13
การพัฒนาระบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ ในเขตพื้นที่บริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11นครศรีธรรมราช วีรวรรณ บุญวงศ์ * , ปฏิญญา ระเบียบเลิศ **และนิธิกานต์ สุภาพ *** ศูนย์อนามัยที่11 นครศรีธรรมราช บทคัดย่อ การวิจัยเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจาง จากขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ ในเขตพื้นที่บริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที11 นครศรีธรรมราช ประชากรที่ศึกษา เป็นสตรีตั้งครรภ์ที่มารับบริการ ในคลินิกฝากครรภ์ ก่อน 20 สัปดาห์ และมีภาวะโลหิตจาง จานวน 30 ราย มีกิจกรรมในรูปแบบการเฝ้าระวัง ภาวะโลหิตจาง จานวน 6 ครั้ง ตามเวลาที่นัดมาฝากครรภ์ คือ ครั้งแรกที่มา ฝากครรภ์ 20 สัปดาห์ 26 สัปดาห์ 31 สัปดาห์ 36 สัปดาห์ และ 38 สัปดาห์ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจาก แบบสอบถามพฤติกรรมการรับรู้ภาวะโลหิตจางและด้านการปฏิบัติตัวในการรับประทานอาหารและยาเพื่อแก้ไขปัญหา ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ แบบสังเกตหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางที่มารับบริการที่แผนกฝากครรภ์ และแบบ สังเกตการณ์ติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ ที่มีภาวะโลหิตจาง ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน(อสม.) ในชุมชน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ Paired t-Test ผลการศึกษาพบว่า หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็ก มีพฤติกรรมที่ดีขึ้น อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 หลังจากได้รับการดูแลโดยระบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางของหญิงตั้งครรภ์ ที่มาฝากครรภ์ในคลินิกฝากครรภ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที11 นครศรีธรรมราช เป็นการพัฒนาระบบที่สามารถนาไปใช้ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในหน่วยงาน โดยการนาไป ประยุกต์ให้เหมาะสมกับพื้นที่และความสอดคล้องของวัฒนธรรมชุมชนนั้นๆ ในการแก้ไขปัญหา โลหิตจางและ ภาวะแทรกซ้อนในหญิงตั้งครรภ์ ขณะคลอด หญิงหลังคลอด ตลอดจนถึงทารกหลังคลอดที่กินนมแมหรืออาจนาไป ปรับใช้กับหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์ คาสาคัญ : พัฒนาระบบการเฝ้าระวัง ภาวะโลหิตจางจากการ ขาดธาตุเหล็ก สตรีตั้งครรภ์ *พยาบาลวิชาชีพชานาญการ ศูนย์อนามัยที11 นครศรีธรรมราช ** พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที11 นครศรีธรรมราช *** พยาบาลเทคนิคชานาญงาน ศูนย์อนามัยที11 นครศรีธรรมราช

* , ปฏิญญา ระเบียบเลิศ **และนิธิ ...hpc11.go.th/owch/wp-content/uploads/2019/05/veerawan.pdf2.เคร องม อท ใช ในการว

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: * , ปฏิญญา ระเบียบเลิศ **และนิธิ ...hpc11.go.th/owch/wp-content/uploads/2019/05/veerawan.pdf2.เคร องม อท ใช ในการว

การพัฒนาระบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ ในเขตพื้นที่บริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11นครศรีธรรมราช

วีรวรรณ บุญวงศ์* , ปฏิญญา ระเบียบเลิศ **และนิธิกานต์ สุภาพ***

ศูนย์อนามัยที่11 นครศรีธรรมราช บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาผลของการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ ในเขตพ้ืนที่บริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช ประชากรที่ศึกษา เป็นสตรีตั้งครรภ์ที่มารับบริการ ในคลินิกฝากครรภ์ ก่อน 20 สัปดาห์ และมีภาวะโลหิตจาง จ านวน 30 ราย มีกิจกรรมในรูปแบบการเฝ้าระวัง ภาวะโลหิตจาง จ านวน 6 ครั้ง ตามเวลาที่นัดมาฝากครรภ์ คือ ครั้งแรกท่ีมาฝากครรภ์ 20 สัปดาห์ 26 สัปดาห์ 31 สัปดาห์ 36 สัปดาห์ และ 38 สัปดาห์ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจาก แบบสอบถามพฤติกรรมการรับรู้ภาวะโลหิตจางและด้านการปฏิบัติตัวในการรับประทานอาหารและยาเพ่ือแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ แบบสังเกตหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางที่มารับบริการที่แผนกฝากครรภ์ และแบบสังเกตการณ์ติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ ที่มีภาวะโลหิตจาง ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ าหมู่บ้าน(อสม.) ในชุมชน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ Paired t-Test ผลการศึกษาพบว่า

หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็ก มีพฤติกรรมที่ดีขึ้น อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 หลังจากได้รับการดูแลโดยระบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางของหญิงตั้งครรภ์ ที่มาฝากครรภ์ในคลินิกฝากครรภ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช

เป็นการพัฒนาระบบที่สามารถน าไปใช้ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในหน่วยงาน โดยการน าไปประยุกต์ให้เหมาะสมกับพ้ืนที่และความสอดคล้องของวัฒนธรรมชุมชนนั้นๆ ในการแก้ไขปัญหา โลหิตจางและภาวะแทรกซ้อนในหญิงตั้งครรภ์ ขณะคลอด หญิงหลังคลอด ตลอดจนถึงทารกหลังคลอดที่กินนมแม่ หรืออาจน าไปปรับใช้กับหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนอ่ืนๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์

ค าส าคัญ : พัฒนาระบบการเฝ้าระวัง ภาวะโลหิตจางจากการ ขาดธาตุเหล็ก สตรีตั้งครรภ์ *พยาบาลวิชาชีพช านาญการ ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช

** พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช *** พยาบาลเทคนิคช านาญงาน ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช

Page 2: * , ปฏิญญา ระเบียบเลิศ **และนิธิ ...hpc11.go.th/owch/wp-content/uploads/2019/05/veerawan.pdf2.เคร องม อท ใช ในการว

Development of surveillance System For Improve Iron Deficiency Anemia among Pregnant Women Receiving Antenatal Care At Health Promoting Hospital, Health Center 11

In Nakhon si Thammarat province, Thailand : Operation research Veerawan Bunwong* , Patinya Rabiablert** and Nitikan Supap***

Health center region 11 Nakhon si Thammarat

Abstract The aim of this study was to investigate Development of surveillance System For Improve Iron Deficiency Anemia among Pregnant Women Receiving Antenatal Care At Health Promoting Hospital, Health Center 11. This study employed operation research method to collect the data. The participants of the study were 30 pregnant women with anemia who were before 20 weeks of gestation on the first antenatal care visit at Health Promoting Hospital, Health Center 11, and were received antenatal care at antenatal care clinic. The research instruments of this study consisted of a questionnaire and observation form. The questionnaire was administered to all participants, thirty participants were observe by the researcher, and the researcher was recorded. The results from the questionnaires were analyzed quantitatively by using the SPSS program. The Paired t-Test was employed in the analysis of data. The research finding were as follows:

Anemia pregnant women who received the iron deficiency program had better on self-care behavior, with statistical significance at the .01 level.

This program should be promoted to take care anemia pregnant women at ANC clinic. Apply for your area and culture of community for solve the anemia problem and complication in pregnancy women at ANC, LR, PP and newborn who get breast feeding ,to apply for GDM, Preeclampsia in pregnant women. Keywords : Development of surveillance System For Improve, Iron Deficiency Anemia, Pregnant Women

Page 3: * , ปฏิญญา ระเบียบเลิศ **และนิธิ ...hpc11.go.th/owch/wp-content/uploads/2019/05/veerawan.pdf2.เคร องม อท ใช ในการว

บทน า ภาวะโลหิตจางเป็นภาวะผิดปกติของเลือดที่พบบ่อยท่ีสุดในหญิงตั้งครรภ์ซึ่งระบบต่างๆของร่างกายจะมีการ

เปลี่ยนแปลงปริมาณเลือดที่เพ่ิมข้ึนไม่ได้สัดส่วนกับการเพ่ิมของเม็ดเลือดแดงและเป็นปัญหาทางสาธารณสุขของประเทศที่ก าลังพัฒนา รวมทั้งประเทศไทยภาวะโลหิตจางในขณะตั้งครรภ์ เป็นสาเหตุท าให้เพ่ิมอัตราการเจ็บป่วย และอัตราตายของมารดา จากการติดเชื้อ ตกเลือด และภาวะหัวใจล้มเหลว นอกจากนี้พบว่ามีความสัมพันธ์กับการแท้งบุตร การคลอดก่อนก าหนด ทารกแรกเกิดน้ าหนักตัวน้อย และเพ่ิมอัตราตายปริก าเนิด สาเหตุของภาวะโลหิตจางที่พบบ่อยในหญิงตั้งครรภ์ คือการขาดธาตุเหล็ก โฟเลต โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก(Iron Deficiency) จากการส ารวจขององค์การอนามัยโลกปี 20111 พบว่าหญิงตั้งครรภ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีภาวะซีดร้อยละ38 และในประเทศไทยข้อมูลจาก HDC ในปีงบประมาณ 2558 - 2560 พบว่าภาวะซีดของหญิงตั้งครรภ์อยู่ที่ ร้อยละ 17.43,17.30และ 17 ตามล าดับ ส่วนในเขตบริการสุขภาพที่ 11 ตั้งแต่ปงีบประมาณ 2558-2560 พบว่าอัตราโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ในการเจาะเลือดครั้งที่ 1 อยู่ที่ ร้อยละ 18.22 ,18.19 และ 19.23 ตามล าดับ

จากผลการด าเนินงานในเขตพ้ืนที่บริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพศูนย์อนามัยที่11ตั้งแต่ปี 2558-2560 พบว่าอัตราโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ในการเจาะเลือดครั้งที่1 ร้อยละ20.4,18.64 และ22.36 ตามล าดับซึ่งตัวชี้วัดส าคัญในการด าเนินงานอนามัยแม่และเด็กคืออัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ในการเจาะเลือดครั้งที่1ไม่เกินร้อยละ10 ดังนั้นผู้วิจัยจึงใช้แนวคิดการมีส่วนร่วมของหญิงตั้งครรภ์ครอบครัวและชุมชนเพ่ือให้มีการฝากครรภ์ ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ขึ้น2 รวมทั้งการ ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติตามแผน และร่วมประเมินผล เพ่ือการลดภาวะซีดที่เกิดข้ึนในหญิงตั้งครรภ์ วัตถุประสงค ์ เพ่ือศึกษาผลของการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ ในเขตพ้ืนที่บริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช กรอบแนวคิดการศึกษา

ระบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจาง จากขาดธาตุเหล็ก

-พฤติกรรมของหญิงตั้งครรภ ์-ระดับฮีมาโตครติใกล้คลอด

หญิงตั้งครรภ ์-ฝากครรภ์ก่อน 20 สัปดาห ์

-ฝากครรภ์ครั้งแรกHct˂33%หรือHb<11gms -มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตเุหล็ก

ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

Page 4: * , ปฏิญญา ระเบียบเลิศ **และนิธิ ...hpc11.go.th/owch/wp-content/uploads/2019/05/veerawan.pdf2.เคร องม อท ใช ในการว

วิธีการด าเนินงาน/วิธีการศึกษา/ขอบเขตงาน การศึกษาครั้งนี้เป็นการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ ในเขตพ้ืนที่บริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช ดังรูป

แสดงแนวทางการดูแล/เฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงต้ังครรภ์ ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช (เดิม)

เพ่ือจะน ารูปแบบของระบบมาดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีขั้นตอนในการด าเนินงานวิจัย ดังนี้

1.ก าหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นหญิงตั้งครรภ์ ที่เข้ามาฝากครรภ์ ในคลินิกฝากครรภ์ โรงพยาบาลส่งเสริม

สุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ในคลินิกฝากครรภ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช ก่อน 20 สัปดาห์ ในช่วงเดือนตุลาคม 2559 ถึง เดือนกันยายน 2560 ทีมี่ผลการตรวจความเข้มข้นของเลือดผิดปกติในครั้งแรก คือมีฮีโมโกลบิล(Hb)มีค่าน้อยกว่า 11 กรัม/เดซิลิตร หรือ ฮีมาโตคริต (Hct) มีค่าน้อยกว่า ร้อยละ 33 โดยมีสาเหตุมาจากการขาดธาตุเหล็กและมีผลการตรวจค่าฮีโมโกลบินหรือค่าฮีมาโตคริต จ านวน 2 ครั้ง ห่างกันไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์และมีเกณฑ์การคัดออกจากกลุ่มตัวอย่าง(Exclusion criteria) ดังนี้ 1)เป็นโรคธาลัสซีเมีย 2)เป็นโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องที่ได้รับยาต้านไวรัส 3)มีผลการคัดกรองโรคธาลัสซีเมีย Positive 4) มีการตั้งครรภ์ทารกแฝด 5) หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่ได้ฝากครรภ์อย่างต่อเนื่องตามนัด 6)หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มีเลขบัตรประชาชน 13 หลัก 7)หญิงตั้งครรภ์ที่มีความบกพร่องทางปัญญาหรือจิต 2.เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีดังนี้ 1)แบบสอบถามพฤติกรรมด้านการรับรู้ต่อภาวะโลหิตจางและการปฏิบัติตัวในการรับประทานอาหารและยาเพ่ือแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางที่ ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วน

ตอนที่ 1 ข้อมูลพ้ืนฐานส่วนบุคคลของหญิงตั้งครรภ์ ประกอบด้วย การศึกษา อาชีพ รายได้ ค่าดรรชนีมวลกาย ความเข้มข้นของเลือด โรคประจ าตัว ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์

ตอนที่ 2 พฤติกรรมด้านการรับรู้ต่อภาวะโลหิตจาง ของหญิงตั้งครรภ์ ประกอบด้วย ด้านความเสี่ยง จ านวน 4 ข้อ ด้านความรุนแรง จ านวน 3 ข้อ ด้านการป้องกัน จ านวน 3 ข้อ ด้านอุปสรรค จ านวน 3 ข้อ

Page 5: * , ปฏิญญา ระเบียบเลิศ **และนิธิ ...hpc11.go.th/owch/wp-content/uploads/2019/05/veerawan.pdf2.เคร องม อท ใช ในการว

ตอนที่ 3 พฤติกรรมด้านการปฏิบัติตัวในการรับประทานอาหารและยาเพื่อการแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจาง ประกอบด้วย ด้านการรับประทานอาหาร จ านวน 4 ข้อ ด้านการรับประทานยาเสริมธาตุเหล็ก จ านวน 4 ข้อ ค าตอบเป็นตัวเลือก 5 ตัวเลือก คือ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด 2)แบบสังเกตหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางที่มารับบริการในแผนกฝากครรภ์ ประกอบด้วยหัวข้อที่ใช้ในการสังเกต 4 ข้อ โดยมีเกณฑ์ที่ให้ในระดับการสังเกต ได้เป็น 5 ระดับ คือ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยมาก 3)แบบสังเกต การติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางของอสม.ในชุมชน ประกอบด้วยหัวข้อที่ใช้ในการสังเกต 4 ข้อโดยมีเกณฑ์ที่ให้ในระดับการสังเกตได้เป็น 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยมาก 4)ระบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจาง 4.1 การใช้กราฟการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ 4.2 การดูแลตามแนวทางการดูแล /เฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ 4.3 โปรแกรมการแก้ไขปัญหา - การให้ค าปรึกษา การให้ความรู้/แนวทางปฏิบัติ - การบันทึกพฤติกรรมของหญิงตั้งครรภ์

แสดงรูปแบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงต้ังครรภ์คลินิกฝากครรภ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสขุภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช

3.การเก็บรวบรวมข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูลจาก แบบสอบถามพฤติกรรมการรับรู้ภาวะโลหิตจางและด้านการปฏิบัติตัวในการ

รับประทานอาหารและยาเพื่อแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ แบบสังเกตหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะ โลหิตจางที่มารับบริการที่แผนกฝากครรภ์ และแบบสังเกตการณ์ติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ าหมู่บ้าน(อสม.)ในชุมชน โดยเก็บรวบรวมในแผนกฝากครรภ์ เมื่อกลุ่มตัวอย่าง(หญิงตั้งครรภ์)ทีม่าฝากครรภ์ในคลินิกฝากครรภ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช

Page 6: * , ปฏิญญา ระเบียบเลิศ **และนิธิ ...hpc11.go.th/owch/wp-content/uploads/2019/05/veerawan.pdf2.เคร องม อท ใช ในการว

การให้บริการ ฝากครรภ์ครั้งแรก 20 สัปดาห ์ 26 สัปดาห ์ 32 สัปดาห ์ 36 สัปดาห ์ 38 สัปดาห ์

1.เจาะHct /CBC / / 2.ตอบแบบสอบถามและสังเกตพฤติกรรม

/ / / / / /

3.ให้ค าปรึกษา/ให้ความรู้ตามโปรแกรม

/ / / / / /

4.การวิเคราะห์ข้อมูล น าข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ทางสถิติ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีรายละเอียด ดังนี้

4.1.ข้อมูลทั่วไปของหญิงตั้งครรภ์วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ (frequency) ร้อยละ (percent) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation)

4.2.การเปรียบเทียบคะแนนพฤติกรรมด้านการรับรู้และการปฏิบัติตัวเพ่ือแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางของ หญิงตั้งครรภ์ และผลของความเข้มข้นของเลือด ก่อนและหลังการให้บริการ โดยใช้สถิติ Paired t-Test

4.3.หาอัตราการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านการรับรู้และการปฏิบัติตัวเพ่ือแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางของ หญิงตั้งครรภ์ที่ได้จากแบบสอบถาม เปรียบเทียบกับค่าคะแนนเฉลี่ยที่ได้จากแบบสอบถามก่อนการให้บริการ และคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมด้านการรับรู้และการปฏิบัติตัวที่สังเกตได้เปรียบเทียบกับค่าคะแนนเฉลี่ยที่ได้จาก การสังเกตพฤติกรรมก่อนการให้บริการ

ผลการด าเนินงาน/ ผลการศกึษา 1 ข้อมูลทั่วไปของหญิงตั้งครรภ์ ข้อมูลปัจจัยพ้ืนฐานส่วนบุคคลพบว่าส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วงมากกว่า20 ปีแต่น้อยกว่า 35 ปีร้อยละ 56.7 อายุน้อยกว่า 20 ปี ร้อยละ 43.3 และท่ีมีอายุน้อยกว่า 17 ปี ร้อยละ 10 ซึ่งจากกลุ่มตัวอย่าง พบว่าเป็นการตั้งครรภ์ครั้งแรกร้อยละ 50 ครั้งที่ 3ร้อยละ 23.3 ครั้งที่4ร้อยละ 16.7 และครั้งที่2 เพียงร้อยละ 10 ระดับการศึกษา ส่วนใหญ่จะอยู่ในระดับมัธยมต้น ร้อยละ 60 มัธยมปลายร้อยละ 23.3 ประถมศึกษาร้อยละ 10 ส าหรับอาชีพส่วนใหญ่จะเป็น แม่บ้านร้อยละ 66.7 ค้าขาย ร้อยละ16.7 รับจ้าง ร้อยละ 6.7 และในเรื่องของการฝากครรภ์ พบว่า ฝากครรภ์ส่วนใหญ่มาฝากครรภ์เมื่ออายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์ ร้อยละ 83.3 และน้อยกว่า 12 สัปดาห์ ร้อยละ 16.7รายได้ส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 5,000 – 10,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 56.7 ช่วง 10,000 – 15,000ต่อเดือนร้อยละ 13.3 น้อยกว่า 5,000 บาทต่อเดือนร้อยละ10และไม่มีรายได้ร้อยละ20 ส่วนใหญ่ค่า BMI อยู่ในเกณฑ์ปกติคือมากกว่า18.5แต่น้อยกว่า27ร้อยละ60น้อยกว่า18.5ร้อยละ 26.7 และมากกว่า27 ร้อยละ 13.3

Page 7: * , ปฏิญญา ระเบียบเลิศ **และนิธิ ...hpc11.go.th/owch/wp-content/uploads/2019/05/veerawan.pdf2.เคร องม อท ใช ในการว

ตารางท่ี 1 คะแนนเฉลี่ยและความเบี่ยงเบนมาตรฐาน พฤติกรรมที่มีผลต่อการขาดธาตุเหล็กของหญิงตั้งครรภ์ ที่ได้จากการตอบแบบสอบถามเม่ือมารับบริการในคลินิกฝากครรภ์ พฤติกรรมของหญิงตั้งครรภ์

ฝากครรภ์คร้ังแรก

(ก่อนการทดลอง)

อายุครรภ์ 18-20 สัปดาห์

อายุครรภ์ 24-26 สัปดาห์

อายุครรภ์ 30-32 สัปดาห์

อายุครรภ์ 35-36 สัปดาห์

อายุครรภ์ 37-38 สัปดาห ์

(หลังการทดลอง)

การรับรู้ ด้านความเสี่ยง

X 11.9 15.90 18.00 19.03 19.50 19.53 SD 2.45 2.73 2.01 1.29 .90 .86

ด้านความรุนแรง

X 8.10 10.87 13.07 14.03 14.30 16.03 SD 1.93 1.87 1.68 1.03 .75 8.89

ด้านการป้องกัน X 8.83 11.63 13.37 13.93 14.20 14.23 SD 1.72 1.77 1.65 1.33 1.09 1.07

ด้านอุปสรรค X 7.77 5.63 4.30 3.67 3.73 3.62 SD 1.96 1.86 1.70 1.26 1.53 1.42

การปฏิบัติตน ด้านการ

รับประทานอาหาร

X 9.97 12.40 14.27 14.77 14.83 14.40 SD 1.58 1.75 1.78 1.63 1.53 2.04

ด้านการรับประทานยาเสริมธาตุเหล็ก

X 10.67 15.07 17.27 18.37 18.47 18.17 SD 1.97 2.21 2.18 1.81 1.63 1.94

พฤติกรรมโดยรวม

X 9.53 11.91 13.37 13.96 14.17 14.37 SD .94 1.24 1.16 .95 .72 1.71

Page 8: * , ปฏิญญา ระเบียบเลิศ **และนิธิ ...hpc11.go.th/owch/wp-content/uploads/2019/05/veerawan.pdf2.เคร องม อท ใช ในการว

ตารางที่2 แสดงคะแนนเฉลี่ยและความเบี่ยงเบนมาตรฐาน พฤติกรรมที่มีผลต่อการขาดธาตุเหล็กของหญิง ตั้งครรภ์ที่ได้จากการสังเกต เมื่อมารับบริการในคลินิกฝากครรภ์

พฤติกรรมของหญิงต้ังครรภ์ ฝากครรภ์คร้ังแรก

(ก่อนการทดลอง)

อายุครรภ์ 18-20 สัปดาห ์

อายุครรภ์ 24-26 สัปดาห ์

อายุครรภ์ 30-32 สัปดาห ์

อายุครรภ์ 35-36 สัปดาห ์

อายุครรภ์ 37-38 สัปดาห ์

สนใจซักถาม X 3.03 3.93 4.43 4.87 4.9 4.93 SD .718 .691 .504 .346 .305 .254

เข้าใจในการรับประทานอาหาร X 2.93 3.83 4.57 4.8 4.73 4.57 SD .521 0592 .504 .407 .45 .504

เข้าใจในการรับประทานยาเสริมธาตุเหล็กได้ถูกต้องและครบถ้วน

X 2.83 3.03 4.50 4.83 4.8 4.80 SD .531 .592 .407 .373 .484 .484

สาม/ีครอบครัว เข้าใจ สนับสนุน X 3.03 3.83 4.07 4.40 4.47 4.50 SD .691 .592 .691 .675 .571 .572

พฤติกรรมโดยรวม X 2.95 3.85 4.39 4.72 4.72 4.70 SD .34 .39 .35 .23 .28 .29

จากตารางที่ 1และ2 พบว่าพฤติกรรมด้านการรับรู้ต่อภาวะโลหิตจางและด้านการปฏิบัติตัวในการรับประทาน

อาหารและยาเพ่ือแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางของหญิงตั้งครรภ์ที่ได้จากแบบสอบถามและพฤติกรรมของหญิงตั้งครรภ์ ที่ได้จากแบบสังเกตก่อนการให้บริการต่อเนื่องถึงช่วงเวลาที่ได้รับบริการมีค่าเฉลี่ยเพิ่มข้ึนและค่อนข้างจะคงที่ในไตรมาสที่3

Page 9: * , ปฏิญญา ระเบียบเลิศ **และนิธิ ...hpc11.go.th/owch/wp-content/uploads/2019/05/veerawan.pdf2.เคร องม อท ใช ในการว

2. การเปรียบเทียบคะแนนพฤติกรรมด้านการรับรู้และการปฏิบัติตัวเพ่ือแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางและผลของความเข้มข้นของเลือด ก่อนและหลังการให้บริการในคลินิกฝากครรภ์

ตารางที่ 3 แสดงการเปรียบเทียบพฤติกรรม ของหญิงต้ังครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางก่อนและหลังการให้ดูแลตาม

ระบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงต้ังครรภ์ที่ได้จากการแบบสอบถามพฤติกรรมทีไ่ด้จากการสังเกต (P˂0.01) กลุ่มทดลอง X SD t p-value

พฤติกรรม(จากแบบสอบถาม) ครั้งแรกที่มารับบริการ 9.53 .96 14.45 .000

ก่อนคลอด 37-38 สัปดาห ์ 14.37 1.71 พฤติกรรม(จากการสังเกต)

ครั้งแรกที่มารับบริการ ก่อนคลอด 37-38 สัปดาห ์

2.95 4.70

.34 .29

27.71

.000 พฤติกรรม(จากการสังเกตของอสม.

ในการเยี่ยมบา้น) หลังฝากครรภ์ 1สัปดาห ์

หลังเจาะเลือดครั้งท่ี2 1 สัปดาห ์

2.57 3.87

.73

.35

13.31

.000

ตารางที่ 4 แสดงการเปรียบเทียบความเข้มขน้ของเลือด ของหญงิต้ังครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง ก่อนและหลัง การให้ดูแลตามรูปแบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงต้ังครรภ์ที่ได้จากการเจาะเลือดเพ่ือตรวจ

ความเข้มข้นของเลือดโดยใช้สถิติ Pair t-Test (P˂0.01)

กลุ่มทดลอง X SD t p-value

ความเข้มข้นของเลือด ครั้งแรกที่มารับบริการ 30.67 2.07 13.31 .000

ครั้งที่ 2 (อายุครรภ์31-32 สัปดาห์)

35.07 1.60

จากตารางที่ 3 พบว่าจากแบบสอบถาม หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมด้านการรับรู้ต่อภาวะโลหิตจาง การปฏิบัติตัว

ในการรับประทานอาหารและยาเพื่อแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจาง จากแบบสังเกตพฤติกรรมของหญิงตั้งครรภ์ การสนใจซักถาม ความเข้าใจในการรับประทานอาหาร การรับประทานยาเสริมธาตุเหล็ก การสนับสนุนจากครอบครัวที่ก่อนการให้บริการ ต่อเนื่องถึงช่วงเวลาที่ได้รับบริการในคลินิกฝากครรภ์ และจากการสังเกตพฤติกรรมในเยี่ยมบ้านของอสม.หลังจากฝากครรภ์ 1 สัปดาห์และหลังจากเจาะเลือดครั้งที่ 2 1 สัปดาห์เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 หลังจากเข้าสู่ระบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ และตารางที่ 4 พบว่าผลการเจาะเลือดของหญิงตั้งครรภ์ก่อนการใช้ระบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ เมือ่เปรียบเทียบกับหลังการเข้าสู่ระบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ เพ่ิมข้ึนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Page 10: * , ปฏิญญา ระเบียบเลิศ **และนิธิ ...hpc11.go.th/owch/wp-content/uploads/2019/05/veerawan.pdf2.เคร องม อท ใช ในการว

3. หาอัตราการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านการรับรู้และการปฏิบัติตัวเพ่ือแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางของหญิงตั้งครรภ์ที่ได้จากแบบสอบถามและแบบสังเกตในคลินิกฝากครรภ์

การสร้างเส้นภาพแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง จากแบบสอบถามและจากการสังเกตเมื่อมารับบริการในคลินิกฝากครรภ์

จากภาพด้านบน พบว่าพฤติกรรมด้านการรับรู้ต่อภาวะโลหิตจางและด้านการปฏิบัติตัวในการรับประทาน

อาหารและยาเพ่ือแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางของหญิงตั้งครรภ์ที่ได้จากแบบสอบถาม และพฤติกรรมของหญิงตั้งครรภ์ ในการสนใจซักถาม ความเข้าใจในการรับประทานอาหาร การรับประทานยาเสริมธาตุเหล็ก ความเข้าใจและการสนับสนุนจากครอบครัวที่ได้จากแบบสังเกตก่อนการให้บริการ ต่อเนื่องถึงช่วงเวลาที่ได้รับบริการมีค่าเฉลี่ยเพิ่มข้ึนและค่อนข้างจะคงท่ีใน ไตรมาสที่ 3

สรุปผลการศึกษา รูปแบบเดิมในการเฝ้าระวังหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการในคลินิกและมีภาวะซีด คือ การใช้การดูแลตามแนวทางการดูแล/เฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ เมื่อทราบว่าผลการตรวจ CBC และมีการแจ้งผลในการฟังผลเลือดเมื่อมีการนัดเข้าร่วมโรงเรียนพ่อแม่รายกลุ่มของหญิงตั้งครรภ์ ใน Class I โดยมีการแจ้งผลเลือดรายบุคคล และให้ค าแนะน าพร้อมการรับประทานยาเสริมธาตุเหล็ก ก่อนการเข้าร่วมโรงเรียนพ่อแม่ Class I รายกลุ่ม และตรวจซ้ าอีกครั้งในการตรวจเลือดครั้งที่ 2 เมื่อตั้งครรภ์ได้ ประมาณ 31 สัปดาห์ ดังรูป

9.5

11.9

13.37

13.39

14.17

14.37

2.95 3.85

4.39 4.72

4.72

4.7

0

2

4

6

8

10

12

14

16

จากแบบสอบถาม

จากการสงัเกต

Page 11: * , ปฏิญญา ระเบียบเลิศ **และนิธิ ...hpc11.go.th/owch/wp-content/uploads/2019/05/veerawan.pdf2.เคร องม อท ใช ในการว

ระบบใหม่ในการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ คลินิกฝากครรภ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช มีดังนี้

1 แนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในระยะตั้งครรภ์ ในการฝากครรภ์ครั้ง

แรก มีการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียทั้ง OF DCIPและCBCเพ่ือดูแลและให้การรักษา เฝ้าระวังโดยการเจาะ Hct เมื่ออายุครรภ์ 26 สัปดาห์ และตรวจ CBC ซ้ าในอายุครรภ์ 31-32 สัปดาห์ และในคลินิกบริการฝากครรภ์ มีการใช้กราฟในการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์พร้อมทั้งดูแลตามแนวทางการดูแล/เฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์(แบบใหม่) นอกจากนี้มีโปรแกรมการแก้ไขปัญหาโดยการให้ค าปรึกษาการให้ความรู้/แนวทางปฏิบัติและการบันทึกพฤติกรรมของหญิงตั้งครรภ์

2. การดูแลในชุมชนเมื่อมีหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์จะมี group line : เครือข่ายแม่&เด็ก cup ในการส่งต่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ทั้งหมดและหญิงตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติเช่นภาวะซีด การดูแลต่อเนื่องอย่างอ่ืนในชุมชน เพ่ือส่งต่อข้อมูลในการติดตามเยี่ยม โดยเฉพาะภาวะซีดที่เกิดข้ึน อสม.จะเข้าไปเยี่ยมพูดคุยให้ความรู้ ให้ค าปรึกษา

Page 12: * , ปฏิญญา ระเบียบเลิศ **และนิธิ ...hpc11.go.th/owch/wp-content/uploads/2019/05/veerawan.pdf2.เคร องม อท ใช ในการว

สรุปได้ว่าการให้บริการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ คลินิกฝากครรภ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราชเดิม เมื่อเปรียบเทียบกับหลังการเข้าสู่ระบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ มีผลของความเข้มข้นของเลือด เพ่ิมข้ึนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เพราะระบบนี้ท าให้มีการร่วมกันแก้ไขปัญหาในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน เพ่ือไม่ให้เกิดภาวะซีด ลดความเสี่ยงของการตกเลือดและส่งผลต่อการลดภาวะซีดของทารกหลังคลอด อภิปรายผล

ในการศึกษาระบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ในเขตพ้ืนที่บริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11นครศรีธรรมราชพบว่าหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง เมื่อเข้าสู่ระบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์แล้วมีพฤติกรรม ทั้งทางการรับรู้ต่อภาวะโลหิตจาง พฤติกรรมด้านการปฏิบัติตัวในการรับประทานอาหารและยาเพื่อแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางดีขึ้น ซึ่งในการให้ค าปรึกษาและค้นหาปัญหา ประเมินเป็นรายบุคคลในขณะที่มารับบริการการตรวจครรภ์ตามนัด ตามช่วงอายุครรภ์ ท าให้เข้าถึงประเด็นปัญหา ข้อขัดข้องของแต่ละรายเมื่อได้น าไปปฏิบัติตัวที่บ้านแล้ว นอกจากนี้การประสานข้อมูลจากคลินิกถึงชุมชนโดยผ่านการเยี่ยมของอสม.ท าให้ได้เห็นจริงถึงสภาพในชุมชนที่หญิงตั้งครรภ์อยู่จริง เพราะในบางรายที่เจอปัญหาทางเศรษฐกิจ ปัญหาครอบครัว ก็ประสานทางผู้น าชุมชน หรือหน่วยงานที่มีอยู่เข้ามาช่วยเหลือตามสาเหตุ ปัญหาที่เกิดข้ึน ผลจาการศึกษาครั้งนี้สอดคล้องกับกาญจนา ศรีสวัสดิ์และคณะ3 พบว่าพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ด้านโภชนาการในระดับมาก สุนันท์ ศรีวิรัตน์4 พบว่าความรู้ของหญิงตั้งครรภ์เมื่อมาคลอดหลังการใช้รูปแบบการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กมีคะแนนความรู้ และพฤติกรรมเพ่ิมข้ึน จินนา รสเข้ม5

ได้ด าเนินการในการใช้โปรแกรมการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ เพ่ือลดภาวะโลหิตจางสามารถช่วยให้หญิงตั้งครรภ์มุสลิมที่มีภาวะโลหิตจางมีพฤติกรรมการดูแลตนเองดีขึ้น นอกจากนี้หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับความรู้หลังจากการใช้โปรแกรมการเปลี่ยนพฤติกรรมท าให้มีความรู้และพฤติกรรมในเรื่องอาหารเพ่ือป้องกันการเกิดภาวะซีดดีขึ้น ชบาไพร สุขกาย ุ6 พบว่าน้ าหนักของหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรกตามเกณฑ์และต่ ากว่าเกณฑ์ มีโอกาสเป็นโรคโลหิตจางมากขึ้นเป็น 2.03 เท่า7 ผู้วิจัยจึงได้พัฒนาโปรแกรมการแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ขึ้น โดยมีการปรับรูปแบบในการเฝ้าระวังตั้งแต่การฝากครรภ์ครั้งแรก มีการใช้กราฟการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ได้มีความกระตือรือร้นต่อการรับรู้ ทั้งด้านความเสี่ยง ความรุนแรง การป้องกันไม่ให้มีภาวะซีดมากข้ึน ทบทวนถึงปัญหาอุปสรรคเพื่อให้เกิดความตระหนักในการปฏิบัติตัวในการรับประทานอาหารและยาเพื่อแก้ไขปัญหาภาวะ โลหิตจาง เพราะการรับประทานอาหารและยาเป็นเรื่องส าคัญ ตามที่ วิภาวดี พิพัฒน์กุล7 ได้ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการและการรับประทานยาบ ารุงธาตุเหล็กต่อภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็กในสตรีตั้งครรภ์มีประสิทธิภาพในการเพ่ิมค่าฮีมาโตคริต สามารถลดจ านวนผู้ที่มีภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ได้ร่วมกับการใช้แนวทางการดูแลเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางที่มีอยู่แล้ว พร้อมทั้งข้อมูลที่ได้จากการบันทึกพฤติกรรมของหญิงตั้งครรภ์เพ่ือเป็นข้อมูลในการให้ค าปรึกษาการเพ่ิมเติมความรู้ แนวทางปฏิบัติที่เป็นไปได้ของหญิงตั้งครรภ์ในแต่ละรายไป ในการส่งต่อเมื่อกลับไปอยู่ในชุมชนของอสม. ทั้งการเข้าไปพูดคุยให้ก าลังใจ ให้ความรู้ ให้ค าปรึกษา ทั้งการตรวจสอบการรับประทานยา/อาหารแก่หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวที่บ้าน ท าให้เป็นการกระตุ้นเตือน และรับทราบถึงปัญหาอย่างเป็นกันเอง และการส่งกลับของข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ระหว่างชุมชนและคลินิกบริการฝากครรภ์ ท าให้มีความต่อเนื่องในการดูแลและประเมินปัญหาตรงตามความต้องการมากข้ึน สอดคล้องกับงานวิจัยของ จิตตระการ ศุกร์ดี8 พบว่าสตรี

Page 13: * , ปฏิญญา ระเบียบเลิศ **และนิธิ ...hpc11.go.th/owch/wp-content/uploads/2019/05/veerawan.pdf2.เคร องม อท ใช ในการว

ตั้งครรภ์ที่ได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมในระดับน้อยถึงปานกลางมีโอกาสเกิดภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กเป็น 2-3 เท่าของสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมในระดับมาก

ข้อเสนอแนะ/วิจารณ์ ในการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็กหญิงตั้งครรภ์ ด้านหญิงตั้งครรภ์ : ควรมีความพร้อมในการเฝ้าระวังภาวะซีดไม่ให้เกิดขึ้นตั้งแต่วัยเจริญพันธุ์ ด้านบุคลากรที่ให้บริการฝากครรภ์และดูแลหญิงตั้งครรภ์ : ควรมีการพัฒนาศักยภาพตนเองอย่างต่อเนื่อง ด้านระบบการจัดการ : ควรมีการทบทวน ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นและปรับปรุงแนวทางการป้องกันอย่างต่อเนื่อง กิตติกรรมประกาศ

การวิจัยครั้งนี้ส าเร็จลงได้ด้วยความร่วมมือ การสนับสนุนจากบุคคลากรในหน่วยงาน และเครือข่ายในชุมชน ผู้วิจัย จึงขอขอบคุณทุกท่านรวมถึง หญิงตั้งครรภ์กลุ่มท่ีให้ความร่วมมือในการตอบข้อมูลการวิจัยในครั้งนี ้

เอกสาร/เว็บไซต์อ้างอิง

1. Juan Pablo Peña-Rosas, Lisa Rogers and Gretchen A Stevens oversaw. The global prevalence of anaemia in 2011. World Health Organization 2015:4-10

2.Bruno de Benoist ,Erin Mclean,Ines Esli and Mary Cogswell ,editors.World wide prevalence of anemia 1993-2005,WHO Global database on anemia. n.p.;2008. 3.กาญจนา ศรีสวัสดิ์และคณะ.พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์.Songklanagarind Journal of Nursing 2018;38(2):95. 4.สุนันท์ ศรีวิรัตน์.การดูแลหญิงตั้งครรภ์ภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็ก.วารสารวิชาการเขต12 2558.26(1).96-102.

5.จินนา รสเข้มและอุบลวรรณ กุลรัตน์.ผลของโปรแกรมการพยาบาลแบบสนับสนุน และให้ความรู้ ต่อการดูแลตนเอง และความเข้มข้นของเลือด ในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง โรงพยาบาลร้องกวาง[อินเตอร์เน็ต].[เข้าถึงเมื่อ 11 มกราคม 2562]. เข้าถงึได้จาก: http://www.ronghosp.org/ha/images/doc/award-rongkwang/r2r-jinna.pdf

6.ชบาไพร สุขกาย,จิราพร เขียวอยู่.ปัจจัยที่เก่ียวข้องกับภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ อ าเภอ เขาพนม จังหวัดกระบี่.ศรีนครินทร์เวชสาร 2555;27(2):133.

7. วิภาวดี พิพัฒน์กุล . ผลของโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการและการรับประทานยาบ ารุงธาตุเหล็ก ต่อภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในสตรีตั้งครรภ์. J Nurse SCI 2015;33 :69-75

8..จิตตระการ ศุกร์ดี,ศิวิไลซ์ วนรัตน์วิจิตร.ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กของ สตรีตั้งครรภ์ ที่รับบริการฝากครรภ์ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล.วารสารวิจัยทาง วิทยาศาสตร์สุขภาพ 2559;2:1-7.