16
พื้นฐานเกี่ยวกับสี และ โมเดลของสี

พื้นฐาน color model

Embed Size (px)

DESCRIPTION

พื้นฐาน color model

Citation preview

Page 1: พื้นฐาน color model

พ้ืนฐานเก่ียวกับสี และ

โมเดลของส ี

Page 2: พื้นฐาน color model

คํานํา เอกสาร เรื่อง การใชงานโปรแกรม Photoshop CS3 น้ี จัดทําขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการเรียนสําหรับนักเรียน ที่ตองการรูพื้นฐานเก่ียวสี และโมเดลของสีเบื้องตน เพื่อเปนแนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับการใชงานโปรแกรม Photoshop CS3 ตอไป ผูจัดทํา หวังวาเอกสารที่จัดทําขึ้นน้ีจะเปนประโยชนตอนักเรียนหรือผูที่ตองการศึกษา อาจมีบางสวนที่ยังไมสมบูรณ ตองขออภัย ณ โอกาสน้ี นางสาวกนกรตัน จําเนียรสุข

Page 3: พื้นฐาน color model

สารบัญ

หนา พื้นฐานเก่ียวกับสี 1 ความหมายของกราฟกและคอมพิวเตอรกราฟก 1

ภาพบนคอมพวิเตอรเกดิไดอยางไร 1 การประมวลผลภาพคอมพิวเตอรกราฟก 2 ความรูเก่ียวกับเร่ืองสี 2

โมเดลของสี ( Color Model ) 4 โมเดลแบบ RGB ตามหลักการแสดงสีของเคร่ืองคอมพิวเตอร 4 โมเดลแบบ CMYK ตามหลักการแสดงสีของเคร่ืองพิมพ 4

โมเดลแบบ HSB ตามหลักการมองเห็นสีของสายตามนุษย 5 โมเดลแบบ Lab ตามมาตรฐานของ CIE 5 ระบบสีท่ีถูกกาํหนดข้ึนพิเศษ 6 ประโยชนของงานคอมพิวเตอรกราฟก 6 คอมพิวเตอรกราฟกกับการประมวลผลภาพ ( Image Processing) 7 อุปกรณคอมพวิเตอรท่ีใชในงานกราฟก 7

การพิมพภาพในคอมพิวเตอรกราฟก 8

Page 4: พื้นฐาน color model

1

หนวยที่ 2 พ้ืนฐานเก่ียวกับสี

ความหมายของกราฟกและคอมพิวเตอรกราฟก กราฟก (Graphics) เปนคําท่ีเกิดข้ึนจากรากศัพทภาษากรีก คือคําวา “Graphikos” หมายถึง การเขียนภาพดวยสีและลักษณะขาวดํา และรวมกับคําวา “Graphien” หมายถึง การเขียนตัวหนังสือและการส่ือความหมายโดยการใชเสน ดังนั้นจึงสรุปไดวา กราฟกหมายถึง การส่ือความคิดโดยการใชภาพ สัญลักษณ และขอความ กราฟก ในยุคแรก ๆ จะเร่ิมต้ังแตการวาดภาพลายเสน การวาดภาพเหมือนจริง มาจนถึงการใชภาพถายเหมือนจริง และเม่ือเทคโนโลยีพัฒนามาสูยุคดิจิตอล จึงมีการใชคอมพิวเตอรมาสรางงานกราฟก ดังนั้นคํานยิามของคําวา “คอมพิวเตอรกราฟก” จึงหมายถึง การส่ือความคิดโดยการใชคอมพิวเตอรสรางและจัดการกับภาพ สัญลักษณ และขอความ

ภาพบนคอมพิวเตอรเกิดไดอยางไร ภาพท่ีปรากฏบนหนาจอคอมพิวเตอรท่ีเราเห็นอยูท่ัวไปนั้น เกดิจากจดุส่ีเหล่ียมเล็กๆ ของสี ท่ีเราเรียกวา พิกเซล มาประกอบกนัเปนภาพขนาดตางๆ นั่นเอง

พิกเซล (Pixel) หรือ จุดภาพ มาจากคําวา Picture และคําวา Element แปลตรงตัว ก็คือองคประกอบท่ีรวมกันเกิดเปนภาพ ซ่ึงสรุปก็หมายถึงจดุส่ีเหล่ียมเล็กๆ ท่ีเปนองคประกอบรวมกนัเปนภาพ

ความละเอียดของภาพ ( Resolution ) เปนจํานวนของพิกเซลท่ีอยูภายในภาพ โดยใชหนวยวัดเปนพิกเซลตอนิ้ว (ppi : Pixel per Inch) เชน 300 ppi หรือ 600 ppi เปนตน ภาพท่ีมีความละเอียดมากก็จะมีความชัดกวาภาพท่ีมีความละเอียดนอย จะพบวาไฟลภาพเดยีวกันเม่ือนําไปแสดงผลออกมาผานอุปกรณท่ีตางกัน กจ็ะสงผลใหไดภาพท่ีออกมามีความคมชัดหรือความละเอียดไมเทากันได เชน ภาพบนหนาจอคอมพิวเตอร และภาพท่ีพิมพจากเคร่ืองพิมพเลเซอร เพราะขนาดพิกเซลหรือจดุเล็กๆ ท่ีทําใหเกิดภาพมีขนาดท่ีไมเทากนันั่นเอง

ความละเอียดของจอภาพ เปนหนวยท่ีใชวัดจํานวนพิกเซลสูงสุดท่ีจอคอมพิวเตอรสามารถผลิตออกมาได ซ่ึงความละเอียดของจอภาพนัน้ เกิดข้ึนโดยวีดีโอการดหรือการดจอ และควบคุมการทํางานดวยซอฟทแวรบน Windows ดังนัน้เราสามารถต้ังคาการแสดงความละเอียดของจอภาพบน Windows ได เชน 800x600 หรือ 1024x768 ความละเอียด 1027x768 หมายถึง จํานวนวีดีโอพิกเซลในแนวนอน 1024 พิกเซลและจํานวนวีดีโอพกิเซลในแนวต้ัง 768 พิกเซล

ความละเอียดของเคร่ืองพิมพ เปนหนวยท่ีใชวัดจํานวนพิกเซลตอนิ้ว ซ่ึงจุดพิกเซลในเคร่ืองพิมพเราเรียกวา ดอท (dot) ดังนั้นหนวยท่ีใชวัดความละเอียดของเคร่ืองพิมพจะถูกเรียกวา dpi (Dot per Inch) เคร่ืองพมิพแบบเลเซอรซ่ึงมีขนาดของพิกเซลท่ีเท่ียงตรง มีความละเอียดในการพิมพท่ี 600 dpi ก็แสดงวามีความสามารถพิมพได 600 จุดทุก ๆ 1 นิว้

Page 5: พื้นฐาน color model

2

ความละเอียดของอิมเมจเซตเตอร (Imagesetter) คือ เคร่ืองพิมพท่ีมีความละเอียดสูงต้ังแต 1,200-4,800 dpi ซ่ึงผลิตจุดเลเซอรไดเล็กมาก โดยสามารถวัดขนาดไดดวยหนวยวัดเปนไมครอน (1 สวนลานเมตร หรือ 1 สวน 1000 มิลลิเมตร)

การประมวลผลภาพคอมพิวเตอรกราฟก ภาพท่ีเกบ็ในคอมพิวเตอรนัน้ มีวิธีการประมวลผลภาพ 2 แบบแตกตางกันไปตามแตละโปรแกรมดังนี้ คือ

- การประมวลผลแบบ Raster - การประมวลผลแบบ Vector การประมวลผลแบบ Raster

เปนการประมวลแบบอาศัยการอานคาสีในแตละพิกเซล มีช่ือเรียกอีกอยางหนึ่งวา Bitmap จะเก็บขอมูลเปนคา 0 และ 1 แตละพิกเซลจะมีการเก็บคาสีท่ีเจาะจงในแตละตําแหนง ซ่ึงเหมาะกบัภาพท่ีมีลักษณะแบบภาพถาย ซ่ึงสามารถใชเทคนิคในการปรับแตงสี และการใชเอฟเฟคตพิเศษใหกบัภาพ แตมีขอเสีย คือ ภาพท่ีไดจะมีไฟลขนาดใหญและเม่ือมีการขยายภาพใหใหญข้ึน จะสงผลใหพิกเซลของภาพมีขนาดใหญตามดวย เราจึงเห็นวาภาพจะไมละเอียดหรือแตกนัน่เอง การประมวลผลแบบ Raster ไดแก ไฟลภาพ .TIF, .GIF, .JPG, .BMP และ .PCX เปนตน โดยโปรแกรมท่ีใชทํางานกับภาพ Raster คือ Photoshop, PhotoPaint และPaintbrush เปนตน การประมวลผลแบบ Vector เปนการประมวลผลแบบอาศัยการคํานวณทางคณิตศาสตร โดยมีสีและตําแหนงของสีท่ีแนนอน ฉะนั้นไมวาเราจะมีการเคล่ือนยายท่ีหรือยอขยายขนาดของภาพ ภาพก็จะไมเสียรูปทรงในเชิงเรขาคณิต และความละเอียดของภาพจะไมลดลงดวย จึงทําใหภาพยังคงคมชัดเหมือนเดิม แมขนาดของภาพจะเปล่ียนแปลงใหญข้ึนหรือเล็กลงก็ตาม แตมีขอเสียท่ีไมสามารถใชเอฟเฟคตในการปรับแตงภาพไดเหมือนกบัภาพแบบ Raster การประมวลผลภาพลักษณะนี้ ไดแกภาพ .AI, .DRW ใชในโปรแกรมการวาดภาพ Illustrator, CorelDraw ภาพ .WMF เปนภาพคลิปอารตในโปรแกรม Microsoft Word และภาพ .PLT ในโปรแกรมการออกแบบ AutoCAD

ความรูเกี่ยวกับเรื่องส ี สีท่ีเรามองเห็นรอบๆ ตัวนัน้ เกิดข้ึนไดจากการที่ตาของเรารับแสงท่ีสะทอนมาจากวัตถุเหลานั้น ซ่ึงความยาวของคล่ืนแสงท่ีแตกตางกนั จะสงผลใหเรามองเห็นสีท่ีแตกตางกันดวย และสําหรับงานคอมพิวเตอรกราฟกนั้นจะมีการผสมสีท่ีเกิดจากแสงแสดงบนจอภาพ หรือการผสมหมึกสีพิมพออกมาทางเคร่ืองพิมพ

ความลึกของสี ( Bit Depth ) คอมพิวเตอรสามารถสรางและแสดงสีในภาพไดเปนหลายลานสี ดังนั้น คอมพิวเตอรจะมีวิธีการจดจําและอางอิงคาสีโดยอาศัยดัชนีเปนตารางสี ตัวอยางเชน การดจอท่ีสามารถแสดงสีได 2 บิต ก็จะแสดงสีได 4 สี เพราะเนื่องจากคอมพิวเตอรจะเกบ็ขอมูลใน 1 บิต ได 2 คา คือ 0 และ 1 เราจึงสามารถคํานวณจํานวนสีไดตามสูตร คือ เชน การดจอท่ีสามารถแสดงสีได 24 บิต กจ็ะแสดงสีได = 224 = 16.7 ลานสี เปนตน ปจจุบันเราจะพบวาการแสดงผลภาพบนหนาจอคอมพิวเตอรกราฟก สามารถแสดงสีไดต้ังแต 16.7 ลานสีข้ึนไป เนื่องจากการดจอสวนใหญสามารถแสดงสีไดต้ังแต 24 บิตไปจนถึง 32 และ 64 บิต

จํานวนสีท่ีแสดงได = 2 ยกกาํลังดวย จํานวนบิต

Page 6: พื้นฐาน color model

3

ขนาดไฟลของภาพกราฟก แมวากราฟก และรูปภาพตาง ๆ จะชวยสื่อความหมาย และสรางประโยชนอีกหลาย ๆ อยาง แตสิ่งที่ควรระวังก็คือ กราฟกใชเวลาในการดาวนโหลดมากกวาตัวอักษรหลายเทา ดังน้ันกราฟกขนาดใหญอาจใชเวลาในการแสดงผลนานมาก เมื่อผูใชมีระบบการเช่ือมตอกับอินเตอรเน็ตที่คอนขางชา ซึ่งจะทําใหผูใชรูสึกหงุดหงิด และเปล่ียนใจไมรอดูภาพน้ัน ดังน้ันเพ่ือปองกันปญหาความลาชาน้ี เราจึงตองทําการลดขนาดไฟลกราฟกลงใหเล็กมากที่สุดเทาที่จะเปนไปได ภาพกราฟกจะใชมีขนาดมากนอยเพียงไรน้ัน ขึ้นอยูกับปจจัยหลัก 3 ประการ ไดแก ขนาดของภาพ , ความลึกบิต และ รูปแบบของแฟมขอมูล

ขนาดของภาพ : ขนาดของภาพมีความสัมพันธกับขนาดของไฟล กลาวคือภาพยิ่งมีขนาดใหญเทาไร (วัดเปนพิกเซล) ไฟลก็จะมีขนาดใหญขึ้นเทาน้ัน เมื่อรายละเอียดของภาพ ความลึกบิต และชนิดของไฟลประเภทเดียวกัน ดังน้ันถาจะออกแบบกราฟกเพ่ือใชในอินเตอรเน็ต จึงควรคํานึงถึงขนาดของไฟล อยาใชขนาดที่ใหญเกินไป แตอยาเล็กเกินไปจนเสียความหมายของภาพไป

ความลึกบิต (Bit Depth) : ความลึกบิต หรือบิตเด็ป (Bit Depth) หมายถึง ขนาดของหนวยความจํา หรือจํานวนบิตที่ใชในแตละพิกเซล หรือบอยครั้งจะหมายถึงความละเอียดของสีของรูปกราฟกน้ัน ความสัมพันธระหวางความลึกบิตเด็ปกับขนาดของไฟลน้ันก็ตรงไปตรงมาเชนเดียวกัน ยิ่งจํานวนบิตตอพิกเซลมากเทาใด ไฟลก็ยิ่งใหญมากเทาน้ัน แตไมวารูปกราฟกน้ันจะมีบิตเด็ปมากเพียงใด การแสดงผลกราฟกกลับขึ้นอยูกับความสามารถในการแสดงสีของหนาจอที่เรียกวา Color Depth (หรือ Color Resolution) น้ัน ๆ โดยไมสนใจวาจํานวนสีที่มีอยูจริง หรือที่กําหนดไวในรูปกราฟกน้ันเปนเทาใด เชน ถาจอมอนิเตอรระดับ 8 บิต ผูใชจะมองเห็นสีจากรูปภาพเพียง 256 สี แมวารูปน้ันจะมีสีมากกวาน้ันก็ตาม

รูปแบบของแฟมขอมูล : ขนาดของไฟลรูปภาพน้ัน ขึ้นอยูกับรูปแบบของกราฟกที่เราเลือกจัดเก็บ เน่ืองจากไฟลแตละประเภทมีการจัดเก็บขอมูล หรือการบีบอดัขอมูลตางกัน รูปแบบกราฟกที่นิยมใชกันมาก ไดแก

- BMP เปนรูปแบบพ้ืนฐานของรูปบิตแมปของซอฟตแวรบนวินโดวส จึงสนับสนุนการทํางานของโปรแกรมท่ีทํางานภายใตวินโดวส มีขนาดไฟลใหญกวาไฟลในรูปแบบอื่น ๆ เน่ืองจากไมมีการบีบอัดขอมูล และเมื่อมีการขยายขนาด จะสูญเสียความคมชัด

- GIF ยอมาจาก Graphic Interchange Format เปนรูปแบบไฟลยอดนิยมบนโปรแกรมบราวเซอร แตแสดงผลขนาด 8 บิต (Index Color) จึงทําใหมีจํานวนสีมากที่สุดเทากับ 256 สี ขอดีของภาพ GIF คือ เปนภาพโปรงใส และทําเปนภาพ เคล่ือนไหวได

- JPEG ยอมาจาก Joint Photographic Experts Group เปนไฟลภาพท่ีสามารถแสดงผลของสีไดสมจริง (True-Color) ซึ่งมีความลึกบิตสี 24 บิต จึงสามารถแสดงสีไดมากถึง 16.7 ลานสี เปนไฟลที่มีการบีบอัดขอมูลไดอยางดี แตอาจมีการสูญเสียความคมชัดลงไปบาง แตไมสามารถจําแนกดวยสายตาได ขนาดไฟลจะเล็กกวาภาพประเภทบิตแมปประมาณ 10-12 เทา แตมีขอจํากัดที่ไมสามารถทําใหโปรงใส และเคลื่อนไหวได

- PNG ยอมาจากคําวา Portable Network Graphic เปนรูปแบบแฟมขอมูลที่มีลักษณะ การบีบอัดแบบคงสัญญาณเต็มรูปแบบ เชนเดียวกับ GIF ซึ่งไมมีการสูญเสียขอมูลใด ๆ ไปเลยในการบีบอัด ในความเปนจริงแลว รูปแบบ PNG จะสามารถเก็บแฟมไดเล็กกวา และใชสีไดมากกวารูปแบบ GIF คุณสมบัติเดนของรูปแบบ PNG ไดแก การสนับสนุนระบบสีหลายรูปแบบทั้ง 8-Bit Indexed Color, 16-Bit Grayscale และ 24-Bit True Color โดยมีระบบการบีบอัดแบบ Deflate ที่ "ไมเกิดการสูญเสีย" (Lossless) ทําใหภาพที่ไดมีคุณภาพสูงขึ้น และในบางคร้ังอาจมีขนาดไฟลที่เล็กกวาในแบบ GIF เสียอีก นอกจากน้ี PNG มีความสามารถเรื่องความโปรงใส (Transparency) ในตัวเองอีกดวย โดยในรูปแบบ GIF สามารถเลือกเพียงสีเดียวให เปนสีโปรงใส แตในรูปแบบ PNG สามารถใชทั้ง 256 ระดับใหเปนสีโปรงใสไดทั้งหมด

อางอิงที่มา http://203.146.15.109/lms/content/multimedia/multi_lesson/lesson/04/resolution_g.html

: เพิ่มเติม :

Page 7: พื้นฐาน color model

4

โมเดลของสี ( Color Model ) โดยท่ัวไปแลวสีตางๆ ในธรรมชาติและสีท่ีถูกสรางข้ึน จะมีรูปแบบการมองเห็นสีท่ีแตกตางกัน ซ่ึงรูปแบบการมองเห็นสีนี้เรียกวา “โมเดล (Model)” ดังนัน้ จึงทําใหมีโมเดลหลายแบบดังท่ีเราจะไดศึกษาตอไปนี้ คือ - โมเดลแบบ RGB ตามหลักการแสดงสีของเคร่ืองคอมพิวเตอร - โมเดลแบบ CMYK ตามหลักการแสดงสีของเคร่ืองพิมพ - โมเดลแบบ HSB ตามหลักการมองเห็นสีของสายตามนษุย - โมเดล Lab ตามมาตรฐานของ CIE

โมเดลแบบ RGB ตามหลักการแสดงสีของเคร่ืองคอมพวิเตอร โมเดล RGB เกิดจากการรวมกันของสเปกตรัมของแสงสี แดง (Red), เขียว (Green), และนํ้าเงิน (Blue) ในสัดสวนความเขมขนท่ีแตกตางกัน โดยจุดท่ีแสงท้ังสามสีรวมกันจะเปนสีขาว นิยมเรียกการผสมสีแบบนี้วา “Additive” แสงสี RGB มักจะถูกใชสําหรับการสองแสงท้ังบนจอภาพทีวีและจอคอมพิวเตอร ซ่ึงสรางจากการที่ใหกําเนิดแสงสีแดง สีเขียว และสีน้ําเงิน ทําใหสีดสูวางกวาความเปนจริง

ภาพประกอบ โมเดลแบบ RGB

โมเดลแบบ CMYK ตามหลักการแสดงสีของเคร่ืองพิมพ โมเดล CMYK มีแหลงกําเนิดสีอยูท่ีการซึมซับ (Absorb) ของหมึกพมิพบนกระดาษ โดยมีสีพื้นฐานคือสีฟา (Cyan), สีบานเย็น (Magenta), และสีเหลือง (Yellow) โดยเรียกการผสมสีท้ัง 3 สีขางตนวา “Subtractive Color” แตสี CMYK ก็ไมสามารถผสมรวมกันใหไดสีบางสี เชน สีน้ําตาล จึงตองมีการเพิ่มสีดํา (Black) ลงไป ฉะนั้นเม่ือรวมกันท้ัง 4 สี คือ CMYK สีท่ีไดจากการพมิพ จึงจะครอบคลุมทุกสี

ภาพประกอบ โมเดลแบบ CMYK

Page 8: พื้นฐาน color model

5

โมเดลแบบ HSB ตามหลักการมองเห็นสีของสายตามนุษย เปนลักษณะพ้ืนฐานการมองเห็นสีดวยสายตาของมนุษย โมเดล HSB จะประกอบดวยลักษณะของสี 3 ลักษณะคือ 1. Hue เปนสีของวัตถุท่ีสะทอนเขามายังตาของเรา ทําใหเราสามารถมองเห็นวัตถุเปนสีได ซ่ึงแตละสีจะแตกตางกันตามความยาวของคล่ืนแสงท่ีมากระทบวตัถุและสะทอนกลับท่ีมีตาของเรา Hue ถูกวัดโดยตําแหนงการแสดงสีบน Standard Color Wheel ซ่ึงถูกแทนดวยองศา คือ 0 ถึง 360 องศา แตโดยทั่วๆ ไปแลวมักจะเรียกการแสดงสีนั้นๆ เปนช่ือของสีเลย เชน สีแดง สีมวง สีเหลือง 2.Saturation คือสัดสวนของสีเทาท่ีมีอยูในสีนั้น โดยวัดคาสีเทาในสีหลักเปนเปอรเซ็นตดังนี้คือ จาก 0% (สีเทาผสมอยูมาก) จนถึง 100% (สีเทาไมมีเลย หรือเรียกวา “Full Saturation” คือสีท่ีมีความอ่ิมตัวเต็มท่ี) โดยคา Saturation นี้จะบงบอกถึงความเขมขนและความจางของสี ถาถูกวัดโดยตําแหนงบน Standard Color Wheel คา Saturation จะเพิ่มข้ึนจากจุดกึ่งกลางจนถึงเสนขอบ โดยคาท่ีเสนขอบจะมีสีท่ีชัดเจนและอ่ิมตัวท่ีสุด 3.Brightness เปนเร่ืองราวของความสวางและความมืดของสี ซ่ึงถูกกําหนดคาเปนเปอรเซ็นตจาก 0% (สีดํา) ถึง 100% (สีขาว) ยิ่งมีเปอรเซ็นตมากจะทําใหสีนั้นสวางมากข้ึน

ภาพประกอบ โมเดลแบบ HSB

โมเดลแบบ Lab ตามมาตรฐานของ CIE

โมเดล Lab เปนคาสีท่ีถูกกําหนดข้ึนโดย CIE (Commission Internationale d’ Eclarirage) ใหเปนสีมาตรฐานกลางของการวัดสีทุกรูปแบบ ครอบคลุมทุกสีใน RGB และ CMYK และใชไดกับสีท่ีเกดิจากอุปกรณทุกอยางไมวาจะเปนจอคอมพวิเตอร เคร่ืองพิมพ เคร่ืองสแกนและอ่ืนๆ สวนประกอบของโหมดสีนีไ้ดแก - L หมายถึง คาความสวาง (Luminance) - A หมายถึง สวนประกอบที่แสดงการไลสีจากสีเขียวไปยังสีแดง - B หมายถึง สวนประกอบที่แสดงการไลสีจากสีน้ําเงินถึงสีเหลือง

Page 9: พื้นฐาน color model

6

ภาพประกอบ โมเดลแบบ Lab ตามมาตรฐานของ CIE

ระบบสีท่ีถูกกําหนดขึ้นพิเศษ เปนระบบสีท่ีถูกสรางข้ึนมาใชในงานคอมพิวเตอรกราฟก และอยูนอกเหนือ จากโมเดลของสีท่ัวไป ดังนี ้

Bitmap ประกอบดวยคาสีเพยีง 2 สี คือสีขาวและสีดํา ใชพื้นท่ีในการเกบ็ขอมูลเพียง 1 บิต งานท่ีเหมาะสําหรับ Bitmap คืองานประเภทลายเสนตาง ๆ เชน เคร่ืองหมาย และโลโก

Gray Scale ประกอบดวยสีท้ังหมด 256 สี โดยไลสีจากสีขาว สีเทาไปเร่ือยๆ จนทายสุดคือสีดํา ใชพื้นท่ีในการเก็บขอมูล 8 บิต

Duotone เปนโหมดท่ีเกดิจากการใชสีเพยีงบางสีมาผสมกันใหเกดิเปนภาพ เรามักจะเห็นการนําไปใชในงานส่ิงพิมพท่ีตองการใชภาพ 2 สี เปนตน

Indexed color ถึงแมบางภาพจะมีสีไดถึง 16.7 ลาน แตสวนใหญจะใชไมถึง ในกรณีท่ีเราตองการลดขนาดไฟลภาพก็อาจใชโหมดนี้ ซ่ึงจะทอนสีใหเหลือใกลเคียงกับท่ีตองใช โดยไมมีผลกับคุณภาพของภาพ

Multichannel เปนโหมดสีท่ีถูกแสดงดวย Channel ต้ังแต 2 Channel ข้ึนไป ใชประโยชนมากสําหรับงานพิมพ โดยเฉพาะกรณกีารพิมพท่ีส่ังใหพิมพสีพิเศษ

ประโยชนของงานคอมพิวเตอรกราฟก 1. คอมพิวเตอรกราฟกกับการชวยสอน

ปจจุบันภาพคอมพิวเตอรกราฟกไดชวยส่ือความหมายในการสอน หรืออธิบายเนื้อหาในเร่ืองท่ีซับซอนใหผูเรียนเหน็ภาพแลวเขาใจไดงายยิ่งข้ึน ซ่ึงเราเรียกส่ือการสอนเหลานี้วา โปรแกรมชวยสอน CAI (Computer Aided Instruction) เชน โปรแกรมชวยสอนการทํางานของเคร่ืองยนตและเคร่ืองจักรกล โปรแกรมชวยสอนทางการแพทย และโปรแกรมชวยสอนทางดานวิทยาศาสตร เปนตน

2. คอมพิวเตอรกราฟกกับการออกแบบ คอมพิวเตอรกราฟกในงานออกแบบ หรือท่ีเรียกวา CAD (Computer Aided Design) เปนการใชโปรแกรมชวยออกแบบและสรางช้ินงานจําลองกอนท่ีจะสรางงานจริง ซ่ึงชวยเราปรับแตงและแกไขไดกอนทํางานจริง เพือ่ชวยลดความผิดพลาด เวลา คาใชจาย และไดผลงานตรงกับท่ีตองการมากท่ีสุด ซ่ึงไดแก โปรแกรมการออกแบบในงานสถาปตยกรรมและวิศวกรรม เปนตน

Page 10: พื้นฐาน color model

7

3. คอมพิวเตอรกราฟกกับกราฟและแผนภาพ เปนการใชโปรแกรมสําหรับสรางกราฟและแผนภาพ เพื่อแสดงขอมูลทางดานสถิติและงานวิจยั เชน กราฟเสน กราฟวงกลม และกราฟแทง เปนตน

4. คอมพิวเตอรกราฟกกับงานศิลปะ เปนโปรแกรมท่ีใชในการวาดภาพ ระบายสี และใสแสงเงา ซ่ึงมีขอดีตรงท่ีเราสามารถลบและแกไขในสวนการทํางานท่ีผิดพลาดไดตามตองการ โดยไมทําใหเสียเวลาและไมส้ินเปลืองวัสดุเหมือนกับการวาดภาพบนกระดาษ หรือผืนผาใบแบบสมัยกอน

5. คอมพิวเตอรกราฟกกับการทําภาพเคล่ือนไหว เปนคอมพิวเตอรกราฟกท่ีใชในการออกแบบและกําหนดใหเกิดการเคล่ือนไหว หรือเรียกวา Computer Animation เชน การตูน และภาพยนตรนยิายวิทยาศาสตร เปนตน นอกจากนี้ยังประยกุตสรางเปนเกมท่ีเนนความเสมือนจริงมากยิ่งข้ึนดวย

คอมพิวเตอรกราฟกกับการประมวลผลภาพ ( Image Processing) เปนการประมวลผลภาพท่ีไดจากการสแกนหรือถายภาพ ใหปรากฏบนหนาจอคอมพิวเตอร ซ่ึงเปนการรับสีและแสงเงาท่ีอยูบนภาพและวัตถุ มาประมวลผลเปนขอมูลในรูปแบบดิจิตอล จากนั้นแสดงเปนภาพบนหนาจอคอมพิวเตอร เราจะพบไดในการสแกนภาพ การถายภาพผานดาวเทียม และการเอ็กซเรย เปนตน

อุปกรณคอมพวิเตอรท่ีใชในงานกราฟก เนื่องจากคอมพิวเตอรสามารถนํามาใชประโยชน ในการสรางงานกราฟกไดหลายประเภทดังนั้นจงึมีอุปกรณมากมายท่ีถูกนํามาใชรวมกับโปรแกรมตางๆ ซ่ึงอุปกรณท่ีใชในงานกราฟกท่ีพบเห็นกันบอยๆ มีดังนี ้

อุปกรณในการนําเขา (Input Devices) เชน o สแกนเนอร (Scanner) เปนอุปกรณท่ีใชอาน หรือสแกนขอมูลหรือภาพถายบนเอกสารเขาไปใน

เคร่ือง โดยใชแสงสองกระทบวัตถุใหสะทอนไปตกบนตัวรับแสงทีละแถว ซ่ึงขอมูลจะถูกแปลงเปนจุดเล็กๆ ในแบบดจิิตอลเขาไปเก็บในเคร่ืองพีซี เม่ือตนกําเนดิแสงและตัวรับแสงเล่ือนไป ภาพท่ีไดจะเปนสวนตาง ๆ ของภาพ ตอเนื่องกนัไปทีละแถวของจุดจนกวาจะสุดภาพ

o กลองดิจิตอล (Digital Camera) สามารถถายภาพในรูปแบบดิจิตอล ท่ีมีความละเอียดสูงโดยตรงจากกลองถายภาพดจิิตอล ถึง 3-4 ลานพิกเซลข้ึนไป ซ่ึงเหมาะกับการใชงานกราฟก

o จอสัมผัส (Touch Screen) เปนหนาจอท่ียอมใหผูใชใชนิ้วช้ีท่ีหนาจอ เพื่อเลือกเมนบูนหนาจอได งานท่ีนิยมใชหนาจอแบบทัชสกรีน เชน เคร่ือง ATM (Automate Teller Machines), รานขายยา, และซูเปอรมารเก็ต

o ปากกาแสง (Light Pen) เปนอุปกรณรับขอมูลท่ีทํางานดวยการตรวจจับแสงบนหนาจอ CTR ของคอมพิวเตอร ใชในการคลิกเลือก และวาดบนหนาจอเหมือนการใช Touch Screen แตจะทํางานดวยการตรวจจับแสงซ่ึงใชกบัจอ CTR เทานั่น ไมสามารถทํางานกับจอ LCD หรือ Projector ได

o กระดานกราฟก (Graphics Tablet) เปนอุปกรณท่ีรองรับการวาดภาพ ซ่ึงสามารถทํางานกับคอมพิวเตอรไดโดยตรง สนบัสนุนกับโปรแกรมกราฟกตางๆ เชน Photoshop, Illustrator เปนตน

Page 11: พื้นฐาน color model

8

จึงทําใหเราสามารถวาดภาพ และแกไขภาพได ซ่ึงจะแสดงผลเปนภาพอยูบนหนาจอคอมพิวเตอร ปจจุบันไดพัฒนาเปนหนาจอ TFT เหมือนเคร่ือง Tablet PC ซ่ึงเราสามารถวาดภาพอยูบนหนาจอแสดงผลไดโดยตรง

อุปกรณในการแสดงผล (Output Devices) เชน o เคร่ืองพิมพ (Printer) เคร่ืองพิมพท่ีใชแสดงผลงานลงบนกระดาษไดท้ังตัวอักษรและรูปภาพ

ปจจุบันมีใหเลือกหลายแบบเพื่อการนําไปใชงานตางกัน ดังนี ้ เลเซอรพรินเตอรทํางานโดยการยิงลําแสงเลเซอร เพื่อจัดเรียงผงหมึกใหเกิดเปนภาพท่ีตองการ จากนัน้ก็ใชแรงดันและความรอนผลักใหหมึกจับตัวติดกับเนื้อกระดาษ ผลลัพธจะมีความละเอียดมากท่ีสุด และมีความเร็วสูงสุดในบรรดาเคร่ืองพิมพท้ังหมด เคร่ืองพิมพเลเซอรมี 2 แบบ คือ ขาว/ดํา และสี ซ่ึงแบบขาว/ดํา จะมีราคาอยูท่ีหม่ืนกวาบาท นิยมใชในงานพิมพเอกสารในสํานักงาน สวนแบบสีจะมีราคาอยูท่ีแสนกวาบาท ซ่ึงเหมาะกับงานกราฟกช้ันสูง

อิงคเจ็ตพรินเตอร (Inkjet Printer) ใชหลักการพนหมึกผานทางทอพนหมึกเล็ก โดยใหเกิดจุดสีเล็กๆ เรียงตอกันจนเกิดเปนภาพ จะมีความละเอียดนอยกวาเลเซอรนิดหนอย ราคาเคร่ืองถูก แตหมึกแพง และพิมพชากวาเลเซอรจะเหมาะสําหรับงานสี อารตเวิรค ส่ิงพิมพ และถายสติ๊กเกอร หากจะใชพิมพงานเอกสารสํานักงานท่ัวไปที่เปนสีขาวดํา ราคาหมึกตอแผนจะสูใชเคร่ืองพิมพเลเซอรไมได อีกท้ังความละเอียด และความเร็วนอยกวามาก

ดอตเมทริกซพรินเตอร (Dot Matrix Printer) จะใชหวัเข็มกระแทกลงบนแผนหมึกคารบอน ทําใหเกิดรอยหมึกเปนขอความและภาพ ดอตเมทริกซเปนพรินเตอรท่ีมีความละเอียดตํ่า ราคาหมึกถูก ราคาเคร่ืองปานกลาง แตพิมพชาและมีเสียงดัง ไมคอยนยิมใชในปจจุบัน แตมีประโยชนในดานการทํากระดาษไขสําหรับงาน โรเนียวเอกสารและการพิมพโดยซอนกระดาษ Carbon (แตยงัมีการใชงานอยูเปนจํานวนมากในหนวยงานราชการท่ัวไป)

พล็อตเตอร (Plotter) เปนอุปกรณท่ีใชวาดภาพบนกระดาษ โดยการรับคําส่ังจากเคร่ืองคอมพิวเตอร แตจะทํางานแตกตางจากพรินเตอรตรงท่ีพล็อตเตอรจะวาดภาพโดยการวาดเปนเสน ดวยปากกาแตละสีวาดผสมกัน สวนเคร่ืองพิมพจะพิมพลงมาเปนจุดสีคละกันทําใหเรามองดูเกดิเปนภาพ เราจะใชพล็อตเตอรในการวาดแบบอาคาร หรือแบบทางวิศวกรรม ท่ีถูกสรางดวยโปรแกรมออกแบบตางๆ

การพิมพภาพในคอมพิวเตอรกราฟก ความละเอียดของเคร่ืองพิมพ

เราใชหนวยวดัความละเอียดของเคร่ืองพิมพดวย จํานวนจุดพกิเซลตอนิ้ว เรียกวา dpi (Dot per Inch) ตัวอยาง เชน เคร่ืองพิมพแบบเลเซอร จะมีความละเอียดในการพิมพท่ี 600-1,200 dpi

Page 12: พื้นฐาน color model

9

รูปแบบการพมิพภาพ - การพิมพภาพแบบฮาลฟโทน ( Half Tone) ฮาลฟโทน คือ เฉดสีเทาท่ีเกิดจากการรวมตัวกันของจดุสี

ดํา เชน สีเทาเขมจะเกดิจากพื้นแบ็คกราวนสีดําทึบแตเวนพื้นสีขาวไวเล็กนอย เม่ือมองดูโดยรวมกจ็ะเห็นเปนสีเทาเขม ดังนั้นสรุปไดวา การพมิพแบบฮาลฟโทนก็คือ การพิมพภาพขาว-ดํา โดยจะมีการไลเฉดสีเทาตามสัดสวนของสีท่ีเขมและออนนั่นเอง สําหรับจุดสีฮาลฟโทนท่ีรวมกลุมกัน จะถูกเรียกวา เซลลฮาลฟโทน ซ่ึงอาจจะรวมกลุมกันในรูปแบบของตารางส่ีเหล่ียม วงกลม รูปเครื่องหมายบวก หรือรูปโลโกเล็กๆ ความละเอียดของฮาลฟโทนสามารถวัดไดเปนจํานวนเสนตอนิว้ (lpi : Line per Inch) ซ่ึงสามารถคํานวณหาขนาดเซลลฮาลฟโทนไดดังนี ้

ตัวอยางเชน เคร่ืองพิมพเลเซอรมีความละเอียดของเคร่ืองพิมพ 300 dpi สามารถพิมพดวยความถ่ี 100 lpi จะทําใหเราทราบไดวาเคร่ืองพมิพสามารถสรางเซลลฮาลฟโทนไดขนาด 3x3 กริด หรือมีจํานวน 9 จุดนั่นเอง ซ่ึงเราจะเห็นไดถาฮาลฟโทนท่ีมีจํานวนจดุท่ีนอยกจ็ะทําใหภาพมีความละเอียดมากข้ึนดวย ปกติการพิมพดวยอิมเมจเซตเตอรโดยสวนใหญจะใชความละเอยีด 2400 dpi และใชความถ่ี 150 lpi จะทําใหไดเฉดสีเทา 256 คาสี ซ่ึงระบบการพิมพอนุญาตใหเราใชสีไดสูงสุด 256 สีเทานั้น แตสามารถเลือกใชความถ่ี lpi ได สําหรับเคร่ืองพิมพเลเซอรท่ีมีความละเอียด 1200 dpi เราไมสามารถพิมพดวยความถ่ี 75 lpi เพื่อใหไดสีเทา 256 สีได เพราะจะทาํใหไดขนาดฮาลฟโทนท่ีใหญจนตองสูญเสียรายละเอียดของภาพไป ดังนัน้เคร่ืองพิมพเลเซอรท่ีเราใชงานกนัอยูท่ัวไปจะใชคา lpi ท่ีสูงข้ึน เพื่อตองการรักษารายละเอียดของภาพ และสีท่ีออกมาสามารถยอมรับได ซ่ึงเราอาจจะปรับมาใชความถี่ 180 lpi และมีระดับสีเทาได 44 สี แตจะไดภาพท่ีออกมาคมชัด

- การพิมพสี การกําเนิดภาพจากเคร่ืองพิมพสีของโรงพิมพจะใชหลักการของโมเดลสี CMYK ซ่ึงจะตางจากการกําเนิดภาพบนจอภาพท่ีใชโมเดลสี RGB ดังนั้นกอนจะสงภาพไปโรงพิมพเราควรจะเขาใจหลักการพิมพภาพสี ซ่ึงเรียกวาการพิมพ 4 สี การพิมพภาพ 4 สี จะใชหลักการเดียวกับการพิมพแบบฮาลฟโทน ซ่ึงจะมีการสรางจุดสี ความถ่ีเสน เหมือนกนั แตจะทําแยกกันพิมพทีละสี 4 คร้ัง ตามโมเดลสี CMYK ในการทําเพลทหรือแมแบบในการพิมพจะมีการสรางฮาลฟโทนใหกบัแตละเพลทสี โดยจุดสีใน 4 เพลทสีนั้นจะไมมีการวางซอนเหล่ือมกัน ดังนั้นเม่ือเราพิมพภาพลงบนกระดาษผานทีละเพลทสี จนครบทั้ง 4 สี CMYK จะเกิดจดุสีกระจายเรียงกนับนภาพ โดยไมซอนเหล่ือมกัน เม่ือเรามองดูเม็ดสีท่ีเรียงกันอยูนั้น จะหลอกตาทําใหเรามองเห็นเปนสีตางๆ และเกิดข้ึนเปนภาพ

ขนาดของเซลลฮาลฟโทน = ความละเอียดของเคร่ืองพิมพ/ความถ่ีของเสน จํานวนจุดในเซลลฮาลฟโทน = ขนาดของเซลลฮาลฟโทน ยกกําลังสอง

256 สี = ขนาดฮาลฟโทน 16x16 หรือ 16 ยกกําลังสอง คาความถ่ี = ความละเอียดของเคร่ืองพิมพ / 16 (เปนขนาดอาลฟโทนท่ีมีคาสี 256 สี)

Page 13: พื้นฐาน color model

10

- การแปลงโมเดลสีของภาพ กอนจะนําภาพไปพิมพ เราจะตองตรวจสอบวากราฟกท่ีสรางไวนั้นเปนโมเดลสี CMYK หรือไม เพื่อจะทําใหสามารถแยกสี และพิมพภาพออกมาไดสีท่ีถูกตอง

- สีในกระบวนการพิมพปกติ (Process Colors) เปนสี CMYK ท่ีใชในกระบวนการพิมพปกติตามท่ีไดแยกสีไวนัน่เอง

- สีท่ีใชเฉพาะท่ี (Spot Colors) เปนสีท่ีถูกผสมกอนสี CMYK ซ่ึงในกระบวนการพิมพสีนี้ จะถูกพิมพผสมลงไปกอน แลวคอยพิมพตามดวยสี CMYK ซ่ึงเราจะตองทําเพลทหรือแมแบบเพิ่มข้ึนมาอีก 1 แผน ตามจํานวนสีท่ีใช ดังนัน้จะตองเสียคาใชจายในการทําเพลทแมแบบเพ่ิมเติม และมีความซับซอนในการผสมสีและควบคุมสียากยิง่ข้ึน แตจะทําใหเราสรางสรรคผลงานท่ีมีเอฟเฟคตแปลกใหมมากข้ึน เชน การใชสี Spot เปนขอความสีทอง Bestseller อยูบนหนาปกหนังสือท่ีขายดี ซ่ึงจะทําใหกราฟกบนปกหนังสือดนูาสนใจและมีคุณคามากยิ่งข้ึน เปนตน

NOTE : ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

อางอิงที่มาแหลงความรู : แบบเรียนวิชา การใชโปรแกรม กราฟกส สนพ.Success Media Co.,LTD.ปยะ นากสงค

http://203.146.15.109/lms/content/multimedia/multi_lesson/lesson/04/resolution_g.html

Page 14: พื้นฐาน color model

11

อางอิง

Page 15: พื้นฐาน color model

1

ผูจัดทํา

Page 16: พื้นฐาน color model

2