219
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร หลักสูตรใหม! พ.ศ. 2556 ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ)าและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Doctor of Philosophy Program in Computer Engineering

Citation preview

Page 1: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

หลักสูตรใหม! พ.ศ. 2556

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ)าและคอมพิวเตอร� คณะวิศวกรรมศาสตร�

มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 2: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

สารบัญ

หน�า ชื่อหลักสูตร 1 ชื่อปริญญา 1 วิชาเอก 1 จํานวนหน�วยกิตท่ีเรียนตลอดหลักสูตร 1 รูปแบบของหลักสูตร 1 สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ 2 ความพร�อมในการเผยแพร�หลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน 2 อาชีพท่ีสามารถประกอบได�หลังสําเร็จการศึกษา 2 ชื่อ ตําแหน�ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย4ผู�รับผิดชอบหลักสูตร 4 สถานท่ีจัดการเรียนการสอน 5 สถานการณ4ภายนอกหรือการพัฒนาท่ีจําเป7นต�องนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 5 ผลกระทบจาก ข�อ 11.1 และ 11.2 ต�อการพัฒนาหลักสูตรและความเก่ียวข�องกับพันธกิจของสถาบัน 6 ความสัมพันธ4กับหลักสูตรอ่ืนท่ีเป;ดสอนในคณะ / ภาควิชาอ่ืนของสถาบัน 7 หมวดท่ี 2 ข�อมูลเฉพาะของหลักสูตร 8 1. ปรัชญา ความสาํคัญ และวัตถุประสงค4ของหลักสูตร 8 2. แผนพัฒนาปรับปรุง 8 หมวดท่ี 3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสร�างของหลักสูตร 11

1. ระบบการจัดการศึกษา 11 2. การดําเนินการหลักสูตร 11 3. หลักสูตรและอาจารย4ผู�สอน 14 3.1 หลักสูตร 14 3.2 ชื่อ ตําแหน�งและคุณวุฒิของอาจารย4 14 4. องค4ประกอบเก่ียวกับประสบการณ4ภาคสนาม 51 5. ข�อกําหนดเก่ียวกับการทําวิทยานิพนธ4หรืองานวิจัย 51 หมวดท่ี 4. ผลการเรียนรู� กลยุทธ-การสอนและการประเมินผล 53 1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิสิต 53 2. การพัฒนาผลการเรียนรู�ในแต�ละด�าน 54

Page 3: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

สารบัญ (ต0อ)

หมวดท่ี 5. หลักเกณฑ-ในการประเมินผลนักศึกษา 61 1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ4ในการให�ระดับคะแนน (เกรด) 61 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 61 3. เกณฑ4การสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 61 หมวดท่ี 6. การพัฒนาคณาจารย- 62 1. การเตรียมการสําหรับอาจารย4ใหม� 62 2. การพัฒนาความรู�และทักษะให�แก�คณาจารย4 62 หมวดท่ี 7. การประกันคุณภาพหลักสูตร 63 1. การบริหารหลักสูตร ระบบและกลไกในการบริหารหลักสูตรดังนี ้ 63 2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน 63 3. การบริหารคณาจารย4 65 4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน 65 5. การสนับสนุนและการให�คําแนะนํานิสิต 66 6. ความต�องการของตลาดแรงงาน สังคมและ/หรือความพึงพอใจของผู�ใช�บัณฑิต 67

7. ตัวบ�งชี้ผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators) 67 หมวดท่ี 8. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของหลักสูตร 69 1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 69 2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 69 3. การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร 69 4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง 69 ภาคผนวก ก. ผลงานทางวิชาการและการค�นคว�างานวิจัยของอาจารย4ประจําหลักสูตร ก1 ข. ผลงานทางวิชาการและการค�นคว�างานวิจัยของอาจารย4ประจํา ข1 ค. ผลการวิพากษ4หลักสูตร ค1 ง. รายงานผลการวิเคราะห4ผลการสํารวจความต�องการของผู�ใช�ดุษฎีบัณฑิต ง1 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร4 หลักสูตรใหม� พ.ศ. 2556 จ. รายงานผลการวิเคราะห4ผลการสํารวจความคาดหวังของผู�ท่ีจะเข�าศึกษาใน จ1 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร4 หลักสูตรใหม� พ.ศ. 2556 ฉ. คําสั่งแต�งต้ังคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ฉ1 ช. ข�อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว�าด�วยการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2554 ช1

Page 4: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

สารบัญ (ต0อ)

ซ. ข�อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว�าด�วยการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2554 ซ1 (แก�ไขเพ่ิมเติม ฉบับท่ี 2) ฌ. ข�อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว�าด�วยการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2554 ฌ1 (แก�ไขเพ่ิมเติม ฉบับท่ี 3) ญ. ข�อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว�าด�วยการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2554 ญ1 (แก�ไขเพ่ิมเติม ฉบับท่ี 4)

Page 5: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 1

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

หลักสตูรใหม! พ.ศ. 2556 ช่ือสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร� ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ�าและคอมพิวเตอร�

หมวดท่ี 1 ข1อมูลท่ัวไป

1 .รหัสและช่ือหลักสูตร

ช่ือภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร� ช่ือภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Computer Engineering

2 .ช่ือปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็ม (ไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมคอมพิวเตอร�) ชื่อยGอ (ไทย) : ปร.ด. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร�) ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Computer Engineering) ชื่อยGอ (อังกฤษ) : Ph.D. (Computer Engineering)

3 .วิชาเอกหรือความเช่ียวชาญเฉพาะของหลักสูตร

ไมGมี 4 .จํานวนหน!วยกิตท่ีเรียนตลอดหลักสูตร

4.1 กรณีจัดการศึกษาแบบ 1.1 (ปริญญาโทต!อปริญญาเอก) ทําวิทยานิพนธ�เทGานั้น ไมGนMอยกวGา 48 หนGวยกิต

4.2 กรณีจัดการศึกษาแบบ 2.1 (ปริญญาโทต!อปริญญาเอก)

เรียนรายวิชาและทําวิทยานิพนธ� รวมจํานวนหนGวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมGนMอยกวGา 48 หนGวยกิต 4.3 กรณีจัดการศึกษาแบบ 2.2 (ปริญญาตรีต!อปริญญาเอก)

เรียนรายวิชาและทําวิทยานิพนธ� รวมจํานวนหนGวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมGนMอยกวGา 72 หนGวยกิต

Page 6: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 2

5 .รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ

หลักสูตรระดับ 6 ปริญญาเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหGงชาติ พ.ศ. 2552 5.2 ภาษาท่ีใช1

ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

5.3 การรับเข1าศึกษา รับนิสิตไทย และ/หรือนิสิตตGางชาติ

5.4 ความร!วมมือกับสถาบันอ่ืน ไมGมี

5.5 การให1ปริญญาแก!ผู1สําเร็จการศึกษา ใหMปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

6 .สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร

6.1 เป@นหลักสูตรใหม! พ.ศ.2556 6.2 กําหนดการเปAดสอน ภาคการศึกษาปลาย ปYการศึกษา 2556 เปZนตMนไป 6.3 คณะกรรมการ ของมหาวิทยาลัยอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร

• คณะกรรมการวิชาการอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร ในการประชุมครั้งท่ี................ เม่ือวันท่ี ............เดือน.........................พ.ศ....................

• สภาวิชาการอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร ในการประชุมครั้งท่ี................ เม่ือวันท่ี ............เดือน.........................พ.ศ....................

• สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร ในการประชุมครั้งท่ี...................... เม่ือวันท่ี ............เดือน.........................พ.ศ....................

7 .ความพร1อมในการเผยแพร!หลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน

หลักสูตรมีความพรMอมเผยแพรGคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหGงชาติในปYการศึกษา 2558

Page 7: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 3

8 .อาชีพท่ีสามารถประกอบได1หลังสําเร็จการศึกษา

1. วิศวกรคอมพิวเตอร� 2. วิศวกรซอฟต�แวร� 3. นักวิชาการคอมพิวเตอร� 4. นักวิจัยในสาขาคอมพิวเตอร� 5. อาจารย�ในสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร� 6. นักวิเคราะห�และออกแบบระบบคอมพิวเตอร� 7. นักเขียนโปรแกรม หรือผูMพัฒนาซอฟต�แวร� 8. นักวิชาชีพในสถานประกอบการท่ีมีการใชMเทคโนโลยีสารสนเทศ 9. ผูMประกอบการดMานเทคโนโลยีสารสนเทศ

Page 8: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 4

9 .ชื่อ ตําแหน!ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย�ผู1รับผิดชอบหลักสูตร

ลําดับ ชื่อ-นามสกุล ตําแหน!งทาง

วิชาการ คุณวุฒ ิ

การศึกษา สาขาวิชา สําเร็จการศึกษาจากสถาบัน ประเทศ

ปHที่สําเร็จการศึกษา

ภาระการสอน (จํานวนชม./สัปดาห�)

ปIจจุบัน เมื่อเปAดหลักสูตรนี ้

*1 นายไพศาล มุณีสวGาง รองศาสตราจารย� Ph.D Computer Engineering The University of Sydney ออสเตรเลีย 2546 11 15 M.Eng.Sc. Electrical Engineering The University of New South Wales ออสเตรเลีย 2545 วศ.บ. วิศวกรรมโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ไทย 2539

*2 นางสาวพนมขวญั ริยะมงคล

ผูMชGวยศาสตราจารย� Ph.D. Electrical and Computer Engineering University of Miami สหรัฐอเมริกา 2546 11.75 15.75

M.S.E.CE. Electrical and Computer Engineering University of Miami สหรัฐอเมริกา 2542 วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟ�า มหาวิทยาลัยเชียงใหมG ไทย 2539 3 นายพงศ�พันธ� กิจสนาโยธิน อาจารย� Ph.D. Computer Science Texas Tech University สหรัฐอเมริกา 2553 10.5 14.5 วศ.ม. วิศวกรรมคอมพิวเตอร� มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร� ไทย 2545

วศ.บ. วิศวกรรมคอมพิวเตอร� สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลMาเจMาคุณทหารลาดกระบัง

ไทย 2541

4 นางสาววรลักษณ� คงเดGนฟ�า อาจารย� Ph.D. Computer Science and Engineering University of New South Wales, Sydney ออสเตรเลีย 2552

11.38

15.38

M.Eng. Computer Engineering Asian Institute of Technology ไทย 2543

วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟ�า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลMาเจMาคุณทหารลาดกระบัง

ไทย 2541

*5 นายสุรเดช จิตประไพกุลศาล อาจารย� Ph.D. Electrical Engineering and Computer Science

Case Western Reserve University สหรัฐอเมริกา 2548

14.25

21.25

วท.บ. คณิตศาสตร� จุฬาลงกรณ�มหาวิทยาลัย ไทย 2534

หมายเหตุ * หมายถึง อาจารย�ผูMรับผิดชอบหลักสูตร

Page 9: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 5

10 .สถานท่ีจัดการเรียนการสอน

คณะวิศวกรรมศาสตร� มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก 11 .สถานการณ�ภายนอกหรือการพัฒนาท่ีจําเป@นต1องนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร

11.1 สถานการณ�หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ปrจจัยหลัก 3 ประการดMานเศรษฐกิจท่ีสGงผลกระทบโดยตรงตGอการพัฒนาหลักสูตรไดMแกG แผนพัฒนา

เศรษฐกิจและสังคมแหGงชาติฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย ปY พ.ศ. 2554 – 2563 (IT 2010 Conceptual Framework) และ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ปY 2558 (Asean Economic Community 2015)

วิสัยทัศน�หลักของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหGงชาติฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) คือประเทศไทยเปZนสังคมแหGงความสุขอยGางมีภูมิคุMมกัน หนึ่งในเป�าหมายหลักในการบรรลุวิสัยทัศน�ดังกลGาวคือการพัฒนาโครงสรMางพ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร� เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร การวิจัย และนวัตกรรมใหMท่ัวถึงและเพียงพอ โดยเฉพาะอยGางยิ่งการประยุกต�เทคโนโลยีสารสนเทศในการดําเนินงานดMานตGางๆ อาทิเชGน การพัฒนาอาชีพและยกระดับคุณภาพชีวิต วงจรเศรษฐกิจของอาหารและพลังงานต้ังแตGการผลิต การตลาด ไปจนถึงการบริโภค การอนุรักษ�และฟxyนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลMอม ตลอดจนการดําเนินงานภายใตMบทบาทภาคีการพัฒนาตGางๆ การพัฒนาบุคลากรใหMมีความรูMความสามารถและทักษะในเชิงลึกดMานวิศวกรรมคอมพิวเตอร�จึงเปZนสGวนสําคัญในการบรรลุวิสัยทัศน�ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ

กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย ปY พ.ศ. 2554 – 2563 (IT 2010 Conceptual Framework) มุGงเนMนใหMอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร�ของประเทศไทยสามารถพ่ึงพาตนเองไดM ปrจจัยสําคัญคือบุคลากรท่ีมีทักษะความรูMความสามารถในเชิงลึก ดMวยเหตุนี้จึงมีความจําเปZนอยGางยิ่งท่ีจะตMองพัฒนาดุษฎีบัณฑิตทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร�ท่ีสามารถวิจัยและสรMางนวัตกรรมไดMดMวยตนเอง ซ่ึงบัณฑิตเหลGานี้จะกลายเปZนกําลังสําคัญในการบรรลุตามยุทธศาสตร�ท่ีกําหนดไวMในกรอบนโยบายฯ

จากการกGอต้ังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community) เป{ดโอกาสใหMบุคลากรทางดMานวิศวกรรมคอมพิวเตอร�ของไทยสามารถทํางานในกลุGมประเทศอาเซียนไดMอยGางเสรี แตGในขณะเดียวกันก็เพ่ิมความเสี่ยงท่ีบุคลากรภายในประเทศจะไมGสามารถแขGงขันกับบุคลากรจากประเทศอ่ืนๆไดM ดังนั้นจึงจําเปZนอยGางยิ่งท่ีเราจะตMองเรGงสรMางภูมิคุMมกันใหMแกGบุคลากรดMานวิศวกรรมคอมพิวเตอร�โดยการพัฒนาความรูMความสามารถและทักษะการวิจัยเชิงลึกผGานการศึกษาและคMนควMาในระดับปริญญาเอกตลอดจนนําความรูMนั้นไปถGายทอดใหMกับนิสิตในระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา 11.2 สถานการณ�หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม

ปrจจุบันการใชMคอมพิวเตอร�ไดMกลายเปZนสิ่งปกติธรรมดาท่ีพบไดMทุกหนทุกแหGง ซ่ึงนําไปสูGการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม กGอใหMเกิดเครือขGายสังคมและธุรกิจในรูปแบบใหมG ซ่ึงเปZนท้ังโอกาส

Page 10: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 6

และภัยคุกคามตGอประเทศไทย การสรMางภูมิคุMมกันของประเทศในดMานเทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีความสําคัญเปZนอยGางมาก ดังนั้นจึงมีความจําเปZนตMองผลิตบุคลากรดMานวิศวกรรมคอมพิวเตอร�ท่ีพรMอมท้ังความรูM ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม และความเปZนมืออาชีพ ท่ีมีความเขMาใจในผลกระทบทางสังคมและวัฒนธรรม ท่ีจะชGวยชี้นําและขับเคลื่อนใหMการเปลี่ยนแปลงนี้เปZนไปในรูปแบบท่ีสอดคลMองและเหมาะสมกับวิถีชีวิตของสังคมไทย 12. ผลกระทบจาก ข1อ 11.1 และ 11.2 ต!อการพัฒนาหลักสูตรและความเก่ียวข1องกับพันธกิจของ

สถาบัน

12.1 การพัฒนาหลักสูตร จากผลกระทบจากสถานการณ�ภายนอก การพัฒนาหลักสูตรจึงจําเปZนตMองพัฒนาหลักสูตรใน

เชิงรุกท่ีมีศักยภาพและสามารถปรับเปลี่ยนไดMตามวิวัฒนาการของวิศวกรรมคอมพิวเตอร� และรองรับการแขGงขันทางธุรกิจคอมพิวเตอร�ท้ังในประเทศไทยและตGางประเทศ โดยการผลิตบัณฑิตและบุคลากรทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร� ใหMมีความพรMอมท่ีจะปฏิบัติงานอยGางมืออาชีพไดMทันที และมีศักยภาพสูงในการพัฒนาตนเองใหMเขMากับลักษณะงานท้ังดMานวิชาการและวิชาชีพ รวมถึงเขMาใจในผลกระทบของคอมพิวเตอร�ตGอสังคม โดยตMองปฏิบัติตนอยGางมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม ซ่ึงเปZนไปตามนโยบายและวิสัยทัศน�ของมหาวิทยาลัยท่ีมุGงสูGความเปZนเลิศในดMานเทคโนโลยีและการวิจัย และการผลิตบัณฑิตท่ีพรMอมท้ังวิชาการและคุณธรรม 12.2 ความเก่ียวข1องกับพันธกิจของสถาบัน

พันธกิจหลักท่ีสําคัญของมหาวิทยาลัยนเรศวร คือการพัฒนาไปสูGสถาบันอุดมศึกษาท่ีมีคุณภาพและไดMมาตรฐานสากล โดยมุGงกระจายโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาใหMกับประชากรในภูมิภาคโดยเฉพาะในเขตภาคเหนือตอนลGาง 9 จังหวัด ไดMแกG พิษณุโลก พิจิตร สุโขทัย กําแพงเพชร เพชรบูรณ� อุตรดิตถ� ตาก นครสวรรค� และอุทัยธานี โดยการจัดการเรียนการสอน ในสาขาวิชาตGางๆ ท้ังกลุGมสังคมศาสตร� กลุGมวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยีและกลุGมวิทยาศาสตร�สุขภาพ ใหMสอดคลMองกับความตMองการของสังคมและประเทศชาติ

การผลิตบัณฑิตและการวิจัย คือ สองในสี่พันธกิจสําคัญของมหาวิทยาลัย การพัฒนาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�จึงเปZนหนึ่งในพันธกิจของมหาวิทยาลัยนเรศวรในดMานจัดการเรียนการสอนในกลุGมวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี เพ่ือกระจายโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาใหMกับประชากรในภูมิภาคและในประเทศ เพ่ือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย�อยGางตGอเนื่อง ซ่ึงเปZนปrจจัยสําคัญในการชักนําใหMเกิดความเจริญยิ่งยืนนานและการหลีกเลี่ยงภาวะชะงักงันเสMนทางการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ

การพัฒนาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�มีความเก่ียวขMองกับ พันธกิจของมหาวิทยาลัยนเรศวรท่ีมุGงเนMนการวิจัยและพัฒนาโดยเฉพาะการวิจัยประยุกต� เพ่ือการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมท่ีมีรูปแบบท่ีซับซMอนข้ึน เชGน การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี เพ่ืออุตสาหกรรมสมัยใหมGท่ี

Page 11: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 7

ใชMทุนปrญญามากกวGาทุนแรงงานหรือทุนวัตถุดิบ การวิจัยเชิงอุตสาหกรรม เปZนตMน ในขณะเดียวกันมหาวิทยาลัยนเรศวรใหMความสําคัญสูงข้ึนแกGการวิจัยพ้ืนฐานควบคูGไปกับการวิจัยประยุกต� โดยมุGงใหMการพัฒนาการวิจัยพ้ืนฐานในสาขาตGาง ๆ เปZนฐานนําไปสูGการวิจัยประยุกต�ท่ีมีประสิทธิภาพและการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิผล และสรMางความสามารถในการพ่ึงพาตนเองดMานความรูMของประเทศไทยไดMอยGางแทMจริงในระยะยาว

13.ความสัมพันธ� (ถ1ามี) กับหลักสูตรอ่ืนท่ีเปAดสอนในคณะ/ภาควิชาอ่ืนของสถาบัน (เช!น รายวิชาท่ีเปAด

สอนเพ่ือให1บริการคณะ/ภาควิชาอ่ืน หรือต1องเรียนจากคณะ/ภาควิชาอ่ืน)

13.1 กลุ!มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้ท่ีเปAดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอ่ืน ไมGมี

13.2 กลุ!มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรท่ีเปAดสอนให1ภาควิชา/หลักสูตรอ่ืนต1องมาเรียน

ไมGมี 13.3 การบริหารจัดการ

ไมGมี

Page 12: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 8

หมวดท่ี 2 ข1อมูลเฉพาะของหลักสูตร

1 .ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงค�ของหลักสูตร

1.1 ปรัชญา

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร� มุGงเนMนการผลิตดุษฎีบัณฑิตใหMเปZนกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศโดยเฉพาะอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร�ของประเทศไทยใหMสามารถพ่ึงพาตนเองไดMซ่ึงจะตMองอาศัยบุคลากรทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร�ท่ีสามารถวิจัยประยุกต�และสรMางนวัตกรรมไดMดMวยตนเอง อีกประการหนึ่งหลักสูตรนี้สามารถพัฒนาดุษฎีบัณฑิตใหMมีศักยภาพท่ีสามารถแขGงขันไดMในระดับสากล

1.2 วัตถุประสงค�ของหลักสูตร เพ่ือผลิตดุษฎีบัณฑิตให1มีคุณลักษณะ ดังต!อไปนี้

1. มีความรูMและทักษะข้ันสูงในวิชาชีพสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร� โดยเฉพาะยิ่งในเรื่องของการโตMตอบระหวGางมนุษย�และคอมพิวเตอร� (Human and Computer Interaction) ระบบฝrงตัว (Embedded System) และวิศวกรรมซอฟต�แวร� (Software Engineering)

2. มีความพรMอมในการปฏิบัติงานหรือประกอบอาชีพและวิจัยเชิงลึก 3. มีความใฝ�รูM สามารถเรียนรูMดMวยตนเองตลอดชีวิต และมีทักษะในการคิด วิจัย สรMางสรรค� และ

ประยุกต�ใชMความรูM เพ่ือสรMางสรรผลิตภัณท�และแกMปrญหาทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร�อยGางเหมาะสม

4. ตระหนักในคุณคGาของวัฒนธรรมไทย และมีคุณธรรมจริยธรรม

Page 13: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 9

2. แผนพัฒนาปรับปรุง

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร� มีแผนในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรเพ่ือใหMมีมาตรฐานไมGตํ่ากวGาท่ีกําหนดโดยกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) และในการดําเนินการจะมีความสอดคลMองกับกรอบนโยบาย ยุทธศาสตร� และแผนกลยุทธ�ของทางมหาวิทยาลัยนเรศวร โดยจะมีแผนการพัฒนา กลยุทธ� และหลักฐาน/ตัวบGงชี้ท่ีสําคัญดังนี้

แผนพัฒนา กลยุทธ� หลักฐาน/ตัวบ!งช้ี 1. พัฒนาระบบและกระบวนการจัดการเรียนการสอน การวิจัย รวมถึงปrจจัยท่ีสนับสนุนระบบการเรียนการสอนและการวิจัย

1. พัฒนาปIจจัยพ้ืนฐานท่ีจําเป@นต!อการผลิตดุษฎีบัณฑิตท่ีมีคุณภาพ โดยพัฒนาโครงสร1างพ้ืนฐาน ได1แก!

1. หMองเรียน ท่ีมีโสตทัศนูปกรณ�ท่ีครบถMวน สะอาด มีขนาดเหมาะสมกับจํานวนผูMเรียน และสอดคลMองกับการเรียนการสอนในระดับดุษฎีบัณฑิต 2. หMองสมุด ท่ีมีหนังสือ และเอกสารทางวิศวกรรมครบทุกสาขาวิชา และมีระบบสารสนเทศเพ่ือการวิจัย 3. หMองปฏิบัติการ ท่ีมีเครื่องมือและอุปกรณ�รองรับงานวิจัยระดับสูง

4. พ้ืนท่ีทํางานท่ีเอ้ืออํานวยตGอการทําวิจัยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 2. พัฒนากระบวนการการเรียนรู1ตามหลักสูตรสู!คุณภาพโดยมุ!งผลท่ีดุษฎีบัณฑิต ท่ีมีความสามารถในการพัฒนาทักษะด1านงานวิจัย 1. สGงเสริมและสนับสนุนใหMดุษฎีบัณฑิต เผยแพรGผลงานทางวิชาการในวารสาร และ/หรือในท่ีประชุมวิชาการ 2. สนับสนุนการใชMภาษาอังกฤษในการศึกษา และวิจัย

1.1 รMอยละของจํานวนหMองเรียนท่ีมีคุณสมบัติเปZนไปตามกลยุทธ�ท่ี 1(1) 1.2 สัดสGวนงบประมาณเพ่ือการพัฒนาหMองสมุด 1.3 สัดสGวนงบประมาณเพ่ือการจัดซ้ือ เครื่องมือและอุปกรณ�รองรับงานวิจัยระดับสูง 1.4 จํานวนหMองทํางานของดุษฎีบัณฑิตท่ีสอดคลMองกับกลยุทธ�ขMอ ท่ี 1(4) 1.1 รMอยละของบทความทางวิชาการท่ีมีการตีพิมพ�เผยแพรGตามเกณฑ�ท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด 1.2 มีวารสารวิศวกรรมรองรับการเผยแพรGผลงานวิจัย

Page 14: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 10

แผนพัฒนา กลยุทธ� หลักฐาน/ตัวบ!งช้ี 3. มีการเชิญวิทยากรผูMทรงคุณวุฒิจาก ภายนอกมาบรรยาย

1.3 ดุษฎีบัณฑิต มีความสามารถทางดMานภาษาอังกฤษเทียบเทGาตามเกณฑ�ของมหาวิทยาลัย 1.4 เอกสารการเชิญวิทยากรผูMทรงคุณวุฒิ

2. ปรับปรุงหลักสูตรใหMมีความทันสมัย สอดคลMองกับความกMาวหนMาทางเทคโนโลยีในงานดMานวิศวกรรมคอมพิวเตอร� และมีมาตรฐานไมGต่ํากวGาท่ี สกอ. กําหนด

1. ติดตามความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ความตMองการของผูMประกอบการ และหนGวยงานตGางๆ ทางดMานวิศวกรรมในสาขาท่ีเก่ียวขMอง เพ่ือพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรใหMมีความทันสมัยและไดMมาตรฐาน

2. ติดตามประเมินหลักสูตรอยGางสมํ่าเสมอ 3. เชิญผูMเชี่ยวชาญท้ังภาครัฐและเอกชนมามี

สGวนรGวมในการพัฒนาหลักสูตร 4. สGงเสริมใหMมีการสรMางเครือขGายและความ

รGวมมือในดMานการวิจัย กับหนGวยงานภายนอกท้ังในภาคเอกชน และภาครัฐ

1.1 มีเอกสารแสดงหลักสูตรตาม มคอ. ครบถMวน

1.2 มีหนGวยงานท่ีเขMารGวมเปZนเครือขGาย

3 . พัฒนาบุคลากรใหM มีความรูMและประสบการณ�เ พียงพอเ พ่ือการพัฒนาประสิทธิภาพการสอนและการวิจัย

1. สGงเสริมและสนับสนุนใหMบุคลากรเขMารGวมและเผยแพรGผลงานทางวิชาการ

2. จัดใหMมีโครงการเพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัย เพ่ิมทักษะและประสบการณ�แกGบุคลากรดMานวิชาการ

3. มีการประเมินผลการเรียนการสอน เพ่ือใหMเกิดการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ

1.1 จํานวนของบทความทางวิชาการท่ีมีการตีพิมพ�เผยแพรG 1.2 มีการจัดโครงการแกGบุคลากรดMานวิชาการ เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัย เพ่ิมทักษะและประสบการณ� 1.3 รายงานผลการประเมินการเรียน การสอน

Page 15: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 11

หมวดท่ี 3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสร1างของหลักสูตร

1.ระบบการจัดการศึกษา

1.1 ระบบการจัดการศึกษาในหลักสูตร

เปZนไปตามขMอบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร วGาดMวยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2554 (ภาคผนวก ช.) ระบบการศึกษาเปZนระบบทวิภาค โดย 1 ปYการศึกษา แบGงออกเปZน 2 ภาคการศึกษา โดยมีระยะเวลาเรียนไมGนMอยกวGา 15 สัปดาห�ตGอภาคการศึกษา

1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร1อน

ไมGมี 1.3 การเทียบเคียงหน!วยกิตในระบบทวิภาค

ไมGมี

2. การดําเนินการหลักสูตร

2.1 วัน-เวลาในการดําเนินการเรียนการสอน

วัน-เวลาราชการปกติ และ/หรือนอกเวลาราชการ ภาคการศึกษาตMน เดือนสิงหาคม – เดือนธันวาคม ภาคการศึกษาปลาย เดือนมกราคม – เดือนพฤษภาคม

2.2 คุณสมบัติของผู1เข1าศึกษา

หลักสูตรแบบ 1.1 สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร� วิทยาการคอมพิวเตอร� หรือสาขาอ่ืนท่ีเก่ียวขMองและเปZนไปตามขMอบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรวGาดMวยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2554 (ภาคผนวก ช.) และมีผลงานทางวิชาการท่ีไดMรับการตีพิมพ�ในวารสารหรือสิ่งพิมพ�ทางวิชาการท่ีมีกรรมการภายนอกรGวมกลั่นกรอง (peer review) กGอนการตีพิมพ� และเปZนท่ียอมรับในสาขาวิชานั้น

หลักสูตรแบบ 2.1 สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร� วิทยาการคอมพิวเตอร� หรือสาขาอ่ืนท่ีเก่ียวขMองและเปZนไปตามขMอบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรวGาดMวยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2554 (ภาคผนวก ช.)

หลักสูตรแบบ 2.2 สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร� วิทยาการคอมพิวเตอร� หรือสาขาอ่ืนท่ีเก่ียวขMองและเปZนไปตามขMอบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรวGาดMวยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2554 (ภาคผนวก ช.) โดยเปZนผูMท่ีมีคะแนนเฉลี่ยรวมสะสมในระดับปริญญาตรีไมGตํ่ากวGา 3.20

Page 16: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 12

2.3 ปIญหาของนิสิตแรกเข1า

นิสิตแรกเขMาอาจมีทักษะและพ้ืนฐานความรูMอยูGในระดับตํ่า ซ่ึงอาจมีปrญหาดังตGอไปนี้ 2.3.1 ทักษะทางดMานภาษาอังกฤษ โดยนิสิตท่ีรับเขMามาอาจจะมีความสามารถในการใชM

ภาษาอังกฤษคGอนขMางตํ่า โดยดูจากคะแนนสอบรายวิชาภาษาอังกฤษ และจากการเรียนการสอนเม่ือมอบหมายใหMอGานบทความวิจัยภาษาอังกฤษ หรือนําเสนอเปZนภาษาอังกฤษ

2.3.2 ทักษะทางดMานการทําวิจัย โดยนิสิตท่ีรับเขMามามักจะยังขาดทักษะในการสืบคMนขMอมูลเชิงลึก และการวิเคราะห�ขMอมูล

2.4 กลยุทธ�ในการดําเนินการเพ่ือแก1ไขปIญหา / ข1อจํากัดของนิสิตในข1อ 2.3

(1) ภาควิชาจะมอบหมายใหMอาจารย�ผูMรับผิดชอบรายวิชาสัมมนา จัดกิจกรรมสGงเสริมทักษะความรูMภาษาอังกฤษ โดยอาศัยการพัฒนาทักษะทางดMานการอGาน การเขียน และการนําเสนอผลการศึกษาคMนควMาขMอมูลในรูปแบบภาษาอังกฤษ

(2) บรรจุรายวิชา 305640 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี เปZนวิชาบังคับไมGนับหนGวยกิตเพ่ือใหMนิสิตไดMเรียนรูMระเบียบวิธีวิจัยตGาง ๆ ท่ีเก่ียวขMองกับกระบวนการวิจัยทางวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี และภาควิชาจะมอบหมายใหMอาจารย�ผูMรับผิดชอบแตGละรายวิชา จัดกิจกรรมสGงเสริมทักษะการศึกษาคMนควMาขMอมูลดMวยตนเอง ท้ังจากบทความ ตําราเรียน และเอกสารทางวิชาการ พรMอมท้ังสGงเสริมทักษะการวิเคราะห�และการนําเสนอผลการศึกษาท่ีนิสิตไดMคMนควMามาแกGอาจารย�ผูMรับผิดชอบ

2.5 แผนการรับนิสิตและผู1สําเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปH

2.5.1 แบบ 1.1 ช้ันปHท่ี

จํานวนนิสิตในแต!ละปHการศกึษา

2556 2557 2558 2559 2560 ชั้นปYท่ี 1 1 1 1 1 1 ชั้นปYท่ี 2 - 1 1 1 1 ชั้นปYท่ี 3 - - 1 1 1 จํานวนนิสิตรวมในแต!ละปH 1 2 3 3 3 จํานวนนิสิตท่ีคาดว!าจะสําเร็จการศึกษา - - - 1 1

Page 17: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 13

2.5.2 แบบ 2.1 ช้ันปHท่ี

จํานวนนิสิตในแต!ละปHการศกึษา

2556 2557 2558 2559 2560 ชั้นปYท่ี 1 3 3 3 3 3 ชั้นปYท่ี 2 - 3 3 3 3 ชั้นปYท่ี 3 - - 3 3 3 จํานวนนิสิตรวมในแต!ละปH 3 6 9 9 9 จํานวนนิสิตท่ีคาดว!าจะสําเร็จการศึกษา - - - 3 3

2.5.3 แบบ 2.2 ช้ันปHท่ี

จํานวนนิสิตในแต!ละปHการศกึษา

2556 2557 2558 2559 2560 ชั้นปYท่ี 1 1 1 1 1 1 ชั้นปYท่ี 2 - 1 1 1 1 ชั้นปYท่ี 3 - - 1 1 1 ชั้นปYท่ี 4 - - - 1 1 จํานวนนิสิตรวมในแต!ละปH 1 2 3 4 4 จํานวนนิสิตท่ีคาดว!าจะสําเร็จการศึกษา - - - - 1

Page 18: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 14

2.6 งบประมาณตามแผน งบประมาณที่ได1รับการจัดสรรจากมหาวิทยาลัยนเรศวร

2.6.1 งบประมาณรายรับ (หน!วย บาท)

รายละเอียดรายรับ ปHงบประมาณ

2556 2557 2558 2559 2560 1.งบประมาณรายไดM 262,500 525,000 787,500 840,000 840,000

รวมรายรับ 262,500 525,000 787,500 840,000 840,000

2.6.2 งบประมาณรายจ!าย (หน!วย บาท)

หมวดเงิน ปHงบประมาณ

2556 2557 2558 2559 2560 1.คGาตอบแทนใชMสอยและวัสดุ 210,000 420,000 630,000 672,000 672,000

2.หมวดเงินอุดหนุน 52,500 105,000 157,500 168,000 168,000

รวมรายจGาย 262,500 525,000 787,500 840,000 840,000

จํานวนนิสิต 5 10 15 16 16

คGาใชMจGายตGอหัวนิสิต 52,500 52,500 52,500 52,500 52,500

2.6.3 ค!าใช1จ!ายต!อหัวนิสิต ประมาณ 52,500 บาท/คน

2.7 ระบบการศึกษา

ระบบการศึกษาเปZนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยนเรศวร วGาดMวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2554 (ภาคผนวก ช.)

2.8 การเทียบโอนหน!วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข1ามมหาวิทยาลัย

ใหMเปZนไปตามขMอบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรและประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 19: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 15

3. หลักสูตรและอาจารย�ผู1สอน 3.1 หลักสูตร

3.1.1 จํานวนหน!วยกิต หลักสูตรแบบ 1.1 จํานวนหนGวยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไมGนMอยกวGา 48 หนGวยกิต หลักสูตรแบบ 2.1 จํานวนหนGวยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไมGนMอยกวGา 48 หนGวยกิต หลักสูตรแบบ 2.2 จํานวนหนGวยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไมGนMอยกวGา 72 หนGวยกิต

3.1.2 โครงสร1างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 2.1 และ แบบ 2.2

ลําดับ

รายการ

เกณฑ� ศธ. พ.ศ. 2548 หลักสูตรใหม! พ.ศ. 2556 แบบ 1.1

แบบ 2.1

แบบ 2.2

แบบ 1.1

แบบ 2.1

แบบ 2.2

หน!วยกิต หน!วยกิต หน!วยกิต หน!วยกิต หน!วยกิต หน!วยกิต

1 งานรายวิชา (Course work) - 12 24 - 12 24

1.1 วิชาบังคับ - - - - 3 12

1.2 วิชาเลือก - - - - 9 12

2 วิทยานิพนธ� 48 36 48 48 36 48

3 รายวิชาบังคับไมGนับหนGวยกิต - - - 6 6 6

หนGวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 48 72 48 48 72

หมายเหตุ

แบบ 1.1 ในกรณีท่ีอาจารย�ท่ีปรึกษาเห็นวGานิสิตยังขาดพ้ืนฐานวิชาการบางดMานท่ีจะเปZนประโยชน�ตGอการทําวิทยานิพนธ� นิสิตผูMนั้นจะตMองเขMาเรียนในกระบวนวิชาท่ีเก่ียวขMองตามความเห็นชอบของอาจารย�ท่ีปรึกษา โดยไมGนับหนGวยกิตสะสม

แบบ 2.1 นิสิตสามารถลงทะเบียนเรียนวิชาระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเก่ียวขMองและเปZนประโยชน�ตGอการทําวิทยานิพนธ�ซ่ึงไดMรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรประจําสาขาวิชาฯ โดยนับเปZนสGวนหนึ่งของวิชาเลือกในสาขาวิชาฯไดM ท้ังนี้นิสิตตMองลงทะเบียนเรียนวิชาในกลุGมวิชาเลือกของสาขาวิชาฯไมGนMอยกวGา 9 หนGวยกิต

Page 20: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 16

แบบ 2.2 นิสิตสามารถลงทะเบียนเรียนวิชาระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเก่ียวขMองและเปZนประโยชน�ตGอการทําวิทยานิพนธ�ซ่ึงไดMรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรประจําสาขาวิชาฯ โดยนับเปZนสGวนหนึ่งของวิชาเลือกในสาขาวิชาฯไดM ท้ังนี้นิสิตตMองลงทะเบียนเรียนวิชาในกลุGมวิชาเลือกของสาขาวิชาฯไมGนMอยกวGา 12 หนGวยกิต

Page 21: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 17

3.1.3 รายวิชา

3.1.3.1 กรณีจัดการศึกษาแบบ 1.1 (1) วิทยานิพนธ� (Dissertation) จํานวน 48 หน!วยกิต

305651 วิทยานิพนธ� 1 แบบ 1.1 6 หนGวยกิต Dissertation 1, Type 1.1 305652 วิทยานิพนธ� 2 แบบ 1.1 6 หนGวยกิต Dissertation 2, Type 1.1 305653 วิทยานิพนธ� 3 แบบ 1.1 9 หนGวยกิต Dissertation 3, Type 1.1 305654 วิทยานิพนธ� 4 แบบ 1.1 9 หนGวยกิต Dissertation 4, Type 1.1 305655 วิทยานิพนธ� 5 แบบ 1.1 9 หนGวยกิต Dissertation 5, Type 1.1 305656 วิทยานิพนธ� 6 แบบ 1.1 9 หนGวยกิต Dissertation 6, Type 1.1

(2) รายวิชาบังคับไม!นับหน!วยกิต จํานวน 6 หน!วยกิต

305640 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตร�และเทคโนโลย ีResearch Methodology in Science and Technology

3(3-0-6)

305641 สัมมนา 1 Seminar 1

1(0-2-1)

305642 สัมมนา 2 Seminar 2

1(0-2-1)

305643 สัมมนา 3 Seminar 3

1(0-2-1)

3.1.3.2 กรณีจัดการศึกษาแบบ 2.1

(1) งานรายวิชา (Course work) ไม!น1อยกว!า 12 หน!วยกิต (1.1) วิชาบังคับ 3 หนGวยกิต

305601 วิธีการรูปนัย 3(3-0-6) Formal Methods

Page 22: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 18

(1.2) วิชาเลือก ไมGนMอยกวGา 9 หนGวยกิต ใหMนิสิตเลือกเรียนจากรายวิชาดังตGอไปนี้ จํานวนไมGนMอยกวGา 9 หนGวยกิต

กลุ!มวิชาปฏิสัมพันธ�ระหว!างมนุษย�และคอมพิวเตอร� 305610 ปrญญาประดิษฐ�ข้ันสูง 3(2-2-5) Advanced Artificial Intelligence 305611 ความเปZนจริงเสมือนและความเปZนจริงเสริม 3(2-2-5) Virtual and Augmented Reality 305612 การรูMจําแบบข้ันสูง 3(2-2-5) Advanced Pattern Recognition 305613 การประมวลผลภาพทางชีวการแพทย� 3(2-2-5) Biomedical Image Processing 305614 ระบบสารสนเทศพ้ืนท่ีและการรับรูMระยะไกล 3(2-2-5) Spatial and Remote Sensing Information Systems 305680 หัวขMอคัดสรรทางปฏิสัมพันธ�ระหวGางมนุษย�และคอมพิวเตอร� 3(2-2-5) Selected Topic in Human Computer Interaction 305681 หัวขMอคัดสรรทางปrญญาประดิษฐ� 3(2-2-5) Selected Topic in Artificial Intelligence 305682 หัวขMอคัดสรรทางการประมวลผลภาพและเรขภาพคอมพิวเตอร� 3(2-2-5) Selected Topic in Image Processing and Computer Graphic กลุ!มวิชาเทคโนโลยีฮาร�ดแวร�และระบบฝIงตัว 305620 เมคคาทรอนิกส� 3(2-2-5) Mechatronics 305621 ระบบหุGนยนต�และการประยุกต� 3(2-2-5) Robotics Systems and Application 305622 การออกแบบระบบท่ีใชMไมโครโพรเซสเซอร�ควบคุม 3(2-2-5) Microprocessor based Control System Design 305623 สถาปrตยกรรมระบบฝrงตัวและอุปกรณ�อัจฉริยะ 3(2-2-5) Embedded Systems and Smart Device Architecture 305624 การออกแบบระบบดิจิทัลข้ันสูง 3(2-2-5) Advanced Digital Systems Design

Page 23: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 19

305625 การออกแบบระบบวงจรรวมความจุสูงมาก 3(2-2-5) Very Large Scale Integrated Circuit System Design 305683 หัวขMอคัดสรรทางระบบฝrงตัว 3(2-2-5) Selected Topic in Embedded System 305684 หัวขMอคัดสรรทางเมคคาทรอนิกส�และระบบหุGนยนต� 3(2-2-5) Selected Topic in Mechatronics and Robotics System 305685 หัวขMอคัดสรรทางเครือขGายคอมพิวเตอร�และการเชื่อมตGอเซนเซอร� 3(2-2-5) Selected Topic in Computer Network and Sensors Interfaces กลุ!มวิชาวิศวกรรมซอฟต�แวร� 305630 การวิเคราะห�และการประเมินสถาปrตยกรรมซอฟต�แวร� 3(2-2-5) Software Architecture Analysis and Evaluation 305631 การวิเคราะห�และการประเมินสายผลิตภัณฑ�ซอฟต�แวร� 3(2-2-5) Software Product Line Analysis and Evaluation 305632 กระบวนการวิศวกรรมซอฟต�แวร� 3(2-2-5) Software Engineering Process 305633 การจัดการวิศวกรรมคอมพิวเตอร� 3(2-2-5) Computer Engineering Management 305634 การบูรณาการระบบสารสนเทศวิสาหกิจ 3(2-2-5) Enterprise Information Systems Integration 305686 หัวขMอคัดสรรทางวิศวกรรมซอฟต�แวร� 3(2-2-5) Selected Topic in Software Engineering 305687 หัวขMอคัดสรรทางสถาปrตยกรรมซอฟต�แวร� 3(2-2-5) Selected Topic in Software Architecture 305688 หัวขMอคัดสรรทางกระบวนการและวิธีทางวิศวกรรมซอฟต�แวร� 3(2-2-5) Selected Topic in Software Engineering Process and Method

(2) วิทยานิพนธ� (Dissertation) จํานวน 36 หน!วยกิต

305661 วิทยานิพนธ� 1 แบบ 2.1 9 หนGวยกิต Dissertation 1, Type 2.1 305662 วิทยานิพนธ� 2 แบบ 2.1 9 หนGวยกิต Dissertation 2, Type 2.1

Page 24: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 20

305663 วิทยานิพนธ� 3 แบบ 2.1 9 หนGวยกิต Dissertation 3, Type 2.1 305664 วิทยานิพนธ� 4 แบบ 2.1 9 หนGวยกิต Dissertation 4, Type 2.1

(3) รายวิชาบังคับไม!นับหน!วยกิต จํานวน 6 หน!วยกิต

305640 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตร�และเทคโนโลย ีResearch Methodology in Science and Technology

3(3-0-6)

305641 สัมมนา 1 Seminar 1

1(0-2-1)

305642 สัมมนา 2 Seminar 2

1(0-2-1)

305643 สัมมนา 3 Seminar 3

1(0-2-1)

3.1.3.3 กรณีจัดการศึกษาแบบ 2.2

(1) งานรายวิชา (Course work) ไม!น1อยกว!า 24 หน!วยกิต (1.1) วิชาบังคับ 12 หนGวยกิต

305500 คณิตศาสตร�สําหรับบัณฑิตศึกษาดMานวิศวกรรมคอมพิวเตอร� Mathematics for Graduate Studies in Computer Engineering

3(3-0-6)

305501 สถาปrตยกรรมและองค�กรคอมพิวเตอร�ข้ันสูง Advanced Computer Architectures and Organizations

3(2-2-5)

305502 การวิเคราะห�และการออกแบบข้ันตอนวิธข้ัีนสูง Advanced Algorithm Analysis and Design

3(2-2-5)

305601 วิธีการรูปนัย Formal Methods

3(3-0-6)

(1.2) วิชาเลือก ไมGนMอยกวGา 12 หนGวยกิต ใหMนิสิตเลือกเรียนจากรายวิชาดังตGอไปนี้ จํานวนไมGนMอยกวGา 12 หนGวยกิต

กลุ!มวิชาปฏิสัมพันธ�ระหว!างมนุษย�และคอมพิวเตอร� 305610 ปrญญาประดิษฐ�ข้ันสูง 3(2-2-5) Advanced Artificial Intelligence

Page 25: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 21

305611 ความเปZนจริงเสมือนและความเปZนจริงเสริม 3(2-2-5) Virtual and Augmented Reality 305612 การรูMจําแบบข้ันสูง 3(2-2-5) Advanced Pattern Recognition 305613 การประมวลผลภาพทางชีวการแพทย� 3(2-2-5) Biomedical Image Processing 305614 ระบบสารสนเทศพ้ืนท่ีและการรับรูMระยะไกล 3(2-2-5) Spatial and Remote Sensing Information Systems 305680 หัวขMอคัดสรรทางปฏิสัมพันธ�ระหวGางมนุษย�และคอมพิวเตอร� 3(2-2-5) Selected Topic in Human Computer Interaction 305681 หัวขMอคัดสรรทางปrญญาประดิษฐ� 3(2-2-5) Selected Topic in Artificial Intelligence 305682 หัวขMอคัดสรรทางการประมวลผลภาพและเรขภาพคอมพิวเตอร� 3(2-2-5) Selected Topic in Image Processing and Computer Graphic กลุ!มวิชาเทคโนโลยีฮาร�ดแวร�และระบบฝIงตัว 305620 เมคคาทรอนิกส� 3(2-2-5) Mechatronics 305621 ระบบหุGนยนต�และการประยุกต� 3(2-2-5) Robotics Systems and Application 305622 การออกแบบระบบท่ีใชMไมโครโพรเซสเซอร�ควบคุม 3(2-2-5) Microprocessor based Control System Design 305623 สถาปrตยกรรมระบบฝrงตัวและอุปกรณ�อัจฉริยะ 3(2-2-5) Embedded Systems and Smart Device Architecture 305624 การออกแบบระบบดิจิทัลข้ันสูง 3(2-2-5) Advanced Digital Systems Design 305625 การออกแบบระบบวงจรรวมความจุสูงมาก 3(2-2-5) Very Large Scale Integrated Circuit System Design 305683 หัวขMอคัดสรรทางระบบฝrงตัว 3(2-2-5) Selected Topic in Embedded System 305684 หัวขMอคัดสรรทางเมคคาทรอนิกส�และระบบหุGนยนต� 3(2-2-5) Selected Topic in Mechatronics and Robotics System

Page 26: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 22

305685 หัวขMอคัดสรรทางเครือขGายคอมพิวเตอร�และการเชื่อมตGอเซนเซอร� 3(2-2-5) Selected Topic in Computer Network and Sensors Interfaces กลุ!มวิชาวิศวกรรมซอฟต�แวร� 305630 การวิเคราะห�และการประเมินสถาปrตยกรรมซอฟต�แวร� 3(2-2-5) Software Architecture Analysis and Evaluation 305631 การวิเคราะห�และการประเมินสายผลิตภัณฑ�ซอฟต�แวร� 3(2-2-5) Software Product Line Analysis and Evaluation 305632 กระบวนการวิศวกรรมซอฟต�แวร� 3(2-2-5) Software Engineering Process 305633 การจัดการวิศวกรรมคอมพิวเตอร� 3(2-2-5) Computer Engineering Management 305634 การบูรณาการระบบสารสนเทศวิสาหกิจ 3(2-2-5) Enterprise Information Systems Integration 305686 หัวขMอคัดสรรทางวิศวกรรมซอฟต�แวร� 3(2-2-5) Selected Topic in Software Engineering 305687 หัวขMอคัดสรรทางสถาปrตยกรรมซอฟต�แวร� 3(2-2-5) Selected Topic in Software Architecture 305688 หัวขMอคัดสรรทางกระบวนการและวิธีทางวิศวกรรมซอฟต�แวร� 3(2-2-5) Selected Topic in Software Engineering Process and Method

(2) วิทยานิพนธ� (Dissertation) จํานวน 48 หน!วยกิต

305671 วิทยานิพนธ� 1 แบบ 2.2 6 หนGวยกิต Dissertation 1, Type 2.2 305672 วิทยานิพนธ� 2 แบบ 2.2 6 หนGวยกิต Dissertation 2, Type 2.2 305673 วิทยานิพนธ� 3 แบบ 2.2 9 หนGวยกิต Dissertation 3, Type 2.2 305674 วิทยานิพนธ� 4 แบบ 2.2 9 หนGวยกิต Dissertation 4, Type 2.2 305675 วิทยานิพนธ� 5 แบบ 2.2 9 หนGวยกิต Dissertation 5, Type 2.2

Page 27: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 23

305676 วิทยานิพนธ� 6 แบบ 2.2 9 หนGวยกิต Dissertation 6, Type 2.2

(3) รายวิชาบังคับไม!นับหน!วยกิต จํานวน 6 หน!วยกิต

305640 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี Research Methodology in Science and Technology

3(3-0-6)

305641 สัมมนา 1 Seminar 1

1(0-2-1)

305642 สัมมนา 2 Seminar 2

1(0-2-1)

305643 สัมมนา 3 Seminar 3

1(0-2-1)

Page 28: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 24

แผนการศึกษา

3.1.4.1 แผนการศึกษาหลักสูตร แบบ 1.1

ช้ันปHท่ี 1 ภาคการศึกษาต1น

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต (ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305640 ระเบียบวิธีวิจยัทางวิทยาศาสตร�และเทคโนโลย ี(ไมGนับหนGวยกิต) 3(3-0-6) Research Methodology in Science and Technology (Non-Credit)

305651 วิทยานิพนธ� 1 แบบ 1.1 6 หนGวยกิต Dissertation 1, Type 1.1 รวม 6 หน!วยกิต

ภาคการศึกษาปลาย

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต (ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305641 สัมมนา 1 (ไมGนับหนGวยกิต) 1(0-2-1) Seminar 1 (Non-Credit)

305652 วิทยานิพนธ� 2 แบบ 1.1 6 หนGวยกิต Dissertation 2, Type 1.1 รวม 6 หน!วยกิต

Page 29: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 25

ช้ันปHท่ี 2 ภาคการศึกษาต1น

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต (ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305653 วิทยานิพนธ� 3 แบบ 1.1 9 หนGวยกิต Dissertation 3, Type 1.1 รวม 9 หน!วยกิต

ภาคการศึกษาปลาย

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต (ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305642 สัมมนา 2 (ไมGนับหนGวยกิต) 1(0-2-1) Seminar 2 (Non-Credit)

305654 วิทยานิพนธ� 4 แบบ 1.1 9 หนGวยกิต Dissertation 4, Type 1.1 รวม 9 หน!วยกิต

ช้ันปHท่ี 3

ภาคการศึกษาต1น รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305655 วิทยานิพนธ� 5 แบบ 1.1 9 หนGวยกิต Dissertation 5, Type 1.1 รวม 9 หน!วยกิต

ภาคการศึกษาปลาย

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต (ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305643 สัมมนา 3 (ไมGนับหนGวยกิต) 1(0-2-1) Seminar 3 (Non-Credit)

305656 วิทยานิพนธ� 6 แบบ 1.1 9 หนGวยกิต Dissertation 6, Type 1.1 รวม 9 หน!วยกิต

Page 30: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 26

3.1.4.2 แผนการศึกษาหลักสูตร แบบ 2.1

ช้ันปHท่ี 1 ภาคการศึกษาต1น

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต (ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305640 ระเบียบวิธีวิจยัทางวิทยาศาสตร�และเทคโนโลย ี(ไมGนับหนGวยกิต) 3(3-0-6) Research Methodology in Science and Technology (Non-Credit)

305601 วิธีการรูปนัย 3(3-0-6) Formal Methods

305xxx วิชาเลือก 3(x-x-x) Elective Course รวม 6 หน!วยกิต

ภาคการศึกษาปลาย

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต (ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305641 สัมมนา 1 (ไมGนับหนGวยกิต) 1(0-2-1) Seminar 1 (Non-Credit)

305xxx วิชาเลือก 3(x-x-x) Elective Course

305xxx วิชาเลือก 3(x-x-x) Elective Course รวม 6 หน!วยกิต

Page 31: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 27

ช้ันปHท่ี 2 ภาคการศึกษาต1น

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต (ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305661 วิทยานิพนธ� 1 แบบ 2.1 9 หนGวยกิต Dissertation 1, Type 2.1 รวม 9 หน!วยกิต

ภาคการศึกษาปลาย

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต (ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305642 สัมมนา 2 (ไมGนับหนGวยกิต) 1(0-2-1) Seminar 2 (Non-Credit)

305662 วิทยานิพนธ� 2 แบบ 2.1 9 หนGวยกิต Dissertation 2, Type 2.1 รวม 9 หน!วยกิต

ช้ันปHท่ี 3

ภาคการศึกษาต1น รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305663 วิทยานิพนธ� 3 แบบ 2.1 9 หนGวยกิต Dissertation 3, Type 2.1 รวม 9 หน!วยกิต

ภาคการศึกษาปลาย

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต (ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305642 สัมมนา 2 (ไมGนับหนGวยกิต) 1(0-2-1) Seminar 2 (Non-Credit)

305664 วิทยานิพนธ� 4 แบบ 2.1 9 หนGวยกิต Dissertation 4, Type 2.1 รวม 9 หน!วยกิต

Page 32: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 28

3.1.4.3 แผนการศึกษาหลักสูตร แบบ 2.2

ช้ันปHท่ี 1 ภาคการศึกษาต1น

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต (ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305500 คณิตศาสตร�สําหรับบัณฑิตศึกษาดMานวิศวกรรมคอมพิวเตอร� 3(3-0-6) Mathematics for Graduate Studies in Computer Engineering

305501 สถาปrตยกรรมและองค�กรคอมพิวเตอร�ข้ันสูง 3(2-2-5) Advanced Computer Architecture and Organizations

305601 วิธีการรูปนัย 3(3-0-6) Formal Methods

305640 ระเบียบวิธีวิจยัทางวิทยาศาสตร�และเทคโนโลย ี(ไมGนับหนGวยกิต) 3(3-0-6) Research Methodology in Science and Technology (Non-Credit) รวม 9 หน!วยกิต

ภาคการศึกษาปลาย

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต (ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305502 การวิเคราะห�และการออกแบบข้ันตอนวิธีข้ันสูง 3(2-2-5) Advanced Algorithm Analysis and Design

305641 สัมมนา 1 (ไมGนับหนGวยกิต) 1(0-2-1) Seminar 1 (Non-Credit)

305xxx วิชาเลือก 3(x-x-x) Elective Course

305xxx วิชาเลือก 3(x-x-x) Elective Course รวม 9 หน!วยกิต

Page 33: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 29

ช้ันปHท่ี 2 ภาคการศึกษาต1น

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต (ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305642 สัมมนา 2 (ไมGนับหนGวยกิต) 1(0-2-1) Seminar 2 (Non-Credit)

305671 วิทยานิพนธ� 1 แบบ 2.2 6 หนGวยกิต Dissertation 1, Type 2.2

305xxx วิชาเลือก 3(x-x-x) Elective Course รวม 9 หน!วยกิต

ภาคการศึกษาปลาย

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต (ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305642 สัมมนา 2 (ไมGนับหนGวยกิต) 1(0-2-1) Seminar 2 (Non-Credit)

305672 วิทยานิพนธ� 2 แบบ 2.2 6 หนGวยกิต Dissertation 2, Type 2.2

305xxx วิชาเลือก 3(x-x-x) Elective Course รวม 9 หน!วยกิต

Page 34: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 30

ช้ันปHท่ี 3 ภาคการศึกษาต1น

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต (ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305673 วิทยานิพนธ� 3 แบบ 2.2 9 หนGวยกิต Dissertation 3, Type 2.2 รวม 9 หน!วยกิต

ภาคการศึกษาปลาย

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต (ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305643 สัมมนา 3 (ไมGนับหนGวยกิต) 1(0-2-1) Seminar 3 (Non-Credit)

305674 วิทยานิพนธ� 4 แบบ 2.2 9 หนGวยกิต Dissertation 4, Type 2.2 รวม 9 หน!วยกิต

ช้ันปHท่ี 4

ภาคการศึกษาต1น รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305675 วิทยานิพนธ� 5 แบบ 2.2 9 หนGวยกิต Dissertation 5, Type 2.2 รวม 9 หน!วยกิต

ภาคการศึกษาปลาย

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน!วยกิต (ทฤษฎี-ปฏบิัต-ิศึกษาด1วยตนเอง)

305676 วิทยานิพนธ� 6 แบบ 2.2 9 หนGวยกิต Dissertation 6, Type 2.2 รวม 9 หน!วยกิต

Page 35: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 31

คําอธิบายรายวิชา

305500 คณิตศาสตร�สําหรับบัณฑิตศึกษาดMานวิศวกรรมคอมพิวเตอร� 3(3-0-6) Mathematics for Graduate Studies in Computer Engineering เซต ความสัมพันธ� ฟrงก�ชัน การเรียกซํ้า วิธีอุปนัยเชิงคณิตศาสตร� ตรรกะ การพิสูจน� กราฟ ทรี การนับ ระเบียบวิธีการทางสถิติ ความนGาจะเปZน ตัวแปรสุGม การแจกแจงความนGาจะเปZนของตัวแปรสุGมแบบไมGตGอเนื่องและตGอเนื่องบางชนิด การแจกแจงของตัวสถิติ ลูกโซGมาร�คอฟเวลาไมGตGอเนื่อง การวิเคราะห�ความแปรปรวนเบื้องตMน การวิเคราะห�ถดถอยและสหสัมพันธ� Sets; relations; functions; recursion; mathematical induction; logic; proof; graphs; trees; counting; statistical methodology; probability; random variables; some probability distributions of discrete and continuous random variables; sampling distribution; discrete-time Markov chain; elementary analysis of variance; regression and correlation analysis 305501 สถาปrตยกรรมและองค�กรคอมพิวเตอร�ข้ันสูง 3(2-2-5)

Advanced Computer Architectures and Organizations ซอฟต�แวร�และการควบคุมแบบพรMอมกัน คอร� มัลติคอร� และมัลติเธรดด้ิง ซอฟต�แวร�

สําหรับมัลติโพรเซสเซอร�และสถาปrตยกรรมชุดคําสั่ง ระบบหนGวยความจําและการเชื่อมโยงกันของแคช ความคงท่ีของหนGวยความจํา หนGวยความจําเชิงธุรกรรม สถาปrตยกรรมการเชื่อมตGอเครือขGายบนชิป หนGวยประมวลผลแบบหนึ่งคําสั่งหลายขMอมูล และหนGวยประมวลผลแบบขนานขนาดใหญG การจัดกลุGมและหนGวยการประมวลผลกราฟ{กสําหรับวัตถุประสงค�ท่ัวไป

Software and the concurrency controls; cores, multicores, and multithreading; multiprocessor software and instruction set architecture; memory systems and cache coherence; memory consistency; transactional memory; on-chip interconnection architecture; single instruction, multiple data and massively parallel processor; clusters and general-purpose graphics processing units

305502 การวิเคราะห�และการออกแบบข้ันตอนวิธีข้ันสูง 3(2-2-5)

Advanced Algorithm Analysis and Design ทฤษฎีการคณนาเบื้องตMน ข้ันตอนวิธีการคํานวณ การวิเคราะห�ข้ันตอนวิธี ความซับซMอน

ของข้ันตอนวิธี ยุทธวิธีของข้ันตอนวิธี ข้ันตอนวิธีแบบกระจายและการประยุกต�ใชM Basic computability theory; computing algorithms; algorithmic analysis;

algorithmic complexity; algorithmic strategies; distributed algorithms and applications

Page 36: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 32

305601 วิธีการรูปนัย 3(3-0-6) Formal Methods ตรรกะแบบโฮร� เครือขGายเพทริ แคลคูลัสกระบวนการ ตรรกะเชิงกาลเวลา แคลคูลัส-

แลมบ�ดา Hoare Logic; Petri Net; Process Calculus; Temporal Logic; Lambda Calculus

305610 ปrญญาประดิษฐ�ข้ันสูง 3(2-2-5)

Advance Artificial Intelligence วิธีการข้ันสูงของปrญญาประดิษฐ�เชิงสัญลักษณ�และเชิงตัวเลข ประเด็นปrจจุบันของ

ปrญญาประดิษฐ� Advanced methods in symbolic and quantitative artificial intelligence;

current issues in Artificial Intelligence.

305611 ความเปZนจริงเสมือนและความเปZนจริงเสริม 3(2-2-5) Virtual Reality and Augmented Reality เทคโนโลยีระบบความเปZนจริงเสมือนและความเปZนจริงเสริม นิยามและลักษณะเฉพาะของ

ความเปZนจริงเสมือนและความเปZนจริงเสริม การประยุกต�ความเปZนจริงเสมือนและความเปZนจริงเสริม ปrจจัยมนุษยและการรับรูMของมนุษย� เรขภาพคอมพิวเตอร�เชิงตอบโตMสําหรับความเปZนจริงเสมือนและความเปZนจริงเสริม การจําลองแบบสภาพแวดลMอมเสมือน ระบบคMนหาและติดตามการเคลื่อนไหว การซMอนทับวัตถุสามมิติ สGวนตGอประสารแบบมีรูปรGาง การคอมพิวเตอร�แบบสวมใสGไดM

Virtual reality and augmented reality technology; definition and characteristics of virtual reality and augmented reality; applications of virtual reality and augmented reality; human factors and human perception; interactive computer graphics for virtual reality and augmented reality; modeling of virtual environments; motion tracking systems; 3D object registration; tangible interfaces; wearable computing 305612 การรูMจําแบบของคอมพิวเตอร�ข้ันสูง 3(2-2-5)

Advanced Pattern Recognition ระบบเชิงเสMน และการแปลงเชิงเสMน ทฤษฎีความนGาจะเปZน การเลือกคGาลักษณะเดGน การ

ประเมินคGาลักษณะเดGน และการแปลงคGาลักษณะเดGน ตัวจําแนกแบบเบย�เซียน การประมาณคGาพารามิเตอร�ดMวยวิธีความควรจะเปZนสูงสุด การประมาณคGาพารามิเตอร�แบบเบย�เซียน แบบจําลองฮิดเดนมาร�คอฟ ตัวจําแนกแบบเครือขGายประสาทเทียม ตัวจําแนกแบบฟrซซ่ีลอจิก การประยุกต�การรูMจําแบบกับภาพและเสียง

Page 37: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 33

Linear system and linear transformations; probability theory; feature selection; feature evaluation; feature transformation; Bayesian classifier; maximum likelihood parameter estimation; Bayesian parameter estimation; Hidden Markov model; neural network classifier; fuzzy logic classifier; application of pattern recognition on images and voice 305613 การประมวลผลภาพทางชีวการแพทย� 3(2-2-5)

Biomedical Image Processing การประมวลผลสัญญาณดิจิทัลในงานทางชีวการแพทย� การไดMขMอมูลทางชีวการแพทย� การ

สรMางภาพทางชีวการแพทย�ข้ึนใหมG การประมวลผลภาพสําหรับภาพทางชีวการแพทย� การถGายภาพรังสีสGวนตัดอาศัยคอมพิวเตอร� การสรMางภาพดMวยเรโซแนนซ�แมGเหล็ก (เอ็มอาร�ไอ) ภาพทางชีวการแพทย�แบบอ่ืน ๆ

Digital signal processing in biomedical work; biomedical data acquisition; biomedical image reconstruction; image processing for biomedical images; computed tomography; Magnetic Resonance Imaging (MRI); other biomedical image modalities 305614 ระบบสารสนเทศเชิงพ้ืนท่ีและการรับรูMระยะไกล 3(2-2-5)

Spatial and Remote Sensing Information Systems สารสนเทศเชิงพ้ืนท่ี ขMอมูลและรูปแบบขMอมูล ขMอมูลเขMาและขMอมูลออก โครงสรMางขMอมูล

ซอฟต�แวร�ระบบสารสนเทศเชิงพ้ืนท่ี การประมวลผลขMอมูลเชิงพ้ืนท่ี การอMางอิงพ้ืนท่ีและการประยุกต� ระเบียบวิธีการแปลและประเมินสําหรับการประเมินภูมิทัศน� วิธีการสุGมตัวอยGางพ้ืนท่ี การรับรูMระยะไกล

Spatial information; data and data-formats; input and output; data structures; Spatial Information System software; spatial data processing, spatial referencing and applications; interpretation and evaluation methodology for terrain evaluation; landscape sampling; remote sensing 305620 เมคคาทรอนิกส� 3(2-2-5)

Mechatronics การวิเคราะห�จลนศาสตร�และการแปลงพิกัด แรง โมเมนต�และกฏของออยเลอร� เครื่องรับรูM

และเครื่องตรวจวัด อุปกรณ�อิเล็กทรอนิกส�และการวัด การควบคุม การประมวลผลสัญญาณภาพ โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร� นิวเมติกส� การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร�

Page 38: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 34

Kinematic analysis and coordinate transformation; forces, moments, and Euler’s laws; sensors and actuators; electronic devices and measurements; control; image processing; Programmable Logic Controller; Pneumatics; computer programming. 305621 ระบบหุGนยนต�และการประยุกต� 3(2-2-5)

Robotics Systems and Application หุGนยนต�แขนกลและหุGนยนต�เคลื่อนท่ี ริจิดโมชั่นและการแปลงแบบเอกพันธ� ไคนิเมทิกแบบ

ไปขMางหนMาและยMอนกลับ ไคนิเมทิกความเร็ว พลวัตและการควบคุม ตัวรับรูMวิทัศน�และไมGวิทัศน�ในระบบหุGนยนต� ข้ันตอนวิธีการประมาณคGาตําแหนGงของหุGนยนต� การวางแผนการเคลื่อนท่ีของหุGนยนต� การควบคุมแรงในหุGนยนต�แขนกล โปรแกรมควบคุมหุGนยนต�

Robot manipulator and mobile robot; rigid motion and homogeneous transformations; forward and inverse kinematics; velocity kinematics; dynamics and control; visual and non-visual sensors in robotics systems; robotics localization algorithm; robot path planning; force control in robot manipulator; robot programming 305622 การออกแบบระบบท่ีใชMไมโครโพรเซสเซอร�ควบคุม 3(2-2-5)

Microprocessor based Control System Design การใชMงานไมโครโพรเซสเซอร�เพ่ือจําลองตรรกะเชิงเลขและอุปกรณ�ตGางๆ ท่ีเวลาจริง

แนวคิดในการออกแบบ อุปกรณ�ฮาร�ดแวร�และซอฟต�แวร� ทรานซ�ดิวเซอร�และการเชื่อมตGอ ภาษาระดับสูงสําหรับการควบคุม การออกแบบระบบประมวลผลหลายตัว การเขียนโปรแกรมสําหรับไมโครโพรเซสเซอร�

Microprocessor simulation of digital logic and real-time devices; design concepts; device hardware and software configurations; transducers and interfaces; high level languages for control; multi-processing system design; microprocessor programming 305623 สถาปrตยกรรมระบบฝrงตัวและอุปกรณ�อัจฉริยะ 3(2-2-5) Embedded Systems and Smart Device Architecture

การออกแบบและการจําแนกประเภทของสถาปrตยกรรมระบบฝrงตัว การจัดการระบบความจํา สถาปrตยกรรมคอมพิวเตอร�เพ่ือจุดประสงค�พิเศษ อุปกรณ�อัจฉริยะสมรรถนะสูงชนิดตGางๆ แกGนระบบฝrงตัว แบบจําลองระบบฝrงตัว ซอฟต�แวร�ระบบฝrงตัว ระบบปฏิบัติการฝrงตัว

Design and classification of embedded system architectures; memory management; special purpose computer architectures; varieties of high-performance smart

Page 39: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 35

device; embedded system kernel; embedded system model; embedded system software; embedded operating system 305624 การออกแบบระบบดิจิทัลข้ันสูง 3(2-2-5)

Advanced Digital Systems Design เทคนิคและเครื่องมือในการใชMคอมพิวเตอร�ชGวยสําหรับการออกแบบระบบดิจิทัล ภาษา

พรรณนาฮาร�ดแวร� ตัวแปลภาษาฮาร�ดแวร� การประเมินและจําลองสถาปrตยกรรมคอมพิวเตอร�และวงจรตรรกศาสตร� การตรวจสอบ การแบGงสGวน ข้ันตอนวิธีการวางตําแหนGงและการจัดเสMนทาง เครื่องมือการออกแบบโดยใชMคอมพิวเตอร�ชGวยสําหรับการออกแบบระบบอัตโนมัติ

Techniques and tools for the Computer-Aided Design of digital systems; hardware description languages; hardware compilers; evaluation and simulation of computer architectures and logic circuit; testing; partition; placement and routing algorithms; Computer-Aided Design tools for design automation systems 305625 การออกแบบระบบวงจรรวมความจุสูงมาก 3(2-2-5)

Very Large Scale Integrated Circuit System Design การออกแบบวงจรรวมความจุสูงมาก สถาปrตยกรรมของหนGวยประมวลผล หนGวยความจํา

และวงจรตรรกะ การวางตําแหนGงไอซี การออกแบบและการสรMางตMนแบบวงจรรวมขนาดใหญGอยGางรวดเร็ว การประมาณการหนGวงเวลา การวิเคราะห�ขีดความสามารถ การใชMเครื่องมือชGวยการสังเคราะห�และจําลองวงจรรวมขนาดใหญGมาก

Very Large Scale Integrated Design; processing unit architecture; memory and logic circuit; IC placement; design and construction of a rapid prototype large scale integration; delay time determination; performance analysis; synthesis and simulation of the circuit via tools 305630 การวิเคราะห�และการประเมินสถาปrตยกรรมซอฟต�แวร� 3(2-2-5)

Software Architecture Analysis and Evaluation วิธีการวิเคราะห�และประเมินสถาปrตยกรรมซอฟต�แวร� การประเมินหนMาท่ี การประเมิน

เทคนิค การประเมินคุณลักษณะเชิงคุณภาพ การประเมินทางเศรษฐศาสตร� การทวนสอบ การตรวจสอบความสมเหตุสมผล และการทดสอบสถาปrตยกรรมซอฟต�แวร�

Page 40: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 36

Software architecture analysis and evaluation methods; functional assessment; technical assessment; quality attribute assessment; economic assessment; software architectural verification, validation, and testing 305631 การวิเคราะห�และการประเมินสายผลิตภัณฑ�ซอฟต�แวร� 3(2-2-5)

Software Product Line Analysis and Evaluation วิธีการการวิเคราะห�และประเมินสายผลิตภัณฑ�ซอฟต�แวร� การประเมินสถาปrตยกรรมสาย

ผลิตภัณฑ�ซอฟต�แวร� การประเมินหลักปฏิบัติของสายผลิตภัณฑ�ซอฟต�แวร� เชGน การประเมินหลักปฏิบัติดMานวิศวกรรมซอฟต�แวร� การประเมินหลักปฏิบัติดMานการจัดการทางเทคนิค และการประเมินหลักปฏิบัติดMานการจัดการองค�กร การทวนสอบ การตรวจสอบความสมเหตุสมผล และการทดสอบสายผลิตภัณฑ�ซอฟต�แวร�

Software product line analysis and evaluation methods; software product line architecture assessment; software product line practice area assessment: software engineering practice area assessment, technical management practice area assessment, and organizational management practice assessment; software product line verification, validation, and testing 305632 กระบวนการวิศวกรรมซอฟต�แวร� 3(2-2-5)

Software Engineering Process การพรรณากระบวนการ การนิยามกระบวนการ การประเมินกระบวนการ การวัด

กระบวนการ การปรับปรุงกระบวนการ วิวัฒนาการกระบวนการ วิศวกรรมกระบวนการ มาตรฐานกระบวนการ แบบจําลองวุฒิภาวะความสามารถบูรณาการ (ซีเอ็มเอ็มไอ)

Process description; process definition; process assessment; process measurement; process improvement; process evolution; process engineering; process standard; Capability Maturity Model Integration (CMMI) 305633 การจัดการวิศวกรรมคอมพิวเตอร� 3(2-2-5)

Computer Engineering Management การจัดการวิศวกรรมคอมพิวเตอร� การจัดการโครงการดMานวิศวกรรมคอมพิวเตอร� การ

จัดการองค�กร การจัดการทางเทคนิค การจัดการทรัพยากรบุคคลดMานเทคนิค Computer engineering management; computer engineering project management; organizational management; technical management; technical human resource management

Page 41: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 37

305634 การบูรณาการระบบสารสนเทศวิสาหกิจ 3(2-2-5) Enterprise Information Systems Integration แนวคิดและนิยามของการบูรณาการระบบสารสนเทศวิสาหกิจ ปrญหาหลักในการบูรณา

การโปรแกรมประยุกต�ขนาดใหญG การบูรณาการเขMากับระบบท่ีมีอยูGเดิม มาตรฐานการบูรณาการระบบ ระบบมิดเดิลแวร� ระบบการไหลของงาน สถาปrตยกรรมการแลกเปลี่ยนขMอมูลอิเล็กทรอนิกส� สถาปrตยกรรมเชิงบริการ สถาปrตยกรรมการเชื่อมตGอบริการระหวGางองค�กร การสื่อสารแบบประสานเวลาและแบบไมGประสานเวลา มุมมองทางดMานกระบวนการของการบูรณาการระบบสารสนเทศวิสาหกิจ การตรวจสอบกระบวนการ การวิเคราะห�และการปรับปรุงกระบวนการ เกณท�ท่ีไมGเก่ียวขMองกับหนMาท่ีของระบบ

Enterprise system integration concepts and definitions; key problems in large-scale application integration; integration with legacy systems; system integration standards; middleware systems; workflow systems; Electronic Data Interchange architectures; Service-Oriented Architectures; Enterprise Service Bus architectures; synchronous and asynchronous communications; process-oriented view of the enterprise information systems integration; process monitoring; process analysis and improvement; non-functional aspects of enterprise system integration 305640 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี 3(3-0-6)

Research Methodology in Science and Technology ความหมาย ลักษณะและเป�าหมายการวิจัย ชนิดและกระบวนการวิจัย การกําหนดปrญหาการวิจัย ตัวแปรและสมมุติฐาน การเก็บรวบรวมขMอมูล การวิเคราะห�ขMอมูล การเขียนโครงรGางและรายงานการวิจัย การประเมินงานวิจัย การนําการวิจัยไปใชM จรรยาบรรณนักวิจัย เทคนิควิธีการวิจัยเฉพาะทางดMานวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี Research definition, characteristic and goal; type and research process; research problem determination; variables and hypothesis; data collection; data analysis; proposal and research report writing; research evaluation; research application; ethics of researchers; research techniques in science and technology 305641 สัมมนา 1 1(0-2-1)

Seminar 1 การฝ�กคMนควMา วิ เคราะห�และวิจารณ� บทความหรือผลงานวิจัยทางดMานวิศวกรรมคอมพิวเตอร�ท้ังในและตGางประเทศ การคMนควMาเพ่ือเตรียมโจทย�วิจัย เตรียมโครงรGางวิทยานิพนธ� การนําเสนอดMวยวาจา

Page 42: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 38

Learning, analyzing, and criticizing national and international scientific publications related to computer engineering; searching for a research topic; preparing a thesis proposal; oral presentation 305642 สัมมนา 2 1(0-2-1)

Seminar 2 การฝ�กคMนควMา วิ เคราะห�และวิจารณ� บทความหรือผลงานวิจัยทางดMานวิศวกรรมคอมพิวเตอร�ท้ังในและตGางประเทศ คMนควMาเพ่ือเตรียมรายงานความกMาวหนMาของการทําวิทยานิพนธ� การนําเสนอดMวยวาจา Learning, analyzing, and criticizing national and international scientific publications related to computer engineering; preparing a progressive report of thesis; oral presentation 305643 สัมมนา 3 1(0-2-1)

Seminar 3 การฝ�กคMนควMา วิ เคราะห�และวิจารณ� บทความหรือผลงานวิจัยทางดMานวิศวกรรมคอมพิวเตอร�ท้ังในและตGางประเทศ ประกอบการนําเสนอผลการวิจัยเพ่ือการตีพิมพ� Learning, analyzing, and criticizing national and international scientific publications related to computer engineering; to prepare a research publication by oral presentation 305651 วิทยานิพนธ� 1 แบบ 1.1 6 หนGวยกิต

Dissertation 1, Type 1.1 การคMนควMาขMอมูลงานวิจัยในฐานขMอมูลตGางๆ การรวบรวมความรูMพ้ืนฐาน และงานวิจัยใน

หัวขMอท่ีสนใจ และการนําเสนอรายงานความกMาวหนMาของการทําวิทยานิพนธ�ตGออาจารย�ท่ีปรึกษา Literature review in various databases, compilation of fundamental

knowledge and research articles on topics of interest and progress report to present to the advisor

Page 43: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 39

305652 วิทยานิพนธ� 2 แบบ 1.1 6 หนGวยกิต Dissertation 2, Type 1.1 การรวบรวมขMอมูลเพ่ิมเติม การกําหนดขอบเขต และแนวทางการทําวิจัย และการพิจารณา

ความเปZนไปไดMของการทําวิจัยจากขMอมูลท่ีสืบคMนมา การรายงานสรุปผลการคMนควMา เพ่ือใหMเกิดการต้ังสมมติฐาน และการรายงานความกMาวหนMาของการทําวิทยานิพนธ�ตGออาจารย�ท่ีปรึกษา

Compilation of further information, allocation of research framework and guidelines, consideration of possibility of research due to complied information, summary report of research and progress report to present to the advisor

305653 วิทยานิพนธ� 3 แบบ 1.1 9 หนGวยกิต

Dissertation 3, Type 1.1 การต้ังสมมติฐานของงานวิจัย การดําเนินการวิจัยตามแนวทาง และขอบเขตท่ีกําหนดไวM

และการรายงานความกMาวหนMาของการทําวิทยานิพนธ�ตGออาจารย�ท่ีปรึกษา Establishing research hypotheses, conducting research within allocated

guidelines and framework, summary report of research and dissertation progress report to present to the advisor 305654 วิทยานิพนธ� 4 แบบ 1.1 9 หนGวยกิต

Dissertation 4, Type 1.1 การดําเนินการวิจัยตามแนวทาง และขอบเขตท่ีกําหนดไวM การเสนอโครงรGางการทํา

วิทยานิพนธ� และการรายงานความกMาวหนMาของการทําวิทยานิพนธ�ตGออาจารย�ท่ีปรึกษา Conducting research within allocated guidelines and framework; dissertation

proposal; summary report of research and dissertation progress report to present to the advisor 305655 วิทยานิพนธ� 5 แบบ 1.1 9 หนGวยกิต

Dissertation 5, Type 1.1 การตรวจสอบงานวิจัย การเขียนผลงานการวิจัยเพ่ือรับการพิจารณาตีพิมพ�ใน

วารสารวิชาการระดับชาติหรือ ระดับนานาชาติ การปรับปรุง และแกMไขผลการวิจัยตามความเห็นของผูMเชี่ยวชาญเฉพาะทาง และการรายงานผลของการทําวิทยานิพนธ�ตGออาจารย�ท่ีปรึกษา

Page 44: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 40

Review of research, writing research articles for publication in national or international journal, improvement and modification of research due to expert opinions, report of dissertation results to present to the advisor

305656 วิทยานิพนธ� 6 แบบ 1.1 9 หนGวยกิต

Dissertation 6, Type 1.1 การเขียนวิทยานิพนธ�ฉบับสมบูรณ� การสอบวิทยานิพนธ�ผGานและจัดพิมพ�เปZนรูปเลGม

วิทยานิพนธ�เสนอตGอบัณฑิตวิทยาลัย Writing of complete dissertation, passed dissertation defense and published

dissertation book submitted to the graduate school 305661 วิทยานิพนธ� 1 แบบ 2.1 9 หนGวยกิต

Dissertation 1, Type 2.1 การคMนควMาขMอมูลงานวิจัยในฐานขMอมูลตGางๆ การรวบรวมความรูMพ้ืนฐานความรูMงานวิจัยใน

หัวขMอท่ีสนใจ การคMนหาแนวทางและขอบเขตของงานวิจัย การพิจารณาความเปZนไปไดMของการทํางานวิจัยจากขMอมูลท่ีไดMสืบคMนมา สรุปผลการคMนควMาและจัดทํารายงานความกMาวหนMาของหัวขMอท่ีสนใจเสนอตGออาจารย�ท่ีปรึกษา

Literature review in different databases, compilation of fundamental knowledge of the research of interest, exploration to allocate research guidelines and framework, consideration of possibility of research due to collected information, summary report of the literature search and progress report of the interested topics to present to the advisor 305662 วิทยานิพนธ� 2 แบบ 2.1 9 หนGวยกิต

Dissertation 2, Type 2.1 การรวบรวมขMอมูลเพ่ิมเติม การกําหนดขอบเขตและแนวทางการทําวิจัย การต้ังสมมติฐาน

ของงานวิจัย การดําเนินการวิจัยตามแนวทาง และขอบเขตท่ีกําหนดไวM การเสนอโครงรGางการทําวิทยานิพนธ� การรายงานสรุปผลการคMนควMาและการรายงานความกMาวหนMาของการทําวิทยานิพนธ�ตGออาจารย�ท่ีปรึกษา

Compilation of further information, allocation of framework and guideline of research, establishing research assumption, conducting of research due to allocated guideline and framework, dissertation proposal, summary report of research and dissertation progress report to present to the advisor

Page 45: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 41

305663 วิทยานิพนธ� 3 แบบ 2.1 9 หนGวยกิต Dissertation 3, Type 2.1 การตรวจสอบงานวิจัยและการเขียนผลงานการวิจัยเพ่ือรับการพิจารณาตีพิมพ�ใน

วารสารวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติ การปรับปรุง และแกMไขผลการวิจัยตามความเห็นของผูMเชี่ยวชาญเฉพาะทาง การรายงานสรุปผลการคMนควMาและการรายงานผลของการทําวิทยานิพนธ�ตGออาจารย�ท่ีปรึกษา

Review of research, writing of research for publication on national or international journal, improvement and modification of research results due to expert opinions, summary report of research and dissertation progress report to present to the advisor

305664 วิทยานิพนธ� 4 แบบ 2.1 9 หนGวยกิต

Dissertation 4, Type 2.1 การเขียนวิทยานิพนธ�ฉบับสมบูรณ� การสอบวิทยานิพนธ�ผGานและจัดพิมพ�เปZนรูปเลGม

วิทยานิพนธ�เสนอตGอบัณฑิตวิทยาลัย Writing of complete dissertation, passed dissertation defense and published

dissertation book submitted to the graduate school 305671 วิทยานิพนธ� 1 แบบ 2.2 6 หนGวยกิต

Dissertation 1, Type 2.2 การคMนควMาขMอมูลงานวิจัยในฐานขMอมูลตGางๆ การรวบรวมความรูMพ้ืนฐาน และงานวิจัยใน

หัวขMอท่ีสนใจ และการนําเสนอรายงานความกMาวหนMาของการทําวิทยานิพนธ�ตGออาจารย�ท่ีปรึกษา Literature review in various databases, compilation of fundamental

knowledge and research articles on topics of interest and progress report to present to the advisor 305672 วิทยานิพนธ� 2 แบบ 2.2 6 หนGวยกิต

Dissertation 2, Type 2.2 การรวบรวมขMอมูลเพ่ิมเติม การกําหนดขอบเขต และแนวทางการทําวิจัย และการพิจารณา

ความเปZนไปไดMของการทําวิจัยจากขMอมูลท่ีสืบคMนมา การรายงานสรุปผลการคMนควMา เพ่ือใหMเกิดการต้ังสมมติฐาน และการรายงานความกMาวหนMาของการทําวิทยานิพนธ�ตGออาจารย�ท่ีปรึกษา

Page 46: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 42

Compilation of further information, allocation of research framework and guidelines, consideration of possibility of research due to complied information, summary report of research and progress report to present to the advisor 305673 วิทยานิพนธ� 3 แบบ 2.2 9 หนGวยกิต

Dissertation 3, Type 2.2 การต้ังสมมติฐานของงานวิจัย การดําเนินการวิจัยตามแนวทาง และขอบเขตท่ีกําหนดไวM

และการรายงานความกMาวหนMาของการทําวิทยานิพนธ�ตGออาจารย�ท่ีปรึกษา Establishing research hypotheses, conducting research within allocated

guidelines and framework, summary report of research and dissertation progress report to present to the advisor 305674 วิทยานิพนธ� 4 แบบ 2.2 9 หนGวยกิต

Dissertation 4, Type 2.2 การดําเนินการวิจัยตามแนวทาง และขอบเขตท่ีกําหนดไวM การเสนอโครงรGางการทํา

วิทยานิพนธ� และการรายงานความกMาวหนMาของการทําวิทยานิพนธ�ตGออาจารย�ท่ีปรึกษา Conducting research within allocated guidelines and framework; dissertation

proposal; summary report of research and dissertation progress report to present to the advisor 305675 วิทยานิพนธ� 5 แบบ 2.2 9 หนGวยกิต

Dissertation 5, Type 2.2 การตรวจสอบงานวิจัย การเขียนผลงานการวิจัยเพ่ือรับการพิจารณาตีพิมพ�ใน

วารสารวิชาการระดับชาติหรือ ระดับนานาชาติ การปรับปรุง และแกMไขผลการวิจัยตามความเห็นของผูMเชี่ยวชาญเฉพาะทาง และการรายงานผลของการทําวิทยานิพนธ�ตGออาจารย�ท่ีปรึกษา

Review of research, writing research articles for publication in national or international journal, improvement and modification of research due to expert opinions, report of dissertation results to present to the advisor

Page 47: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 43

305676 วิทยานิพนธ� 6 แบบ 2.2 9 หนGวยกิต Dissertation 6, Type 2.2 การเขียนวิทยานิพนธ�ฉบับสมบูรณ� การสอบวิทยานิพนธ�ผGานและจัดพิมพ�เปZนรูปเลGม

วิทยานิพนธ�เสนอตGอบัณฑิตวิทยาลัย Writing of complete dissertation, passed dissertation defense and published

dissertation book submitted to the graduate school 305680 หัวขMอคัดสรรทางปฏิสัมพันธ�ระหวGางมนุษย�และคอมพิวเตอร� 3(2-2-5) Selected Topic in Human Computer Interaction หัวขMอท่ีนGาสนใจทางปฏิสัมพันธ�ระหวGางมนุษย�และคอมพิวเตอร� An interesting topic in Human Computer Interaction 305681 หัวขMอคัดสรรทางปrญญาประดิษฐ� 3(2-2-5) Selected Topic in Artificial Intelligence หัวขMอท่ีนGาสนใจทางปrญญาประดิษฐ� An interesting topic in Artificial Intelligence 305682 หัวขMอคัดสรรทางการประมวลผลภาพและเรขภาพคอมพิวเตอร� 3(2-2-5) Selected Topic in Image Processing and Computer Graphic หัวขMอท่ีนGาสนใจทางการประมวลผลภาพ An interesting topic in Image Processing and Computer Graphic 305683 หัวขMอคัดสรรทางระบบฝrงตัว 3(2-2-5) Selected Topic in Embedded System หัวขMอท่ีนGาสนใจทางระบบฝrงตัว An interesting topic in Embedded System 305684 หัวขMอคัดสรรทางเมคคาทรอนิกส�และระบบหุGนยนต� 3 (2-2-5) Selected Topic in Mechatronics and Robitcs System หัวขMอท่ีนGาสนใจทางเมคคาทรอนิกส�และระบบหุGนยนต� An interesting topic in Mechatronics and Robitcs System

Page 48: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 44

305685 หัวขMอคัดสรรทางเครือขGายคอมพิวเตอร�และการเชื่อมตGอเซนเซอร� 3(2-2-5) Selected Topic in Computer Network and Sensors Interfaces หัวขMอท่ีนGาสนใจทางเครือขGายคอมพิวเตอร�และการเชื่อมตGอเซนเซอร� An interesting topic in Computers Network and Sensors Interfaces 305686 หัวขMอคัดสรรทางวิศวกรรมซอฟต�แวร� 3(2-2-5) Selected Topic in Software Engineering

หัวขMอท่ีนGาสนใจทางวิศวกรรมซอฟต�แวร� An interesting topic in Software Engineering 305687 หัวขMอคัดสรรทางสถาปrตยกรรมซอฟต�แวร� 3(2-2-5) Selected Topic in Software Architecture

หัวขMอท่ีนGาสนใจทางสถาปrตยกรรมซอฟต�แวร� An interesting topic in Software Architecture 305688 หัวขMอคัดสรรทางกระบวนการและวิธีการทางซอฟต�แวร� 3 (2-2-5) Selected Topic in Software Process and Method

หัวขMอท่ีนGาสนใจทางกระบวนการและวิธีการทางซอฟต�แวร� An interesting topic in Software Process and Method

Page 49: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 45

ความหมายของเลขประจําวิชา ความหมายของเลขรหัสวิชา เปZนจํานวนเลข 6 หลักนั้น มีความหมาย ดังนี้ (1) เลขสามตัวแรก เปZนตัวเลขประจําสาขาวิชา 305 หมายถึง สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร� (2) เลขสามตัวหลัง เลขสามตัวหลัง (นับจากขวาไปซMาย) ใหMความหมาย ดังนี้

เลขหลักหน!วย เลขหลักหนGวย แสดงอนุกรมรายวิชา

เลขหลักสิบ เลขหลักสิบ แสดงกลุGมวิชาในสาขาวิชา โดยมีความหมายดังตGอไปนี้

เลข 0 หมายถึง วิชาบังคับ 1 หมายถึง ปฏิสัมพันธ�ระหวGางมนุษย�และคอมพิวเตอร� 2 หมายถึง เทคโนโลยีฮาร�ดแวร�และระบบฝrงตัว 3 หมายถึง วิศวกรรมซอฟต�แวร� 4 หมายถึง สัมมนา/ระเบียบวิธีวิจัย 5 หมายถึง วิทยานิพนธ�แบบ 1.1 6 หมายถึง วิทยานิพนธ�แบบ 2.1 7 หมายถึง วิทยานิพนธ�แบบ 2.2 8 หมายถึง หัวขMอคัดสรร

เลขหลักร1อย

เลขหลักรMอย แสดงระดับปริญญา โดยมีความหมายดังตGอไปนี้ เลข 6 หมายถึง รายวิชาในระดับปริญญาเอก 5 หมายถึง รายวิชาในระดับปริญญาโท

Page 50: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 46

3.2 ชื่อ ตําแหน!งและคุณวุฒิของอาจารย�

3.2.1 อาจารย�ประจําหลักสูตร (อาจารย�ผู1รับผิดชอบหลักสูตร)

ลําดับ ชื่อ-นามสกุล ตําแหน!งทาง

วิชาการ คุณวุฒ ิ

การศึกษา สาขาวิชา สําเร็จการศึกษาจากสถาบัน ประเทศ

ปHที่สําเร็จการศึกษา

ภาระการสอน (จํานวนชม./สัปดาห�)

ปIจจุบัน เมื่อเปAดหลักสูตรนี ้

*1 นายไพศาล มุณีสวGาง รองศาสตราจารย� Ph.D Computer Engineering The University of Sydney ออสเตรเลีย 2546 11 15 M.Eng.Sc. Electrical Engineering The University of New South Wales ออสเตรเลีย 2545

วศ.บ. วิศวกรรมโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ไทย 2539 *2 นางสาวพนมขวญั ริยะมงคล

ผูMชGวยศาสตราจารย� Ph.D. Electrical and Computer Engineering University of Miami สหรัฐอเมริกา 2546 11.75 15.75

M.S.E.CE. Electrical and Computer Engineering University of Miami สหรัฐอเมริกา 2542

วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟ�า มหาวิทยาลัยเชียงใหมG ไทย 2539 3 นายพงศ�พันธ� กิจสนาโยธิน อาจารย� Ph.D. Computer Science Texas Tech University สหรัฐอเมริกา 2553 10.5 14.5 วศ.ม. วิศวกรรมคอมพิวเตอร� มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร� ไทย 2545 วศ.บ. วิศวกรรมคอมพิวเตอร� สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลMาเจMาคุณทหาร

ลาดกระบัง ไทย 2541

4 นางสาววรลักษณ� คงเดGนฟ�า อาจารย� Ph.D. Computer Science and Engineering University of New South Wales, Sydney ออสเตรเลีย 2552

11.38

15.38

M.Eng. Computer Engineering Asian Institute of Technology ไทย 2543 วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟ�า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลMาเจMาคุณทหาร

ลาดกระบัง ไทย 2541

*5 นายสุรเดช จิตประไพกุลศาล อาจารย� Ph.D. Electrical Engineering and Computer Science

CaseWestern Reserve University สหรัฐอเมริกา 2548

14.25

21.25

วท.บ. คณิตศาสตร� จุฬาลงกรณ�มหาวิทยาลัย ไทย 2534

หมายเหตุ * หมายถึง อาจารย�ผูMรับผิดชอบหลักสูตร

Page 51: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 47

3.2.2 อาจารย�ประจํา ลําดับ ชื่อ-นามสกุล ตําแหน!งทางวชิาการ คุณวุฒิ/สาขาวิชา

1 นายไพศาล มุณีสวGาง รองศาสตราจารย� Ph.D. (Computer Engineering)

M.Eng.Sc (Electrical Engineering) วศ.บ. (วิศวกรรมโทรคมนาคม)

2 นายอัครพันธ� วงศ�กังแห ผูMชGวยศาสตราจารย� Ph.D. (Electrical Engineering) M.S. (Electrical Engineering) วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ�า)

3 นายสุชาติ แยMมเมGน ผูMชGวยศาสตราจารย� Ph.D. (Electrical Engineering) M.S. (Electrical Engineering) วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ�า)

4 นายยงยุทธ ชนบดีเฉลิมรุGง ผูMชGวยศาสตราจารย� Ph.D. (Electrical Engineering) วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟ�า)

วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ�า)

5 นายธนิต มาลากร ผูMชGวยศาสตราจารย� Ph.D. (Electrical Engineering) M.Sc. (Electrical Engineering) วศ.บ. (วิศวกรรมระบบควบคุม)

6 นางสาวพนมขวัญ ริยะมงคล ผูMชGวยศาสตราจารย� Ph.D. (Electrical and Computer Engineering) M.S.E.CE. (Electrical and Computer Engineering) วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ�า)

7 นายสุรเชษฐ� กานต�ประชา ผูMชGวยศาสตราจารย� Ph.D. (Electrical Engineering) M.Sc. (Electrical Engineering)

วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ�า)

8 นายสมพร เรืองสินชัยวานิช ผูMชGวยศาสตราจารย� Ph.D (Electrical Engineering) วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ�า)

9 นางสาวศิริพร เดชะศิลารักษ� ผูMชGวยศาสตราจารย� วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟ�า)

วท.บ. (วัสดุศาสตร�)

10 นายนิพัทธ� จันทรมินทร� อาจารย� Ph.D. (Electronic and Electrical Engineering) M.Sc. (Dipl.-Ing. in Electrical Engineering)

วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ�ากําลัง)

11 นางสาวพรพิศุทธิ ์ วรจิรันตน� อาจารย� Ph.D (Bioengineering) M.Sc. (System Engineering) วศ.บ. (วิศวกรรมอิเล็กทรอนิคส�)

12 นางสาววรลักษณ� คงเดGนฟ�า อาจารย� Ph.D. (Computer Science and Engineering) M.Eng. (Computer Engineering) วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ�า)

13 นางศุภวรรณ

พลพิทักษ�ชยั อาจารย� Ph.D. (Automatic Control and Systems Engineering) M.Eng. (Microelectronics)

วศ.บ. (ระบบควบคุมและเคร่ืองมือวัด)

Page 52: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 48

ลําดับ ชื่อ-นามสกุล ตําแหน!งทางวชิาการ คุณวุฒิ/สาขาวิชา

14 นายชัยรัตน� พินทอง อาจารย� Ph.D. (Electrical Engineering) วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟ�า) วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ�า)

15 นางสาวมุฑิตา สงฆ�จันทร� อาจารย� Ph.D. (Automatic Control and Systems Engineering) M.Eng (Mechatronics)

B.Eng (Electrical Engineering)

16 นายพนัส นัถฤทธิ ์ อาจารย� Ph.D. (Mechatronics) M.Eng. (Mechatronics) วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ�า)

17 นางสุพรรณนิกา วัฒนะ อาจารย� Ph.D. (Energy Planning and Policy) วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟ�า) วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ�า)

18 นายป{ยดนัย ภาชนะพรรณ� อาจารย� Ph.D. (Electrical Engineering

วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟ�า)

วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ�า)

19 นายสุรเดช

จิตประไพกุลศาล อาจารย� Ph.D. (Electrical Engineering and Computer Science) B.S. (Mathematic)

20 นายพงศ�พันธ� กิจสนาโยธิน อาจารย� Ph.D. (Computer Science) วศ.ม. (วิศวกรรมคอมพวิเตอร�) วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพวิเตอร�)

21 นายสุวิทย� กิระวิทยา อาจารย� วศ.ด. (วิศวกรรมไฟฟ�า)

วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ�า)

22 นายแสงชัย มังกรทอง อาจารย� M.Eng. (Telecommunications) วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ�า)

23 นายรัฐภูมิ วรานุสาสน� อาจารย� M.Eng. (Computer Science)

วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพวิเตอร�)

24 นายสราวุฒิ วัฒนวงศ�พิทักษ� อาจารย� M.Eng. (Electrical Engineering)

วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ�า)

3.2.3 อาจารย�พิเศษ

ไมGมี

Page 53: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 49

4.องค�ประกอบเก่ียวกับประสบการณ�ภาคสนาม (การฝaกงาน หรือสหกิจศึกษา)

ไมGมี

5.ข1อกําหนดเก่ียวกับการทําวิทยานิพนธ�หรือโครงงานวิจัย

5.1 คําอธิบายโดยย!อ

โครงงานคMนควMาวิจัยอิสระภายใตMการควบคุมดูแลของอาจารย�ท่ีปรึกษา เพ่ือคMนควMาหาความรูMใหมGท้ังดMานทฤษฎีหรือการทดลอง โดยเนMนในหัวขMอท่ีมีแนวความคิดใหมGและสามารถนําผลท่ีเปZนประโยชน�และขยายองค�ความรูMทางดMานวิศวกรรมคอมพิวเตอร� กระบวนการดําเนินงานเริ่มดMวยนิสิตเลือกสาขาวิจัยและอาจารย�ท่ีปรึกษา ทบทวนวรรณกรรม เสนอหัวขMอและขอบเขตวิจัย พัฒนาโครงรGางวิทยานิพนธ� และเสนอตGอคณะกรรมการวิทยานิพนธ�ซ่ึงไดMรับการแตGงต้ัง นิสิตผลิตผลลัพธ�ของงานวิจัย โดยใชMเครื่องมือและวิธีดMานวิศวกรรมคอมพิวเตอร� เพ่ือวิเคราะห�ประเดนวิจัย และวินิจฉัยผลลัพธ�ในรูปแบบท่ีสามารถเขMาใจไดM ใชMภาษาทางวิทยาศาสตร�ท่ีชัดเจนและกระชับเพ่ือเสนอบทวิเคราะห� เขียนวิทยานิพนธ�และสอบวิทยานิพนธ�

5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู1

การทําวิทยานิพนธ�ของนิสิต จะตMองเปZนไปอยGางถูกตMองตามหลักจริยธรรมและจรรยาบรรณของนักวิจัย สามารถใชMเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคMนขMอมูลเพ่ือทําการวิจัย สามารถแกMไขปrญหาโดยวิธีวิจัย สามารถสังเคราะห�องค�ความรูMจากการวิจัย เพ่ือนําเสนอและสื่อสารดMวยภาษาพูดและภาษาเขียน โดยนิสิตจะตMองสามารถสรุปผลการทํางานวิจัยออกมาเขียนวิทยานิพนธ� และนําเสนอในท่ีประชุมทางวิชาการหรือตีพิมพ�ในวารสารวิชาการเพ่ือประกอบการสําเร็จการศึกษา อันเปZนการแสดงใหMเห็นถึงการบรรลุผลการเรียนรูMท้ัง 5 ดMานอยGางครบถMวน โดยกระบวนการประเมินผลเปZนไปตามขMอบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร วGาดMวยเรื่องการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

5.3 ช!วงเวลา

แบบ 1.1 เริ่มวางแผนและดําเนินการทํางานวิจัยต้ังแตGภาคการศึกษาตMน ชั้นปYท่ี 1 ของการเรียน แบบ 2.1 เริ่มวางแผนและดําเนินการทํางานวิจัยต้ังแตGภาคการศึกษาตMน ชั้นปYท่ี 2 ของการเรียน แบบ 2.2 เริ่มวางแผนและดําเนินการทํางานวิจัยต้ังแตGภาคการศึกษาตMน ชั้นปYท่ี 2 ของการเรียน

5.4 จํานวนหน!วยกิต

แบบ 1.1 วิทยานิพนธ� 48 หนGวยกิต แบบ 2.1 วิทยานิพนธ� 36 หนGวยกิต แบบ 2.2 วิทยานิพนธ� 48 หนGวยกิต

Page 54: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 50

5.5 การเตรียมการ

มีการเตรียมการเพ่ือการดําเนินงานวิจัยแกGนิสิต ดังนี้ (1) มีคณะกรรมการวิทยานิพนธ� ทําหนMาท่ีวางแผนการศึกษา แนะนําการศึกษาและการทํา

วิทยานิพนธ�ของนิสิต โดยคณะกรรมการมีคุณสมบัติเปZนไปตามขMอกําหนดของบัณฑิตวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยนเรศวร

(2) มีกรรมการ 1 – 2 คนจากคณะกรรมการในขMอ (1) ทําหนMาท่ีเปZนอาจารย�ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ�หลัก ซ่ึงเปZนอาจารย�ประจํา มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทGา หรือเปZนผูMดํารงตําแหนGงทางวิชาการไมGนMอยกวGารองศาสตราจารย�ซึ่งมีคุณวุฒิไมGต่ํากวGาปริญญาโทหรือเทียบเทGา ในสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร� หรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธ�กันและมีประสบการณ�วิจัย อาจารย�ท่ีปรึกษาและนิสิตมีการกําหนดชั่วโมงในการใหMคําปรึกษา จัดทําบันทึกในการใหMคําปรึกษา นิสิตรายงานความกMาวหนMาและอุปสรรคอยGางตGอเนื่องตลอดภาคการศึกษา

(3) จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ� ครุภัณฑ� และสิ่งอํานวยความสะดวกในการทํางานวิจัย มีระบบการคMนหาขMอมูลวิจัยแบบออนไลน�จากหMองสมุดของมหาวิทยาลัยนเรศวร ซ่ึงระบบสามารถใหMบริการคMนหาขMอมูลวิจัยจากฐานขMอมูลท้ังในประเทศและตGางประเทศ

(4) นิสิตสามารถฝ�กความพรMอมทางภาษาอังกฤษจากสถานพัฒนาวิชาการดMานภาษาของมหาวิทยาลัยนเรศวร

ท้ังนี้ขMอกําหนดอ่ืนๆ มีรายละเอียดเปZนไปตาม ประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่อง แนวปฏิบัติในการทําวิทยานิพนธ�

5.6 การประเมินผล

ประเมินผลจากความกMาวหนMาในการทํางานวิจัยภายใตMการใหMคําปรึกษาจากอาจารย�ควบคุมวิทยานิพนธ�และประเมินผลรายงานท่ีไดMกําหนดรูปแบบการนําเสนอตามระยะเวลาโดยมีคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ�ตามท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด

Page 55: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 51

หมวดท่ี 4 ผลการเรียนรู1 กลยุทธ�การสอนและการประเมินผล

1 .การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิสิต

คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ�หรือกิจกรรมของนิสิต 1. ดMานภาวะผูMนําและความรับผิดชอบ - มีกิจกรรมนําเสนอและอภิปรายผลงานวิจัยใน

ชั้นเรียนสัมมนาเพ่ือสGงเสริมใหMนิสิตมีภาวะผูMนําทางความคิดกลMาแสดงออก และมีความรับผิดชอบตGอผลงานท่ีนําเสนอ

- มีกติกาท่ีจะสรMางวินัยในตนเอง เชGน การเขMาเรียนตรงเวลา เขMาเรียนอยGางสมํ่าเสมอ การมีสGวนรGวมในชั้นเรียน เสริมความกลMาในการแสดงความคิดเห็น

2. ดMานจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ - มีการใหMความรูMถึงผลกระทบตGอสังคม จรรยาบรรณเก่ียวกับวิชาชีพ และพระราชบัญญัติวGาดMวยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร� และ/หรือกฎหมายท่ีเก่ียวขMอง

3. ดMานความคิดสรMางสรรค� - มีการมอบหมายใหMนิสิตทําโครงงานยGอยท่ีตMองคิดแกMปrญหาเชิงประยุกต�เทคโนโลยี บนพ้ืนฐานความรูMตามหลักวิชาการเพ่ือเปZนการฝ�กใหMนิสิตใชMความคิดสรMางสรรค�

4. ดMานบุคลิกภาพ - มีการสอดแทรกเรื่อง การแตGงกาย การเขMาสังคม เทคนิคการเจรจา สื่อสาร การมีมนุษยสัมพันธ�ท่ีดี และการวางตัวในการทํางานในบางรายวิชาท่ีเก่ียวขMอง

Page 56: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 52

2 การพัฒนาผลการเรียนรู1ในแต!ละด1าน

2.1 คุณธรรม จริยธรรม

2.1.1 ผลการเรียนรู1ด1านคุณธรรม จริยธรรม

1. แสดงออกซ่ึงภาวะผูMนําในการสGงเสริมใหMมีการประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรมและจริยธรรมในสภาพแวดลMอมของการทํางานและชุมชนท่ีกวMางขวางข้ึน

2. สามารถจัดการและวินิจฉัยปrญหาทางคุณธรรมและจริยธรรม อยGางผูMรูMดMวยความยุติธรรม 3. สนับสนุนอยGางจริงจังใหMผูMอ่ืนใชMการวินิจฉัยทางดMานคุณธรรมและจริยธรรมในการจัดการขMอ

โตMแยMงและปrญหาท่ีมีผลกระทบตGอตนเองและผูMอ่ืน

2.1.2 กลยุทธ�การสอนท่ีใช1พัฒนาการเรียนรู1ด1านคณุธรรม จริยธรรม

หลักสูตรกําหนดใหMมีการสอดแทรก นําประเด็นปrญหาของสังคมมาอภิปรายในรายวิชาท่ีเก่ียวขMอง การแนะนําการปฏิบัติท่ีถูกตMองตามหลักคุณธรรม และจรรยาบรรณ เชGน การอMางอิงผลงานวิชาการใหMถูกตMองและครบถMวน และนําเสนอขMอมูลผลงานวิจัยใหMถูกตMองตรงไปตรงมาในระหวGางการสอนหรืองานท่ีกําหนดใหMทํา ตลอดจนระหวGางการสัมมนาและวิทยานิพนธ� และยกประเด็นตัวอยGางปrญหาของสังคมท่ีวิศวกรคอมพิวเตอร�หรือนักวิจัยมีสGวนในการแกMไข

2.1.3 กลยุทธ�การประเมินผลการเรียนรู1ด1านคุณธรรม จริยธรรม

1. มีการประเมินการใชMหลักคุณธรรม จริยธรรมในการแกMปrญหาท่ีนําเสนอ 2. มีการประเมินในวิชาสัมมนาและวิชาอ่ืนๆ ในเรื่องการอMางอิงท่ีถูกตMองและขMอมูลท่ีถูกตMอง 3. ตรวจสอบและควบคุมการทําวิทยานิพนธ�ใหMเปZนไปตามหลักวิชาการ คุณธรรมและจริยธรรม

2.2 ความรู1

2.2.1 ผลการเรียนรู1ด1านความรู1

1. มีความรูMและความเขMาใจอยGางถGองแทMในเนื้อหาสาระหลัก ทฤษฏีท่ีสําคัญ งานวิจัย และแนวปฏิบัติทางวิชาชีพของสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

2. มีความเขMาใจในวิธีการพัฒนาความรูMใหมGๆ และการประยุกต� รวมถึงผลกระทบของผลงานวิจัยในปrจจุบันท่ีมีตGอองค�ความรูMในสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�และตGอการปฏิบัติในวิชาชีพ

3. ตระหนักเก่ียวกับแนวปฎิบัติท่ีเปลี่ยนแปลงในวิชาชีพในระดับชาติหรือนานาชาติ

Page 57: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 53

2.2.2 กลยุทธ�การสอนท่ีใช1พัฒนาการเรียนรู1ด1านความรู1

เนMนการสอนท่ีผูMเรียนสามารถแสวงหาความรูMเพ่ิมเติมจากงานท่ีมอบหมาย เชิญวิทยากรพิเศษมาใหMความรูMในรายวิชาตGางๆ และวิชาสัมมนา จัดการเรียนแบบอภิปรายกลุGมถึงหลักการและทฤษฎีตGางๆ เพ่ือใหMเกิดความเขMาใจท่ีถGองแทM

2.2.3 กลยุทธ�การประเมินผลการเรียนรู1ด1านความรู1

ประเมินจากผลสัมฤทธิ์จากการเรียนและปฏิบัติของนิสิตในวิธีตGางๆ ดังนี้ สอบกลางภาคและปลายภาค รายงานผลการศึกษา การนําเสนอผลงาน การอภิปรายกลุGมและสัมมนา และการนําเสนอโครงรGางวิทยานิพนธ�

2.3 ทักษะทางปIญญา

2.3.1 ผลการเรียนรู1ด1านทักษะทางปIญญา

1. สามารถใชMดุลยพินิจในการตัดสินใจในสถานการณ�ท่ีมีขMอมูลไมGเพียงพอ 2. สามารถสังเคราะห�และใชMผลงานวิจัย สิ่งตีพิมพ�ทางวิชาการหรือรายงานทางวิชาชีพและพัฒนา

ความคิดใหมGๆ โดย บูรณการเขMากับองค�ความรูMเดิม หรือเสนอความรูMใหมGท่ีทMาทาย สามารถใชMเทคนิคท่ัวไปหรือเฉพาะทางในการวิเคราะห�ประเด็นหรือปrญหาท่ีซับซMอนไดMอยGางสรMางสรรค� รวมถึงการพัฒนาขMอสรุปและขMอเสนอแนะท่ีเก่ียวขMองท้ังดMานวิชาการและวิชาชีพของสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

3. สามารถวางแผนและดําเนินการโครงการวิจัยคMนควMาดMวยตนเอง โดยการใชMความรูMท้ังภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติตลอดถึงการใชMเทคนิคการวิจัยและใหMขMอสรุปซ่ึงขยายองค�ความรูMหรือแนวปฏิบัติในวิชาการและวิชาชีพท่ีมีอยูGเดิมไดMอยGางมีนัยสําคัญ

4. สามารถใชMความรูMทางภาคทฤษฏีและปฏิบัติในการจัดการบริบทใหมGทางวิชาการและวิชาชีพและพัฒนาแนวคิดริเริ่ม สรMางสรรค�เพ่ือตอบสนองประเด็นหรือปrญหา

2.3.2 กลยุทธ�การสอนท่ีใช1ในการพัฒนาการเรียนรู1ด1านทักษะทางปIญญา

เนMนการสอนท่ีมีการนําเสนอและอภิปรายผลงานวิจัยใหมGอยGางกวMางขวาง ใหMนิสิตจัดทําหัวเรื่อง โครงรGางวิทยานิพนธ�และวิทยานิพนธ�ดMวยตนเอง โดยคําแนะนําจากอาจารย�ควบคุมวิทยานิพนธ�

Page 58: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 54

2.3.3 กลยุทธ�การประเมินผลการเรียนรู1ด1านทักษะทางปIญญา

1. การสอบวัดความสามารถในการคิดแกMไขปrญหาตามลําดับข้ันตอนในหลักการวิจัยทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

2. การประเมินจากการอภิปรายผลงาน 3. การสอบโครงรGางวิทยานิพนธ� และสอบปากเปลGาวิทยานิพนธ�

2.4 ทักษะความสัมพันธ�ระหว!างบุคคลและความรับผิดชอบ

2.4.1 ผลการเรียนรู1ด1านทักษะความสัมพันธ�ระหว!างตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ

1. มีความรับผิดชอบในการดําเนินงานของตนเองและรGวมมือกับผูMอ่ืนในการจัดการกับขMอโตMแยMงและปrญหาตGางๆ

2. สามารถตัดสินใจในการดําเนินงานดMวยตนเองและสามารถประเมินตนเองไดMรวมท้ังวางแผนในการปรับปรุงตนเองใหMมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงไดM

3. แสดงออกซ่ึงทักษะการเปZนผูMนําไดMอยGางเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ�เพ่ือเพ่ิมพูนประสิทธิภาพในการทํางานของกลุGม

4. สามารถแกMไขปrญหาท่ีมีความซับซMอนหรือความยุGงยากทางวิชาชีพดMวยตนเอง

2.4.2 กลยุทธ�การสอนท่ีใช1ในการพัฒนาการเรียนรู1ด1านทักษะความสัมพันธ�ระหว!างบุคคลและความรับผิดชอบ

จัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีมีปฏิสัมพันธ�ระหวGางผูMสอนกับผูMเรียนและผูMเรียนกับผูMเรียน ฝ�กรGวมกันคิด ในการแกMปrญหาและแบGงความรับผิดชอบในการทํางานรGวมกันรวมท้ังฝ�กเปZนผูMนําในการอภิปรายในแตGละหัวขMอ

2.4.3 กลยุทธ�การประเมินผลการเรียนรู1ด1านทักษะความสัมพันธ�ระหว!างบุคคลและความรับผิดชอบ

ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนิสิตในกิจกรรมตGางๆ ท่ีทํารGวมกัน

2.5 ทักษะในการวิเคราะห�เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช1เทคโนโลยีสารสนเทศ

2.5.1 ผลการเรียนรู1ด1านทักษะในการวิเคราะห�เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใช1เทคโนโลยีสารสนเทศ

1. สามารถคัดกรองขMอมูลทางคณิตศาสตร�และสถิติเพ่ือนํามาใชMในการศึกษาคMนควMาปrญหา สรุปปrญหาและเสนอแนะการแกMไขปrญหาในดMานตGางๆ

Page 59: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 55

2. สามารถสื่อสารอยGางมีประสิทธิภาพไดMอยGางเหมาะสมกับกลุGมบุคคลตGางๆท้ังในวงวิชาการและวิชาชีพ รวมถึงชุมชนท่ัวไป ท้ังในรูปแบบท่ีเปZนทางการและไมGเปZนทางการผGานสิ่งตีพิมพ�ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมท้ังวิทยานิพนธ�หรือโครงการคMนควMาท่ีสําคัญ

2.5.2 กลยุทธ�การสอนท่ีใช1ในการพัฒนาการเรียนรู1ด1านทักษะในการวิเคราะห�เชิงตัวเลขการส่ือสารและการใช1เทคโนโลยีสารสนเทศ

ใหMมีการนําเสนอผลงานวิจัยในวิชาตGางๆ และสัมมนาท่ีมีการวิเคราะห�และสGงเสริมใหMนิสิตนําเสนอผลงานวิจัยตGอสาธารณชน ท่ีประชุมวิชาการ และวารสารวิชาการ

2.5.3 กลยุทธ�การประเมินผลการเรียนรู1ด1านทักษะในการวิเคราะห�เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใช1เทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ประเมินจากงานท่ีนําเสนอท่ีมีการใชMความรูMทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร�ในการทําวิจัย 2. ประเมินจากกิจกรรมตGางๆ ท่ีมีการนําเสนอโดยใชMเทคโนโลยีสารสนเทศ

Page 60: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 56

3 แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู1จากหลักสูตรสู!รายวิชา (Curriculum Mapping)

� ความรับผิดชอบหลัก � ความรับผิดชอบรอง

รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม

2. ความรู1 3. ทักษะทางปIญญา 4. ทักษะความสัมพันธ� 5. ทักษะการ

วิเคราะห�

1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2

หมวดวิชาบังคับ

305600 วิธีรูปนัย � � � � � � � � �

หมวดวิชาเลือก

กลุ!มวิชาปฏิสัมพันธ�ระหว!างมนุษย�และคอมพิวเตอร�

305610 ปrญญาประดิษฐ�ขั้นสูง � � � � � � � � �

305611 ความเปZนจริงเสมือนและความเปZนจริงเสริม � � � � � � � � � � �

305612 การรูMจําแบบขั้นสูง � � � � � � � � � �

305613 การประมวลผลภาพทางชีวการแพทย� � � � � � � � � �

305614 ระบบสารสนเทศพื้นที่และการรับรูMระยะไกล � � � � � � � � �

กลุ!มวิชาเทคโนโลยีฮาร�ดแวร�และระบบฝIงตัว

305620 เมคคาทรอนิกส� � � � � � � � � � �

Page 61: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 57

รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม

2. ความรู1 3. ทักษะทางปIญญา 4. ทักษะความสัมพันธ� 5. ทักษะการ

วิเคราะห�

1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2

305621 ระบบหุGนยนต�และการประยุกต� � � � � � � � � �

305622 การออกแบบระบบที่ใชMไมโครโพรเซสเซอร�ควบคุม � � � � � � � � �

305623 สถาปrตยกรรมระบบฝrงตัวและอุปกรณ�อัจฉริยะ � � � � � � � � �

305624 การออกแบบระบบดิจิทัลขั้นสูง � � � � � � � � �

305625 การออกแบบระบบวงจรรวมความจุสูงมาก � � � � � � � � � �

กลุ!มวิชาวิศวกรรมซอฟต�แวร�

305630 การวิเคราะห�และการประเมินสถาปrตยกรรมซอฟต�แวร� � � � � � � � �

305631 การวิเคราะห�และการประเมินสายผลิตภัณฑ�ซอฟต�แวร� � � � � � � � �

305632 กระบวนการวิศวกรรมซอฟต�แวร� � � � � � � � � � � � �

305633 การจัดการวิศวกรรมคอมพิวเตอร� � � � � � � � � � � �

305634 การบูรณาการระบบสารสนเทศวิสาหกิจ � � � � � � � � � � � � �

กลุ!มรายวิชาที่ไม!นับหน!วยกิต

305640 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี � � � � � � � � � � � � � � � �

305641 สัมมนา 1 � � � � � � � � � � � � � �

305642 สัมมนา 2 � � � � � � � � � � � � � �

Page 62: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 58

รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม

2. ความรู1 3. ทักษะทางปIญญา 4. ทักษะความสัมพันธ� 5. ทักษะการ

วิเคราะห�

1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2

305643 สัมมนา 3 � � � � � � � � � � � � � �

กลุ!มวิชาวิทยานิพนธ�

305651 - 6 วิทยานิพนธ� 1 - 6 แบบ 1.1 � � � � � � � � � � � � � � � �

305661 - 4 วิทยานิพนธ� 1 - 4 แบบ 2.1 � � � � � � � � � � � � � � � �

305671 - 6 วิทยานิพนธ� 1 - 6 แบบ 2.2 � � � � � � � � � � � � � � � �

กลุ!มวิชาวิจัย

305680 หัวขMอคัดสรรทางปฏิสัมพันธ�ระหวGางมนุษย�และคอมพิวเตอร� � � � � � � � � � �

305681 หัวขMอคัดสรรทางปrญญาประดิษฐ� � � � � � � � � �

305682 หัวขMอคัดสรรทางการประมวลผลภาพและเรขภาพคอมพิวเตอร� � � � � � � � � � � � � � �

305683 หัวขMอคัดสรรทางระบบฝrงตัว � � � � � � � � � � � � � �

305684 หัวขMอคัดสรรทางเมคคาทรอนิกส�และระบบหุGนยนต� � � � � � � � � � �

305685 หัวขMอคัดสรรทางเครือขGายคอมพิวเตอร�และการเชื่อมตGอเซนเซอร� � � � � � � � � � � �

305686 หัวขMอคัดสรรทางวิศวกรรมซอฟต�แวร� � � � � � � � � � � � �

305687 หัวขMอคัดสรรทางสถาปrตยกรรมซอฟต�แวร� � � � � � � � � � �

305688 หัวขMอคัดสรรทางกระบวนการและวิธีการทางซอฟต�แวร� � � � � � � � � � �

Page 63: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 59

หมวดท่ี 5 หลักเกณฑ�ในการประเมินผลนิสิต

1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ� ในการให1ระดับคะแนน (เกรด) การวัดผลและการสําเร็จการศึกษาเปZนไปตามขMอบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร วGาดMวยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2554 (ภาคผนวก ช.) 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิต 2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู1ขณะนิสิตยังไม!สําเร็จการศึกษา

(1) การทวนสอบในระดับรายวิชา มีคณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมของขMอสอบและผลสัมฤทธิ์ของนิสิตใหMเปZนไปตามแผนการสอนและมาตรฐานผลการเรียนรูMท่ีกําหนด

(2) การทวนสอบในระดับหลักสูตร มีระบบประกันคุณภาพภายใน เพ่ือใชMในการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูMของนิสิต

2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู1หลังจากนิสิตสําเร็จการศึกษา มีการประเมินคุณภาพของหลักสูตรจากดุษฎีบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาและจากผูMใชMดุษฎีบัณฑิต โดย

(1) สํารวจภาวะการไดMงานทําของดุษฎีบัณฑิต โดยสGงแบบสอบถามไปยังดุษฎีบัณฑิตแตGละรุGนท่ีจบการศึกษาเพ่ือประมวลขMอมูลดMานของระยะเวลาในการหางานทํา ความเห็นตGอความรูM ความสามารถ ความม่ันใจของบัณฑิตในการประกอบการงานอาชีพ

(2) การตรวจสอบจากผูMประกอบการ โดยการขอเขMาสัมภาษณ� หรือ การสGงแบบสอบถาม เพ่ือประเมินความพึงพอใจในดุษฎีบัณฑิตท่ีจบการศึกษาและเขMาทํางานในสถานประกอบการนั้นๆ ในคาบระยะเวลาตGาง ๆ เชGน ปYท่ี 1 หรือ ปYท่ี 3 หลังจบการศึกษา เปZนตMน

(3) การประเมินจากดุษฎีบัณฑิตท่ีไปประกอบอาชีพ ในแงGของความพรMอมและความรูMจากสาขาวิชาท่ีเรียนรวมท้ังสาขาอ่ืน ๆ ท่ีกําหนดในหลักสูตรท่ีเก่ียวเนื่องกับการประกอบอาชีพของดุษฎีบัณฑิตรวมท้ังเป{ดโอกาสใหMเสนอขMอคิดเห็นในการปรับปรุงหลักสูตรใหMดียิ่งข้ึนดMวย

(4) สอบถามความเห็นจากผูMทรงคุณวุฒิภายนอกท่ีมาประเมินหลักสูตร หรือ เปZนอาจารย�พิเศษ ตGอความพรMอมของนิสิตในการเรียนและคุณสมบัติอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวขMองกับกระบวนการเรียนรูMและการพัฒนาองค�ความรูMของนิสิต

3. เกณฑ�การสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร (1) เปZนไปตามขMอบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร วGาดMวยการศึกษาในบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2554 (ภาคผนวก ช.) (2) อนึ่ง หากมีเง่ือนไขการสําเร็จการศึกษาของผูMใหMทุน เกณฑ�การสําเร็จการศึกษาใหMเปZนไปตามท่ีผูMใหMทุนกําหนด

Page 64: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 60

หมวดที ่6. การพัฒนาคณาจารย�

1. การเตรียมการสําหรับอาจารย�ใหม! 1. กําหนดใหMอาจารย�ท่ีเพ่ิงไดMรับการบรรจุ เขMารGวมปฐมนิเทศอาจารย�ใหมGของมหาวิทยาลัย ซ่ึง

จัดเปZนประจําทุกปY เพ่ือทําความรูMจักกับมหาวิทยาลัย หลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา การประกันคุณภาพ การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน ฯลฯ

2. สําหรับอาจารย�พิเศษจะไดMรับการประสานงานจากภาควิชา ถึงวัตถุประสงค�ของหลักสูตร พรMอมท้ังแจกเอกสารประกอบท่ีจําเปZน

2. การพัฒนาความรู1และทักษะให1แก!คณาจารย� 2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล

สนับสนุนใหMอาจารย�เขMารGวมโครงการพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผลท่ีหนGวยงานภายในมหาวิทยาลัยจัดข้ึน โดยสนับสนุนคGาใชMจGายในการเขMารGวมโครงการ

2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด1านอ่ืน ๆ

1. จัดสรรงบประมาณในการเขMารGวมอบรมสัมมนาทางวิชาการและวิชาชีพแกGคณาจารย�โดยใหMเขMารGวมอยGางนMอยปYละ 1 ครั้งตGอคน

2. สนับสนุนใหMอาจารย�เขMาสูGตําแหนGงทางวิชาการ โดยจัดโครงการชี้แจงรายละเอียดแกGคณาจารย�ท่ีสนใจ

3. สนับสนุนงบประมาณในการนําเสนอผลงานวิชาการท้ังในและตGางประเทศ 4. สนับสนุนใหMอาจารย�สGงผลงานลงตีพิมพ�ในวารสารทางวิชาการ เชGน วิศวกรรมสาร

มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 65: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 61

หมวดที ่7. การประกันคุณภาพหลักสูตร

1. การบริหารหลักสูตร มีการบริหารหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย ดังนี้

1.1 มีคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยอาจารย�ผูMรับผิดชอบหลักสูตรเปZนผูMท่ีมีคุณวุฒิและประสบการณ�ท่ีสอดคลMองตามเกณฑ�มาตรฐานของหลักสูตร ทําหนMาท่ีบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอนใหMเปZนไปตามแผนการศึกษาของหลักสูตร ดําเนินการพัฒนาหลักสูตรและการติดตามประเมินผลหลักสูตรใหMทันสมัยและสอดคลMองกับความตMองการของสังคม 1.2 จัดใหMมีการประชุม สัมมนา หรือแลกเปลี่ยนความรูMของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร อาจารย�ประจําหลักสูตร ผูMท่ีเก่ียวขMองกับการเรียนการสอน เชGน นิสิต ศิษย�เกGา ผูMใชMบัณฑิต รวมท้ังผูMทรงคุณวุฒิในสาขาท่ีเก่ียวขMอง เพ่ือเขMารGวมเสนอแนะหรือใหMความคิดเห็นตGอแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน อยGางสมํ่าเสมอ 1.3 มีกระบวนการติดตามและประเมินผลการเรียนของผูMเรียนในทุกรายวิชาผGานท่ีประชุมคณะกรรมการวิชาการประจําคณะหรือท่ีประชุมของภาควิชา ท่ีดูแลหลักสูตรอยูG 1.4 มีระบบการประเมินและสํารวจความพึงพอใจของผูMเรียนตGอประสิทธิภาพการสอนของอาจารย� ตลอดจนมีการประเมินประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอน โดยฝ�ายวิชาการประจําคณะ หรือภาควิชาท่ีดูแลหลักสูตร เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนตGอไป 1.5 มีการจัดการเรียนการสอนท่ีเปZนระบบ โดยจัดทําประมวลรายวิชา (Course Syllabus) และแผนการสอนท่ีมีความครอบคลุมในเนื้อหาสาระครบทุกรายวิชา มีการกําหนดกระบวนการเรียนการสอนท่ีมีท้ังบรรยาย ปฏิบัติ สัมมนา ศึกษาดูงานและการศึกษาคMนควMาดMวยตนเองและมีการแจกประมวลรายวิชาและแผนการสอน ใหMผูMเรียนไดMรับทราบตลอดจนแจMงใหMผูMเรียนไดMรับทราบถึงเกณฑ�ในการวัดผลการศึกษาของแตGละรายวิชาดMวย 1.6 มีการเชิญผูMทรงคุณวุฒิจากภายนอกสถาบันมาเปZนวิทยากร หรืออาจารย�พิเศษ เพ่ือใหMการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ รวมท้ังจัดใหMมีโครงการพัฒนาทักษะการสอนแกGคณาจารย�เปZนประจํา

2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน 2.1 การบริหารงบประมาณ

คณะจัดสรรงบประมาณประจําปY ท้ังงบประมาณแผGนดินและเงินรายไดMเพ่ือจัดซ้ือตํารา สื่อการเรียนการสอน โสตทัศนูปกรณ� วัสดุครุภัณฑ�คอมพิวเตอร�และวัสดุครุภัณฑ�สนับสนุนการเรียนปฏิบัติการอยGางเพียงพอ เพ่ือสนับสนุนการเรียนการสอนภาคทฤษฎีและปฏิบัติการ ตลอดจนสรMาง

Page 66: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 62

สภาพแวดลMอมใหMเหมาะสมกับการคMนควMาและเรียนรูMดMวยตนเองของนิสิต นอกจากนี้ยังสนับสนุนใหMมีระบบบริหารจัดการท่ีใชMทรัพยากรรGวมกัน ท้ังในระดับภาควิชา ในระดับคณะและภายนอกสถาบัน

2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนท่ีมีอยู!เดิม คณะมีความพรMอมดMานหนังสือ ตําราและการสืบคMนผGานฐานขMอมูลโดยผGานการบริการของสํานักหอสมุดของมหาวิทยาลัยและหMองสมุดคณะ ท้ังนี้หนังสือเรียนและเอกสาร Website ท่ีเก่ียวขMองกับสาขาวิศวกรรมศาสตร�มีดังนี้

- สํานักหอสมุดมหาวิทยาลัยนเรศวร มีตํารา เอกสารในกลุGมวิทยาศาสตร�เทคโนโลยี ดังนี้ ตําราเรียน : ภาษาไทย 50,458 เลGม : ภาษาตGางประเทศ 27,010 เลGม วารสาร : ภาษาไทย 141 ชื่อเรื่อง : ภาษาตGางประเทศ 202 ชื่อเรื่อง ฐานขMอมูล (Database) 33 ฐานขMอมูล โสตทัศนวัสดุ วีดีทัศน� : ภาษาไทย 2,385 รายการ : ภาษาอังกฤษ 1,083 รายการ - หMองสมุดคณะวิศวกรรมศาสตร� มีตําราตามยอดปY 2554 ดังนี้ ตําราเรียน : ภาษาไทย 7,008 เลGม : ภาษาอังกฤษ 2,629 เลGม วารสาร : ภายในประเทศ 51 ชื่อเรื่อง : ตGางประเทศ 28 ชื่อเรื่อง โสตทัศนวัสดุ วีดีทัศน� : ซีดีรอม 1,765 แผGน

จัดใหM มีหMองคอมพิวเตอร�สําหรับนิสิตเพ่ือใชMในการคMนควMาและการเรียนรูM นอกจากนี้คณะมีอุปกรณ�ท่ีสนับสนุนการเรียนการสอนภาคบรรยายและปฏิบัติการอยGางพอเพียง

2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพ่ิมเติม

จัดเตรียมงบประมาณโดยประสานงานกับสํานักหอสมุดมหาวิทยาลัยในการจัดซ้ือหนังสือและตําราท่ีเก่ียวขMองในการจัดซ้ือนี้ไดMเป{ดโอกาสใหMนิสิตและอาจารย�ผูMสอนในแตGละรายวิชามีสGวนรGวมในการเสนอแนะรายชื่อหนังสือ ตลอดจนสื่ออ่ืนๆท่ีจําเปZน สําหรับหMองสมุดของคณะมีการเตรียมงบประมาณสําหรับจัดซ้ือหนังสือ ตํารา หรือวารสารเฉพาะทาง นอกจากนี้ยังจัดเตรียมงบประมาณสําหรับจัดซ้ือครุภัณฑ� สื่อการสอนและครุภัณฑ�ประจําหMองปฏิบัติการเพ่ือใชMประกอบการเรียนการสอนของอาจารย�

Page 67: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 63

2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร การเตรียมความพรMอมสนับสนุนการเรียนการสอนตามหลักสูตรใหMเปZนไปตาม

1. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ�มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 ขMอ 15 วGาดMวยการประกันคุณภาพหลักสูตร

2. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 วGาดMวยมาตรฐานดMานพันธกิจของการบริหารอุดมศึกษาและมาตรฐานดMานการสรMางและพัฒนาสังคมฐานความรูMและสังคมแหGงการเรียนรูM

โดยมีการประเมินความพอเพียงของทรัพยากรตามขMอกําหนดขMางตMนดMวย 1. จัดทําแบบสํารวจความตMองการจากนิสิตในการใชMทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการ

สอน 2. จัดประชุมระดมความคิดเห็นจากอาจารย�ผูMใชMทรัพยากรการเรียนการสอน

3. การบริหารคณาจารย� 3.1 การรับอาจารย�ใหม!

กระบวนการในการรับอาจารย�ใหมG เริ่มจากการสGงใบสมัครใหMแกGภาควิชาท่ีมีผูMมาสมัคร กลั่นกรองประวัติ คุณสมบัติและประสบการณ�วGาเพียงพอตGอความรับผิดชอบการสอนในเบื้องตMน จากนั้นคณะจะพิจารณากรอบอัตรา หากยังมีวGาง ก็จะนําเขMาท่ีประชุมคณะกรรมการคณะเพ่ือพิจารณากลั่นกรองในรอบท่ีสอง หากคณะกรรมการเห็นชอบ ก็จะนําเสนอมหาวิทยาลัยเพ่ือขออนุมัติบรรจุ หรือหากไมGมีกรอบอัตราแตGผูMสมัครมีคุณวุฒิสูง ก็จะดําเนินการขอกรอบอัตราจากมหาวิทยาลัย

3.2 การมีส!วนร!วมของคณาจารย�ในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร กระบวนการในการปรึกษาหารือรGวมกันและการมีสGวนรGวมของคณาจารย�ในการติดตามคุณภาพหลักสูตร การทบทวนประจําปYและการวางแผนสําหรับการปรับปรุงหลักสูตร

3.3 คณาจารย�ท่ีสอนบางเวลาและคณาจารย�พิเศษ แตGงต้ังอาจารย�พิเศษมุGงใหMเกิดการพัฒนาประสบการณ�การเรียนรูMแกGนิสิตนอกเหนือไปจากความรูMตามทฤษฎี เพ่ือเพ่ิมพูนประสบการณ�ในการทํางานในวิชาชีพจริง

4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน 4.1 การกําหนดคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน!ง อMางอิงตามมาตรฐานกําหนดตําแหนGงของคณะกรรมการพัฒนาระบบขMาราชการพลเรือน

Page 68: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 64

4.2 การเพ่ิมทักษะความรู1เพ่ือการปฏิบัติงาน สนับสนุนการฝ�กอบรม ทัศนศึกษา หรือการฝ�กการทําวิจัยรGวมกับอาจารย� โดยมีการจัดสรรงบประมาณท้ังในระดับคณะและระดับภาควิชา

5. การสนับสนุนและการให1คําแนะนํานิสิต 5.1 การให1คําปรึกษาด1านวิชาการและอ่ืน ๆ แก!นิสิต

(1) มีการเชิญผูMเชี่ยวชาญจากภาคธุรกิจหรือภาคอุตสาหกรรมท่ีมีประสบการณ�ตรงในรายวิชาตGางๆ มาเปZนอาจารย�พิเศษ เพ่ือถGายทอดประสบการณ�ในแกGนิสิต

(2) มีผูMชGวยสอนประจําหMองปฏิบัติการท่ีมีความรูMในจํานวนท่ีเหมาะสม (3) คณะมีการแตGงต้ังอาจารย�ท่ีปรึกษาทางวิชาการใหMแกGนิสิตทุกคน โดยนิสิตท่ีมีปrญหาในการ

เรียนสามารถปรึกษากับอาจารย�ท่ีปรึกษาทางวิชาการไดM โดยอาจารย�ของคณะทุกคนจะตMองทําหนMาท่ีอาจารย�ท่ีปรึกษาทางวิชาการใหMแกGนิสิตและทุกคนตMองกําหนดชั่วโมงวGาง (Office Hours) เพ่ือใหMนิสิตเขMาปรึกษาไดM นอกจากนี้ ตMองมีท่ีปรึกษากิจกรรมเพ่ือใหMคําปรึกษาแนะนําในการทํากิจกรรมแกGนิสิต

5.2 การอุทธรณ�ของนิสิต เปZนไปตามระเบียบขMอบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร วGาดMวยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2554 (ภาคผนวก ช.)

Page 69: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 65

6. ความต1องการของตลาดแรงงาน สังคมและ/หรือความพึงพอใจของผู1ใช1บัณฑิต มีการติดตามและประเมินผลคุณภาพดุษฎีบัณฑิตจากผูMประกอบการ พรMอมท้ังแนวทางในการพัฒนาเปZนประจํา โดยสํารวจดMานความพึงพอใจของผูMใชMดุษฎีบัณฑิต 7. ตัวบ!งช้ีผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators) การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนท่ีจะทําใหMดุษฎีบัณฑิตมีคุณภาพตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร� กําหนดตัวบGงชี้ผลการดําเนินงานดังนี้

ตัวบGงชี้ผลการดําเนินงาน พ.ศ.2556

พ.ศ.2557

พ.ศ.2558

พ.ศ.2559

พ.ศ.2560

(1) อาจารย�ประจําหลักสูตรอยGางนMอยรMอยละ 80 มีสGวนรGวมในการประชุม เพ่ือวางแผน ติดตามและทบทวนการดําเนินการของหลักสูตร

X X X X X

(2) มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ท่ีสอดคลMองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแหGงชาติและ/หรือ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา (ถMามี)

X X X X X

(3) มีรายละเอียดของรายวิชาตามแบบ มคอ.3 อยGางนMอยกGอนเป{ดการสอนในแตGละภาคการศึกษาใหMครบทุกรายวิชา

X X X X X

(4) จัดทํารายงานผลการดําเนินการของรายวิชา ตามแบบ มคอ.5 ภายใน 30 วันหลังสิ้นสุดภาคการศึกษาท่ีเป{ดสอนใหMครบทุกรายวิชา

X X X X X

(5) จัดทํารายงานการดําเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วันหลังสิ้นสุดภาคการศึกษา

X X X X X

(6) มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนิสิตตามมาตรฐานผลการเรียนรูMท่ีกําหนดใน มคอ.3 อยGางนMอยรMอยละ 25 ของรายวิชาท่ีเป{ดสอนในแตGละปYการศึกษา

X X X X X

(7) มีการพัฒนาและปรับปรุงการเรียนการสอน กลยุทธ�การสอน หรือประเมินผลการเรียนรูMจากผลการประเมินการดําเนินงานท่ีรายงานใน มคอ.7 ของปYท่ีผGานมา

X X X X

(8) อาจารย�ใหมGทุกคน (ถMามี) ไดMรับการปฐมนิเทศหรือคําแนะนําดMานการจัดการเรียนการสอน

X X X X X

(9) อาจารย�ประจําทุกคนไดMรับการพัฒนาในดMานวิชาการและ/หรือ วิชาชีพอยGางนMอยปYละ 1 ครั้ง

X X X X X

Page 70: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 66

ตัวบGงชี้ผลการดําเนินงาน พ.ศ.2556

พ.ศ.2557

พ.ศ.2558

พ.ศ.2559

พ.ศ.2560

(10) บุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถMามี) ไดMรับการพัฒนาทางวิชาการและ/หรือ วิชาชีพ อยGางนMอยรMอยละ 50 ตGอปY

X X X X X

(11) ระดับความพึงพอใจของนิสิตปYสุดทMาย/บัณฑิตใหมGท่ีมีตGอคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไมGนMอยกวGา 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0

X X X

(12) ระดับความพึงพอใจของผูMใชMบัณฑิตท่ีมีตGอบัณฑิตใหมGเฉลี่ยไมGนMอยกวGา 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0

X X

เกณฑ�การประเมินผลการดําเนินการเพ่ือการรับรองและเผยแพร!หลักสูตร

หลักสูตรท่ีจะไดMรับการเผยแพรGวGาเปZนหลักสูตรท่ีไดMมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2552 ตMองมีผลการดําเนินการบรรลุตามเป�าหมายตัวบGงชี้ท่ี 7.1 – 7.12 อยูGในเกณฑ�ดีตGอเนื่องกันอยGางนMอย2 ปYการศึกษา (สําหรับหลักสูตร 4 ปY) ท้ังนี้การผGานเกณฑ�ดีตMองมีการดําเนินงานตามตัวบGงชี้ท่ี 7.1 – 7.5 อยGางครบถMวน และอยGางนMอยรMอยละ 80 ของตัวบGงชี้ท่ี 7.6 – 7.12

Page 71: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ. 2 67

หมวดที ่8. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของหลักสูตร

1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 1.1 กระบวนการประเมินและปรับปรุงแผนกลยุทธ�การสอน

(1) มีการประเมินผลการสอนของอาจารย�โดยนิสิตและนําผลการประเมินมาวิเคราะห�เพ่ือหาจุดอGอนและจุดแข็งในการสอนของอาจารย�ผูMสอนเพ่ือปรับกลยุทธ�การสอนใหMเหมาะสมแกGอาจารย�

(2) มีการประเมินผลการเรียนรูMของนิสิตโดยการสอบ (3) มีการประเมินผลการเรียนรูMของนิสิตโดยการปฏิบัติงานกลุGม (4) วิเคราะห�เพ่ือหาจุดอGอนและจุดแข็งในการเรียนรูMของนิสิต เพ่ือปรับกลยุทธ�การสอนใหM

เหมาะสมกับนิสิตแตGละชั้นปY โดยอาจารย�แตGละทGาน 1.2 กระบวนการประเมินทักษะของอาจารย�ในการใช1แผนกลยุทธ�การสอน

ใหMนิสิตไดMประเมินผลการสอนของอาจารย�ในทุกดMาน ท้ังในดMานทักษะ กลยุทธ�การสอนและการใชMสื่อในทุกรายวิชา

2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม

1. ประเมินโดยนิสิตปYสุดทMาย 2. ประเมินโดยบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษา 3. ประเมินโดยผูMใชMบัณฑิต/ผูMมีสGวนไดMสGวนเสียอ่ืนๆ

3. การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร การประเมินคุณภาพการศึกษาประจําปY ตามดัชนีบGงชี้ผลการดําเนินงานท่ีระบุในหมวดท่ี 7 ขMอ 7 โดยคณะกรรมการประเมินท่ีไดMรับการแตGงต้ังจากมหาวิทยาลัย 4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุงหลักสูตรและแผนกลยุทธ�การสอน ใหMคณะกรรมการซ่ึงเปZนอาจารย�ประจําหลักสูตรรวบรวมขMอมูลจากการประเมินการเรียนการสอนของอาจารย� นิสิต บัณฑิตและผูMใชMบัณฑิตและขMอมูลจาก มคอ.5 และ มคอ.7 เพ่ือทราบปrญหาของการบริหารหลักสูตรท้ังในภาพรวมและในแตGละรายวิชาและนําไปสูGการดําเนินการปรับปรุงรายวิชาและหลักสูตรตGอไป สําหรับการปรับปรุงหลักสูตรนั้นจะกระทําภายในชGวงเวลาไมGเกิน 5 ปY เพ่ือใหMหลักสูตรมีความทันสมัยและสอดคลMองกับความตMองการของผูMใชMบัณฑิต

Page 72: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ภาคผนวก

เอกสารเพ่ิมเติมประกอบไปด�วย ก. รายชื่ออาจารย�ประจําหลักสูตรพร�อมกับผลงานทางวิชาการและการค�นคว�างานวิจัย ข. รายชื่ออาจารย�ประจําพร�อมกับผลงานทางวิชาการและการค�นคว�างานวิจัย ค. ผลการวิพากษ�หลักสูตร ง. รายงานผลการวิเคราะห�ผลการสํารวจความต�องการของผู�ใช�ดุษฎีบัณฑิต

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร� จ. รายงานผลการวิเคราะห�ผลการสํารวจความต�องการของสําหรับผู�คาดหวังเข�าศึกษาใน

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร� ฉ. คําสั่งแต/งต้ังคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ช. ข�อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว/าด�วย การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา

พ.ศ. 2554 ซ. ข�อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว/าด�วย การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา

พ.ศ. 2554 (แก�ไขเพ่ิมเติม ฉบับท่ี 2) ฌ. ข�อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว/าด�วย การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา

พ.ศ. 2554 (แก�ไขเพ่ิมเติม ฉบับท่ี 3) ญ. ข�อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว/าด�วย การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา

พ.ศ. 2554 (แก�ไขเพ่ิมเติม ฉบับท่ี 4)

Page 73: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ภาคผนวก ก. อาจารย�ประจําหลักสูตรพร�อมกับผลงานทางวิชาการและการค�นคว�างานวิจัย

Page 74: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ก1

รองศาสตราจารย� ดร.ไพศาล มุณีสว)าง งานวิจัย โครงการการแสดงผลการค�นหาไฟล�มัลติมีเดียแบบ 3 มิติ, งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร,

2552-2554 โครงการการตรวจจับตําหนิจากเครื่องเอสเจบีแบบอัตโนมัติโดยวิธีการวิเคราะห�เนื้อหาและการเรียนรู�แบบซัฟฟอร�ต

เวคเตอร�แมชชีนม, งบประมาณภายนอก:ศูนย�ฯ HDD(ขอนแก/น), 2552-2554 ผลงานทางวิชาการ U. Phromsuwan, C. Sirisathitkul, Y. Sirisanthitkul, B. Uyyanonvara, P.Muneesawang.

“Application of image processing to determine size distribution of magnetic nanoparticles,” Journal of Magnetics, 2013

U. Phromsuwan, Y. Sirisanthitkul, C. Sirisathitkul, P. Muneesawang, B. Uyyanonvara, “SEM image processing of X-ray lithographic patterned holes,” submitted to Journal of Central South University, 2012

P. Muneeswang, S. Yammen, and S. Insawat, “Cartridge case image matching using effective correlation area based method,” submitted to Forensic Science International, Elsevier, 2012

J. Ieamsaard, B. Tangdee, S. Yammen, P. Muneesawang, “Solder joint and Styrofoam bead detection in HDD using mathematical morphology,” International Computer Science and Engineering Conference, Pattaya, Thailand, Oct. 18-19, 2012

S. Yammen, P. Muneesawang and B. Tangdee, "Styrofoam bead detection by using image processing techniques," The 4th International Data Storage Conference, Bangkok, Thailand, Jan. 9-10, 2012

P. Muneesawang, S. Yammen, T. Fuangpian and J. Ieamsaard, "Morphology-based automatic visual inspection for SJB defect on HGA," The 4th International Data Storage Conference, Bangkok, Thailand, Jan. 9-10, 2012

S. Bunchuen, U. Boonsri, P. Muneesawang, and S. Tammen, Detection method for corrosion on the pole tip, Naresuan University Engineering Journal, pp. 1-8, Vol. 6, 2011

T. Fuangpian, P. Muneesawang, S. Yammen, “An algorithm for detection of solder balls on HGA”, Naresuan University Journal, pp. 24-32, 2011

P. Muneesawang, F. Wu, I. Kumazawa, K. Yap, and H.M. Liao (Editors), "Advances in multimedia computing, communications and applications", Journal of Signal Processing Systems, Springer, pp.1-3, 2011

Page 75: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ก2

S. Bunchuen, U. Boonsri, S. Yammen and P. Muneesawang, "Pole tip corrosion detection using various image processing Techniques," Pacific-Rim Conference on Multimedia, Sydney, Australia, Dec. 20-22, 2011

U. Boonsri, S. Bunchuen, S. Yammen and P. Muneesawang,“Improved median filter for corrosion detection in the lower top shield of the pole tip,” The 34th Electrical Engineering Conference, Pataya, Thailand, Nov. 30-Dec. 2, 2011

S. Bunchuen, U. Boonsri, S. Yammen and P. Muneesawang, “Application of features for detecting corrosion of the Pole Tip,” The 7th Naresuan Research Conference, Phisanulok, Thailand, July 29-30, 2011

S. Yammen, P. Muneesawang and B. Tangdee, “The development of method for detection of Styrofoam bead, The 7th Naresuan Research Conference, Phisanulok, Thailand, July 29-30, 2011

P. Muneesawang, L. Guan, and T. Amin, “A New Learning Algorithm for the Fusion of Adaptive Audio–Visual Features for the Retrieval and Classification of Movie Clips,” Journal of Signal Processing Systems, Springer, Vol. 59, pp. 177-188, 2010

K. Sotakarn, M. Augkho, S. Saroge, and P. Muneesawang, “Content based video retrieval on P2P network by using adaptive model,” The 32rd Electrical Engineering Conference, Thailand, Oct. 28-30, 2009

N. Chomyong, P. Sarnchart, and P. Muneesawang, “An algorithm for automatic video Segmentation,” The 32rd Electrical Engineering Conference, Thailand, Oct. 28-30, 2009

L. Guan, , P. Muneesawang, Y. Wang, R. Zhang, Y. Tie, A. Bulzacki, M.T. Ibrahim, “Multimedia multimodal methodologies,” IEEE International Conference on Multimedia and Expo, pp. 1600-1603, Jun. 28-Jul. 3 2009

I. Lee and P. Muneesawang, "Reducing Manual Feedback in a Distributed CBIR System", Pacific Rim Conference on Multimedia, Bangkok, Thailand, pp.943-948, Dec. 15-18, 2009

P. Muneesawang and L. Guan, “SVM-based decision fusion model for detecting concepts in films,” IEEE International Conference on Information, Communications, and Signal Processing, Singapore, Dec. 2007

P. Pongcharoen, S. Kaitwanidvilai, P. Muneesawang, W. Chainate, “Improving Hopfield Neural Network performance and parameters investigation,” KMITL International Conference on Science and Applied Science 2006, Mar. 2006

Page 76: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ก3

J. A. Lay, P. Muneesawang, T. Amin and L. Guan, “Assessing semantic relevance by using audiovisual clues,” International Journal of Information and Systems Sciences, Vol. 3, No. 3, pp. 420-427, 2007

L. Guan, Horace H. S. Ip, Paul H. Lewis, Hau-San Wong, and P.Muneesawang (Editors), Information Mining from Multimedia Databases” Special Issue, EURASIP Journal on Applied Signal Processing, 2006

W. Chainate, Peeraya Thapatsuwan, S. Kaitwanidvilai, P.Muneesawang, P. Pongcharoen, “Improving hopfield neural network performance and parameters investigation,” KMITL Science Journal, pp. 266-273, May.-Dec. 2006

M. J. Kyan, K. Jarrah, P. Muneesawang, and L. Guan, “Self organizing threes & forests strategy for unsupervised multimedia processing, IEEE Computational Intelligence Magazine, pp. 27- 40, Vol. 1, Issue 2, 2006

I.Lee, P. Muneesawang, and L. Guan, “Automatic Relevance Feedback for Distributed Content-Based Image Retrieval” International Journal on Graphics, Vision and Image Processing, ISSN: 1687-398X, Vol. 4, March 2005

P. Muneesawang and L. Guan, “Video retrieval using an adaptive video indexing and automatic relevance feedback,” IEEE Trans. on Circuits and Systems on Video Technology, Vol. 15, No. 8, pp.1032-1046, August 2005

P. Muneesawang, and L. Guan, “Using Knowledge of the region of interest (ROI) in automatic image retrieval learning,” International Joint Conference on Neural Networks (IJCNN05), Montreal, Canada, Aug. 2005

P. Muneesawang, T. Amin and L. Guan, “Audio visual cues for video indexing and retrieval,” Advances in Multimedia Information Processing - PCM 2004, 5th Pacific Rim Conference on Multimedia, Tokyo, Japan, pp. 642-649, Nov. 30-Dec. 3, 2004

P. Muneesawang and L. Guan, “iARM─An interactive video retrieval system” Proc. IEEE Int. Conf. on Multimedia and Expo, Taiwan, June 2004

K. Jarrah, P. Muneesawang, I. Lee, and L. Guan, “Minimizing human-machine interactions in automatic image retrieval”, Proc. IEEE Canadian Conf. on Electrical and Computer Engineering, Niagara Falls, Canada, May 2004

P. Muneesawang and L. Guan, “An interactive approach for CBIR using a network of radial basis functions,” IEEE Trans. on Multimedia, Vol. 6, No. 5, pp703-716, October 2004

Page 77: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ก4

L. Guan, P. Muneesawang, J. Lay, I. Lee and T. Amin, "Recent advancement in indexing and retrieval of visual documents," The 9th Int. Conf. on Distributed Multimedia Systems, Florida, USA, Sep., 2003

P. Muneesawang and L. Guan, “Image retrieval with embedded sub-class information using Gaussian mixture models” Proc. IEEE Int. Conf. on Multimedia and Expo, Maryland, USA, pp. 769-772, vol.1, July 2003

P. Muneesawang and L. Guan, “Automatic relevance feedback for video retrieval,” Proc. IEEE Int. Conf. on Acoustics, Speech, and Signal Processing, Hong Kong, pp. 1-4, vol. 3, April 2003

P. Muneesawang and L. Guan, “Video retrieval using an adaptive video indexing technique and automatic relevance feedback,” Proc. IEEE Int. Workshop on Multimedia Signal Processing, Virgin Islands, USA, pp. 220-223, Dec. 2002

P. Muneesawang and L. Guan, “Minimizing user interaction by automatic and semiautomatic relevance feedback for image retrieval,” Proc. IEEE Int. Conf. on Image Processing, New York, USA, pp. 601-604, vol.2, Sept. 2002

P. Muneesawang and L. Guan, “Automatic machine interactions for content-based image retrieval using a self-organizing tree map architecture,” IEEE Trans. on Neural Networks, Vol. 13, no. 4, pp.821-834, July 2002

P. Muneesawang and L. Guan, “Automatic similarity learning using SOTM for CBIR of the WT/VQ coded images,” Proc. IEEE Int. Conf. on Image Processing, Thessaloniki, Greece, pp. 749-752, vol. 2, Oct. 2001

P. Muneesawang and L. Guan, “A neural network approach for learning image similarity in adaptive CBIR,” Proc. IEEE Int. Workshop on Multimedia Signal Processing, Cannes, France, pp. 257-262, Oct.2001

P. Muneesawang and L. Guan, “Interactive CBIR using RBF-based relevance feedback for WT/VQ coded images,” Proc. IEEE Int. Conf. on Acoustics, Speech, and Signal Processing, Salt Lake City, USA, pp. 1641-1644, vol. 3, May 2001

J.A. Lay, P. Muneesawang and L. Guan, “Multimedia information retrieval,” Proc. IEEE Canadian Conf. on Electrical and Computer Engineering, Toronto, Canada, pp. 619-624, vol. 1, May 2001

P. Muneesawang and L. Guan, “An nonlinear RBF model for interactive content-based image retrieval,” The First IEEE Pacific-Rim Conf. on Multimedia, pp. 188-191, Sydney, Australia, Dec. 2000

Page 78: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ก5

P. Muneesawang and L. Guan, “An interactive approach using nonlinear RBF for content-based image retrieval of the JPEG database,” The First IEEE Pacific-Rim Conf. on Multimedia, pp. 346-349, Sydney, Australia, Dec. 2000

P. Muneesawang and L. Guan, “Multiresolution-histogram indexing and relevance feedback learning for image retrieval,” Proc. IEEE Int. Conf. on Image Processing, Vancouver, Canada, vol. 2, pp. 526-529, Sept. 2000

หนังสือ P. Muneesawang, F. Wu, I. Kumazawa, A. Roeksabutr, M. Liao, X. Tang, (Eds.), Advances in

Multimedia Information Processing - PCM 2009, Springer, ISBN: 978-3-642-10466-4, 2009

P. Muneesawang and L. Guan, Multimedia Database Retrieval: A Human Centered Approach, ISBN 978-0-387-34629-8 Springer, 2006

Page 79: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ก6

ผู�ช)วยศาสตราจารย� ดร.พนมขวัญ ริยะมงคล งานวิจัย โครงการการบีบอัดคลื่นไฟฟ�าของหัวใจจากคุณลักษณะของกลุ/มรวมคิวอาร�เอส, งบประมาณภายใน:เงินรายได�

มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552 โครงการการตรวจจับและบันทึกการเคลื่อนท่ีของวัตถุ, งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร,

2550

ผลงานทางวิชาการ C. Sopavanit, T. Desudchit, and P. Riyamongkol. Wireless and Wearable EKG Device with

Lossless Compression for On-Line Post-Surgery Heart Monitoring System. proceedings of the 2008 IEEE international conference on robotics and biomimetic, pp. 1218-1223, 2008

พนมขวัญ ริยะมงคล. ระบบการบันทึกวัตถุเคลื่อนท่ีเวลาจริง. วารสารวิศวกรรมศาสตร� มศว, 3(1),หน�า 34-41, 2551

P. Riyamongkol and W. Zhao. The Hopfield neural network model for solving affine transformation parameters in the correlation method. proceedings of the 2006 IEEE region 5 conference, pp.249-253, 2006

L. Belayev, I. Saul, K. Curbelo, R. Busto, A. Belayev, Y. Zhang, P. Riyamongkol, W. Zhao, MD. Ginsberg: Experimental intracerebral hemorrhage in the mouse: histological, behavioral and hemodynamic characterization of a double-injection model, Stroke, vol. 34, no. 9, pp. 2221-2227, 2003.

P. Riyamongkol, W. Zhao, Y. Liu, L. Belayev, R. Busto and MD. Ginsberg, Automated registration of laser Doppler perfusion images by an adaptive correlation approach: application to focal cerebral ischemia in the rat, Journal of Neuroscience Methods, vol. 122, issue 1, pp. 79-90, 2002.

L. Belayev, E. Pinard, H. Nallet, J. Seylaz, Y. Liu, P. Riyamongkol, W. Zhao, R. Rusto and MD. Ginsberg, Albumin therapy of transient focal cerebral ischemia: in vivo analysis of dynamic microvascular responses, Stroke, vol. 33, no. 4, pp. 1077-1084, 2002.

W. Zhao, P. Riyamongkol, Y. Liu, and other, Brain '01 Session 21 Microcirculation - (Monday 13:30, Poster) - Automatic registration of laser-Doppler images by an adaptive correlation approach: Application to MCA occlusion, Journal of cerebral blood flow and metabolism : official journal of the International Society of Cerebral Blood Flow and Metabolism, vol. 21, no. 1, S219, 2001.

Page 80: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ก7

ดร.วรลักษณ� คงเด)นฟ?า งานวิจัย โครงการการพัฒนาฐานข�อมูลสารสนเทศเพ่ือการดูแลเด็กด�อยโอกาสนอกระบบและเด็ก

กลุ/มเสี่ยงในระบบการศึกษา, งบประมาณภายนอก:สํานักงานส/งเสริมสังคมแห/งการเรียนรู�และพัฒนาคุณภาพเยาวชน (สสค.), 2554 – 2556

โครงการระบบสนับสนุนการพัฒนาแอพลิเคชั่นในการจัดการและแลกเปลี่ยนความรู�ของนักวิชาการ, งบประมาณภายนอก:สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2553 – 2555

Flood Warning System Development and Capacity Building on Disaster Management for Local officers, งบประมาณภายนอก:สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2555 – 2556 Spreadsheet-based Web mashups, งบประมาณภายนอก:SAP, Australia, 2007-2009 Service Integration and Adaptation, งบประมาณภายนอก:Smart Services CRC, Sydney, Australia,

2007 ผลงานทางวิชาการ W. Kongdenfha, P. Phanthunane, N. Wattanasupt, S. Pannarunotha, J. Chaiyawong, S. Pho-

Ong, C. Tangruang, S. Tati, K. Patrawart. Education for All: An Experimental Model for Cost Analysis and Information Management System for the Provision of Health and Educational Programs to Disabled and Underprivileged Children in Thailand’s Highland, 21st IUHPE World Conference on Health Promotion, 2013

W. Kongdenfha, S. Pannarunothai. A Multi-stakeholder Collaboration Framework for Health Promotion. 21st IUHPE World Conference on Health Promotion, 2013

W. Kongdenfha, H. R. Motahari-Nezhad, B. Benatallah and R. Saint-Paul. Web Service Adaptation: Mismatch Patterns and Semi-Automated Approach to Mismatch Identification and Adapter Development, Springer's Handbook on Web Services, 2012

T. Sornnen, W. Kongdenfha, W. Chiracharit, K. Chamnongthai. Interpolation and Zooming Techniques Utilizing Edge-weighted Adaptive Filtering for Color Filter Array, PCM (2) 2010: pp.430-438

W. Kongdenfha, H. R. Motahari-Nezhad, B. Benatallah, F. Casati and R. Saint-Paul. Mismatch Patterns & Adaptation Aspects: A Foundation for Rapid Development of Web Service Adapters, IEEE Transactions on Service Computing (IEEE TSC) 2(2): pp.94-107 (2009).

W. Kongdenfha, B. Benatallah, J. Vayssiere, R. Saint-Paul and F. Casati. Rapid Development of Spreadsheet-based Web Mashups, in Proceedings of the 18th International World Wide Web Conference (WWW'09), Madrid, Spain, April 2009.

Page 81: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ก8

W. Kongdenfha, H. R. Motahari-Nezhad, R. Saint-Paul, B. Benatallah, and F. Casati. An Aspect-Oriented Approach for Service Adaptation, UNSW-CSE-TR-0920, University of New South Wales, 2009

W. Kongdenfha, B. Benatallah, R. Saint-Paul and F. Casati. SpreadMash: A Spreadsheet-based Interactive Browsing and Analysis Tool for Data Services, in Proceedings of the 20th International Conference on Advanced Information Systems Engineering (CAISE'08), Montpollier, France, June 2008

B. Benatallah, F. Casati, W. Kongdenfha, H. Skogsrud and F. Toumani. Conceptual Modelling of Service-Driven Applications, in Service-Oriented Computing, D. Georgakopoulos, M. Papazoglou (Editors). MIT Press, 2007

W. Kongdenfha and B. Benatallah. Towards a Knowledge Base for Semantic Mappings, CRC Smart Services, Sydney, Australia, May 2007

W. Kongdenfha, R. Saint-Paul, B. Benatallah and F. Casati. An Aspect-Oriented Framework for Service Adaptation, in Proceedings of the 4th International Conference on Service Oriented Computing (ICSOC'06), Chicago, USA, Dec. 2006

บทความทางวิชาการ Woralak Kongdenfha. Cloud Computing , ECTI e-magazine,

http://www.ecti-thailand.org/emagazine/views/63 รางวัลและเกียรติคุณท่ีได�รับ Research Fund from the Thai Quality Learning Foundation (QLF), 2011 Visiting scholar, ISIMA, Clermont-Ferrand, France, 2010 TRF-CHE Research Grant for New Scholar, Thailand Research Funding Organization, 2010 UNSW’s Faculty of Engineering PhD scholarship, 2008

Page 82: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ก9

ดร.สุรเดช จิตประไพกุลศาล

งานวิจัย โครงการการวิ เคราะห�ความเป�นไปได�ของการประเมินคุณภาพของการออกแบบซอฟต�แวร�โดยใช�

DesignPatterns , งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2548 ผลงานทางวิชาการ Q. J. Wu, S. Jitprapaikulsarn, B. Mathayomchan, D. B. Einstein, R. J. Maciunas, K. Pillai, B. W.

Wessels, T. J. Kinsella, and V. Chankong, “Clinical Evaluation of A Gamma Knife Inverse Planning System,” Radiosurgery, vol. 5, K.D, Ed. Basel: Karger, pp. 260-266, 2004

Q. J. Wu, V. Chankong, S. Jitprapaikulsarn, B. W. Wessels, D. B. Einstein, B. Mathayomchan, and T. J. Kinsella, “Real-time Inverse Planning for Gamma Knife Radiosurgery,” Medical Physics, vol. 30, pp. 2988-2995, 2003

B. Hobbs, S. Jitprapaikulsarn, S. Konda, V. Chankong, K. Loparo, and D. Maratukulam, “Analysis of the Value for Unit Commitment of Improved Load Forecasts,” IEEE Trans. Power Systems, vol. 14, pp. 1342-1348, 1999

B. Hobbs, U. Helman, S. Jitprapaikulsarn, S. Konda, and D. Maratukulam, “Artificial Neural Networks for Short-Term Energy Forecasting: Accuracy and Economic Value,” Neurocomputing, vol. 23, pp. 71-84, 1998

รางวัลและเกียรติคุณท่ีได�รับ 1st place in the Manufacturing Division in the 2nd Annual Productivity Improvement

Competition at University of Nebraska, Lincoln, Nebraska, USA. , 1998 Outstanding Award for extra-curriculum activities, Triam Udom Sueksa School, Bangkok,

Thailand. , 1987

Page 83: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ก10

ดร.พงศ�พันธ� กิจสนาโยธิน

งานวิจัย โครงการการพัฒนาฐานข�อมูลสารสนเทศเพ่ือการดูแลเด็กด�อยโอกาสนอกระบบและเด็กกลุ/มเสี่ยงในระบบ

การศึกษา, สํานักงานส/งเสริมสังคมแห/งการเรียนรู�และพัฒนาคุณภาพเยาวชน (สสค.), 2554 – 2556

ผลงานทางวิชาการ R. Hewett and P. Kijsanayothin, "Securing System Controllers in Critical Infrastructures", In

Proceedings of the 8th Cyber Security and Information Intelligence Research Workshop, Oak Ridge National Laboratory, TN, January 8 - 10, 2013

Hewett, R. and P. Kijsanayothin, Privacy and Recovery in Composite Web Service Transactions. International Journal for Infonomics (IJI), 2010. 3(2): p. 333-342.

P. Kijsanayothin, Network Security Modeling with Intelligent and Complexity Analysis. 2010 P. Kijsanayothin, and R. Hewett. Analytical Approach to Attack Graph Analysis for Network

Security. in Availability, Reliability, and Security, 2010. ARES'10 International Conference on. 2010

Hewett, R. and P. Kijsanayothin, On modeling software defect repair time. Empirical Software Engineering, 2009. 14(2): p. 165-186.

Hewett, R. and P. Kijsanayothin. Automated test order generation for software component integration testing. in Proceedings of the 2009 IEEE/ACM International Conference on Automated Software Engineering. 2009

Hewett, R. and P. Kijsanayothin. On securing privacy in composite web service transactions. in Internet Technology and Secured Transactions, 2009. ICITST 2009. International Conference for. 2009

Hewett, R. and P. Kijsanayothin, Location contexts in rolebased security policy enforcement. Proceedings of the 2009 International Conference on Security and Management (SAM’09), 2009: p. 13-16.

Hewett, R., P. Kijsanayothin, and B. Nguyen. Scalable optimized composition of Web services with complexity analysis. in Web Services, 2009. ICWS 2009. IEEE International Conference on. 2009

Hewett, R., B. Nguyen, and P. Kijsanayothin. Efficient optimized composition of semantic web services. in Systems, Man and Cybernetics, 2009. SMC 2009. IEEE International Conference on. 2009

Page 84: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ก11

Hewett, R. and P. Kijsanayothin, Tumor classification ranking from microarray data. BMC genomics, 2008. 9(Suppl 2): p. S21.

Hewett, R. and P. Kijsanayothin. Host-centric model checking for network vulnerability analysis. in Computer Security Applications Conference, 2008. ACSAC 2008. Annual. 2008

Hewett, R. and P. Kijsanayothin. Authorization constraint enforcement for information system security. in Systems, Man and Cybernetics, 2008. SMC 2008. IEEE International Conference on. 2008

Hewett, R., P. Kijsanayothin, and A. Thipse. Security analysis of role-based separation of duty with workflows. in Availability, Reliability and Security, 2008. ARES 08. Third International Conference on. 2008

P.Kijsanayothin, et al. Software hazard generation with model checking. in Region 5 Conference, 2006 IEEE. 2006

Page 85: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ภาคผนวก ข. อาจารย�ประจําพร�อมกับผลงานทางวิชาการและการค�นคว�างานวิจัย

Page 86: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข1

ผู�ช)วยศาสตราจารย� ดร.อัครพันธ� วงศ�กังแห งานวิจัย โครงการคุณลักษณะความสัมพันธ�ทางไฟฟ�าและเคมี ในสภาวะการเกิดเงาบางส/วนบนเซลล�แสงอาทิตย�ชนิดสีย�อม

ไวแสง, งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552 โครงการสร�างและทดสอบจุดต/อพีเอ็นจากสารประกอบอินทรีย� คาร�บอนในกลุ/มสารทราซิชั่นเฮกซะดีไฮโดร (12)

แอนนูลีน, งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2550-2551 โครงการระบบเครื่องวัดแบบวิสชัวล�เพ่ือใช�วัดคุณลักษณะการประมวลสัญญาณเสียงดิจิตอลท่ีอยู/ภายใต�สัญญาณ

รบกวนในสภาพใช�งานเสมือนจริง, งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2551 โครงการระบบเพ่ือลดวงรอบเวลาของเครื่องจักรอัตโนมัติ “Auto Tweak Machine Cycle Time Reduction”,

งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2549 โครงการการพัฒนาแบตเตอรี่ไอรอนโดยใช�สารประกอบเชิงซ�อนของเหล็กเป�นสารควบคุม, งบประมาณภายนอก:

การไฟฟ�าฝ�ายผลิตแห/งประเทศไทย (กฟผ.), 2552 ผลงานทางวิชาการ A. Vongkunghae, Jang Yi, Richard B. Wells: A printer model using signal processing

techniques. IEEE Transactions on Image Processing 12(7): 776-783 , 2003 หนังสือ การโปรแกรม CA-Clipper 5.2 บนเน็ตเวิร�ก, กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2537

Page 87: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข2

ดร.มุฑิตา สงฆ�จันทร� งานวิจัย โครงการการเปรียบเทียบสมรรถนะของระบบควบคุมโดยใช�การควบคุมแบบเรียนรู�ซํ้าพหุนามของเมทริกซ� G

อันดับหนึ่งและอันดับสูงกว/าเม่ือใช�ค/าถ/วงน้ําหนักแบบปรับค/าได�, งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552-2554

Page 88: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข3

ผู�ช)วยศาสตราจารย� ดร.สุชาติ แย�มเม)น

งานวิจัย

โครงการวิจัย “เครื่องอบกล�วยน้ําว�าแบบควบคุมการกระจายอุณหภูมิโดยใช�ระบบพลังงานความร�อนร/วมจากแสงอาทิตย�และก�าซป�โตรเลียมเหลว” งบประมาณภายนอก: สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห/งชาติ (วช), 1 ต.ค. 2555 – 30 ก.ย. 2556

โครงการวิจัย “การพัฒนาระบบตัดไฟของเตารีดไฟฟ�า” งบประมาณภายนอก: สภาอุตสาหกรรมแห/งประเทศไทย, 14 ก.พ. 2555 – 15 ส.ค. 2555

โครงการวิจัย “การพัฒนาอัลกอริทึมสําหรับการตรวจสอบสภาพอะแดพเตอร�การ�ด” งบประมาณภายนอก: สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยีแห/งชาติ (สวทช), 1 ก.ย. 2553 – 31 ส.ค. 2555

โครงการวิจัย “การตรวจจับการสึกกร/อนแบบอัตโนมัติด�วยการใช�เทคนิคแม/แบบต�นฉบับ” งบประมาณภายนอก: สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยีแห/งชาติ (สวทช), 1 มิ.ย. 2552 – 29 ก.พ. 2555

โครงการวิจัย “การตรวจจับตําหนิจากเครื่องเอสเจบีแบบอัตโนมัติโดยวิธีการวิเคราะห�เนื้อหาและการเรียนรู�แบบซัพพอร�ตเวคเตอร�แมชชีน” งบประมาณภายนอก: สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยีแห/งชาติ (สวทช), 1 มิ.ย. 2552 – 31 ธ.ค. 2554

โครงการวิจัย “เครื่องคัดเกรดมะม/วงโดยใช�เทคนิคการประมวลผลสัญญาณน้ําหนักแบบพลวัต” งบประมาณภายนอก: ศูนย�นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเก่ียว มหาวิทยาลัยเชียงใหม/, 27 ก.ย. 2553 – 26 ก.ย. 2554

โครงการวิจัย “การตรวจจับสกรูท่ีขันไม/สมบูรณ�โดยใช�เทคนิคการแบ/งแยก” งบประมาณภายนอก: สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยีแห/งชาติ (สวทช), 25 ก.พ. 2553 – 31 ส.ค. 2554

โครงการวิจัย “การพัฒนาอัลกอริทึมในการวัดค/าความถ่ีท่ีเวลาจริงของสัญญาณแรงดันแปรงถ/านของไดชารจ�” งบประมาณภายนอก: ฝ�ายอุตสาหกรรม สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 1 ก.พ. 2552 – 31 ม.ค. 2553

โครงการวิจัย “การพัฒนาอัลกอริทึมในการปรับตําแหน/งภาพรอยลายเส�นฐานปลอกกระสุนป�นแบบอัตโนมัติ” งบประมาณภายนอก: IRPUS สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 1 ก.พ. 2551 – 31 ม.ค. 2552

โครงการวิจัย “การลดสัญญาณรบกวนด�วยตัวกรองดิจิตัลแบบเรียบชนิดเอ็กซ�โพเนนเชียล” งบประมาณภายนอก: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) - สํานักงานส/งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย/อม (สสว.), 1 ต.ค. 2550 – 31 ก.ค. 2553

โครงการวิจัย “การหามุมเอียงท่ีเหมาะสมของแผงเซลล�แสงอาทิตย�สําหรับระบบผลิตไฟฟ�าด�วยแสงอาทิตย�แบบอิสระในจังหวัดพิษณุโลก” งบประมาณภายนอก: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) - สํานักงานส/งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย/อม (สสว.), 1 ต.ค. 2550 – 31 มี.ค. 2552

Page 89: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข4

โครงการวิจัย “การพัฒนาอัลกอริทึมในการตรวจเปรียบเทียบฐานปลอกกระสุนป�น” งบประมาณภายนอก: IRPUS สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 1 ก.พ. 2550 – 31 ม.ค. 2551

โครงการวิจัย “ระบบควบคุมแสงสว/างด�วยไมโครคอนโทรลเลอร�” งบประมาณภายนอก: IRPUS สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 1 ก.ค. 2549 – 30 เม.ย. 2550

โครงการวิจัย “ระบบรายงานการตรวจสอบคุณภาพไดชาร�จด�วยคอมพิวเตอร�” งบประมาณภายนอก: IRPUS สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 1 ก.ค. 2549 – 30 เม.ย. 2550

โครงการวิจัย "เครื่องควบคุมอากาศ” งบประมาณภายนอก: IRPUS สกว., 1 ก.ค. 2548 – 30 เม.ย. 2549 โครงการวิจัย "การแยกองค�ประกอบของเมตริกซ�ด�วยเทคนิคขนาดแอลวันนอร�ม” งบประมาณภายใน: เงิน

รายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 1 ต.ค. 2548 – 30 ก.ย. 2549 โครงการวิจัย "อัลกอริทึมสําหรับการวัดค/าสัญญาณท่ีเวลาจริงในระบบไฟฟ�ากําลัง” งบประมาณภายใน: เงิน

รายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 1 ต.ค. 2547 – 30 ก.ย. 2548 โครงการวิจัย "การประยุกต�ใช�คอมพิวเตอร�เพ่ือการทดสอบอุปกรณ�ควบคุมแรงดันในรถยนต�” งบประมาณ

ภายนอก: IRPUS สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 1 ก.ค. 2547 – 30 เม.ย. 2548 โครงการวิจัย "การจัดการระบบสารสนเทศสําหรับห�างหุ�นส/วนจํากัด เปรมชัยอุตสาหกรรม” งบประมาณ

ภายนอก: IRPUS สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 1 ก.ค. 2546 – 30 เม.ย. 2547 โครงการวิจัย "การจัดการเรียนรู�ของแหล/งการเรียนรู�ตลอดชีวิต: อุทยานวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี”

งบประมาณภายนอก: สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 1 เม.ย. 2547 – 31 ส.ค. 2547 โครงการวิจัย "การลดสัญญาณรบกวนในภาพถ/ายทางไกลโดยใช�วิธีแอลดีที” งบประมาณภายใน: เงินรายได�

มหาวิทยาลัยนเรศวร, 1 ต.ค. 2546 – 30 ก.ย. 2547 โครงการวิจัย "การจัดการการบํารุงรักษาโดยใช�คอมพิวเตอร�” งบประมาณภายใน: เงินรายได� มหาวิทยาลัย

นเรศวร, 1 ต.ค. 2546 – 30 ก.ย. 2548 โครงการวิจัย "การประเมินหาขนาดท่ีเหมาะสมของโรงไฟฟ�าเซลล�แสงอาทิตย�แบบต/อเข�าระบบจําหน/าย:

กรณีศึกษาโรงไฟฟ�าพลังงานแสงอาทิตย� จ.แม/ฮ/องสอน” งบประมาณภายนอก: กองทุนเพ่ือส/งเสริมการอนุรักษ�พลังงาน สํานักงานนโยบายและแผนพัฒนาพลังงาน, 1 ก.พ. 2546 – 31 ม.ค. 2548

โครงการวิจัย "การประยุกต�ใช�เทคนิคแอลวันนอร�มในการประมาณการข�อมูลดิสครีต” งบประมาณภายใน: เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 1 มิ.ย. 2545 – 30 ก.ย. 2546

โครงการวิจัย "การตรวจสอบลายนิ้วมือ” งบประมาณภายใน: เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 1 มิ.ย. 2545 – 30 ก.ย. 2546

ผลงานทางวิชาการ B. Tangdee, P. Muneesawang and S. Yammen, “Algorithm development for investigating

adapter cards,” submitted to Naresuan University Engineering Journal, 2013

Page 90: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข5

S. Yammen, and P. Muneeswang, “Cartridge case image matching using effective correlation area based method,” submitted to Forensic Science International, Elsevier, 2012

S. Bunchuen, U. Boonsri, P. Muneesawang and S. Yammen, "Detection Method for Corrosion on the Pole Tip”, Naresuan University Engineering Journal, Volume 6, Issue 2, 2011, pp. 1 - 8.

T. Fuangpian, P. Muneesawang and S. Yammen, "An Algorithm for Detection of Solder Balls on HGA," Naresuan University Journal, Special Issue, 2011, pp. 24 – 32.

C. Inyasri, S. Yammen and P. Chaiprasart, “Weight Estimation of Mangoes on Dynamic Weighing System by Using Modified Median Filter”, Agricultural Science Journal, Volume 42, Issue 3 (Special Issue), September - December 2011, pp. 446 - 449.

P. Ruangrit and S. Yammen, "Noise Reduction by Using an Exponential Smoothing Digital Filter”, Naresuan University Engineering Journal, Volume 5, Issue 2, 2010, pp. 28 - 36.

A. Sasitharanuwat, W. Rakwichain, N. Ketjoy and S. Yammen, , "Performance Evaluation of a 10 kWp PV power system prototype for isolated building in Thailand”, Elsevier Science: Renewable Energy, Volume 32, Issue 8, 2007, pp. 1288 - 1300.

S. Chokmaviroj, W. Rakwichian and S. Yammen, "Performance of 500 kWp grid connected photovoltaic system at Mae Hong Son Province”, Elsevier Science: Renewable Energy, Volume 31, Issue 1, 2006, pp. 19 - 28.

P. Thanarak, J. Schmid, W. Rakwichian, M. Chaowakul and S. Yammen, "Economic Evaluation of Photovoltaic Systems for Rural Electrification in Thailand," International Journal of Renewable Energy, Volume. 1, Number 2, 2006, pp. 45 - 54.

A. Sasitharanuwat, W. Rakwichian, N. Ketjoy and S. Yammen, "Design and Testing of a 10 kWp Standalone PV prototype for Future Community Grid Adapted for Remote Area in Thailand," International Journal of Renewable Energy, Volume. 1, Number 2, 2006, pp. 31 – 43.

L. H. Chew, W. Rakwichian, M. Sanguansermsri and S. Yammen, "Design, Fabrication and Monitoring of an Industrial-scale Solar Trough Collector at the Energy Park of Naresuan University," International Journal of Renewable Energy, Volume. 1, Number 2, 2006, pp. 7 - 14.

S. Yammen, "An Application of the Data Adaptive Linear Decomposition Transform in Transient Detection", Naresuan University Journal, Volume 11, Issue 3, 2003, pp. 1 – 7.

J. A. Cadzow and S. Yammen, "Data Adaptive Linear Decomposition Transform", Elsevier Science: Digital Signal Processing, Vol. 12, Issue 4, USA, 2002.

Page 91: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข6

S. Yammen, “Required Time for Participating Energy Saving in Industrial, Business and Public Sectors”, Naresuan University Engineering Journal, Volume 2, Issue 1, 2007, pp. 55 - 58.

S. Yammen, "Experience Obtained from IRPUS in Term of Lecturer Viewpoints", Thailand Research Fund Book, 2007, 4 pages.

V. Reupuritud, S. Yammen and N. Varanusarn, "Learning Management of Long-life Learning Sources: Science and Technology Park," (EIT. North 2) Thailand Engineering Journal, Vol. 1, Issue 1, 2005, pp. 24 - 30.

S. Yammen, "Participating Energy Saving in Industrial, Business Sectors", (EIT. North 2) Thailand Engineering Journal, Vol. 1, Issue 2, 2005, pp. 17 - 20.

S. Yammen, "Training Document in Distributed Computer Systems," Khang Khoi Plant, Siam Cement (Public) Co., Ltd, Thailand, 1992, 261 pages.

S. Yammen and C. Rityen, "Algorithms for the Completeness Detection of White Rice Grains," Proceedings of the 35th Electrical Engineering Conference, Royal Hills Golf Resort & Spa, Nakhon Nayok, Thailand, Volume II, December 12 - 14, 2012, pp. 901 - 904.

J. Jeamsaard, B. Tangdee, S. Yammen and P. Muneesawang, "Solder Joint and Styrofoam Bead Detection in HDD Using Mathematical Morphology," Proceedings of the 16th International Computer Science and Engineering Conference (ICSEC 2012), Garden Cliff Resort & Spa, Pattaya, Thailand, October 17 - 19, 2012, pp. 22.

S. Yammen, P. Muneesawang and B. Tangdee, “Styrofoam Bead Detection by Using Image Processing Techniques,” Proceedings of the 4th International Data Storage Conference, Impact Muang Thong Thani, Bangkok, Thailand, January 9 - 10, 2012, pp. 9 - 12.

P. Muneesawang, S. Yammen, T. Fuangpian and J. Ieamsaard, “Morphology-Based Automatic Visual Inspection for SJB Defect on HGA”, Proceedings of the 4th International Data Storage Conference, Impact Muang Thong Thani, Bangkok, Thailand, January 9 - 10, 2012, pp. 32 - 35.

S. Yammen, P. Muneesawang, U. Boonsri and S. Bunchuen, “An Effective Method for Corrosion Detection of the Pole Tip”, Proceedings of the 4th International Data Storage Conference, Impact Muang Thong Thani, Bangkok, Thailand, January 9 - 10, 2012, pp. 28 - 31.

S. Bunchuen, U. Boonsri, S. Yammen and P. Muneesawang, "Pole Tip Corrosion Detection Using Variuos Image Processing Techniques," Proceedings of the 2011 Pacific-Rim Conference on

Page 92: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข7

Multimedia (PCM 2011), University of Technology, Sydney, Australia, December 20 - 22, 2011, pp. 423 - 431.

S. Yammen, "Recursive Low-pass Frequency Discrimination Filter," Proceedings of the 34th Electrical Engineering Conference, Ambassador City Jomtien, Chonburi, Thailand, Volume II, November 30 - December 2, 2011, pp. 1021 - 1024.

U. Boonsri, S. Bunchuen, S. Yammen and P. Muneesawang, "Improved Median Filter for Corrosion Detection in the Lower Top Shield of the Poletip," Proceedings of the 34th Electrical Engineering Conference, Ambassador City Jomtien, Chonburi, Thailand, Volume II, November 30 - December 2, 2011, pp. 1025 - 1028.

S. Insawat and S. Yammen, “Algorithm Development with Identifying Specific Areas for Comparing of Shotgun Bullets”, Proceedings of the 7th Naresuan Research Conference, Naresuan University, Phitsanulok, July 29 – 30, 2011.

S. Bunchuen, U. Boonsri, S. Yammen and P. Muneesawang, “Application of Features for Detecting Corrosion of the Pole Tip”, Proceedings of the 7th Naresuan Research Conference, Naresuan University, Phitsanulok, July 29 – 30, 2011.

B. Tangdee, S. Yammen and P. Muneesawang, “Algorithm Development for Detecting Styrofoam Beads in the Adapter Card Image”, Proceedings of the 7th Naresuan Research Conference, Naresuan University, Phitsanulok, July 29 – 30, 2011.

C. Inyasri, S. Yammen and P. Chaiprasart, “Weight Estimation of Mangoes on Dynamic Weighing System by Using Modified Median Filter”, the 9th National Postharvest Technology Conference, Pattaya Park Beach Resort, Chonburi, Thailand, June 23 - 24, 2011.

S. Yammen, "lp Norm Optimum Polynomial Filter," Proceedings of the 33th Electrical Engineering Conference, Centara Duangtawan Hotel, Chiang Mai, Thailand, Volume II, December 1 - 3, 2010, pp.1313 - 1316.

S. Yammen, “Algorithm Development for Measuring a Real Time Frequency of Output Voltage of Dycharge,” Proceedings of the 6th Naresuan Research Conference 2010: Sustainable Ways of Living Based on a Sufficiency Economy, Naresuan University, Phitsanulok, July 29 – 31, 2010.

S. Yammen, "Optimum Feed-Back and Feed-Forward Linear Prediction Smooth Filter," Proceedings of the 32th Electrical Engineering Conference, Tawarawadee Resort Hotel, Prachinburi, Thailand, Volume II, October 28 - 30, 2009, pp.1127 - 1130.

Page 93: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข8

S. Phomprasit, S. Yammen and P. Thanarak, "Mathematical Model for Determination of the Electrical Energy of the Home Solar Panel," The 5th Conference on Energy Network of Thailand, Naresuan University, Phitsanulok, April 29 – May 1, 2009, pp.139.

S. Phomprasit, S. Yammen and P. Thanarak, "Determine Optimum Tilt Angles of Solar Cell Panels for a PV Stand Alone System in Phitsanulok, Thailand," Proceedings of the 3rd TRF - MAG Congress, Jomtien Palm Beach & Resort Hotel, Pattaya, Chonburi, April 1 - 3, 2009, pp.212 - 213.

P. Ruangrit and S. Yammen, "Noise Reduction by Using Exponential Smoothing Digital Filter," Proceedings of the 3rd TRF - MAG Congress, Jomtien Palm Beach & Resort Hotel, Pattaya, Chonburi, April 1 - 3, 2009, pp.214

S. Yammen and S. Wangthanarungrot, "Cross-covariance Matrix Analysis for Comparing of Shotgun Bullets," Proceedings of the 31st Electrical Engineering Conference, Spa and Golf Royal Hill Hotel, Nakhon Nayok, Thailand, Volume II, October 29 - 31, 2008, pp.1065 - 1068.

S. Yammen, S. Phomprasit and S. Wangthangnarungrot, "Determination of Energy Saving by Using a Lighting Control System with Microcontroller”, Proceeding of the 30th Electrical Engineering Conference, Volume 1, October 25 – 26, 2007, pp. 353 – 356.

S. Yammen, "Optimum Exponentail Trend Smoothing Filter”, Proceeding of the 30th Electrical Engineering Conference, Volume 2, October 25 – 26, 2007, pp. 705 – 708.

S. Yammen, S. Wangtanarungroj, and S. Tongjun, "Report Systems for Checking Dycharge Quality by Using a Computer," Proceedings of the 5th Thailand Research Fund Undergraduate Technology Development Exhibition, Bangkok, Thailand, April 20 - 22, 2007, pp. 179.

S. Yammen, P. Ruangrit, C. Pakut and P. Oranatpong, "A Ligthing Control System by Using a Microcontroller," Proceedings of the 5th Thailand Research Fund Undergraduate Technology Development Exhibition, Bangkok, Thailand, April 20 - 22, 2007, pp. 181.

S. Yammen and J.A. Cadzow, "Optimal Linear Trend Smoothing Filters”, Proceeding of the 29th Electrical Engineering Conference, Volume 2, November 9 – 10, 2006, pp. 917 – 920.

S. Chokmaviroj, W. Rakwichian and S. Yammen, “500 kWp Pabong Photovoltaic Grid-Connected System at Mae Hong Son”, Paper Abstracts of the 16th Conference of the Electrical Power Supply Industry, November 6 – 10, 2006, pp. 314.

Page 94: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข9

S. Yammen, and S. Depan, "Air Controller," Proceedings of the 4th Thailand Research Fund Undergraduate Technology Development Exhibition, Bangkok, Thailand, March 31 – April 2, 2006, pp. 68 - 69.

S. Chokmaviroj, W. Rakwichian and S. Yammen, "Performance and Economic Analysis of 500 kWp Photovoltaic Grid-Connected System at Mae Hong Son Province”, Proceeding of the 5th National Symposium on Graduate Research, October 11 – 12, 2005, pp. 263.

A. Seniwong Na Authaya, S. Yammen and W. Rakwichian, "Solar Thermal Energy Evaluation of a Parabolic Concentrator”, Proceeding of the 1st Conference on Energy Network of Thailand, May 11 – 12, 2005, pp. RE20.

S. Yammen, W. Runragsa and A. Pengsungnean, "An Application of a Computer for Testing a Volttage Regulator in a Car," Proceedings of the 3rd Thailand Research Fund Undergraduate Technology Development Exhibition, Bangkok, Thailand, May 1 – 3, 2005, pp. 274 - 275.

S. Yammen, "A LDT Noise Reduction Algorithm for Denoising in a digital Image”, Proceeding of the 27th Electrical Engineering Conference, Volume 2, November 11 – 12, 2004, pp. 209 – 212.

S. Yammen, K. Mongkonwat, A. Nunta and T. Wiangwiset, "Management Information System for Pramchai Industrial," Proceedings of the 2nd Thailand Research Fund Undergraduate Technology Development Exhibition, Bangkok, Thailand, April 30 – May 2, 2004, pp. 60 – 61.

หนังสือ

S. Yammen, S. Bunchuen, U. Boonsri, and P. Muneesawang, “The Era of Interactive Media: Pole tip corrosion detection using various image processing techniques”, Springer Publisher, New York, USA, 2012. (ISBN 978-1-4614-3500-6)

L. Wuttisittikulkij, S. Nakpeerayuth, P. Sedtheetorn, S. Yammen and seventeen co-authors, “Principles of Communications”, Chulalongkorn University Press, Bangkok, Thailand, 2011, (ISBN 978-974-03-2770-7)

V. Rurkpuritat, S. Yammen and N. Waranusast, “Research Report of Learning Management of Long-life Learning Resources: Science and Technology Park”, Bureau of Academic Affairs and Educational Standards, Office of Education Council, Ministry of Education,Thailand, July 2005, 126 pages. (ISBN 974-559-772-4)

S. Yammen, “A Data Dependent Linear Decomposition Transform”, Vanderbilt University Publisher, TN, USA, 2001, 332 pages.

Page 95: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข10

S. Yammen, “Segmentation of Tumors in MR Serial Scans Using a Non-Rigid Registration Method”, Vanderbilt University Publisher, TN, USA, 1998, 116 pages.

รางวัลและเกียรติคุณท่ีได�รับ

Honor Needle Award of the Engineering Institute from Thailand under H. M. the King's Patronage (EIT), 2012

Student Advisor Award from Naresuan University, 2010

Runner in Solar Cell for Self-Sufficient Community from the Ministry of Science and Technology, 2010

The 4th Invention Award from the PTT Public Company Limited, 2008

Best Paper Award, “Optimal Linear Trend Smoothing Filters”, Proceeding of the 29th Electrical Engineering Conference, Volume 2, November 9 – 10, 2006, pp. 917 – 920

Excellent Electrical Engineer Award from the Engineering Institute of Thailand under H. M. the King's Patronage (EIT), 2005

The 3rd Professional Vote for Information Technology and Communication from the Thailand Research Fund (TRF), 2005

Naresuan University Award for Excellence in Working, 2003

Naresuan University Faculty of Engineering Teaching Award, 2002

Royal Thai Scholarship to study Master and Ph.D. in Electrical Engineering at Vanderbilt University from Royal Thai Government

Second Class Honors, Bachelor’s Degree in Electrical Engineering, Chiang Mai University, 1988

First Class Rank Certificate in Electrical Engineering of Undergraduate level, Chiang Mai University, 1985 - 1988

Copper Medal Award for Outstanding Students, Chiang Mai University, 1987

Page 96: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข11

ผู�ช)วยศาสตราจารย� ดร.ยงยุทธ ชนบดีเฉลิมรุ)ง งานวิจัย โครงการระบบเตือนภัยน้ําท/วมฉับพลันในบริเวณพ้ืนท่ีเสี่ยงภัย, งบประมาณภายใน:งบประมาณแผ/นดิน,

2551–2553 ผลงานวิจัย Yongyut Chonbodeechalermroong and Sombat Chuenchooklin,“Flash Flood Warning

System in Risky Area,” 2011 International Conference on Electrical Engineering/Electronics, Computer, Thailand, 2011

Yongyut Chonbodeechalermroong, “Simple StarShared Channel (Simple Star SC)”, การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ�า ครั้งท่ี 26 (EECON-26), pp. 1587-1592, 2003

Yongyut Chonbodeechalermroong and Prof. P. L. Chu, “ANew Multihop Optical Network: Simple Star,” Optical Network Magazine, Vol. 3, Issue 4, July/August 2002

Telecommunications and Information Technology (ECTI-CON2011), accepted, 17-19 May 2011

Yongyut Chonbodeechalermroong and Prof. P. L. Chu,“Simple Star Multihop Optical Network,” IEEE Journal of Lightwave Technology,Vol.19, No.4, pp. 425-432, April 2001.

Prof. W. Surakampontorn , Y. Chonbodeechalermroong and S. Bunjongjit ; “An Analog Sinusoidal Frequency to Voltage Converter” , IEEE Trans. Instrumentation and Measurement, vol.40 , no.6 , pp. 925-929, Dec. , 1991.

ยงยุทธ ชนบดีเฉลิมรุ)ง และ วัลลภ สุระกําพลธร, “วงจรเปลี่ยนความถ่ีเป�นศักดาในแบบอนาลอก,” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ�า ครั้งท่ี 13, pp. 31 – 40, 1990.

หนังสือ Yongyut Chonbodeechalermroong, Fundamental Electronics, Chulalongkorn University Press, 2011, 236 Page

Page 97: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข12

ผู�ช)วยศาสตราจารย� ดร.ธนิต มาลากร งานวิจัย โครงการการประยุกต�ระบบเชิงเส�นหลายมิติ (SNMLS) ในการประมวลผลรูปภาพและทฤษฎีหลายมาตราส/วน,

งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2553-2554 โครงการการประยุกต�ทฤษฏีการควบคุมในโครงข/ายอุปทาน, งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัย

นเรศวร, 2552-2554 โครงการการประยุกต�ใช�ระเบียบวิธีเชิงตัวเลขในการวิเคราะห�การเงิน (Application of Numerical Method

on Financial Analysis) , งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2549-2550 ผลงานทางวิชาการ T. Marakorn. Applications of Minimax LQG Theory in Inventory Management Systems.

National Operations Research Conference 2010 (OR-NET 2010). Bangkok. Sept. 2010 Tanit MALAKORN. Time-Varying Structured Noncommutative Multidimensional Linear

Systems. 33rd Electrical Engineering Conference (EECON 33). Chiang Mai. Dec. 2010 T. Marakorn. System on Graph. (Oral Presentation). 13 th Annual Meeting in

mathematics 2008. Bangkok. May 2008 ธนิต มาลากร “ระบบเชิงเส�นหลายมิติและการประยุกต�” (Oral presentation) การประชุม

ทางวิชาการนเรศวรวิจัย ครั้งท่ี 4: การบริหารนวัตกรรม. ม.นเรศวร: พิษณุโลก. กรกฎาคม 2551 ธนิต มาลากร, “การคํานวณหาค/าความผันผวนในสินทรัพย�”, (Oral Presentation) การประชุมทางวิชาการ

นเรศวรวิจัย ครั้งท่ี 3: ความสําเร็จของการนําผลงานวิจัยไปใช�ประโยชน�. ม.นเรศวร: พิษณุโลก. กรกฎาคม 2550

J.A. Ball, G. Groenewald, and T. Malakorn, “Bounded Functions on Noncommutative Cartan Domains and Conservative Linear Systems with Evolution Along A Free Semigroup”, Proceedings of the 17th International Symposium on Mathematical Theory of Networks and Systems (MTNS06) CD-ROM, Kyoto, Japan, July 24-28, 2006

J.A. Ball, G. Groenewald, and T. Malakorn, “Robust control for Structured Noncommutative Multidimensional Linear Systems”, Proceedings of the 17th International Symposium on Mathematical Theory of Networks and Systems (MTNS06) CD-ROM, Kyoto, Japan, July 24-28, 2006

J.A. Ball, G. Groenewald, and T. Malakorn, “Bounded Real Lemma for Structured Noncommutative Multidimensional Linear Systems and Robust Control”, Multidimensional System and Signal Processing, 17 , 2006, 119-150.

Page 98: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข13

Joseph A. Ball, Gilbert J. Groenewald, T. Malakorn: Structured Noncommutative Multidimensional Linear Systems. SIAM J. Control and Optimization 44(4): pp.1474-1528, 2005

J.A. Ball, G. Groenewald, and T. Malakorn, “Conservative Structured Noncommutative Multidimensional Linear Systems”, in Linear Operators and Linear Systems (Ed. D. Alpay and I. Gohberg), Operator Theory: Advances and Applications, 161, 179-223, Birkhauser Verlag, Basel, 2005

Page 99: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข14

รองศาสตราจารย� ดร.ไพศาล มุณีสว)าง งานวิจัย โครงการการแสดงผลการค�นหาไฟล�มัลติมีเดียแบบ 3 มิติ, งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร,

2552-2554 โครงการการตรวจจับตําหนิจากเครื่องเอสเจบีแบบอัตโนมัติโดยวิธีการวิเคราะห�เนื้อหาและการเรียนรู�แบบซัฟฟอร�ต

เวคเตอร�แมชชีนม, งบประมาณภายนอก:ศูนย�ฯ HDD(ขอนแก/น), 2552-2554 ผลงานทางวิชาการ U. Phromsuwan, C. Sirisathitkul, Y. Sirisanthitkul, B. Uyyanonvara, P.Muneesawang.

“Application of image processing to determine size distribution of magnetic nanoparticles,” Journal of Magnetics, 2013

U. Phromsuwan, Y. Sirisanthitkul, C. Sirisathitkul, P. Muneesawang, B. Uyyanonvara, “SEM image processing of X-ray lithographic patterned holes,” submitted to Journal of Central South University, 2012

P. Muneeswang, S. Yammen, and S. Insawat, “Cartridge case image matching using effective correlation area based method,” submitted to Forensic Science International, Elsevier, 2012

J. Ieamsaard, B. Tangdee, S. Yammen, P. Muneesawang, “Solder joint and Styrofoam bead detection in HDD using mathematical morphology,” International Computer Science and Engineering Conference, Pattaya, Thailand, Oct. 18-19, 2012

S. Yammen, P. Muneesawang and B. Tangdee, "Styrofoam bead detection by using image processing techniques," The 4th International Data Storage Conference, Bangkok, Thailand, Jan. 9-10, 2012

P. Muneesawang, S. Yammen, T. Fuangpian and J. Ieamsaard, "Morphology-based automatic visual inspection for SJB defect on HGA," The 4th International Data Storage Conference, Bangkok, Thailand, Jan. 9-10, 2012

S. Bunchuen, U. Boonsri, P. Muneesawang, and S. Tammen, Detection method for corrosion on the pole tip, Naresuan University Engineering Journal, pp. 1-8, Vol. 6, 2011

T. Fuangpian, P. Muneesawang, S. Yammen, “An algorithm for detection of solder balls on HGA”, Naresuan University Journal, pp. 24-32, 2011

Page 100: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข15

P. Muneesawang, F. Wu, I. Kumazawa, K. Yap, and H.M. Liao (Editors), "Advances in multimedia computing, communications and applications", Journal of Signal Processing Systems, Springer, pp.1-3, 2011

S. Bunchuen, U. Boonsri, S. Yammen and P. Muneesawang, "Pole tip corrosion detection using various image processing Techniques," Pacific-Rim Conference on Multimedia, Sydney, Australia, Dec. 20-22, 2011

U. Boonsri, S. Bunchuen, S. Yammen and P. Muneesawang,“Improved median filter for corrosion detection in the lower top shield of the pole tip,” The 34th Electrical Engineering Conference, Pataya, Thailand, Nov. 30-Dec. 2, 2011

S. Bunchuen, U. Boonsri, S. Yammen and P. Muneesawang, “Application of features for detecting corrosion of the Pole Tip,” The 7th Naresuan Research Conference, Phisanulok, Thailand, July 29-30, 2011

S. Yammen, P. Muneesawang and B. Tangdee, “The development of method for detection of Styrofoam bead, The 7th Naresuan Research Conference, Phisanulok, Thailand, July 29-30, 2011

P. Muneesawang, L. Guan, and T. Amin, “A New Learning Algorithm for the Fusion of Adaptive Audio–Visual Features for the Retrieval and Classification of Movie Clips,” Journal of Signal Processing Systems, Springer, Vol. 59, pp. 177-188, 2010

K. Sotakarn, M. Augkho, S. Saroge, and P. Muneesawang, “Content based video retrieval on P2P network by using adaptive model,” The 32rd Electrical Engineering Conference, Thailand, Oct. 28-30, 2009

N. Chomyong, P. Sarnchart, and P. Muneesawang, “An algorithm for automatic video Segmentation,” The 32rd Electrical Engineering Conference, Thailand, Oct. 28-30, 2009

L. Guan, , P. Muneesawang, Y. Wang, R. Zhang, Y. Tie, A. Bulzacki, M.T. Ibrahim, “Multimedia multimodal methodologies,” IEEE International Conference on Multimedia and Expo, pp. 1600-1603, Jun. 28-Jul. 3 2009

I. Lee and P. Muneesawang, "Reducing Manual Feedback in a Distributed CBIR System", Pacific Rim Conference on Multimedia, Bangkok, Thailand, pp.943-948, Dec. 15-18, 2009

Page 101: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข16

P. Muneesawang and L. Guan, “SVM-based decision fusion model for detecting concepts in films,” IEEE International Conference on Information, Communications, and Signal Processing, Singapore, Dec. 2007

P. Pongcharoen, S. Kaitwanidvilai, P. Muneesawang, W. Chainate, “Improving Hopfield Neural Network performance and parameters investigation,” KMITL International Conference on Science and Applied Science 2006, Mar. 2006

J. A. Lay, P. Muneesawang, T. Amin and L. Guan, “Assessing semantic relevance by using audiovisual clues,” International Journal of Information and Systems Sciences, Vol. 3, No. 3, pp. 420-427, 2007

L. Guan, Horace H. S. Ip, Paul H. Lewis, Hau-San Wong, and P.Muneesawang (Editors), Information Mining from Multimedia Databases” Special Issue, EURASIP Journal on Applied Signal Processing, 2006

W. Chainate, Peeraya Thapatsuwan, S. Kaitwanidvilai, P.Muneesawang, P. Pongcharoen, “Improving hopfield neural network performance and parameters investigation,” KMITL Science Journal, pp. 266-273, May.-Dec. 2006

M. J. Kyan, K. Jarrah, P. Muneesawang, and L. Guan, “Self organizing threes & forests strategy for unsupervised multimedia processing, IEEE Computational Intelligence Magazine, pp. 27- 40, Vol. 1, Issue 2, 2006

I.Lee, P. Muneesawang, and L. Guan, “Automatic Relevance Feedback for Distributed Content-Based Image Retrieval” International Journal on Graphics, Vision and Image Processing, ISSN: 1687-398X, Vol. 4, March 2005

P. Muneesawang and L. Guan, “Video retrieval using an adaptive video indexing and automatic relevance feedback,” IEEE Trans. on Circuits and Systems on Video Technology, Vol. 15, No. 8, pp.1032-1046, August 2005

P. Muneesawang, and L. Guan, “Using Knowledge of the region of interest (ROI) in automatic image retrieval learning,” International Joint Conference on Neural Networks (IJCNN05), Montreal, Canada, Aug. 2005

P. Muneesawang, T. Amin and L. Guan, “Audio visual cues for video indexing and retrieval,” Advances in Multimedia Information Processing - PCM 2004, 5th Pacific Rim Conference on Multimedia, Tokyo, Japan, pp. 642-649, Nov. 30-Dec. 3, 2004

P. Muneesawang and L. Guan, “iARM─An interactive video retrieval system” Proc. IEEE Int. Conf. on Multimedia and Expo, Taiwan, June 2004

Page 102: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข17

K. Jarrah, P. Muneesawang, I. Lee, and L. Guan, “Minimizing human-machine interactions in automatic image retrieval”, Proc. IEEE Canadian Conf. on Electrical and Computer Engineering, Niagara Falls, Canada, May 2004

P. Muneesawang and L. Guan, “An interactive approach for CBIR using a network of radial basis functions,” IEEE Trans. on Multimedia, Vol. 6, No. 5, pp703-716, October 2004

L. Guan, P. Muneesawang, J. Lay, I. Lee and T. Amin, "Recent advancement in indexing and retrieval of visual documents," The 9th Int. Conf. on Distributed Multimedia Systems, Florida, USA, Sep., 2003

P. Muneesawang and L. Guan, “Image retrieval with embedded sub-class information using Gaussian mixture models” Proc. IEEE Int. Conf. on Multimedia and Expo, Maryland, USA, pp. 769-772, vol.1, July 2003

P. Muneesawang and L. Guan, “Automatic relevance feedback for video retrieval,” Proc. IEEE Int. Conf. on Acoustics, Speech, and Signal Processing, Hong Kong, pp. 1-4, vol. 3, April 2003

P. Muneesawang and L. Guan, “Video retrieval using an adaptive video indexing technique and automatic relevance feedback,” Proc. IEEE Int. Workshop on Multimedia Signal Processing, Virgin Islands, USA, pp. 220-223, Dec. 2002

P. Muneesawang and L. Guan, “Minimizing user interaction by automatic and semiautomatic relevance feedback for image retrieval,” Proc. IEEE Int. Conf. on Image Processing, New York, USA, pp. 601-604, vol.2, Sept. 2002

P. Muneesawang and L. Guan, “Automatic machine interactions for content-based image retrieval using a self-organizing tree map architecture,” IEEE Trans. on Neural Networks, Vol. 13, no. 4, pp.821-834, July 2002

P. Muneesawang and L. Guan, “Automatic similarity learning using SOTM for CBIR of the WT/VQ coded images,” Proc. IEEE Int. Conf. on Image Processing, Thessaloniki, Greece, pp. 749-752, vol. 2, Oct. 2001

P. Muneesawang and L. Guan, “A neural network approach for learning image similarity in adaptive CBIR,” Proc. IEEE Int. Workshop on Multimedia Signal Processing, Cannes, France, pp. 257-262, Oct.2001

P. Muneesawang and L. Guan, “Interactive CBIR using RBF-based relevance feedback for WT/VQ coded images,” Proc. IEEE Int. Conf. on Acoustics, Speech, and Signal Processing, Salt Lake City, USA, pp. 1641-1644, vol. 3, May 2001

Page 103: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข18

J.A. Lay, P. Muneesawang and L. Guan, “Multimedia information retrieval,” Proc. IEEE Canadian Conf. on Electrical and Computer Engineering, Toronto, Canada, pp. 619-624, vol. 1, May 2001

P. Muneesawang and L. Guan, “An nonlinear RBF model for interactive content-based image retrieval,” The First IEEE Pacific-Rim Conf. on Multimedia, pp. 188-191, Sydney, Australia, Dec. 2000

P. Muneesawang and L. Guan, “An interactive approach using nonlinear RBF for content-based image retrieval of the JPEG database,” The First IEEE Pacific-Rim Conf. on Multimedia, pp. 346-349, Sydney, Australia, Dec. 2000

P. Muneesawang and L. Guan, “Multiresolution-histogram indexing and relevance feedback learning for image retrieval,” Proc. IEEE Int. Conf. on Image Processing, Vancouver, Canada, vol. 2, pp. 526-529, Sept. 2000

หนังสือ P. Muneesawang, F. Wu, I. Kumazawa, A. Roeksabutr, M. Liao, X. Tang, (Eds.), Advances in

Multimedia Information Processing - PCM 2009, Springer, ISBN: 978-3-642-10466-4, 2009

P. Muneesawang and L. Guan, Multimedia Database Retrieval: A Human Centered Approach, ISBN 978-0-387-34629-8 Springer, 2006

Page 104: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข19

ผู�ช)วยศาสตราจารย� ดร.พนมขวัญ ริยะมงคล งานวิจัย โครงการการบีบอัดคลื่นไฟฟ�าของหัวใจจากคุณลักษณะของกลุ/มรวมคิวอาร�เอส, งบประมาณภายใน:เงินรายได�

มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552 โครงการการตรวจจับและบันทึกการเคลื่อนท่ีของวัตถุ, งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร,

2550

ผลงานทางวิชาการ C. Sopavanit, T. Desudchit, and P. Riyamongkol. Wireless and Wearable EKG Device with

Lossless Compression for On-Line Post-Surgery Heart Monitoring System. proceedings of the 2008 IEEE international conference on robotics and biomimetic, pp. 1218-1223, 2008

พนมขวัญ ริยะมงคล. ระบบการบันทึกวัตถุเคลื่อนท่ีเวลาจริง. วารสารวิศวกรรมศาสตร� มศว, 3(1),หน�า 34-41, 2551

P. Riyamongkol and W. Zhao. The Hopfield neural network model for solving affine transformation parameters in the correlation method. proceedings of the 2006 IEEE region 5 conference, pp.249-253, 2006

L. Belayev, I. Saul, K. Curbelo, R. Busto, A. Belayev, Y. Zhang, P. Riyamongkol, W. Zhao, MD. Ginsberg: Experimental intracerebral hemorrhage in the mouse: histological, behavioral and hemodynamic characterization of a double-injection model, Stroke, vol. 34, no. 9, pp. 2221-2227, 2003.

P. Riyamongkol, W. Zhao, Y. Liu, L. Belayev, R. Busto and MD. Ginsberg, Automated registration of laser Doppler perfusion images by an adaptive correlation approach: application to focal cerebral ischemia in the rat, Journal of Neuroscience Methods, vol. 122, issue 1, pp. 79-90, 2002.

L. Belayev, E. Pinard, H. Nallet, J. Seylaz, Y. Liu, P. Riyamongkol, W. Zhao, R. Rusto and MD. Ginsberg, Albumin therapy of transient focal cerebral ischemia: in vivo analysis of dynamic microvascular responses, Stroke, vol. 33, no. 4, pp. 1077-1084, 2002.

W. Zhao, P. Riyamongkol, Y. Liu, and other, Brain '01 Session 21 Microcirculation - (Monday 13:30, Poster) - Automatic registration of laser-Doppler images by an adaptive correlation approach: Application to MCA occlusion, Journal of cerebral blood flow

Page 105: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข20

and metabolism : official journal of the International Society of Cerebral Blood Flow and Metabolism, vol. 21, no. 1, S219, 2001.

Page 106: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข21

ผู�ช)วยศาสตราจารย� ดร.สุรเชษฐ� กานต�ประชา งานวิจัย โครงการการวิเคราะห�ผลตอบสนองทางความถ่ีเชิงขนาดของใยแก�วนําแสงประเภทหลายโหมด ณ ย/านความยี่

สูง โดยอาศัยการหน/วงเวลาของแต/ละโหมดท่ีมีการแจกแจงทางสถิติแบบเกาส�เซียน, งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2555

โครงการประสิทธิภาพในการตรวจจับภาพรถโดยระบบสีแบบ HSV : กรณีในการประยุกต�ใช�กับระบบจอดรถ, งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552

โครงการประสิทธิภาพของระบบซีดีเอ็มเอแบบไดเร็กซีเควนซ�ท่ีมีการเข�ารหัส งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552

โครงการการวิเคราะห�ระบบซีดีเอ็มเอแบบไดเร็กซีเควนซ�, งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2551

โครงการประสิทธิภาพในการตรวจับภาพรถโดยอาศัยระบบสีแบบRGB และ HSV: กรณีในการประยุกต�ใช�กับระบบจอดรถ, งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2550

โครงการระบบขนส/งมวลชนรถไฟฟ�าอัจฉริยะแบบตามเวลาจริงโดยการใช�การเชื่อมต/อสื่อสารแบบไร�สาย : กรณีศึกษาระบบบริการรถไฟฟ�า มหาวิทยาลัยนเรศวร, งบประมาณภายใน:งบประมาณแผ/นดิน, 2550

โครงการป�ายหยุดรถอัจฉริยะ : กรณีศึกษาระบบบริการรถไฟฟ�า มหาวิยาลัยนเรศวร, งบประมาณแผ/นดิน, 2550

โครงการเครื่องอัดประจุไฟฟ�าแบตเตอรี่จากพลังงานแสงอาทิตย�สําหรับรถไฟฟ�า มหาวิทยาลัยนเรศวร ควบคุมระบบโครงข/ายประสาทเทียม, งบประมาณภายใน:งบประมาณแผ/นดิน, 2549

โครงการสํารวจความพึงพอใจของลูกค�า การไฟฟ�าฝ�ายผลิตแห/งประเทศไทย, งบประมาณภายนอก:การไฟฟ�าฝ�ายผลิตแห/งประเทศไทย(กฟผ.), 2552

โครงการการพัฒนาระบบตรวจจับวิทัศน�แบบอัตโนมัติสําหรับเฟรคท่ีหุ�มฟ�ล�มแล�ว, งบประมาณภายนอก:ศูนย�ฯ ฮาร�ดดิสก�ไดร�ฟ /มจธ., 2552

โครงการการวิเคราะห�และการคัดสรรความถ่ีพาห�ท่ีเหมาะสมท่ีสุดสําหรับระบบส/งสัญญาณร/วมด�วยสัญญาณพาห�ย/อยบนสายใยแก�วนําแสงประเภทหลายโหมดโดยอาศัยกระบวนการทางพันธุศาสตร� , งบประมาณภายนอก:สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2552

โครงการการพัฒนาระบบฐานข�อมูลอิเล็กทรอนิกส�เพ่ือใช�ระบุตัวผู�ป�วยโดยใช�เทคโนโลยีสแกนลายนิ้วมือ โรงพยาบาลวชิรบารมี จังหวัดพิจิตร, งบประมาณภายนอก:สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยีแห/งชาติ (สวทช.), 2552

Page 107: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข22

โครงการการพัฒนาโปรแกรมส/งข�อความสั้น เพ่ือการบริหารยาได�ตรงเวลาสําหรับผู�ป�วย : กรณีศึกษาโรงพยาบาลวชิรบารมี จังหวัดพิจิตร, งบประมาณภายนอก:สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยีแห/งชาติ (สวทช.), 2551

โครงการการพัฒนาระบบฐานข�อมูลอิเล็กทรอนิกส�เพ่ือใช�ระบุตัวผู�ป�วยโดยใช�เทคโนโลยีสแกนลายนิ้วมือ โรงพยาบาลวชิรบารมี จังหวัดพิจิตรงบประมาณภายนอก:สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยีแห/งชาติ (สวทช.), 2551

ผลงานทางวิชาการ S. Kanprachar, W. Naku, and I. Ngamroo, “High Frequency Characteristics of Multimode

Fibers with Rayleigh Distributed Mode Delays,” IEANG Transactions on Engineering Technologies, Vol.7, February 2012, pp. 403 – 413.

S. Kanprachar, “Effects of Bandpass Bandwidth in Bit-Rate and Distance of Subcarrier Multiplexing on Multimode Fiber,” The 11th International Conference on Optical Communications and Networks 2012 (ICOCN 2012), Pattaya, Chonburi, Thailand, November 28 – 30, 2012

S. Kanprachar and I. Ngamroo, “BER of Subcarrier Multiplexing on Multimode Fiber with Suitable Subcarriers Designed by Genetic Algorithm,” The 27th International Technical Conference on Circuits/Systems, Computers and Communications (ITC-CSCC2012), Sapporo Convention Center, Sapporo, Japan, July 15 – 18, 2012

W. Naku, C. Pinthong, and S. Kanprachar, “Analysis of Multimode Fiber Bandpass Characteristics using Gaussian Distributed Delays,” ECTI-CON 2012, Hua Hin, Thailand, May 16-18, 2012

K. Thongyoun, A. Seanton, S. Kaitwanidvilai, and S. Kanprachar, “Design of Optimal Image Filter for High Band Noise: Application to an Automatic Visual Inspection System,” TRS Conference on Robotics and Industrial Technology 2011 (CRIT-2011), Bangkok, Thailand, May 27 – 28, 2011

W. Naku, C. Pinthong, and S. Kanprachar, “Characteristics of Multimode Fibers at High Frequency Region using Gaussian Distribution,” ECTI-CON 2011, Khon Kaen, Thailand, May 17-19, 2011

Page 108: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข23

P. Benprom, C. Pinthong, and S. Kanprachar, “Analysis of Convolutional Coded Direct Sequence Spread Spectrum CDMA System with a BPSK Jamming Signal,” ECTI-CON 2011, Khon Kaen, Thailand, May 17-19, 2011

C. Pinthong and S. Kanprachar, “Analysis of the Tapered Discontinuity in a Planar Dielectric Waveguide,” ECTI-CON 2011, Khon Kaen, Thailand, May 17-19, 2011

K. Thongyoun, A. Seanton, S. Kaitwanidvilai, and S. Kanprachar, “Gaussian Filter Design for A Copper Trace Inspection using Particle Swarm Optimization Approach,” The 5th PSU-UNS International Conference on Engineering and Technology (ICET-2011), Phuket, Thailand, May 2-3, 2011

W. Naku, C. Pinthong, and S. Kanprachar, “Characteristics of Multimode Fibers at High Frequency Region using Rayleigh Distribution,” International MultiConference of Engineers and Computer Scientists 2011 (IMECS 2011), Hong Kong, March 16 – 18, 2011

K. Thongyoun, A. Seanton, S. Kaitwanidvilai, and S. Kanprachar, “Design of a Gaussian Filter based on Particle Swarm Optimization for Automatic Visual Inspection System,” International MultiConference of Engineers and Computer Scientists 2010 (IMECS 2010), Hong Kong, March 17 – 19, 2010

P. Olarthichachart, S. Kaitwanidvilai, and S. Kanprachar, “Trip Frequency Scheduling for Traffic Transportation Management based on Compact Genetic Algorithm,” International MultiConference of Engineers and Computer Scientists 2010 (IMECS 2010), Hong Kong, March 17 – 19, 2010

S. Pimoaub, S. Kaitwanidvilai, and S. Kanprachar, “Development of Patients Identification Database Program by Fingerprint Technique,” The 1st International Conference on Health Services Delivery Management, Topland Hotel, Phitsanulok, Thailand, October 14 – 16, 2009

P. Benprom, C. Pinthong, and S. Kanprachar, “Analysis of Direct Sequence Spread Spectrum CDMA System with a BPSK Jamming Signal,” The International Conference of Science, Technology and Innovation for Sustainable and Well-Being 2009 (STISWB 2009), Pullman Raja Orchid Hotel, Khon Kaen, Thailand, July 23 – 24, 2009

S. Tangkawanit and S. Kanprachar, “Electric Vehicle Sensoring System using Infrared Array Detectors,” The International Conference of Science, Technology and Innovation for

Page 109: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข24

Sustainable and Well-Being 2009 (STISWB 2009), Pullman Raja Orchid Hotel, Khon Kaen, Thailand, July 23 – 24, 2009

P. Benprom, C. Pinthong, I. Ngamroo, S. Kaitwanidvilai, and S. Kanprachar, “Suitable Subcarrier Design for Subcarrier Multiplexing on Multimode Fiber by Parallel Genetic Algorithm,” The 24th International Technical Conference on Circuits/Systems, Computers and Communications (ITC-CSCC2009), Jeju KAL Hotel, Jeju, Korea, July 5 – 8, 2009

S. Tangkawanit and S. Kanprachar, “Performance of HSV Color System in Vehicle Detection Application under Different Illumination Intensities,” The 24thInternational Technical Conference on Circuits/Systems, Computers and Communications (ITC-CSCC2009), Jeju KAL Hotel, Jeju, Korea, July 5 – 8, 2009

S. Kaitwanidvilai, S. Kanprachar, et al., “A Modified Edge Detection for Bump Inspection using Genetic Algorithms,” 2008 IEEE International Conference on Robotics and Biomimetics (ROBIO 2008), Bangkok, Thailand, February 22 – 25, 2009

S. Tangkawanit and S.Kanprachar, “Design of Fuzzy Logic Control for Hard Disk Drive’s Arm Bending Machine”, Khon Kaen University Journal, Vol.13, No.3, April 2008, pp. 311 – 316.

S. Pimoaub, S. Kaitwanidvilai, and S. Kanprachar, “Development of Short Message Service System Program for Alerting Patients about Drug Administration and Medical Activities”, The 4th Naresuan Research Conference, Naresuan University, Phitsanulok, Thailand, July 28 – 29, 2008

S. Tangkawanit, S. Kaitwanidvilai, and S. Kanprachar, “Improvement of Hard Disk Drive’s Arm Bending Machine using Fuzzy Logic,” The 23rd International Technical Conference on Circuits/Systems, Computers and Communications (ITC-CSCC2008), Shimonoseki, Japan, July 6 – 9, 2008

S. Tangkawanit and S. Kanprachar, “Design of Fuzzy Logic Control for Hard Disk Drive’s Arm Bending Machine,” The 1st International Data Storage Technology Conference (DST-CON 2008), Bangkok, Thailand, April 21 – 23, 2008

S. Tangkawanit and S. Kanprachar, “Expected Force Profile for HDD Bearing Installation Machine,” ECTI Transactions on Electrical Engineering, Electronics, and Communications (ECTI-EEC), Vol.5, No.2, August 2007: pp.91 – 95.

Page 110: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข25

S. Kanprachar, A. Seanton and S. Kaitwanidvilai, “A Nondestructive Bump Inspection in Flip Chip Component using Fuzzy Filtering and Image Processing,” ECTI Transactions on Electrical Engineering, Electronics, and Communications (ECTI-EEC), Vol.5, No.2, August 2007: pp.103 – 108.

S. Tangkawanit and S. Kanprachar, “Expected Force Profile for HDD Bearing Installation Machine,” NSTDA Annual Conference 2007 (NAC 2007), NECTEC, Thailand, March 28 – 30, 2007

S. Tangkawanit and S. Kanprachar, “Performance of RGB and HSV Color Systems in Object Detection Applications under Different Illumination Intensities,” International MultiConference of Engineers and Computer Scientists 2007 (IMECS 2007), Hong Kong, March 21 – 23, 2007

S. Kaitwanidvilai and S. Kanprachar, “Harmonic Reduction in AC CycloConverter using a Genetic Algorithms,” International Conference on Electromagnetic Compatibility 2005 (ICEMC 2005), Phuket, Thailand, July 27 – 29, 2005

S. Kaitwanidvilai and S. Kanprachar, “Compact Genetic Algorithm Based Fuzzy Controller,” Fourth Asian Conference on Industrial Automation and Robotics 2005 (ACIAR 2005), Bangkok, Thailand, May 11-13, 2005

S. Kanprachar and S. Kaitwanidvilai, “Design of Suitable Subcarriers in Subcarrier Multiplexing on Multimode Fiber by Genetic Algorithm,” ECTI-CON 2005, Chonburi, Thailand, May 12-13, 2005

S. Kanprachar, “Effects of subcarriers and bandpass bandwidth to bit-rate and distance of multimode fiber,” Eighth International Symposium on Contemporary Photonics Technology 2005 (CPT 2005), Tokyo, Japan, January 12-14, 2005

S. Kanprachar, “Comparisons of USDC (IS-54) and GSM,” Naresuan University Journal, September-December 2004

S. Kanprachar and I. Jacobs, “Bit-rate and distance limitations of subcarrier multiplexing on multimode fiber,” Conference of Lasers and Electro Optics 2003 (CLEO 2003), Baltimore, MD, June 1-6, 2003

S. Kanprachar and I. Jacobs, “Diversity coding for subcarrier multiplexing on multimode fibers,” IEEE Transactions on Communications, Vol.51, No.9, September 2003. [Impact Factor = 1.490]

Page 111: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข26

S. Kanprachar and I. Jacobs, “Bandpass Transmission Characteristics of Multimode Fiber,” Optics in the Southeast Meeting 2001, October 4-5, 2001.

V. Wongpaibool, S. Kanprachar, K. Shaw, and I. Jacobs, “Improvement of Fiber Optic System Performance by Synchronous Phase Modulation and Filtering at the Transmitter,” Optics in the Southeast Meeting 2001, October 4-5, 2001.

หนังสือ S. Kaitwanidvilai, A. Jangwanitlert, I. Ngamroo, W. Khanngern, and S. Karnprachar . Fixed

structure robust loop shaping controller for a buck-boost converter using evolutionary algorithm. Trends in Communication Technologies and Engineering Science, Series: Lecture Notes in Electrical Engineering (LNEE), Springer, 2009

รางวัลและเกียรติคุณท่ีได�รับ Excellent Research Oral Presentation, “Performance of Subcarrier Multiplexing on Multimode

Fiber using Parallel Genetic Algorithm in Designing Suitable Subcarriers”, the 10th Thailand Research Fund (TRF) Meeting, 14 – 16 October 2010, Cha-Am, Thailand., 2010

Best Presentation Paper, “Design of Suitable Subcarriers in Subcarrier Multiplexing On Multimode-Fiber by GA”, Electrical Engineering/ Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology International Conference (ECTI-CON2005), 12-13 May 2005, Chonburi, Thailand., 2005

Four Academic Excellence Certificates (from 1993 to 1996) of Undergraduate level, Chulalongkorn University, 1993-1996

Royal Thai Scholarship to study Master and Ph.D. in Electrical Engineering at Virginia Tech from Royal Thai Government

First Class Honors, Bachelor’s Degree in Electrical Engineering (Communications), Chulalongkorn University

Page 112: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข27

ดร.นิพัทธ� จันทรมินทร� ผลงานวิจัย N. Jantharamin, Maximum-Power-Point Approximation for Photovoltaic Arrays, Naresuan

University Engineering Journal (NUEJ) vol. 7, no. 1, pp. 37-42, 2012. P. Thongbuaban and N. Jantharamin, New switch-control technique for multiphase

interleaved converters with current sharing and voltage regulation, 2011 International Conference on Electrical Machines and Systems (ICEMS 2011), 2011.

N. Jantharamin and L. Zhang,. Model-based maximum power point tracking, The 7th International Conference on Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology (ECTI-CON 2010), 2010.

N. Jantharamin and L. Zhang, Analysis of multiphase interleaved converter by using state-space averaging technique, The 6th International Conference on Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology (ECTI-CON 2009), 2009.

N. Jantharamin and L. Zhang, Control of a two-phase bi-directional interleaved converter for maximum power point tracking, The 11th International Conference on Electrical Machines and Systems (ICEMS 2008), 2008.

N. Jantharamin and L. Zhang, A new dynamic model for lead-acid batteries, IET 4th International Conference on Power Electronics, Machines and Drives (PEMD 2008), 2008.

บทความทางวิชาการ N. Jantharamin, Maximum-Power-Point Approximation for Photovoltaic Arrays, Naresuan

University Engineering Journal (NUEJ) vol. 7, no. 1, pp. 37-42, 2012. หนังสือ การวิเคราะห�วงจรไฟฟ�าพ้ืนฐาน: ทฤษฎีและปฏิบัติการ, พ.ศ. 2546 (ISBN: 9747195526) รางวัลและเกียรติคุณท่ีได�รับ Royal Thai Government scholarship for the Ph.D. study in Electrical Engineering at the

University of Leeds, England.

Page 113: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข28

Ministry of Energy (Thailand) scholarship for the Master study in Electrical Engineering at the University of Kassel, Germany.

Page 114: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข29

ผู�ช)วยศาสตราจารย� ดร.สมพร เรืองสินชัยวานิช

งานวิจัย โครงการการวินิจฉัยความผิดปกติของอินดักชั่นมอเตอร�ท่ีใช�ในกระบวนการสีข�าวของโรงสีข�าว, งบประมาณ

ภายใน:งบประมาณแผ/นดิน, 2554 โครงการวิเคราะห�ความผิดปกติของมอเตอร�ไฟฟ�าขณะทํางาน, งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัย

นเรศวร, 2552 โครงการการวิเคราะห�ผลกระทบของแรงดันแหล/งจ/ายต/อประสิทธิภาพของมอเตอร�ไฟฟ�า, งบประมาณภายใน:

เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552 โครงการการจําลองแบบ Intelligent-Bus (i-bus) ในระบบควบคุมแสงสว/าง, งบประมาณภายใน:เงินรายได�

มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2551 โครงการการวางแผนควบคุมไฟจราจรแยกโคกมะตูมอย/างเหมาะสมท่ีสุด, งบประมาณภายใน:เงินรายได�

มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2550 โครงการการใช�แบตเตอร�รีให�เกิดประโยชน�สูงสุด, งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2549 เครื่องดึงกระดูกสันหลังไฟฟ�าด�วยฟ�ซซีลอจิก, งบประมาณภายใน:งบประมาณแผ/นดิน, 2555 โครงการเครื่องควบคุมอุณหภูมิสําหรับทดสอบเรโซแนนซ�ในฮาร�ดดิสก�ไดร�ฟ ควบคุมโดยไอพีดี ศู น ย� ร/ ว ม

เฉพาะทางด�านส/วนประกอบฮาร�ดดิสก�ไดร�ฟ, งบประมาณภายนอก: ศูนย�ร/วมเฉพาะทางด�านส/วนประกอบฮาร�ดดิสก�ไดร�ฟ คณะวิศวกรรมศาสตร� ม.ขอนแก/น, 2553

โครงการศึกษาและออกแบบโปรแกรมสร�างเมชสําหรับวิเคราะห�การถ/ายเทความร�อนด�วยโครงข/ายประสาทเทียม, งบประมาณภายนอก: ศูนย�เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห/งชาติ(MTEC), 2552

Page 115: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข30

ดร.วรลักษณ� คงเด)นฟ?า งานวิจัย โครงการการพัฒนาฐานข�อมูลสารสนเทศเพ่ือการดูแลเด็กด�อยโอกาสนอกระบบและเด็ก

กลุ/มเสี่ยงในระบบการศึกษา, งบประมาณภายนอก:สํานักงานส/งเสริมสังคมแห/งการเรียนรู�และพัฒนาคุณภาพเยาวชน (สสค.), 2554 – 2556

โครงการระบบสนับสนุนการพัฒนาแอพลิเคชั่นในการจัดการและแลกเปลี่ยนความรู�ของนักวิชาการ, งบประมาณภายนอก:สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2553 – 2555

Flood Warning System Development and Capacity Building on Disaster Management for Local officers, งบประมาณภายนอก:สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2555 – 2556 Spreadsheet-based Web mashups, งบประมาณภายนอก:SAP, Australia, 2007-2009 Service Integration and Adaptation, งบประมาณภายนอก:Smart Services CRC, Sydney, Australia,

2007 ผลงานทางวิชาการ W. Kongdenfha, P. Phanthunane, N. Wattanasupt, S. Pannarunotha, J. Chaiyawong, S. Pho-

Ong, C. Tangruang, S. Tati, K. Patrawart. Education for All: An Experimental Model for Cost Analysis and Information Management System for the Provision of Health and Educational Programs to Disabled and Underprivileged Children in Thailand’s Highland, 21st IUHPE World Conference on Health Promotion, 2013

W. Kongdenfha, S. Pannarunothai. A Multi-stakeholder Collaboration Framework for Health Promotion. 21st IUHPE World Conference on Health Promotion, 2013

W. Kongdenfha, H. R. Motahari-Nezhad, B. Benatallah and R. Saint-Paul. Web Service Adaptation: Mismatch Patterns and Semi-Automated Approach to Mismatch Identification and Adapter Development, Springer's Handbook on Web Services, 2012

T. Sornnen, W. Kongdenfha, W. Chiracharit, K. Chamnongthai. Interpolation and Zooming Techniques Utilizing Edge-weighted Adaptive Filtering for Color Filter Array, PCM (2) 2010: pp.430-438

W. Kongdenfha, H. R. Motahari-Nezhad, B. Benatallah, F. Casati and R. Saint-Paul. Mismatch Patterns & Adaptation Aspects: A Foundation for Rapid Development of Web Service Adapters, IEEE Transactions on Service Computing (IEEE TSC) 2(2): pp.94-107 (2009).

Page 116: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข31

W. Kongdenfha, B. Benatallah, J. Vayssiere, R. Saint-Paul and F. Casati. Rapid Development of Spreadsheet-based Web Mashups, in Proceedings of the 18th International World Wide Web Conference (WWW'09), Madrid, Spain, April 2009.

W. Kongdenfha, H. R. Motahari-Nezhad, R. Saint-Paul, B. Benatallah, and F. Casati. An Aspect-Oriented Approach for Service Adaptation, UNSW-CSE-TR-0920, University of New South Wales, 2009

W. Kongdenfha, B. Benatallah, R. Saint-Paul and F. Casati. SpreadMash: A Spreadsheet-based Interactive Browsing and Analysis Tool for Data Services, in Proceedings of the 20th International Conference on Advanced Information Systems Engineering (CAISE'08), Montpollier, France, June 2008

B. Benatallah, F. Casati, W. Kongdenfha, H. Skogsrud and F. Toumani. Conceptual Modelling of Service-Driven Applications, in Service-Oriented Computing, D. Georgakopoulos, M. Papazoglou (Editors). MIT Press, 2007

W. Kongdenfha and B. Benatallah. Towards a Knowledge Base for Semantic Mappings, CRC Smart Services, Sydney, Australia, May 2007

W. Kongdenfha, R. Saint-Paul, B. Benatallah and F. Casati. An Aspect-Oriented Framework for Service Adaptation, in Proceedings of the 4th International Conference on Service Oriented Computing (ICSOC'06), Chicago, USA, Dec. 2006

บทความทางวิชาการ Woralak Kongdenfha. Cloud Computing , ECTI e-magazine,

http://www.ecti-thailand.org/emagazine/views/63 รางวัลและเกียรติคุณท่ีได�รับ Research Fund from the Thai Quality Learning Foundation (QLF), 2011 Visiting scholar, ISIMA, Clermont-Ferrand, France, 2010 TRF-CHE Research Grant for New Scholar, Thailand Research Funding Organization, 2010 UNSW’s Faculty of Engineering PhD scholarship, 2008

Page 117: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข32

ดร.ศุภวรรณ พลพิทักษ�ชัย งานวิจัย โครงการการเปรียบเทียบระหว/างวิธีเคอร�เนลและโครงข/ายประสาทเทียมโดยใช�การวิเคราะห�เชิงประสบการณ�

ของแบบจําลองถดถอยชนิดปรับตัวได� , งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552

Detecting float screws in screw fastening process using classification techniques, งบประมาณภายนอก:ศูนย�ร/วมเฉพาะทางด�านส/วนประกอบฮาร�ดดิสก�ไดร�ฟ คณะวิศวกรรมศาสตร� ม.ขอนแก/น, 2553 ศูนย�ร/วมเฉพาะทางด�านส/วนประกอบฮาร�ดดิสก�ไดร�ฟ

Page 118: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข33

ดร.ชัยรัตน� พินทอง งานวิจัย โครงการการวิเคราะห�ความไม/ต/อเนื่องแบบเรียวในท/อนําคลื่นไดอิเล็กตริกแบบระนาบ, งบประมาณภายใน:เงิน

รายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2553

Page 119: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข34

ดร.พนัส นัถฤทธิ์ งานวิจัย โครงการพัฒนาระบบออกแบบเส�นทางและควบคุมการเคลื่อนท่ีของหุ/นยนต�โดยทฤษฎี Wavefront สําหรับใช�งาน

ภายใต� สถานการณ�จริง, งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2554-2555 โครงการการพัฒนาอุปกรณ�ควบคุมพลศาสตร�ของชุดขับเคลื่อนมอเตอร�สําหรับรถยนต�ไฟฟ�า, 2554-2555 โครงการสวิทช�เป�ด-ป�ดไฟแสงสว/างควบคุมด�วยแสงอินฟราเรด, 2548-2549 โครงการพัฒนาหุ/นยนต�เคลื่อนท่ีอัตโนมัตินอกอาคาร, 2547-2548 โครงการอัลกอริทึมสําหรับการวัดค/าสัญญาณท่ีเวลาจริงในระบบไฟฟ�ากําลัง,2547-2548 ผลงานทางวิชาการ P. Nattharith, "Fuzzy Logic based Control of Mobile Robot Navigation: A case study on

iRobot Roomba Platform", Scientific Research and Essays, Vol. 8(2), pp. 82 – 94, 2013 P. Nattharith, “Behaviour Modulation using Fuzzy Logic Control for Mobile Robot

Navigation”, International Journal of Engineering and Physical Sciences, Vol. 6, pp. 341 – 347, 2012

P. Nattharith, “Introduction to Autonomous Mobile Robot”, Naresuan University Engineering Journal (NUEJ), Vol. 6(2), pp. 31 – 41, 2011

P. Nattharith, “Fuzzy Logic based Control of Mobile Robot Navigation", in the 4th Science Research Conference. 12th – 13th March 2012: Naresuan University, Phitsanulok, THAILAND.

P. Nattharith, “Behaviour Modulation using Fuzzy Logic Control for Mobile Robot Navigation”, in the 3rd CUTSE International Conference (CUTSE 2011). 8th – 9th November 2011: Miri, MALAYSIA, pp.110 – 115, 2011

P. Nattharith, and R. Bicker, “Mobile Robot Navigation using a Behavioural Strategy”, in the 11th IASTED International Conference on Control and Applications (CA 2009), 13th – 15th July 2009: Cambridge, UK, pp.143 – 148, 2009

P. Nattharith, “Mobile Robot Navigation using a Behavioural Control Strategy”, in Postgraduate Conference, Newcastle University, 15th – 16th April 2009: Newcastle, UK, pp.28 – 43, 2009

Page 120: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข35

รางวัลและเกียรติคุณท่ีได�รับ

Best Presentation Award, at the 4th Science Research Conference, Naresuan University, Phitsanulok, THAILAND, 2012

Werner von Siemens Excellence Award in Mechatronics program, Asian Institute of Technology, Bangkok, THAILAND, 2002

Page 121: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข36

ดร.สุรเดช จิตประไพกุลศาล

งานวิจัย โครงการการวิ เคราะห�ความเป�นไปได�ของการประเมินคุณภาพของการออกแบบซอฟต�แวร�โดยใช�

DesignPatterns , งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2548 ผลงานทางวิชาการ Q. J. Wu, S. Jitprapaikulsarn, B. Mathayomchan, D. B. Einstein, R. J. Maciunas, K. Pillai, B. W.

Wessels, T. J. Kinsella, and V. Chankong, “Clinical Evaluation of A Gamma Knife Inverse Planning System,” Radiosurgery, vol. 5, K.D, Ed. Basel: Karger, pp. 260-266, 2004

Q. J. Wu, V. Chankong, S. Jitprapaikulsarn, B. W. Wessels, D. B. Einstein, B. Mathayomchan, and T. J. Kinsella, “Real-time Inverse Planning for Gamma Knife Radiosurgery,” Medical Physics, vol. 30, pp. 2988-2995, 2003

B. Hobbs, S. Jitprapaikulsarn, S. Konda, V. Chankong, K. Loparo, and D. Maratukulam, “Analysis of the Value for Unit Commitment of Improved Load Forecasts,” IEEE Trans. Power Systems, vol. 14, pp. 1342-1348, 1999

B. Hobbs, U. Helman, S. Jitprapaikulsarn, S. Konda, and D. Maratukulam, “Artificial Neural Networks for Short-Term Energy Forecasting: Accuracy and Economic Value,” Neurocomputing, vol. 23, pp. 71-84, 1998

รางวัลและเกียรติคุณท่ีได�รับ 1st place in the Manufacturing Division in the 2nd Annual Productivity Improvement

Competition at University of Nebraska, Lincoln, Nebraska, USA. , 1998 Outstanding Award for extra-curriculum activities, Triam Udom Sueksa School, Bangkok,

Thailand. , 1987

Page 122: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข37

ดร.พงศ�พันธ� กิจสนาโยธิน งานวิจัย โครงการการพัฒนาฐานข�อมูลสารสนเทศเพ่ือการดูแลเด็กด�อยโอกาสนอกระบบและเด็กกลุ/มเสี่ยงในระบบ

การศึกษา, สํานักงานส/งเสริมสังคมแห/งการเรียนรู�และพัฒนาคุณภาพเยาวชน (สสค.), 2554 – 2556 ผลงานทางวิชาการ R. Hewett and P. Kijsanayothin, "Securing System Controllers in Critical Infrastructures", In

Proceedings of the 8th Cyber Security and Information Intelligence Research Workshop, Oak Ridge National Laboratory, TN, January 8 - 10, 2013

Hewett, R. and P. Kijsanayothin, Privacy and Recovery in Composite Web Service Transactions. International Journal for Infonomics (IJI), 2010. 3(2): p. 333-342.

P. Kijsanayothin, Network Security Modeling with Intelligent and Complexity Analysis. 2010 P. Kijsanayothin, and R. Hewett. Analytical Approach to Attack Graph Analysis for Network

Security. in Availability, Reliability, and Security, 2010. ARES'10 International Conference on. 2010

Hewett, R. and P. Kijsanayothin, On modeling software defect repair time. Empirical Software Engineering, 2009. 14(2): p. 165-186.

Hewett, R. and P. Kijsanayothin. Automated test order generation for software component integration testing. in Proceedings of the 2009 IEEE/ACM International Conference on Automated Software Engineering. 2009

Hewett, R. and P. Kijsanayothin. On securing privacy in composite web service transactions. in Internet Technology and Secured Transactions, 2009. ICITST 2009. International Conference for. 2009

Hewett, R. and P. Kijsanayothin, Location contexts in rolebased security policy enforcement. Proceedings of the 2009 International Conference on Security and Management (SAM’09), 2009: p. 13-16.

Hewett, R., P. Kijsanayothin, and B. Nguyen. Scalable optimized composition of Web services with complexity analysis. in Web Services, 2009. ICWS 2009. IEEE International Conference on. 2009

Hewett, R., B. Nguyen, and P. Kijsanayothin. Efficient optimized composition of semantic web services. in Systems, Man and Cybernetics, 2009. SMC 2009. IEEE International Conference on. 2009

Page 123: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข38

Hewett, R. and P. Kijsanayothin, Tumor classification ranking from microarray data. BMC genomics, 2008. 9(Suppl 2): p. S21.

Hewett, R. and P. Kijsanayothin. Host-centric model checking for network vulnerability analysis. in Computer Security Applications Conference, 2008. ACSAC 2008. Annual. 2008

Hewett, R. and P. Kijsanayothin. Authorization constraint enforcement for information system security. in Systems, Man and Cybernetics, 2008. SMC 2008. IEEE International Conference on. 2008

Hewett, R., P. Kijsanayothin, and A. Thipse. Security analysis of role-based separation of duty with workflows. in Availability, Reliability and Security, 2008. ARES 08. Third International Conference on. 2008

P.Kijsanayothin, et al. Software hazard generation with model checking. in Region 5 Conference, 2006 IEEE. 2006

Page 124: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข39

ดร.สุวิทย� กิระวิทยา งานวิจัย โครงการการเปลี่ยนผ/านภายในแถบพลังงานของโครงสร�างบ/อควอนตัมท่ีมีรอยย/น, งบประมาณภายใน:เงิน

รายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2555 SONAQUA-Self-organized nanostructures as basic elements for the quantum information in

Project program: nanoQUIT - nanoelectronic semiconductor structures for the quantum information technology, 2548 – 2551

ผลงานทางวิชาการ H. L. Zhen, G. S. Huang, S. Kiravittaya, S. L. Li, Ch. Deneke, Dominic J. Thurmer, Y. F. Mei, O.

G. Schmidt, and W. Lu. Light-emitting properties of a strain-tuned microtube containing coupled quantum wells, Applied Physcis Letters 102, 041109, 2013

Suwit Kiravittaya, Poonyasiri Boonpeng, Somchai Ratanathammaphan, and Somsak Panyakeow. Simple energetic estimation of electronic states in quantum-dot cellular automata, Proceedings of the International Electrical Engineering Congres (iEECON), 2013

V. M. Fomin, S. Kiravittaya and O. G. Schmidt. Electronic structure and the Aharonov-Bohm effect in inhomogeneous Möbius ring, Abstract Book of the DPG-Frühjahrstagung, 2013

S. Böttner, S. Li, J. Trommer, S. Kiravittaya, and O. G. Schmidt. Sharp whispering-gallery modes in rolled-up vertical SiO2 microcavities with quality factors exceeding 5000 ,Optics Letters 37, 5136, 2012

S. L. Li, L. B. Ma, H. L. Zhen, M. R. Jorgensen, S. Kiravittaya, and O. G. Schmidt. Dynamic axial mode tuning in a rolled-up optical microcavity, Physical Review B 86, 195421, 2012

V. M. Fomin, S. Kiravittaya, and O. G. Schmidt Electron localization in inhomogeneous Möbius rings, Physical Review B 86, 195421, 2012

V. A. Bolanos Quinones, L. B. Ma, S. L. Li, M. Jorgensen, S. Kiravittaya, and O. G. Schmidt. Enhanced optical axial confinement in asymmetric microtube cavities rolled up from circular-shaped nanomembranes, Optics Letters 37, 4284, 2012

V. A. Bolanos Quinones, L. B. Ma, S. L. Li, M. Jorgensen, S. Kiravittaya, and O. G. Schmidt Localized optical resonances in low refractive index rolled-up microtube cavity for liquid-core optofluidic detection, Applied Physics Letters 101, 151107, 2012

Page 125: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข40

S. M. Harazim, V. A. Bolanos Quinones, S. Kiravittaya, S. Sanchez, and O. G. Schmidt Lab-in-a-tube: on-chip integration of glass optofluidic ring resonators for label-free sensing applications, Lab on a Chip 12, 2649, 2012

A. Rastelli, F. Ding, J. D. Plumhof, S. Kumar, R. Trotta, Ch. Deneke, A. Malachias, P. Atkinson, E. Zallo, T. Zander, A. Herklotz, R. Singh, V. Krapek, J. R. Schröter, S. Kiravittaya, M. Benyoucef, R. Hafenbrak, K. D. Jöns, D. J. Thurmer, D. Grimm, G. Bester, K. Dörr, P. Michler, and O. G. Schmidt. Controlling quantum dot emission by integration of semiconductor nanomembranes onto piezoelectric actuators, Physica Status Solidi B 249, 687 , 2012

P. Cendula, S. Kiravittaya, and O. G. Schmidt. Electronic and optical properties of quantum wells embedded in wrinkled nanomembranes, Journal of Applied Physics 111, 043105 , 2012

G. Pizzi, M. Virgilio, G. Grosso, S. Kiravittaya, and O. G. Schmidt. Curvature effects on valley splitting and degeneracy lifting: Case of Si/Ge rolled-up nanotubes, Physical Review B 85, 075308 , 2012

S. Kiravittaya, Peter Cendula and Oliver G. Schmidt. Optical transition in quantum well embedded in wrinkled nanomembrane, Abstract Book of the International Conference on Superlattices, Nanostructures and Nanodevices (ICSNN), 2012

S. Kiravittaya, P. Boonpeng, S. Ratanathammaphan, and S. Panyakeow. Effects of structural inhomogeneity on electron confinement in semiconductor quantum rings, Proceedings of the 35th Electrical Engineering Conference (EECON-35) vol. 2 p. 1025-1028., 2012

S. Kiravittaya (Invited). Self-organized nanostructures: quantum dots and nanomembranes Proceedings of RGJ-Ph.D. Congress XIII S1-L5 p. 73., 2012 E. J. Smith, S. Schulze, S. Kiravittaya, Y. F. Mei, S. Sanchez, and O. G. Schmidt. Lab-in-a-tube:

detection of individual mouse cells for analysis in flexible split-wall microtube resonator sensors, Nano Letters 11, 4037 , 2011

L. B. Ma, S. Kiravittaya, S. L. Li, V. A. Bolanos Quinones, Y. F. Mei, and O. G. Schmidt. Tuning of optical resonances in asymmetric microtube cavities, Optics Letters 36, 3840 , 2011

C. Ortix, S. Kiravittaya, O. G. Schmidt, and J. van den Brink. Curvature-induced geometric potential in strain-driven nanostructures, Physical Review B 84, 045438 , 2011

Page 126: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข41

S. Kiravittaya, H. S. Lee, L. Balet, L. H. Li, M. Francardi, A. Gerardino, A. Fiore, A. Rastelli, and O. G. Schmidt. Tuning optical modes in slab photonic crystal by atomic layer deposition and laser-assisted oxidation, Journal of Applied Physics 109, 053115, 2011

P. Cendula, S. Kiravittaya, I. Mönch, J. Schumann, and O. G. Schmidt. Directional roll-up of nanomembranes mediated by wrinkling, Nano Letters 11, 236 , 2011

S. Kiravittaya, A. Rastelli, and O. G. Schmidt. Quantum dot crystals: Growth and characterization in volume 22 of Encyclopedia of Nanoscience and Nanotechnology (edited by H. S. Nalwa), pp.23-32, 2011

A. Rastelli, S. Kiravittaya, and O. G. Schmidt. Growth and control of optically active quantum dots in Single Semiconductor Quantum Dots (edited by P. Michler), Springer, Berlin, 2009

Y. F. Mei, S. Kiravittaya, S. Harazim, and O. G. Schmidt.Principles and applications of micro and nanoscale wrinkles, Materials Science and Engineering: R 70, 209, 2010

R. O. Rezaev, S. Kiravittaya, V. M. Fomin, A. Rastelli, and O. G. Schmidt. Engineering self-assembled SiGe islands for robust electron confinement in Si, Physical Review B 82, 153306, 2010

G. S. Huang, V. A. Bolaños Quiñones, F. Ding, S. Kiravittaya, Y. F. Mei, and O. G. Schmidt. Rolled-up optical microcavities with subwavelength wall thicknesses for enhanced liquid sensing applications, ACS Nano 4, 3123, 2010

J. Peng, C. Hermannstädter, M. Witzany, M. Heldmaier, L. Wang, S. Kiravittaya, A. Rastelli, O. G. Schmidt, P. Michler, and G. Bester. Heterogeneous confinement in laterally coupled InGaAs/GaAs quantum dot molecules under lateral electric fields, Physical Review B 81, 205315, 2010

T. Lutz, T. Suzuki, G. Costantini, L. Wang, S. Kiravittaya, A. Rastelli, O. G. Schmidt, and K. Kern.Reversing the shape transition of InAs/GaAs (001) quantum dots by etching-induced lateral In segregation Physical Review B 81, 205414, 2010

Ch. Deneke, A. Malachias, S. Kiravittaya, M. Benyoucef, T. H. Metzger, and O. G. Schmidt Strain states in a quantum well embedded into a rolled-up microtube: X-ray and photoluminescence studies, Applied Physics Letters 96, 143101, 2010

S. Kiravittaya and O. G. Schmidt (Plenary, Invited). Rolled-up resonators for on-chip applications, Abstract Book of the 5th Conference on Materials Science and Condensed Matter Physics (MSCMP), 2010

Page 127: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข42

T. Zander, A. Herklotz, S. Kiravittaya, M. Benyoucef, F. Ding, P. Atkinson, S. Kumar, J. D. Plumhof, K. Dörr, A. Rastelli, and O. G. Schmidt. Epitaxial quantum dots in stretchable optical microcavities, Optics Express 17, 22452, 2009

H. S. Lee, S. Kiravittaya, S. Kumar, J. D. Plumhof, L. Balet, L. H. Li, M. Francardi, A. Gerardino, A. Fiore, A. Rastelli, and O. G. Schmidt. Local tuning of photonic crystal nanocavity modes by laser-assisted oxidation, Applied Physics Letters 95, 191109, 2009

Y. F. Mei, D. J. Thurmer, Ch. Deneke, S. Kiravittaya, Y.-F. Chen, A. Dadgar, F. Bertram, B. Bastek, A. Krost, J. Christen, T. Reindl, M. Stoffel, E. Coric, and O. G. Schmidt. Fabrication, self-assembly, and properties of ultrathin AlN/GaN porous crystalline nanomembranes: tubes, spirals, and curved sheets, ACS Nano 3, 1663, 2009

V. A. Bolaños Quiñones, G. S. Huang, J. D. Plumhof, S. Kiravittaya, A. Rastelli, Y. F. Mei, and O. G. Schmidt. Optical resonance tuning and polarization of thin-walled tubular microcavities Optics Letters 34, 2345, 2009

L. Wang, A. Rastelli, S. Kiravittaya, M. Benyoucef, and O. G. Schmidt. Self-assembled quantum dot molecules, Advanced Materials 21, 2601, 2009

H. S. Lee, A. Rastelli, S. Kiravittaya, P. Atkinson, C. C. Bof Bufon, I. Mönch, and O. G. Schmidt. Selective area wavelength tuning of InAs/GaAs quantum dots obtained by TiO2 and SiO2 layer patterning, Applied Physics Letters 94, 161906, 2009

G. S. Huang, S. Kiravittaya, V. A. Bolanos Quinones, F. Ding, M. Benyoucef, A. Rastelli, Y. F. Mei, and O. G. Schmidt. Optical properties of rolled-up tubular microcavities from shaped nanomembranes, Applied Physics Letters 94, 141901, 2009

S. Kiravittaya, A. Rastelli, and O. G. Schmidt. Advanced quantum dot configurations, Reports on Progress in Physics 72, 046502, 2009

P. Cendula, S. Kiravittaya, Y. F. Mei, Ch. Deneke, and O. G. Schmidt. Bending and wrinkling as competing relaxation pathways for strained free-hanging films, Physical Review B 79, 085429, 2009

A. Malachias, Ch. Deneke, B. Krause, C. Mocuta, S. Kiravittaya, T. H. Metzger, and O. G. Schmidt. Direct strain and elastic energy evaluation in rolled-up semiconductor tubes by x-ray microdiffraction, Physical Review B 79, 035301, 2009

Page 128: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข43

P. Cendula, S. Kiravittaya, J. Gabel, and O. G. Schmidt. Control of rolling direction for released strained wrinkled nanomembrane, Proceedings of the COMSOL Conference, 2009

S. Kiravittaya, Ch. Deneke, and O. G. Schmidt, Interface inhomogeneity of multilayer rolling up process, Abstract Book of the 12th International Conference on the Formation of Semiconductor Interfaces (ICFSI-12), 2009

S. Kiravittaya and O.G. Schmidt. Quantum-dot crystal defects, Applied Physics Letters 93, 176109 , 2008

P. Atkinson, S. Kiravittaya, M. Benyoucef, A. Rastelli, and O. G. Schmidt. Site-controlled growth and luminescence of InAs quantum dots using in situ Ga-assisted deoxidation of patterned substrates, Applied Physics Letters 93, 101908, 2008

A. Bernardi, S. Kiravittaya, A. Rastelli, R. Songmuang, D. J. Thurmer, M. Benyoucef, and O. G. Schmidt, On-chip Si/SiOx microtube refractometer, Applied Physics Letters 93, 094106, 2008

S. Mendach, S. Kiravittaya, A. Rastelli, M. Benyoucef, R. Songmuang, and O. G. Schmidt. Bidirectional wavelength tuning of individual semiconductor quantum dots in a flexible rolled-up microtube, Physical Review B 78, 035317, 2008

L. Wang, A. Rastelli, S. Kiravittaya, P. Atkinson, F. Ding, C. C. Bof Bufon, C. Hermannstädter, M. Witzany, G. J. Beirne, P. Michler, and O. G. Schmidt. Towards deterministically controlled InGaAs/GaAs lateral quantum dot molecules, New Journal of Physics 10, 043031, 2008

S. Kiravittaya, M. Benyoucef, R. Zapf-Gottwick, A. Rastelli, and O. G. Schmidt. Optical fine structure of single ordered GaAs quantum dots, Physica E 40, 1909, 2008

M. Benyoucef, S. Kiravittaya, Y. F. Mei, A. Rastelli, and O. G. Schmidt. Strongly coupled semiconductor microcavities: A route to couple artificial atoms over micrometric distances, Physical Review B 77, 035108, 2008

S. Kiravittaya, P. Cendula, A. Rastelli, and O. G. Schmidt. Effect of local deformation on the emission energy of quantum dots in a flexible tube, Proceedings of the COMSOL Conference, 2008

S. Kiravittaya, A. Bernardi, A. Rastelli, R. Songmuang, D. J. Thurmer, M. Benyoucef, and O. G. Schmidt. Numerical investigation of optical response from rolled-up microtube

Page 129: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข44

resonator and its application, Proceedings of the 10th International Conference on Transparent Optical Networks (ICTON) 4, 45, 2008

S. Kiravittaya, H. Heidemeyer, and O. G. Schmidt. In(Ga)As quantum dot crystals on patterned GaAs(001) substrates in Lateral Alignment of Epitaxial Quantum Dots (edited by O. G. Schmidt), Springer, Berlin, 2007

G. S. Kar, S. Kiravittaya, M. Stoffel, and O. G. Schmidt. Ordered SiGe island arrays: Long range material distribution and possible device applications in Lateral Alignment of Epitaxial Quantum Dots (edited by O. G. Schmidt), Springer, Berlin, 2007

A. Rastelli, R. Songmuang, S. Kiravittaya, and O. G. Schmidt. Hierarchical self-assembly of lateral quantum-dot molecules around nanoholes in Lateral Alignment of Epitaxial Quantum Dots (edited by O. G. Schmidt), Springer, Berlin, 2007

S. Kiravittaya, M. Benyoucef, R. Zapf-Goettwick, A. Rastelli, and O. G. Schmidt. Fine structure of single ordered GaAs quantum dots, Abstract Book of the 13th International Conference on Modulated Semiconductor Structure (MSS-13), 2007

A. Rastelli, S. Kiravittaya, M. Benyoucef, Y. F. Mei, and O. G. Schmidt. In situ tuning of optical modes in single semiconductor microcavities by laser heating, Proceedings of the 9th International Conference on Transparent Optical Networks (ICTON) 3, 58-60, 2007

Y. F. Mei, D. J. Thurmer, F. Cavallo, S. Kiravittaya, and O. G. Schmidt. Semiconductor sub-micro-/nanochannel networks by deterministic layer wrinkling, Advanced Materials 19, 2124, 2007

Y. F. Mei, S. Kiravittaya, M. Benyoucef, D. J. Thurmer, T. Zander, C. Deneke, F. Cavallo, A. Rastelli, and O. G. Schmidt. Optical properties of a wrinkled nanomembrane with embedded quantum well, Nano Letters 7, 1676, 2007

F. Ding, L. Wang, S. Kiravittaya, E. Müller, A. Rastelli, and O. G. Schmidt. Unveiling the morphology of buried In(Ga)As nanostructures by selective wet chemical etching: From quantum dots to quantum rings, Applied Physics Letters 90, 173104, 2007

T. Merdzhanova, A. Rastelli, M. Stoffel, S. Kiravittaya, and O. G. Schmidt.Island motion triggered by the growth of strain-relaxed SiGe/Si(001) islands, Journal of Crystal Growth 301-302, 319, 2007

A. Rastelli, A. Ulhaq, S. Kiravittaya, L. Wang, A. Zrenner, and O. G. Schmidt. In situ laser microprocessing of single self-assembled quantum dots and optical microcavities, Applied Physics Letters 90, 073120 , 2007

Page 130: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข45

S. Kiravittaya, A. Rastelli, and O. G. Schmidt. Photoluminescence investigation of seeded three-dimensional InAs/GaAs quantum-dot crystals, Abstract Book of the 4th International Conference on Quantum Dots, 2006

S. Kiravittaya, M. Benyoucef, R. Zapf-Gottwick, A. Rastelli, and O. G. Schmidt. Ordered GaAs quantum dot arrays on GaAs(001): Single photon emission and fine structure splitting, Applied Physics Letters 89, 233102 , 2006

S. Kiravittaya, A. Rastelli, and O. G. Schmidt, Morphology and photoluminescence of seeded three-dimensional InAs/GaAs(001) quantum-dot crystals, physica status solidi c 3, 3668, 2006

A. Rastelli, A. Ulhaq, Ch. Deneke, L. Wang, M. Benyoucef, E. Coric, W. Winter, S. Mendach, F. Horton, F. Cavallo, T. Merdzhanova, S. Kiravittaya, and O. G. Schmidt. Fabrication and characterization of microdisk resonators with In(Ga)As/GaAs quantum dots, physica status solidi c 3, 3641, 2006

S. Kiravittaya, R. Songmuang, A. Rastelli, H. Heidemeyer, and O. G. Schmidt. Multi-scale ordering in self-assembled InAs/GaAs(001) quantum dots, Nanoscale Research Letters 1, 1, 2006

L. Wang, A. Rastelli, S. Kiravittaya, R. Songmuang, O. G. Schmidt, B. Krause, and T. H. Metzger. Guided self-assembly of lateral InAs/GaAs quantum-dot molecules for single molecule spectroscopy, Nanoscale Research Letters 1, 74 , 2006

G. S. Kar, S. Kiravittaya, U. Denker, B.-Y. Nguyen, and O. G. Schmidt. Strain distribution in a transistor using self-assembled SiGe islands in source and drain regions, Applied Physics Letters 88, 253108, 2006

T. Merdzhanova, S. Kiravittaya, A. Rastelli, M. Stoffel, U. Denker, and O. G. Schmidt. Dendrochronology of strain-relaxed islands, Physical Review Letters 96, 226103, 2006

S. Mendach, R. Songmuang, S. Kiravittaya, A. Rastelli, M. Benyoucef, and O. G. Schmidt. Light emission and wave guiding of quantum dots in a tube, Applied Physics Letters 88, 111120, 2006

A. Rastelli, S. Kiravittaya, L. Wang, C. Bauer, and O. G. Schmidt. Micro-photoluminescence spectroscopy of hierarchically self-assembled quantum dots, Physica E 32, 29, 2006

S. Kiravittaya, A. Rastelli, and O. G. Schmidt. Photoluminescence from seeded three-dimensional InAs/GaAs quantum-dot crystals, Applied Physics Letters 88, 2006

Page 131: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข46

S. Kiravittaya, A. Rastelli, and O. G. Schmidt. Self-assembled InAs quantum dots on patterned GaAs(001) substrates: Formation and shape evolution, Applied Physics Letters 87, 243112, 2005

M. Stoffel, A. Rastelli, S. Kiravittaya, and O. G. Schmidt. Strain mediated lateral SiGe island motion in single and stacked layers, Physical Review B 72, 205411, 2005

B. Krause, T. H. Metzger, A. Rastelli, R. Songmuang, S. Kiravittaya, and O. G. Schmidt. Shape, strain and ordering of lateral InAs quantum dot molecules, Physical Review B 72, 085339 , 2005

S. Kiravittaya, H. Heidemeyer, and O. G. Schmidt. Lateral quantum dot replication in three-dimensional quantum-dot crystals, Applied Physics Letters 86, 263113, 2005

S. Kiravittaya and O. G. Schmidt. Comment on "A growth pathway for highly ordered quantum dot arrays"[Appl. Phys. Lett. 85, 5974 (2004)], Applied Physics Letters 86, 206101, 2005

J. Novák, V. Holý, J. Stangl, G. Bauer, E. Wintersberger, S. Kiravittaya, and O. G. Schmidt. A method for characterization of strain fields in buried quantum dots using x-ray standing waves, Journal of Physics D: Applied Physics 38, A137, 2005

S. Kiravittaya and O. G. Schmidt. Quantum dot defects in quantum dot crystals, Abstract Book of the 12th International Conference on Modulated Semiconductor Structure (MSS-12), 2005

S. Kiravittaya and O. G. Schmidt. Diffusion in and around highly ordered arrays of self-assembled InAs/GaAs quantum dots, Abstract Book of the Quantum Dot Conference, 2004

G. S. Kar, S. Kiravittaya, M. Stoffel, and O. G. Schmidt. Material distribution across the interface of random and ordered island arrays, Physical Review Letters 93, 246103, 2004

O. G. Schmidt, A. Rastelli, G. S. Kar, R. Songmuang, S. Kiravittaya, M. Stoffel, U. Denker, S. Stufler, A. Zrenner, D. Grützmacher, B.-Y. Nguyen, and P. Wennekers Novel nanostructure architectures, Physica E 25, 280, 2004

S. Kiravittaya, H. Heidemeyer, and O. G. Schmidt. Growth of three-dimensional quantum dot crystals on patterned GaAs (001) substrates, Physica E 23, 253, 2004

R. Songmuang, S. Kiravittaya, and O. G. Schmidt. Formation of lateral quantum dot molecules around self-assembled nanoholes, Applied Physics Letter 82, 2892, 2003

Page 132: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข47

R. Songmuang, S. Kiravittaya, and O. G. Schmidt. Shape evolution of InAs quantum dots during overgrowth, Journal of Crystal Growth 249, 416, 2003

R. Songmuang, S. Kiravittaya, M. Sawadsaringkarn, S. Panyakeow, and O. G. Schmidt. Photoluminescence investigation of low-temperature capped self-assembled InAs/GaAs quantum dots, Journal of Crystal Growth 251, 166, 2003

S. Kiravittaya, R. Songmuang, N.Y. Jin-Phillip, S. Panyakeow, and O. G. Schmidt. Self-assembled nanoholes and lateral QD bi-molecules by molecular beam epitaxy and atomically precise in situ etching, Journal of Crystal Growth 251, 258, 2003

S. Kiravittaya (Invited). Homogeneity Improvement of InAs/GaAs Self-Assembled Quantum Dots Grown by Molecular Beam Epitaxy, Proceedings of RGJ-Ph.D. Congress IV S1-L3., 2003

O. G. Schmidt, C. Deneke, S. Kiravittaya, R. Songmuang, Y. Nakamura, Y. Zapf-Gottwick, C. Müller, and N.Y. Jin-Phillip. Self-assembled nanoholes, lateral quantum-dot molecules, and rolled-up nanotubes, IEEE Journal of Selected Topics in Quantum Electronics 8, 1025, 2002

O. G. Schmidt, S. Kiravittaya, Y. Nakamura, H. Heidemeyer, R. Songmuang, C. Müller , N.Y. Jin-Phillip, K. Eberl, H. Wawra, S. Christiansen, Gräbeldinger, and H. Schweizer. Self-assembled semiconductor nanostructures: climbing up the ladder of order, Surface Science 514, 10, 2002

Y. Nakamura, O. G. Schmidt, N.Y. Jin-Phillip, S. Kiravittaya, C. Müller, K. Eberl, H. Gräbeldinger, and H. Schweizer. Vertical alignment of laterally ordered InAs and InGaAs quantum dot arrays on patterned (001) GaAs substrates, Journal of Crystal Growth 242, 339, 2002

H. Heidemeyer, S. Kiravittaya, C. Müller, N.Y. Jin-Phillip, and O. G. Schmidt. Closely stacked InAs/GaAs quantum dots grown at low growth rate, Applied Physics Letters 80, 1544, 2002

S. Kiravittaya, Y. Nakamura, and O. G. Schmidt. Photoluminescence linewidth narrowing of InAs/GaAs self-assembled quantum dots, Physica E 13, 224, 2002

R. Songmuang, S. Kiravittaya, N. Y. Jin-Phillipp, and O. G. Schmidt. Molecular beam epitaxy and in situ etching for nanohole and lateral quantum dot multi-molecule fabrication, Book of the Low Dimensional Structures and Devices (LDSD), 2002

Page 133: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข48

S. Kamprachum, S. Kiravittaya, R. Songmuang, S. Thainoi, S. Kanjanachuchai, M. Sawadsaringkarn, and S. Panyakeow. Multi-stacked quantum dots with graded dot sizes for photovoltaic applications, Proceedings of the 29th IEEE Photovoltaic Specialists Conference 1055-1057, 2002

S. Kiravittaya, R, Songmuang, and O. G. Schmidt. Self-assembled quantum dots and nanoholes by molecular beam epitaxial growth and atomically precise in situ etching, Proceedings of the Material Research Society Symposium 722: K10.11.1-6., 2002

R. Songmuang, S. Kiravittaya, M. Sawadsaringkarn, and S. Panyakeow. The growth of InAs self-organized quantum dots by molecular beam epitaxy, Research and Development Journal, The Engineering Institute of Thailand 13: 34-41., 2002

S. Kiravittaya, R. Songmuang, M. Sawadsaringkarn, and S. Panyakeow. Kinetic Monte Carlo simulation of molecular beam epitaxial growth, Proceedings of the 25th Electrical Engineering Conference (EECON-25) EL134-EL138., 2002

S. Kiravittaya, Y. Nakamura, and O. G. Schmidt. Photoluminescence linewidth narrowing of InAs/GaAs self-assembled quantum dots, Abstract Book of the 13th International Conference on Modulated Semiconductor Structure (MSS-10), 2001

R. Songmuang, S. Kiravittaya, S. Thainoi, P. Changmuang, S. Sopitpan, S. Ratanathammaphan, M. Sawadsaringkarn, and S. Panyakeow. Selective growth of InAs/GaAs self-organized quantum dots by shadow mask technique, Journal of Crystal Growth 227-228, 1053, 2001

S. Kiravittaya, R. Songmuang, P. Changmuang, S. Sopitpan, S. Ratanathammaphan, M. Sawadsaringkarn, and S. Panyakeow. InAs/GaAs self-organized quantum dots on (411)A GaAs by molecular beam epitaxy, Journal of Crystal Growth 227-228, 2001

S. Kiravittaya, U. Manmontri, S. Sopitpan, S. Ratanathammaphan, C. Antarasen, M. Sawadsaringkarn, and S. Panyakeow. AlGaAs/GaAs/InGaAs composite MQW structures for photovoltaic applications, Solar Energy Material and Solar Cells 68, 89, 2001

R. Songmuang, S. Kiravittaya, M. Sawadsaringkarn, and S. Panyakeow. InAs/GaAs, InGaAs/GaAs, and InAs/InGaAs/GaAs composite quantum dots, Proceedings of the 23rd Electrical Engineering Conference (EECON-23) 685-688., 2000

S. Kiravittaya, R. Songmuang, M. Sawadsaringkarn, and S. Panyakeow. In-situ RHEED investigation of MBE-grown InAs QDs on (0 0 1) GaAs epilayer, Proceedings of the 23rd Electrical Engineering Conference (EECON-23) 689-692., 2000

Page 134: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข49

S. Kiravittaya, M. Sawadsaringkarn, and S. Panyakeow. Quantum dots structure for optoelectronic devices, Proceedings of RGJ-Ph.D. Congress I 144., 2000

S. Kiravittaya, M. Sawadsaringkarn, and S. Panyakeow, Single electron transistor: Theory and applications, Research and Development Journal, The Engineering Institute of Thailand 11: 20-27., 2000

S. Kiravittaya, R. Songmuang, S. Thainoi, S. Sopitpan, S. Kanjanachuchai, S. Ratanathammaphan, M. Sawadsaringkarn, and S. Panyakeow. Self-assembled composite quantum dots for photovoltaic applications, Proceedings of the 28th IEEE Photovoltaic Specialists Conference 818-821, 2000

S. Kiravittaya, U. Manmontri, S. Sopitpan, S. Ratanathammaphan, C. Antarasen, M.Sawadsaringkarn, and S. Panyakeow.AlGaAs/GaAs/InGaAs composite MQW structures for photovoltaic applications, Proceedings of the 2nd World Conference and Exhibition on Photovoltaic Solar Energy Conversion 3617-3620, 1998

S. Kiravittaya, S. Sopitpan, S. Ratanathammaphan, M. Sawadsaringkarn, and S. Panyakeow. The study of AlGaAs/GaAs/InGaAs composite quantum well (CQW) structure, Proceedings of the 21st Electrical Engineering Conference (EECON-21) 123-126., 1998

Page 135: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข50

ดร.ปbยดนัย ภาชนะพรรณ� งานวิจัย โครงการพัฒนาบัลลาสต�อิเล็กทรอนิกส�แบบหรี่ไฟสําหรับหลอดฟลูออเรสเซนต�, งบประมาณภายใน:เงินรายได�

มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2549 – 2551 โครงการการลดค/าไฟฟ�าของเครื่องปรับอากาศแบบชิลเลอร�: กรณีศึกษากระบวนการลดอุณหภูมิของ

คอนเดนเซอร�, งบประมาณแผ/นดิน , 2549–2552

Page 136: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข51

ดร.สุพรรณนิกา วัฒนะ

งานวิจัย

Climate-Energy-Water-Land Linkages for Thailand, งบประมาณภายนอก:International Energy Atomic Agency (IAEA), Vienna, Austria 2012–2014

Impacts of Electricity Market Reform on Nuclear and other Generation Technologies: Thailand Case Study, งบประมาณภายนอก:International Energy Atomic Agency (IAEA), Vienna, Austria 2010–2012

ผลงานทางวิชาการ S.Wattana. Bioenergy Development in Thailand: Challenges and Strategies. In Proceeding of

the 2nd International Conference on Alternative Energy in Developing Countries and Emerging Economies (AEDCEE), Bangkok, Thailand, 2013.

S. Wattana. Climate-Energy-Water-Land Linkages for Thailand: A Review. Technical Meeting/Workshop on ‘Integrated Assessment of Climate, Land-use, Energy and Water Systems (CLEWS)’ by Royal Institute of Technology, Stockholm, Sweden, 2012: 29 October–2 November.

S. Wattana. Climate-Energy-Water-Land Linkages for Thailand: An Overview. First Research Coordination Meeting on ‘Assessing Interdependencies among Energy, Water, Land-use and Climate Change’ by International Atomic Energy Agency (IAEA), Vienna, Austria, 2012: 16–19 April.

S. Wattana, and D. Sharma. Electricity Industry Reforms in Thailand: An Analysis of Productivity, International Journal of Energy Sector Management, Vol. 5 No.4, 2011: pp.494–521.

S. Wattana. Generation Technology Choice under the Thai Electricity Market Regulation. Second Technical Meeting on ‘Prospects for Nuclear Power under Alternative Electricity Market Regulation Schemes’ by International Atomic Energy Agency (IAEA), Vienna, Austria, 2011: 17–19 October.

S. Wattana. Electricity Market Regulation, Investment Decision and Technology Choice: A Thai Perspective. First Technical Meeting on ‘Prospects for Nuclear Power under Alternative Electricity Market Regulation Schemes’ by International Atomic Energy Agency (IAEA), Vienna, Austria, 2010: 11–13 October.

Page 137: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข52

S. Wattana, and D. Sharma. Electricity Industry Reforms in Thailand: An Analysis of Productivity, In Proceeding of the ESCC International Conference, Bangkok, Thailand 2008: 06-08 August.

S. Wattana. Electricity Industry Reforms in Thailand: A Comprehensive Review, UTS: Engineering Research Showcase, Sydney, Australia, 2008: June.

S. Wattana, D. Sharma. and R. Vaiyavuth. Electricity Industry Reforms in Thailand: A Historical Review, GMSARN International Journal, Vol. 2 No.2, 2011: pp.41–52.

S. Wattana, D. Sharma. and R. Vaiyavuth. Electricity Industry Reforms in Thailand: A Historical Review, In Proceeding of the 2nd GMSARN International Conference, Pattaya, Thailand 2007: 12-14 December.

รางวัลและเกียรติคุณท่ีได�รับ

International Research Scholarship (IRS), University of Technology, Sydney (UTS), 2010 Dean’s award for Outstanding Academic Performance, Faculty of Engineering, University of Technology, Sydney (UTS), 2007.

Page 138: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข53

ดร.พรพิศุทธิ์ วรจิรันคน� งานวิจัย โครงการเครื่องเขย/าถุงเลือดและชั่งน้ําหนัก, งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2554 โครงการเครื่องกระตุ�นไฟฟ�าท่ีสามารถโปรแกรมได�, งบประมาณภายใน:เงินรายได� มหาวิทยาลัยนเรศวร,

2552 ผลงานทางวิชาการ

P. Worrajiran, P. Boonchouy and P. Suttasom 2011. Programmable Electrical Stimulator. The 7th Naresuan Research Conference. Phitsanulok, Thailand.

P. Worrajiran and B.A. Conway, 2010. Cross-Situational consistency of EEG Related to the Wrist Movement Intentions.The 33rd Electrical Engineering Conference, Chiangmai, Thailand.

Z. Erim, G. Valsan, P. Worrajiran and Conway B. A. 2006. Coherence between EEG and motor unit discharges. The 16th International Congress of International Society of Electrophysiology and Kinesiology, Turin, Italy.

H. Lakany, P. Worrajiran, G. Valsan and B.A. Conway, 2006. On Feature Selectors for Brain Computer Interfaces. 28th International Congress of Clinical Neurophysiology (ICCN), Edinburgh.

G. Valsan, P. Worrajiran, H. Lakany and B.A. Conway, 2006. Predicting Intention and Direction of Wrist Movement from EEG. Presentation at IET MEDSIP 2006. 3rd International Conference, Advances in Medical, Signal and Information Processing.

H. Lakany, P. Worrajiran, G. Valsan and B.A. Conway, 2005. EEG Classification Based on Movement Direction and Displacement. Neuroscience 2005 Annual Meeting, Society for Neuroscience, Washington DC.

Page 139: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ข54

ภาคผนวก ค. ผลการวิพากษ�หลักสูตร

Page 140: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ค1

รายละเอียดเกี่ยวกับคณะกรรมการวิพากษ�หลักสูตร หัวข�อ ศ.ดร.ชิดชนก เหลือสินทรัพย� รศ.ดร.วัชระ เพิ่มชาติ รศ.ดร.ตรัสพงษ� ไทยอุปถัมภ� ผศ.ดร.พนมขวัญ ริยะมงคล ดร.พงศ�พันธ� กิจสนาโยธิน หมายเหตุ

จํานวนหน/วย

กิต

เหมาะสม เนื่องจาก จํานวน

หน/วยกิตเหมาะสมทั้งสอง

แบบ เน�นสนับสนุนงานวิจยั

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

โครงสร�าง

หลักสตูร

เหมาะสม

แต/กลุ/มวิชาเลือกน/าจะใช�กลุ/ม

วิชาเดียวกันทั้งแบบ 2.1 และ

2.2

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม ปรับแก�ตามความคิดเห็นของ

กรรมการวิพากษ�

หมวดวิชา

พื้นฐาน

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

หมวดวิชา

เฉพาะ กลุ/ม

วิชาเฉพาะ

บังคับ

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม และทันสมัย เหมาะสม เหมาะสม

Page 141: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ค2

หัวข�อ ศ.ดร.ชิดชนก เหลือสินทรัพย� รศ.ดร.วัชระ เพิ่มชาติ รศ.ดร.ตรัสพงษ� ไทยอุปถัมภ� ผศ.ดร.พนมขวัญ ริยะมงคล ดร.พงศ�พันธ� กิจสนาโยธิน หมายเหตุ

หมวดวิชา

เฉพาะ กลุ/ม

วิชาเฉพาะ

เลือก

ทั้งแบบ 2.1 และ 2.2 น/าจะ

ใช�กลุ/มและชื่อวิชาเดียวกัน ไม/

ต�องแยกกัน

เหมาะสม เหมาะสม และทันสมัย มี

ความหลากหลายและมี

รายวิชาที่มีเนื้อหาทั้งพื้นฐาน

และเชิงลึก

เหมาะสม เหมาะสม ไม/แก�เพราะรูปแบบของ

มหาวิทยาลยันเรศวรนั้นแยก

วิชาตามแผนการเรยีน

วิทยานิพนธ� หัวข�อ 5.1.2 ต�องเขียนให�

ชัดเจนว/าต�องตีพิมพ�ใน

วารสารกี่บทความ การ

นําเสนอผลงานอย/างเดยีวไม/

สามารถนับจบได� อย/าใช�คําว/า

"หรือ"

ทั้งสองแบบ 2.1 และ 2.2

ต�องเป�นวารสารระดับ

นานาชาติเท/านั้น

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม ปรับแก�ตามความคิดเห็นของ

กรรมการวิพากษ�

รายวิชาบังคับ

ไม/นับหน/วยกิต

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

Page 142: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ค3

หัวข�อ ศ.ดร.ชิดชนก เหลือสินทรัพย� รศ.ดร.วัชระ เพิ่มชาติ รศ.ดร.ตรัสพงษ� ไทยอุปถัมภ� ผศ.ดร.พนมขวัญ ริยะมงคล ดร.พงศ�พันธ� กิจสนาโยธิน หมายเหตุ

แผนการเรียน เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

ความคิดเห็น

อึนๆ

ปรับกลุ/มวิชเลือกและ

ข�อบังคับการจบ การตีพิมพ�

ให�ชัดเจนและเป�นประโยชน�

ต/อตําแหน/งทางวิชาการ

- เหมาะสม - - ปรับแก�ตามความคิดเห็นของ

กรรมการวิพากษ�

Page 143: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

_ค4

รายละเอียดเก่ียวกับคณะกรรมการวิพากษ�หลักสูตร (ต)อ)

Page 144: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

_ค5

Page 145: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

_ค6

Page 146: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

_ค7

Page 147: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

_ค8

Page 148: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

_ค9

Page 149: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

_ค10

Page 150: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

_ค11

Page 151: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ภาคผนวก ง.

รายงานผลการวิเคราะห�ผลการสํารวจความต�องการของผู�ใช�ดุษฎีบัณฑิต

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

Page 152: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ง1

ความต�องการของผู�ใช�ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร� จากการเก็บรวบรวมข�อมูลกลุ/ม ตัวอย/ าง ท่ี เป�นหน/วยงานภาครัฐและภาคเอกชนท่ี มี การดําเนินงาน หรือปฏิบัติงานท่ีเก่ียวข�องกับด�านวิศวกรรมคอมพิวเตอร� สามารถนํามาวิเคราะห�ข�อมูลได�ดังนี้

ตารางท่ี 1 แสดงจํานวนและร�อยละของข�อมูลท่ัวไปของกลุ/มตัวอย/างผู�ใช�ดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

ข�อมูลท่ัวไป จํานวน ร�อยละ เพศ ชาย 8 88.88 หญิง 1 11.12 รวม 9 100 อายุ ตํ่าว/า 25 ป¡ 25-34 ป¡

0 4

0.00 44.44

35-44 ป¡ 4 44.44 45-54 ป¡ 1 11.12 มากกว/า 54 ป¡ 0 0.00 รวม 9 100.00 การศึกษา ปริญญาตรี 4 44.44 ปริญญาโท 5 55.56 ปริญญาเอก 0 0.00 รวม 9 100.00

Page 153: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ง2

ตารางท่ี 1 (ต/อ)

จากตารางท่ี 1 พบว/า เพศของกลุ/มตัวอย/าง มีจํานวนของเพศชายมากกว/าเพศหญิงโดยมีเพศ

ชายถึง ร�อยละ 88.88 และ เพศหญิง ร�อยละ 11.12 ด�านอายุ ส/วนใหญ/มีอายุระหว/าง 25-34 ป¡ คิดเป�นร�อยละ 44.44 เท/ากับ อายุระหว/าง 35-44 ป¡ คิดเป�นร�อยละ 44.44 และ อายุ 45-54 ป¡ คิดเป�นร�อยละ 11.12 และไม/มีกลุ/มตัวอย/างท่ีอายุมากกว/า 54 ป¡ หรือน�อยกว/า 25 ป¡ ด�านการศึกษา ส/วนใหญ/สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเป�นร�อยละ 53.19 รองลงมา สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท คิดเป�นร�อยละ 38.30 และ สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก คิดเป�นร�อยละ 8.51

ส/วนด�านตําแหน/งพบว/า ส/วนใหญ/มีตําแหน/งเป�นนักพัฒนาระบบ คิดเป�นร�อยละ 55.56 ส/วนท่ีเหลือเป�นผู�บริหารองค�กร ร�อยละ 44.44

ข�อมูลส)วนบุคคล จํานวน ร�อยละ ตําแหน)ง

- ผู�บริหารองค�กร 4 44.44 - นักพัฒนาระบบ 5 55.56

รวม 9 100.0

Page 154: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ง3

ตารางท่ี 2 แสดงความต�องการของกลุ/มตัวอย/างผู�ใช�ดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

หลักสูตร ระดับความต�องการ

รวม X S.D. แปลผล มากที่สุด

มาก ปานกลาง

น�อย น�อยที่สุด

แผนการศึกษา - เป�นหลักสูตรทํา

วิทยานพินธ�เพียงอย/างเดียว

1 (11.1)

5 (55.6)

1 (11.1)

2 (22.2)

0 (0.0)

9 (100.0)

3.56 1.01 มาก

- เป�นหลักสูตรสอนรายวิชาและทาํวิทยานพินธ�

3 (33.3)

1 (11.1)

4 (44.4)

1 (11.1)

0 (0.0)

9 (100.0)

3.67

1.12 มาก

จุดเน�นของหลักสูตร - เน�นทฤษฎีด�านวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

1 (11.1)

1 (11.1)

5 (55.6)

0 (0.0)

2 (22.2)

9 (100.0)

2.89 1.27 ปานกลาง

- เน�นการประยุกต�ใช�ความรู�ด�านวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

8 (36.2)

1 (57.4)

0 (6.4)

0 (0.0)

0 (0.0)

9 (100.0)

4.89 0.33 มากที่สุด

- เน�นการวิจัยด�านวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

5 (55.6)

2 (22.2)

1 (11.1)

0 (0.0)

1 (11.1)

9 (100.0)

4.11 1.36 มาก

- เน�นการบริหารโครงการและการทํางานเป�นทีม

6 (66.7)

2 (22.2)

1 (11.1)

0 (0.0)

0 (0.0)

9 (100.0)

4.56 0.73 มากที่สุด

จากตารางท่ี 2 ด�านแผนการศึกษา กลุ/มตัวอย/างมีความต�องการใน “ระดับมาก” ในด�านการให�เป�นหลักสูตรรายวิชาและทําวิทยานิพนธ� ( X = 3.67, S.D. = 1.12) และในการให�เป�นหลักสูตรทําวิทยานิพนธ� เพียงอย/างเดียว ( X = 3.56, S.D.= 1.01) ส/วนจุดเน�นของหลักสูตรกลุ/มตัวอย/างมีความต�องการใน “ระดับมากท่ีสุด” เน�นการประยุกต�ใช�ความรู�ด�านวิศวกรรมคอมพิวเตอร� ( X = 4.89, S.D.= 0.33) และเน�นการบริหารโครงการและการทํางานเป�นทีม ( X = 4.56, S.D.= 0.73) ตามลําดับ และมีความต�องการใน “ระดับมาก” เน�นการวิจัยด�านวิศวกรรมคอมพิวเตอร� “ระดับปานกลาง” เน�นทฤษฎีด�านวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

Page 155: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ง4

ตารางท่ี 3 แสดงความต�องการของกลุ/มตัวอย/างผู�ใช�ดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�เก่ียวกับเนื้อหาของหลักสูตร

เน้ือหา ระดับความต�องการ

รวม X S.D. แปลผล

มากที่สุด

มาก ปานกลาง

น�อย น�อยที่สุด

กลุ/มวิชาปฏิสัมพนัธ�ระหว/างมนษุย�และคอมพิวเตอร� Advanced Artificial Intelligence

2 (22.2)

3 (33.3)

2 (22.2)

1 (11.1)

1 (11.1)

9 (100.0)

3.44 1.33 ปานกลาง

Advanced Pattern Recognition

3 (33.3)

3 (33.3)

1 (11.1)

1 (11.1)

1 (11.1)

9 (100.0)

3.67 1.41 มาก

Biomedical Image Processing

3 (33.3)

2 (22.2)

2 (22.2)

1 (11.1)

1 (11.1)

9 (100.0)

3.56 1.42 มาก

Spatial and Remote Sensing Information Systems

1 (11.1)

3 (33.3)

3 (33.3)

1 (11.1)

1 (11.1)

9 (100.0)

3.22 1.20 ปานกลาง

Virtual and Augmented Reality

2 (22.2)

4 (44.4)

1 (11.1)

1 (11.1)

1 (11.1)

9 (100.0)

3.56 1.33 มาก

Advanced Digital Systems Design

1 (11.1)

3 (33.3)

2 (22.2)

2 (22.2)

1 (11.1)

9 (100.0)

3.11 1.27 ปานกลาง

กลุ/มวิชาเทคโนโลยีฮาร�ดแวร�และระบบฝ�งตัว Embedded Systems and Smart Device Architecture

3 (33.3)

2 (22.2)

2 (22.2)

1 (11.1)

1 (11.1)

9 (100.0)

3.56 1.42 มาก

Mechatronics 1 (11.1)

2 (22.2)

4 (44.4)

1 (11.1)

1 (11.1)

9 (100.0)

3.11 1.17 ปานกลาง

Microprocessor based Control System Design

1 (11.1)

3 (33.3)

3 (33.3)

1 (11.1)

1 (11.1)

9 (100.0)

3.22 1.20 ปานกลาง

Robotics Systems and Application

1 (11.1)

6 (66.7)

0 (0.00)

1 (11.1)

1 (11.1)

9 (100.0)

3.56 1.24 มาก

Very Large Scale Integrated Circuit System Design

1 (11.1)

2 (22.2)

4 (44.4)

1 (11.1)

1 (11.1)

9 (100.0)

3.11 1.17 ปานกลาง

Page 156: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ง5

ตารางท่ี 3 (ต/อ)

เน้ือหา ระดับความต�องการ

รวม X S.D. แปลผล

มากที่สุด

มาก ปานกลาง

น�อย น�อยที่สุด

กลุ/มวิชาวิศวกรรมซอฟต�แวร� Computer Engineering Management

4 (44.4)

3 (33.3)

1 (11.1)

0 (0.00)

1 (11.1)

9 (100.0)

4.00 1.32 มาก

Enterprise Information Systems Integration

5 (55.6)

2 (22.2)

1 (11.1)

0 (0.0)

1 (11.1)

9 (100.0)

4.11 1.36 มาก

Software Architecture Analysis and Evaluation

5 (55.6)

2 (22.2)

2 (22.2)

0 (0.0)

1 (11.1)

9 (100.0)

4.33 0.87 มากที่สุด

Software Engineering Process

6 (66.7)

3 (33.3)

0 (0.0)

0 (0.0)

0 (0.0)

9 (100.0)

4.67 0.50 มากที่สุด

Software Product Line Analysis and Evaluation

6 (66.7)

2 (22.2)

1 (11.1)

0 (0.0)

0 (0.0)

9 (100.0)

4.56 0.73 มากที่สุด

จากตารางท่ี 3 ความต�องการเก่ียวกับเนื้อหาของหลักสูตร เนื้อหาของหลักสูตรท่ีกลุ/มตัวอย/างมีความ

ต�องการใน “ระดับมากท่ีสุด” ในรายวิชา Software Engineering Process รายวิชา Software Product Line Analysis and Evaluation และ รายวิชา Software Architecture Analysis and Evaluation ตามลําดับ

Page 157: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ง6

ตารางท่ี 4 แสดงความต�องการของกลุ/มตัวอย/างผู�ใช�ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�เก่ียวกับวิธีการเรียนการสอน

วิธีการเรียนการสอน ระดับความต�องการ

รวม X S.D. แปลผล

มากที่สุด

มาก ปานกลาง

น�อย น�อยที่สุด

เรียนในเวลาราชการ 0 (0.0)

1 (11.1)

5 (55.6)

2 (22.2)

1 (11.1)

9 (100.0)

2.67 0.87 ปานกลาง

เรียนนอกเวลาราชการ 6 (66.7)

2 (22.2)

1 (11.1)

0 (0.0)

0 (0.0)

9 (100.0)

4.56 0.73 มากที่สุด

เรียนเฉพาะวันหยุด 6 (66.7)

2 (22.2)

1 (11.1)

0 (0.0)

0 (0.0)

9 (100.0)

4.56 0.73 มากที่สุด

เรียนทางไกลผ/านสื่อและนัดหมายพบกันสปัดาห�เว�นสัปดาห�

4 (44.4)

2 (22.2)

2 (22.2)

1 (11.1)

0 (0.00)

9 (100.0)

4.00 1.12 มาก

การศึกษาดูงานในประเทศ

4 (44.4)

2 (22.2)

2 (22.2)

0 (0.0)

1 (11.1)

9 (100.0)

3.89 1.30 มาก

การศึกษาดูงานต/างประเทศ

6 (66.7)

1 (11.1)

2 (22.2)

0 (0.0)

0 (0.0)

9 (100.0)

4.44 0.88 มากที่สุด

จากตารางท่ี 4 ความต�องการเก่ียวกับวิธีการเรียนการสอนพบว/า กลุ/มตัวอย/างมีความต�องการใน “ระดับมากท่ีสุด” ท่ีจะเรียนนอกเวลาราชการ หรือ เรียนเฉพาะวันหยุด ( X = 4.56, S.D.=0.73) รองลงมามีความต�องการให�มีการศึกษาดูงานต/างประเทศ ( X = 4.44, S.D.= 0.88) และกลุ/มตัวอย/างมีความต�องการใน “ระดับมาก” ท่ีจะให�มีการเรียนทางไกลผ/านสื่อและนัดหมายพบกันสัปดาห�เว�นสัปดาห� ( X = 4.00, S.D.= 1.12) และ ให�มีการศึกษาดูงานในประเทศ ( X = 3.89, S.D.= 1.30)

Page 158: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ง7

ตารางท่ี 5 แสดงความคิดเห็นของกลุ/มตัวอย/างผู�ใช�ดุษฏีบัณฑิต สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�ต/อคุณสมบัติพ้ืนฐานของผู�เรียน

คุณสมบัติของผู�เรียน ระดับความคิดเห็น

รวม X S.D. แปลผล

มากที่สุด

มาก ปานกลาง

น�อย น�อยที่สุด

สําเร็จปริญญาโทเฉพาะด�านวิศวกรรมคอมพิวเตอร� วิศวกรรมซอฟต�แวร� วิศวกรรมสารสนเทศ วทิยาการคอมพิวเตอร� เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

6 (66.7)

2 (22.2)

1 (11.1)

0 (0.0)

0 (0.0)

9 (100.0)

4.56 0.73 มากที่สุด

สําเร็จปริญญาโทในสาขาวชิาที่เก่ียวข�อง อาทิ วิศวกรรมคอมพิวเตอร� วิศวกรรมสารสนเทศ วทิยาการคอมพิวเตอร� และเทคโนโลยสีารสนเทศ วิศวกรรมไฟฟ�า วิศวกรรมโทรคมนาคม วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส� วิศวกรรมระบบควบคุม วิศวกรรมการวัดคุม สถิติประยุกต� คณิตศาสตร�ประยุกต� หรือ ฟ�สิกส�ประยุกต�

2 (22.2)

6 (66.7)

1 (11.1)

0 (0.0)

0 (0.0)

9 (100.0)

4.11 0.60 มาก

สําเร็จการศึกษาไม/จาํกัดสาขาวชิา

0 (0.0)

1 (11.1)

5 (55.6)

2 (22.2)

1 (11.1)

9 (100.0)

2.67 0.87 ปานกลาง

มีการกําหนดเกรดเฉลี่ยข้ันต่ํา

0 (0.0)

0 (0.0)

4 (44.4)

2 (22.2)

3 (33.3)

9 (100.0)

2.11 0.13 น�อย

มีการกําหนดประสบการณ�ที่เก่ียวข�อง

3 (33.3)

3 (33.3)

3 (33.3)

0 (0.0)

0 (0.0)

9 (100.0)

4.00 0.87 มาก

Page 159: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ง8

จากตารางท่ี 5 ความคิดเห็นต/อคุณสมบัติพ้ืนฐานของผู�เรียนพบว/า กลุ/มตัวอย/างมีความต�องการใน “ระดับมากท่ีสุด” ว/าควรสําเร็จปริญญาโทเฉพาะด�านวิศวกรรมคอมพิวเตอร� วิศวกรรมซอฟต�แวร� วิศวกรรมสารสนเทศ วิทยาการคอมพิวเตอร� เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ ( X = 4.56, S.D.= 0.73) และกลุ/มตัวอย/างมีความต�องการใน “ระดับมาก” ว/า ควรสําเร็จปริญญาโทในสาขาท่ีเก่ียวข�อง ( X = 4.11, S.D.= 0.60) รองลงมาเห็นว/าควรมีการกําหนดประสบการณ�ท่ีเก่ียวข�อง ( X = 4.00, S.D.= 0.87) ตารางท่ี 6 แสดงความต�องการของกลุ/มตัวอย/างผู�ใช�ดุษฏีบัณฑิต สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�เก่ียวกับความรู�

ความสามารถของผู�เรียนหลังสําเร็จการศึกษา

ความรู�ความสามารถ ระดับความต�องการ

รวม X S.D. แปลผล

มากที่สุด

มาก ปานกลาง

น�อย น�อยที่สุด

ด�านทฤษฎ ี 1 (11.1)

1 (11.1)

6 (66.7)

1 (11.1)

0 (0.0)

9 (100.0)

3.22 0.83 ปานกลาง

ด�านการบริหาร 2 (22.2)

3 (33.3)

3 (33.3)

1 (11.1)

0 (0.0)

9 (100.0)

3.67 1.00 มาก

ด�านการวิจัย 2 (22.2)

3 (33.3)

3 (33.3)

0 (0.0)

1 (11.1)

9 (100.0)

3.56 1.24 มาก

ด�านการประยุกต� 8 (88.9)

1 (11.1)

0 (0.0)

0 (0.0)

0 (0.0)

9 (100.0)

4.89 0.33 มากท่ีสุด

ด�านการบูรณาการ 6 (66.7)

2 (22.2)

1 (11.1)

0 (0.0)

0 (0.0)

9 (100.0)

4.56 0.73 มากท่ีสุด

ด�านการวางแผน 3 (33.3)

6 (66.7)

0 (0.0)

0 (0.0)

0 (0.0)

9 (100.0)

4.33 0.50 มากท่ีสุด

ด�านการตดัสินใจ 5 (55.6)

3 (33.3)

1 (11.1)

0 (0.0)

0 (0.0)

9 (100.0)

4.44 0.73 มากท่ีสุด

ด�านการแก�ป�ญหา 8 (88.9)

1 (11.1)

0 (0.0)

0 (0.0)

0 (0.0)

9 (100.0)

4.89 0.33 มากท่ีสุด

ด�านการเป�นผู�นํา 5 (55.6)

3 (33.3)

1 (11.1)

0 (0.0)

0 (0.0)

9 (100.0)

4.44 0.73 มากท่ีสุด

ด�านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ

3 (33.3)

4 (44.4)

2 (22.2)

0 (0.0)

0 (0.0)

9 (100.0)

4.11 0.78 มาก

ด�านมนุษยสัมพันธ�และการทํางานร/วมกับผู�อ่ืน

4 (44.4)

5 (55.6)

0 (0.0)

0 (0.0)

0 (0.0)

9 (100.0)

4.44 0.53 มากท่ีสุด

Page 160: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ง9

จากตารางท่ี 6 พบว/า กลุ/มตัวอย/างมีความต�องการให�ผู�เรียนมีความรู�ความสามารถหลังสําเร็จการศึกษาใน “ระดับมากท่ีสุด” ได�แก/ ด�านการประยุกต� และ ด�านการแก�ป�ญหา ( X = 4.89, S.D.= 0.33) รองลงมาคือ ด�านการบูรณาการ( X = 4.56, S.D.= 0.79) ด�านการตัดสินใจ ด�านการเป�นผู�นํา และ ด�านมนุษยสัมพันธ�และการทํางานร/วมกับผู�อ่ืน ( X = 4.44, S.D.= 0.53) ตารางท่ี 7 แสดงความพร�อมในการสนับสนุนของหน/วยงาน/ผู�บังคับบัญชาแก/ผู�เรียน*

การสนับสนุน จํานวน ร�อยละ งบประมาณ/ทุนการศึกษา 3 33.33 เวลา 8 88.89 วัสดุ อุปกรณ�การเรียน 2 22.22 อ่ืนๆ 2 22.22 รวม 9 100.00

หมายเหตุ * ตอบได�มากกว/า 1 ข�อ จากตารางท่ี 7 พบว/า กลุ/มตัวอย/างส/วนใหญ/แสดงความพร�อมในการสนับสนุนของหน/วยงานแก/ผู�เรียนในด�านเวลา มากท่ีสุด คิดเป�นร�อยละ 88.89 รองลงมาคือด�านงบประมาณ/ทุนการศึกษา คิดเป�นร�อยละ 33.33

Page 161: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ง10

Page 162: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ง11

Page 163: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ง12

Page 164: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ง13

Page 165: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ภาคผนวก จ.

รายงานผลการวิเคราะห�ผลการสํารวจความต�องการของผู�คาดหวังเข�าศึกษาในหลักสูตร

วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

Page 166: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ1

ข�อมูลส)วนบุคคลของกลุ)มตัวอย)าง

ตารางท่ี 8 แสดงจํานวนและร�อยละของข�อมูลส/วนบุคคลของกลุ/มตัวอย/างผู�คาดหวังเข�าศึกษา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต

ข�อมูลส)วนบุคคล จํานวน ร�อยละ เพศ ชาย 39 73.58 หญิง 14 26.42 รวม 53 100.0 อาย ุ น�อยกว/า 25 ป¡ 22 41.51 25-34 ป¡ 30 56.60 35-44 ป¡ 1 1.89 45-54 ป¡ 0 0.00 มากกว/า 54 ป¡ - - รวม 53 100.0 อาชีพ นักศึกษา 11 20.75 ข�าราชการ 1 1.89 พนักงาน 39 73.58 ธุรกิจส/วนตัว 2 3.77 ไม/ได�ทํางาน 0 0.00 อื่นๆ 0 0.00

รวม 53 100.0

จากตารางท่ี 8 พบว/า กลุ/มตัวอย/างเป�นเพศชายร�อยละ 73.58 และเพศหญิง คิดเป�นร�อยละ 26.42

ส/วนใหญ/อายุระหว/าง 25-34 ป¡ คิดเป�นถึงร�อยละ 56.60 รองลงมาอายุน�อยกว/า 25 ป¡ คิดเป�นเพียงร�อยละ 41.51 อายุระหว/าง 35-44 ป¡ คิดเป�นร�อยละ 1.89 กลุ/มตัวอย/างส/วนใหญ/มีอาชีพพนักกงาน คิดเป�นร�อยละ 73.58 รองลงมา อาชีพนักศึกษา คิดเป�นร�อยละ 20.75 และอาชีพต/างๆในปริมาณเพียงเล็กน�อย

Page 167: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ2

ตารางท่ี 9 แสดงจํานวนและร�อยละของผู�คาดหวังเข�าศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต

สาขาวิชาท่ีศึกษาระดับปริญญาตรี หรือ โท จํานวน ร�อยละ สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือ โทจากสาขาวิชา

วิศวกรรมคอมพิวเตอร� 21 51.22 สาขาวิชาอ่ืนๆ 20 48.78 กําลังศึกษาระดับปริญญาตรี หรือ โท สาขาวิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร� 7 58.33 สาขาวิชาอ่ืนๆ 5 41.67

รวม 53 100.0

จากตาราง ท่ี 9 พบว/า กลุ/ ม ตัวอย/ างส/วนใหญ/ กําลั ง ศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชา

วิศวกรรมคอมพิวเตอร� คิดเป�นร�อยละ 57.61 รองลงมาคือ สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิชาอ่ืนๆ คิดเป�นร�อยละ 21.74

ตารางท่ี 11 แสดงจํานวนของสาขาวิชาท่ีกลุ/มตัวอย/างผู�คาดหวังเข�าศึกษาต�องการศึกษาต/อระดับ ปริญญาเอก

สาขาวิชาท่ีต�องการศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวน ร�อยละ ไม/ตอบ วิศวกรรมคอมพิวเตอร� วิศวกรรมซอฟต�แวร� เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาการคอมพิวเตอร� บริหาร อ่ืนๆ

18 10 5 1 4 9 6

33.96 18.87 9.43 1.89 7.55 16.98 11.32

รวม 53 100.0

จากตารางท่ี 11 พบว/า กลุ/มตัวอย/างจํานวน 53 คน ได�ระบุความต�องการศึกษาต/อระดับปริญญา

เอก มีถึง 18 คน คิดเป�นร�อยละ 33.96 ท่ีไม/ตอบ ต/อมาเป�นสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร� คิดเป�นร�อยละ 18.87 และสาขาบริหาร คิดเป�นร�อยละ 16.98

Page 168: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ3

ตารางท่ี 12 แสดงเหตุผลของกลุ/มตัวอย/างผู�คาดหวังเข�าศึกษาในการศึกษาต/อระดับปริญญาเอก

เหตุผลในการศึกษาต)อระดับปรญิญาเอก จํานวน ร�อยละ ไม/ตอบ 20 37.74 เพ่ิมความรู� 17 32.08 เหมาะกับอาชีพ 10 18.87 เปล่ียนมุมมอง 1 1.89 ชอบ 5 9.43

รวม 53 100.0

จากตารางท่ี 12 พบว/า กลุ/มตัวอย/างจํานวน 53 คน ให�เหตุผลในการศึกษาต/อ โดยเรียงลําดับจาก

มากไปน�อยดังนี้ ไม/ตอบ คิดเป�นถึงร�อยละ 37.74 เพ่ิมความรู� คิดเป�นอย/างละร�อยละ 32.08 ต/อมา เหมาะกับอาชีพ เปลี่ยนมุมมอง และ ชอบ ตามลําดับ ตารางท่ี 13 แสดงป�จจัยของกลุ/มตัวอย/างผู�คาดหวังเข�าศึกษาในการศึกษาต/อระดับปริญญาเอก

สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

ปtจจัยในการศึกษาต)อระดับปริญญาเอก สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

จํานวน ร�อยละ

ไม/ตอบ 21 39.62 เพิ่มความรู� 23 43.40

เพิ่มเงินเดือน 1 1.89 หลักสูตร 3 5.66

มีทุน/สวสัดิการ 2 3.77

ชื่อเสียง ม. 3 5.66

รวม 53 100.0

ตารางท่ี 13 พบว/ากลุ/มตัวอย/างจํานวน 53 คน มีป�จจัยในการศึกษาต/อระดับปริญญาเอกสาขาวิชา

วิศวกรรมคอมพิวเตอร� โดยเรียงลําดับจากมากไปน�อยดังนี้ เพ่ือเพ่ิมความรู� คิดเป�นถึงร�อยละ 43.40 ไม/ตอบ คิดเป�นร�อยละ 39.62 ต/อมาเป�น หลักสูตร กับ ชื่อเสียง ม. คิดเป�นร�อยละ อย/างละ 5.66 และ ต/อมาเป�น มีทุน/สวัสดิการ และ เพ่ิมเงินเดือน ตามลําดับ

Page 169: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ4

ตารางท่ี 14 แสดงเหตุจูงใจของกลุ/มตัวอย/างผู�คาดหวังเข�าศึกษาต/อการศึกษาต/อระดับปริญญาเอก สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร� มหาวิทยาลัยนเรศวร

แรงจูงใจ จํานวน ร�อยละ

ไม/ตอบ 31 58.49 ความก�าวหน�า 1 1.89 ใกล�บ�าน 2 3.77 หลักสูตร 8 15.09 ค/าใช�จ/าย 1 1.89 เพ่ิมความสามารถ 3 5.66 ชื่อเสียง 7 13.21

รวม 53 100.0

ตารางท่ี 14 พบว/า กลุ/มตัวอย/างจํานวน 53 คน ไม/ตอบ ถึงร�อยละ 58.49 ระบุถึงเหตุจูงใจต/อ

การศึกษาต/อระดับปริญญาเอกสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร� หลักสูตร คิดเป�นร�อยละ 15.09 ชื่อเสียง คิดเป�นร�อยละ 13.21 ต/อมาเป�น เพ่ิมความสามารถ ใกล�บ�าน และ ความก�าวหน�า กับ ค/าใช�จ/าย ตามลําดับ ตารางท่ี 15 แสดงระยะเวลา (ป¡) ของแผนการท่ีจะศึกษาต/อระดับปริญญาเอก

ระยะเวลา (ปu) ของแผนการศึกษาต)อ จํานวน ร�อยละ ไม/ตอบ 1-2 ป¡

22 2

41.51 3.77

3-4 ป¡ 5 9.43 5-6 ป¡ 12 22.64 7-8 ป¡ 9-10 ป¡

2 8

3.77 15.09

มากกว/า 10 ป¡ 2 3.77 รวม 53 100.0

จากตารางท่ี 15 พบว/า กลุ/มตัวอย/างส/วนใหญ/คือ ร�อยละ 41.51 ไม/ตอบ มีแผนการท่ีจะศึกษาต/อระดับปริญญาโทภายในระยะเวลา 5-6 ป¡ คิดเป�นร�อยละ 22.64 รองลงมาเป�น 9-10 ป¡ คิดเป�นร�อยละ 15.09 3-4 ป¡ ร�อยละ 9.43 และ 1-2 ป¡ กับ มากกว/า 10 ป¡ คิดเป�นร�อยละ 3.77 ตามลําดับ

Page 170: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ5

ตารางท่ี 16 แสดงความสามารถของกลุ/มตัวอย/างผู�คาดหวังเข�าศึกษาในการลงทะเบียนเรียนต/อภาค การศึกษา

ค)าใช�จ)ายต)อภาคการศึกษา จํานวน ร�อยละ 15,000-20,000 บาท 18 37.50 20,001-30,000 บาท 10 20.83 30,001-40,000 บาท 10 20.83 40,001-50,000 บาท 7 14.58 50,001-60,000 บาท 3 6.25 รวม 48 100.0

จากตารางท่ี 16 พบว/า กลุ/มตัวอย/างส/วนใหญ/คือ ร�อยละ 37.50 เห็นว/า ค/าใช�จ/ายต/อภาคการศึกษาท่ีสามารถลงทะเบียนได�ระหว/าง 15,000-20,000 บาท รองลงมาเป�น 20,001-30,000 บาท กับ 30,001-40,000 บาท คิดเป�นร�อยละ อย/างละ 20.38 ต/อมาเป�น 40,001-50,000 บาท และ 50,001-60,000 บาท ตามลําดับ

Page 171: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ6

ตารางท่ี 17 แสดงความต�องการความรู�ของกลุ/มตัวอย/างผู�คาดหวังท่ีจะศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร ดุษฎีบัณฑิต

เน้ือหา ระดับความต�องการ

รวม X S.D. แปลผล

มากที่สุด

มาก ปานกลาง

น�อย น�อยที่สุด

กลุ/มวิชาปฏิสัมพนัธ�ระหว/างมนษุย�และคอมพิวเตอร� Advanced Artificial Intelligence

22 (41.51)

19 (35.85)

12 (22.64)

0 )0.00(

0 (0.00)

53 (100.0)

4.19 0.79 มาก

Advanced Pattern Recognition

15 (28.30)

22 (41.51)

12 (22.64)

3 (5.66)

1 (1.89)

53 (100.0)

3.89 0.95 มาก

Biomedical Image Processing

11 (20.75)

11 (20.75)

26 (49.06)

4 (7.55)

1 (1.89)

53 (100.0)

3.51 0.97 มาก

Spatial and Remote Sensing Information Systems

7 (13.21)

23 (43.40)

21 (39.62)

2 (3.77)

0 (0.00)

53 (100.0)

3.66 0.76 มาก

Virtual and Augmented Reality

14 (26.42)

18 (33.96)

17 (32.08)

4 (7.55)

0 (0.00)

53 (100.0)

3.79 0.93 มาก

Advanced Digital Systems Design

13 (24.53)

18 (22.96)

14 (26.42)

8 (15.09)

0 (0.00)

53 (100.0)

3.68 1.01 มาก

กลุ)มวิชาเทคโนโลยีฮาร�ดแวร�และระบบฝtงตัว Embedded Systems and Smart Device Architecture

16 (30.19)

14 (26.42)

21 (39.62)

1 (1.89)

1 (1.89)

53 (100.0)

3.81 0.96 มาก

Mechatronics 7 (13.21)

13 (24.53)

25 (47.17)

6 (11.32)

2 (3.77)

53 (100.0)

3.32 0.98 ปานกลาง

Microprocessor based Control System Design

10 (18.87)

15 (28.30)

22 (41.51)

5 (9.43)

1 (1.89)

53 (100.0)

3.53 0.97 มาก

Robotics Systems and Application

10 (18.87)

21 (39.62)

19 (35.85)

3 (5.66)

0 (0.00)

53 (100.0)

3.72 0.84 มาก

Very Large Scale Integrated Circuit System Design

10 (18.87)

16 (30.19)

21 (39.62)

5 (9.43)

1 (1.89)

53 (100.0)

3.55 0.97 มาก

Page 172: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ7

ตารางท่ี 17 (ต/อ)

เน้ือหา ระดับความต�องการ

รวม X S.D. แปลผล

มากที่สุด

มาก ปานกลาง

น�อย น�อยที่สุด

กลุ/มวิชาวิศวกรรมซอฟต�แวร� Computer Engineering Management

20 (37.74)

23 (43.40)

9 (16.98)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.17 0.78 มาก

Enterprise Information Systems Integration

18 (33.96)

23 (43.40)

11 (20.75)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.09 0.79 มาก

Software Architecture Analysis and Evaluation

25 (47.17)

21 (39.62)

6 (11.32)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.32 0.75 มากที่สุด

Software Engineering Process

25 (47.17)

22 (41.51)

5 (9.43)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.34 0.73 มากที่สุด

Software Product Line Analysis and Evaluation

24 (45.28)

20 (37.74)

6 (11.32)

2 (3.77)

1 (1.89)

53 (100.0)

4.21 0.93 มาก

จากตารางท่ี 17 พบว/า กลุ/มตัวอย/างมีความต�องการความรู�ท่ีต�องการศึกษาหลักสูตรวิศวกรรม

ศาสตรดุษฎีบัณฑิตทุกด�านใน “ระดับมากท่ีสุด” ดังนี้ Software Architecture ( X = 4.32, S.D.= 0.75 ) และ Software Engineering ( X = 4.34, S.D. = 0.73) และ Mechatronics อยู/ใน “ระดับปานกลาง”ส/วนวิชาอ่ืนๆต/างอยู/ใน “ระดับมาก” ท้ังหมด

Page 173: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ8

ตารางท่ี 18 แสดงลักษณะหลักสูตรระดับปริญญาเอกท่ีต�องการ

หลักสูตรปริญญาเอก ระดับความต�องการ

รวม X S.D. แปลผล

มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

น�อย น�อยท่ีสุด

ลักษณะของหลักสูตรปรญิญาเอก

- ทําวิจัยเพียงอย/างเดียว 5 (9.43)

13 (24.53)

16 (30.19)

8 (15.09)

11 (20.75)

53 (100.0)

2.87 1.27 ปานกลาง

- เรียนรายวิชาและทําวิจยั 15 (28.30)

20 (37.74)

15 (28.30)

1 (1.89)

2 (3.77)

53 (100.0)

3.85 0.99 มาก

- มีการศึกษาวิชาโท หรือวิชารอง

8 (15.09)

17 (32.08)

22 (41.51)

5 (9.43)

1 (1.89)

53 (100.0)

3.49 0.93 มาก

- มีวิชาเลือกเสร ี 15 (28.30)

17 (32.08)

14 (26.42)

4 (7.55)

3 (5.66)

53 (100.0)

3.70 1.14 มาก

หลักสตูรเรียนร/วมกับมหาวิทยาลยัในต/างประเทศ

27 (50.94)

19 (35.85)

6 (11.32)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.36 0.76 มากท่ีสุด

มีการทําวิจัยร/วมกับต/างประเทศ 28 (52.83)

21 (39.62)

3 (5.66)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.43 0.69 มากท่ีสุด

มีการศึกษาดูงานต/างประเทศ 33 (62.26)

16 (30.19)

3 (5.66)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.53 0.70 มากท่ีสุด

จากตารางท่ี 18 พบว/า กลุ/มตัวอย/างมีความต�องการใน “ระดับมากท่ีสุด” ให�มีการศึกษาดูงานต/างประเทศ ( X = 4.53, S.D. = 0.70) มีการทําวิจัยร/วมกับต/างประเทศ ( X = 4.43, S.D. = 0.69) หลักสูตรเรียนร/วมกับมหาวิทยาลัยในต/างประเทศ ( X = 4.36, S.D. = 0.76) และมีความต�องการใน “ระดับมาก” ให�เป�นลักษณะแบบเรียนรายวิชาและทําวิจัย ( X = 3.85, S.D. = 0.99) หลักสูตรระดับปริญญาโทแบบมีวิชา

เลือกเสรี ( X = 3.70, S.D. = 1.14) และ การศึกษาวิชาโท หรือวิชารอง ( X = 3.49, S.D. = 0.93) ตามลําดับ ในขณะท่ีต�องการศึกษาแบบทําวิจัยเพียงอย/างเดียวใน “ระดับปานกลาง” คือ ลักษณะทําวิจัยเพียงอย/างเดียว ( X = 2.87, S.D. = 1.27) ตามลําดับ

Page 174: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ9

คุณลักษณะของผู�สมัครเข�าศึกษา ตารางท่ี 19 แสดงคุณสมบัติของผู�สมัครเข�าศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต

คุณสมบัติของผู�สมัคร เข�าศึกษา

ระดับความคิดเห็น

รวม X S.D. แปลผล

เห็นด�วยอย)างย่ิง

เห็นด�วย เห็นด�วยปานกลาง

ไม)เห็นด�วย

ไม)เห็นด�วยอย)าง

ย่ิง

- มีความรักในวิชาชีพวิศวกรคอมพิวเตอร�

29 (54.72)

19 (35.85)

4 (7.55)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.43 0.72 มากท่ีสุด

- ต�องการนําความรู�ระดับปริญญาเอกไปใช�ประโยชน�

35 (66.04)

17 (32.08)

1 (1.89)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.64 0.52 มากท่ีสุด

- มีความคิดริเริ่มเป�นของตนเอง

28 (52.83)

21 (39.62)

3 (5.66)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.43 0.69 มากท่ีสุด

- มีความสามารถในการวิพากษ�วิจารณ�เทคโนโลยีทางด�านวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

18 (33.96)

20 (37.74)

14 (26.42)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.04 0.83 มาก

- มีแนวคิดเชิงนวัตกรรมทางด�านวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

24 (45.28)

22 (41.51)

7 (13.21)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.32 0.70 มากท่ีสุด

- มีความรู�ภาษา ต/างประเทศระดับด ี

22 (41.51)

23 (43.40)

8 (15.09)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.26 0.71 มาก

- มีความสามารถในการนําเสนอโครงการวิจัย

19 (35.85)

25 (47.17)

8 (15.09)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.17 0.75 มาก

- สําเรจ็การศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

17 (32.08)

16 (30.19)

12 (22.64)

5 (9.43)

3 (5.66)

53 (100.0)

3.74 1.18 มาก

- มีประสบการณ�ในการทํางานเก่ียวข�องกับสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

18 (33.96)

24 (45.28)

9 (16.98)

2 (3.77)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.09 0.81 มาก

- สําเรจ็การศึกษาสาขาวิชาอ่ืนๆ และมีประสบการณ�ท่ีเก่ียวข�อง

14 (26.42)

25 (47.17)

13 (24.53)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

3.98 0.77 มาก

- มีผลการเรียนอยู/ใน 7 24 15 6 1 53 3.57 0.93 มาก

Page 175: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ10

ระดับด ี (13.21) (45.28) (28.30) (11.32) (1.89) (100.0)

จากตารางท่ี 19 พบว/า กลุ/มตัวอย/างมีความคิดเห็นเก่ียวกับคุณลักษณะผู�สมัครเรียนหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตใน “ระดับมากท่ีสุด” มี 3 อันดับแรก ดังนี้ ต�องการนําความรู�ระดับปริญญาเอกไปใช�ประโยชน� ( X = 4.64, S.D. = 0.52) มีความรักในวิชาชีพวิศวกรคอมพิวเตอร� ( X = 4.43, S.D. = 0.72) ตามลําดับ มีความคิดริเริ่มเป�นของตนเอง ( X = 4.43, S.D. = 0.69) ตามลําดับ

Page 176: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ11

ตารางท่ี 20 แสดงความคิดเห็นของกลุ/มตัวอย/างผู�คาดหวังเข�าศึกษาเก่ียวกับทักษะด�านภาษาและ การสื่อสารของนักศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต

ทักษะด�านภาษาและการสื่อสาร

ระดับความคิดเห็น รวม X S.D. แปลผล เห็นด�วย

อย)างย่ิง เห็นด�วย เห็นด�วย

ปานกลาง ไม)เห็นด�วย

ไม)เห็นด�วยอย)างย่ิง

การใช�ภาษาไทย 12 (22.64)

23 (43.40)

16 (30.19)

2 (3.77)

0 (0.00)

53 (100.0)

3.85 0.82 มาก

ทักษะการสื่อสารด�วยการนําเสนอ

12 (22.64)

34 (64.15)

5 (9.43)

2 (3.77)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.06 0.69 มาก

ทักษะการค�นคว�าและแสวงหาความรู�

28 (52.83)

19 (35..85)

5 (9.43)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.40 0.74 มากท่ีสุด

ทักษะการสื่อสารด�วย การฟ�ง

16 (30.19)

27 (50.94)

9 (16.98)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.09 0.74 มาก

ทักษะการสื่อสารด�วย การเขียน

20 (37.74)

23 (43.40)

9 (16.98)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.17 0.78 มาก

ทักษะด�านการสื่อสารด�วยการพูด

22 (41.51)

24 (45.28)

7 (13.21)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.28 0.69 มาก

ทักษะด�านการสื่อสารด�วยความคิด

24 (45.28)

20 (37.74)

7 (13.21)

1 (1.89)

1 (1.89)

53 (100.0)

4.23 0.89 มาก

ทักษะด�านการสื่อสารด�วยการอ/าน

19 (35.85)

26 (49.06)

7 (13.21)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.19 0.74 มาก

Page 177: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ12

ตารางท่ี 20 (ต/อ)

ทักษะด�านภาษาและการสื่อสาร

ระดับความคิดเห็น

รวม X S.D. แปลผล เห็นด�วยอย)างย่ิง

เห็นด�วย เห็นด�วยปานกลาง

ไม)เห็นด�วย

ไม)เห็นด�วยอย)าง

ย่ิง ทักษะในการเขียนข�อเสนอโครงการ

13 (24.53)

29 (54.72)

11 (20.75)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.04 0.68 มาก

ทักษะการค�นคว�าทางวิชาการ บทความและงานวิจัย

21 (39.62)

25 (47.17)

7 (13.21)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.26 0.68 มาก

การใช�ภาษาต/างประเทศ 23 (43.40)

24 (45.28)

6 (11.32)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.32 0.67 มากท่ีสุด

ทักษะในการเขียนบทความ 15 (28.30)

20 (37.74)

18 (33.96)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

3.94 0.79 มาก

ทักษะในกระบวนการทางวิจัยและทดลอง

21 (39.62)

20 (37.74)

12 (22.64)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.17 0.78 มาก

จากตารางท่ี 20 พบว/า กลุ/มตัวอย/างยังมีความคิดเห็นใน “ระดับมากท่ีสุด” อยู/ 2 อันดับ ดังนี้ ทักษะการค�นคว�าและแสวงหาความรู� ( X = 4.40, S.D. = 0.74) และ การใช�ภาษาต/างประเทศ ( X = 4.32, S.D. = 0.67) ส/วนท่ีเหลืออยู/ในระดับ “มาก” ท้ังหมด

คุณลักษณะของอาจารย�ผู�สอน ตารางท่ี 21 แสดงคุณลักษณะของอาจารย�ผู�สอน

คุณลักษณะของ อาจารย�ผู�สอน

ระดับความคิดเห็น

รวม X S.D. แปลผล เห็นด�วยอย)างย่ิง

เห็นด�วย เห็นด�วยปานกลาง

ไม)เห็นด�วย

ไม)เห็นด�วยอย)างย่ิง

- เป�ดใจรับฟ�งและแลก เปลี่ยนความคิดเห็นใหม/ๆ

41 (77.36)

11 (20.75)

1 (1.89)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.75 0.48 มากท่ีสุด

- มีความสามารถในการให�คําปรึกษา

34 (64.15)

17 (32.08)

2 (3.77)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.60 0.57 มากท่ีสุด

- แนะนําความรู�และความคิดใหม/ๆ

37 (69.81)

13 (24.53)

3 (5.66)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.64 0.59 มากท่ีสุด

Page 178: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ13

ตารางท่ี 21 (ต/อ)

คุณลักษณะของ อาจารย�ผู�สอน

ระดับความคิดเห็น รวม X S.D.

แปลผล

เห็นด�วยอย)างย่ิง

เห็นด�วย

เห็นด�วยปานกลาง

ไม)เห็นด�วย

ไม)เห็นด�วยอย)างย่ิง

- มีข�อมูลและติดตามเทคโนโลยีที่ปรับเปล่ียนอย/างต/อเน่ือง

35 (66.04)

15 (28.30)

3 (5.66)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.60 0.60 มากที่สุด

- มีวิสัยทัศน�และโลกทัศน�ทางวชิาการ

37 (69.81)

13 (24.53)

3 (5.66)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.64 0.59 มากที่สุด

- เป�นผู�เชี่ยวชาญในวิชาชพีวิศวกรรมคอมพวิเตอร�

32 (60.38)

16 (30.19)

5 (9.43)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.51 0.67 มากที่สุด

- สร�างกําลังใจให�ในการศึกษาค�นคว�า แสวงหาความรู� และเป�นส/วนหน่ึงของชีวิต

30 (56.60)

20 (37.74)

3 (5.66)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.51 0.61 มากที่สุด

- จบระดับปริญญาเอกในสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร�

20 (37.74)

15 (28.30)

14 (26.42)

3 (5.66)

1 (1.89)

53 (100.0)

3.94 1.03 มาก

- จบปริญญาเอกในสาขาวิชาที่เกี่ยวข�อง

22 (41.51)

18 (33.96)

10 (18.87)

3 (5.66)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.11 0.91 มาก

- สามารถผลักดันให�นักศึกษาค�นคว�า แสวงหาความรู�

35 (66.04)

16 (30.19)

2 (3.77)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.62 0.56 มากที่สุด

- มีผลงาน ตํารา หรือเอกสารการสอนด�านวิศวกรรมคอมพวิเตอร� หรือที่เกี่ยวข�องเป�นที่ยอมรับ ในวงวิชาการ

20 (37.74)

23 (43.40)

9 (16.98)

1 (1.89)

0 (2.2)

53 (100.0)

4.17 0.78 มาก

- มีผลงานวิจัยอย/างต/อเน่ืองเป�นที่ยอมรับในวงวิชาการ

22 (41.51)

20 (37.74)

10 (18.87)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.19 0.81 มาก

- มีการนําเสนอและเผยแพร/ผลงานวิจัยในระดับชาติและนานาชาติ

22 (41.51)

20 (37.74)

10 (18.87)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.19 0.81 มาก

- มีเครือข/ายการทาํงานในระดับชาติและนานาชาติ

29 (54.72)

19 (35.85)

5 (9.43)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.45 0.67 มากที่สุด

Page 179: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ14

จากตารางท่ี 21 พบว/า สําหรับคุณลักษณะของอาจารย�ผู�สอนท่ีกลุ/มตัวอย/างมีความคิดเห็นใน “ระดับมากท่ีสุด” เพียงแค/ 3 อันดับแรก ดังนี้ จบระดับปริญญาเอกในสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร� ( X = 3.94, S.D. = 1.03) จบปริญญาเอกในสาขาวิชาท่ีเก่ียวข�อง ( X = 4.11, S.D. = 0.91) มีผลงาน ตํารา หรือเอกสารการสอนด�านวิศวกรรมคอมพิวเตอร� หรือท่ีเก่ียวข�องเป�นท่ียอมรับ ในวงวิชาการ ( X = 4.17, S.D. = 0.78) ตามลําดับ การเรียนการสอนในระดับปริญญาเอก ตารางท่ี 22 แสดงวิธีการสอนในระดับปริญญาเอก

วิธีการสอนในระดับปริญญาเอก

ระดับความคิดเห็น เห็นด�วยอย)างย่ิง

เห็นด�วย

เห็นด�วยปานกลาง

ไม)เห็นด�วย

ไม)เห็นด�วยอย)างย่ิง

รวม X S.D. แปลผล

สร�างความคิดรวบยอด 26 (49.06)

15 (28.30)

12 (22.64)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.26 0.81 มาก

ศึกษาดูงาน 16 (30.19)

23 (43.40)

12 (22.64)

2 (3.77)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.00 0.83 มาก

ประสบการณ�ตรง 26 (49.06)

25 (47.17)

2 (3.77)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.45 0.57 มากท่ีสุด

บรรยาย 12 (22.64)

20 (37.74)

15 (28.30)

5 (9.43)

1 (1.89)

53 (100.0)

3.70 0.99 มาก

ให�นักศึกษาเป�นศูนย�กลาง

18 (33.96)

24 (45.28)

8 (15.09)

3 (5.66)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.08 0.85 มาก

กรณีศึกษา 24 (45.28)

24 (45.28)

4 (7.55)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.34 0.71 มากท่ีสุด

สอนเป�นทีม 26 (49.06)

20 (37.74)

6 (11.32)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.34 0.76 มากท่ีสุด

สาธิต 31 (58.49)

14 (26.42)

7 (13.21)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.42 0.80 มากท่ีสุด

จ ากตาราง ท่ี 22 พบว/ า กลุ/ ม ตั วอย/ า ง มีความ คิด เห็ น เ ก่ี ยว กับวิ ธี ก ารสอนหลั กสู ต ร วิศวกรรมศาสตรดุษฏีบัณฑิตใน “ระดับมากท่ีสุด” โดยมี 3 อันดับแรก คือ ประสบการณ�ตรง ( X = 4.45, S.D. = 0.57) สาธิต ( X = 4.42, S.D. = 0.80) และ กรณีศึกษา ( X = 4.34, S.D. = 0.71) กับ สอนเป�นทีม ( X = 4.34, S.D. = 0.76) ตามลําดับ

Page 180: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ15

ตารางท่ี 23 แสดงลักษณะการเรียนรู�ในระดับปริญญาเอก

ลักษณะการเรียนรู�ใน ระดับปริญญาโท

ระดับความคิดเห็น

รวม X S.D. แปลผล เห็นด�วยอย)างย่ิง

เห็นด�วย เห็นด�วยปานกลาง

ไม)เห็นด�วย

ไม)เห็นด�วย

อย)างย่ิง เรียนรู�ด�วยการแบ/งป�นความรู�

27 (50.94)

22 (41.51)

4 (7.55)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.43 0.64 มากท่ีสุด

เรียนรู�ด�วยการนําเสนอและเผยแพร/ผลงานทางวิชาการ

19 (35.85)

23 (43.40)

10 (18.87)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.13 0.79 มาก

เรียนรู�แบบบูรณาการ 18 (33.96)

27 (50.94)

7 (13.21)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.17 0.73 มาก

เรียนรู�ด�วยการฝ£กปฏบัิต ิ 32 (60.38)

14 (26.42)

7 (13.21)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.47 0.72 มากท่ีสุด

เรียนรู�ด�วยการวิเคราะห� 25 (47.17)

22 (41.51)

6 (11.32)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.36 0.68 มากท่ีสุด

เรียนรู�ด�วยการแก�ป�ญหา 32 (60.38)

16 (30.19)

5 (9.43)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.51 0.67 มากท่ีสุด

เรียนรู�ด�วยการสังเคราะห� 23 (43.40)

18 (33.96)

12 (22.64)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.21 0.79

มาก

เรียนรู�ด�วยการประชุมสมัมนา

10 (18.87)

24 (45.28)

17 (32.08)

2 (3.77)

0 (0.00)

53 (100.0)

3.79 0.79 มาก

เรียนรู�ด�วยตัวเองเป�นหลัก 19 (35.85)

18 (33.96)

14 (50.94)

1 (1.89)

1 (1.89)

53 (100.0)

4.00 0.94 มาก

เรียนรู�ร/วมกับมหาวิทยาลยัอ่ืนในประเทศไทย

18 (33.96)

27 (50.94)

7 (13.21)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.17 0.73 มาก

เรียนรู�ด�วยการวิพากษ� 12 (22.64)

20 (37.74)

18 (33.96)

3 (5.66)

0 (0.00)

53 (100.0)

3.77 0.87 มาก

เรียนรู�ร/วมกับมหาวิทยาลยัอ่ืนในต/างประเทศ

23 (43.40)

19 (35.85)

11 (20.75)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.23 0.78 มาก

จากตารางท่ี 23 พบว/า กลุ/มตัวอย/างมีความคิดเห็นเก่ียวกับลักษณะการเรียนรู�ในระดับปริญญา

เอกใน “ระดับมากท่ีสุด” โดยมี 3 อันดับแรกคือ เรียนรู�ด�วยการแก�ป�ญหา ( X = 4.51, S.D. = 0.67) เรียนรู�ด�วยการฝ£กปฏิบัติ ( X = 4.47, S.D. = 0.72) เรียนรู�ด�วยการวิเคราะห� ( X = 4.36, S.D. = 0.68) ตามลําดับ ส/วนท่ีเหลือกลุ/มตัวอย/างมีความเห็นใน “ระดับมาก” ท้ังหมดดังตารางข�างต�น ตารางท่ี 24 แสดงการจัดหาทรัพยากรสนับสนุนของหลักสูตร

Page 181: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ16

การสนับสนุน และความร)วมมือ

ระดับความคิดเห็น

รวม X S.D. แปลผล เห็นด�วยอย)างย่ิง

เห็นด�วย เห็นด�วยปานกลาง

ไม)เห็นด�วย

ไม)เห็นด�วยอย)าง

ย่ิง

- มีห�องสมุดและแหล/งสารสนเทศท่ีเพียงพอ

30 (56.60)

18 (33.96)

4 (7.55)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.45 0.72 มากท่ีสุด

- มีความร/วมมือกับสมาคมวิชาชีพท่ีเก่ียวข�อง

28 (52.83)

21 (39.62)

4 (7.55)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.45 0.64 มากท่ีสุด

- มีความร/วมมือกับมหาวิทยาลยัและสถาบันวิจัยทางด�านวิศวกรรมคอมพิวเตอร�หรือสาขาวิชาท่ีเก่ียวข�อง

30 (56.60)

16 (30.19)

6 (11.32)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.42 0.77 มากท่ีสุด

- มีความร/วมมือกับต/างประเทศ

27 (50.94)

20 (37.74)

6 (11.32)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.40 0.69 มากท่ีสุด

จากตารางท่ี 24 พบว/า กลุ/มตัวอย/างมีความคิดเห็นเก่ียวกับการจัดทรัพยากรสนับสนุนหลักสูตรใน “ระดับมากท่ีสุด” โดยเรียงลําดับจากมากไปน�อย ดังนี้ มีห�องสมุดและแหล/งสารสนเทศท่ีเพียงพอ ( X = 4.45, S.D. = 0.72) มีความร/วมมือกับสมาคมวิชาชีพท่ีเก่ียวข�อง ( X = 4.45, S.D. = 0.64) ควรมีความร/วมมือกับมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยทางด�านวิศวกรรมคอมพิวเตอร�หรือสาขาวิชาท่ีเก่ียวข�อง ( X = 4.42, S.D. = 0.77) และควรมีความร/วมมือกับต/างประเทศ ( X = 4.40, S.D. = 0.69) ตามลําดับ

Page 182: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ17

คุณลักษณะของผู�สําเร็จการศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฏีบัณฑิต

ตารางท่ี 25 แสดงคุณลักษณะของผู�สําเร็จการศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต

คุณลักษณะของผู�สําเร็จการศึกษาหลักสูตร

วิศวกรรมศาสตรดุษฏีบัณฑิต

ระดับความคิดเห็น

รวม X S.D. แปลผล

เห็นด�วยอย)างย่ิง

เห็นด�วย เห็นด�วยปานกลาง

ไม)เห็นด�วย

ไม)เห็นด�วยอย)างย่ิง

มุ/งมั่นพัฒนาตนเอง 39 (73.58)

13 (24.53)

1 (1.89)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.72 0.50 มากท่ีสุด

มีความคิดริเริ่มสร�างสรรค� 38 (71.70)

13 (24.53)

2 (3.77)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.68 0.55 มากท่ีสุด

มีคุณธรรมและจริยธรรม 36 (67.92)

14 (26.42)

2 (3.77)

0 (0.00)

1 (1.89)

53 (100.0)

4.58 0.75 มากท่ีสุด

มีความรับผิดชอบต/อสังคม 33 (62.26)

16 (30.19)

3 (5.66)

0 (0.00)

1 (1.89)

53 (100.0)

4.51

0.78 มากท่ีสุด

รักการแสวงหาความรู� 41 (77.36)

10 (18.87)

2 (3.77)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.74

0.52 มากท่ีสุด

แสวงหาความรู�ได�ด�วยตนเอง

43 (81.13)

9 (16.98)

0 (0.00)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.77

0.54 มากท่ีสุด

มีมนุษยสมัพันธ� 26 (49.06)

23 (43.40)

3 (5.66)

0 (0.00)

1 (1.89)

53 (100.0)

4.38

0.77 มากท่ีสุด

มีความอยากรู�อยากเห็น 32 (60.38)

16 (30.19)

4 (7.55)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.49 0.72 มากท่ีสุด

มีความทันสมัยและติดตามเทคโนโลย ี

33 (62.26)

17 (32.08)

3 (5.66)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.57

0.60 มากท่ีสุด

มีการทํางานเป�นทีม 32 (60.38)

17 (32.08)

3 (5.66)

0 (0.00)

1 (1.89)

53 (100.0)

4.49

0.78 มากท่ีสุด

มีความสามารถในการประยุกต�ใช�องค�ความรู�

34 (64.15)

16 (30.19)

3 (17.4)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.58 0.60 มากท่ีสุด

Page 183: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ18

ตารางท่ี 25 (ต/อ) คุณลักษณะของผู�สําเร็จ

การศึกษาหลักสูตร วิศวกรรมศาสตรดุษฏี

บัณฑิต

ระดับความคิดเห็น

รวม X S.D. แปลผล

เห็นด�วยอย)างย่ิง

เห็นด�วย เห็นด�วยปานกลาง

ไม)เห็นด�วย

ไม)เห็นด�วยอย)างย่ิง

มีความเป�นสากล 28 (52.83)

18 (33.96)

6 (11.32)

1 (1.89)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.38

0.77 มากท่ีสุด

เป�นตัวของตัวเอง 26 (49.06)

17 (32.08)

10 (18.87)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.30

0.77 มากท่ีสุด

สามารถทํางานภายใต�ภาวะกดดัน

25 (47.17)

22 (41.51)

5 (9.43)

0 (0.00)

1 (1.89)

53 (100.0)

4.32

0.80 มากท่ีสุด

มีความรู�ภาษาท่ีสองนอกเหนือจากภาษาไทย

28 (52.83)

21 (39.62)

3 (5.66)

0 (0.00)

1 (1.89)

53 (100.0)

4.42

0.77 มากท่ีสุด

มีความรู�แบบสหวิทยาการ 22 (41.51)

24 (45.28)

7 (13.21)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.28

0.69 มาก

มีทักษะในการวิจัย 28 (52.83)

16 (30.19)

9 (16.98)

0 (0.00)

0 (0.00)

53 (100.0)

4.36

0.76 มากท่ีสุด

จากตารางท่ี 25 พบว/า กลุ/มตัวอย/างมีความคิดเห็นเก่ียวกับคุณลักษณะของผู�สําเร็จ

การศึกษาใน “ระดับมากท่ีสุด” โดย 3 ลําดับแรก คือ แสวงหาความรู�ได�ด�วยตนเอง ( X = 4.77, S.D. = 0.54) รักการแสวงหาความรู� ( X = 4.74, S.D. = 0.52) มุ/งม่ันพัฒนาตนเอง( X = 4.72, S.D. = 0.50) ตามลําดับ

Page 184: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ19

Page 185: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ20

Page 186: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ21

Page 187: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

จ22

Page 188: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
Page 189: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
Page 190: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ภาคผนวก ฉ.

คําสั่งแต)งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร

Page 191: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ฉ1

Page 192: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ฉ2

Page 193: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ฉ3

Page 194: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ภาคผนวก ช. ข�อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว)าด�วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2554

Page 195: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ช1

Page 196: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ช2

Page 197: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ช3

Page 198: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ช4

Page 199: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ช5

Page 200: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ช6

Page 201: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ช7

Page 202: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ช8

Page 203: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ช9

Page 204: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ช10

Page 205: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ช11

Page 206: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ช12

Page 207: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ช13

Page 208: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ช14

Page 209: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ช15

Page 210: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ช16

Page 211: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ช17

Page 212: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ภาคผนวก ซ. ข�อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว)าด�วย การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา

พ.ศ. 2554 (แก�ไขเพ่ิมเติม ฉบับที่ 2)

Page 213: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ซ1

Page 214: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ซ2

Page 215: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ภาคผนวก ฌ. ข�อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว)าด�วย การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา

พ.ศ. 2554 (แก�ไขเพ่ิมเติม ฉบับที่ 3)

Page 216: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ฌ1

Page 217: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ภาคผนวก ญ. ข�อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว)าด�วย การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา

พ.ศ. 2554 (แก�ไขเพ่ิมเติม ฉบับที่ 4)

Page 218: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ญ1

Page 219: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ญ2