77
AEC Prompt 4 140 2,815 1,032 218 5,607 3,022 924 1,923 245 2,592 347 8,881 131 2,704 1,018 73 4,207 2,247 862 1,568 218 1,910 376 10,866 6,833 9,251 0 2,000 4,000 6,000 8,000 10,000 12,000 อาหารแชแข็ง อาหารแปรรูป สิ่งทอ เครื่องใชไฟฟา และอิเล็กทรอนิกส อัญมณี และเครื่องประดับ ยานยนตและชิ้นสวน เคมีภัณฑ ผลิตภัณฑยาง ผลิตภัณฑจากพลาสติก ผลิตภัณฑจากไม เหล็กและผลิตภัณฑจากเหล็ก อโลหะ อุตสาหกรรมอื่นๆ ลานเหรียญสหรัฐฯ 2551 2552 ภาพที4 มูลคาการสงออกสินคาอุตสาหกรรมของไทยไปตลาดอาเซียน (9) ที่มา : Global Trade Atlas 2. ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน ตําแหนงทางการตลาดของสินคาอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียนทีเปรียบเทียบกับประเทศคูแขงที่เปนอาเซียนดวยกัน พบวาบางสินคาประเทศไทยมี ตําแหนงตลาดที่สูงกวาคูแขง แตในบางสินคาก็มีตําแหนงตลาดที่ต่ํากวาคูแขง ซึ่ง รายละเอียดตําแหนงทางการตลาดของสินคาอุตสาหกรรมตางๆ มีดังนี2.1 อุตสาหกรรมอาหารแชแข็ง (1) การสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทยในตลาด อาเซียนและตลาดโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของ ประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2551 มูลคา การสงออกไปตลาดโลกมีทิศทางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ แตในป 2552 มูลคาการสงออก กลับมีทิศทางที่หดตัวลงเทากับรอยละ 6.0 และ 5.4 ตามลําดับ และสําหรับมูลคา การสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของไทยไปยังประเทศตาง ในอาเซียน

ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

  • Upload
    -

  • View
    780

  • Download
    4

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

4

140

2,81

5

1,03

2

218

5,60

7

3,02

2

924 1,

923

245

2,59

2

347

8,88

1

131

2,70

4

1,01

8

73

4,20

7

2,24

7

862 1,

568

218

1,91

0

376

10,8

66

6,83

3

9,25

1

0

2,000

4,000

6,000

8,000

10,000

12,000

อาหารแ

ชแข็ง

อาหารแ

ปรรูป

ส่ิงทอ

เครื่องใช

ไฟฟา แล

ะอิเล็กทร

อนิกส

อัญมณี แ

ละเครื่อง

ประดับ

ยานยนต

และชิ้นส

วนเคม

ีภัณฑ

ผลิตภัณ

ฑยาง

ผลิตภัณ

ฑจากพล

าสติก

ผลิตภัณ

ฑจากไม

เหล็กและ

ผลิตภัณ

ฑจากเห

ล็กอโลห

อุตสาหก

รรมอ่ืนๆ

ลานเหรียญสหรัฐฯ2551 2552

ภาพที่ 4 มูลคาการสงออกสินคาอุตสาหกรรมของไทยไปตลาดอาเซียน (9)

ที่มา : Global Trade Atlas

2. ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน ตําแหนงทางการตลาดของสินคาอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียนที่

เปรียบเทียบกับประเทศคูแขงที่เปนอาเซียนดวยกัน พบวาบางสินคาประเทศไทยมี

ตําแหนงตลาดที่สูงกวาคูแขง แตในบางสินคาก็มีตําแหนงตลาดที่ต่ํากวาคูแขง ซ่ึง

รายละเอียดตําแหนงทางการตลาดของสินคาอุตสาหกรรมตางๆ มีดังนี้

2.1 อุตสาหกรรมอาหารแชแข็ง

(1) การสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของ

ประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2551 มูลคา

การสงออกไปตลาดโลกมีทิศทางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ แตในป 2552 มูลคาการสงออก

กลับมีทิศทางที่หดตัวลงเทากับรอยละ 6.0 และ 5.4 ตามลําดับ และสําหรับมูลคา

การสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของไทยไปยังประเทศตาง ๆ ในอาเซียน

Page 2: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

5

พบวาในป 2548 ไทยมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งไปยังประเทศ

มาเลเซียมากที่สุด โดยมีมูลคาการสงออกเทากับ 35.9 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปน

สัดสวนรอยละ 47.0 รองลงมาคือ สิงคโปร และเวียดนาม ซ่ึงมีมูลคาการสงออก

เทากับ 29.9 และ 9.0 ตามลําดับ อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาขอมูลมูลคาการ

สงออกในป 2552 พบวาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทยใน

ตลาดอาเซียนพบวาตลาดที่ไทยสงออกมากที่สุดเปลี่ยนเปนประเทศเวียดนาม โดย

มีมูลคาการสงออกเทากับ 64.9 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ 49.5

ในขณะที่ประเทศมาเลเซียและสิงคโปรกลายเปนตลาดที่ไทยสงออกเปนอันดับ 2

และอันดับ 3 ตามลําดับ โดยในป 2552 มูลคาที่ไทยสงออกยังประเทศมาเลเซีย

และสิงคโปรเทากับ 35.0 และ 22.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนรอยละ 26.7 และ

16.8 (ตารางที่ 2)

ตารางที่ 2 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.0 0.0 0.1 0.1 0.1 -75.9 89.7 204.8 -36.9 41.5 0.0 0.0 0.1 0.1 0.1

กัมพูชา 0.2 0.4 0.4 3.4 0.3 -49.7 63.5 2.6 730.1 -90.5 0.3 0.5 0.3 2.4 0.2

มาเลเซีย 35.9 40.2 67.2 47.5 35.0 -7.1 11.8 67.3 -29.4 -26.2 47.0 47.3 46.8 34.0 26.7

พมา 0.1 0.1 1.0 1.1 5.2 -87.8 32.6 584.7 16.9 356.0 0.1 0.2 0.7 0.8 4.0

ฟลลิปนส 0.5 0.4 0.5 0.6 0.4 -48.9 -4.5 17.6 7.3 -27.2 0.6 0.5 0.4 0.4 0.3

สิงคโปร 29.9 26.2 26.1 24.4 22.1 -16.3 -12.5 -0.2 -6.8 -9.3 39.1 30.8 18.2 17.5 16.8

เวียดนาม 9.0 17.1 47.4 59.8 64.9 162.0 89.9 176.4 26.2 8.6 11.8 20.1 32.9 42.8 49.5

อินโดนีเซีย 0.3 0.1 0.4 0.5 1.2 -93.1 -76.8 467.3 9.4 154.3 0.4 0.1 0.3 0.3 0.9

ลาว 0.4 0.4 0.6 2.3 1.9 -12.8 6.3 41.4 283.1 -16.3 0.5 0.5 0.4 1.7 1.5

อาเซียนรวม 76.4 85.0 143.8 139.6 131.2 -10.5 11.2 69.1 -2.9 -6.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 1,876.6 2,126.9 2,553.5 2,577.6 2,438.2 7.4 13.3 20.1 0.9 -5.4 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

Page 3: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

6

(2) การสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน

จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทยและ

ประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ตั้งแตป 2548 เปนตนมา ประเทศที่มีมูล

การสงออกอุตสาหกรรมแชแข็งไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุด ไดแก อินโดนีเซีย โดย

ในป 2551 อินโดนีเซียมีมูลคาการสงออกออกอุตสาหกรรมแชแข็งเทากับ 390.0

ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 41.7 สวนประเทศไทยมีการสงออก

อุตสาหกรรมแชแข็งเปนอันดับ 2 รองจากอินโดนีเซียโดยในป 2548 และป 2549

ไทยมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมแชแข็งเทากับ 115.2 และ 111.4 ลานเหรียญ

สหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 14.6 และ 14.0 ตามลําดับ และประเทศที่มีการ

สงออกอุตสาหกรรมแชแข็งในตลาดอาเซียนเปนอันดับ 3 คือประเทศเวียดนาม

โดยเวียดนามมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมแชแข็ง ในป 2548 และ 2549 เทากบั

และ 87.9 และ 111.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนรอยละ 11.2 และ 14.0

ตามลําดับ แตในชวงป 2550 - 2552 พบวาประเทศเวียดนามกลายเปนประเทศที่

มีการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งไปยังตลาดอาเซียนเปนอันดับ 2 และ

สําหรับการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งไปยังตลาดอาเซียนของประเทศไทย

พบวาในป 2550 น้ันไทยมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งไปยังตลาด

อาเซียนเปนอันดับท่ี 3 โดยมีมูลคาการสงออกเทากับ 114.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ

คิดเปนสัดสวนรอยละ 12.6 และอีกทั้งในชวงป 2551 และ 2552 พบวาประเทศ

ไทยมีมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งไปในตลาดอาเซียนตกไป

เปนอันดับท่ี 5 (ตารางที่ 3)

Page 4: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

7

ตารางที่ 3 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน1

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.1 0.2 0.0 0.0 0.1 -62.6 111.8 -76.7 -55.9 517.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

กัมพูชา 1.0 1.5 1.3 0.8 0.5 -19.4 55.3 -12.4 -39.9 4.2 0.1 0.2 0.1 0.1 0.1

มาเลเซีย 77.2 76.4 93.4 128.1 87.8 -9.6 -1.0 22.2 37.1 -4.8 9.8 9.6 10.3 13.7 13.6

พมา 101.8 105.5 96.5 121.2 89.9 5.1 3.6 -8.5 25.5 -1.8 12.9 13.2 10.7 12.9 13.9

ฟลลิปนส 14.7 33.2 30.1 42.3 36.5 -23.5 125.0 -9.2 40.3 3.6 1.9 4.2 3.3 4.5 5.7

สิงคโปร 18.6 28.9 12.2 15.7 7.3 -62.0 55.1 -57.9 28.5 -43.5 2.4 3.6 1.3 1.7 1.1

ไทย 115.2 111.4 114.0 102.2 67.9 -17.9 -3.3 2.3 -10.3 -13.3 14.6 14.0 12.6 10.9 10.5

เวียดนาม 87.9 111.1 141.4 135.5 104.8 -33.8 26.4 27.2 -4.2 -1.8 11.2 14.0 15.6 14.5 16.2

อินโดนีเซีย 370.5 328.2 414.8 390.0 251.4 6.6 -11.4 26.4 -6.0 -13.1 47.1 41.2 45.9 41.7 38.9

ลาว 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -100.0 0.0 735.5 47.2 -89.8 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

อาเซียนรวม 787.1 796.4 903.8 935.8 646.3 -9.8 1.2 13.5 3.5 -8.6 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 3,284.0 3,494.1 4,182.5 5,060.9 3411.3 6.6 6.4 19.7 21.0 -10.5 - - - - -

หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(3) การนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทย

จากตลาดอาเซียนและตลาดโลก พบวาตั้งแต 2548 – 2551 มูลคาการนําเขา

อุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทยจากตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้น

อยางตอเนื่อง จนกระทั่งในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็ง

ของประเทศไทยจากตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวลดลง โดยในป 2552 ไทยมีมูลคา

การนําเขานําเขาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งจากตลาดโลกเทากับ 1,891.3 ลาน

เหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 18.6 สวนทางดานมูลคาการ

นําเขาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทยจากตลาดอาเซียน พบวา ในป

1 การสงออกไปยังตลาดอาเซียน 5 ซึ่งไดแก ประเทศไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร ฟลลิปนส

Page 5: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

8

2549 มูลคาการนําเขาอาหารแชแข็งของประเทศไทยจากตลาดอาเซียนหดตัว

ลดลงจากป 2548 คิดเปนรอยละ 8.4 ตอมาในป 2550 การนําเขาของอุตสาหกรรม

มีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้นจากป 2549 ท่ีมีมูลคาเทากับ 303.9 ลานเหรียญสหรัฐฯ

เปน 358.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 18.1

และสําหรับในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทย

จากตลาดอาเซียนมีแนวโนมท่ีจะปรับตัวลดลงจากป 2551 โดยหดตัวลงจากป

2551 เทากับรอยละ 15.8 โดยประเทศที่ไทยนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งจาก

ตลาดอาเซียนมากที่สุดไดแก ประเทศอินโดนีเซีย ซ่ึงในป 2552 มีมูลคาการนําเขา

เทากับ 140.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 41.7 รองลงมาคือ พมา

และเวียดนาม มีมูลคาการนําเขาเทากับ 72.4 และ52.2 ตามลําดับ (ตารางที่ 4)

ตารางที่ 4 มูลคาการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก1

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

กัมพูชา 0.9 1.5 1.3 0.7 0.7 -18.6 57.1 -12.7 -42.6 -1.9 0.3 0.5 0.4 0.2 0.2

มาเลเซีย 14.0 11.5 12.6 37.0 29.6 -14.7 -17.5 9.0 194.2 -20.1 4.2 3.8 3.5 9.3 8.8

พมา 55.8 54.2 50.0 74.7 72.4 -1.4 -2.8 -7.8 49.3 -3.1 16.8 17.8 13.9 18.7 21.5

ฟลลิปนส 8.4 26.1 20.4 31.4 36.0 -43.9 210.5 -21.9 53.8 14.8 2.5 8.6 5.7 7.9 10.7

สิงคโปร 2.3 10.6 1.1 6.3 5.0 -28.7 359.7 -89.3 462.3 -20.9 0.7 3.5 0.3 1.6 1.5

เวียดนาม 28.7 28.4 38.3 46.9 52.2 65.2 -1.3 35.0 22.4 11.4 8.7 9.3 10.7 11.7 15.5

อินโดนีเซีย 221.5 171.6 235.1 202.1 140.2 11.9 -22.5 37.0 -14.0 -30.6 66.8 56.5 65.5 50.6 41.7

ลาว 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -100.0 0.0 735.5 47.2 -72.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

อาเซียนรวม 331.6 303.9 358.8 399.1 336.1 7.8 -8.4 18.1 11.2 -15.8 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 1,364.1 1,491.2 1,791.0 2,323.3 1,891.3 14.8 9.3 20.1 29.7 -18.6 - - - - -

ที่มา : คํานวณคํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

Page 6: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

9

(4) ดุลการคาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศ

ไทยและประเทศในอาเซียน พบวา ในภาพรวมกลุมประเทศในอาเซียนขาด

ดุลการคาในอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งอยางตอเนื่อง ตั้งแตป 2548 - 2552 ซ่ึง

ประเทศที่ มีการขาดดุลการคาในอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งไดแกประเทศ

อินโดนีเซีย พมา ฟลลิปนส ไทย และกัมพูชา โดยขาดดุลเทากับ 139 67.2 35.6

22.5 และ 0.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ ตามลําดับ สวนประเทศ บรูไน มาเลเซีย

สิงคโปร เวียดนาม ลาว เกินดุลการคา (ตารางที่ 5)

ตารางที่ 5 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

โลก 512.5 635.7 762.5 254.3 546.9 -8.3 24.0 20.0 -66.7 115.1

บรูไน 0.0 0.0 0.1 0.1 0.1 -75.9 89.6 204.9 -36.9 41.5

กัมพูชา -0.7 -1.1 -0.9 2.7 -0.4 4.1 54.8 -18.4 -403.8 -115.1

มาเลเซีย 22.0 28.6 54.6 10.4 5.5 -1.5 30.4 90.8 -80.9 -47.8

พมา -55.7 -54.1 -49.0 -73.5 -67.2 -0.1 -2.8 -9.3 50.0 -8.6

ฟลลิปนส -7.9 -25.7 -19.9 -30.8 -35.6 -43.5 223.2 -22.6 55.1 15.6

สิงคโปร 27.6 15.6 25.0 18.0 17.1 -15.1 -43.4 60.0 -27.9 -5.3

ไทย -1.4 -21.9 -22.4 -26.3 -22.5 -75.1 1411.1 2.4 17.3 -14.5

เวียดนาม -19.7 -11.2 9.1 12.9 12.7 41.3 -43.1 -180.7 42.2 -1.3

อินโดนีเซีย -221.2 -171.5 -234.7 -201.6 -139.0 14.5 -22.4 36.8 -14.1 -31.0

ลาว 0.4 0.4 0.6 2.3 1.9 -11.9 5.6 36.7 292.7 -15.4

อาเซียนรวม -256.6 -240.7 -237.4 -285.9 -227.4 12.5 -6.2 -1.4 20.4 -20.4

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

Page 7: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

10

(5) ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทยในตลาดอาเซียน

ปจจุบันประเทศกําลังพัฒนาไดใหความสําคัญกับการสงออกอาหารแชแข็ง

โดยเฉพาะประเทศในกลุมอาเซียน เชน อินโดนีเซีย ไทย และ เวียดนาม โดยถา

พิจารณาการสงออกของประเทศเหลานี้ในตลาดอาเซียนพบวาอินโดนีเซียถือวา

เปนผูสงออกรายใหญในภูมิภาค เนื่องจากสามารถสงออกสินคาไดมากที่สุด โดย

ในป 2548 มีสวนแบงตลาดรอยละ 48.6 ตอมาในป 2549 สวนแบงตลาดลดลงอยู

ท่ีรอยละ 42.8 จากนั้นเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 46.1 ในป 2550 แตในป 2551 ปรับ

ลดลงมาอยูท่ีรอยละ 41.4 จากการที่สวนแบงตลาดของอินโดนีเซียลดลงในป

2551 น้ี เปนผลมาจากอินโดนีเซียเพิ่มการสงออกอาหารแชแข็งไปยังตลาดสหรัฐ

มากขึ้นโดยเฉพาะกุงสดแชแข็ง สําหรับประเทศไทยมีสวนแบงอาหารแชแข็งไปยัง

ตลาดอาเซียนในสัดสวนที่นอยเมื่อเทียบกับผูสงออกรายใหญอยางอินโดนีเซีย

โดยในป 2551 มีสวนแบงตลาดอยูที่รอยละ 10.8 ลดลงเมื่อเทียบกับป 2550 ซ่ึงมี

สวนแบงตลาดอยูท่ีรอยละ 12.7 ดังแสดงในตารางที่ 6 และภาพที่ 5

Page 8: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

11

หมายเหตุ : ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ.

ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส

ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553)

ภาพที่ 5 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกอาหารแชแข็งในตลาดอาเซียน

2.2 อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป

(1) การสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศ

ไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2551 มูลคาการ

สงออกมีทิศทางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ แตในป 2552 มูลคาการสงออกกลับมีทิศทางที่หด

ตัวลงเทากับรอยละ 3.9 และ 2.9 ตามลําดับ และสําหรับมูลคาการสงออกของ

อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของไทยไปยังประเทศตาง ๆ ในอาเซียน พบวาในป

2548 ไทยมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแปรูปไปยังประเทศอินโดนีเซีย

มากที่สุด โดยมีมูลคาการสงออกเทากับ 369.0 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวน

รอยละ 22.6 รองลงมาคือ มาเลเซีย และฟลลิปนส ซ่ึงมีมูลคาการสงออกเทากับ

Page 9: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

12

361.5 และ 202.4 ตามลําดับ ตอมาในป 2549 พบวาประเทศมาเลเซียกลายเปน

ประเทศที่ไทยมีการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปมากที่สุด โดยมีมูลคาการ

สงออกเทากับ 376.6 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ 22.5 ทําให

อินโดนีเซียกลายเปนตลาดที่ไทยมีการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแปรูปเปนอันดับ

ที่ 2 กัมพูชาเปนอันดับท่ี 3 และฟลลิปนสเปนอันดับท่ี 4 ซ่ึงมีมูลคาการสงออก

เทากับ 376.6 262.8 และ194.3 อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาขอมูลมูลคาการ

สงออกในป 2550 - 2552 พบวาประเทศอินโดนีเซียเปนตลาดที่ไทยมีการสงออก

อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปมากที่สุด และในป 2552 กัมพูชาเปนตลาดที่ไทย

สงออกมากที่สุดเปนอันดับ 2 มาเลเซียเปนอันดับ 3 พมาเปนอันดับท่ี 4 (ตารางที่

6)

ตารางที่ 6 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 6.6 7.8 9.7 9.7 9.3 25.6 17.1 25.1 -0.1 -3.8 0.4 0.5 0.4 0.3 0.3

กัมพูชา 197.7 262.8 286.7 368.9 445.1 35.3 32.9 9.1 28.7 20.6 12.1 15.7 11.8 13.1 16.5

มาเลเซีย 361.5 376.6 521.4 482.2 364.7 -7.9 4.2 38.4 -7.5 -24.4 22.1 22.5 21.4 17.1 13.5

พมา 145.6 119.8 192.8 312.8 345.8 -6.7 -17.7 61.0 62.2 10.6 8.9 7.2 7.9 11.1 12.8

ฟลลิปนส 202.4 194.3 249.1 302.1 309.3 21.7 -4.0 28.2 21.3 2.4 12.4 11.6 10.2 10.7 11.4

สิงคโปร 138.2 160.0 267.4 286.2 262.9 -1.8 15.8 67.1 7.0 -8.1 8.5 9.6 11.0 10.2 9.7

เวียดนาม 117.0 154.4 220.5 255.1 278.9 67.6 32.0 42.7 15.7 9.3 7.2 9.2 9.0 9.1 10.3

อินโดนีเซีย 369.0 289.5 549.1 613.1 488.4 16.4 -21.6 89.7 11.7 -20.3 22.6 17.3 22.5 21.8 18.1

ลาว 95.0 108.5 143.2 184.4 199.4 30.6 14.2 32.0 28.8 8.2 5.8 6.5 5.9 6.6 7.4

อาเซียนรวม 1,633.0 1,673.7 2,439.9 2,814.6 2,703.9 11.4 2.5 45.8 15.4 -3.9 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 7,889.1 9,171.0 1,1613.0 13,626.0 13,226.2 11.3 16.2 26.6 17.3 -2.9 - - - - -

หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

Page 10: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

13

(2) การสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทย

และประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ตั้งแตป 2548 เปนตนมา ประเทศที่มี

มูลการสงออกอุตสาหกรรมแปรรูปไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุด ไดแก อินโดนีเซีย

โดยในป 2552 อินโดนีเซียมีมูลคาการสงออกออกอตุสาหกรรมอาหารแปรรูป

เทากับ 1,733.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 36.4 สวนประเทศ

มาเลเซียมีการสงออกอตุสาหกรรมแปรรูปรองเปนอนัดับ 2 รองจากอนิโดนีเซีย

โดยมาเลเซียมีมูลคาการสงออกอตุสาหกรรมอาหารแปรรูปเทากับ 1,236.5 ลาน

เหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 26.0 และประเทศที่มีการสงออก

อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปในตลาดอาเซียนเปนอนัดับ 3 ไดแกประเทศไทยซึ่งในป

2552 มีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปเทากับ 918.8 ลานเหรียญ

สหรัฐฯ คิดเปนรอยละ 19.3 (ตารางที่ 3)

Page 11: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

14

ตารางที่ 7 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.3 0.3 0.1 0.0 0.0 187.0 25.6 -71.7 -64.9 -5.5 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

กัมพูชา 3.3 2.7 1.9 1.6 7.9 57.4 -17.9 -30.5 -13.5 424.1 0.1 0.1 0.0 0.0 0.2

มาเลเซีย 1,099.5 1,234.6 1,662.9 2,077.4 1,236.5 3.6 12.3 34.7 24.9 -24.4 27.0 27.5 26.9 26.9 26.0

พมา 44.5 54.1 62.6 63.4 67.6 7.4 21.7 15.7 1.2 30.8 1.1 1.2 1.0 0.8 1.4

ฟลิปปนส 222.2 213.3 255.0 294.3 141.6 4.9 -4.0 19.5 15.4 -39.0 5.5 4.8 4.1 3.8 3.0

สิงคโปร 438.1 501.3 575.5 688.8 440.6 25.4 14.4 14.8 19.7 -15.3 10.8 11.2 9.3 8.9 9.3

ไทย 1,050.6 933.8 1,528.0 1,542.6 918.9 8.1 -11.1 63.6 1.0 -24.1 25.8 20.8 24.8 20.0 19.3

เวียดนาม 108.1 135.1 269.3 312.3 210.2 38.8 25.0 99.4 16.0 -12.0 2.7 3.0 4.4 4.0 4.4

อินโดนีเซีย 1,098.7 1,408.6 1,811.8 2,735.5 1,733.4 -13.3 28.2 28.6 51.0 -19.7 27.0 31.4 29.4 35.4 36.4

ลาว 0.7 1.0 4.0 2.3 2.4 0.3 0.0 311.5 -41.1 31.0 0.0 0.0 0.1 0.0 0.0

อาเซียนรวม 4,065.7 4,484.7 6,171.0 7,718.2 4,759.0 2.1 10.3 37.6 25.1 -21.4 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 13,557.1 15,259.5 19,989.1 24,549.9 15,477.0 8.7 12.6 31.0 22.8 -17.8 - - - - -

หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(3) การนาํเขาสินคาในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทย

จากตลาดอาเซียนและตลาดโลก พบวาตั้งแต 2548 – 2551 มูลคาการนําเขา

อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยจากตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้น

อยางตอเนื่อง จนกระทั่งในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป

ของประเทศไทยจากตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวลดลง โดยในป 2552 ไทยมีมูลคา

การนําเขานําเขาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปจากตลาดโลกเทากับ 3,569.5 ลาน

เหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 15.8 สวนทางดานมูลคาการ

นําเขาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยจากตลาดอาเซียน พบวา ในป

2552 ไทยมีมูลคาการนําเขานําเขาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปจากตลาดอาเซียน

Page 12: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

15

เทากับ 611.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 11.8 โดย

ประเทศที่ไทยนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปจากตลาดอาเซียนมากที่สุดไดแก

ประเทศมาเลเซีย ซ่ึงในป 2552 มีมูลคาการนําเขาเทากับ 203.8 ลานเหรียญ

สหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 33.4 รองลงมาคือ อินโดนีเซียและสิงคโปร มีมูลคา

การนําเขาเทากับ 166.8 และ 109.2 คิดเปนสัดสวนรอยละ 27.3 และ 17.9

ตามลําดับ (ตารางที่ 8)

ตารางที่ 8 มูลการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -81.1 -100.0 0.0 -96.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

กัมพูชา 1.6 0.7 1.0 1.2 1.9 212.7 -55.4 39.1 23.9 54.7 0.4 0.2 0.2 0.2 0.3

มาเลเซีย 121.6 138.1 207.1 261.8 203.8 -8.9 13.6 50.0 26.4 -22.1 33.5 34.4 39.6 37.8 33.4

พมา 9.2 5.6 7.5 10.4 15.2 -4.1 -38.8 33.4 38.4 47.1 2.5 1.4 1.4 1.5 2.5

ฟลลิปนส 46.2 44.4 49.4 75.3 63.5 10.0 -3.9 11.2 52.5 -15.6 12.7 11.1 9.4 10.9 10.4

สิงคโปร 72.7 94.5 113.2 126.9 109.2 35.0 30.0 19.8 12.0 -13.9 20.0 23.6 21.6 18.3 17.9

เวียดนาม 14.7 15.2 21.0 61.5 47.5 20.0 3.0 38.0 193.4 -22.6 4.1 3.8 4.0 8.9 7.8

อินโดนีเซีย 96.5 101.8 123.6 153.6 166.8 35.8 5.5 21.4 24.3 8.6 26.6 25.4 23.6 22.2 27.3

ลาว 0.4 0.8 0.8 2.0 3.0 -0.5 111.0 2.5 135.8 51.7 0.1 0.2 0.2 0.3 0.5

อาเซียนรวม 362.8 401.1 523.5 692.5 611.0 12.3 10.6 30.5 32.3 -11.8 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 2247.3 2477.8 3253.1 4240.0 3569.5 14.3 10.3 31.3 30.3 -15.8 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(4) ดุลการคาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศ

ไทยและประเทศในอาเซียน พบวา ตั้งแตป 2548 – 2552 ในภาพรวมเกือบทุก

ประเทศในอาเซียนเกินดุลการคาในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปอยางตอเนื่อง มี

Page 13: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

16

เพียงประเทศไทยประเทศเดียวที่มีการขาดดุลการคาในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป

โดยขาดดุลในป 2552 ขาดดุลเทากับ 20.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ (ตารางที่ 9)

ตารางที่ 9 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

โลก 5,641.8 6,693.1 8,359.9 9,386.0 9,656.8 10.2 18.6 24.9 12.3 2.9

บรูไน 6.6 7.8 9.7 9.7 9.3 25.6 17.1 25.2 -0.2 -3.7

กัมพูชา 196.2 262.1 285.8 367.7 443.3 34.7 33.6 9.0 28.7 20.5

มาเลเซีย 239.9 238.5 314.3 220.4 160.9 -7.4 -0.6 31.8 -29.9 -27.0

พมา 136.4 114.2 185.3 302.4 330.6 -6.9 -16.3 62.3 63.2 9.3

ฟลลิปนส 156.2 149.9 199.8 226.9 245.8 25.6 -4.0 33.3 13.6 8.4

สิงคโปร 65.5 65.5 154.1 159.3 153.7 -24.6 -0.1 135.4 3.4 -3.5

ไทย -2.9 -0.9 -7.1 -22.4 -20.5 -51.5 -69.4 687.8 216.3 -8.6

เวียดนาม 102.2 139.3 199.5 193.6 231.4 77.8 36.2 43.3 -2.9 19.5

อินโดนีเซีย 272.6 187.7 425.5 459.5 321.6 10.8 -31.1 126.7 8.0 -30.0

ลาว 94.6 107.6 142.3 182.4 196.4 30.8 13.8 32.2 28.1 7.7

อาเซียนรวม 1,267.3 1,271.7 1,909.3 2,099.6 2,072.5 11.4 0.3 50.1 10.0 -1.3

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

5 ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยในตลาดอาเซียน

การสงออกอาหารแปรรูปไปตลาดอาเซียนนั้นถือวาอินโดนีเซียเปนผูครอง

ตลาด เนื่องจากสามารถสงออกอาหารแปรรูปไดมากที่สุด ทําใหมีสวนแบงตลาด

อยูท่ีรอยละ 27.0-35.4 ในป 2548-2551 ซ่ึงในป 2551 อินโดนีเซียสามารถครอง

สวนแบงตลาดไดมากถึงรอยละ 35.4 จากอัตราการขยายตัวที่เพิ่มขึ้นเปนรอยละ

51.0 จากป 2550 สําหรับไทยถือวาเปนหนึ่งในไมกี่ประเทศของโลก ท่ีมีการสงออก

อาหารแปรรูปในคอนขางสูง และการสงออกมีแนวโนมเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะตลาด

หลัก เชน สหรัฐ สภาพยุโรป และญี่ปุน แตเมื่อพิจารณาในตลาดอาเซียน พบวา

Page 14: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

17

สวนแบงตลาดของไทยในป 2551 อยูท่ีประมาณรอยละ 20.0 ซ่ึงเปนอันดับ 3 ของ

กลุมอาเซียน รองจาก อินโดนีเซีย และมาเลเซีย อยางไรก็ตามพบวาสวนแบงตลาด

ในมี2551 เปนสวนแบงตลาดที่ต่ําสุดในรอบ 5 ปจากการหดตัวของมูลคาการ

สงออกรอยละ 1.0 เมื่อเทียบกับป 2550 ท่ีมีอัตราการขยายตัวอยูท่ีรอยละ 63.6

สําหรับรายละเอียดแสดงในภาพที่ 6

หมายเหตุ : ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ.

ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส

ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553)

ภาพที่ 6 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกอาหารแปรรูปในตลาดอาเซียน

2.3 อุตสาหกรรมสิ่งทอ (1) การสงออกของอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยในตลาดอาเซียน

และตลาดโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยใน

ตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2552 มูลคาการสงออก

อุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยไปโลกมีแนวโนมลดลงเรื่อยๆ สวนแนวโนมการ

Page 15: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

18

สงออกไปในตลาดอาเซียนในชวงป 2548-2552 มีแนวโนมสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดย ในป

2552 ประเทศที่ไทยมีการสงออกของอุตสาหกรรมอาหารสิ่งทอไปมากที่สุด คือ

เวียดนาม ซ่ึงมีมูลคาการสงออกเทากับ 249.6 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวน

รอยละ 24.5 รองลงมาคือ อินโดนีเซีย และ มาเลเซีย ซ่ึงมีมูลคาการสงออกเทากับ

172.5 และ 114.0 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ 17.0 และ 11.2

ตามลําดับ (ตารางที่ 10)

ตารางที่ 10 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 4.0 3.1 3.3 2.7 3.2 24.3 -22.6 8.7 -18.9 19.8 0.5 0.4 0.3 0.3 0.3

กัมพูชา 57.5 80.3 66.9 78.0 77.9 19.5 39.7 -16.7 16.6 -0.1 7.4 9.9 6.7 7.6 7.7

มาเลเซีย 116.1 112.0 130.5 135.5 114.0 13.2 -3.6 16.5 3.8 -15.9 15.0 13.8 13.1 13.1 11.2

พมา 61.2 67.2 82.6 98.0 107.6 29.3 9.7 23.0 18.6 9.8 7.9 8.3 8.3 9.5 10.6

ฟลลิปนส 109.4 96.8 115.3 102.8 97.2 21.0 -11.5 19.1 -10.9 -5.4 14.1 11.9 11.6 10.0 9.6

สิงคโปร 88.3 103.9 131.2 119.6 121.2 -10.2 17.6 26.3 -8.8 1.3 11.4 12.8 13.1 11.6 11.9

เวียดนาม 115.9 142.9 217.1 224.6 249.6 35.6 23.3 51.9 3.4 11.1 14.9 17.6 21.8 21.8 24.5

อินโดนีเซีย 151.9 136.7 172.4 183.3 172.5 20.5 -10.0 26.1 6.3 -5.9 19.6 16.8 17.3 17.8 17.0

ลาว 72.2 70.5 78.7 87.6 74.5 32.2 -2.4 11.6 11.3 -14.9 9.3 8.7 7.9 8.5 7.3

อาเซียนรวม 776.6 813.3 998.0 1,032.1 1,017.8 18.3 4.7 22.7 3.4 -1.4 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 6,718.7 6,963.8 7,547.9 7,288.7 6,498.0 4.7 3.6 8.4 -3.4 -10.8 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(2) การสงออกของอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยและ

ประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ตั้งแตป 2548-2551 พบวามีแนวโนมการ

สงออกที่สงูขึ้นเรื่อยๆ โดยในป 2548 ประเทศที่มีมูลการสงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอ

ไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุด ไดแก มาเลเซีย ซ่ึงมมูีลคาการสงออกออก

Page 16: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

19

อุตสาหกรรมสิ่งทอเทากับ 588.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 31.0

รองลงมาคือ อินโดนีเซีย และไทย มีมูลคาการสงออกออกอตุสาหกรรมสิ่งทอ

เทากับ 534.1 และ 355.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 28.1 และ

18.7 ตามลําดับ ตอมาในป 2549-2550 ประเทศที่มีมูลการสงออกอุตสาหกรรมสิ่ง

ทอไปยังตลาดอาเซยีนมากที่สุดเปลี่ยนเปน อินโดนีเซีย ซ่ึงมีมูลคาการสงออกออก

อุตสาหกรรมสิ่งทอเทากับ 693.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในป 2549 และ 675.4 ลาน

เหรียญสหรัฐฯ ในป 2550 คิดเปนสัดสวนรอยละ 33.8 และ 31.5 ตามลําดับ สงผล

ใหมาเลเซียกลายเปนประเทศที่มีการสงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอไปยังตลาดอาเซยีน

รองเปนอนัดับ 2 โดยมีมูลคาการสงออกออกอุตสาหกรรมสิ่งทอเทากับ 602.0 ลาน

เหรียญสหรัฐฯ ในป 2549 และ 632.7 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ

29.3 และ 29.5 ตามลําดับ สวนประเทศไทยยังคงเปนประเทศที่มีการสงออก

อุตสาหกรรมสิ่งทอเปนอันดับ 3 และเมื่อพิจารณาตอไปในป 2551 พบวาประเทศ

มาเลเซีย กลับมาเปนประเทศที่มีการสงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอไปยังตลาดอาเซยีน

มากที่สุด รองลงมาเปน อินโดนีเซีย และไทย และเมื่อพิจารณาในป 2552 กลบั

พบวา พมา กลายมาเปนประเทศที่มีการสงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอมากที่สุด โดยมี

มูลคาการสงออกเทากับ 354.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 26.3

รองลงมาเปน มาเลเซีย เวียดนาม และอนิโดนีเซยี โดยโดยมมูีลคาการสงออก

เทากับ 336.3 283.7 190.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 24.9 21.0

14.1 ตามลําดับ สวนประเทศไทยกลายเปนประเทศที่มีการสงออกอุตสาหกรรมสิ่ง

ทอไปยังตลาดอาเซยีน เปนอนัดับ 5 ซ่ึงมีมูลคาการสงออกเทากับ 113.8 ลาน

เหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 8.4 ในป 2552 (ตารางที่ 11)

Page 17: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

20

ตารางที่ 11 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 109.0 84.5 68.8 39.1 22.9 -22.6 -22.5 -18.5 -43.1 -21.9 5.7 4.1 3.2 1.6 1.7

กัมพูชา 57.9 47.0 37.6 35.0 17.0 33.2 -18.9 -20.1 -6.7 -39.1 3.0 2.3 1.8 1.4 1.3

มาเลเซีย 588.8 602.0 632.7 755.1 336.3 -5.1 2.2 5.1 19.3 -26.8 31.0 29.3 29.5 31.2 24.9

พมา 13.9 17.1 12.3 11.4 354.5 -55.6 23.2 -27.9 -7.6 -41.3 0.7 0.8 0.6 0.5 26.3

ฟลลิปนส 39.2 36.2 43.6 40.9 9.3 17.7 -7.9 20.5 -6.1 21.9 2.1 1.8 2.0 1.7 0.7

สิงคโปร 92.6 81.1 88.2 226.7 19.7 3.0 -12.4 8.9 156.9 -41.5 4.9 3.9 4.1 9.4 1.5

ไทย 355.8 332.3 384.6 441.0 113.8 8.3 -6.6 15.7 14.7 -29.0 18.7 16.2 17.9 18.2 8.4

เวียดนาม 107.9 157.3 196.5 272.6 283.7 39.8 45.7 24.9 38.7 -17.0 5.7 7.7 9.2 11.3 21.0

อินโดนีเซีย 534.1 693.4 675.4 590.2 190.7 12.8 29.8 -2.6 -12.6 -8.5 28.1 33.8 31.5 24.4 14.1

ลาว 1.9 2.3 3.4 4.7 2.0 44.6 0.0 47.1 39.4 -43.3 0.1 0.1 0.2 0.2 0.1

อาเซียนรวม 1,901.1 2,053.1 2,143.0 2,416.7 1,349.9 3.3 8.0 4.4 12.8 -28.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 10,326.8 11,152.0 11,739.2 14,822.5 8,469.9 0.5 8.0 5.3 26.3 -26.1 - - - - -

หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(3) การนาํเขาสินคาในอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยจาก

ตลาดอาเซียนและตลาดโลก พบวาตั้งแต 2548 – 2551 มูลคาการนําเขา

อุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยจากตลาดอาเซียนและโลกมีแนวโนมปรับตัว

สูงขึ้นอยางตอเนื่อง จนกระท่ังในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมสิ่งทอของ

ประเทศไทยจากตลาดอาเซียนและตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวลดลง โดยในป

2552 ไทยมีมูลคาการนําเขานําเขาอุตสาหกรรมสิ่งทอจากตลาดอาเซียนเทากับ

270.9 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 19.1 และไทยมี

มูลคาการนําเขานําเขาอุตสาหกรรมสิ่งทอจากตลาดโลกเทากับ 2,900.3 ลาน

เหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 22.7 ซ่ึงประเทศที่ไทยนําเขา

Page 18: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

21

อุตสาหกรรมสิ่งทอจากตลาดอาเซียนมากที่สุดไดแก ประเทศอินโดนีเซีย โดยในป

2552 มีมูลคาการนําเขาเทากับ 96.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ

35.6 รองลงมาคือ เวียดนาม และมาเลเซีย มีมูลคาการนําเขาเทากับ 78.9 และ

50.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ ตามลําดับ (ตารางที่ 12)

ตารางที่ 12 มูลคาการการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.0 0.1 0.0 0.0 0.1 -99.9 22,457.8 -98.4 1128.9 157.0 0.0 0.1 0.0 0.0 0.0

กัมพูชา 8.4 5.9 8.0 4.8 3.1 220.9 -29.9 35.2 -40.1 -34.9 4.0 2.5 2.8 1.4 1.2

มาเลเซีย 30.1 36.3 43.8 57.0 50.6 5.6 20.6 20.7 30.1 -11.3 14.3 15.2 15.2 17.0 18.7

พมา 0.2 0.4 0.7 0.7 1.3 -28.1 62.7 74.5 -5.9 97.7 0.1 0.2 0.2 0.2 0.5

ฟลลิปนส 15.2 15.1 18.9 17.7 12.0 32.9 -0.7 25.3 -6.1 -32.5 7.2 6.3 6.6 5.3 4.4

สิงคโปร 21.5 20.5 22.3 29.8 25.6 15.4 -4.6 8.4 33.9 -14.0 10.2 8.6 7.7 8.9 9.5

เวียดนาม 30.1 48.6 70.4 86.3 78.9 192.7 61.4 45.0 22.6 -8.6 14.3 20.4 24.5 25.8 29.1

อินโดนีเซีย 103.1 109.1 120.0 134.0 96.6 10.7 5.8 10.0 11.7 -28.0 49.0 45.8 41.8 40.0 35.6

ลาว 1.7 2.2 3.3 4.4 2.7 34.0 26.3 50.5 33.1 -37.8 0.8 0.9 1.1 1.3 1.0

อาเซียนรวม 210.4 238.2 287.4 334.8 270.9 26.2 13.2 20.7 16.5 -19.1 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 2,929.9 2,997.3 3,390.3 3,754.4 2,900.3 7.8 2.3 13.1 10.7 -22.7 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(4) ดุลการคาอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาของอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยและ

ประเทศในอาเซียน พบวา ตั้งแตป 2548 – 2552 ในภาพรวมเกือบทุกประเทศใน

อาเซียนเกินดุลการคาในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปอยางตอเนื่อง มีเพียงประเทศ

ไทยประเทศเดียวที่มีการขาดดุลการคาในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป โดยขาดดุล

ในป 2552 ขาดดุลเทากับ 19.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ (ตารางที่ 13)

Page 19: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

22

ตารางที่ 13 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

โลก 3,788.8 3,966.6 4,157.6 3,534.3 3,597.7 2.3 4.7 4.8 -15.0 1.8

บรูไน 4.0 2.9 3.3 2.7 3.2 46.3 -25.9 13.6 -19.6 18.5

กัมพูชา 49.1 74.4 58.9 73.2 74.8 7.9 51.6 -20.8 24.3 2.2

มาเลเซีย 86.1 75.7 86.7 78.5 63.4 16.1 -12.0 14.5 -9.4 -19.2

พมา 61.0 66.8 81.9 97.3 106.3 29.7 9.5 22.7 18.8 9.2

ฟลลิปนส 94.3 81.8 96.4 85.0 85.3 19.3 -13.3 17.9 -11.8 0.3

สิงคโปร 66.8 83.3 108.9 89.8 95.5 -16.2 24.7 30.7 -17.5 6.4

ไทย -3.6 -2.0 -4.6 -9.4 -19.2 -49.6 -44.2 128.6 106.6 103.1

เวียดนาม 85.8 94.4 146.7 138.3 170.7 14.2 9.9 55.5 -5.8 23.4

อินโดนีเซีย 48.7 27.6 52.3 49.3 76.0 48.2 -43.4 89.8 -5.9 54.2

ลาว 70.5 68.3 75.4 83.2 71.8 32.2 -3.1 10.3 10.4 -13.7

อาเซียนรวม 562.6 573.1 706.0 687.9 727.8 16.6 1.9 23.2 -2.6 5.8

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(5) ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยในตลาดอาเซียน

อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหมของไทยถือไดวาเปนอุตสาหกรรมที่มี

ลักษณะครบวงจร กลาวคือมีการผลิตทั้งในอุตสาหกรรมตนน้ํา (การผลิตเสนใย

เสนดาย) อุตสาหกรรมกลางน้ํา(การผลิตผาผืน ผาทอ ฟอกยอม) และอุตสาหกรรม

ปลายน้ํา (การผลิตเสื้อผาและเครื่องนุงหม) ซ่ึงโครงสรางการผลิตจะเปนผลิตเพื่อ

การสงออก และมีลักษณะรับจางผลิต มากกวาที่จะเปนการผลิตแบบออกแบบเอง

โดยผูประกอบการไทยมีหนาที่รับคําสั่งจากลูกคา หาวัตถุดิบและตัดเย็บตามความ

ตองการของลูกคาภายใตช่ือผลิตภัณฑท่ีเปนรูจัก ดังนั้นตลาดสงออกหลักของ

สินคาประเภทสิ่งทอและเครื่องนุงหมท่ีสําคัญของไทยจึงไดแก ประเทศในกลุม

สหภาพยุโรป และอเมริกา ปจจุบันประเทศในสหภาพยุโรปบางประเทศมีการ

Page 20: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

23

กําหนดมาตรฐานสินคาไวสูงมาก ทําใหผูประกอบการบางรายของไทยไดเปลี่ยน

ตลาดสงออกไปยังกลุมตลาดใหม เชน ประเทศในกลุมตะวันออกกลาง

อยางไรก็ตามถาพิจารณาเฉพาะในตลาดอาเซียนแลว พบวาประเทศที่มีการ

สงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอไปตลาดนี้มากที่สุดเปนอันดับท่ี 1 และ 2 คือ มาเลเซีย

และอินโดนีเซีย ตามลําดับ โดยในป 2547-2548 มาเลเซียมีสวนแบงตลาดมาก

ท่ีสุดอยูท่ีรอยละ 33.7 และ 31.0 ตามลําดับ แตในป 2549 - 2550 มาเลเซียมีสวน

แบงตลาดลดลงอยูท่ีประมาณรอยละ 29.3 และ 29.5 ตามลําดับ เนื่องมาจาก

อินโดนีเซียสามารถสงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอไปตลาดอาเซียนไดเพิ่มขึ้น แตในป

2551 มาเลเซียสามารถแยงสวนแบงตลาดจากอินโดนีเซียมาได ทําใหสวนแบง

ตลาดกลับเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 31.2 สวนไทยถือวาเปนผูสงออกสิ่งทออันดับท่ี 3 ใน

กลุมอาเซียน โดยมีสวนแบงตลาดในป 2551 อยูท่ีรอยละ 18.2 ซ่ึงถือวาคอยของ

นอยมากเมื่อเทียบกับประเทศผูสงออกหลักทั้งสองดังแสดงในภาพที่ 7

หมายเหตุ : ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ.

ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส

ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553)

ภาพที่ 7 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกสิ่งทอในตลาดอาเซียน

Page 21: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

24

2.4 อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส (1) การสงออกของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของ

ประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและ

อิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548

ถึงป 2551 มูลคาการสงออกมีทิศทางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ แตในป 2552 มูลคาการ

สงออกกลับมีทิศทางที่หดตัวลงเทากับรอยละ4.8 และ 2.5 ตามลําดับ และสําหรับ

มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของไทยไปยัง

ประเทศตาง ๆ ในอาเซียน ตั้ งแตป 2548-2552 ไทยมีมูลคาการสงออก

อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสไปยังประเทศสิงคโปรมากที่สุด โดย

ในป 2552 มีมูลคาการสงออกเทากับ 3,128.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวน

รอยละ33.8 รองลงมาคือ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ซ่ึงมีมูลคาการสงออกเทากับ

2,647.8 และ 1,126.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 28.6 และ 12.2

ตามลําดับ (ตารางที่ 14)

Page 22: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

25

ตารางที่ 14 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 7.0 12.5 14.1 12.3 7.3 114.7 77.2 13.1 -12.9 -40.4 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1

กัมพูชา 101.3 111.9 147.9 206.9 154.8 59.1 10.4 32.3 39.9 -25.2 1.3 1.3 1.3 1.9 1.7

มาเลเซีย 2,283.1 2,415.7 2989.5 3,053.7 2,647.8 4.1 5.8 23.8 2.1 -13.3 28.9 28.0 26.2 28.1 28.6

พมา 62.7 64.5 93.1 106.5 156.3 2.7 2.9 44.3 14.5 46.7 0.8 0.7 0.8 1.0 1.7

ฟลลิปนส 662.0 978.8 1026.1 914.1 817.6 -2.4 47.9 4.8 -10.9 -10.6 8.4 11.3 9.0 8.4 8.8

สิงคโปร 3,559.4 3,724.0 5,037.1 3,951.0 3,128.4 -5.2 4.6 35.3 -21.6 -20.8 45.1 43.1 44.1 36.4 33.8

เวียดนาม 369.8 527.6 804.2 933.7 992.3 26.6 42.7 52.4 16.1 6.3 4.7 6.1 7.0 8.6 10.7

อินโดนีเซีย 746.9 665.4 1,109.6 1,465.1 1,126.2 21.8 -10.9 66.8 32.0 -23.1 9.5 7.7 9.7 13.5 12.2

ลาว 102.7 133.0 190.8 222.7 220.7 23.8 29.5 43.5 16.8 -0.9 1.3 1.5 1.7 2.0 2.4

อาเซียนรวม 7,894.9 8,633.3 11,412.4 10,866.0 9,251.4 2.0 9.4 32.2 -4.8 -14.9 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 39,997.5 47,246.2 58,435.4 56,966.1 48,446.3 9.2 18.1 23.7 -2.5 -15.0 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(2) การสงออกของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและ

อิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยและประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ในป

2548 ประเทศที่มีมูลการสงออกอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสไป

ยังตลาดอาเซียนมากที่สุด ไดแก มาเลเซีย โดยมมูีลคาการสงออกออก

อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเลก็ทรอนิกสเทากับ 23,031.3 ลานเหรียญ

สหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 39.7 สวนประเทศสิงคโปรและไทยมีการสงออก

อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเลก็ทรอนิกสรองเปนอันดับ 2 และ 3 โดยมีมูลคา

การสงออกออกอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเทากับ 11,115.4

และ 7,999.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 19.1และ 13.8 ตามลําดับ

ตอมาในป 2550 พบวา ไทยกลายเปนประเทศที่มีการสงออกอุตสาหกรรม

Page 23: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

26

เครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสไปยังตลาดอาเซียนเปนอนัดับท่ี 4 โดยประเทศ

ฟลิปปนส กลายเปนประเทศที่มีการสงออกอตุสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและ

อิเล็กทรอนิกสไปยังตลาดอาเซียนเปนอนัดับท่ี 3 ซ่ึงในป 2550 ไทยและ ฟลลิปนส

มีมูลคาการสงออกเทากับ 8,573.5 และ 8,441.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปน

สัดสวนรอยละ 13.5และ 13.3 ตามลําดับ และหลงัจากป 2550 ไทยกก็ลับมาเปน

ประเทศที่มีการสงออกไปยงัตลาดอาเซยีนเปนอันดับท่ี 3 รองจาก มาเลเซีย และ

สิงคโปร (ตารางที่ 15)

ตารางที่ 15 มูลคาการสงออกของอตุสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเลก็ทรอนิกส

ของประเทศไทยและประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ตารางที่ 15 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน

มูลคา (ลานเหรยีญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552 บรูไน 3.3 1.9 4.9 12.2 9.4 126.1 -41.0 150.9 149.6 20.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 กัมพูชา 0.6 2.7 1.9 2.9 1.4 -50.7 374.7 -31.4 55.8 -25.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 มาเลเซีย 23,031.3 25,070.6 25,764.6 25,255.4 13,359.9 5.8 8.9 2.8 -2.0 -33.9 39.7 40.1 40.4 38.1 34.8 พมา 8.6 8.6 10.7 16.6 7.6 40.0 1.0 24.4 54.9 -11.9 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

ฟลิปปนส 7,988.2 8,187.8 8,573.5 6,575.0 4,513.5 10.6 2.5 4.7 -23.3 -16.0 13.8 13.1 13.5 9.9 11.8

สิงคโปร 11,115.4 12,841.8 12,884.8 16,127.4 9,912.0 12.0 15.5 0.3 25.2 -20.7 19.1 20.5 20.2 24.4 25.9

ไทย 7,999.4 8,523.0 8,441.4 9,825.2 5,769.3 4.5 6.5 -1.0 16.4 -22.1 13.8 13.6 13.3 14.8 15.0

เวียดนาม 735.8 763.8 1,007.4 1,275.1 786.5 27.5 3.8 31.9 26.6 -18.0 1.3 1.2 1.6 1.9 2.1

อินโดนีเซีย 7,179.9 7,151.6 6,999.8 7,103.2 3,971.5 9.2 -0.4 -2.1 1.5 -28.8 12.4 11.4 11.0 10.7 10.4

ลาว 2.2 4.8 12.9 19.8 11.4 -50.7 0.0 165.8 54.0 -25.4 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

อาเซียนรวม 58,064.6 62,556.7 63,701.8 66,212.7 38,342.6 8.0 7.7 1.8 3.9 -26.3 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 239,393.1 268,485.7 277,244.9 299,737.6 171,632.2 9.0 12.2 3.3 8.1 -26.2 - - - - -

หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

Page 24: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

27

(3) การนาํเขาสินคาในอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยจากประเทศในอาเซยีนและโลก

เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟา

และอิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยจากตลาดอาเซียนและตลาดโลก พบวาตั้งแต

2548 – 2551 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของ

ประเทศไทยจากอาเซียนและตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง

จนกระทั่ งในป 2552 มูลคาการนํา เขาอุตสาหกรรมเครื่องใช ไฟฟาและ

อิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยจากอาเซียนและตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวลดลง

โดยในป 2552 ไทยมีมูลคาการนําเขานําเขาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและ

อิเล็กทรอนิกสจากอาเซียนและตลาดโลกเทากับ 8,674.6 และ 44,405.8 ลาน

เหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 16.3 และ 14.2 ตามลําดับ

โดยประเทศที่ไทยนําเขาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสจากตลาด

อาเซียนมากที่สุดไดแก ประเทศมาเลเซีย ซ่ึงในป 2552 มีมูลคาการนําเขาเทากับ

4,179.7ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 48.2 รองลงมาคือ สิงคโปร

และฟลลิปนส มีมูลคาการนําเขาเทากับ 2,718.3 และ 672.8 ตามลําดับ (ตารางที่

16)

Page 25: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

28

ตารางที่ 16 มูลคาการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและ

โลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.1 0.0 0.0 0.1 0.0 384.1 -68.9 111.9 40.4 -32.2 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

กัมพูชา 0.1 0.0 0.6 0.6 0.3 -73.6 -79.0 2979.7 -4.4 -52.4 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

มาเลเซีย 3,394.2 3,521.4 4,437.7 4,417.2 4,179.7 18.9 3.7 26.0 -0.5 -5.4 43.0 41.8 43.5 42.6 48.2

พมา 0.9 0.9 3.8 2.6 0.1 -21.9 1.9 337.7 -31.8 -96.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

ฟลลิปนส 1,063.7 1,120.3 1,137.0 919.8 672.8 23.0 5.3 1.5 -19.1 -26.9 13.5 13.3 11.1 8.9 7.8

สิงคโปร 2,450.8 2,835.8 3,401.9 3,500.7 2,718.3 21.3 15.7 20.0 2.9 -22.3 31.0 33.6 33.3 33.8 31.3

เวียดนาม 357.0 384.4 474.1 532.1 446.3 47.0 7.7 23.3 12.2 -16.1 4.5 4.6 4.6 5.1 5.1

อินโดนีเซีย 626.4 564.0 734.8 965.1 640.6 47.0 -10.0 30.3 31.3 -33.6 7.9 6.7 7.2 9.3 7.4

ลาว 2.2 4.7 12.7 19.7 16.4 -47.7 116.4 172.0 55.0 -16.8 0.0 0.1 0.1 0.2 0.2

อาเซียนรวม 7,895.3 8,431.5 10,202.7 10,357.9 8,674.6 23.1 6.8 21.0 1.5 -16.3 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 40,402.7 43,304.9 50,897.8 51,754.7 44,405.8 17.4 7.2 17.5 1.7 -14.2 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(4) ดุลการคาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและ

อิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน พบวา ในภาพรวมกลุม

ประเทศในอาเซียนขาดดุลการคาในอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส

อยางตอเนื่อง ตั้งแตป 2548 - 2552 ซ่ึงประเทศที่ มีการขาดดุลการคาใน

อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสไดแกประเทศ มาเลเซีย และไทย

โดยขาดดุลเทากับ 1, 532.0 และ 1,290.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ ตามลําดับ สวน

ประเทศอีก 8 ประเทศไดแก บรูไน กัมพูชา พมา ฟลลิปนส สิงคโปร เวียดนาม

อินโดนีเซีย ลาว มีดุลการคาเกินดุล (ตารางที่ 17)

Page 26: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

29

ตารางที่ 17 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

โลก -405.2 3,941.4 7,537.6 5,211.4 4,040.5 -118.4 -1,072.8 91.2 -30.9 -22.5

บรูไน 7.0 12.4 14.0 12.2 7.3 113.5 78.6 12.9 -13.1 -40.5

กัมพูชา 101.2 111.8 147.3 206.3 154.5 59.8 10.5 31.7 40.1 -25.1

มาเลเซีย -1,111.1 -1,105.7 -1,448.1 -1,363.5 -1,532.0 68.4 -0.5 31.0 -5.8 12.4

พมา 61.8 63.6 89.3 103.9 156.2 3.2 3.0 40.3 16.5 50.3

ฟลลิปนส -401.7 -141.5 -110.9 -5.7 144.7 115.2 -64.8 -21.7 -94.8 -2632.1

สิงคโปร 1,108.6 888.2 1,635.2 450.3 410.1 -36.0 -19.9 84.1 -72.5 -8.9

ไทย -609.0 -646.1 -1,061.2 -1,159.1 -1,290.1 -32.7 6.1 64.2 9.2 11.3

เวียดนาม 12.8 143.2 330.0 401.6 546.0 -74.0 1017.1 130.4 21.7 36.0

อินโดนีเซีย 120.5 101.4 374.8 500.0 485.6 -35.6 -15.9 269.8 33.4 -2.9

ลาว 100.5 128.3 178.0 203.0 204.3 27.6 27.6 38.8 14.0 0.7

อาเซียนรวม -609.4 -444.4 148.5 -651.0 -713.3 -243.7 -27.1 -133.4 -538.4 9.6

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(5) ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยในตลาดอาเซียน อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเปนอุตสาหกรรมที่เนนใชการเทคโนโลยี

และยังตองพึ่ งพาวัตถุดิบนําเขาในอัตราคอนขางสูง โดยเฉพาะการผลิต

เครื่องใช ไฟฟาที่ มีการนําเขาวัตถุดิบจากตางประเทศมากกวาการผลิต

อิเล็กทรอนิกสท่ีสวนมากใชวัตถุดิบภายในประเทศ ดังนั้นประเทศผูสงออกสินคา

ประเภทเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสจึงตองมีศักยภาพทางดานเทคโนโลยี

คอนขางสูง อยางไรก็ตามประเทศในภูมิภาคอาเซียนหลายประเทศเปนประเทศผู

สงออกสินคาประเภทเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสไปยังตลาดโลก ไดแก

มาเลเซีย สิงคโปร และไทย แตเมื่อพิจารณาตลาดในภูมิภาคอาเซียนพบวา

มาเลเซียเปนผูสงออกรายใหญ โดยในป 2547 มาเลเซียมีอัตราการขยายตัวอยูท่ี

รอยละ 13.7 ในป 2549 - 2550 อัตราการขยายตัวเริ่มมีแนวโนมลดลง อยูท่ีรอยละ

Page 27: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

30

8.9 และ 2.8 ตามลําดับ ตอมาในป 2551 อัตราการขยายตัวหดตัวลดลงเปนครั้ง

แรกในรอบ 5 ป โดยหดตัวลดลงอยูท่ีรอยละ -2.0 สงผลใหสวนแบงตลาดลดลงอยู

ท่ีรอยละ 38.1 แตก็ยังคงเปนประเทศที่มีสวนแบงทางการตลาดมากเปนอันดับ 1

ในกลุมอาเซียน สําหรับประเทศสิงคโปรเปนผูสงออกที่มีสวนแบงทางการตลาด

เปนอันดับท่ี 2 ของกลุม โดยมีแนวโนมของอัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดที่

เพิ่มขึ้น โดยในป2551 อัตราการขยายตัวอยูท่ีรอยละ 25.2 และสวนแบงตลาดอยูท่ี

รอยละ 24.4 ตามลําดับ สําหรับไทยผูสงออกอันดับท่ี 3 แมจะมีสวนแบงตลาด

คอนขางนอยเมื่อเทียบกับประเทศผูสงออกรายใหญท้ัง 2 แตในป 2551 สามารถ

สงออกเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเพิ่มขึ้น ทําใหอัตราการขยายตัวและสวน

แบงตลาดเพิ่มขึ้นในรอบ 4 ป โดยอัตราการขยายตัวอยูท่ีรอยละ 16.4 และสวน

แบงตลาดอยูท่ีรอยละ 14.8 ตามลําดับ ดังแสดงในภาพที่ 8

หมายเหตุ : ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ.

ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส

ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553)

ภาพที่ 8 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสในตลาดอาเซียน

Page 28: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

31

2.5 อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ (1) การสงออกของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศ

ไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ

ของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2552

มูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทยใน

ตลาดโลกมีทิศทางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ และสําหรับมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรม

อัญมณีและเครื่องประดับของไทยไปยังประเทศตาง ๆ ในอาเซียน พบวาในป 2548

ไทยมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไปยังประเทศ

สิงคโปรมากที่สุด โดยมีมูลคาการสงออกเทากับ 72.3 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปน

สัดสวนรอยละ 77.5 รองลงมาคือ อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซ่ึงมีมูลคาการสงออก

เทากับ 11.8 และ 4.9 ตามลําดับ อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาในป 2550-2552

พบวา ประเทศที่ไทยมีการสงออกมากที่สุดเปนอันดับ 2 และ 3 เปลี่ยนเปนประเทศ

มาเลเซีย และลาว ซ่ึงในป 2552 มีมูลคาการสงออกเทากับ 14.2 และ 4.8

ตามลําดับ สวนประเทศอินโดนีเซียตกไปเปนอันดับท่ี 4 (ตารางที่ 18)

Page 29: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

32

ตารางที่ 18 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.1 0.1 0.2 0.4 5.8 45.5 -38.1 298.5 87.5 1,255.8 0.1 0.1 0.2 0.2 8.0

กัมพูชา 0.2 0.3 0.3 0.2 0.3 578.1 53.7 -4.9 -25.4 18.1 0.2 0.4 0.3 0.1 0.4

มาเลเซีย 4.9 4.0 10.5 28.3 14.2 -24.8 -18.2 163.1 169.4 -49.8 5.2 4.4 11.1 13.0 19.5

พมา 0.6 2.2 0.5 0.0 0.5 -20.1 261.1 -78.7 -92.3 1,194.9 0.6 2.4 0.5 0.0 0.6

ฟลลิปนส 0.1 0.1 0.2 0.0 1.0 29.4 -47.8 379.8 -85.1 2,682.6 0.1 0.1 0.3 0.0 1.4

สิงคโปร 72.3 67.2 64.2 168.1 38.9 78.2 -7.1 -4.4 161.7 -76.9 77.5 73.4 67.8 77.3 53.3

เวียดนาม 3.3 4.2 4.4 4.5 3.6 4.4 25.6 5.3 2.1 -19.4 3.6 4.6 4.6 2.1 5.0

อินโดนีเซีย 11.8 10.5 7.1 4.4 3.8 92.3 -10.7 -32.5 -38.4 -12.1 12.6 11.5 7.5 2.0 5.3

ลาว 0.0 3.0 7.3 11.6 4.8 117.5 60,214.7 143.8 58.4 -58.2 0.0 3.3 7.7 5.3 6.6

อาเซียนรวม 93.3 91.5 94.8 217.6 73.0 62.8 -2.0 3.7 129.5 -66.5 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 3,203.4 3,671.4 5,779.6 8,278.7 9,694.7 21.6 14.6 57.4 43.2 17.1 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(2) การสงออกของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศ

ตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ

ของประเทศไทยและประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ในป 2548 – 2549

ประเทศที่มีมูลการสงออกอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไปยังตลาด

อาเซียนมากที่สุด ไดแก อินโดนีเซีย โดยในป 2549 มีมูลคาการสงออกออก

อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับเทากับ 845.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปน

สัดสวนรอยละ 42.9 สวนประเทศมาเลเซียและสิงคโปร เปนประเทศที่มีการสงออก

อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับรองเปนอันดับ 2 และ 3 ซ่ึงมีมูลคาการ

สงออกเทากับ 573.8 และ 428.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 19.1

และ 21.7 ตามลําดับ ตอมาในป 2550 พบวาประเทศมาเลเซียกลายเปนประเทศที่

มีการสงออกอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุด มี

Page 30: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

33

มูลคาการสงออกเทากับ 748.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 44.1

รองลงคือ สิงคโปรมีมูลคาการสงออกเทากับ 491.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปน

สัดสวนรอยละ 29.0 สวนอินโดนีเซียกลายเปนประเทศที่มีการสงออกไปยังตลาด

อาเซียนเปนอันดับ 3 โดยมีมูลคาการสงออกเทากับ 354.5ลานเหรียญสหรัฐฯ คิด

เปนสัดสวนรอยละ 20.9 และเมื่อพิจารณาในป 2552 พบวาอินโดนีเซียกลับมาเปน

ประเทศที่มีมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไปใน

ตลาดอาเซียนมากที่สุดรองลงมาเปน มาเลเซียและสิงคโปร เชนเดียวกับป 2548

(ตารางที่ 19)

ตารางที่ 19 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 9.1 12.3 9.7 13.4 12.4 111.0 34.8 -20.9 37.8 0.2 0.7 0.6 0.6 0.5 0.6

กัมพูชา 36.4 39.9 24.5 22.0 171.0 958,808.6 9.4 -38.7 -10.2 679.0 2.6 2.0 1.4 0.9 7.9

มาเลเซีย 489.9 573.8 748.2 869.0 598.9 17.4 17.1 30.4 16.2 -6.5 35.1 29.1 44.1 35.6 27.6

พมา 2.5 4.9 5.7 1.5 0.8 -39.6 96.5 17.5 -73.2 -41.4 0.2 0.2 0.3 0.1 0.0

ฟลิปปนส 8.0 15.9 18.1 78.6 15.1 115.3 97.8 13.8 333.9 -4.6 0.6 0.8 1.1 3.2 0.7

สิงคโปร 311.8 428.1 491.2 648.2 349.2 5.6 37.3 14.7 32.0 -26.7 22.4 21.7 29.0 26.6 16.1

ไทย 35.3 46.4 40.1 65.6 27.8 -5.7 31.5 -13.7 63.6 -44.1 2.5 2.4 2.4 2.7 1.3

เวียดนาม 3.3 3.9 4.7 46.8 4.1 22.6 19.6 18.7 901.7 -90.7 0.2 0.2 0.3 1.9 0.2

อินโดนีเซีย 498.7 845.2 354.5 696.2 988.4 4.7 69.5 -58.1 96.4 224.8 35.7 42.9 20.9 28.5 45.6

ลาว 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -93.7 0.0 -69.8 -81.3 -97.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

อาเซียนรวม 1,395.1 1,970.4 1,696.6 2,441.4 2,167.7 12.4 41.2 -13.9 43.9 38.4 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 10,274.6 10,214.9 11,881.1 18,846.3 10,434.3 39.9 -0.6 16.3 58.6 -25.9 - - - - -

หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

Page 31: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

34

(3) การนาํเขาสินคาในอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของ

ประเทศไทยจากตลาดอาเซียนและตลาดโลก พบวาตั้งแต 2548 – 2551 มูลคาการ

นําเขาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทยจากตลาดโลกและ

ตลาดอาเซียนมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง จนกระทั่งในป 2552 มูลคา

การนําเขาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทยจากตลาดโลกมี

แนวโนมปรับตัวลดลง โดยในป 2552 ไทยมีมูลคาการนําเขานําเขาอุตสาหกรรม

อัญมณีและเครื่องประดับจากตลาดโลกและตลาดอาเซียนเทากับ 6,037.4 และ

215.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 35.7 และ 29.4

ตามลําดับ โดยประเทศที่ไทยนําเขาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับจาก

ตลาดอาเซียนมากที่สุดไดแก ประเทศมาเลเซีย ซ่ึงในป 2552 มีมูลคาการนําเขา

เทากับ 145.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 67.4 รองลงมาคือ

สิงคโปร และอินโดนีเซีย มีมูลคาการนําเขาเทากับ 58.3 และ 4.6 ตามลําดับ

(ตารางที่ 20)

Page 32: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

35

ตารางที่ 20 มูลคาการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -85.2 502.4 147.0 -94.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

กัมพูชา 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -70.5 41.4 645.6 245.8 -94.2 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

มาเลเซีย 74.3 96.5 135.1 155.8 145.0 10.0 29.8 40.0 15.4 -7.0 49.2 57.2 67.0 51.1 67.4

พมา 1.2 3.3 3.4 1.0 0.8 -66.5 174.3 2.5 -72.1 -10.8 0.8 2.0 1.7 0.3 0.4

ฟลลิปนส 2.2 7.4 7.4 63.9 2.9 326.0 237.1 0.8 761.5 -95.5 1.4 4.4 3.7 21.0 1.3

สิงคโปร 24.4 34.3 45.2 53.5 58.3 23.2 40.4 32.1 18.3 8.9 16.1 20.3 22.4 17.6 27.1

เวียดนาม 3.2 3.5 4.2 5.9 3.6 35.3 8.3 21.1 40.7 -40.2 2.1 2.1 2.1 1.9 1.7

อินโดนีเซีย 45.8 23.8 6.2 24.5 4.6 102.5 -47.9 -73.9 295.4 -81.4 30.3 14.1 3.1 8.1 2.1

ลาว 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -92.1 108.8 -69.8 -81.3 -97.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

อาเซียนรวม 151.1 168.8 201.6 304.7 215.1 29.6 11.7 19.4 51.2 -29.4 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 4,086.4 4,088.4 4,586.0 9,392.7 6,037.4 36.3 0.0 12.2 104.8 -35.7 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(4) ดุลการคาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ

ของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน พบวา ในภาพรวมกลุมประเทศในอาเซียน

ขาดดุลการคาในอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับอยางตอเนื่อง ตั้งแตป

2548 - 2552 ซ่ึงประเทศที่มีการขาดดุลการคาในอุตสาหกรรมอัญมณีและ

เครื่องประดับไดแกประเทศ มาเลเซีย พมา ฟลลิปนส ไทย สิงคโปร ไทย และ

อินโดนีเซีย โดยขาดดุลเทากับ 130.7 0.4 1.8 19.4 436.6 และ 0.7 ลานเหรียญ

สหรัฐฯ ตามลําดับ สวนประเทศ บรูไน กัมพูชา บรูไน กัมพูชา เวียดนาม ลาว

เกินดุลการคา (ตารางที่ 21)

Page 33: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

36

ตารางที่ 21 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

โลก -883.1 -417.0 1193.6 -1114.0 3657.3 142.9 -52.8 -386.2 -193.3 -428.3

บรูไน 0.1 0.1 0.2 0.4 5.8 44.2 -37.7 298.1 87.3 1261.8

กัมพูชา 0.2 0.3 0.3 0.2 0.3 632.0 53.7 -6.9 -32.1 32.2

มาเลเซีย -69.5 -92.5 -124.5 -127.5 -130.7 13.7 33.2 34.6 2.4 2.5

พมา -0.6 -1.1 -2.9 -0.9 -0.4 -78.7 88.6 155.7 -68.9 -57.9

ฟลลิปนส -2.1 -7.3 -7.2 -63.9 -1.8 378.1 250.7 -1.9 790.8 -97.1

สิงคโปร 47.9 32.9 19.0 114.6 -19.4 130.6 -31.3 -42.3 503.1 -116.9

ไทย -71.6 -72.8 -114.7 -657.5 -436.6 3.9 1.7 57.5 473.5 -33.6

เวียดนาม 0.1 0.7 0.2 -1.4 0.1 -87.0 555.6 -74.4 -921.2 -104.6

อินโดนีเซีย -34.0 -13.3 0.9 -20.2 -0.7 106.3 -60.8 -106.6 -2392.5 -96.4

ลาว 0.0 3.0 7.3 11.6 4.8 -98.2 -211242.5 144.8 58.5 -58.1

อาเซียนรวม -129.4 -150.1 -221.4 -744.6 -578.7 1.0 16.0 47.5 236.3 -22.3

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(5) ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทยในตลาดอาเซียน

อัญมณีและเครื่องประดับเปนสินคาสงออกที่มาเลเซียและอินโดนีเซียสงออก

ไปในตลาดอาเซียนมากที่สุดเปนอันดับท่ี 1 และ 2 ตามลําดับ โดยในป 2549

อินโดนีเซียมีมูลคาการสงออกมากที่สุด สงผลใหสวนแบงตลาดเพิ่มขึ้นอยูท่ีรอยละ

42.9 แตในป 2550 สวนแบงตลาดกลับลดลงอยูท่ีรอยละ 20.9 เนื่องจากประเทศ

มาเลเซียผูสงออกอันดับท่ี 2 มีการสงออกเพิ่มขึ้นทําใหมีสวนแบงตลาดเพิ่มขึ้นอยูท่ี

รอยละ 44.1 ซ่ึงถือวาเปนสวนแบงตลาดที่มากที่สุด ในชวงป 2551 มาเลเซียมีสวน

แบงตลาดลดลงมาอยูท่ี 35.6 เนื่องจากอินโดนีเซียสามารถแยงสวนแบงตลาดได

เพิ่มขึ้น โดยมีสวนแบงตลาดอยูท่ีรอยละ 26.6 สําหรับประเทศไทยพบวาการ

สงออกอัญมณีและเครื่องประดับไปยังตลาดอาเซียนมีสวนแบงตลาดที่นอยมาก

ผิดกับการสงออกไปตลาดโลกที่ไทยมีมูลคาการสงออกเปนอันดับท่ี 1 ของกลุม

Page 34: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

37

อาเซียน โดยสวนแบงทางการตลาดของไทยในตลาดอาเซียของป 2551 อยูท่ีรอย

ละ 2.7 ซ่ึงจัดเปนสวนแบงตลาดอันดับท่ี 4 ของกลุมรองจาก มาเลเซีย อินโดนีเซีย

และสิงคโปร ดังแสดงในภาพที่ 9

หมายเหตุ : ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ.

ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส

ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553)

ภาพที่ 9 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกอัญมณีและเครื่องประดับในตลาดอาเซียน

2.6 อุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวน (1) การสงออกของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนของประเทศไทย

ในตลาดอาเซียนและตลาดโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนของ

ประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2551 มูลคา

การสงออกมีทิศทางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ แตในป 2552 มูลคาการสงออกกลับมีทิศทางที่

หดตัวลงเทากับรอยละ 25.0 และ 28.0 ตามลําดับ และสําหรับมูลคาการสงออก

Page 35: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

38

ของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนของไทยไปยังประเทศตาง ๆ ในอาเซียน

พบวาในป 2548 ไทยมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนไปยัง

ประเทศอินโดนีเซียมากที่สุด โดยมีมูลคาการสงออกเทากับ 946.1 ลานเหรียญ

สหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ 30.5 รองลงมาคือ สิงคโปร และมาเลเซีย ซ่ึงมีมูลคา

การสงออกเทากับ 916.1 และ 509.3 ตามลําดับ อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาขอมูล

มูลคาการสงออกในป 2552 พบวาการสงออกอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวน

ของประเทศไทยในตลาดอาเซียนพบวาประเทศที่ไทยสงออกมากที่สุดยังคงเปน

ประเทศอินโดนีเซีย โดยมีมูลคาการสงออกเทากับ 1,010.9 ลานเหรียญสหรัฐฯคิด

เปนสัดสวนรอยละ 24.0 ในขณะที่ประเทศมาเลเซียและสิงคโปรกลายเปนตลาดที่

ไทยสงออกมากที่สุดรองเปนอันดับ 2 และอันดับ 3 ตามลําดับ โดยในป 2552 มูล

คาที่ไทยสงออกยังประเทศมาเลเซียและสิงคโปรเทากับ 879.6 และ 716.0 ลาน

เหรียญสหรัฐฯ คิดเปนรอยละ 20.9 และ 17.9 (ตารางที่ 22)

ตารางที่ 22 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 19.4 22.6 28.8 34.0 40.8 5.1 16.8 27.1 18.2 19.9 0.6 0.7 0.7 0.6 1.0

กัมพูชา 74.8 210.2 159.3 262.5 90.4 -13.8 180.9 -24.2 64.8 -65.6 2.4 6.7 3.7 4.7 2.1

มาเลเซีย 509.3 508.4 828.9 1,127.1 879.6 70.2 -0.2 63.0 36.0 -22.0 16.4 16.2 19.1 20.1 20.9

พมา 20.6 25.3 50.1 68.9 99.0 -45.4 23.0 97.9 37.5 43.7 0.7 0.8 1.2 1.2 2.4

ฟลลิปนส 398.9 496.7 635.3 713.5 716.0 47.6 24.5 27.9 12.3 0.3 12.9 15.9 14.7 12.7 17.0

สิงคโปร 916.1 881.9 1,051.0 1,027.4 753.3 27.0 -3.7 19.2 -2.2 -26.7 29.5 28.2 24.2 18.3 17.9

เวียดนาม 125.5 173.5 214.4 418.5 384.8 37.8 38.3 23.6 95.2 -8.1 4.0 5.5 4.9 7.5 9.1

อินโดนีเซีย 946.1 681.9 1,168.6 1,712.5 1,010.9 36.6 -27.9 71.4 46.5 -41.0 30.5 21.8 27.0 30.5 24.0

ลาว 89.9 128.3 199.3 243.0 232.7 89.3 42.8 55.3 21.9 -4.2 2.9 4.1 4.6 4.3 5.5

อาเซียนรวม 3,100.5 3,129.0 4,335.7 5,607.5 4,207.4 36.9 0.9 38.6 29.3 -25.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 9,452.7 11,584.5 15737.1 18,738.8 13,500.5 32.2 22.6 35.8 19.1 -28.0 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

Page 36: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

39

(2) การสงออกของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน

จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนของ

ประเทศไทยและประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ตั้งแตป 2548 เปนตนมา

ประเทศที่มีมูลการสงออกอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนไปยังตลาดอาเซียน

มากที่สุด ไดแก ไทย โดยในป 2552 ไทยมีมูลคาการสงออกออกอุตสาหกรรมยาน

ยนตและช้ินสวนเทากับ 2,220.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 36.4

รองลงมาเปนประเทศสิงคโปร ในป 2552 มีมูลคาการสงออกเทากับ 2,064.4 ลาน

เหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 33.9 และประเทศที่ มีการสงออก

อุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดอาเซียนเปนอันดับ 3 คือประเทศ

อินโดนีเซีย ในป 2552 มีมูลคาการสงออกเทากับ 791.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิด

เปนสัดสวนรอยละ 13.0 (ตารางที่ 23)

Page 37: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

40

ตารางที่ 23 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ)

ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551

2552

* 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.4 0.5 0.4 2.5 2.6 -91.9 6.6 -14.1 527.2 35.5 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

กัมพูชา 0.1 3.2 2.1 0.6 1.3 -80.0 3257.4 -32.7 -72.1 549.6 0.0 0.1 0.0 0.0 0.0

มาเลเซีย 439.1 513.4 648.9 964.8 642.8 9.8 16.9 26.4 48.7 -3.7 10.6 10.2 11.6 10.3 10.5

พมา 0.2 0.3 1.3 6.6 2.9 -2.0 50.5 341.7 407.7 -44.4 0.0 0.0 0.0 0.1 0.0

ฟลิปปนส 475.4 400.1 403.5 595.3 286.2 14.4 -15.8 0.8 47.6 -35.2 11.5 7.9 7.2 6.4 4.7

สิงคโปร 519.0 919.7 657.3 1,595.5 2,064.4 45.9 77.2 -28.5 142.7 87.8 12.5 18.2 11.8 17.1 33.9

ไทย 2,059.1 2,515.2 2,834.3 4,291.5 2,220.0 33.3 22.1 12.7 51.4 -31.9 49.6 49.8 50.8 46.0 36.4

เวียดนาม 62.4 91.3 233.4 124.5 81.9 44.3 46.4 155.5 -46.7 -14.7 1.5 1.8 4.2 1.3 1.3

อินโดนีเซีย 593.0 606.5 791.8 1730.9 791.6 37.1 2.3 30.5 118.6 -45.5 14.3 12.0 14.2 18.6 13.0

ลาว 0.0 0.4 7.3 15.5 4.4 -96.5 0.0 1841.8 113.0 -67.5 0.0 0.0 0.1 0.2 0.1

อาเซียนรวม 4,148.7 5,050.6 5,580.3 9,327.6 6,098.0 29.7 21.7 10.5 67.2 -13.3 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 24,921.8 28,688.4 33,180.8 45,822.4 28,406.8 15.6 15.1 15.7 38.1 -19.3 - - - - -

หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(3) การนาํเขาสินคาในอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนของ

ประเทศไทยจากตลาดอาเซียนและตลาดโลก พบวาตั้งแต 2548 – 2552 มูลคาการ

นําเขาอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนของประเทศไทยจากตลาดโลกมีแนวโนม

ปรับตัวสูงขึ้น ยกเวนในป 2549 และ 2552 ท่ีหดตัวลงจากปกอนหนา โดยในป

2549 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนของประเทศไทยจาก

ตลาดอาเซียนและตลาดโลกหดตัวลดลงเทากับรอยละ 17.3 และ 11.5 และในป

2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนของประเทศไทยจาก

ตลาดอาเซียนและตลาดโลกหดตัวลดลงเทากับรอยละ 31.6 และ 21.9 สําหรับใน

ป 2552 ประเทศที่ไทยนําเขาอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนจากตลาดอาเซียน

Page 38: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

41

มากที่สุดไดแก ประเทศสิงคโปร ซ่ึงในป 2552 มีมูลคาการนําเขาเทากับ 550.6

ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 42.6 รองลงมาคือ ฟลลิปนส และ

อินโดนีเซีย มีมูลคาการนําเขาเทากับ 293.6 และ 280.7 ตามลําดับ (ตารางที่ 24)

ตารางที่ 24 มูลคาการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมยานยนตและช้ินสวนของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -100.0 -52.3 2,088.6 198.4 -37.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

กัมพูชา 0.1 0.0 2.1 0.2 0.4 -83.8 -85.5 19,406.3 -91.7 131.3 0.0 0.0 0.3 0.0 0.0

มาเลเซีย 97.2 95.3 129.6 155.4 106.2 -3.5 -2.0 36.0 19.9 -31.7 13.1 15.5 17.8 8.2 8.2

พมา 0.1 0.2 0.1 2.4 13.9 -52.3 162.6 -66.3 2,916.6 471.5 0.0 0.0 0.0 0.1 1.1

ฟลลิปนส 357.6 300.9 285.9 400.2 293.6 10.1 -15.9 -5.0 40.0 -26.6 48.2 49.0 39.2 21.2 22.7

สิงคโปร 74.3 33.1 38.2 350.9 550.6 99.4 -55.5 15.4 819.6 56.9 10.0 5.4 5.2 18.5 42.6

เวียดนาม 11.7 23.4 37.1 44.3 42.1 18.7 100.6 58.5 19.5 -5.0 1.6 3.8 5.1 2.3 3.3

อินโดนีเซีย 201.6 160.5 228.8 923.2 280.7 14.1 -20.4 42.6 303.5 -69.6 27.1 26.1 31.4 48.8 21.7

ลาว 0.0 0.4 7.3 15.4 6.3 -96.4 1,010.5 1,841.8 112.5 -59.3 0.0 0.1 1.0 0.8 0.5

อาเซียนรวม 742.6 613.7 728.9 1,892.0 1,293.8 13.2 -17.3 18.8 159.6 -31.6 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 5,808.8 5,142.3 6,483.0 8,159.7 6,370.0 22.8 -11.5 26.1 25.9 -21.9 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(4) ดุลการคาอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนของ

ประเทศไทยและประเทศในอาเซียน พบวา ในภาพรวมกลุมประเทศในอาเซียน

เกินดุลการคาในอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนอยางตอเนื่อง ตั้งแตป 2548 -

2552 ซ่ึงประเทศไทยเปนประเทศเดียวที่ขาดดุลการคาเกินดุลการคาใน

อุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวน โดยในป 2552 ขาดดุลเทากับ 22.7 ลานเหรียญ

สหรัฐฯ (ตารางที่ 25)

Page 39: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

42

ตารางที่ 25 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

โลก 3,643.9 6,442.1 9,254.1 10,579.1 7,130.5 50.6 76.8 43.6 14.3 -32.6

บรูไน 19.4 22.6 28.8 34.0 40.8 44.2 16.8 27.1 18.2 19.9

กัมพูชา 74.8 210.2 157.2 262.4 90.0 -13.5 181.1 -25.2 66.9 -65.7

มาเลเซีย 412.1 413.2 699.4 971.8 773.4 107.7 0.3 69.3 39.0 -20.4

พมา 20.5 25.1 50.0 66.5 85.1 -45.3 22.4 99.4 32.9 28.1

ฟลลิปนส 41.3 195.8 349.4 313.3 422.3 -176.0 373.6 78.5 -10.3 34.8

สิงคโปร 841.7 848.8 1012.8 676.6 202.7 23.1 0.8 19.3 -33.2 -70.0

ไทย -4.6 -5.0 -31.2 -30.6 -22.7 -23.7 8.6 523.6 -1.9 -25.6

เวียดนาม 113.8 150.1 177.3 374.2 342.8 40.1 31.9 18.2 111.0 -8.4

อินโดนีเซีย 744.5 521.5 939.8 789.3 730.2 44.4 -30.0 80.2 -16.0 -7.5

ลาว 89.9 128.0 192.1 227.5 226.4 93.1 42.4 50.1 18.5 -0.5

อาเซียนรวม 2,353.4 2,510.3 3,575.6 3,684.9 2,890.9 46.8 6.7 42.4 3.1 -21.5

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(5) ตําแหนงตลาดอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนของประเทศไทยในตลาดอาเซียน

การสงออกอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนไปยังตลาดอาเซียนนั้น ถือวา

ไทยเปนผูสงออกรายใหญท่ีสุดในกลุมอาเซียน เนื่องจากไทยเปนศูนยรวมของ

ผูผลิตยานยนตช้ันนําของโลก ท้ังคายญี่ปุน ยุโรป และอเมริกาเหนือ เชน โตโยตา

อีซูซุ มิตซูบิชิ ฟอรด มาสดา นิสสัน BMW เจนเนอรัลมอเตอร ฯลฯ ซ่ึงบริษัทเหลานี้

มีบทบาทสูงมาก ท้ังในดานการผลิต การตลาด และการสงออก สงผลใหไทยมี

ความไดเปรียบทางดานโครงสรางการผลิต ซ่ึงเปนทั้งผูผลิต (ผูประกอบ) รถยนต

และผูผลิตชิ้นสวน2สงผลใหไทยเปนฐานการผลิตและสงออกรถปกอัพและ

รถจักรยานยนตอันดับตนของโลก รวมไปถึงการสงออกไปในตลาดอาเซียน ใน

ระหวางป 2547-2550 ไทยมีสวนแบงตลาดยานยนตและช้ินสวนในตลาดอาเซียน

เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยในป 2547 ไทยมีสวนแบงตลาดในอาเซียนเทากับรอยละ

Page 40: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

43

48.3 และพอป 2550 ไทยมีสวนแบงตลาดในอาเซียนเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 50.8

อยางไรก็ตามในป 2551 สวนแบงตลาดของไทยปรับตัวลงลงมาอยูท่ีรอยละ 46.0

โดยปจจัยสําคัญเกิดมาจากอินโดนีเซียสามารถสงออกยานยนตและชิ้นสวนได

เพิ่มขึ้น โดยมีสวนแบงตลาดอยูท่ีรอยละ 18.6 ซ่ึงเปนสวนแบงตลาดที่สูงที่สุดใน

รอบ 5 ป ของอินโดนีเซีย ดังแสดงในภาพที่ 10

หมายเหตุ : ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ.

ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส

ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553)

ภาพที่ 10 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกยานยนตและชิ้นสวนในตลาดอาเซียน

2.7 อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ (1) การสงออกของอุตสาหกรรมเคมีภัณฑของประเทศไทยในตลาด

อาเซียนและตลาดโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมเคมีภัณฑของประเทศ

ไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2551 มูลคาการ

สงออกมีทิศทางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ แตในป 2552 มูลคาการสงออกกลับมีทิศทางที่หด

Page 41: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

44

ตัวลงเทากับรอยละ 25.6 และ 5.3 ตามลําดับ และสําหรับมูลคาการสงออกของ

อุตสาหกรรมเคมีภัณฑของไทยไปยังประเทศตาง ๆ ในอาเซียน พบวาในป 2548

ไทยมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมเคมีภัณฑไปยังประเทศอินโดนีเซียมากที่สุด

โดยมีมูลคาการสงออกเทากับ 521.7 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ

30.6 รองลงมาคือ มาเลเซีย และสิงคโปร ซ่ึงมีมูลคาการสงออกเทากับ 388.6 และ

278.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ ตามลําดับ อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาขอมูลมูลคาการ

สงออกในป 2552 พบวาการสงออกอุตสาหกรรมเคมีภัณฑของประเทศไทยใน

ตลาดอาเซียนพบวาประเทศที่ไทยสงออกมากที่สุดยังคงเปน อินโดนีเซีย และ

มาเลเซีย ซ่ึงมูลคาที่ไทยสงออกยังประเทศมาเลเซียและสิงคโปรเทากับ 503.2 และ

453.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนรอยละ 22.4 และ 20.2 สวนประเทศที่มีการ

สงออกเปนอันดับ 3 เปลี่ยนเปนเวียดนาม มีมูลคาการสงออกเทากับ 368.7 ลาน

เหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ 16.4 ในขณะที่ประเทศสิงคโปรกลายเปน

ตลาดที่ไทยสงออกมากที่สุดรองเปนอันดับ 4 โดยในป 2552 มูลคาที่ไทยสงออกยัง

สิงคโปรเทากับ 276.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนรอย 12.3 (ตารางที่ 26)

Page 42: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

45

ตารางที่ 26 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมเคมีภัณฑของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.8 1.7 0.9 1.0 1.3 -17.5 117.0 -44.4 5.5 32.7 0.0 0.1 0.0 0.0 0.1

กัมพูชา 89.2 101.7 123.5 148.3 148.0 26.2 14.0 21.4 20.1 -0.2 5.2 5.5 5.8 4.9 6.6

มาเลเซีย 388.6 406.5 510.3 1110.0 453.0 -0.6 4.6 25.5 117.5 -59.2 22.8 21.9 23.8 36.7 20.2

พมา 83.7 93.8 125.5 146.4 153.3 0.3 12.0 33.8 16.7 4.7 4.9 5.0 5.9 4.8 6.8

ฟลลิปนส 139.3 163.1 194.3 227.4 232.2 3.0 17.1 19.2 17.1 2.1 8.2 8.8 9.1 7.5 10.3

สิงคโปร 278.0 336.2 397.2 465.4 276.2 23.0 21.0 18.2 17.2 -40.7 16.3 18.1 18.6 15.4 12.3

เวียดนาม 146.5 175.9 236.7 297.6 368.7 17.3 20.0 34.6 25.7 23.9 8.6 9.5 11.1 9.8 16.4

อินโดนีเซีย 521.7 520.7 471.2 522.4 503.2 30.6 -0.2 -9.5 10.9 -3.7 30.6 28.0 22.0 17.3 22.4

ลาว 55.9 60.6 81.0 103.3 111.1 40.9 8.4 33.8 27.5 7.6 3.3 3.3 3.8 3.4 4.9

อาเซียนรวม 1,703.7 1,860.1 2,140.6 3,021.8 2,246.9 15.8 9.2 15.1 41.2 -25.6 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 3,970.4 5,008.9 6,271.5 7,155.8 6,775.9 24.6 26.2 25.2 14.1 -5.3 - - - - -

หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(2) การสงออกของอุตสาหกรรมเคมีภัณฑของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน

จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมเคมีภัณฑของประเทศไทย

และประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ตั้งแตป 2548 เปนตนมา ประเทศที่มี

มูลการสงออกอุตสาหกรรมเคมีภัณฑไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุด ไดแก สิงคโปร

โดยในป 2551 สิงคโปรมีมูลคาการสงออกออกอุตสาหกรรมเคมีภัณฑเทากับ

3,687.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 37.1 รองลงมาเปนประเทศ

มาเลเซีย มีมูลคาการสงออกในป 2551 เทากับ 2,517.7 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิด

เปนสัดสวนรอยละ 25.3 และสําหรับประเทศไทยเปนประเทศที่มีการสงออก

อุตสาหกรรมเคมีภัณฑในตลาดอาเซียนเปนอันดับ 3 มีมูลคาการสงออก

อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ ในป 2551เทากับ 1,774.4ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนรอย

ละ 17.9 ตอมาในป 2552 พบวาประเทศไทยกลายเปนประเทศที่มีการสงออก

Page 43: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

46

อุตสาหกรรมเคมีภัณฑไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุดเปนอันดับ 1 โดยที่สิงคโปรตก

ไปเปนอันดับ 2 ซ่ึงทั้งไทยและสิงคโปรมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมเคมีภัณฑใน

ป 2552 เทากับ 2,220.0 และ 2,064.4 คิดเปนรอยละ 36.4 และ 33.9 ตามลําดับ

(ตารางที่ 27)

ตารางที่ 27 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมเคมีภัณฑของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.7 0.4 0.5 0.7 2.6 24.3 -39.2 25.5 31.7 35.5 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

กัมพูชา 0.5 1.0 0.5 0.4 1.3 105.7 95.1 -45.5 -13.8 549.6 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

มาเลเซีย 1,771.9 1,975.3 2,123.8 2,517.7 642.8 9.1 11.5 7.5 18.5 -3.7 24.8 24.4 22.8 25.3 10.5

พมา 0.4 0.6 0.3 0.2 2.9 -66.6 58.9 -51.9 -14.1 -44.4 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

ฟลิปปนส 114.5 124.0 138.7 162.0 286.2 35.1 8.3 11.9 16.8 -35.2 1.6 1.5 1.5 1.6 4.7

สิงคโปร 2,783.6 3,199.1 3,545.9 3,687.0 2,064.4 3.8 14.9 10.8 4.0 87.8 39.0 39.6 38.1 37.1 33.9

ไทย 1,278.4 1,544.0 1,447.5 1,774.4 2,220.0 10.6 20.8 -6.3 22.6 -31.9 17.9 19.1 15.6 17.9 36.4

เวียดนาม 75.7 100.8 147.4 357.1 81.9 26.8 33.1 46.2 142.3 -14.7 1.1 1.2 1.6 3.6 1.3

อินโดนีเซีย 1,118.3 1,136.5 1,898.1 1437.2 791.6 0.1 1.6 67.0 -24.3 -45.5 15.7 14.1 20.4 14.5 13.0

ลาว 0.2 0.3 0.2 0.5 4.4 51.8 0.0 -16.7 107.2 -67.5 0.0 0.0 0.0 0.0 0.1

อาเซียนรวม 7,144.1 8,082.0 9,302.9 9,937.3 6,098.0 6.2 13.1 15.1 6.8 -13.3 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 35,673.0 39836.4 46,309.6 56,558.8 31,954.0 10.0 11.7 16.2 22.1 -29.3 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(3) การนาํเขาสินคาในอุตสาหกรรมเคมีภัณฑของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมเคมีภัณฑของประเทศไทยจาก

ตลาดอาเซียนและตลาดโลก พบวาตั้งแต 2548 – 2551 มูลคาการนําเขา

อุตสาหกรรมเคมีภัณฑของประเทศไทยจากตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้นอยาง

ตอเนื่อง จนกระทั่งในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมเคมีภัณฑของประเทศ

ไทยจากตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวลดลง โดยในป 2552 ไทยมีมูลคาการนําเขา

Page 44: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

47

นําเขาเคมีภัณฑจากตลาดอาเซียนและตลาดโลกเทากับ 136.0 และ 978.8 ลาน

เหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 13.3 และ 16.4 ตามลําดับ

โดยประเทศที่ไทยนําเขาอุตสาหกรรมเคมีภัณฑจากตลาดอาเซียนมากที่สุดไดแก

ประเทศมาเลเซีย ซ่ึงในป 2552 มีมูลคาการนําเขาเทากับ 78.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ

คิดเปนสัดสวนรอยละ 57.4 รองลงมาคือ อินโดนีเซีย และเวียดนาม มีมูลคาการ

นําเขาเทากับ 35.8 และ7.2 ตามลําดับ (ตารางที่ 28)

ตารางที่ 28 มูลคาการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมเคมีภัณฑของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -100.0 0.0 110,900.0 -67.6 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

กัมพูชา 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -57.7 -79.0 203.5 -36.7 84.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

มาเลเซีย 62.0 69.9 77.7 93.9 78.0 -1.6 12.8 11.2 20.9 -16.9 44.8 53.7 55.1 59.9 57.4

พมา 0.2 0.1 0.1 0.1 0.0 -36.3 -52.9 20.7 -2.0 -70.3 0.1 0.1 0.1 0.1 0.0

ฟลลิปนส 2.6 3.1 3.0 2.0 2.7 -28.8 21.8 -3.8 -35.3 37.1 1.9 2.4 2.1 1.2 2.0

สิงคโปร 15.7 13.5 12.1 11.8 9.2 -41.6 -13.6 -10.8 -2.0 -21.9 11.3 10.4 8.6 7.5 6.8

เวียดนาม 8.8 6.8 10.9 9.4 10.2 67.3 -22.8 61.0 -14.1 8.3 6.4 5.2 7.7 6.0 7.5

อินโดนีเซีย 49.0 36.6 37.2 39.5 35.8 15.9 -25.3 1.7 6.2 -9.4 35.4 28.1 26.4 25.2 26.3

ลาว 0.2 0.1 0.1 0.0 0.0 1,189.0 -51.9 -50.1 -41.3 15.0 0.2 0.1 0.0 0.0 0.0

อาเซียนรวม 138.4 130.1 141.1 156.8 136.0 -2.1 -6.0 8.5 11.1 -13.3 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 839.7 863.5 1,058.3 1,170.3 978.8 3.4 2.8 22.6 10.6 -16.4 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(4) ดุลการคาอุตสาหกรรมเคมีภัณฑของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาอุตสาหกรรมเคมีภัณฑของประเทศไทยและ

ประเทศในอาเซียน ในป 2552 พบวา ในภาพรวมกลุมประเทศในอาเซียนมี

ดุลการคาเกินดุล โดยเกินดุลเทากับ 446.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงประเทศที่มี

ดุลการคาเกินดุลไดแก ประเทศ บรูไน กัมพูชา พมา ฟลลิปนส เวียดนาม

Page 45: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

48

อินโดนีเซีย และลาว โดยเกินดุลเทากับ 1.3 147.9 152.8 194.4 325.0 123.4 และ

110.3 ลานเหรียญสหรัฐฯ ตามลําดับ สวนประเทศ มาเลเซีย สิงคโปร และ ไทย

ขาดดุลการคา (ตารางที่ 29)

ตารางที่ 29 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมเคมีภัณฑของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

โลก -5,308.8 -5,278.9 -6,790.6 -8,652.9 -4,532.1 3.0 -0.6 28.6 27.4 -47.6

บรูไน 0.8 1.7 0.9 1.0 1.3 -16.9 115.1 -43.9 5.5 32.7

กัมพูชา 89.1 101.1 123.4 148.2 147.9 26.0 13.5 22.1 20.2 -0.2

มาเลเซีย -206.0 -313.4 -296.7 244.7 -161.1 96.7 52.2 -5.3 -182.5 -165.8

พมา 83.7 93.6 125.4 146.3 152.8 0.3 11.9 33.9 16.7 4.5

ฟลลิปนส 112.5 133.5 160.0 186.4 194.4 4.7 18.7 19.8 16.5 4.3

สิงคโปร -540.9 -647.9 -665.4 -601.8 -441.1 6.2 19.8 2.7 -9.6 -26.7

ไทย -1.5 -7.1 -44.6 -10.7 -6.2 -40.4 388.8 525.7 -76.1 -42.2

เวียดนาม 126.0 151.9 194.2 237.1 325.0 17.5 20.6 27.9 22.1 37.1

อินโดนีเซีย 141.4 163.4 -271.6 -5.4 123.4 1086.9 15.6 -266.2 -98.0 -2,398.2

ลาว 55.7 60.3 80.8 103.3 110.3 40.9 8.4 33.9 27.8 6.8

อาเซียนรวม -139.3 -262.8 -593.7 449.2 446.8 -28.6 88.7 125.9 -175.7 -0.5

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(5) ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมเคมีภัณฑของประเทศไทยในตลาดอาเซียน

อุตสาหกรรมเคมีภัณฑของไทยเปนอุตสาหกรรมที่ตองพึ่งพาวัตถุดิบนําเขา

เปนสวนใหญ ทําใหผูประกอบการในประเทศสวนใหญจะประกอบการใน

อุตสาหกรรมขั้นปลาย เพราะเปนอุตสาหกรรมที่ใช เงินลงทุนต่ํา ในขณะที่

อุตสาหกรรมเคมีภัณฑขึ้นพื้นฐานเปนอุตสาหกรรมที่ มีการใชเงินลงทุนสูง

เนื่องจากมีการใชวัตถุดิบและพลังงานคอนขางสูง อีกทั้งคูแขงที่สําคัญของไทย

ไดแก สิงคโปร อินโดนีเซีย มาเลเซีย และเกาหลี มีความไดเปรียบเนื่องจากมี

Page 46: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

49

เทคโนโลยีและโครงสรางพื้นฐานที่เอื้อประโยชนตอการผลิต ทําใหอุตสาหกรรม

เคมีภัณฑในตลาดโลกมีการแขงขันที่คอนขางสูงและมีความรุนแรงขึ้นเปนลําดับ

โดยเฉพาะสิงคโปรคูแขงที่สามารถครองสวนแบงตลาดมากที่สุดในตลาดอาเซียน

โดยในป 2547 มีอัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดสูงถึงรอยละ 44.7 และ

40.2 ตามลําดับ หลังจากนั้นในปตอๆ มาสวนแบงตลาดของสิงคโปรมีแนวโนม

ลดลงอยางตอเนื่องจนถึงในป 2551 ท่ีสิงคโปรมีสวนแบงตลาดต่ําสุดในรอบ 5 ป

อยูท่ีรอยละ 37.6 โดยสวนแบงตลาดของสิงคโปรท่ีลดลงเปนผลจากการสงออกที่

เพิ่มขึ้นของหลายๆประเทศ เชน มาเลเซีย เวียดนาม และ ไทย สําหรับไทยถือวา

เปนผูสงออกเคมีภัณฑอันดับท่ี 3 ในตลาดอาเซียน ในป 2551 โดยสามารถครอง

สวนแบงตลาดเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 18.1 จากอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 22.6

ในป 2551 อยางไรก็ตามแมสวนแบงตลาดจะปรับตัวสูงขึ้นแตก็ยังคงอยูในระดับท่ี

นอยมากเมื่อเทียบกับประเทศผูสงออกหลักอยางสิงคโปร ดังแสดงในภาพที่ 11

หมายเหตุ : ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ.

ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส

ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553)

ภาพที่ 11 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกเคมีภัณฑในตลาดอาเซียน

Page 47: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

50

2.8 อุตสาหกรรมยาง (1) การสงออกของอุตสาหกรรมยางของประเทศไทยในตลาดอาเซียน

และตลาดโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมยางของประเทศไทยใน

ตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2551 มูลคาการสงออกมี

ทิศทางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ แตในป 2552 มูลคาการสงออกกลับมีทิศทางที่หดตัวลง

เทากับรอยละ6.7 และ 4.3 ตามลําดับ และสําหรับมูลคาการสงออกของ

อุตสาหกรรมยางของไทยไปยังประเทศตาง ๆ ในอาเซียน พบวาในป 2548 ไทยมี

มูลคาการสงออกอุตสาหกรรมยางไปยังประเทศมาเลเซียมากที่สุด โดยมีมูลคาการ

สงออกเทากับ 150.4 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ 33.7 รองลงมาคือ

อินโดนีเซีย และเวียดนาม ซ่ึงมีมูลคาการสงออกเทากับ 81.0 และ 55.8 ตามลําดับ

อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาขอมูลมูลคาการสงออกในป 2552 พบวาการสงออก

อุตสาหกรรมยางของประเทศไทยในตลาดอาเซียนพบวาประเทศที่ไทยสงออกมาก

ท่ีสุดยังคงเปนมาเลเซียเชนเดิม โดยมีมูลคาการสงออกเทากับ 286.1 ลานเหรียญ

สหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ อินโดนีเซียเปนตลาดที่ไทยสงออกมากที่สุดรองเปน

อันดับ 3 โดยในป 2552 มูลคาที่ไทยสงออกยังประเทศเวียดนามและอินโดนีเซีย

เทากับ 180.8 และ 114.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนรอยละ 21.0 และ 13.3

ตามลําดับ (ตารางที่ 30)

Page 48: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

51

ตารางที่ 30 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมยางของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.7 0.9 1.5 1.8 1.7 50.0 35.0 58.1 23.2 -5.9 0.2 0.2 0.2 0.2 0.2

กัมพูชา 26.6 32.0 45.2 56.6 59.4 15.3 20.3 41.2 25.1 5.1 6.0 5.4 6.2 6.1 6.9

มาเลเซีย 150.4 237.5 214.9 276.8 286.1 27.7 57.9 -9.5 28.8 3.4 33.7 39.8 29.5 30.0 33.2

พมา 19.9 23.8 31.0 31.4 37.5 -0.4 19.3 30.6 1.1 19.4 4.5 4.0 4.3 3.4 4.3

ฟลลิปนส 45.9 53.8 76.3 88.2 83.5 33.2 17.2 41.8 15.5 -5.3 10.3 9.0 10.5 9.5 9.7

สิงคโปร 54.4 67.1 80.2 100.9 66.8 19.5 23.4 19.4 25.9 -33.8 12.2 11.2 11.0 10.9 7.8

เวียดนาม 55.8 83.3 126.8 167.5 180.8 44.7 49.3 52.2 32.1 7.9 12.5 13.9 17.4 18.1 21.0

อินโดนีเซีย 81.0 81.2 125.5 173.1 114.2 35.3 0.3 54.5 38.0 -34.0 18.1 13.6 17.2 18.7 13.3

ลาว 12.2 17.4 26.0 27.3 31.5 16.5 42.7 49.0 5.2 15.3 2.7 2.9 3.6 3.0 3.7

อาเซียนรวม 447.0 597.2 727.4 923.6 861.6 27.6 33.6 21.8 27.0 -6.7 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 2,532.3 3,358.1 4,237.5 4,899.2 4,690.6 21.0 32.6 26.2 15.6 -4.3 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(2) การสงออกของอุตสาหกรรมยางของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน

จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมยางของประเทศไทยและ

ประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ตั้งแตป 2548 เปนตนมา ประเทศที่มีมูลคา

การสงออกอุตสาหกรรมยางไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุด ไดแก ไทย โดยในป

2552 ไทยมีมูลคาการสงออกออกอุตสาหกรรมยางเทากับ 277.7ลานเหรียญ

สหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ43.3 สวนประเทศมาเลเซียมีการสงออกอุตสาหกรรม

ยางรองเปนอันดับ 2 รองจากไทย มีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมยางเทากับ

130.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ20.4 และประเทศที่มีการสงออก

อุตสาหกรรมยางในตลาดอาเซียนเปนอันดับ 3 คือประเทศอินโดนีเซีย มีมูลคาการ

สงออกอุตสาหกรรมยาง ในป 2552 เทากับ 97.3 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนรอย

ละ 15.2 (ตารางที่ 31)

Page 49: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

52

ตารางที่ 31 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมยางของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.0 0.1 0.1 0.0 0.0 -49.0 125.4 66.6 -64.4 -9.6 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

กัมพูชา 0.0 0.1 0.0 0.1 0.1 -98.4 2,190.4 -23.4 17.6 10,530.4 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

มาเลเซีย 161.4 188.0 232.7 242.3 130.8 24.5 16.5 23.8 4.1 -29.8 24.4 23.5 26.3 21.4 20.4

พมา 0.1 0.0 0.1 0.0 0.2 230.6 -87.6 708.2 -98.5 12,433.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

ฟลิปปนส 27.5 36.8 34.7 30.7 16.3 28.0 34.1 -5.9 -11.5 -29.8 4.2 4.6 3.9 2.7 2.5

สิงคโปร 103.0 133.0 103.2 164.7 94.0 67.8 29.1 -22.4 59.6 -21.8 15.6 16.6 11.6 14.6 14.7

ไทย 266.4 312.1 358.4 508.6 277.7 29.5 17.2 14.9 41.9 -29.4 40.2 38.9 40.4 45.0 43.3

เวียดนาม 9.7 14.7 24.2 33.3 24.7 25.8 52.2 64.4 37.9 1.4 1.5 1.8 2.7 2.9 3.8

อินโดนีเซีย 93.8 116.6 133.0 151.2 97.3 0.7 24.4 14.0 13.7 -15.4 14.2 14.6 15.0 13.4 15.2

ลาว 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -100.0 0.0 180.8 -12.4 21.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

อาเซียนรวม 661.9 801.4 886.5 1,130.9 641.2 27.5 21.1 10.6 27.6 -25.7 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 2,927.4 3,579.3 4,090.1 5,226.1 2,896.9 17.5 22.3 14.3 27.8 -27.6 - - - - -

หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(3) การนาํเขาสินคาในอุตสาหกรรมยางของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมยางของประเทศไทยจากตลาด

อาเซียนและตลาดโลก พบวาตั้งแต 2548 – 2551 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรม

ยางของประเทศไทยจากตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง จนกระทั่ง

ในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมยางของประเทศไทยจากตลาดโลกมี

แนวโนมปรับตัวลดลง โดยในป 2552 ไทยมีมูลคาการนําเขานําเขาอุตสาหกรรม

ยางจากตลาดโลกเทากับ 1,187.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงหดตัวจากป 2551

เทากับรอยละ 22.4 สวนทางดานมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมยางของประเทศ

ไทยจากตลาดอาเซียน พบวา ในป 2551 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมยางของ

ประเทศไทยจากตลาดอาเซียนหดตัวลดลงจากป 2550 คิดเปนรอยละ 7.1 โดยมี

Page 50: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

53

มูลคาการนําเขาเทากับ 197.2 ลานเหรียญสหรัฐฯและในป 2552 การนําเขาของ

อุตสาหกรรมยางจากตลาดอาเซียนหดตัวลงลงจากป 2551 คิดเปนรอยละ 26.8

ประเทศที่ไทยนําเขาอุตสาหกรรมยางจากตลาดอาเซียนมากที่สุดไดแก ประเทศ

มาเลเซีย ซ่ึงในป 2552 มีมูลคาการนําเขาเทากับ 75.4ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปน

สัดสวนรอยละ 52.2 รองลงมาคืออินโดนีเซีย และสิงคโปร มีมูลคาการนําเขา

เทากับ 30.1 และ 23.1 ตามลําดับ (ตารางที่ 32)

ตารางที่ 32 มูลคาการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมยางของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.0 0.1 0.1 0.0 0.0 0.0 818.0 34.0 -92.9 -81.8 0.0 0.0 0.1 0.0 0.0

กัมพูชา 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 3.6 12,685.0 -99.5 -100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

มาเลเซีย 76.4 88.7 124.2 115.6 75.4 20.8 16.0 40.0 -6.9 -34.8 58.8 53.9 58.5 58.6 52.2

พมา 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -52.8 -12.1 231.4 -96.7 583.4 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

ฟลลิปนส 12.1 21.2 15.1 8.4 5.7 52.8 74.6 -28.9 -44.5 -32.0 9.3 12.9 7.1 4.2 3.9

สิงคโปร 15.9 18.6 20.3 24.3 23.1 10.4 16.8 9.1 19.5 -4.7 12.3 11.3 9.6 12.3 16.0

เวียดนาม 2.2 3.2 8.6 10.2 9.9 35.7 42.4 170.0 18.3 -2.4 1.7 1.9 4.0 5.2 6.9

อินโดนีเซีย 23.1 32.7 43.9 38.8 30.1 8.2 41.1 34.6 -11.8 -22.3 17.8 19.9 20.7 19.7 20.9

ลาว 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -100.0 0.0 105.1 19.9 25.5 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

อาเซียนรวม 129.9 164.5 212.3 197.2 144.3 19.5 26.6 29.1 -7.1 -26.8 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 894.6 1,076.0 1,339.2 1,529.6 1,187.0 20.1 20.3 24.5 14.2 -22.4 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(4) ดุลการคาอุตสาหกรรมยางของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาของอุตสาหกรรมยางของประเทศไทยและ

ประเทศในอาเซียน พบวา ในภาพรวมกลุมประเทศในอาเซียนเกินดุลการคาใน

อุตสาหกรรมยางอยางตอเนื่อง ตั้งแตป 2548 - 2552 ซ่ึงมีเพียงประเทศไทย

ประเทศเดียวที่มีการขาดดุลการคาในอุตสาหกรรมยางตั้งแตป 2548 -2552 โดยใน

Page 51: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

54

ป 2552 ไทยขาดดุลในอุตสาหกรรมยางเทากับ 14.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงขาดดลุ

เพิ่มสูงขึ้นจากป 2551 คิดเปนรอยละ 34.7 (ตารางที่ 33)

ตารางที่ 33 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมยางของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

โลก 1,637.7 2,282.0 2,898.3 3,369.7 3,503.6 21.4 39.3 27.0 16.3 4.0

บรูไน 0.7 0.9 1.4 1.8 1.7 48.1 25.0 60.3 32.3 -5.6

กัมพูชา 26.6 32.0 45.2 56.6 59.4 15.3 20.2 41.3 25.1 5.1

มาเลเซีย 74.0 148.8 90.7 161.2 210.7 35.9 101.1 -39.0 77.7 30.7

พมา 19.9 23.8 31.0 31.4 37.5 -0.3 19.3 30.5 1.2 19.4

ฟลลิปนส 33.8 32.6 61.2 79.8 77.8 27.3 -3.4 87.7 30.3 -2.5

สิงคโปร 38.5 48.5 59.9 76.7 43.7 23.8 26.2 23.4 28.0 -43.0

ไทย -6.9 -7.8 -18.8 -22.3 -14.6 6.8 13.3 140.6 18.6 -34.7

เวียดนาม 53.6 80.1 118.2 157.3 170.9 45.1 49.5 47.5 33.1 8.6

อินโดนีเซีย 57.9 48.6 81.5 134.3 84.1 50.3 -16.1 67.9 64.8 -37.4

ลาว 12.2 17.4 26.0 27.3 31.5 16.5 42.6 48.9 5.2 15.3

อาเซียนรวม 310.2 424.9 496.4 704.2 702.8 32.0 37.0 16.8 41.9 -0.2

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(5) ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมยางของประเทศไทยในตลาดอาเซียน

ประเทศไทยเปนประเทศผูสงออกผลิตภัณฑยางอันดับ 1 ของกลุมอาเซียน

เนื่องจากสามารถผลิตยางธรรมชาติมากกวาปละ 3 ลานตัน หรือประมาณ 1ใน 3

ของผลผลิตยางธรรมชาติท้ังหมดของโลก โดยยางธรรมชาติถือวาเปนวัตถุดิบท่ี

สําคัญของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง สงผลใหไทยมีศักยภาพในการผลิต

ผลิตภัณฑยางเพื่อการสงออก ซ่ึงสินคาที่สงออกไดแก ยางยานพาหนะ ถุงมือยาง

ยางรัดของ หลอดและทอ สายพานลําเลียง ฯลฯ สําหรับการสงออกในตลาด

อาเซียนพบวาไทยเปนประเทศผูสงออกรายใหญ โดยในป 2547 มีสวนแบงตลาด

Page 52: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

55

ประมาณรอยละ 39.6 และปรับตัวสูงขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั้งในป 2551 สวนแบง

ตลาดของอุตสาหกรรมยางไทยในตลาดอาเซียนปรับตัวสูงขึ้นเปนรอยละ 45.0

สําหรับรายละเอียดแสดงดังภาพที่ 12

หมายเหตุ : ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ.

ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส

ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553)

ภาพที่ 12 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกผลิตภัณฑยางในตลาดอาเซียน

2.9 อุตสาหกรรมพลาสติก (1) การสงออกของอุตสาหกรรมพลาสติกของประเทศไทยในตลาด

อาเซียนและตลาดโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมพลาสติกของประเทศไทย

ในตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2551 มูลคาการสงออกมี

ทิศทางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ แตในป 2552 มูลคาการสงออกกลับมีทิศทางที่หดตัวลง

เทากับรอยละ 18.4 และ 18.0 ตามลําดับ และสําหรับมูลคาการสงออกของ

Page 53: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

56

อุตสาหกรรมพลาสติกของไทยไปยังประเทศตาง ๆ ในอาเซียน พบวาในป 2548

ไทยมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมพลาสติกไปยังประเทศเวียดนามมากที่สุด โดย

มีมูลคาการสงออกเทากับ 310.9 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ 24.7

รองลงมาคือ มาเลเซีย และฟลลิปนส ซ่ึงมีมูลคาการสงออกเทากับ 309.2 และ

133.9 ตามลําดับ อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาขอมูลมูลคาการสงออกในป 2552

พบวาการสงออกอุตสาหกรรมพลาสติกของประเทศไทยในตลาดอาเซียนพบวา

ประเทศที่ไทยสงออกมากที่สุดเปนอันดับ 2 เปลี่ยนเปนประเทศอินโดนีเซีย โดยมี

มูลคาการสงออกเทากับ 339.4 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ 21.6

และ อันดับ 1 ยังคงเปนเวียดนาม สวนมาเลเซียกลายเปนประเทศที่ไทยสงออก

เปนอันดับท่ี 3 ซ่ึงมูลคาที่ไทยสงออกยังประเทศเวียดนามและมาเลเซียเทากับ

456.3 และ 405.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนรอยละ29.1 และ 19.8 (ตารางที่ 34)

ตารางที่ 34 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมพลาสติกของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 1.8 2.0 2.4 1.3 1.4 12.2 8.0 21.8 -46.2 8.8 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1

กัมพูชา 38.2 40.0 55.2 60.8 44.8 55.6 4.8 38.1 10.2 -26.3 3.0 2.9 3.1 3.2 2.9

มาเลเซีย 309.2 314.8 415.7 405.8 310.2 10.2 1.8 32.1 -2.4 -23.6 24.5 22.8 23.4 21.1 19.8

พมา 74.1 63.8 85.4 84.5 65.0 44.1 -13.9 33.7 -1.1 -23.0 5.9 4.6 4.8 4.4 4.1

ฟลลิปนส 133.9 151.2 175.7 190.6 172.6 19.9 12.9 16.2 8.5 -9.5 10.6 11.0 9.9 9.9 11.0

สิงคโปร 132.3 138.3 160.0 162.6 135.9 11.5 4.5 15.7 1.6 -16.4 10.5 10.0 9.0 8.5 8.7

เวียดนาม 310.9 368.9 464.8 520.9 456.3 36.4 18.6 26.0 12.1 -12.4 24.7 26.7 26.2 27.1 29.1

อินโดนีเซีย 237.7 274.6 373.8 444.2 339.4 36.8 15.6 36.1 18.8 -23.6 18.8 19.9 21.0 23.1 21.6

ลาว 23.0 27.1 43.3 52.4 42.7 11.2 18.1 59.8 20.9 -18.6 1.8 2.0 2.4 2.7 2.7

อาเซียนรวม 1,261.1 1,380.7 1,776.3 1,923.1 1,568.3 24.8 9.5 28.7 8.3 -18.4 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 5,988.4 6,498.9 8,100.3 8,273.1 6,787.9 29.6 8.5 24.6 2.1 -18.0 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

Page 54: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

57

(2) การสงออกของอุตสาหกรรมพลาสติกของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน

จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมพลาสติกของประเทศไทย

และประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ตั้งแตป 2548 เปนตนมา ประเทศที่มี

มูลการสงออกอุตสาหกรรมพลาสติกไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุด ไดแก สิงคโปร

มาเลเซีย ไทย โดยในป 2552 สิงคโปรมีมูลคาการสงออกออกอุตสาหกรรม

พลาสติกเทากับ 1,387.3 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 41.9 สวน

ประเทศ มาเลเซียและไทยมีการสงออกอุตสาหกรรมพลาสติกรองเปนอันดับ 2

และ 3 ซ่ึงมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมพลาสติกเทากับ 949.6 และ 594.0 ลาน

เหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 28.7 และ 17.9 ตามลําดับ (ตารางที่ 35)

ตารางที่ 35 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมพลาสติกของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.0 0.8 0.1 0.4 0.2 -71.9 1,654.9 -83.4 151.0 -24.4 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

กัมพูชา 0.2 2.2 1.9 0.3 0.3 -56.0 1,057.5 -14.7 -86.0 7.2 0.0 0.1 0.0 0.0 0.0

มาเลเซีย 1,062.1 1,256.2 1,417.1 1,742.6 949.6 14.2 18.3 12.8 23.0 -32.4 28.0 29.0 28.1 28.9 28.7

พมา 0.3 0.2 0.2 1.0 0.1 -18.4 -21.5 12.8 334.7 -86.2 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

ฟลิปปนส 57.3 67.4 66.3 87.3 59.5 -0.8 17.6 -1.6 31.7 -12.5 1.5 1.6 1.3 1.4 1.8

สิงคโปร 1,630.7 1,835.5 2,191.4 2,650.3 1,387.3 9.7 12.6 19.4 20.9 -36.4 42.9 42.3 43.5 44.0 41.9

ไทย 661.6 757.9 847.3 1,033.9 594.0 10.7 14.5 11.8 22.0 -28.5 17.4 17.5 16.8 17.2 17.9

เวียดนาม 45.1 61.9 92.8 91.3 63.4 21.6 37.3 50.0 -1.6 -7.8 1.2 1.4 1.8 1.5 1.9

อินโดนีเซีย 340.5 357.1 419.2 416.0 257.1 0.9 4.9 17.4 -0.8 -22.0 9.0 8.2 8.3 6.9 7.8

ลาว 0.0 0.0 0.5 0.2 0.1 -86.1 0.0 3791.8 -60.2 -59.5 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

อาเซียนรวม 3,797.9 4,339.2 5,036.8 6,023.1 3,311.4 10.2 14.3 16.1 19.6 -32.2 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 13,806.0 15,523.0 17,954.1 20,845.9 11,528.8 8.3 12.4 15.7 16.1 -30.3 - - - - -

หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

Page 55: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

58

(3) การนาํเขาสินคาในอุตสาหกรรมพลาสติกของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมพลาสติกของประเทศไทยจาก

ตลาดอาเซียนและตลาดโลก พบวาตั้งแต 2548 – 2551 มูลคาการนําเขา

อุตสาหกรรมพลาสติกของประเทศไทยจากตลาดอาเซียนและตลาดโลกมีแนวโนม

ปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง จนกระทั่งในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรม

พลาสติกของประเทศไทยจากตลาดอาเซียนและตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวลดลง

โดยในป 2552 ไทยมีมูลคาการนําเขานําเขาอุตสาหกรรมพลาสติกจากตลาด

อาเซียนและโลกเทากับ 909.9 และ 4,877.7 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงหดตัวจากป

2551 เทากับรอยละ 25.3 และ 21.8 ตามลําดับ สําหรับประเทศที่ไทยนําเขา

อุตสาหกรรมพลาสติกจากตลาดอาเซียนมากที่สุดไดแก ประเทศสิงคโปร ซ่ึงในป

2552 มีมูลคาการนําเขาเทากับ 412.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ

45.3 รองลงมาคือ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย มีมูลคาการนําเขาเทากับ 373.7 และ

68.2 ตามลําดับ (ตารางที่ 36)

Page 56: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

59

ตารางที่ 36 มูลคาการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมพลาสติกของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -98.0 657.9 85.6 115.2 -94.2 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

กัมพูชา 0.1 0.1 0.2 0.2 0.2 310.5 62.3 86.5 -9.8 32.6 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

มาเลเซีย 285.0 385.3 423.6 506.8 373.7 11.4 35.2 9.9 19.6 -26.3 35.2 40.1 37.5 41.6 41.1

พมา 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 93.6 72.8 -42.2 -43.7 -62.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

ฟลลิปนส 21.4 26.1 26.7 30.6 24.9 12.0 22.3 2.3 14.5 -18.4 2.6 2.7 2.4 2.5 2.7

สิงคโปร 429.1 475.8 582.0 571.7 412.4 13.0 10.9 22.3 -1.8 -27.9 52.9 49.5 51.5 47.0 45.3

เวียดนาม 13.5 15.5 26.4 27.3 30.3 4.7 14.7 70.7 3.6 10.7 1.7 1.6 2.3 2.2 3.3

อินโดนีเซีย 61.5 59.1 71.5 80.5 68.2 17.3 -3.8 20.9 12.6 -15.3 7.6 6.1 6.3 6.6 7.5

ลาว 0.0 0.0 0.5 0.2 0.1 -78.2 -52.2 3,791.8 -60.2 -62.4 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

อาเซียนรวม 810.6 961.9 1,130.9 1,217.3 909.9 12.6 18.7 17.6 7.6 -25.3 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 4,233.9 4,632.3 5,590.6 6,237.0 4,877.7 13.4 9.4 20.7 11.6 -21.8 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(4) ดุลการคาอุตสาหกรรมพลาสติกของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาของอุตสาหกรรมพลาสติกของประเทศไทย

และประเทศในอาเซียน พบวา ในภาพรวมกลุมประเทศในอาเซียนเกินดุลการคาใน

อุตสาหกรรมพลาสติกอยางตอเนื่อง ตั้งแตป 2548 - 2552 ซ่ึงมีเพียง มาเลเซีย

สิงคโปร และไทยที่มีการขาดดุลการคาในอุตสาหกรรมพลาสติกมาโดยตลอด ซ่ึง

ในป 2552 ท้ัง 3 ประเทศขาดดุลในอุตสาหกรรมพลาสติกเทากับ 63.5 276.5 และ

35.2ลานเหรียญสหรัฐฯ ตามลําดับ (ตารางที่ 37)

Page 57: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

60

ตารางที่ 37 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมพลาสติกของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

โลก 1754.5 1866.6 2509.6 2036.1 1910.1 97.7 6.4 34.5 -18.9 -6.2

บรูไน 1.8 2.0 2.4 1.3 1.4 12.8 8.0 21.8 -46.4 9.1

กัมพูชา 38.1 39.9 55.0 60.7 44.6 55.5 4.7 37.9 10.3 -26.5

มาเลเซีย 24.1 -70.5 -7.8 -101.0 -63.5 -2.2 -392.2 -88.9 1188.2 -37.1

พมา 74.1 63.8 85.3 84.5 65.0 44.1 -13.9 33.8 -1.0 -23.0

ฟลลิปนส 112.5 125.1 149.0 160.0 147.6 21.5 11.2 19.1 7.4 -7.8

สิงคโปร -296.8 -337.5 -422.0 -409.1 -276.5 13.8 13.7 25.0 -3.0 -32.4

ไทย -13.2 -20.7 -20.0 -36.1 -35.2 -58.1 56.8 -3.6 80.9 -2.6

เวียดนาม 297.4 353.4 438.4 493.5 426.0 38.3 18.8 24.0 12.6 -13.7

อินโดนีเซีย 176.2 215.5 302.4 363.8 271.2 45.3 22.3 40.3 20.3 -25.4

ลาว 22.9 27.1 42.8 52.2 42.6 11.8 18.2 57.8 21.9 -18.4

อาเซียนรวม 437.2 398.1 625.5 669.7 623.3 68.7 -9.0 57.1 7.1 -6.9

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(5) ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมพลาสตกิของประเทศไทยในตลาดอาเซียน

อุตสาหกรรมพลาสติกเปนอุตสาหกรรมที่มีความสําคัญตอเศรษฐกิจไทย

เนื่องจากมีอุตสาหกรรมตอเนื่องมากมาย ท่ีตองใชพลาสติกเปนวัตถุดิบกึ่ง

สําเร็จรูปหรือสวนประกอบในการผลิต อาทิ อุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวน

เครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เครื่องกีฬา บรรจุภัณฑ ฯลฯ ดังนั้นอุตสาหกรรม

พลาสติกจึงสามารถสรางรายไดใหกับประเทศปละหลายแสนลานบาท และมี

มูลคาการสงออกไปยังตลาดโลกมีการขยายตัวเพิ่มทุกป โดยเฉพาะในตลาดหลัก

เชน จีน ฮองกง และญี่ปุน แตเมื่อพิจารณาในตลาดอาเซียนพบวา สิงคโปรเปน

ประเทศที่มีสวนแบงตลาดมากที่สุด โดยในป 2547 มีสวนแบงตลาดเฉลี่ยรอยละ

41.1และปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจนกระทั้ง ในป 2551 สิงคโปรมีสวนแบง

Page 58: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

61

ตลาดเพิ่มขึ้นอยูท่ีรอยละ 42.7 จากอัตราการขยายตัวของการสงออกที่เพิ่มขึ้นเปน

รอยละ 20.9 ซ่ึงถือวาสูงที่สุดในรอบ 4 ป สําหรับมาเลเซียผูสงออกลําดับท่ี 2 ใน

กลุม โดยในป 2547 มีสวนแบงตลาดอยูท่ีรอยละ 25.7 หลังจากนั้นสวนแบงตลาด

ปรับสูงขึ้นอยางตอเนื่อง จนกระทั่งในป 2551 มีสวนแบงตลาดเพิ่มขึ้นเปนรอยละ

28.1 จากอัตราการขยายตัวที่เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 23.0 สําหรับประเทศไทย มีสวน

แบงตลาดที่ไมคอยมีการเปลี่ยนแปลงมากนักซึ่งสวนแบงตลาดในชวงป 2547 –

2551 อยูในชวง16.3-16.8 ซ่ึงถือวานอยมากเมื่อเทียบกับผูสงออกรายใหญท้ังสอง

หมายเหตุ : ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ.

ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส

ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553)

ภาพที่ 13 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกพลาสติกในตลาดอาเซียน

Page 59: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

62

2.10 อุตสาหกรรมผลิตภัณฑไม (1) การสงออกของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑไมของประเทศไทยในตลาด

อาเซียนและตลาดโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกผลิตภัณฑไมของประเทศไทยในตลาด

อาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2550 มูลคาการสงออกมีทิศทาง

ท่ีสูงขึ้นเรื่อยๆ แตในป 2551 มูลคาการสงออกกลับมีทิศทางที่หดตัวลงเทากับรอย

ละ 2.3 และ 1.1 ตามลําดับ จากป 2550 และในป 2552 มูลคาการสงออกก็พบวา

การสงออกยังคงมีทิศทางที่หดตัวลดลงจากป 2551 โดยสงออกผลิตภัณฑไมของ

ประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลกในป 2552 หดตัวลงลงเทากับรอยละ

13.3 และ 3.6สําหรับมูลคาการสงออกผลิตภัณฑไมของไทยไปยังประเทศตาง ๆ

ในอาเซียน พบวาในป 2552 ไทยมีมูลคาการสงออกผลิตภัณฑไมไปยังประเทศ

มาเลเซียมากที่สุด โดยมีมูลคาการสงออกเทากับ 106.5 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปน

สัดสวนรอยละ 48.9 48.9รองลงมาคือ เวียดนามและอินโดนีเซีย ซ่ึงมีมูลคาการ

สงออกเทากับ 61.9 และ 30.2 ตามลําดับ คิดเปนสัดสวนรอยละ 28.4 และ 13.9

(ตารางที่ 38)

Page 60: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

63

ตารางที่ 38 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑไมของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.0 0.1 0.1 0.0 0.1 14.4 150.1 -9.2 -28.3 219.4 0.0 0.0 0.0 0.0 0.1

กัมพูชา 1.6 1.2 1.5 2.0 3.0 -21.9 -23.2 24.0 32.0 51.2 1.5 0.7 0.6 0.8 1.4

มาเลเซีย 57.0 104.1 121.0 127.8 106.5 -10.1 82.6 16.2 5.6 -16.6 52.6 57.4 48.2 52.0 48.9

พมา 1.9 2.1 3.1 2.8 3.0 13.9 10.5 52.4 -12.4 7.7 1.7 1.1 1.3 1.1 1.4

ฟลลิปนส 2.6 2.9 6.1 6.4 5.1 -20.7 11.2 109.4 4.6 -19.8 2.4 1.6 2.4 2.6 2.4

สิงคโปร 2.6 4.0 5.7 6.3 4.7 -10.0 52.4 41.5 11.2 -25.7 2.4 2.2 2.3 2.6 2.1

เวียดนาม 34.2 53.5 88.0 69.2 61.9 61.7 56.4 64.4 -21.4 -10.5 31.6 29.5 35.0 28.2 28.4

อินโดนีเซีย 7.3 12.2 22.8 28.7 30.2 33.0 67.4 87.1 26.1 5.2 6.7 6.7 9.1 11.7 13.9

ลาว 1.1 1.3 2.9 2.3 3.1 13.8 18.7 129.0 -21.4 33.7 1.0 0.7 1.2 0.9 1.4

อาเซียนรวม 108.4 181.4 251.2 245.5 217.7 7.4 67.4 38.5 -2.3 -11.3 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 928.5 1,086.6 1,287.1 1,273.5 1,227.0 1.7 17.0 18.5 -1.1 -3.6 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(2) การสงออกของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑไมของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน

จากการพิจารณามูลคาการสงออกผลิตภัณฑไมของประเทศไทยและ

ประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ตั้งแตป 2548 เปนตนมา ประเทศที่มีมูล

การสงออกผลิตภัณฑไมไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุด ไดแก มาเลเซีย โดยในป

2552 มาเลเซียมีมูลคาการสงออกออกผลิตภัณฑไมเทากับ 338.6 ลานเหรียญ

สหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 51.1 สวนประเทศอินโดนีเซียและพมามีการสงออก

ผลิตภัณฑไมรองเปนอันดับ 2 และ 3 ในป 2552 อินโดนีเซียและพมามีมูลคาการ

สงออกผลิตภัณฑไมเทากับ 74.4 และ 71.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอย

ละ 11.2 และ 10.8 ตามลําดับ (ตารางที่ 39)

Page 61: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

64

ตารางที่ 39 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑไมของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.1 0.0 0.0 0.0 0.0 30.1 -60.0 91.1 -65.9 290.6 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

กัมพูชา 3.7 4.0 1.5 0.5 1.7 -13.8 7.9 -61.5 -66.4 347.9 0.3 0.4 0.1 0.0 0.3

มาเลเซีย 598.2 514.6 573.5 600.3 338.6 16.9 -14.0 11.4 4.7 -28.1 51.8 46.7 50.6 48.5 51.1

พมา 131.3 145.0 130.0 185.0 71.8 11.8 10.5 -10.4 42.3 -51.1 11.4 13.2 11.5 14.9 10.8

ฟลิปปนส 6.2 10.0 15.7 10.8 5.6 30.9 61.0 56.2 -31.1 -34.9 0.5 0.9 1.4 0.9 0.8

สิงคโปร 14.7 17.8 17.6 27.1 18.1 33.5 21.2 -1.3 54.2 -11.4 1.3 1.6 1.6 2.2 2.7

ไทย 81.6 134.4 157.9 175.4 91.8 7.2 64.6 17.5 11.1 -33.6 7.1 12.2 13.9 14.2 13.9

เวียดนาม 8.3 12.8 15.5 18.7 14.0 -7.7 53.7 21.2 20.7 0.9 0.7 1.2 1.4 1.5 2.1

อินโดนีเซีย 230.1 182.6 155.8 155.7 74.4 -7.3 -20.6 -14.7 -0.1 -39.2 19.9 16.6 13.7 12.6 11.2

ลาว 80.7 81.0 65.7 64.3 46.9 -1.9 0.0 -18.9 -2.1 -9.2 7.0 7.4 5.8 5.2 7.1

อาเซียนรวม 1,154.9 1,102.3 1,133.2 1,38.0 663.0 8.5 -4.6 2.8 9.2 -31.9 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 1,877.5 1,907.7 2,063.5 2,160.2 1,189.6 8.5 1.6 8.2 4.7 -29.0 - - - - -

หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(3) การนาํเขาสินคาในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑไมของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

ในป 2548 ไทยมีมูลคาการนําเขาผลิตภัณฑไมจากตลาดอาเซียนและ

ตลาดโลกเทากับ 550.4และ 732.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ และในป 2549 มีแนวโนม

ปรับตัวลงซึ่งมูลคาการนําเขาผลิตภัณฑไมจากตลาดอาเซียนและตลาดโลกหดตัว

ลงเทากับรอยละ 17.4 และ 11.9 จนกระทั่งในป 2550 - 2551 มูลคาการนําเขา

ผลิตภัณฑไมของประเทศไทยจากตลาดอาเซียนและตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัว

สูงขึ้น โดยในป 2550 ไทยมีมูลคาการนําเขานําเขาผลิตภัณฑไมจากตลาดอาเซียน

และตลาดโลกเทากับ 455.8 และ 676.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงขยายตัวเพิ่มขึ้น

จากป 2549 เทากับรอยละ 0.3 และ 4.8 ตามลําดับ และเมื่อพิจารณาตอไปในป

2552 กลับพบวา มูลคาการนําเขาผลิตภัณฑไมจากตลาดอาเซียนและตลาดโลก

Page 62: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

65

ของไทยมีแนวโนมหดตัวลงอีกครั้ง ซ่ึงหดตัวจากป 2551 คิดเปนรอยละ 26.2 และ

25.6 (ตารางที่ 40)

ตารางที่ 40 มูลคาการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑไมของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 116.7 -97.7 3194.1 -97.6 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

กัมพูชา 3.5 0.7 0.7 0.5 2.9 -1.2 -79.6 2.2 -30.2 461.8 0.6 0.2 0.2 0.1 0.8

มาเลเซีย 351.0 251.9 280.4 257.3 203.2 12.1 -28.2 11.3 -8.3 -21.0 63.8 55.4 61.5 55.8 59.7

พมา 98.8 106.1 94.2 122.1 65.0 22.8 7.4 -11.2 29.6 -46.7 17.9 23.3 20.7 26.5 19.1

ฟลลิปนส 0.4 0.5 0.8 0.6 0.7 -53.0 28.8 53.6 -23.4 15.6 0.1 0.1 0.2 0.1 0.2

สิงคโปร 1.6 1.9 2.3 3.0 2.6 25.4 18.0 16.9 34.0 -13.4 0.3 0.4 0.5 0.7 0.8

เวียดนาม 1.9 2.9 2.8 3.6 2.4 81.6 48.4 -1.2 25.5 -31.4 0.4 0.6 0.6 0.8 0.7

อินโดนีเซีย 12.7 9.5 9.6 9.7 6.0 -43.4 -25.2 0.2 1.9 -38.7 2.3 2.1 2.1 2.1 1.8

ลาว 80.3 80.9 65.0 63.9 57.3 -2.3 0.6 -19.7 -1.6 -10.4 14.6 17.8 14.3 13.9 16.8

อาเซียนรวม 550.4 454.5 455.8 460.8 340.2 8.9 -17.4 0.3 1.1 -26.2 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 732.2 645.1 676.0 676.8 503.6 10.4 -11.9 4.8 0.1 -25.6 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(4) ดุลการคาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑไมของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาของผลิตภัณฑไมของประเทศไทยและ

ประเทศในอาเซียน พบวา ในภาพรวมกลุมประเทศในอาเซียนขาดดุลการคาใน

ผลิตภัณฑไมอยางตอเนื่อง ตั้งแตป 2548 - 2552 ซ่ึงในป 2552 ประเทศที่มีการ

ขาดดุลการคาในผลิตภัณฑไมไดแกประเทศ มาเลเซีย พมา ไทย และลาว โดยขาด

ดุลเทากับ 96.7 62.1 2.5 และ 54.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ ตามลําดับ สวนประเทศ

บรูไน กัมพูชา ฟลลิปนส สิงคโปร เวียดนาม และอินโดนีเซีย เกินดุลการคา (ตาราง

ท่ี 41)

Page 63: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

66

ตารางที่ 41 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑไมของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

โลก 196.3 441.6 611.1 596.6 723.4 -21.6 125.0 38.4 -2.4 21.3

บรูไน 0.0 0.1 0.1 0.0 0.1 11.6 150.9 -7.3 -30.1 227.5

กัมพูชา -1.9 0.5 0.8 1.5 0.2 26.3 -126.2 55.0 90.2 -89.5

มาเลเซีย -294.0 -147.8 -159.5 -129.5 -96.7 17.7 -49.7 7.9 -18.8 -25.4

พมา -96.9 -104.0 -91.1 -119.4 -62.1 23.0 7.4 -12.5 31.1 -48.0

ฟลลิปนส 2.2 2.4 5.3 5.8 4.4 -9.0 7.9 122.0 9.0 -23.6

สิงคโปร 1.0 2.1 3.4 3.3 2.0 -39.0 110.3 64.8 -4.1 -37.2

ไทย -1.0 -0.5 -0.7 -2.4 -2.5 -28.9 -52.7 51.4 219.1 4.0

เวียดนาม 32.3 50.7 85.2 65.6 59.4 60.7 56.9 68.1 -23.0 -9.4

อินโดนีเซีย -5.5 2.6 13.2 19.0 24.2 -67.9 -148.3 400.4 43.6 27.6

ลาว -79.3 -79.6 -62.0 -61.6 -54.2 -2.5 0.4 -22.1 -0.7 -12.1

อาเซียนรวม -443.1 -273.6 -205.3 -217.7 -124.9 9.2 -38.3 -24.9 6.0 -42.6

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(5) ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑไมของประเทศไทยในตลาดอาเซียน

การสงออกผลิตภัณฑไมไปตลาดอาเซียนนั้นถือวามาเลเซียเปนผูครองตลาด

เนื่องจากสามารถสงออกผลิตภัณฑไมไดมากที่สุด ทําใหมีสวนแบงตลาดในป

2547 – 2551 อยูระหวางรอยละ 49.3 - 51.4 ซ่ึงถือไดวาเปนสวนแบงตลาดสูงมาก

เมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ในกลุมอาเซียน สําหรับประเทศไทยมีการสงออก

ผลิตภัณฑไมไปตลาดอาเซียนคอนขางนอย เนื่องจากตลาดสงออกหลักของไทย

คือ จีน สหรัฐ และญี่ปุน ทําใหสวนแบงตลาดในอาเซียนชวงป 2547 – 2549 คงที่

เทากับรอยละ 7.3 แตในป 2550 - 2551 ไทยสามารถเพิ่มสวนแบงตลาด

ผลิตภัณฑไมในอาเซียนเพิ่มขึ้นอยูท่ีรอยละ 14.2 และ 14.6 ตามลําดับ เนื่องจาก

อินโดนีเซียมีมูลคาการสงออกที่หดตัวลงอยางตอเนื่อง ซ่ึงสงผลใหสวนแบงตลาด

Page 64: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

67

ของอินโดนีเซียในป 2549 – 2551 ปรับตัวลดลงเปน 23.9 14.0 และ 13.0

ตามลําดับ ดังแสดงในภาพที่ 14

หมายเหตุ : ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ.

ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส

ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553)

ภาพที่ 14 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกผลิตภณัฑไมในตลาดอาเซียน

2.11 อุตสาหกรรมเหล็ก (1) การสงออกของอุตสาหกรรมเหล็กของประเทศไทยในตลาดอาเซียน

และตลาดโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมเหล็กของประเทศไทยใน

ตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2551 มูลคาการสงออกมี

ทิศทางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ แตในป 2552 มูลคาการสงออกกลับมีทิศทางที่หดตัวลง

เทากับรอยละ 26.3 และ 15.3 ตามลําดับ และสําหรับมูลคาการสงออกของ

อุตสาหกรรมเหล็กของไทยไปยังประเทศตาง ๆ ในอาเซียน พบวาในป 2548 ไทยมี

มูลคาการสงออกอุตสาหกรรมเหล็กไปยังประเทศมาเลเซียมากที่สุด โดยมีมูลคา

Page 65: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

68

การสงออกเทากับ 341.0 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ 26.7 รองลงมา

คือ อินโดนีเซียและสิงคโปร ซ่ึงมีมูลคาการสงออกเทากับ 248.0 และ 224.8

ตามลําดับ อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาขอมูลมูลคาการสงออกในป 2552 พบวา

การสงออกอุตสาหกรรมเหล็กของประเทศไทยในตลาดอาเซียนพบวาประเทศที่

ไทยสงออกมากที่สุดเปลี่ยนเปนประเทศเวียดนาม โดยมีมูลคาการสงออกเทากับ

415.7 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ 21.8 ในขณะที่ประเทศมาเลเซีย

และสิงคโปรกลายเปนตลาดที่ไทยสงออกมากที่สุดรองเปนอันดับ 2 และอันดับ 3

ตามลําดับ โดยในป 2552 มูลคาที่ไทยสงออกยังประเทศมาเลเซียและสิงคโปร

เทากับ 363.7 และ 360.7 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนรอยละ 19.0 และ 18.9

(ตารางที่ 42)

ตารางที่ 42 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมเหล็กของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 2.6 2.2 1.8 10.3 1.1 301.7 -16.7 -14.4 459.3 -89.7 0.2 0.1 0.1 0.4 0.1

กัมพูชา 45.3 60.6 69.3 149.9 84.0 20.8 33.7 14.4 116.2 -44.0 3.6 3.8 2.8 5.8 4.4

มาเลเซีย 341.0 423.0 571.4 585.2 363.7 13.5 24.0 35.1 2.4 -37.8 26.7 26.8 23.3 22.6 19.0

พมา 56.7 60.7 90.5 97.9 96.8 8.8 7.0 49.0 8.2 -1.1 4.4 3.8 3.7 3.8 5.1

ฟลลิปนส 95.7 122.7 192.7 182.2 151.1 18.5 28.2 57.0 -5.5 -17.0 7.5 7.8 7.8 7.0 7.9

สิงคโปร 224.8 267.2 560.3 440.4 360.7 30.8 18.9 109.7 -21.4 -18.1 17.6 16.9 22.8 17.0 18.9

เวียดนาม 209.4 330.3 445.1 421.0 415.7 23.9 57.7 34.8 -5.4 -1.3 16.4 20.9 18.1 16.2 21.8

อินโดนีเซีย 248.0 231.2 406.4 509.4 300.7 44.5 -6.8 75.8 25.3 -41.0 19.4 14.7 16.5 19.7 15.7

ลาว 52.8 79.6 119.9 195.7 136.3 -8.5 50.7 50.6 63.2 -30.4 4.1 5.0 4.9 7.6 7.1

อาเซียนรวม 1,276.5 1,577.5 2,457.5 2,591.9 1,910.1 22.5 23.6 55.8 5.5 -26.3 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 4,956.9 6,495.3 8,800.1 9,135.2 7,735.5 17.8 31.0 35.5 3.8 -15.3 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

Page 66: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

69

(2) การสงออกของอุตสาหกรรมเหล็กของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน

จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมเหล็กของประเทศไทยและ

ประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ตั้งแตป 2548 เปนตนมา ประเทศที่มีมูล

การสงออกอุตสาหกรรมเหล็กไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุด ไดแก อินโดนีเซีย โดย

ในป 2552 อินโดนีเซียมีมูลคาการสงออกออกอุตสาหกรรมเหล็กเทากับ 2,039.6

ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 30.8 สวนประเทศมาเลเซียและสิงคโปร

มีการสงออกอุตสาหกรรมเหล็กไปยังตลาดอาเซียนรองเปนอันดับ 2 และ 3 โดยที่

มูลคาการสงออกอุตสาหกรรมเหล็กเทากับ 1,757.6 และ 1,522.1 ลานเหรียญ

สหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 26.5 และ 23.0 ตามลําดับ (ตารางที่ 43)

ตารางที่ 43 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมเหล็กของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 14.1 22.8 19.2 31.6 14.1 46.2 61.3 -15.7 64.3 -52.1 0.2 0.3 0.2 0.3 0.2

กัมพูชา 5.1 12.5 16.8 32.4 9.4 -46.4 145.7 34.9 92.4 -70.0 0.1 0.2 0.2 0.3 0.1

มาเลเซีย 1,697.3 1,974.5 2,501.7 3,362.0 1,757.6 28.7 16.3 26.7 34.4 -34.0 28.2 25.2 26.5 27.3 26.5

พมา 92.8 88.5 38.2 10.2 24.5 11.8 -4.5 -56.9 -73.2 148.1 1.5 1.1 0.4 0.1 0.4

ฟลิปปนส 339.4 827.0 558.8 583.7 264.9 13.8 143.7 -32.4 4.5 -45.0 5.6 10.6 5.9 4.7 4.0

สิงคโปร 1,120.4 1,287.8 1,549.2 2,652.4 1,522.1 34.1 14.9 20.3 71.2 -27.8 18.6 16.5 16.4 21.5 23.0

ไทย 740.8 841.5 1165.6 1,305.6 692.6 20.0 13.6 38.5 12.0 -32.7 12.3 10.8 12.3 10.6 10.5

เวียดนาม 97.9 141.8 255.6 665.8 146.2 40.1 44.7 80.3 160.5 -75.1 1.6 1.8 2.7 5.4 2.2

อินโดนีเซีย 1,847.1 2,371.0 2,993.2 3,318.0 2,039.6 21.9 28.4 26.2 10.9 -23.6 30.7 30.3 31.7 26.9 30.8

ลาว 60.7 259.2 343.7 361.9 155.9 4173.9 0.0 32.6 5.3 -48.6 1.0 3.3 3.6 2.9 2.4

อาเซียนรวม 6,015.6 7,826.7 9,442.1 12,323.7 6,626.9 26.4 30.1 20.6 30.5 -33.1 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 42,854.9 49,682.6 59,830.8 79,053.8 35,250.8 22.0 15.9 20.4 32.1 -43.0 - - - - -

หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

Page 67: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

70

(3) การนาํเขาสินคาในอุตสาหกรรมเหล็กของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมเหล็กของประเทศไทยจาก

ตลาดอาเซียนและตลาดโลก พบวาตั้งแต 2548 – 2551 มูลคาการนําเขา

อุตสาหกรรมเหล็กของประเทศไทยจากตลาดอาเซียนและตลาดโลกมีแนวโนม

ปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง จนกระทั่งในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรม

เหล็กของประเทศไทยจากตลาดอาเซียนและตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวลดลง

โดยในป 2552 ไทยมีมูลคาการนําเขานําเขาอุตสาหกรรมเหล็กจากตลาดอาเซียน

และตลาดโลกเทากับ 2,161.6 และ 26,880.3 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงหดตัวจากป

2551 เทากับรอยละ 26.0 และ 39.4 ตามลําดับ ซ่ึงในป 2551 ประเทศที่ไทย

นําเขาอุตสาหกรรมเหล็กจากตลาดอาเซียนมากที่สุดไดแก ประเทศอินโดนีเซีย มูล

คาที่ไทยนําเขาเทากับ 821.3 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 28.1

รองลงมาคือ ประเทศมาเลเซียและสิงคโปร มูลคาที่ไทยนําเขาเทากับ 757.7 และ

444.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 25.9และ 15.2 ตามลําดับ เมื่อ

พิจารณาตอมาในป 2552 พบวา มาเลเซียกลายเปนประเทศที่ไทยนําเขา

อุตสาหกรรมเหล็กมากที่สุด มูลคาที่ไทยนําเขาเทากับ 588.9 ลานเหรียญสหรัฐฯ

คิดเปนสัดสวนรอยละ 27.2 ซ่ึงและอินโดนีเซียกลายเปนประเทศที่ไทยนําเขา

อุตสาหกรรมเหล็กรองลงมาเปนดับ 2 มูลคาที่ไทยนําเขาเทากับ 569.6 ลานเหรียญ

สหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 26.4 และประเทศที่ไทยนําเขาอุตสาหกรรมเหล็ก

จากตลาดอาเซียนเปนอันดับ 3 ยังคงเปนสิงคโปร (ตารางที่ 44)

Page 68: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

71

ตารางที่ 44 มูลคาการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมเหล็กของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.1 0.2 0.5 0.2 3.1 -62.1 100.0 189.6 -65.5 1535.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.1

กัมพูชา 4.9 12.5 16.8 32.2 16.4 -45.1 152.2 34.6 92.0 -48.9 0.3 0.6 0.7 1.1 0.8

มาเลเซีย 482.0 520.0 696.9 757.7 588.9 65.1 7.9 34.0 8.7 -22.3 30.8 24.9 28.0 25.9 27.2

พมา 85.9 84.1 34.0 5.3 20.2 11.5 -2.1 -59.6 -84.4 281.1 5.5 4.0 1.4 0.2 0.9

ฟลลิปนส 161.6 228.0 260.7 338.5 257.1 76.9 41.1 14.3 29.8 -24.1 10.3 10.9 10.5 11.6 11.9

สิงคโปร 311.6 331.9 405.4 444.1 420.9 51.5 6.5 22.1 9.6 -5.2 19.9 15.9 16.3 15.2 19.5

เวียดนาม 25.3 29.8 40.5 162.6 54.0 27.6 18.0 35.9 301.6 -66.8 1.6 1.4 1.6 5.6 2.5

อินโดนีเซีย 448.4 665.5 723.6 821.3 569.6 53.5 48.4 8.7 13.5 -30.6 28.6 31.9 29.1 28.1 26.4

ลาว 47.1 214.1 307.9 359.2 231.3 3,225.1 354.0 43.9 16.6 -35.6 3.0 10.3 12.4 12.3 10.7

อาเซียนรวม 1,567.1 2,086.1 2,486.3 2,921.1 2,161.6 58.5 33.1 19.2 17.5 -26.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 15,908.7 17,233.5 20,808.5 26,880.3 16,288.8 28.3 8.3 20.7 29.2 -39.4 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(4) ดุลการคาอุตสาหกรรมเหล็กของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาของอุตสาหกรรมเหล็กของประเทศไทยและ

ประเทศในอาเซียน พบวา ในภาพรวมกลุมประเทศในอาเซียนขาดดุลการคาใน

อุตสาหกรรมเหล็กอยางตอเนื่อง ตั้งแตป 2548 - 2552 ซ่ึงประเทศที่มีการขาด

ดุลการคาในอุตสาหกรรมเหล็กไดแกประเทศ บรูไน มาเลเซีย ฟลลิปนส สิงคโปร

ไทย อินโดนีเซีย และลาว โดยขาดดุลเทากับ 2.0 225.2 105.9 60.2 116.3 268.9

และ 95.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ ตามลําดับ มีเพียง กัมพูชา เวียดนาม และพมา ท่ี

เกินดุลการคา (ตารางที่ 45)

Page 69: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

72

ตารางที่ 45 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมเหล็กของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

โลก -10,951.8 -10,738.2 -12,008.4 -17,745.1 -8,553.3 33.7 -2.0 11.8 47.8 -51.8

บรูไน 2.5 2.0 1.3 10.1 -2.0 531.2 -21.1 -34.0 680.5 -120.1

กัมพูชา 40.4 48.2 52.6 117.7 67.6 41.6 19.2 9.1 123.9 -42.6

มาเลเซีย -141.0 -97.0 -125.5 -172.5 -225.2 -1751.5 -31.2 29.5 37.4 30.5

พมา -29.2 -23.4 56.5 92.6 76.6 16.9 -19.7 -341.1 64.0 -17.3

ฟลลิปนส -65.9 -105.3 -68.0 -156.3 -105.9 521.0 59.8 -35.4 130.0 -32.2

สิงคโปร -86.8 -64.7 154.9 -3.8 -60.2 156.8 -25.5 -339.5 -102.4 1495.8

ไทย -11.1 -13.9 -62.1 -122.9 -116.3 -58.9 25.1 347.0 97.9 -5.4

เวียดนาม 184.1 300.5 404.6 258.4 361.7 23.4 63.2 34.7 -36.1 40.0

อินโดนีเซีย -200.4 -434.3 -317.1 -312.0 -268.9 66.3 116.8 -27.0 -1.6 -13.8

ลาว 5.7 -134.4 -188.0 -163.5 -95.0 -89.9 -2467.2 39.9 -13.1 -41.9

อาเซียนรวม -301.7 -522.4 -91.0 -452.2 -367.9 -1254.7 73.2 -82.6 397.2 -18.7

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(5) ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมเหล็กของประเทศไทยในตลาดอาเซียน

ปจจุบันความตองการเหล็กและผลิตภัณฑจากเหล็กของประเทศไทยยังไม

เพียงพอตอความตองการภายในประเทศ สงผลใหตองนําเขาตองการเหล็กและ

ผลิตภัณฑจากตางประเทศ อาทิ ญี่ปุน จีน เกาหลีใต และรัสเซีย คอนขางมากใน

แตละป ดังนั้นหากพิจารณาการสงออกเหล็กของไทยไปยังตลาดอาเซียนแลว

พบวาไทยมีสวนแบงตลาดนอย เมื่อเทียบกับอินโดนีเซียซึ่งเปนประเทศที่มีสวนแบง

ตลาดสูงที่สุดในกลุมอาเซียนโดยในชวงป 2547-2550 มีสวนแบงตลาดคอนขาง

คงที่ อยูในชวงระหวางรอยละ 30.3-31.7 อยางไรก็ตามในป 2551 สวนแบงตลาด

ของอินโดนีเซียปรับตัวลดลงมาอยูท่ีรอยละ 26.9 สําหรับประเทศ มาเลเซียเปนอีก

หนึ่งประเทศที่มีสวนแบงตลาดคอนขางสูงในอุตสาหกรรมเหล็ก อีกทั้ง ในป 2551

Page 70: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

73

มาเลเซียยังกลายเปนประเทศที่มีสวนแบงตลาดสูงสุดในกลุมอาเซียนจากสวนแบง

ตลาดที่ลดลงของอินโดนีเซีย โดยสวนแบงตลาดในป 2551 ของมาเลเซียอยูท่ีรอย

ละ 27.3 ขณะที่อินโดนีเซียที่มีสวนแบงตลาดลดลงเหลือรอยละ 26.9 อาจเนื่อง

มากจากการที่สิงคโปรมีการสงออกเหล็กและผลิตภัณฑเหล็กไปในตลาดอาเซียน

มากขึ้น โดยในป 2551 สิงคโปรมีสวนแบงตลาดรอยละ 21.5 สําหรับประเทศไทยมี

สวนแบงตลาดเปนอันดับท่ี 4 ในป 2551 รองจากอินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร

ตามลําดับโดยในป 2551 มีสวนแบงตลาดเทากับรอยละ 10.6 ซ่ึงรายละเอียด

แสดงดังภาพที่ 15

หมายเหต ุ: ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ.

ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส

ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553)

ภาพที ่15 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกเหลก็และผลิตภัณฑจากเหลก็พลาสตกิในตลาดอาเซยีน

Page 71: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

74

2.12 อุตสาหกรรมอโลหะ (1) การสงออกของอุตสาหกรรมอโลหะของประเทศไทยในตลาด

อาเซียนและตลาดโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอโลหะของประเทศไทย

ในตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2552 มูลคาการสงออกมี

ทิศทางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ แตในป 2552 มูลคาการสงออกของประเทศไทยไปตลาดโลก

กลับมีทิศทางที่หดตัวลงเทากับรอยละ 25.6 และสําหรับมูลคาการสงออกของ

อุตสาหกรรมอโลหะของไทยไปยังประเทศตาง ๆ ในอาเซียน พบวาในป 2548 ไทย

มีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอโลหะไปยังประเทศมาเลเซียมากที่สุด โดยมี

มูลคาการสงออกเทากับ 41.8 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ22.4

รองลงมาคือ เวียดนาม และอินโดนีเซีย ซ่ึงมีมูลคาการสงออกเทากับ 31.7 และ

27.2 ตามลําดับ อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาขอมูลมูลคาการสงออกในป 2552

พบวาการสงออกอุตสาหกรรมอโลหะของประเทศไทยในตลาดอาเซียนพบวา

ประเทศที่ไทยสงออกมากที่สุดเปลี่ยนเปนประเทศสิงคโปร โดยมีมูลคาการสงออก

เทากับ 74.7 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ 19.9 ในขณะที่ประเทศ

เวียดนามและลาวกลายเปนตลาดที่ไทยสงออกมากที่สุดรองเปนอันดับ 2 และ

อันดับ 3 ตามลําดับ โดยในป 2552 มูลคาที่ไทยสงออกยังประเทศเวียดนามและ

ลาวเทากับ 70.9 และ 53.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนรอยละ 18.9 และ 14.2

ตามลําดับ สวนประเทศมาเลเซียเปลี่ยนเปนตลาดที่ไทยที่มีการสงออกมากเปน

อันดับท่ี 4 (ตารางที่ 46)

Page 72: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

75

ตารางที่ 46 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอโลหะของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 2.7 2.6 3.8 2.5 2.4 -12.9 -0.9 42.2 -33.0 -6.6 1.4 1.1 1.3 0.7 0.6

กัมพูชา 16.2 21.8 26.3 36.2 31.8 9.0 34.7 20.6 37.7 -12.1 8.7 9.2 8.8 10.4 8.5

มาเลเซีย 41.8 41.6 40.6 46.5 46.2 23.0 -0.5 -2.3 14.5 -0.6 22.4 17.6 13.6 13.4 12.3

พมา 12.9 14.9 19.5 26.1 26.7 27.9 14.9 31.3 33.5 2.4 6.9 6.3 6.5 7.5 7.1

ฟลลิปนส 16.0 20.0 27.5 35.7 31.8 12.7 25.4 37.2 29.8 -10.9 8.6 8.5 9.2 10.3 8.5

สิงคโปร 16.0 40.1 64.4 62.8 74.7 -5.3 150.2 60.7 -2.4 18.8 8.6 17.0 21.5 18.1 19.9

เวียดนาม 31.7 42.4 42.4 50.2 70.9 39.6 33.7 -0.1 18.4 41.4 17.0 18.0 14.2 14.5 18.9

อินโดนีเซีย 27.2 23.1 35.3 38.5 37.6 4.7 -14.9 52.4 9.1 -2.2 14.6 9.8 11.8 11.1 10.0

ลาว 21.8 29.5 39.2 48.7 53.5 17.7 35.5 32.8 24.2 9.8 11.7 12.5 13.1 14.0 14.2

อาเซียนรวม 186.3 236.1 299.0 347.2 375.6 16.2 26.8 26.6 16.1 8.2 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 1,214.8 1,349.1 1,744.7 1,790.2 1,332.6 10.9 11.1 29.3 2.6 -25.6 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(2) การสงออกของอุตสาหกรรมอโลหะของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน

จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอโลหะของประเทศไทยและ

ประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ตั้งแตป 2548 เปนตนมา ซ่ึงในป 2548 ไทย

เปนประเทศที่มีมูลการสงออกอุตสาหกรรมอโลหะไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุด

โดยมีมูลคาการสงออกออกอุตสาหกรรมอโลหะเทากับ 234.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ

คิดเปนสัดสวนรอยละ30.0 สวนประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซียมีการสงออก

อุตสาหกรรมอโลหะรองเปนอันดับ 2 และ 3 ซ่ึงมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรม

อโลหะเทากับ 214.4 และ 163.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 27.4

และ 20.9 ตามลําดับ ตอมาในป 2550 - 2552 พบวาประเทศมาเลเซียกลายเปน

ประเทศที่มีการสงออกอุตสาหกรรมอโลหะไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุด โดยในป

2552 มาเลเซียมีมูลคาการสงออกออกอุตสาหกรรมอโลหะเทากับ 274.6 ลาน

Page 73: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

76

เหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ41.1 สวนประเทศไทยและอินโดนีเซียมีการ

สงออกอุตสาหกรรมอโลหะรองเปนอันดับ 2 และ 3 ซ่ึงมีมูลคาการสงออก

อุตสาหกรรมอโลหะเทากับ 160.5 และ 98.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวน

รอยละ 24.0 และ 14.8 ตามลําดับ (ตารางที่ 47)

ตารางที่ 47 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอโลหะของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน

มูลคา (ลานเหรยีญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.3 0.1 0.0 0.1 0.0 11.1 -69.9 -73.4 180.4 -7.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

กัมพูชา 0.1 0.0 0.1 0.0 0.0 -9.5 -65.2 126.8 -41.3 -34.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

มาเลเซีย 214.4 236.4 324.2 481.3 274.6 7.6 10.3 37.1 48.4 -23.6 27.4 27.9 36.7 45.0 41.1

พมา 0.3 0.2 0.2 0.3 0.1 -45.6 -37.9 27.0 65.8 -16.9 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

ฟลิปปนส 16.5 9.3 54.2 52.0 12.7 -5.6 -43.7 481.8 -4.1 -69.5 2.1 1.1 6.1 4.9 1.9

สิงคโปร 135.5 122.5 79.5 81.7 46.1 -14.8 -9.6 -35.1 2.9 -27.5 17.3 14.4 9.0 7.7 6.9

ไทย 234.8 276.4 238.7 266.8 160.5 36.1 17.7 -13.6 11.8 -19.2 30.0 32.6 27.0 25.0 24.0

เวียดนาม 16.8 64.8 64.9 48.2 75.4 41.8 285.4 0.1 -25.8 168.4 2.2 7.6 7.4 4.5 11.3

อินโดนีเซีย 163.1 138.8 121.5 138.0 98.8 4.1 -14.9 -12.5 13.6 -6.0 20.9 16.4 13.8 12.9 14.8

ลาว 0.2 0.1 0.1 0.0 0.0 1187.6 0.0 -50.1 -41.3 1.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

อาเซียนรวม 782.1 848.7 883.4 1,068.5 668.5 9.0 8.5 4.1 21.0 -16.1 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 2,904.4 3,152.2 3,726.4 4,349.6 35,250.8 1.4 8.5 18.2 16.7 -43.0 - - - - -

หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

(3) การนาํเขาสินคาในอุตสาหกรรมอโลหะของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอุตสาหกรรมอโลหะของ

ประเทศไทยจากตลาดอาเซียนและตลาดโลก พบวาตั้งแต 2548 – 2551 มูลคาการ

นําเขาอุตสาหกรรมอโลหะของประเทศไทยจากตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้น

อยางตอเนื่อง จนกระทั่งในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอโลหะของ

ประเทศไทยจากตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวลดลง โดยในป 2552 ไทยมีมูลคาการ

Page 74: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

77

นําเขานําเขาอุตสาหกรรมอโลหะจากตลาดโลกเทากับ 978.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ

ซ่ึงหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 16.4 สวนทางดานมูลคาการนําเขา

อุตสาหกรรมอโลหะของประเทศไทยจากตลาดอาเซียน พบวา ในป 2549 มูลคา

การนําเขาอุตสาหกรรมอโลหะของประเทศไทยจากตลาดอาเซียนหดตัวลดลงจาก

ป 2548 คิดเปนรอยละ 6.0 ตอมาในป 2550 การนําเขาของอุตสาหกรรมอโลหะมี

แนวโนมปรับตัวสูงขึ้นจากป 2549 ท่ีมีมูลคาเทากับ 130.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ เปน

141.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 8.5 และ

สําหรับในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอโลหะของประเทศไทยจากตลาด

อาเซียนมีแนวโนมท่ีจะปรับตัวลดลงจากป 2551 โดยหดตัวลงจากป 2551 เทากับ

รอยละ 13.3 โดยประเทศที่ไทยนําเขาอุตสาหกรรมอโลหะจากตลาดอาเซียนมาก

ท่ีสุดไดแก ประเทศมาเลเซีย ซ่ึงในป 2552 มีมูลคาการนําเขาเทากับ 78.0 ลาน

เหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 57.4 รองลงมาคือ อินโดนีเซีย มีมูลคาการ

นําเขาเทากับ 35.8 คิดเปนสัดสวนรอยละ 26.3 (ตารางที่ 48)

ตารางที่ 48 มูลคาการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมอโลหะของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

บรูไน 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -100.0 0.0 110,900.0 -67.6 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

กัมพูชา 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -57.7 -79.0 203.5 -36.7 84.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

มาเลเซีย 62.0 69.9 77.7 93.9 78.0 -1.6 12.8 11.2 20.9 -16.9 44.8 53.7 55.1 59.9 57.4

พมา 0.2 0.1 0.1 0.1 0.0 -36.3 -52.9 20.7 -2.0 -70.3 0.1 0.1 0.1 0.1 0.0

ฟลลิปนส 2.6 3.1 3.0 2.0 2.7 -28.8 21.8 -3.8 -35.3 37.1 1.9 2.4 2.1 1.2 2.0

สิงคโปร 15.7 13.5 12.1 11.8 9.2 -41.6 -13.6 -10.8 -2.0 -21.9 11.3 10.4 8.6 7.5 6.8

เวียดนาม 8.8 6.8 10.9 9.4 10.2 67.3 -22.8 61.0 -14.1 8.3 6.4 5.2 7.7 6.0 7.5

อินโดนีเซีย 49.0 36.6 37.2 39.5 35.8 15.9 -25.3 1.7 6.2 -9.4 35.4 28.1 26.4 25.2 26.3

ลาว 0.2 0.1 0.1 0.0 0.0 1,189.0 -51.9 -50.1 -41.3 15.0 0.2 0.1 0.0 0.0 0.0

อาเซียนรวม 138.4 130.1 141.1 156.8 136.0 -2.1 -6.0 8.5 11.1 -13.3 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

โลก 839.7 863.5 1,058.3 1,170.3 978.8 3.4 2.8 22.6 10.6 -16.4 - - - - -

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

Page 75: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

78

(4) ดุลการคาอุตสาหกรรมอโลหะของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาของอุตสาหกรรมอโลหะของประเทศไทยและ

ประเทศในอาเซียน พบวา ในภาพรวมกลุมประเทศในอาเซียนเกินดุลการคาใน

อุตสาหกรรมอโลหะอยางตอเนื่อง ตั้งแตป 2548 - 2552 ซ่ึงมีเพียง มาเลเซีย และ

ไทยที่มีการขาดดุลการคาในอุตสาหกรรมอโลหะมาโดยตลอด ซ่ึงในป 2552 ท้ัง 2

ประเทศขาดดุลในอตุสาหกรรมอโลหะเทากับ 31.8 และ 5.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ

ตามลําดับ (ตารางที่ 49)

ตารางที่ 49 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมอโลหะของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552

โลก 375.1 485.6 686.4 619.8 353.8 32.1 29.5 41.3 -9.7 -42.9

บรูไน 2.7 2.6 3.8 2.5 2.3 -12.9 -0.9 42.2 -33.1 -6.5

กัมพูชา 16.2 21.8 26.3 36.2 31.8 9.4 35.0 20.5 37.7 -12.1

มาเลเซีย -20.2 -28.3 -37.1 -47.4 -31.8 -30.4 40.2 31.0 27.9 -33.0

พมา 12.8 14.8 19.4 26.0 26.6 29.7 15.9 31.4 33.7 2.6

ฟลลิปนส 13.4 16.9 24.5 33.7 29.1 27.0 26.1 44.8 37.8 -13.7

สิงคโปร 0.3 26.5 52.3 51.0 65.4 -103.5 7579.7 97.2 -2.5 28.3

ไทย -3.2 -3.2 -1.4 -7.3 -5.8 -42.8 1.4 -55.3 412.6 -20.5

เวียดนาม 22.9 35.7 31.5 40.8 60.8 31.3 55.4 -11.8 29.7 49.0

อินโดนีเซีย -21.8 -13.4 -1.9 -1.0 1.8 33.8 -38.4 -85.7 -46.3 -278.0

ลาว 21.6 29.4 39.2 48.7 53.5 16.6 36.4 33.1 24.3 9.8

อาเซียนรวม 44.7 102.8 156.4 183.1 233.8 232.5 130.0 52.2 17.0 27.7

ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas

Page 76: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน

79

(5) ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมอโลหะของประเทศไทยในตลาดอาเซียน

สําหรับสวนแบงทางการตลาดของอุตสาหกรรมอโลหะที่สงออกไปในตลาด

อาเซียนพบวาประเทศที่มีสวนแบงตลาดมากเปนอันดับท่ี 1 และที่ 2 คือ มาเลเซีย

และไทย ตามลําดับ โดยในป 2547 มาเลเซียมีสวนแบงตลาดเทากับรอยละ 27.8

หลังจากนั้นสวนแบงตลาดของมาเลเซียเริ่มปรับตัวสูงขึ้นจนกระทั่งป 2551 สวน

แบงตลาดของมาเลเซียเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 45.0 ซ่ึงเปนสวนแบงตลาดที่สูงสุดใน

รอบ 5 ป โดยทิ้งหางประเทศผูสงออกอันดับ 2 อยางประเทศไทยอยางชัดเจน

สําหรับประเทศไทยที่เปนผูสงออกที่มีสวนแบงทางการตลาดมากเปนอันดับท่ี 2 ใน

กลุมอาเซียน โดยในป 2549 มีอัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดอยูท่ีรอยละ

17.7 และ 32.6 ตามลําดับ ซ่ึงถือวาเปนสวนแบงตลาดที่สูงมาก แตพอถึงป 2550

มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอโลหะหดตัวลงรอยละ -13.6 สงผลใหสวนแบง

ตลาดลดลงเปนรอยละ27.0 ซ่ึงเปนการสูญเสียการครองสวนแบงตลาดใหกับ

มาเลเซีย อยางไรก็ตามในป 2551 แมวามูลคาการสงออกของไทยมีอัตราการ

ขยายตัวจะเพิ่มเปนรอยละ 11.8 แตสวนแบงตลาดของไทยกลับยังคงลดลงเหลือท่ี

รอยละ 25.0 ดังแสดงในภาพที่ 16

Page 77: ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

AEC Prompt

80

หมายเหต ุ: ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ.

ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส

ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553)

ภาพที ่16 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกอโลหะในตลาดอาเซียน

3. สถานะสินคาอุตสาหกรรมไทยที่สงออกไปในตลาดอาเซียน หลังจากพิจารณาตําแหนงทางการตลาดของสินคาอุตสาหกรรมไทยที่

สงออกไปตลาดอาเซียนในหัวขอขางตนแลว ถาทําการวิเคราะหตําแหนงทาง

การตลาดใหมีความชัดเจนขึ้นโดยนําเอาเงื่อนไขอื่นๆ เขามาประกอบดังนี้

1. ครองสวนแบงตลาดอาเซียนมากกวารอยละ 40

2. สามารถรักษาตําแหนงของสวนแบงตลาดไดในชวง 3 ป (ป 2549-2551)

3. สวนแบงตลาดอาเซียนมีสัดสวนที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในชวง 3ป (ป 2549-

2551)

4. มูลคาการสงออกไปตลาดอาเซียนขยายตัวติดตอกันในชวง 3 ป (ป 2549-2551)