยประจําหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง มีดังนี้

1. ควบคุมและดูแลการทํางานของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดอยางมีประสิทธิภาพเพื่อใหการตรวจ

ผูปวยในแตละครั้งเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

2. รับทราบแผนงานและขั้นตอนการรักษาผูปวยแตละราย เพื่อใหสามารถควบคุมเครื่องเอกซเรยหลอด

เลือดไดอยางมีประสิทธิภาพ ถูกตองตามขั้นตอนระหวางหัตถการผาตัด

3. ดูแลจัดทาผูปวยใหเหมาะสม เพื่อการตรวจเอกซเรยระบบหลอดเลือด หรือหัตถการทางรังสีรวมรกัษา

ผานทางสายสวนหลอดเลือด

4. เลือก Acquisition ที่เหมาะสม และกรอกขอมูลผูปวย ชื่อ นามสกุล เลขที่ทั่วไป และ ขอมูลอื่นๆ ที่

จําเปนเขาสูระบบขอมูลของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดเพื่อเขาสูระบบโปรแกรมการตรวจ

5. ชวยรังสีแพทยในระหวางหัตถการตางๆ ระหวางการทําหัตถการเพื่อใหไดภาพรังสีในมุมมองที่

เหมาะสม (Optimum fluoroscopy view) การสรางภาพ 3 มิติ (Rotational 3D) การสรางภาพเสมือน

เอกซเรยคอมพิวเตอร (CT like image) เพื่อใหเห็นภาพทางรังสีที่ตองการเพื่อชวยในการทําหัตถการ

6. ทําการถายภาพรังสีโดยระบบอัตโนมัติ (Automatic serial angiography) และระบบควบคุมเอง

(Manual serial angiography) โดยกําหนดคาพารามิเตอรตางๆ เชน จํานวนภาพและความเร็วในการ

ถายภาพรังสีเพื่อควบคุมปริมาณรังสีที่ใหแกผูปวย พรอมทั้งจดบันทึกปริมาณรังสีไวเปนหลักฐาน

7. จัดเก็ บภาพทางรั งสี เ ท าที่ จํ า เปน เข าสู ระบบฐานขอมู ลภาพรั งสี (Picture Archiving

Communication system) เพื่อใหสามารถเรียกดูภาพสําหรับการติดตามอาการผูปวยหรือการวางแผนรักษา

ตอเนื่องได ในกรณีที่แพทยตองการภาพรังสีระบบ DICOM file จะตองแปลงไฟลใหเหมาะสม ครบถวนและ

บันทึกผานระบบคอมพิวเตอรไปยัง Removable Disk และตรวจสอบคุณภาพภาพรังสีที่ได

8. สามารถแกไขปญหาเฉพาะหนาได เมื่อเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดเกิดขัดของ และประสานกับทีม

วิศวกรของบริษัทเจาของผลิตภัณฑเพื่อการซอมบํารุงตอไป

Page 9: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

5

3. โครงสรางการบริหารจัดการ

นักรังสีการแพทยประจําหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง มีกําหนด 2 อัตรา เปนอัตรากําลัง

ภายใตโครงสรางการบริหารของหนวยรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีรวมรักษา สาขาวิชารังสีวินิจฉัย ภาควิชารังสีวิทยา

โดยนักรังสีการแพทยประจําหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง มีหนาที่ควบคุมการทํางานของนักรังสี

การแพทยระดับรองลงไปที่เวียนขึ้นปฏิบัติงานหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

การบังคับบัญชาระดับสูงขึ้นไป ประกอบดวย การกํากับการปฏิบัติงาน (Supervision) ณ หองเอกซเรยระบบ

หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง ขึ้นตรงตอนักรังสีการแพทยชํานาญการพิเศษ ผูดูแลหนวยรังสีวิทยาหลอดเลือดและ

รังสีรวมรักษา โดยมีอาจารยแพทยหัวหนาหนวยรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีรวมรักษาเปนผูบังคับบัญชาตาม

โครงสรางภายในสาขาวิชารังสีวินิจฉัย ซึ่งมีนักรังสีการแพทยเชี่ยวชาญ เปนผูควบคุมสูงสุดในสายงานสนับสนุนการ

บริการ และหัวหนาสาขาวิชารังสีวินิจฉัย เปนผูบังคับบัญชาชั้นตน

หัวหนาภาควิชารังสีวิทยา

หัวหนาสาขาวิชารังสีวินิจฉัย

หัวหนาหนวยรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีรวมรักษา

นักรังสีการแพทย ชํานาญการพิเศษ

ผูดูแลหนวยรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีรวมรักษา

นักรังสีการแพทย

หองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

นักรังสีการแพทย เวียนปฏิบัติงาน

หองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

นักรังสีการแพทยเชี่ยวชาญ

หัวหนานักรังสีการแพทย

Page 10: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

6

หนวยรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีรวมรักษา เปนหนวยงานที่มีหนาที่หลักในดานการศึกษาหลังปริญญา

สําหรับแพทยประจําบานรังสีวิทยา และมีงานบริการดานการตรวจวินิจฉัยและรักษาผูปวยดวยวิธีการทางรังสีรวมรักษา

(Intervention radiology) ไดแกการรักษาผูปวยผานทางสายสวนหลอดเลือดซึ่งตองใชเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดรวม

ตรวจ โดยการทําหัตถการทางรังสีแบงออกเปน 3 ดาน ไดแก รังสีรวมรักษาระบบประสาทสมองและไขสันหลัง

(Intervention Neuroradiology), รังสีรวมรักษาระบบหลอดเลือดลําตัว (Vascular Intervention Radiology) และ

รังสีรวมรักษากลุมไมผานหลอดเลือด (Non-vascular Intervention Radiology)

นักรังสีการแพทยมีหนาที่ในการสนับสนุนการบริการทางวิชาการในดานการควบคุมเครื่องเอกซเรยหลอดเลอืด

ชนิดตางๆ เชน 2 ระนาบ (Biplane DSA) รวมไปถึงเครื่องมือทางรังสีที่เกี่ยวของ เชน เครื่องเอกซเรยคอมพิวเตอร

เครื่องอัลตราซาวนด ซึ่งใชสรางภาพทางรังสีระหวางหัตถการ รวมไปถึงความรูในการเลือกใชอุปกรณการแพทยตางๆ

เชน สายสวนหลอดเลือด ขดลวดนํา อุปกรณอุดหลอดเลือดและชุดอุปกรณถางขยายหลอดเลือดตางๆ

นักรังสีการแพทยประจําหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง มีหนาที่ในการสนับสนุนการ

บริการทางวิชาการในดานการควบคุมเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดชนิด 2 ระนาบ (รุน Philips Allura Xper20/10) โดย

มีโปรแกรมการสรางภาพทางรังสีขั้นสูง เชน Rotational 3Dimension angiography, Rotational CT liked image

ซึ่งจะชวยในการตัดสินใจของรังสีแพทย ในระหวางการทําหัตถการ ไดอยางมีประสิทธิภาพ  

Page 11: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

บทที่ 3

หลักเกณฑวิธีปฏิบัติงานและเงื่อนไข

นักรังสีการแพทย ที่จะขึ้นปฏิบัติงานเปนนักรังสีการแพทยประจําหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไข

สันหลังไดนั้น ตองผานหลักเกณฑในการประเมินความสามารถของหนวยรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีรวมรักษา

ภาควิชารังสีวิทยา โดยมีรายละเอียดดังนี ้

หลักเกณฑการปฏิบัติงาน

ในการปฏิบัติงาน นักรังสีการแพทยที่จะขึ้นปฏิบัติงานหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

จะตองผานการประเมินความสามารถผานการสัมภาษณและการสอบปากเปลา (Subjective evaluation via

interview and oral test) โดยนักรังสีการแพทยชํานาญการพิเศษ ผูดูแลหนวยรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีรวมรักษา

สาขาวิชารังสีวินิจฉัย ภาควิชารังสีวิทยา ดังนี ้

1. มีความรูความชํานาญในการใชเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดรวมระหวางหัตถการ หรือระบบอื่นที่เกี่ยวของที่ใช

เครื่องเอกซเรยหลอดเลือดรวมดวยระหวางหัตถการ เชน Rotational CT

2. มีความรูความชํานาญในคุณสมบัติ ขอบงชี้และขอหามของการเลือกใชสารทึบรังสี (Contrast media) ที่ใชใน

การสรางภาพทางรังสีระหวางหัตถการ

3. สามารถแสดงความชํานาญในการพิจารณาปริมาณรังสีแกผูปวยจากกระบวนการสรางภาพทางรงัสรีะหวางการ

ทําหัตถการ รวมไปถึงการปองกันอันตรายจากรังสีแกแพทยและบุคลากรทางการแพทยในระหวางการทํา

หัตถการ

4. สามารถใหคําปรึกษาแนะนําดานการดูแลเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด และการควบคุมเครื่อง แกนักรังสี

การแพทยระดับรองลงมา ที่หมุนเวียนปฏิบัติงานในหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

5. มีความรู ความชํานาญในการเฝาระวังอยางเครงครัดในการจัดการสิ่งแวดลอม (Control environment) เชน

อุณหภูม ิความชื้นของหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง เพื่อใหเครื่องเอกซเรยหลอดเลอืดอยู

ในสภาพการบํารุงรักษาที่ดีที่สุด โดยดูแลตรวจสอบความพรอมของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดและอุปกรณ

ตางๆ ที่ใชในการตรวจทุกเชา ควบคุมอุณหภูมิและความชื้นของหองตรวจใหอยูในคาที่เหมาะสมเนื่องจาก

เครื่องเอกซเรยหลอดเลือดมีความซับซอนและละเอียดออน ไวตออุณหภูมิที่สูงและความชื้น ดังนั้นจึงมีความ

จําเปนที่จะตองตรวจสอบอยูเสมอ เพื่อประสิทธิภาพสูงสุดสําหรับการใชงาน

6. สามารถรวมงานกับทีมบุคลากรทางการแพทยประจําหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง ใน

การดูแล และทําความสะอาดหองทําหัตถการและหองควบคุมเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด เพื่อใหหองทํา

หัตถการอยูในสภาพปลอดเชื้ออยางถูกตอง

Page 12: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

8

วิธีการปฏิบัต ิ

นักรังสีการแพทยจะตองปฏิบัติงานตามวิธีปฏิบัติที่หนวยรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีรวมรักษา สาขาวิชารังสี

วินิจฉัย ภาควิชารังสีวิทยา ซึ่งไดทําการขึ้นทะเบียนไวกับงานพัฒนาคุณภาพ คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล ดังนี ้(ดู

ภาคผนวก ค หนา 113-154)

ประเภท/เรื่อง รหัสเอกสาร

นโยบาย

1. การใหบริการตรวจทางรังสีวินิจฉัย RD-01-1-001-01

ระเบียบปฏิบัต ิ

1. การใหบริการตรวจวินิจฉัย/รักษาทางรังสีวิทยาหลอดเลือด RD-01-2-019-00

2. การปองกันและควบคุมโรคติดเชื้อในการทําหัตถการทางรังสี RD-01-2-001-01

3. การปฏิบัติเมื่อผูปวยแพสารทึบรังสีและ/หรือสารเหนี่ยวนําคลื่น

แมเหล็ก

RD-01-2-022-00

4. การประสานงานเจาหนาที่ กรณีผูปวยรังสีวินิจฉัยเกิดภาวะวิกฤติ RD-01-2-023-00

วิธีปฏิบัต ิ

1. การดูแลเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดและสิ่งแวดลอม RD-01-3-004-00

2. การทําหัตถการทางรังสีปลอดเชื้อ RD-01-3-005-00

3. การเตรียมอุปกรณสําหรับหัตถการของหนวยรังสีวิทยาหลอดเลือด

และรังสีรวมรักษา

RD-01-3-006-00

4. การบันทึกขอมูลผูปวย การบันทึกหัตถการและการจัดการฐานขอมูล

ผูปวยรังสีวิทยาหลอดเลือด

RD-01-3-007-00

5. การใชสารทึบรังสี RD-01-3-012-00

6. วิธีปฏิบัติในการชวยเหลือผูปวยแพสารทึบรังสี RD-01-2-014-00

Page 13: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

9

เงื่อนไขการปฏิบัติงาน

นักรังสีการแพทยประจําหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง มีเงื่อนไขการปฏิบัติงานที่จะตอง

ปฏิบัติงานตามระบบการทํางานของหนวยงาน เพื่อใหการทํางานตามลักษณะงานที่ไดรับมอบหมายเกิดประสิทธิภาพ

ดังนี ้

1. เวลา 07.30 น. ตรวจสอบใหเขตของหองปฏิบัติการรังสีวิทยาหลอดเลือดมีระบบความเย็นที่คงที่

เครื่องปรับอากาศทํางานไดปกติ และปรับใหมีอุณหภูมิที่ 20-25 องศาเซลเซียส ดูแลการทํางานของเครื่องดูด

ความชื้นเพื่อใหมีความชื้นสัมพันธอยูที่ 40-75% รวมถึงระบบไฟฟา และอื่นๆ ที่จําเปนอีกดวย โดยทําการ

ตรวจสอบจุดตางๆ ดังนี้

- หองระบบควบคุมหลักของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด โดยตรวจดูใหเครื่องปรับอากาศทํางานเปนปกติ

ตรวจสอบใหอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธอยูในระดับที่กําหนดขางตน

- หองปฏิบัติงาน การจัดการขอมูลและภาพทางรังสี โดยตรวจสอบใหมีแสงสวางเพียงพอ และอุณหภูมิอยู

ในระดับที่เหมาะสม รวมไปถึงการดูแลความเรียบรอยของอุปกรณสํานักงาน และเอกสารตางๆ

- หองทําหัตถการ โดยตรวจดูใหเครื่องปรับอากาศทํางาน ตรวจสอบอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ รวมไป

ถึงการดูแลความเรียบรอยของอุปกรณและเครื่องมือตางๆ ใหเปนระเบียบ พรอมใชงาน

2. เวลา 07.45 น. ทําการทดสอบระบบ และ Calibration เครื่องเอกซเรยหลอดเลือดเพื่อความแนใจใน

ประสิทธิภาพการทํางาน

3. เวลา 08.00 น. ตรวจสอบเครื่องมือ และอุปกรณเสริมสําหรับเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด

4. เวลา 09.00 น. ดูแลการจัดทาเมื่อผูปวยรายที่ 1 เขาหองตรวจ

4.1 จัดทาผูปวย (Positioning) (ดูภาคผนวก ข หนา 110-112)

4.2 การปอนขอมูลผูปวย (Data entering and acquisition) โดยตรวจสอบ ชื่อ นามสกุล เลขที่ทั่วไป และ

ขอมูลอื่นๆ ที่จําเปนเขาสูระบบขอมูลของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดเพื่อเขาสูระบบการตรวจที่ถูกตอง

4.3 จดบันทึกขอมูลผูปวย ชื่อ นามสกุล เปนหลักฐาน ในสมุดงาน ลงเวลาเริ่มเขาหองตรวจ

4.4 คลุมชุดปลอดเชื้อใหตัวรับภาพของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด (Sterile covering of detector) เพื่อ

ปองกันการติดเชื้อ (ดูภาคผนวก ข หนา 109)

Page 14: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

10

5. ควบคุม บังคับเครื่องใหทํางาน โดยการปรับแกนเครื่อง (gantry) ใหอยู ในมุมตางๆและบันทึกภาพ

fluoroscopy เพื่อชวยรังสีแพทย ในการตรวจระหวางการทําหัตถการผาตัดที่ตองการไดภาพรังสี

(angiography) หรือดูแลใหผูปวยอยูนิ่งไมขยับระหวางการตรวจ

6. เมื่อจบหัตถการผาตัด จะตองบันทึกขอมูลตางๆ ดังนี้

6.1 ทําการจัดการภาพทางรังสีทั้งแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ

6.2 นําภาพที่ไดจากขอมูลในจอคอมพิวเตอรสงเขาสูระบบฐานขอมูลภาพรังสี และเก็บภาพเปนไฟลสํารองใน

รูปแบบ .PNG และจัดเก็บเปนขอมูล DICOM file และตรวจสอบคุณภาพภาพรังสีที่ได

7. ในการทําหัตถการอาจใชเวลาตอรายประมาณ 2 – 7 ชั่วโมง ดังนั้นจะตองดูแลการเริ่มหัตถการในผูปวยราย

ตอไปตามขั้นตอน 4 – 6

8. เมื่อจบการทํางานในแตละวัน ใหดูแลการปดเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด เครื่องคอมพิวเตอรใหถูกตองตาม

ขั้นตอน

Page 15: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

11

กฎ ระเบียบ คําสั่ง ประกาศ ขอบังคับ มติ เกณฑมาตรฐาน

นักรังสีการแพทยจะตองศึกษาและปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ คําสั่ง ประกาศ มติ มาตรฐานวิชาชีพ ซึ่งไดแสดงไว

ตามบทความเรื่องจริยธรรมของรังสีเทคนิคเฉพาะทางรังสีรวมรักษาที่ไดเสนอไวโดย เอนก สุวรรณบัณฑิต2 คือ รังสี

เทคนิคในสาขารังสีวินิจฉัยและสาขาเฉพาะทางรังสีรวมรักษาจะตองพิจารณาจรรณยาบรรณวิชาชีพและขอกฎหมายที่

เกี่ยวของตางๆ (ดูภาคผนวก ง หนา 155-231) ไดแก

พระราชบัญญัติ

พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ.2542

พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541

พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ พ.ศ.2550

พระราชกฤษฎีกา

พระราชกฤษฎีกากําหนดใหสาขารังสีเทคนิคเปนสาขาการประกอบโรคศิลปะตามพระราชบัญญัติการประกอบ

โรคศิลปะ พ.ศ.2542 พ.ศ.2545

ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข

ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขวาดวยการรักษาจรรยาบรรณแหงวิชาชีพของผูประกอบโรคศิลปะ สาขารังสี

เทคนิค พ.ศ.2547

ประกาศ

ประกาศคณะกรรมการวิชาชีพรังสีเทคนิค เรื่อง สมรรถนะและมาตรฐานวิชาชีพสําหรับผูประกอบโรคศิลปะ

สาขารังสีเทคนิค พ.ศ.2551

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กําหนดเครื่องมือหรืออุปกรณทางรังสีวิทยา พ.ศ.2549

ในมุมมองจริยธรรมของวิชาชีพ ประกาศคณะกรรมการวิชาชีพสาขารังสีเทคนิค เรื่อง สมรรถนะและมาตรฐาน

วิชาชีพสําหรับผูประกอบโรคศิลปะสาขารังสีเทคนิค พ.ศ.2551 ราชกิจจานุเบกษา เลม 125 ตอนพิเศษ 179 ง หนา17-

19 เปนสวนที่เกี่ยวเนื่องดวยหลักจริยธรรมของการประกอบวิชาชีพมากที่สุด โดยไดระบุ ไวในมาตรฐาน 1 วาดวยความ

เปนวิชาชีพและความรับผิดชอบ ในขอ 3 และ 4 ดังนี ้

ขอ 3 ผูประกอบโรคศิลปะสาขารังสีเทคนิคตองมีความเปนวิชาชีพและตรวจสอบได ดังนี ้

1) ปฏิบัติงานภายใตกฎ ระเบียบ และจรรยาบรรณวิชาชีพ

ก) เขาใจกฎหมาย ระเบียบ ประกาศตาง ๆ ที่กําหนด และใหผูประกอบโรคศิลปะสาขารังสีเทคนิคถือ

ปฏิบัต ิ

2 เอนก สุวรรณบัณฑิต. จริยธรรมของรังสีเทคนิคเฉพาะทางรังสีรวมรักษา.วารสารชมรมรังสีเทคนิคและพยาบาลเฉพาะทางรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีรวม

รักษาไทย, 2553; 4(1): 55-64

Page 16: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

12

ข) เขาใจถึงขอบังคับ ระเบียบปฏิบัติ และขอแนะนํา ที่เปนสากล

ค) เขาใจในเรื่องสิทธิของผูปวย และศักดิ์ศรีความเปนมนุษย รวมถึงบทบาทของตน ในการบริการทาง

รังสีวินิจฉัย รังสีรักษา และเวชศาสตรนิวเคลียร

2) ปฏิบัติงานโดยเสมอภาค ไมเลือกชั้นวรรณะ

3) รักษาความลับของผูปวย

4) รวมจัดทําคํายินยอมของผูปวยกอนการตรวจทางรังสีที่จําเปน

5) รูถึงขอจํากัดในการใหบริการ

ก) สามารถประเมินสถานการณ ลักษณะและระดับความรุนแรงของปญหาและปรึกษาผูรูและมี

ประสบการณมากกวาเพื่อแกปญหานั้น

ข) สามารถประเมินวิธีแกปญหาตาง ๆ ได

6) สามารถบริหารจัดการภาระงานของตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพ

7) ฝกฝนตนเองใหมีความรูและทักษะอยางสม่ําเสมอ

8) เขาใจถึงความจําเปนในการพัฒนาความกาวหนาทางวิชาชีพ

9) แสดงตนวาเปนผูประกอบโรคศิลปะสาขารังสีเทคนิคในสถานที่ปฏิบัติงาน

ขอ 4 ผูประกอบโรคศิลปะสาขารังสีเทคนิคตองมีความสัมพันธและความรับผิดชอบ ตอผูรวมงานและผูรับบริการดังนี้

1) รูถึงขอบเขตวิชาชีพและขอบเขตการใหบริการของตนเอง

2) ปฏิบัติงานรวมกับผูรวมวิชาชีพ ผูประกอบวิชาชีพอื่นที่เกี่ยวของผูปวย ญาติผูปวย และผูรับบริการอื่นได

ก) ปฏิบัติงานรวมกับสหสาขาวิชาชีพอยางมีประสิทธิภาพ

ข) แนะนําความเห็นทางวิชาชีพแกผูรวมงาน

ค) เขาใจถึงความจําเปนในการนัดหมาย การเตรียมผูปวย และการใหคําแนะนําในการตรวจแกผูปวย

ผูรับบริการ และผูเกี่ยวของ เพื่อการวางแผน ประเมินการวินิจฉัย และการรักษา

ง) แปลผลขอมูลที่ไดจากผูประกอบวิชาชีพอื่น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติ และปรับปริมาณรังสี

ใหนอยที่สุดเทาที่ปฏิบัติได

3) แสดงทักษะการสื่อสารไดอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ในการใหขอมูล คําแนะนํา และขอคิดเห็นดาน

วิชาชีพ แกผูรวมงาน ผูปวย ญาติผูปวย และผูรับบริการ

ก) เขาใจถึงทักษะการสื่อสารที่มีผลตอการประเมินผูปวย และสามารถใชทักษะ การสื่อสารไดอยาง

เหมาะสมตามอายุ การศึกษา และสภาพรางกายและจิตใจ

ข) เขาใจถึงการแสดงกริยาทาทางและอื่น ๆ ที่เปนการสื่อสารที่มิใชการพูดซึ่งอาจมีผลกระทบทาง

ศาสนา วัฒนธรรม ความเชื่อสวนบุคคล และเศรษฐสถานะ

ค) เขาใจถึงความสําคัญที่ตองใหขอมูลที่จําเปนแกผูปวย และผูรับบริการ เพื่อการตัดสินใจในการรับ

บริการ

Page 17: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

13

4) เขาใจถึงความตองการการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพตลอดระยะเวลาที่ใหบริการดูแลผูปวย ผูรับบริการ หรือ

ผูใชบริการ

ก) เขาใจถึงความจําเปนที่ตองใหผูปวยมีสวนรวม ในการตัดสินใจในกระบวนการที่เกี่ยวของกับการ

รักษาดวยรังสี หรือการตรวจวินิจฉัยดวยรังสี

ข) ใชการสื่อสารเพื่อทําความเขาใจกับผูปวย ผูรับบริการ และผูใชบริการใหเกิด การมีสวนรวม

Page 18: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง
Page 19: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

บทที่ 4

เทคนิคในการปฏิบัติงาน

การปฏิบัติงานสนับสนุนการบริการทางการแพทยโดยการควบคุมเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด ใหแกหอง

เอกซเรยระบบหลอดเลือดและไขสันหลังนั้น นักรังสีการแพทยจะตองทํางานดวยความเปนมืออาชีพ (Professional

level) โดยมีรายละเอียดที่ตองตระหนัก ดังนี้

แผนกลยุทธในการปฏิบัติงาน

การวิเคราะห สวอท (SWOT ANALYSIS) หรือการวิเคราะหจุดแข็งและจุดออน โดยพิจารณา

S = strengths สิ่งที่มีเหนือคูแขง : การตรวจ รักษาเห็นผลชัดเจน

W = weakness สิ่งที่เปนปญหาขององคการ : ระบบซับซอน

O = opportunity พฤติกรรมของผูรับบริการ : เทคโนโลยีพัฒนาอยางตอเนื่อง

T = threats ปญหาแวดลอมตางๆ : ความคาดหวังผลงาน

จากผลการวิเคราะหสวอท (SWOT ANALYSIS) จึงทําใหเกิดแผนกลยุทธที่สําคัญของ สายงานนักรังสี

การแพทย หนวยรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีรวมรักษา สาขาวิชารังสีวินิจฉัย ภาควิชารังสีวิทยา คือ

“ความคลาดเคลื่อนเปนศูนย (Zero Error)”

แผนกลยุทธนี้ เปนแนวคิดหลักของแผนกลยุทธในการปฏิบัติงานสนับสนุนการบริการทางการแพทย เนื่องดวย

เปนการปฏิบัติงานทางวิชาชีพที่ควบคุมการทํางานของเครื่องมือทางรังสี ซึ่งเปนอันตรายแกชีวิตได ดังนั้นจะตอง

ตรวจสอบ ดูแล เครื่องเอกซเรยระบบหลอดเลือดใหทํางานเต็มประสิทธิภาพ และมี ทักษะในใชงานไดอยางถูกตอง และ

แมนยํา ทําใหการทําหัตถการของแพทยเปนไปอยางราบรื่น โดยมีแนวทางเกณฑชี้วัดหลัก ไดแก

1. เครื่องเอกซเรยระบบหลอดเลือดขัดของไมสามารถใชงานไดนอยกวา 1% หรือไมเกิน 15 ชม.ตอป

2. เครื่องเอกซเรยระบบหลอดเลือดไมสามารถเปดใชงานได เปนศูนย

3. สามารถใชงานฟงกชัน่ทุกอยางของเครื่องเอกซเรยระบบหลอดเลือด

4. แพทยและบุคลากรอื่นในหองตรวจไดรับรังสีนอยกวาคามาตรฐานที่ยอมรับได (<20µSv/Yr)

Page 20: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

16

ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน (Work flow)

ZERO ERROR

Calibration

Turn on

Acquisition Selection

Intervention Neuro Radiology

3DRA/XperCT

Not pass

Gantry and detector

controlling

Serial angiography

/Roadmap

End case

/Turn off

International

consultation

Singapore/Netherland

Engineer

advisory

PACs,

DICOM,

Images

storage

Films,

CD,

DVD

Page 21: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

17

การประสานบริการ

การทํางานประสานบริการในการทําหัตถการ ณ หองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลังนั้น

จะตองเกิดการประสานงานระหวางหนวยงานตั้งตน ไดแก หนวยรังสีวิทยาระบบหลอดเลือดและรังสีรวมรักษา

สาขาวิชารังสีวินิจฉัย และสาขาวิชาประสาทศัลยศาสตร เปนผูคัดเลือกผูปวยที่เหมาะสมกับการตรวจ และการทํา

หัตถการ ดวยหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง โดยการจัดเปน Case lists เพื่อใหมีการวางแผนใน

การใชหองทําหัตถการในแตละวัน (Case planning) โดยมีบุคลากรทางการแพทยที่สําคัญรวมดวย ไดแก นักรังสี

การแพทย พยาบาลรังสีวิทยา วิสัญญีแพทย และพยาบาลวิสัญญี รวมไปถึงงานเวชภัณฑปลอดเชื้อที่จะตองจัดเตรียม

อุปกรณปลอดเชื้อ และกอนเริ่มหัตถการจะตองทํากระบวนการ Time out เพื่อยืนยันแผนการทําหัตถการรวมกันทุก

ฝาย

Nursing Care

งานการพยาบาลรังสีวิทยา

DSA controlling

รังสีวิทยา

Anesthesia

ภาควิชาวิสัญญี

เวชภัณฑปลอดเชื้อ

 

Time out

/ Neuro IR team

Case lists

Case planning

Intervention Procedure

Intervention Neuro Radiology

Page 22: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

18

เทคนิคและการใชงานเครื่องเอกซเรยระบบหลอดเลือด

นักรังสีการแพทยจะตองแสดงศักยภาพของวิชาชีพ โดยเรียนรูและเสริมทักษะในการใชงานเครื่องเอกซเรย

หลอดเลือดที่ติดตั้ง และสอบถามเทคนิคในการใชงานเครื่องเอกซเรยระบบหลอดเลือดจากวิศวกรประจําของ

บริษัทผูผลิต รวมไปถึงผูสอนแสดง (Applicator) ชาวตางชาติและชาวไทย เพื่อทราบถึงขอดีขอดอยของเครื่องเอกซเรย

หลอดเลือดรุนที่ติดตั้ง และสามารถที่จะใชงานเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมไปถึงการเรียนรู

เครื่องมือ และอุปกรณประกอบตางๆในหองทําหัตถการ และหองปฏิบัติงานดวย ทั้งนี้ควรทําการศึกษาสวนประกอบ

ตางๆ ของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดเบื้องตน (ดูภาคผนวก ก หนา 75-106) กอนการศึกษาเทคนิคและวิธีการ

เทคนิคการใชงานเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด มี 14 เทคนิค หลัก ไดแก

1. การเปด-ปดเครื่องเอกซเรยระบบหลอดเลือด และเขาระบบการจัดการขอมูลภาพรังสี

2. การเตรียมความพรอมของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด (Daily Calibration)

3. การกําหนดรายชื่อผูปวย

4. การกําหนดรูปแบบสําหรับทําหัตถการ

5. การเรียกดูภาพรังสีระหวางทําหัตถการ

6. วิธีการวัดขนาด

7. การควบคุมเตียง

8. การควบคุมแกนเอกซเรยและตัวรับภาพ

9. การใช Tele-commander (remote control)

10. การสรางภาพหลอดเลือด 3 มิติ (3D rotational angiography)

11. การสรางภาพเสมือนเอกซเรยคอมพิวเตอร (XperCT/ CT-like image)

12. การจัดการภาพรังสีภายหลัง (Post processing imaging)

13. การจดบันทึกขั้นตอนตางๆ ของการทําหัตถการ

14. การจัดการขอมูลภาพรังสี

นักรังสีการแพทยจะตองมีทักษะในการทํางานเชิงเทคนิค ซึ่งเปนไปตามมาตรฐานวิชาชีพ โดยจะตองศึกษา

ระบบใหเขาใจอยางลึกซึ้ง และสามารถประยุกตใชความรูในการทํางานเชิงเทคนิค เพื่อใหการบังคับเครื่องเอกซเรย

หลอดเลือดเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดความคลองตัวในการใหบริการแกผูปวย โดยนักรังสีการแพทยจะตอง

แสดงศักยภาพในการปฏิบัติงานเชิงเทคนิค ซึ่งแตละเทคนิคจะมีรายละเอียดดังนี้

Page 23: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

19

1. การเปด-ปดเครื่องเอกซเรยระบบหลอดเลือด และเขาสูระบบการจัดการขอมูลภาพรังส*ี**

1. จากภาพ กดปุมหมายเลข 1 บน Buttons Control Panel (ดูภาคผนวก ก หนา 98) คางไว 3 วินาที เพื่อ

ทําการเปดเครื่องหลังจากเปดเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด เครื่องจะใชเวลาประมาณ 3 นาที และกดปุม

หมายเลข 2 คางไว 3 วินาที เชนกัน เพื่อทําการปดเครื่อง

2. การเขาสูระบบการจัดการขอมูลภาพรังสี ของคอมพิวเตอรสําหรับปฏิบัติงาน (2D Image Processing

Computer System)

คอมพิวเตอรสําหรับจัดการและประมวลผลภาพทางรังสีสองมิติ ใชโปรแกรม View Forum ซึ่งเปน

โปรแกรมเฉพาะของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด ใชในการจัดการ ประมวลผลภาพ การพิมพภาพผานฟลม

การสงภาพเขาสูระบบ PACs (Picture Archiving and Communication System) หรือระบบที่ใชใน

การจัดเก็บรูปภาพทางการแพทย (Medical Images) และรับสงขอมูลภาพ ในรูปแบบ Digital

ทั้งนี้ คอมพิวเตอรดังกลาวยังใชสําหรับการจัดการขอมูลภาพทางรังสีของผูปวย เพื่อเปนการสํารอง

ขอมูลอีกดวย

1. การเขาสูโปรแกรม Windows จําเปนตองใสชื่อและรหัสผานของเครื่องเสียกอน เพื่อไมให

เกิดความผิดพลาดกับระบบโปรแกรมหลักที่ทางบริษัทติดตั้ งไว โดยใสชื่อและรหัสผานดังนี้

User name: VFUser Password: ViewUser

2. เลือกเขาโปรแกรม View Forum จากนั้นเลือกชื่อและใสรหัสผาน

User name: X-ray vascular user Password: user

Page 24: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

20

3. หนาแรกของโปรแกรม View Forum

3. การเขาสูระบบการจัดการขอมูลภาพรังสี ของคอมพิวเตอรสําหรับการประมวลผลภาพสามมิต ิ(3D Image

Processing Computer System)

คอมพิวเตอรสําหรับจัดการและประมวลผลภาพทางรังสีสามมิติ ใชโปรแกรม Xtra Visions หรือ

เรียก 3DRA เปนโปรแกรมเฉพาะของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด ใชในการจัดการภาพสามมิติ และภาพ

เอกซเรยตัดขวางแบบเฉพาะ (XperCT) รวมไปถึงการประมวลผลภาพ การพิมพภาพผานฟลม การสง

ภาพเขาสูระบบ PACs (Picture Archiving and Communication System) หรือระบบที่ใชในการ

จัดเก็บรูปภาพทางการแพทย (Medical Images) และรับสงขอมูลภาพ ในรูปแบบ Digital ทั้งนี้

คอมพิวเตอรดังกลาวยังใชสําหรับการจัดเก็บขอมูลดิบของภาพสามมิติและภาพ XperCT ของผูปวย เพื่อ

เปนการสํารองขอมูลอีกดวย

การเขาสูโปรแกรม 3DRA นั้น หลักจากปดเครื่อง ระบบจะทําการเลือกโปรแกรมใหอัตโนมัติ ใหทํา

การเขาสูหนาแรกของโปรแกรมดวยการใสชื่อผูใชเพียงอยางเดียว

User name: clinical

Page 25: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

21

ก็จะเขาสูหนาแรกของโปรแกรม 3DRA ดังรูป

หลังจากเปดคอมพิวเตอรแลว ใหทําการตรวจสอบพื้นที่เก็บขอมูลของเครื่องคอมพิวเตอร ใหมีปริมาณเพียงพอ

ตอการเก็บขอมูลการทํางาน โดยมีพื้นที่มากกวา 20% ของพื้นที่ทั้งหมด

Page 26: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

22

2. การเตรียมความพรอมของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด (Daily Calibration)

กอนการใชงานเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด ควรเตรียมความพรอมใหเครื่องมือและระบบ โดยทําการทดสอบ

ประสิทธิภาพของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดในดานความสามารถเชิงกลไก การบังคับเตียงเอกซเรย การบังคับแกน

เอกซเรย การแสดงภาพ และระบบโปรแกรมในการใชงานตางๆ กอน ซึ่งมีวิธีปฏิบัติดังนี้

1. แสดงปายแจงเตือนการเตรียมความพรอมของเครื่องบริเวณหนาหองปฏิบัติงาน

2. เขาระบบเตรียมความพรอมเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดประจําวัน ดังนี้

1. เลือก Enable X-ray จาก Touch Screen Control Panel (ดูภาคผนวก ก หนา 81)

2. เลือก Tools จาก Touch Screen Control Panel

3. เขาระบบ Xper-CT Calibration เลือก Daily Calibration Roll+Prop

4. ทําการปรับ X-ray Table และ X-ray System (ดูภาคผนวก ก หนา 78-80) ดังนี ้

1. ปรับ Frontal และ Lateral X-ray Systems ใหอยูในตําแหนง Parking

2. ปรับ X-ray Table ออกจากแนวการหมุนของ Frontal X-ray System

3. หมุน Frontal Flat Panel Detector ใหอยูในแนว Landscape

4. จอมอนิเตอรแสดงสัญลักษณ และ ขอความ “Move table out of the X-ray Beam,

press hand or footswitch” (ดูภาคผนวก ก หนา 89-90)

5. กด Hand Switch ภายในหองสําหรับปฏิบัติงาน ระบบ Calibration จะทําการ Calibrate ทั้งหมด

12 ขั้นตอน โดยตองกด Hand Switch คางไวตลอด (ดูภาคผนวก ก หนา 99)

6. เมื่อ Calibration เรียบรอย จอมอนิเตอรจะแสดงขอความ “Release hand or foot switch” และ

หนวยความจําที่เหลือและที่ใชไปของเครื่อง

Page 27: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

23

3-4. การกําหนดรายชื่อผูปวยและการกําหนดรูปแบบสําหรับทําหัตถการ (ดูภาคผนวก ก หนา 100-104)

1. เลือกจากรายการซึ่งไดลงทะเบียนไวแลวจากระบบลงทะเบียนของหนวยงาน โดยเลือกขอมูลจาก Data

Monitor ในหองปฏิบัติงาน

1. เลือก Schedule

2. เลือกผูปวยที่จะทําหัตถการ จากนั้นคลิก Open

3. เลื่อนรายการของผูปวยที่ตองการทําหัตถการ ไปยัง Acquisition

4. เลือกยืนยันผูปวยที่ตองการทําหัตถการ ในหนาตางที่ปรากฏ แลวกด OK เพื่อยืนยัน

5. เลือกรูปแบบและสวนที่ตองการทําหัตถการ ในแถบ Exam แลวกด OK เพื่อยืนยัน

2. ลงทะเบียนดวยตัวเองโดยเลือกขอมูลจาก Data Monitor ในหองปฏิบัติงาน

1. เลือก Schedule

2. เลือก Add

3. กรอกรายละเอียดขอมูลของผูปวย ที่สําคัญมีดังนี้

1. ชื่อ-นามสกุล (Patient name)

2. เลือกระบุเพศ (Gender)

3. เลขประจําตัวผูปวย (Patient ID) โดยระบุ Hospital Number : HN

4. เลขทางรังสี (Accession Number)

4. เลือกรูปแบบและสวนที่ตองการทําหัตถการ ในแถบ Exam แลวกด OK เพื่อยืนยัน

5. เลื่อนรายการของผูปวยที่ตองการทําหัตถการไปยัง Acquisition

6. เลือกยืนยันผูปวยที่ตองการทําหัตถการ ในหนาตางที่ปรากฏ แลวกด OK เพื่อยืนยัน

Page 28: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

24

5-6. การเรียกดู การวัด และการปรับแตงภาพรังสีระหวางการทําหัตถการ (ดูภาคผนวก ก หนา 105-106)

2D Image

1. การดูภาพรังสีระหวางการทําหัตถการ จาก Functions Buttons บน Review Monitor

1. เลือก File Overview (ปุม 11)

2. เลือกชุดภาพ (Run series) ที่ตองการจะดู

3. เลือก Run Replay (ปุม 8) เพื่อแสดงภาพตอเนื่อง โดยสามารถปรับระดับความเร็วของการแสดงภาพ

ไดจากการเลื่อนแถบ Frame Rate (ปุม 7)

4. หากตองการดูทีละภาพ ใหเลือก Step Image Reverse /Forward (ปุม 2 และ 4)

5. การดูภาพรังสีระหวางการทําหัตถการ สามารถใชงาน จาก Buttons Control Panel ไดเชนกัน โดย

เลือกจัดการจากปุมตามสัญลักษณแบบเดียวกับ Functions Buttons บน Review Monitor ไดเลย

2. การปรับแตงภาพรังสีระหวางการทําหัตถการ และการวัด

จะใช 6 ปุมฟงกชั่นสําคัญ ในแถบ Function Buttons บน Review Monitor Function Buttons

ซึ่ง 6 ฟงกชั่น ที่ควรรู เนื่องจากมีความสําคัญ และถูกใชงานบอยครั้งในการทําหัตถการ ไดแก

1. Subtraction ON/OFF

2. Pixel Shift

3. Landmarking

4. Contrast, Brightness, Edge enhancement

5. Zoom/Pan

6. Measurement

Page 29: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

25

Subtraction ON/OFF

ภาพปกติที่ไดจากการทําหัตถการจะเปน Subtract Image อยูแลว ซึ่งหมายถึงภาพที่ทําการลบภาพกระดูก

ออก โดยมีหลักการงายๆ คือ การนําภาพสองภาพมาลบสวนที่เหมือนกันออก โดยภาพที่ถูกนํามาลบเรียกวา Mask

จากขางตนที่กลาวมาแลวนั้น ถาหากเราใชฟงกชั่นนี้ ภาพที่ไดจะกลายเปนภาพ Non-subtraction

Subtraction image Non-subtraction image

Page 30: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

26

Pixel Shift

การขยับตัวของผูปวยขณะถายภาพเอกซเรยแบบลบกระดูกชนิดตอเนื่อง แมเพียงนอยนิด ก็ทําใหการ

Subtract ที่ไมสมบูรณเกิดขึ้น ซึ่งเปนผลทําใหเห็นรายละเอียดของหลอดเลือดไมชัดเจน ฟงกชั่นนี้จะชวยใหแกไขภาพ

ใหมีการ Subtract ที่สมบูรณ และไดภาพทีม่ีคุณภาพมากยิ่งขึน้

Scope (ขอบเขตการทํา Pixel Shift)

1. Run – ทํา Pixel Shift ทั้งหมดชุดภาพนั้น

2. Image – ทํา Pixel Shift เฉพาะภาพที่แสดงขณะนั้น

3. Current and all following – ทํา Pixel Shift ตั้งแตภาพที่แสดง

ขณะนี้เปนตนไปจนหมดชุดภาพ

4. Current and all preceding – ทํา Pixel Shift สลับภาพเวนภาพ

ทั้งหมดชุดภาพนั้น

หลังจากเลือกขอบเขตของการทํา Pixel Shift แลว ใหใชเมาส ทําการเลื่อนภาพบนหนาจอมอนิเตอร เพื่อใช

งานฟงกชั่น Pixel Shift ไดเลย

กอนทํา Pixel Shift หลังทํา Pixel Shift

Page 31: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

27

Landmarking

เปนฟงกชั่นการซอนภาพ Remask ลงบนภาพ Subtract เพื่อใหเห็นโครงรางกระดูกแบบคราวๆ เพื่อให

สามารถระบุตําแหนงหลอดเลือดกับตําแหนงที่อวัยวะนั้นๆที่เสนเลือดพาดผานหรือวางอยูได

สามารถปรับคาความชัดของภาพโครงรางไดตามความตองการ

กอนทํา Landmarking หลังทํา Landmarking

Page 32: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

28

Contrast, Brightness and Edge enhancement (CBE)

เปนฟงกชั่นใชปรับความเขม ความสวาง และความชัดเจนของภาพ เพื่อใหไดรายละเอียดที่ชัดเจนขึ้น

การปรับเลื่อนขึ้น จะทําใหความเขม ความสวาง และความชัดเจนของภาพมากยิ่งขึ้น และก็จะลดลงหากมีการ

ปรับเลื่อนลง หากตองการกลับไปยังภาพตั้งตน ใหทําการกดปุมรีเซท

กอนปรับ CBE กอนปรับ CBE

Page 33: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

29

Zoom/Pan

เปนฟงกชั่นที่ชวยในการขยายภาพที่แสดง (Zoom) ใหมีขนาดใหญขึ้น และสามารถทํางานรวมกันกับฟงกชั่น

การเลื่อนภาพ (Pan) เพื่อดูภาพบยายตรงบริเวณที่ตองการ

สามารถปรับคาการขยายไดจากการเลื่อนแถบในภาพ หากตองการเลื่อนภาพ ใหนําเมาสไปวางบนภาพ คลิก

ซายและเลื่อนภาพไปยังจุดที่ตองการดูได หากตองการเลื่อนตําแหนงใหกลับมาอยูตรงกลางใหกด Center หรือหาก

ตองการดูภาพขนาดปกติสามารถกดรีเซทได

ภาพกอนทําการขยาย ภาพหลังทําการขยาย

Page 34: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

30

Measurement

ฟงกชั่นการวัดจะประกอบดวยการวัด 3 แบบ ไดแก การวัดมุม (Angle) การวัดระยะ (length) และการวัด

อัตราสวน (Ratio) ซึ่งในการทํางานจะใชการวัดระยะเปนสวนใหญ เชน การวัดเสนผานศูนยกลางของหลอดเลือดโปง

พอง เปนตน

การวัดระยะ (Length Measurement) มีขั้นตอนดังนี ้

1. เลือกฟงกชั่น Measurement จากนั้นเลือก Start Analysis เพื่อเขาสูหนา Calibration

2. เลือก Accept Auto Calibration เพื่อยืนยันการเตรียมแบบอัตโนมัติ

3. เลือก Length Measurement เพื่อใชวัดระยะ

4. นําเมาสไปคลิกจุดเริ่มที่ตองการวัดระยะบนภาพ และคลิกสองครั้งที่จุดสิ้นสุด จะไดระยะในหนวย

มิลลิเมตร ปรากฏบนภาพนั้น

การปรับแตงภาพรังสีระหวางการทําหัตถการ สามารถทําโดยใช ฟงกชั่นแบบเดียวกัน บนแถบ Processing ใน

Touch Screen Control Panel สวนการวัด จะอยู บนแถบ QA ใน Touch Screen Control Panel เชนกัน ซึ่งเรา

สามารถใชงานไดทั้งในหองทําหัตถการ และหองปฏิบัติงาน

นอกจากนั้นยังมีรูปแบบของโปรแกรมการจัดการภาพระหวางการทําหัตถการที่สําคัญ และเปนประโยชนตอการ

ทําหัตถการอยางมาก นั่นคือ การทํา Roadmap และ Smart Mask

Page 35: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

31

Roadmap และ Smart Mask

เปนโปรแกรมการจัดการภาพรังสี ใหสรางภาพออกมาลักษณะเปนเสนนําทางในหลอดเลือด เหมาะ

สําหรับการทําหัตถการตางๆ โดยมีวิธีการทําดังนี ้

1. Roadmap

1. จัดแกนหลอดเอกซเรย ใหอยูในตําแหนงที่ตองการจะใชโปรแกรม Roadmap

2. เลือก On Roadmap บน Touch screen control panel หรือ ปุม Roadmap บน

Table-side control panel

3. ทําการถายภาพเอกซเรยแบบตอเนื่อง จาก Foot Switch พรอมกับการฉีดสารทึบรังสี

4. เมื่อไดภาพ Roadmap ที่ตองการ ใหหยุดถายภาพ

2. Smart Mask

1. ทําการถายภาพเอกซเรยแบบตอเนื่องพรอมฉีดสารทึบรังสี แลวเลือกภาพที่ตองการ หรือ

เลือกภาพจากชุดภาพที่ไดทําการถายภาพเอกซเรยตอเนื่องเอาไว (หามทําการเลื่อนเตียง

ออกจากตําแหนงของภาพที่เลือกโดยเด็ดขาด)

2. ใช Remote control ในการยายภาพจาก Live Monitor มายัง Reference Monitor ที่

2 และ 3

3. On Roadmap และ Smart Mask บน Touch screen control panel หรือ กดปุมทั้ง

สองบน Table- side control panel

4. แถบแสดงคําแนะนําหรือคําเตือน บน Live Monitor จะแสดง “Smart Mask Selected”

5. ใหทําการ Fluoroscope จะไดภาพ Smart Mask

Page 36: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

32

3D Image

ปรับลักษณะตางๆ โดยใชฟงกชั่นตาง ๆ บน Tool Bar ดังนี ้

1. ทําการปรับมุมโดยใช ฟงกชั่น หรือเลือกมุมปกติตางๆ จาก บน Tool Bar

2. ทําการปรับขยาย ทําการเลื่อน และปรับแสงและความเขม โดยใชฟงกชั่น บน

Tool Bar ตามลําดับ

3. ปรับลักษณะตางๆ ของภาพสามมิติ โดยฟงกชั่นรูปแบบตางๆของการแสดงผล บน Tool

Bar

4. การถายภาพ (Snapshot) ทําไดโดยการคลิก บน Tool Bar

Page 37: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

33

7. การควบคุมเตียง

ศึกษาแผงควบคุม และสวิตซควบคุมเตียงตางๆ จากภาคผนวก ก หนา 75-87

8. การควบคุมแกนเอกซเรยและตัวรับภาพ

ศึกษาแผงควบคุม และสวิตซควบคุมแกนเอกซเรย ตางๆ จากภาคผนวก ก หนา 75-87

9. การใช Tele-commander (remote control)

ศึกษารูปแบบ และวิธีการใชงานรีโมตคอนโทรล จากภาคผนวก ก หนา 92-93

10. การสรางภาพหลอดเลือด 3 มิติ (3D rotational angiography)

1. เลื่อนแกนของ Lateral Stand เขาตําแหนง Parking

2. ตรวจสอบตําแหนงที่ตองการจะทําภาพ 3 มิติ จากการ Flu ดวย Frontal X-ray tube ในมุม 0 และ

90 องศา

3. เขาโปรแกรมการทําภาพ 3 มิติ จาก Touch screen control panel โดยเลือก Acquisition ที่เปน

3D ในสวนที่ตองการทํา

4. ทําการ Confirm Rotation Scan โดนกดปุม สําหรับเรียกรูปแบบของเครื่องที่จัดเก็บไว 1 และ 2

บน Table-side Buttons Control Panel ที่ไฟกระพริบ จนกระทั่งไฟหยุดกระพริบ

5. บนพื้นที่แสดงขอความแนะนํา หรือคําเตือน บน Live Monitor จะแสดงขอความบอกระยะเวลาที่ใช

ในการทําภาพ 3 มิติ

6. ตั้งคาการฉีดสารทึบรังสี (ในกรณีที่ตองการฉีดสารทึบรังสี)

7. ระบุระยะเวลาการเริ่มเก็บภาพ หลังจากฉีดสารทึบรังสี (ในกรณีที่ตองการฉีดสารทึบรังสี)

8. ในกรณีที่มีการฉีดสารทึบรังสีรวมดวย ใหทําภาพ 3 มิติในภาพกอนฉีดสารทึบรังสี 1 ครั้ง เพื่อ

นํามาใชในการจัดการขอมูลภาพ โดยให Off Coupling บน Touch screen control panel แลว

จึง On อีกครั้ง เมื่อทําภาพ 3 มิติรวมกับการฉีดสารทึบรังสี

9. กด Hand Switch คางไว จนเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดทําการเก็บภาพเสร็จสิ้น โดยเครื่องจะเก็บ

ขอมูลที่ -120 ถงึ 120 องศา

Page 38: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

34

11. การสรางภาพเสมือนเอกซเรยคอมพิวเตอร (XperCT/ CT-like image)

1. เลื่อนแกนของ Lateral Stand เขาตําแหนง Parking

2. ตรวจสอบตําแหนงที่ตองการจะทําภาพ XperCT จากการ Flu ดวย Frontal X-ray tube ในมุม 0

และ 90 องศา

3. เขาโปรแกรมการทํา XperCT จาก Touch screen control panel โดยเลือก Acquisition ที่เปน

XperCT ในสวนที่ตองการทํา

4. ทําการ Confirm Rotation Scan โดนกดปุม สําหรับเรียกรูปแบบของเครื่องที่จัดเก็บไว 1 และ 2

บน Table-side Buttons Control Panel ที่ไฟกระพริบ จนกระทั่งไฟหยุดกระพริบ

5. บนพื้นที่แสดงขอความแนะนํา หรือคําเตือน บน Live Monitor จะแสดงขอความบอกระยะเวลาที่ใช

ในการทําภาพ XperCT

6. ตั้งคาการฉีดสารทึบรังสี (ในกรณีที่ตองการฉีดสารทึบรังสี)

7. ระบุระยะเวลาการเริ่มเก็บภาพ หลังจากฉีดสารทึบรังสี (ในกรณีที่ตองการฉีดสารทึบรังสี)

8. On Coupling บน Touch screen control panel (ในกรณีที่ตองการฉีดสารทึบรังสี)

9. กด Hand Switch คางไว จนเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดทําการเก็บภาพเสร็จสิ้น โดยเครื่องจะเก็บ

ขอมูลที่ -120 ถึง 120 องศา

Page 39: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

35

12. การจัดการภาพรังสีภายหลัง (Post processing imaging)

การจัดการภาพทางจากโปรแกรม View Forum

1. เลือกรายชื่อผูปวยที่ตองการจัดการภาพจากรายชื่อที่ปรากฏในหนา Viewing worklist

2. ดับเบิ้ลคลิกที่ชื่อผูปวยหรือกดเลือก View เพื่อเขาไปยังขอมูลภาพของผูปวย

หรือทําการเลือกเฉพาะชุดภาพของผูปวย โดยกด Ctrl ที่แปนพิมพคางไว คลิกเลือกชุดภาพที่ตองการ

แลวกดเลือกที่ View

จะเขาสูหนาแสดงขอมูลภาพของผูปวย

Page 40: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

36

การใสขอความ (Annotation)

การใสขอความ (Annotation) บนภาพ ม ี2 วิธี ไดแก

1. นําลูกศรไปวางบนชุดภาพที่ตองการ คลิกปุมซายของเมาสคางไวและเลื่อนไปยังภาพที่ตองการ

จากนั้น คลิกเลือกแถบ Predefined Annotations เลือกขอความ จากนั้นใหคลิกไปยังบริเวณที่

ตองการวาง Annotation บนภาพนั้นๆ

2. เลือก Analysis เลือก X-ray vascular analysis…

จะเขาสูหนาการจัดการภาพ ใหเลือกชุดภาพ และภาพที่ตองการใสขอความ จากนั้นเลือก

Annotation----->Text จากนั้นคลิกไปยังบริเวณที่ตองการวาง Annotation และพิมพขอความที่ตองการ

Page 41: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

37

การซอนภาพโครงรางเพื่อยืนยันตําแหนง (Landmarking)

มีขั้นตอนดังนี ้

1. เลือก Analysis เลือก X-ray vascular analysis…

2. ใหเลือกชุดภาพ และภาพที่ตองการ จากนั้นเลือก Landmarking และเลือกกําหนดขอบเขตของภาพที่

ตองการจัดการ และ คาความชัดเจนของ Landmarking

การเลือกกําหนดขอบเขตของภาพที่ตองการ Landmarking มี 4 แบบ ดังรูป

1. จัดการกับทุกภาพในชุดภาพ

2. จัดการเฉพาะภาพที่เลือกจากชุดภาพ

3. จัดการตั้งแตภาพที่เลือกเปนตนไปจากชุดภาพ

4. จัดการแบบสลับภาพเวนภาพทั้งชุดภาพ

Page 42: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

38

การแกไขภาพที่มีการเคลื่อนไหวในภาพ Subtraction (Pixel Shift)

ฟงกชั่นนี้จะชวยใหแกไขภาพ Subtraction ที่มีการเคลื่อนไหว ใหไดภาพที่มีคุณภาพ และไดภาพที่มีการ

Subtract ที่สมบูรณมากขึ้น

จากภาพจะเห็นวาภาพ Subtraction มีการเคลื่อนไหว ทําใหเห็นรายละเอียดของหลอดเลือดไมชัดเจน ดังนั้น

ใหทําการใชฟงกชั่น Pixel Shift เพื่อแกไขภาพดังกลาว โดยมีขั้นตอนดังนี ้

1. เลือก Analysis เลือก X-ray vascular analysis…

2. เลือกชุดภาพ หรือภาพที่ตองการ จากนั้นเลือกฟงกชั่น Pixel Shift

3. เลือกกําหนดขอบเขตของภาพที่ตองการจัดการ

4. ทําการเลือกรูปแบบการทํา Pixel Shift ไดแก แบบอัตโนมัติ และแบบทําดวยตนเอง

5. สําหรับการทํา Pixel Shift แบบทําดวยตนเองนั้น เมื่อเลือกรูปแบบเรียบรอยแลว ใหนําเมาส ไปวางบน

ภาพ จากนั้นคลิกปุมเมาสซาย และลากเพื่อทําการเลื่อนแกไขภาพ

การเลือกกําหนดขอบเขตของภาพที่ตองการ Pixel Shift มี 4 แบบ ดังรูป

1. จัดการกับทุกภาพในชุดภาพ

2. จัดการเฉพาะภาพที่เลือกจากชุดภาพ

3. จัดการตั้งแตภาพที่เลือกเปนตนไปจากชุดภาพ

4. จัดการแบบสลับภาพเวนภาพทั้งชุดภาพ

Page 43: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

39

1. ปุมเลือกการใชงานฟงกชั่น Pixel Shift 2. การเลือกกําหนดขอบเขตของภาพที่ตองการ Pixel Shift 3. ปุมเลือกรูปแบบการทํา Pixel Shift แบบทําดวยตนเองและแบบอัตโนมัติ

ภาพกอนและหลังการใชงานฟงกชั่น Pixel Shift

Page 44: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

40

การจัดการขอมูลภาพสามมิติ และ Xper CT

1. เลือกรายชื่อผูปวยที่ตองการจัดการภาพจากรายชื่อที่ปรากฏในหนา Patient

2. เลือกภาพสามมิติ หรือภาพ Xper CT ที่ตองการ

3. กด View เพื่อเขาไปยังขอมูลภาพของผูปวย

จะเขาสูหนาแสดงขอมูลภาพของผูปวย

Page 45: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

41

การลบกระดูกและวัตถุสวนเกินในภาพออกจากเสนเลือด

มี 3 วิธี ไดแก

1. การปรับ Histogram หรือ ปรับกราฟแสดงจํานวนพิกเซลที่ความสวางตางๆ ของภาพ

กอนปรับ Histrogram หลังปรับ Histrogram

Page 46: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

42

2. การตัด (Cut)

การตัดมี 3 แบบ ไดแก Free Form Cut, Cut Plane และ Cut Sphere โดยสวนมากจะใชการตัดใน

แบบที่ 1 และ 2 เทานั้น คือ

1. Free Form Cut เปนการเลือกตัดแบบอิสระ มีขั้นตอนดังนี้

1. เลือกฟงกชั่น Cut

2. เลือกรูปแบบการตัดแบบ Free From Cut ในหนาตาง Tool

3. คลิกที่ลูกศรเพื่อใชเปนตัวลากกําหนดบริเวณที่ตองการตัด

4. ทําการลากพื้นที่ที่ตองการ โดยคลิกที่จุดเริ่มตน 1 ครั้ง และปลอยเมาส แลวลากพื้นที่ที่

ตองการ จนบรรจบกับจุดแรก จะแสดงเปนเสนสีเหลืองดังรูป

5. เลือกการตัดพื้นที่ คือ ตัดภายในกรอบสีเหลือง (Cut Inside) หรือภายนอกกรอบสีเหลือง

(Cut Outside)

6. กดปุม Cut เพื่อทําการตัด

7. หากตองการแกไข ใหทําการยอนกลับ โดยเลือกยอนกลับไปครั้งลาสุด (Undo Last) หรือ

ยอนกลับไปทั้งหมด (Undo All)

Page 47: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

43

2. Cut Plane เปนการตัดในรูปแบบพื้นระนาบ มีขั้นตอนดังนี้

1. เลือกฟงกชั่น Cut

2. เลือกรูปแบบการตัดแบบ Cut Plane ในหนาตาง Tool จะปรากฏแถบระนาบซึ่งในแตละ

ดานจะมีสี ไดแก สีน้ําเงินและสีแดง (ในรูปแสดงใหเห็นระนาบสีแดง)

3. ใชเครื่องมือในการหมุน ปรับขยาย เลื่อน แถบระนาบใหไดตามที่ตองการ

4. แนวระนาบจะแบงเสนเลือดออกเปนสองดาน ไดแก ดานสีแดง (Red Side) ดังรูป และ ดาน

สีน้ําเงิน (Blue Side) ในดานตรงขาม

5. เลือกการตัดพื้นที่ คือ ตัดดานสีแดง (Cut Red Side) หรือ ตัดดานสีน้ําเงิน (Cut Blue Side)

6. หากไมตองการตัด ใหทําการเลือก Hide เพื่อซอนดานที่ไมตองการก็ได

7. กดปุม Cut เพื่อทําการตัด

8. หากตองการแกไข ใหทําการยอนกลับ โดยเลือกยอนกลับไปครั้งลาสุด (Undo Last) หรือ

ยอนกลับไปทั้งหมด (Undo All)

ภาพกอนการ Cut Plane or Hide ภาพหลังการ Cut Plane or Hide

Page 48: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

44

3. ทํา Subtraction

คือ การลบภาพกระดูกและวัตถุที่ไมตองการออกจากภาพ Angiographic Image โดยใชภาพ

Mask Image ดังนั้น ในการจะใชงานฟงกชั่นนี้ จําเปนจะตองทําภาพสามมิตโิดยที่ไมมีการฉีดสาร

ทึบรังสีในทาเดียวกัน ทั้งนี้ควรจะทําการเอกซเรยภาพสามมิติสําหรับ Mask Image กอน เพื่อ

ไมใหเกิดการตกคางของสารทึบรังสีที่ฉีดเขาไป

การ Subtract มีขั้นตอนดังนี ้

1. เลือกภาพ 3D Angiographic Image

2. เลือกเขาฟงกชั่น Subtraction

3. เลือก Subtraction (หากผูปวยรายนี้มีภาพสามมิติอยูเพียง 2 ภาพ ระบบจะทําการ

เลือก 3D Mask Image มา Subtract ใหอัตโนมัติ หากมีมากกวา จะปรากฏหนาตางให

เลือก 3D Mask Image)

4. รอกระบวนการ Subtraction ของภาพ

ภาพแสดงการอธิบายรูปแบบ Subtraction อยางงาย

Page 49: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

45

4. ทํา Overlay

คือ การเพิ่มสวนที่ตองการในภาพ Angiographic Image โดยใชภาพ Mask Image ดังนั้น ใน

การจะใชงานฟงกชั่นนี้ จําเปนจะตองทําภาพสามมิติโดยที่ไมมีการฉีดสารทึบรังสีในทาเดียวกัน

ทั้งนี้ควรจะทําการเอกซเรยภาพสามมิติสําหรับ Mask Image กอน เพื่อไมใหเกิดการตกคางของ

สารทึบรังสีที่ฉีดเขาไป

การ Overlay มีขั้นตอนดังนี ้

1. เลือกภาพ 3D Mask Image

2. ทําการ Cut ใหเหลือเฉพาะสวนที่ตองการจะ Overlay

3. คลิก Overlay ทําการเลือก 3D Angiographic Image ที่ตองการ ในกรณีที่มีแคสอง

ภาพ ระบบจะทําการ Overlay ใหอัตโนมัติ

.

4. รอกระบวนการ Overlay ของภาพ

Page 50: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

46

5. ทํา Function New

เปนฟงกชั่นที่ใชในการทําภาพสามมิติที่ไดขึ้นมาใหม โดยจะทําการจัดการขอมูลใหม ตามขนาดภาพที่

ตองการ โดยมีใหเลือก 5 ระดับคือ 17%, 33%, 50%, 100% และ 140% หากขนาดภาพยิ่งมีขนาด

เล็ก ก็จะยิ่งไดรายละเอียดที่มากขึ้น

วิธีการใชฟงกชั่น New

1. เลือกขนาดที่ตองการ

2. เลื่อนกรอบสีเหลืองในภาพใหครอบคลุมสวนที่ตองการ

3. เลือก OK เพื่อทําการจัดการขอมูล

Page 51: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

47

6. ทํา Function View

เปนฟงกชั่นที่ใชเพื่อการเก็บภาพในมุมที่เราตองการเอาไว แลวสามารถเรียกภาพในมุมนั้นกลับมาดูซ้ํา

ได

วิธีการใชฟงกชั่น View

1. จัดการภาพ ใหไดมุมที่ตองการ

2. ทําการ Save ภาพที่ตองการ โดยภาพจะปรากฏที่แถบทางดานซาย

3. หากตองการเรียกภาพกลับมาดู ใหคลิกเลือกภาพ แลวกด Recall

Page 52: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

48

7. การวัด (Measurement)

การวัดในภาพ 3 มิติ จะใช การวัดแบบเรงดวน (Quick Measurement) เปนสวนใหญ โดยมีวิธีการคือ

1. เลือกฟงกชั่น Measurement

2. เลือก Quick Measurement

3. ทําการวัดระยะ หรือขนาดที่ตองการ

4. จะประกฎเลขบอกระยะ หรือขนาดที่ดานลางของภาพ และที่ดานซายของจอภาพ

8. ทํา MPR

MPR (Multi-Planar Reconstruction) เปนการทําใหเห็นภาพลักษณะคลายภาพเอกซเรย

คอมพิวเตอร ในมุมตางๆกัน 3 มุม ในการมองภาพครั้งเดียว โดยมีเสนอางอิงบอกตําแหนงในแตละ

แนว และสามารถเลื่อนภาพดูในหลายๆ ระดับได

Page 53: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

49

9. XperCT Function

จากที่ไดอธิบายขั้นตอนการทําไปแลวขางตน การจัดการภาพ XperCT นั้น ปกติเมื่อเราสรางภาพมาใน

รูปแบบของ XperCT เลย ภาพจะขึ้นมาในลักษณะเปนภาพตัดขวางใหทันที แตถาหากภาพที่เราสราง

เปนภาพสามมิติ เราสามารถนําฟงกชั่น XperCT มาใช ก็สามารถทําใหภาพสามมิติ อยูในรูปแบบของ

ภาพเอกซเรยตัดขวางไดเชนกัน

ทั้งนี้เราสามารถปรับไดใหเปนภาพไดทั้งในแนว Axial, Coronal และ Saggital ได และสามารถทําการ

เลือกความหนาของการตัด (Slice Thickness) และสามารถทําการถายภาพตอเนื่องแบบอัตโนมัติได

(Auto Snapshot) โดยภาพที่ได จะออกมาเปน 1ชุดภาพตอการทํา 1 ครั้ง

10. Movie Function

เปนการจัดการภาพ โดยการบันทึกเปนไฟล AVI โดยภาพที่ไดจะเปนภาพที่หมุน 360 ในแนวระนาบ

จากภาพที่จัดการไวกอนทําการเขาใชฟงกชั่น โดยสามารถเลือกความเร็วของการหมุนได 5 ระดับ

จากนั้นเลือก Automatic ระบบจะทําการบันทึกใหอัตโนมัติ

Page 54: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

50

11. การ Overlay ภาพ XperCT กับภาพ 3 มิต ิ

มีวิธีการดังนี ้

1. เลือกภาพ Angiographic Image ที่ตองการ

2. ทําการ Overlay กับภาพ XperCT

3. ทําการ Match ภาพทั้งสองเขาดวยกัน โดนสามารถทําไดทั้งแบบ Manual และ Automatic

4. จะไดภาพ 3D-XperCT Overlay Image สามารถเลื่อนระดับภาพ XperCT เพื่อดูตําแหนงได

Page 55: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

51

13. การจดบันทึกขั้นตอนตางๆ ของการทําหัตถการ

1. ระบุวันที่เวลาเริ่มตนและสิ้นสุดการทําหัตถการ

2. ติดสติ๊กเกอร หรือเขียนรายชื่อผูปวย โดยระบุเลขประจําตัวผูปวย และเลขทางรังสี

3. ระบุอายุผูปวย และหอผูปวย หรือในกรณีเปนผูปวยนอกใหระบุ OPD

4. ระบุชื่ออาจารยแพทย และรังสีแพทยผูทําหัตถการ

5. ใสชื่อนักรังสีการแพทย หรือผูปฏิบัติงานรังสีเทคนิคที่ปฏิบัติงาน

6. ในกรณีที่เปนผูปวยฉุกเฉิน ใหระบุ ER ที่หนาชื่อดวย

Page 56: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

52

14. การจัดการขอมูลภาพรังส ี

ขอมูลภาพรังสีของผูปวยจะถูกสงไปเก็บยังฐานขอมูลของภาควิชารังสีวิทยา ที่เรียกวา Synapse ซึ่งเปนระบบ

PACs (Picture archiving and communication system) ที่ไดมีการเชื่อมโยงไวกับระบบเครือขายของโรงพยาบาล

ทําใหสามารถดูภาพทางรังสีผานทาง คอมพิวเตอรของโรงพยาบาลที่ไดทําการเชื่อตอกับระบบนี้ไว ซึ่งทําใหสะดวก และ

รวดเร็วตอการเรียกขอมูลของผูปวยรายนั้นๆ

นอกจากนี้ หองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง ยังไดทําการเก็บขอมูลภาพของผูปวย เอาไวเพือ่

ใชในการติดตามผลการรักษา และเปนการสํารองขอมูลในกรณีฉุกเฉินอีกดวย โดยแบงการเก็บขอมูลเปน สวน คือ การ

เก็บภาพขอมูลแบบ DICOM file และ เก็บแบบไฟลภาพชนิด PNG หรือ JPG โดยทั้งสองแบบนี้จะถูกบันทึกลงแผนดีวี

ดีเพื่อเก็บเปนขอมูลสํารองตอไป

การสงขอมูลภาพจาก View Forum เขาระบบเชื่อมตอของโรงพยาบาล และฐานขอมูลของหนวยงาน

โดยขั้นตอนการสงภาพขอมูล มีดังนี ้

1. เลือกที่ Patient Folder จะปรากฏหนาตางดังภาพ

2. จากนั้นใหคลิกที่ชื่อผูปวยหากตองการจะสงขอมูลภาพทั้งหมด หรือหากตองการจะสงเฉพาะบางชุดภาพ

ใหกด Ctrl และเลือกชุดภาพที่ตองการจะสง

3. เลือก Copy… เพื่อเลือกปลายทางของการเก็บขอมูล

Page 57: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

53

4. เลือกสงขอมูลภาพไปยังปลายทางของการเก็บขอมูลดังกลาวขางตนทีละครั้ง กอนสงใหตรวจสอบวาไดทํา

การเลือก Process raw XA or RF images และ Create overlays เรียบรอยแลว

Page 58: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

54

การสงขอมูลภาพจาก 3DRA/XperCT เขาระบบเชื่อมตอของโรงพยาบาล และฐานขอมูลของหนวยงาน

โดยขั้นตอนการสงภาพขอมูล มีดังนี ้

1. เลือก Export

2. เลือก Snapshot

3. เลือกภาพที่ตองการสง โดยการกด Ctrl คางไวแลวคลิกเลือกภาพ หรือ กด Ctrl + A เพื่อเลือกทั้งหมด

4. เลือกจุดหมายปลายทางการสง ไดแก

1. View Forum เพื่อนําไปแปลงไฟลเปน ไฟลภาพ .PNG นําเก็บเขาที่เก็บขอมูลสํารอง

2. Synapse2 เพื่อสงเขาระบบ PACs ของโรงพยาบาล

Page 59: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

55

การ Print Film จาก View Forum

หลังจากทําการจัดการภาพเรียบรอยแลว หากตองการ Print Film ใหทําตามขั้นตอนดังนี ้

1. เลือก Analysis เลือก X-ray vascular analysis…

2. ตั้งคาตางๆ ของการ Print Film ดังรูป

1. ปุมเขาสูการตั้งคาการ Print Film

2. ตั้งคาเครื่อง Print Film ปจจุบันเครื่อง Print Film ที่ใชคือ Kodak รุน Dry View 8700

3. ตั้งคาขนาด Film ที่ตองการ Print ไดแกขนาดกวาง 14 นิ้ว ยาว 17 นิ้ว

4. จํานวนของการ Print Film

5. รูปแบบการวางแนวของแผนฟลม

6. จํานวนภาพตอหนึ่งแถวและหนึ่งคอลัมน

7. ตั้งคากําหนดคําสั่งการเลือกภาพลงในแผนฟลมคือ จากบนลงลาง หรือซายไปขวา

8. ทําการเลือกภาพที่ตองการ print ใสลงบนแผนฟลม และทําการ print

1. ตําแหนงของการวางภาพในแผนฟลม

2. ปุมกดสําหรับเลือกภาพที่ตองการวางลงในแผนฟลม

3. ปุมลบภาพที่ไมตองการออกจากผานฟลม มี 3 รูปแบบ ไดแก ลบภาพเดียว, ลบภาพทั้งแผนฟลม

นั้น และลบภาพทั้งหมดที่ตองการ print

4. ปุมกดเลือกไปยังหนาหรือฟลมถัดไป

5. ปุมยืนยันการ Print (กด 1 ครั้งเทานั้น สําหรับการ Print ในแตละครั้ง)

Page 60: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

56

การ Print Film จาก 3DRA/XperCT

หลังจากทําการจัดการภาพเรียบรอยแลว หากตองการ Print Film ใหทําตามขั้นตอนดังนี ้

1. เลือก Print

2. ตั้งคาตางๆ ของการ Print Film ไดแก

1. เลือก Printer 8700DSA1

2. เลือกขนาด และรูปแบบของการ print เปน 14x17 B_G12

3. จํานวน copy

3. คลิกเลือกภาพที่ตองการ print จาก Snapshots ภาพที่ถูกเลือกจะปรากฏบนหนาจอแถวบน

4. คลิกเมาสขวาที่ภาพที่เลือกไว แลวเลือก Add to Print Preview

5. เมื่อ Add ภาพที่ตองการลงใน Print Preview ครบแลว ให กดปุม Print เพื่อทําการ print ภาพ

3D/XperCT

Page 61: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

57

การ Write ขอมูลลงแผน CD หรือDVD

จะทําการ Write ในบางกรณีเทานั้น โดยการใชโปรแกรม NERO Express โดยนําภาพ และผลจากฐานขอมูล

สํารองที่เก็บไวมาทําการ Write

ในกรณีที่ตองการ Write ในรูปแบบของ DICOM File พรอมโปรแกรมเฉพาะ ผูปวยหรือญาติ หรือหอผูปวย

ตองทําการติดตอหนวย Archiving สาขาวิชารังสีวินิจฉัย ตึก 72 ป ชั้นใตดิน ในวันและเวลาราชการ

Page 62: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง
Page 63: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

บทที่ 5

ปญหา อุปสรรคและแนวทางแกไข

นักรังสีการแพทยประจําหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง ตองเรียนรูและเขาใจปญหา โดย

ตองสืบคนถึงสาเหตุหลัก และแนวทางการแกไขเบื้องตน รวมไปถึงอุปสรรคในการใหบริการตางๆ เพื่อการวิเคราะห

ลักษณะปญหาและวางแผนเพื่อแกไขปญหาในระยะยาว

ปญหาประจําในการทํางาน

ปญหาหลักของหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลัง ที่เกิดขึ้นบอยครั้ง ซึ่งนักรังสีการแพทย

จะตองสืบคนถึงสาเหตุหลัก และแนวทางการแกไขเบื้องตนจะเปนในสวนที่เกี่ยวของกับฟงกชั่นการทํางานของ

เครื่องเอกซเรยระบบหลอดเลือดชนิด 2 ระนาบ โดยผูเขียนสามารถเรียงลําดับปญหาได 9 ขอ ไดแก

1.เครื่องเอกซเรยหลอดเลือดไมไดทําการ Calibration กอนทําหัตถการ

ผลกระทบจากปญหา

ภาพที่ไดจากการทําหัตถการมีคุณภาพลดลง

สาเหตุ

การทําหัตถการในผูปวยฉุกเฉินนอกเวลาราชการ

การแกไขปญหา

ทํา Calibration แบบ Pre – calibration

2.จอแสดงภาพภายในหองทําหัตถการ เกิดปญหาจอภาพไมติด หรือไมมีสัญญาณภาพ

ผลกระทบจากปญหา

ไมสามารถดูภาพไดจากจอภาพที่เกิดปญหา

สาเหตุ

สัญญาณของจอภาพมีปญหา

จอภาพเสียหาย

การแกไขปญหา

ทําการรีเซตสัญญาณจอภาพใหม โดยการปดสวิตซที่ดานหลังจอภาพที่เกิดปญหา และสวิตซที่

กลองสัญญาณภาพดานบนของแผงจอภาพ

หากจอภาพเสียหาย ใหแจงวิศวกรดูแลเครื่องประจําบริษัท Philips

ลักษณะจอภาพที่มีปญหา

Page 64: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

60

1. กลองสัญญาณภาพ

2. สวิตซดานหนากลองสัญญาณภาพ

3.เตียงเอกซเรยไมสามารถเคลื่อนที่ไดหลังจากทําภาพ 3D หรือ XperCT

ผลกระทบจากปญหา

ไมสามารถเลื่อนเตียงได ทําใหการทําหัตถการชาลง

สาเหตุ

ยังไมไดออกจากโปรแกรมการทํา 3D หรือ XperCT

การแกไขปญหา

ออกจากโปรแกรม 3D หรือ XperCT โดยกลับไปเลือก Acquisition ที่ใชงานเดิม

4.แกนเอกซเรย Frontal Stand ไมสามารถเคลื่อนที่ได

ผลกระทบจากปญหา

ทําใหการทําหัตถการชาลง

สาเหตุ

Detector ชิด หรือชน หรือมีสิ่งใดไปกระทบ โดนบน Live Monitor จะมีขอความเตือนบนแถบ

ขึ้น “Bodyguard Active”

การแกไขปญหา

ปรับเลื่อนเตียง หรือ สิ่งกีดขวางออกจาก Detector

5.แกนเอกซเรย Lateral Stand ไมสามารถเคลื่อนที่เขา – ออกจากจุด parking ได

ผลกระทบจากปญหา

ทําใหการทําหัตถการชาลง ไมตอเนื่อง

สาเหตุ

แกนเอกซเรย Frontal Stand ไมอยูในแนว 0 องศา กับแนวเตียง

การแกไขปญหา

ปรับแกนเอกซเรย Frontal Stand ใหอยูในแนว 0 องศา กับแนวเตียง

Page 65: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

61

6.ขอมูลภาพรังสีของผูปวยที่กําลังทําหัตถการรวมอยูกับผูปวยรายเกา

ผลกระทบจากปญหา

ไมสามารถสงขอมูลภาพรังสีของผูปวยเขาสูระบบ PACs และไมสามารถเก็บขอมูลชนิด DICOM

และภาพชนิด .PNG file ได

สาเหตุ

ไมไดทําการเลือกขอมูล หรือปอนขอมูลของผูปวยกอนเริ่มหัตถการ

การแกไขปญหา

ทําการยายขอมูลภาพรังสีของผูปวยโดยการทํา Patient Resolve Mix โดยมีวิธีการดังนี ้

1. ใหทําการเลือกขอมูล หรือปอนขอมูลของผูปวยรายนั้นกอน

2. เลือก Archive

3. เปดผูปวยรายเกาที่มีภาพผูปวยปจจุบัน

4. เลือกชุดภาพที่ตองการจะยาย จากนั้นคลิก Next

5. เลือกรายชื่อผูปวยรายปจจุบัน แลวคลิก OK

6. ระบบจะทําการยายขอมูลชุดภาพที่เลือกจากผูปวยรายเกา ไปยังผูปวยรายปจจุบัน

7.ขอมูลภาพรังสีจากเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด ไมทําการสงภาพไปยัง View Forum หรือ 3DRA

ผลกระทบจากปญหา

ไมสามารถทําการจัดภาพรังสีของผูปวย

ไมสามารถสงภาพรังสีเขาสูระบบ PACs และไมสามารถเก็บขอมูลชนิด DICOM และภาพชนิด

.PNG file ได

สาเหตุ

เกิดปญหาจากระบบการทํางานของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด

การแกไขปญหา

ทําการสงขอมูลภาพรังสีของผูปวยโดยการทํา Transfer โดยมีวิธีการดังนี ้

1. เลือก Archive

2. เปดขอมูลภาพผูปวยที่ตองการสงขอมูล

3. เลือกชุดภาพที่ตองการจะสง โดนการเลือกสัญลักษณรูปธงที่ชุดภาพนั้นๆ ออก

4. เลือก Transfer

5. ในชอง Runs ใหเลือก Unflagged

6. ในชอง Destination ใหทําการเลือกจุดหมายปลายทางการสงดังนี้

1. ภาพ 2D ใหสงไปยัง View Forum_RAW

2. ภาพ Live Fluoroscope, Snapshot หรือ Photo ใหสงไปยัง View Forum

3. ภาพ 3D หรือ XperCT ใหสงไปยัง 3DRA

7. คลิก OK ระบบจะดําเนินการสงภาพ

Page 66: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

62

8.ขอมูลภาพรังสีจาก View Forum หรือ 3DRA ไมสามารถสงขอมูลเขาระบบ PACs ได

ผลกระทบจากปญหา

ไมสามารถเรียกดูภาพรังสีจากระบบ PACs ของโรงพยาบาลได

สาเหตุ

เกิดปญหาจากระบบการทํางานของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด

เกิดปญหาจากระบบการทํางานของระบบ PACs ของโรงพยาบาล

การแกไขปญหา

หากเกิดปญหาจากระบบการทํางานของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด ใหแจงวิศวกรดูแลเครื่อง

ประจําบริษัท Philips

หากเกิดปญหาจากระบบการทํางานของระบบ PACs ของโรงพยาบาล ใหแจงเจาหนาที่ดูแล

ระบบ PACs ของหนวยงาน

9.สารทึบรังสี คราบเลือดเปอนเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด อุปกรณตางๆ และบริเวณที่ทําหัตถการ

ผลกระทบจากปญหา

ทําใหเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด อุปกรณตางๆ และบริเวณที่ทําหัตถการไมสะอาด

สาเหตุ

การกระเด็น ตก หลน ของสารทึบรังสี และเลือด ขณะเตรียม หรือทําหัตถการ

การแกไขปญหา

หากเปนการเปอนของสารทึบรังสี ใหทําการเช็ด ทําความสะอาดดวยน้ําอุน จากนั้น ทําความ

สะอาดดวยแอลกอฮอล70% เพื่อฆาเชื้ออีกครั้ง

หากเปนการเปอนเลือด คราบเลือด ใหทําการเช็ดทําความสะอาดดวยน้ําเกลือ NSS 0.9%

จากนั้น ทําความสะอาดดวยแอลกอฮอล 70% เพื่อฆาเชื้ออีกครั้ง

นอกเหนือจากดังกลาวขางตน ใหทําความสะอาดดวยแอลกอฮอล70% เพื่อทําการฆาเชื้อ

Page 67: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

63

ขอเสนอแนะ แนวทางแกไขและพัฒนางาน

ดวยตระหนักถึงปริมาณรังสีที่ผูปวยจะไดรับ จากการรักษาโรคทางหลอดเลือดระบบประสาทเปนหัตถการทาง

รังสีรวมรักษาที่ใช เวลาในการตรวจนานเปนประเด็นทีไดรับความสนใจจากบุคลากรทางการแพทยทุกฝาย แนวปฏิบัติ

ตางๆ จึงถูกนําใช และจําเปนตองประเมินผล เพื่อพิจารณารูปแบบการพัฒนากระบวนการ ใหบริการทางรังสีรวมรักษา

อยางไรก็ตาม สิ่งที่ตองตกลงรวมกัน (Assumption) ในการกําหนดนิยาม (Definition) เพื่อการวัดเปรียบเทียบจะตอง

ตรงกัน และการทําการศึกษาเปรียบเทียบสถานการณตัดขวาง (Cross sectional comparative study) จะตองทํา

การเปรียบเทียบเปนระยะ นั่นคือประมาณทุก 2 - 3 ป เนื่องดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด

ที่มีภาวะเสื่อม ตามเวลา การปรับปรุงกระบวนการบริการ ชนิดของหัตถการที่มีการเพิ่มขึ้น รวมไปถึงทักษะของแพทย

ผูทําหัตถการที่เพิ่มสูงขึ้น ปจจัยตางๆ เหลานี้จะมีผลตอปริมาณรังสีที่ผูปวยจะไดรับมีการเปลี่ยนแปลง อาจเพิ่มขึ้นหรือ

นอยลงได ผูจัดทําจึงไดทําการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบปริมาณรังสีที่ผูปวยจะไดรับการรักษาโรคทางหลอดเลือดระบบ

ประสาทเปนหัตถการทางรังสีรวมรักษาที่ใชเวลาในการตรวจนาน3 โดยกําหนดนิยามดังนี ้

1. Long Procedure INR ไดแกหัตถการทางรังสีรวมรักษาที่ใชเวลาระหวางหัตถการเกินกวา 2 ชม.

2. เครื่องเอกซเรยหลอดเลือดโดยทั่วไปจะมี อุปกรณกรองรังสีภายใน (inherent filtration device) ไดแก 0.1

mm.Cu + 1.0 mm.Al สําหรับ selected exposure prefilter และ 0.4 mm.Cu + 1.0 mm.Al สําหรับ

selected fluoro prefilter และประมาณการปริมาณรังสีรั่วไหล (Isokerma map) จากแหงกําเนิดไมเกิน

0.87 mGy/hr ที่ระยะ 1 เมตรในทุกทิศทาง

โดยไดทําการศึกษาเปรียบเทียบแบบตัดขวางปริมาณรังสีที่ผูปวยไดรับจากหัตถการทางรังสี รวมรักษาระบบ

ประสาทที่ใชเวลานาน โดยรวบรวมขอมูลปจจุบันระหวาง ก.ค.-ส.ค. 2553 และเปรียบเทียบผานการวิเคราะหคาเฉลี่ย

คารอยและและการวิเคราะหแนวโนมกับฐานขอมูลปริมาณรังสีที่ผูปวยไดรับ ในป 2550

โดยในการศึกษานี้พบวาในปจจุบันหัตถการ INR of Dural AVF ใชเวลา fluoroscopic time: FT นานที่สุด

เฉลี่ย 74.67 นาที โดย FT ต่ําสุดมีคาเทากับ 24.32 นาทีสําหรับหัตถการ INR of CCF, INR of brain AVM มี FT นาน

ที่สุด 158.07 นาที หัตถการที่ผูปวยไดรับรังสีเฉลี่ยสูงสุดไดแกหัตถการ INR of Dural AVF โดยผูปวยไดรับปริมาณรังสี

เฉลี่ย 4544.41 mGy และ INR of Stroke เปน new procedure ที่มีแนวโนมผูปวยไดรับปริมาณรังสีสูง (max dose

AP=5233.89mGy, Max dose Lat=1873.29mGy)

3 วิชุดา สิริเมธาธโนปกรณ, วาทิต คุมฉายา, ปฏิยุทธ ศรีวิลาศ .ภาพปริมาณรังสีที่ผูปวยไดรับในหัตถการทางรังสีรวมรักษาระบบประสาทชนิดหัตถการที่ใช

เวลานาน: การเปรียบเทียบสถานการณตัดขวาง. วารสารชมรมรังสีเทคนิคและพยาบาลเฉพาะทางรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีรวมรักษาไทย, 2553 ; 4(2) :

80-87

Page 68: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

64

ตาราง 1 ปริมาณรังสีที่ผูปวยไดรับจําแนกตามหัตถการ ป 2553

ตาราง 2 ปริมาณรังสีที่ผูปวยไดรับจําแนกตามหัตถการ ป 2550

จากการเปรียบเทียบตัดขวาง พบวาในป 2553 หัตถการ INR of Dural AVF ใชเวลา fluoroscopic time: FT

นานที่สุดเฉลี่ย 74.67 นาที โดยที่ในป 2550 แสดงวา FT สูงสุดเกิดขึ้นในหัตถการ INR of Dural AVF เชนกัน โดยมี

เวลา FT ที่ใกลเคียง (83.03 นาที) โดย FT ต่ําสุดในป 2553 มีคาเทากับ 24.32 นาทีสําหรับหัตถการ INR of

CCF โดยที่ในป 2550 แสดงวา FT ในหัตถการ INR of CCF มีคาใกลเคียงกัน (23. 04 นาท)ี อยางไรก็ตามในป 2553

นี้ INR of brain AVM มี FT นานที่สุด 158.07 นาท ี

สําหรับปริมาณรังสีในป 2553 หัตถการที่ผูปวยไดรับรังสีเฉลี่ยสูงสุดไดแกหัตถการ INR of Dural AVF โดย

ผูปวยไดรับปริมาณรังสีเฉลี่ย 4544.41 mGy โดยในป 2550 หัตถการที่ผูปวยไดรับรังสีเฉลี่ยสูงสุดไดแกหัตถการ INR

for Aneurysm โดยมีคา 3344.96 mGy สําหรับสถานการณตัดขวางที่สําคัญในป 2553 คือการเกิดหัตถการใหม คือ

Page 69: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

65

INR of Stroke ที่มีแนวโนมที่ผูปวยนั้นไดรับรังสีในปริมาณสูง (max dose AP=5233.89mGy, Max dose

Lat=1873.29mGy, Max dose total=7107.18 mGy) ซึ่งจําเปนอยางยิ่งที่จะตองพิจารณากระบวนการในการใหการ

รักษาทั้งแบบ IA thrombolyisis, Endovascular angioplasty and stenting และ Endovascular

Thrombectomy ซึ่งจะมีระยะเวลาและวิธีการที่แตกตางกัน

ภาพ 1 แสดงปริมาณรังสีเปรียบเทียบในหัตถการตางๆ ในป พ.ศ.2553

จากภาพที่ 1 พบวาเมื่อเปรียบเทียบหัตถการทางรังสีหลอดเลือดระบบประสาทในป 2553 ปริมาณรังสีสูงสุดที่

ผูปวยไดรับในแนว AP, Lateral และโดยรวม เกิดจากหัตถการ INR of Dural AVF เนื่องจากในหัตถการนี้จะทําการอุด

หลอดเลือดที่มีการรั่วผิดปกติ ซึ่งโดยทั่วไปจะมีจุดรั่วหลายจุดจากหลอดเลือดหลายเสน และวัสดุในการอุดหลอดเลือด

มักจะเปน fibered coil ซึ่งตองใชการอุดที่ใหขดลวดอุดกันอยางแนนหนา เพื่อไมใหมีชองวางซึ่งเลือดจะไหลผานได จึง

จะเปนการรักษาผูปวยได ทําใหตองถายภาพทางรังสีเปนระยะเพื่อประเมินผลของการอุดขดลวดจนกวาจะได ผลเปนที่

นาพึงพอใจ ในขณะที่ INR of CCF มีระดับปริมาณรังสีที่ผูปวยไดรับเฉลี่ยต่ํากวาหัตถการอื่นๆ ในทุกดาน สําหรับ INR

of Stroke มีระดับปริมาณรังสีที่ผูปวยไดรับเฉลี่ยสูงเปนอันดับ 2 ทั้งๆ ที่เปนหัตถการชนิดใหม อยางไรก็ตามหาก

พิจารณาเฉพาะปริมาณรังสีที่ไดจาก lateral tube จะพบวามีปริมาณที่ต่ําใกลเคียงกัน เนื่องจากสวนใหญในการทําการ

รักษาผูปวย มักจะใช AP view เปนหลัก ซึ่งทําใหมีปริมาณรังสีที่แตกตางกันตามจํานวนการถายภาพและการฟลูโอโรส

โคป สําหรับ lateral view มีปริมาณรังสีใกลเคียงกันที่นอยกวา 1000 mGy

ภาพ 2 แสดงปริมาณรังสีเปรียบเทียบในหัตถการ INR of Aneurysm

Page 70: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

66

จากภาพที่ 2 พบวาหัตถการการรักษาโรคหลอดเลือดสมองโปงพองนั้นผูปวยไดรับปริมาณรังสี ลดลง ตางจาก

ป 2550 อยางมาก เนื่องจากเทคนิคและกระบวนการในหัตถการเปลี่ยนไป อยางไรก็ตามปริมาณรังสีที่ไดจาก AP view

มีปริมาณคงเดิม

ภาพ 3 แสดงปริมาณรังสีเปรียบเทียบในหัตถการ INR of Brain AVM

จากภาพที่ 3 พบวาหัตถการการรักษาโรคหลอดเลือดสมองผิดปกตินั้นผูปวยไดรับปริมาณรังสี ลดลง ตางจากป

2550 ไมมากนัก เนื่องจากเทคนิคและกระบวนการในหัตถการคอนขางคงที่ (stable stage)

ภาพ 4 แสดงปริมาณรังสีเปรียบเทียบในหัตถการ INR of CCF

จากภาพที่ 4 พบวาหัตถการการรักษาโรคหลอดเลือดที่บริเวณฐานสมองรั่วผิดปกตินั้น ผูปวยไดรับปริมาณรังสี

ไมแตกตางจากป 2550 เนื่องจากเทคนิคและกระบวนการในหัตถการคอนขางคงที่ (stable stage)

ภาพ 5 แสดงปริมาณรังสีเปรียบเทียบในหัตถการ INR of Dural AVF

Page 71: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

67

จากภาพที่ 5 พบวาหัตถการการรักษาโรคหลอดเลือดสมองรั่ว โดยปกตินั้นผูปวยจะไดรับปริมาณรังสี สูงขึ้น

กวาขอมูลจากป 2550 เนื่องจากเปาหมายเชิงการรักษาที่ตองการรักษาในรอยโรคหมดไป ซึ่งกลุมตัวอยางอาจมีความ

ยากในหัตถการสูง

ภาพ 6 แสดงปริมาณรังสีเปรียบเทียบในหัตถการ INR of Stroke

จากภาพที่ 6 พบวาหัตถการการรักษาโรคหลอดเลือดสมองอุดตันนั้นผูปวยไดรับปริมาณรังสี สูงมาก ซึ่งไมมี

ขอมูลจากป 2550 แตเมื่อเทียบวาเปนหัตถการใหมซึ่งตองใชขอมูลเปรียบเทียบ จึงไดนําขอมูลหัตถการอื่นๆจากป

2550 ซึ่งเริ่มมีการทําหัตถการ INR of stroke บาง มาเปรียบเทียบนั้น จะเห็นไดวามีความแตกตางกันในคาเฉลี่ย

อยางไรก็ตาม เนื่องจากเปาหมายเชิงการรักษาที่ตองการรักษาในรอยโรคหมดไป ซึ่งหัตถการกลุมนี้มีความยากใน

หัตถการสูง

จากดังกลาวขางตน ทําใหเห็นวา โดยทั่วไปหัตถการที่ใชเวลาในการตรวจนานยังคงเปน INR of Dural AVF

ทําใหมี Fluoroscopic time นานที่สุด แต INR of aneurysm ปริมาณรังสีที่ผูปวยไดรับเฉลี่ยลดลงเปน 2027 mGy

เนื่องจากมีการใชระบบ 3D Rotational Angiography เพื่อสรางภาพ 3 มิติของหลอดเลือด สามารถเลือกดูภาพหลอด

เลือดในมุมมองตางๆ และเห็นตําแหนงรอยโรคได รวมไปถึงการประมวลผลคาพารามิเตอรตางๆ ทําใหเสียเวลาในการ

วางแผนการรักษาระหวางหัตถการลดลง และ Smart Mask ซึ่งเปนระบบที่มาเสริมเติมตอระบบ roadmap ทําใหได

ภาพที่ชัดเจนในการทําหัตถการระหวางการ Superselection กระบวนการทางเทคนิคที่เพิ่มขึ้นที่นํามาใชในการทํา

หัตถการนี้ทําใหหัตถการมี การถายภาพทางรังสีลดลง และลดเวลาในการฟลูโอโรสโคปลง ขณะที่ INR of Dural AVF

ผูปวยไดรับปริมาณรังสีเพิ่มขึ้นจาก 2660 mGy มาเปน 4544.41 mGy ซึ่งผูปวยเสี่ยงตอภาวะผมรวงได ขณะที่การ

เปรียบเทียบกันของหัตถการ INR of Stroke เปนสิ่งจําเปนสําหรับการศึกษาตัดขวางในครั้งถัดไป เพื่อเปนคาปริมาณ

รังสีมาตรฐานแกผูปวยได และสรางความระมัดระวังแกแพทยและผูปฏิบัติงานในดานการปองกันอันตราย จากรังสีแก

ผูปวยใหสูงขึ้น

จากการศึกษาดังกลาวขางตน นอกจากเปนการศึกษาเกี่ยวกับปริมาณรังสีทีผูปวยจะไดรับในแตละหัตถการ

แลว ปริมาณรังสีที่ผูปฏิบัติงานในหองเอกซเรยระบบหลอดเลือดสมองและไขสันหลังนั้นก็สําคัญเชนกัน เนื่องจากตอง

ทําการปฏิบัติงานในบริเวณที่มีรังสีเกือบตลอดเวลา นอกจากการปองกันรังสีโดยวิธีการสวมชุดและอุปกรณปองกัน

รวมถึงอุปกรณประกอบอื่นๆ ภายในหองทําหัตถการซึ่งชวยปองกันรังสีไดแลว อีกสิ่งหนึ่งที่สําคัญคือ ตําแหนงบริเวณ

โดยรอบของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดก็มีความสําคัญเชนกัน เนื่องจากในแตละตําแหนงนั้น จะมีปริมาณรังสีที่แตกตาง

กันออกไป ดังตอไปนี ้

Page 72: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

68

Technique factors: Fluoroscopy 120kV, no additional filter

1. Normalized isokerma map at 1m (39.37 in.) above floor, for Allura Xper FD20/10,

frontal X-ray direction, with swivel out

2. Normalized isokerma map at 1.5 m (59.10 in.) above floor, for Allura Xper FD20/10,

frontal X-ray direction, with swivel out

3. Normalized isokerma map at 1m (39.37 in.) above floor, for Allura Xper FD20/10,

lateral X-ray direction, with swivel out

4. Normalized isokerma map at 1.5 m (59.10 in.) above floor, for Allura Xper FD20/10,

lateral X-ray direction, with swivel out

Page 73: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

69

Technique factors: Fluoroscopy 120kV, no additional filter

5. Normalized isokerma map at 1m (39.37 in.) above floor, for Allura Xper FD20/10 and

FD20/20, frontal X-ray direction, with swivel in

6. Normalized isokerma map at 1.5 m (59.10 in.) above floor, for Allura Xper FD20/10

and FD20/20, frontal X-ray direction, with swivel in

7. Normalized isokerma map at 1m (39.37 in.) above floor, for Allura Xper FD20/10 and

FD20/20, lateral X-ray direction, with swivel in

8. Normalized isokerma map at 1.5 m (59.10 in.) above floor, for Allura Xper FD20/10

and FD20/20, lateral X-ray direction, with swivel in

Page 74: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง
Page 75: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

บรรณานุกรม

1. เอนก สุวรรณบัณฑิต, วาทิต คุมฉายา, สมจิตร จอมแกว. รังสีรวมรักษาระบบประสาท : เรื่องเลาของความสําเร็จ.

วารสารชมรมรังสีเทคนิคและพยาบาลเฉพาะทางรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีรวมรักษาไทย . 2551; 2(2): 113-120

2. เอนก สุวรรณบัณฑิต. จริยธรรมของรังสีเทคนิคเฉพาะทางรังสีรวมรักษา.วารสารชมรมรังสีเทคนิคและพยาบาล

เฉพาะทางรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีรวมรักษาไทย, 2553; 4(1): 55-64

3. วิชุดา สิริเมธาธโนปกรณ, วาทิต คุมฉายา, ปฏิยุทธ ศรีวิลาศ .ภาพปริมาณรังสีที่ผูปวยไดรับในหัตถการทางรังสี

รวมรักษาระบบประสาทชนิดหัตถการที่ใชเวลานาน: การเปรียบเทียบสถานการณตัดขวาง. วารสารชมรมรังสี

เทคนิคและพยาบาลเฉพาะทางรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีรวมรักษาไทย, 2553; 4(2): 80-87

4. ยุพิน จงศักดิ์สกุล, วิธวัช หมอหวัง, ตองออน นอยวัฒน, คง บุญคุม. การเตรียมอุปกรณสําหรับหัตถการทางรังสี

วิทยาหลอดเลือด. วารสารชมรมรังสีเทคนิคและพยาบาลเฉพาะทางรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีรวมรักษาไทย.

2550; 1(1): 26-31

5. Philips Healthcare. Allura Xper FD Series User Interface Document version 3.2. Instructions for

use. 1-334

6. Philips Healthcare. Allura Xper FD Series Basic Operation Document version 3.2. Instructions

for use. 1-146

7. Philips Healthcare. Allura Xper FD Series Accessories Document version 3.2. Instructions for

use. 1-70

8. Philips Healthcare. Allura Xper FD Series Extended Operation Document version 3.2.

Instructions for use. 1-155

9. Philips Healthcare. Allura Xper FD Series Basics Document version 3.0. Instructions for use. 1-

194

10. Philips Healthcare. Allura Xper FD Series – FlexVision XL & Roadmap Pro Document version

1.0. Addendum. 1-102

11. Philips Healthcare. Xper CT Release 2. Instructions for use. 1-272

12. http://www.gotoknow.org/blog/kena/434914

13. http://www.tsrt.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=53&Itemid=59

Page 76: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง
Page 77: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

ภาคผนวก

Page 78: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง
Page 79: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

ภาคผนวก ก

เครื่องเอกซเรยระบบหลอดเลือด

เครื่องเอกซเรยหลอดเลือดสมองและไขสันหลังที่ใชอยูในปจจุบัน คือ PHILIPS Allura Xper FD20/10 เปน

เครื่องเอกซเรยแบบสองผาน ชนิดสองระนาบ (Biplane Digital Subtraction Angiography)

สวนประกอบหลักของเครื่อง ไดแก

1. เครื่องเอกซเรยชนิดยึดติดกับพื้น (Floor Mounted X-Ray System หรือ Frontal Stand)

2. เครื่องเอกซเรยชนิดแขวนเพดาน (Ceiling Mounted X-Ray System หรือ Lateral Stand)

3. เตียงเอกซเรยแบบตั้งบนพื้น (Floor Mounted X-ray Table)

4. ระบบควบคุมขางเตียง (Table-side Control Panel) แบบปุม (Buttons) และแบบสัมผัส (Touch

screen)

5. สวิตซฉายรังสีเอกซเรยชนิดใชเทา (Foot switch)

6. จอแสดงผลชนิดแขวนเพดาน (Ceiling Mounted Monitors System)

7. รีโมทคอนโทรล (Remote control)

8. เครื่องมือและอุปกรณเสริม สําหรับเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด

Page 80: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

76

Floor Mounted and Ceiling Mounted X-Ray System

1. แสดงปุมที่ใชสําหรับเคลื่อนที่ Frontal and Lateral Standsดวยมือ

Page 81: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

77

Floor Mounted X-ray Table

เปนเตียงสําหรับทําหัตถการ ที่รังสีสามารถทะลุผานได และสามารถหมุนตามแกนได ±90 องศา (โดยใชการ

บังคับดวยมือ)

Page 82: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

78

Table-side Control Panels

ทําหนาที่ควบคุมการทํางานตางๆ ของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด, การเลือกรูปแบบการใชงานของเครื่อง รวม

ไปถึงสามารถทําการจัดการภาพสองมิติและสามมิติ

Page 83: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

79

Table-side Buttons Control Panel

แบงเปนสองสวน ไดแก

1. แผงควบคุม X-ray Systems และ X-ray Table

1. ปุมบังคับการเคลื่อนที่ของเตียงในแนวระนาบ

2. ปุมบังคับการเอียงเตียงเอกซเรยขึ้น-ลง ในแนวซาย-ขวา

3. ปุมบังคับการหมุนแกนของ Frontal Stand

4. ปุมบังคับทิศทาง X-ray Systems พรอมกัน

5. ปุมบังคับการหมุนแกนของ Lateral Stand

6. ปุมสําหรับจัดเก็บรูปแบบของเครื่อง1

7. ปุมสําหรับจัดเก็บรูปแบบของเครื่อง2

8. ปุมสําหรับเรียกรูปแบบของเครื่องที่จัดเก็บไว1

9. ปุมสําหรับเรียกรูปแบบของเครื่องที่จัดเก็บไว2

10. ปุมหยุดฉุกเฉิน (Emergency Stop)

11. ปุมยืนยันการเลือกรูปแบบการวางหลอดเอกซเรยแบบ

อัตโนมัต ิ(Accept Automatic Position Control)

12. ปุมบังคับทิศทางของ Lateral Stand

13. ปุมรีเซต

14. ปุมปรับระดับตัวรับภาพ (Flat Panel Detector) ของ

Lateral Stand

15. ปุมบังคับทิศทางของ Frontal Stand

16. ปุมปรับระดับตัวรับภาพ (Flat Panel Detector) ของ

Frontal Stand

17. ปุมบังคับการเอียงเตียงเอกซเรยขึ้น-ลง ในแนวหัว-เทา

18. ปุมบังคับหามการเคลื่อนที่ในแนวซาย-ขวา

19. ปุมปลดล็อกเตียง

Page 84: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

80

2. แผงควบคุมการฉาย X-ray และจัดการภาพ

20. ปุมปรับขนาดตัวรับภาพ (Magnification)

21. ปุมเลือก Fluoroscopy ระดับต่ํา

22. ปุมเลือก Fluoroscopy ระดับปกติ

23. ปุมเลือก Fluoroscopy ระดับสูง

24. ปุมการจับภาพ Fluoroscopy

25. ปุมเลือก subtract / non-subtract

26. ปุมเลือกภาพ Smart Mask

27. ปุมรีเซทสัญญาณเตือน

28. ปุมตั้งคาไปยังความกวางพื้นที่ฉาย X-ray

29. ปุมเลือกระบบการกําหนดเองหรืออัตโนมัต ิ

30. ปุมปรับชัตเตอร

31. ปุมปรับระดับตัวกรองรังสีดานซาย

32. ปุมปรับระดับตัวกรองรังสีดานขวา

33. ปุมเลือกการใชงาน X-ray System

Page 85: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

81

Touch Screen Control Panel

แผงควบคุมแบบระบบสัมผัส จะติดตั้งอยู 2 จุด ไดแกภายในหองทําหัตถการบริเวณขอบเตียงเอกซเรย และใน

หองปฏิบัติงาน สามารถใชในการเลือกรูปแบบการทําหัตถการ รูปแบบการจัดการระบบเครื่องเอกซเรย เครื่องฉีดสาร

ทึบรังสี รวมไปถึงการจัดการภาพเอกซเรยหลอดเลือดทั้งแบบสองมิติและสามมิติ โดยหนาจอหลักจะมีลักษณะดังนี้

Touch Screen Control Panel จะแบงออกเปน 3 สวน ดังรูป ไดแก

1. แถบเมนูแสดงรายการหลัก (Main Task Menu)

2. แถบเลือกโปรแกรม และกระบวนการทํางาน (Application and Procedure Selection)

3. แถบเลือกฟงกชั่นตาง ๆ (Function Buttons Area)

Page 86: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

82

Acquisition

เปนสวนที่ใชในการเลือกรูปแบบการทําหัตถการ, บริเวณที่ตองการทําหัตถการ, การเลือกรูปแบบการฉายรังสี

เอกซเรย และเครื่องฉีดสารทึบรังสี

1. นาฬิกาจับเวลา

2. การเลือกใชงาน X-ray System

3. การใชงาน Dual Fluoro

4. ระบบ Roadmap

5. Enable/Disable X-ray

6. On/Off การใชงานรวมกับเครื่องฉีดสารทึบรังสี

อัตโนมัติ

7. ตั้งเวลาการเริ่มฉายรังส ี

8. การฉายเอกซเรยแบบหลายคา

9. Subtract / Non-subtract

10. แสดงรายละเอียดหนาถัดไป

11. แสดงรายละเอียดหนาที่ผานมา

12. เลือกรูปแบบใหสอดคลองกับการจัดผูปวยบนเตียงเอกซเรย

13. ล็อก หรือปลดล็อกการเคลื่อนทีข่องเตียงเอกซเรย

Page 87: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

83

APC (Automatic Position Control)

เปนการเรียกใชรูปแบบของ X-ray Systems ที่ตั้งกําหนดคาไว หรือไดทําการบันทึกคาไวในขณะทําหัตถการ

APC Sequence เปนการเรียกใชรูปแบบของ X-ray Systems ที่ตั้งกําหนดคาไว

APC Reference เปนการเรียกใชรูปแบบของ X-ray Systems ที่ไดบันทึกคาไวในขณะทําหัตถการ

หลังจากทําการเลือกคา APC แลว ใหกดปุม ACC ที่ Table-side Buttons Control Panel เพื่อเขาสูระบบ

การจัดการ X-ray System

Page 88: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

84

Processing

ใชสําหรับการจัดการภาพเอกซเรยในเบื้องตน หรือระหวางทําหัตถการ

1. ปรับความเขม ความสวาง และความคมชัด

2. การขยาย และการเลื่อนตําแหนงภาพ

3. Show Physio

4. การรีเซท

5. Subtract / Non-subtract

6. การเลือกกําหนดภาพหลักการ subtraction (Remask)

7. Pixel shift (การเลื่อนปรับเพื่อแกไขภาพsubtract)

8. Landmarking (การแสดงภาพโครงรางจริงเปนพื้นหลัง)

9. การเลือก X-ray System

Page 89: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

85

QA (Quantitative Analysis)

ใชในการวิเคราะหคาตางๆ เพื่อนํามาเปนขอมูล หรือใชประกอบการทําหัตถการ

1. การเลือกใช X-ray System

2. เริ่มตนเลือกใหม

3. ยืนยันการเลือก

4. ฟงกชั่นวัดระยะ ขนาด (Measurement)

5. ฟงกชั่นวิเคราะหคาตางๆ ของหลอดเลือดใน

รางกาย (Quantitative Vascular Analysis)

Page 90: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

86

Tools

ตัวเลือกเครื่องมือหลัก ประกอบดวยปุมการเขาถึงเมนูยอยตางๆ จากซอฟตแวร ของระบบควบคุม

1. ระบบการจัดการภาพสามมิต ิ(3DRA)

2. ระบบการนําทางโดยใชภาพสามมิต ิ(3D Roadmap)

3. ระบบการจัดการภาพเอกซเรยคอมพิวเตอรแบบ Xper (Xper CT)

4. การเตรียมความพรอมของเครื่องกอนการทํางาน (Xper-CT Calibration)

Page 91: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

87

Foot Switches

ใชในการฉาย X-ray Fluoroscope, การเลือกใช X-ray System, การถายภาพ X-ray แบบตอเนื่องหรือแบบ

รูปเดี่ยว รวมไปถึงการเปด-ปด หลอดไฟสําหรับใชในหัตถการดวย

1. การฉาย X-ray ทั้ง Frontal และ Lateral X-ray system (Fluoroscope Biplane)

2. เลือก X-ray System

3. เปด-ปด หลอดไฟที่ใชในการทําหัตถการ (Operating Room Light)

4. Fluoroscope Frontal X-ray System

5. การถายภาพเอกซเรยแบบตอเนื่อง

6. Fluoroscope Lateral X-ray System

7. การถายภาพ X-ray รูปเดี่ยว (Single Shot)

Page 92: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

88

Ceiling Mounted Monitors System

ชุดจอมอนิเตอรภายในหองทําหัตถการ เปนชนิดแขวนเพดานแบบมีรางเลื่อน เพื่อความสะดวกในการใชงาน

สามารถปรับระดับความสูงได

ประกอบดวยจอมอนิเตอรทั้งหมด 7 จอภาพ ดังนี้

1. Live monitor ขาว-ดํา จํานวน 2 จอภาพ

2. Reference monitor ขาว-ดํา จํานวน 4 จอภาพ

3. 3D Display Monitor สี จํานวน 1 จอภาพ

1. Frontal X-ray System Live Monitor

2. Lateral X-ray System Live Monitor

3. Frontal X-ray System Reference Monitors

4. Lateral X-ray System Reference Monitors

5. 3D Display Monitor

Page 93: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

89

Live Monitor

ประกอบดวยรายละเอียดตางๆ ดังภาพ

1. ชื่อและนามสกุล ของผูปวย

2. แถบแสดงสถานะซึ่งจะอยูในสถานะ Acquisition เสมอ

3. แถบแสดงคาในสถานะที่กําลังดําเนินการ (Active Acquisition setting)

4. พื้นที่แสดงภาพ

Page 94: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

90

The Active Acquisition Setting

เปนแถบแสดงคาในสถานะที่กําลังดําเนินการ อยูดานซายของ Live Monitor ซึ่งแสดงรายละเอียดคาตางๆ

ดังนี ้

1. แสดงสถานะพรอมปฏิบัติงาน หากไมพรอมปฏิบัติงาน

จะแสดง

2. แสดงสถานะ การ Fluoro หรือ Exposure X-ray

3. จะแสดงขึ้นเมื่อหลอดเอกซเรยมีความรอนที่สูงเกินไป

4. Acquisition Input Focus

5. แสดงคาปริมาณรังสีในขณะทําการถายภาพ X-ray หรือ

ขณะทําการ Fluoroscope

6. – 7. แสดงคามุมการหมุนของหลอด X-ray

8. แสดงระยะ SID (Source to Image Distance)

9. แสดงขนาด FD (Flat Detector Size)

10. พื้นที่แสดงขอความแนะนํา หรือคําเตือน

11. แสดงสถานะของ X-ray Table

12. แสดงการเลือก X-ray System และ Frame rate Exposure

13. แสดงสถานะ Fluoroscopy

14. แสดงเวลาที่ใชในการ Fluoroscopy

15. แสดงคาผลคูณปริมาณรังสีตอพื้นที่ (Dose Area Product :

DAP)

16. แสดงคาปริมาณรังสีในตัวกลางอากาศ (Air kerma : AK)

17. นาฬิกา/นาฬิกาจับเวลา

Page 95: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

91

Reference Monitor

ประกอบดวยรายละเอียดตางๆ ดังภาพ

1. ชื่อและนามสกุล ของผูปวย

2. แถบแสดงสถานะซึ่งจะอยูในสถานะ Reference

3. แถบแสดงขอมูลผูปวยประกอบดวย หมายเลขผูปวย,วันเดือนปเกิด และวันที่ทําหัตถการ

4. พื้นที่แสดงภาพและรายละเอียด

ภาพ Ref.จะแสดงไดเมื่อมีการเรียกภาพ (Pre Fetch) ขึ้นเทานั้น และในกรณีที่ใชงานในฟงกชั่น Dual Fluoro

จะไมสามารถทําการเรียกภาพ Ref.หรือมองเห็นภาพ Ref.ใน Reference Monitor 1 ได หากตองการ แสดงภาพ Ref.

ในขณะใชงาน Dual Fluoro ใหทําการเรียกภาพ Ref.ขึ้นแสดงใน Reference Monitor 2

Page 96: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

92

Tele-commander (Remote Control)

รีโมทคอนโทรล ใชสําหรับการจัดการภาพเอกซเรย ภาพ Fluoroscopy และการใชงานตางๆ ตามฟงกชั่นการ

ใชงานที่ม ี

1. ปุมเลื่อนภาพที่แสดงจากชุดภาพที่ตองการทีละ 1 ภาพ

2. ปุมเลื่อนชุดภาพที่ตองการแสดงทีละ 1 ชุดภาพ

3. ปุมเขาสูแถบฟงกชั่นการจัดการภาพ X-ray Fluoroscopy*

4. ปุมเลือกฟงกชั่นการจัดการภาพ X-ray Fluoroscopy

5. ปุมพิเศษสําหรับการยายภาพจาก Ref. Monitor 1 ไปยัง Ref.

Monitor 2

Page 97: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

93

แถบฟงกชั่นการจัดการภาพ X-ray Fluoroscopy ที่ใชรวมกับ Remote Control

1. ชื่อและนามสกุล ของผูปวย

2. แถบแสดงสถานะของภาพ

3. แถบฟงกชั่นการจัดการภาพ X-ray และ

ภาพ Fluoroscope

4. พื้นที่แสดงภาพและรายละเอียด

1. File Replay

2. Run Replay

3. File Overview

4. Run Overview

5. Select Reference 1

6. Select Reference 2

7. Flag/Un-flag Image

8. Flag/Un-flag Run

9. Copy Image to Reference 1

10. Copy Run to Reference 1

11. Copy Image to Reference 2

12. Copy Run to Reference 2

13. Fixed Zoom

14. Select File (Tab Selection)

15. Subtract/Non-subtract

16. Subtract Remask

17. Lower Speed

18. Higher Speed

19. Delete Run

20. Toggle Active Monitor

Page 98: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

94

เครื่องมือและอุปกรณเสริม สําหรับเครื่องเอกซเรยระบบหลอดเลือด

1. เครื่องฉีดสารทึบรังสีระบบอัตโนมัติ (Automatic Contrast Injector)

เปนเครื่องฉีดสารทึบรังสีอัตโนมัติระบบดิจิตอล สามารถปรับตั้งคาปริมาณสารทึบรังสี , Flow rate และ ความ

ดันได โดยใชงานรวมกับกระบอกฉีดสารทึบรังสีปริมาตร 150 มิลลิลิตร

2. ฉากตะกั่วบริเวณดานขางเตียง และฉากตะกั่วแขวน

Page 99: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

95

3. เบาะรองนอน และอุปกรณชวยหนุนอวัยวะ

1. เบาะรองนอนสําหรับทําหัตถการ ทําจากวัสดุที่ยอมใหรังสีทะลุผานได ไมมีสวนผสมของลาเท็กซ

2. อุปกรณรองรับศีรษะและลําคอ เพื่อใหผูปวยทาที่เหมาะสม ลดการเคลื่อนไหว และรูสึกสบายในขณะ

ทําหัตถการ

3. อุปกรณรองรับแผนหลัง เพื่อใหผูปวยทาที่เหมาะสม และรูสึกสบายในขณะทําหัตถการ

4. อุปกรณรองรับแขน

4. อุปกรณรองแขนสําหรับทําหัตถการ

Page 100: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

96

5. อุปกรณชวยกรองรังสีเอกซเรยบริเวณขาและเทา

6. เสาน้ําเกลือและอุปกรณยึดเสาน้ําเกลือกับเตียงเอกซเรย

7. โคมไฟสําหรับทําหัตถการ

8. อุปกรณรัดตรึงศีรษะ

Page 101: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

97

หองปฏิบัติงาน

นักรังสีการแพทย จะใชหองปฏิบัติงาน (Workstation) นี้ ปฏิบัติงานในสวนของการจัดการดานขอมูลผูปวย

การเตรียมความพรอมของเครื่อง การจัดการภาพทางรังสีทั้งสองมิติ และสามมิติ ทั้งนี้ยังสามารถควบคุมโปรแกรมการ

ทํางานของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด ผานหองปฏิบัติงานไดดวย

หองปฏิบัติงาน ประกอบดวย

1. ระบบควบคุม (Control Panel) แบบปุม (Buttons) และแบบสัมผัส (Touch screen)

2. เครื่องสื่อสารผานเสียงระหวางหองทําหัตถการและหองปฏิบัติงาน (Intercom)

3. สวิตซฉายรังสีเอกซเรยชนิดใชมือ (Hand switch)

4. รีโมทคอนโทรล (Remote Control)

5. ชุดจอแสดงขอมูล และภาพทางรังสี (Data & Review Monitors System)

6. คอมพิวเตอรสําหรับจัดการและประมวลผลภาพทางรังสีสองมิติ (2D Image Processing

Computer System)

7. คอมพิวเตอรสําหรับจัดการและประมวลผลภาพทางรังสีสามมิติ (3D Image Processing

Computer System)

Page 102: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

98

Buttons Control Panel

1. ปุมเปดเครื่อง

2. ปุมปดเครื่อง

3. ปุม File Overview

4. ปุมเลือกหนาตอไป หรือยอนกลับครั้งละ1หนา

5. ปุมเลือกชุดภาพถัดไป หรือยอยกลับ

6. ปุม Enable/Disable X-ray

7. ปุมรีเซทสัญญาณเตือน

8. ปุม Inverse ภาพทางรังส ี

9. ปุมเลือกคงคาระดับการขยายภาพ

10. ปุมรีเซท

11. แถบหมุนปรับระดับความคมชัดของภาพ (Enhancement)

12. แถบหมุนปรับระดับความสวางของภาพ (Brightness)

13. แถบหมุนปรับระดับความเขมของภาพ (Contrast)

14. ปุมเลือกภาพถัดไป หรือยอนกลับ

15. ปุม Run Overview

16. แถบหมุนเลื่อนภาพและเพิ่มอัตราความเร็วของการแสดงชุด

ภาพที่อยูบนจอแสดงผลขณะนั้น

17. ปุม File Replay

18. ปุม Run Replay

Touch Screen Control Panel

มีลักษณะ และฟงกชั่นการทํางาน เหมือนแผงควบคุมระบบสัมผัสในหองทําหัตถการ (Table-side Touch

Screen Control Panel)

Intercom

1. ปุมเปด/ปดเครื่อง

2. ปุม Push to Talk

3. ปุมเพิ่มหรือลดความดังของเสียง

Page 103: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

99

Hand Switch

1. สําหรับการถายภาพทางรังสีทั้งแบบตอเนื่อง หรือแบบภาพเดี่ยว

Tele-Commander (Remote Control)

มีลักษณะ และฟงกชั่นการทํางาน เหมือนรีโมทคอนโทรลในหองทําหัตถการ

Page 104: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

100

Data & Review Monitors System

Data Monitor System

เปนจอมอนิเตอร แสดงขอมูลการทําหัตถการของของผูปวย ประกอบดวยรายละเอียดตางๆ ดังภาพ

1. แถบเมนู 2. แถบพื้นที่ควบคุมการทํางาน 3. แถบรายละเอียดในสวนตางๆ ของผูปวยรายนั้นๆ 4. ปุมกําหนดการทํางาน 5. แถบแสดงขอมูลและคาการทํางานตางๆ ของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด

Page 105: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

101

Menu Bar & Workflow Control Area

1. Schedule แสดงขอมูลของผูปวย ที่ไดรับการลงทะเบียนจากระบบลงทะเบียนของหนวยงาน โดยจะ

แสดงขอมูลดังนี้

1. แถบรายการเลือกเพื่อการสืบคนแบบเฉพาะเจาะจง

2. แถบแสดงรายการขอมูลตางๆของผูปวย ที่ปรากฏ

3. ขอมูลผูปวยที่ไดรับการลงทะเบียนจากระบบลงทะเบียนของหนวยงาน

2. Prepare แสดงขอมูลชนิดของการตรวจ และรูปแบบ ขั้นตอนที่ใชในการทําหัตถการ

3. Acquisition แสดงโฟลเดอรของผูปวยที่กําลังทําหัตถการขณะนี้

แถบ Patient แสดงขอมูลผูปวยที่กําลังทําหัตถการ

Page 106: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

102

แถบ Exam แสดงชนิด รูปแบบและสวนที่ทําหัตถการ วันและเวลาที่เริ่มทําหัตถการ

แถบ Run Log แสดงขอมูล เวลา ขั้นตอนการทําหัตถการ

รวมไปถึงรูปแบบการใชเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดดวย

4. Review แสดงรายการผูปวยที่ไดรับการทําหัตถการและประมวลผลแลว ซึ่งสามารถเรียกขอมูลมาแสดง

ใหมได

5. Report แสดงรายงานขอมูลขั้นตอนการทําหัตถการ รวมถึงคาปริมาณรังสีที่ผูปวยไดรับดวย

Page 107: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

103

6. Archive เปนสวนที่ใชในการคัดลอกขอมูลของผูปวยที่ไดเลือกไว เพื่อสงไปยังฐานขอมูลอื่นๆ

แถบ Transfer จะแสดงขึ้นหลังจากการเลือกขอมูลผูปวยที่จะทําการคัดลอกแลว

โดยสามารถเลือกปลายทางที่ตองการจะสงขอมูลในรายการ Destination

แถบ View Queue จะแสดงลําดับขั้นการสงขอมูลที่คัดลอกไปยังปลายทางที่สงขอมูล

7. Open examination folder เปนโฟลเดอรที่กําลังเปดใชงานอยูในขณะนั้น

8. Close examination folder เปนโฟลเดอรที่ปดการใชงานอยูในขณะนั้น

9. Active examination Indicator จะแสดงสัญลักษณ เพื่อแสดงใหเห็นวาโฟลเดอรดังกลาว

ของผูปวยที่กําลังทําหัตถการขณะนี ้

10. – 11. Examination folder Mover สําหรับใชเลื่อนโฟลเดอรของผูปวยที่เลือกไปยังแถบเมนูที่ตองการ

Page 108: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

104

Acquisition and Geometry Display เปนแถบแสดงขอมูลและคาการทํางานตางๆ ของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด ซึ่งประกอบดวยสวนตางๆ ดังนี้

1. แสดงเวลา หรือนาฬิกาจับเวลา

2. แสดงขอความเพื่อแจงความพรอมของเครื่อง การเตือน และความผิดพลาดที่เกิดขึ้น

3. แสดงรูปแบบการ X-ray หรือ Fluoroscopy และเวลาในการทําการ Fluoroscope

4. แสดงคาแสดงคาผลคูณปริมาณรังสีตอพื้นที่ (Dose Area Product : DAP)

5. แสดง X-ray system ที่กําลังใชงาน, สัญลักษณความพรอมในการใชงานเครื่องมือและรูปแบบตางๆ,

สัญลักษณแสดงขณะทําการ Fluoroscope หรือ หรือ X-ray, สัญลักษณเตือนตามระยะเวลาการ

Fluoroscope

6. แสดงคาการทํางานตางๆ ของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือด

7. แสดง X-ray system และคาการฉาย X-ray ในขณะนั้น

8. แสดงคาการ Fluoroscope ในขณะนั้น

9. แสดงคาปริมาณรังสีในตัวกลางอากาศ (Air kerma : AK)

Page 109: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

105

Review Monitors System

เปนจอมอนิเตอร 2 ชุด ภายในหองปฏิบัติงาน ใชสําหรับแสดงภาพจาก Frontal และ Lateral X-ray

System ในขณะทําหัตถการ และสามารถเรียกดูภาพเอกซเรยหลอดเลือดยอนหลังไดดวย

ทั้งนี้ยังสามารถใชฟงกชั่นเครื่องมือตางๆ จากแถบเครื่องมือที่แสดงบนจอ ในการจัดการภาพเอกซเรยหลอด

เลือด เพื่อประกอบการทําหัตถการ และการรายงานผลอีกดวย

ประกอบดวยรายละเอียดตางๆ ดังภาพ

1. ชื่อและนามสกุล ของผูปวย

2. แถบแสดงสถานะของจอแสดงภาพ

3. แถบแสดงขอมูลผูปวยประกอบดวย หมายเลขผูปวย,วันเดือนปเกิด และวันที่ทําหัตถการ

4. แถบฟงกชั่นตางๆทีใ่ชในการจัดการภาพ X-ray และ ภาพ Fluoroscope

5. แสดงชื่อฟงกชั่นที่กําลังใชงาน

6. แถบควบคุมและจัดการภาพ

7. พื้นที่แสดงภาพและรายละเอียด

Page 110: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

106

Function Buttons

แถบปุมฟงกชั่นบนจอภาพแสดงผล ใชเพื่อจัดการกับไฟลภาพ X-ray และ ภาพ Fluoroscope ที่ใชงานอยู

บนหนาจอ ปุมจะปรากฏขึ้นหากสามารถใชไดในไฟลภาพที่ปรากฏ

แถบปุมฟงกชั่น ประกอบดวยฟงกชั่นตางๆ ดังนี้

1. Step Run Reverse

2. Step Image Reverse

3. Stop Replay

4. Start Run Replay

5. Step Image Forward

6. Step Run Forward

7. Frame Rate

8. Run Replay

9. File Replay

10. Run Overview

11. File Overview

12. Biplane Processing ON/OFF

13. Subtraction ON/OFF

14. Remask

15. Pixel Shift

16. Landmarking

17. View Trace

18. Contrast,Brightness,Edge enhancement

19. Electronics Shutter

20. Zoom/Pan

21. Reset Settings

22. Fluoro Store

23. Flag

24. File Handling

25. Delete Run

26. Reset Settings Extended

27. Annotation

28. Overlay Text

29. Show Physio

30. Copy Image to Photo File

31. Print

32. Measurement

33. Quantitative Vascular Analysis

34. Quantitative Coronary Analysis

35. Left Ventricle Analysis

Page 111: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

107

อุปกรณสําหรับทําหัตถการ4

นักรังสีการแพทย มีหนาที่ในการชวยดูแลการจัดเตรียมอุปกรณสําหรับการทําหัตถการ โดยมีวัตถุประสงค

เพื่อใหการเตรียมอุปกรณเปนไปอยางถูกตอง ครบถวน และปราศจากเชื้อตามมาตรฐานสากล และเพื่อใหมีการเรียกใช

อุปกรณจากคลังกลางอยางเหมาะสม

อุปกรณสําหรับหัตถการ ไดแก

1. Angiographic basic set หมายถึงชุดอุปกรณพื้นฐานสําหรับหัตถการทางรังสีวิทยาหลอดเลือด บรรจุใน

ถาดสแตนเลส ที่ผานกระบวนการปราศจากเชื้อแลว แบงออกเปน 2 แบบ ไดแก standard set สําหรับ

หัตถการปกติ และ mini set สําหรับหัตถการอื่นๆ

Standard angiographic basic set

1. ถาด Stainless ใหญ ขนาด 13” * 21” 1 ใบ

2. Sponge forceps 1 ตัว

3. Arterial forceps (ตรง 1 โคง 1) 2 ตัว

4. Towel clip 2 ตัว

5. Non – Tooth forceps 1 ตัว

6. Tooth forceps 1 ตัว

7. อาง Stainless กลม เสนผานศูนยกลาง 10” 1 ใบ

8. ชามรูปไต 1 ใบ

9. ถวย Stainless ใหญ ขนาด 250 ml 2 ใบ

10. ถวย Stainless เล็ก ขนาด 30 ml 1 ใบ

11. ถวย Stainless เล็ก ขนาด 15 ml 1 ใบ

12. แกวยาน้ํา ขนาด 30 ml 1 ใบ

13. สําลี 1 หอ 10 กอน

14. ผากอซ 10 แผน

15. ผาขาวขวางเตียง 2 ผืน

16. เทปกระดาษติดผา 1 แผน

17. ผาขนหนูเช็ดมือแพทย 2 ผืน

18. ผาหอเซทขนาด 50”*50” 1 ผืน

19. เชือกผูกเซท 1 เสน

20. เทป Sterile 1 แผน

4 ยุพิน จงศักดิ์สกุล, วิธวัช หมอหวัง, ตองออน นอยวัฒน, คง บุญคุม. การเตรียมอุปกรณสําหรับหตัถการทางรังสีวิทยาหลอดเลือด. วารสารชมรมรังสีเทคนิค

และพยาบาลเฉพาะทางรังสวีิทยาหลอดเลือดและรังสีรวมรักษาไทย. 2550; 1(1): 26-31.

Page 112: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

108

Mini angiographic basic set

1. ถาด Stainless เล็ก ขนาด 7” * 12” 1 ใบ

2. Sponge forceps 1 ตัว

3. Arterial forceps (ตรง 1 โคง 1) 2 ตัว

4. Towel clip 2 ตัว

5. Non – Tooth forceps 1 ตัว

6. Tooth forceps 1 ตัว

7. อาง Stainless กลม เสนผานศูนยกลาง 5” 1 ใบ

8. ชามรูปไต 1 ใบ

9. ถวย Stainless ใหญ ขนาด 250 ml 2 ใบ

10. ถวย Stainless เล็ก ขนาด 30 ml 1 ใบ

11. แกวยาน้ํา ขนาด 30 ml 1 ใบ

12. สําลี 1 หอ 10 กอน

13. ผากอซ 10 แผน

14. ผาขาวขวางเตียง 2 ผืน

15. เทปกระดาษติดผา 1 แผน

16. ผาขนหนูเช็ดมือแพทย 2 ผืน

17. ผาหอเซทขนาด 50”*50” 1 ผืน

18. เชือกผูกเซท 1 เสน

19. เทป Sterile 1 แผน

2. Additional equipments หมายถึงอุปกรณที่จะตองเปดเพิ่มเขาไปในชุดหัตถการเมื่อเปดถามอุปกรณแลว

ไดแก เข็ม,Introducer sheath เปนตน

3. Catheter-guide wire หมายถึง สายสวนหลอดเลือดและสายลวดนํา ซึ่งจะเลือกใชตามการกําหนดของรังสี

แพทยหรือแพทยประจําบาน

4. Contrast media หมายถึงสารทึบรังสีกลุม non ionic contrast media ซึ่งจะเลือกใชระดับความเขมขน

ตามชนิดของหัตถการ แบงออกเปน 3 กลุม คือ 300, 320 และ 350 mg/L

5. Cast and accessories

Page 113: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

ภาคผนวก ข

หนาที่ของนักรังสีการแพทยในหองทําหัตถการปลอดเชื้อ

นักรังสีการแพทยหรือผูปฏิบัติงานรังสีเทคนิคทําหนาที่ดูแลการปลอดเชื้อของเครื่องเอกซเรยหลอดเลือดและ

หองหัตถการ ดังนี้

1. ใสปลอกพลาสติกปลอดเชื้อ (charlotte) ที่ Table-side Control Panels

2. ใสปลอกพลาสติกปลอดเชื้อ (charlotte) คลุม Flat Panel Detector ของ Frontal และ Lateral X-ray

Systems

3. พันผาขาวปลอดเชื้อที่ฉากตะกั่ว

4. ดูแลการทําความสะอาดหองหัตถการและการขจัดคราบเลือด สารคัดหลั่งตางๆ หลังเสร็จหัตถการ

Page 114: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

110

หนาที่ของนักรังสีการแพทย ในการเตรียมผูปวยกอนทําหัตถการ

1. ชวยพยาบาลในการตรวจสอบระบุตัวผูปวยกอนทําหัตถการ รวมถึงเรื่องการแพยาหรือสารทึบรังสี

2. จัดทาผูปวยใหอยูในทาที่เหมาะสม ในการทําแตละหัตถการ โดยปรึกษารังสีแพทย หรือวิสัญญีแพทยใน

กรณีตองไดรับการวางยาสลบ เพื่อใหไดทาที่ถูกตองและไมเกิดภาวะแทรกซอนระหวางหรือหลังทําหัตถการ

โดยแบงตามอวัยวะที่ตองการทําหัตถการ คือ

1. สําหรับหัตถการเพื่อตรวจหรือรักษาผูปวยโรคหลอดเลือดในสมอง หรือบริเวณศีรษะ

1. จัดทาผูปวยนอนราบบนเตียงทําหัตถการ รองดวยอุปกรณหนุนรองบริเวณหลังไหลและศีรษะ

2. วางศีรษะลงในอุปกรณรองคอและศีรษะ ซึ่งจะทําใหศีรษะผูปวยอยูในทาตรงพอดี

3. จัดหนาใหตรง รัดดวยอุปกรณรัดตรึงศีรษะ ใสที่วางแขนบริเวณขอศอกของผูปวยสองขาง

2. สําหรับหัตถการเพื่อตรวจหรือรักษาผูปวยโรคหลอดเลือดบริเวณแขนและมือ

1. กรณีที่ตองการจัดวางแขนไวเหนือศีรษะ

1. ใหจัดทาผูปวยนอนราบบนเตียงทําหัตถการ ที่รองดวยแผนเสริมความยาวเตียง

2. ผูปวยนอนต่ําลงมากวาระดับหัวเตียงประมาณ 1.5 ฟุต

3. ใหผูปวยนอนชิดขอบเตียงในดานตรงขามกับดานที่ตองการทําหัตถการ

4. ยกแขนข างที่ ทํ าหั ตถการขึ้ นวาง เหนื อศี รษะ โดยไม ให เ หยี ยดตรึ งมาก เกิ น ไป

ใสที่วางแขนบริเวณขอศอกของผูปวยทั้งสองขาง

Page 115: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

111

2. กรณีที่ตองการจัดวางแขนไวขางลําตัว

1. ใหจัดทาผูปวยนอนราบบนเตียงทําหัตถการ ที่รองดวยแผนเสริมความยาวเตียง

2. วางอุปกรณรองแขนสําหรับทําหัตถการ ในดานที่ตองการทําหัตถการ

3. ใหผูปวยนอนชดิขอบเตียงในดานตรงขามกับดานที่ตองการทําหัตถการ

4. วางแขนลงบริเวณอุปกรณรองแขนสําหรับทําหัตถการ

5. ใสที่วางแขนบริเวณขอศอกของผูปวยทั้งสองขาง

3. สําหรับหัตถการเพื่อตรวจหรือรักษาผูปวยโรคหลอดเลือดบริเวณขาและเทา

1. กรณีนอนหงาย

1. ใชแผนเสริมความยาวเตียงเสริมเตียงทําหัตถการ

2. จัดผูปวยนอนหงายโดยใหเทาอยูทางปลายเตียงดานหลอดเอกซเรย

3. ใหผูปวยหนุนหมอนตามปกติ

4. ใสอุปกรณชวยกรองรังสีเอกซเรย สําหรับทําหัตถการบริเวณขาและเทา

5. ใสที่วางแขนบริเวณขอศอกของผูปวยทั้งสองขาง

Page 116: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

112

2. กรณีนอนคว่ํา

1. ใชแผนเสริมความยาวเตียงเสริมเตียงทําหัตถการ

2. จัดผูปวยนอนคว่ําโดยใหเทาอยูทางปลายเตียงดานหลอดเอกซเรย

3. นําหมอนมารองบริเวณศีรษะ ใหผูปวยนําแขนวางได

4. นําหมอนอีกใบวางรองบริเวณสะโพก เผื่อใหไมเกิดการกดบริเวณหนาทอง

5. ใสอุปกรณชวยกรองรังสีเอกซเรย สําหรับทําหัตถการบริเวณขาและเทา

6. ใสที่วางแขนบริเวณขางเตียงเพื่อกันผูปวยตกเตียง

4. สําหรับหัตถการเพื่อรักษาผูปวยโดยวิธีใสซีเมนตในกระดูกสันหลัง

1. ใชแผนเสริมความยาวเตียงเสริมเตียงทําหัตถการ

2. จัดผูปวยนอนคว่ําโดยใหศีรษะอยูทางดานหลอดเอกซเรย

3. นําหมอนแรกมารองบริเวณศีรษะ ใหผูปวยนําแขนวางได

4. นําหมอนใบที่สองวางรองบริเวณสะโพก เผื่อใหไมเกิดการกดบริเวณหนาทอง

5. นําหมอนใบที่สามวางรองบริเวณขอเทาของผูปวย

6. ใสที่วางแขนบริเวณขางเตียงเพื่อกันผูปวยตกเตียง

3. ในกรณีตองการจัดทาผูปวยนอกเหนือจากทาพื้นฐานแลว ใหทําการปรึกษารังสีแพทยกอนเพื่อใหไดทาที่

ถูกตองเหมาะสม และปลอดภัย

Page 117: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

ภาคผนวก ค

Page 118: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

114

Page 119: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

115

Page 120: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

116

Page 121: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

117

Page 122: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

118

Page 123: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

119

Page 124: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

120

Page 125: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

121

Page 126: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

122

Page 127: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

123

Page 128: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

124

Page 129: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

125

Page 130: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

126

Page 131: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

127

Page 132: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

128

Page 133: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

129

Page 134: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

130

Page 135: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

131

Page 136: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

132

Page 137: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

133

Page 138: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

134

Page 139: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

135

Page 140: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

136

Page 141: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

137

Page 142: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

138

Page 143: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

139

Page 144: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

140

Page 145: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

141

Page 146: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

142

Page 147: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

143

Page 148: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

144

Page 149: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

145

Page 150: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

146

Page 151: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

147

Page 152: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

148

Page 153: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

149

Page 154: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

150

Page 155: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

151

Page 156: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

152

Page 157: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

153

Page 158: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

154

Page 159: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

ภาคผนวก ง

Page 160: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

156

Page 161: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

157

Page 162: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

158

Page 163: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

159

Page 164: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

160

Page 165: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

161

Page 166: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

162

Page 167: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

163

Page 168: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

164

Page 169: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

165

Page 170: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

166

Page 171: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

167

Page 172: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

168

Page 173: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

169

Page 174: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

170

Page 175: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

171

Page 176: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

172

Page 177: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

173

Page 178: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

174

Page 179: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

175

Page 180: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

176

Page 181: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

177

Page 182: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

178

Page 183: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

179

Page 184: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

180

Page 185: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

181

Page 186: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

182

Page 187: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

183

Page 188: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

184

Page 189: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

185

Page 190: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

186

Page 191: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

187

Page 192: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

188

Page 193: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

189

Page 194: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

190

Page 195: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

191

Page 196: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

192

Page 197: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

193

Page 198: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

194

Page 199: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

195

Page 200: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

196

Page 201: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

197

Page 202: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

198

Page 203: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

199

Page 204: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

200

Page 205: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

201

Page 206: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

202

Page 207: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

203

Page 208: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

204

Page 209: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

205

Page 210: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

206

Page 211: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

207

Page 212: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

208

Page 213: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

209

Page 214: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

210

Page 215: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

211

Page 216: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

212

Page 217: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

213

Page 218: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

214

Page 219: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

215

Page 220: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

216

Page 221: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

217

Page 222: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

218

Page 223: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

219

Page 224: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

220

Page 225: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

221

Page 226: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

222

Page 227: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

223

Page 228: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

224

Page 229: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

225

Page 230: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

226

Page 231: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

227

Page 232: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

228

Page 233: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

229

Page 234: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

230

Page 235: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

231

Page 236: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง

232

Page 237: คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การควบคุมห้องเอกซเรย์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง