109
ปจจัยที่สงผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน : กรณีศึกษา บริษัท ริโก (ประทศไทย) จํากัด โดย นายสถิตย มีสิทธิสารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารจัดการองคการ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2561

ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

ปจจัยที่สงผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน : กรณีศึกษาบริษัท ริโก (ประทศไทย) จํากัด

โดย

นายสถิตย มีสิทธ์ิ

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารจัดการองคการคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2561

Page 2: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

Factors Influencing the Employee Efficiency of Work Performance : A CaseStudy of Ricoh (Thailand) Co. Ltd.

ByMr.Satit Meesit

A Study Report Submitted in Partial Fulfillment of theRequirement for the Master Degree of Arts

Department of Organizational AdministrationFaculty of Liberal Arts

Krirk University2018

Page 3: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

(1)

(1)

หัวขอสารนิพนธ ปจจัยที่สงผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน : กรณีศึกษาบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

ชื่อผูวิจัย นายสถิตย มีสิทธิ์หลักสูตร/สาขาวิชา / มหาวิทยาลัย ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต / สาขาวิชาการบริหารจัดการองคการ /

มหาวิทยาลัยเกริกอาจารยท่ีปรึกษาสารนิพนธ ผูชวยศาสตราจารย ดร. ปรีชา ปยจันทรปการศึกษา 2561

บทคัดยอ

การศึกษาน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัทริโก (ประเทศไทย) จํากัด และเพื่อศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด ใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณโดยใชแบบสอบถามเปนเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูลจากพนักงานบริษัท ริโก (ประเทศไทย)จํากัด กลุมตัวอยางจํานวน 273 คนวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ สถิติที่ใช ไดแก ความถี่ รอยละคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใชหาคาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลของพนักงานกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานคือ คาไคสแควร และคาสหสัมพันธเพียรสัน

ผลการศึกษา พบวากลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศชาย สวนมากมีอายุ 31-40 ป มีสถานภาพสมรส สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี มีรายไดตอเดือน 20,001 บาทขึ้นไป สวนมากฝายชางบริการและมีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 5-10 ป ปจจัยดานการบริหารองคกรภาพรวมทั้ง 7 ดานพบวาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอยูในระดับสูง เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวาดานที่มี ระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสูง คือดานกลยุทธขององคกร รองลงมาดานบุคลากร ดานทักษะความรูความสามารถ ดานระบบงาน ดานรูปแบบการบริหารจัดการ ดานคานิยมรวม และลําดับสุดทาย ดานโครงสรางองคกร สวนประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัดโดยภาพรวม มีระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอยูในระดับสูง พบวาดานที่มีระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสูง คือดานปริมาณงาน รองลงมาดานเวลา ดานคุณภาพของงาน และดานคาใชจาย

ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา ปจจัยสวนบุคคล คือ รายไดตอเดือนมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่

Page 4: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

ระดับ 0.05 สวนปจจัยสวนบุคคล ไดแก สถานภาพสมรส เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตําแหนงงานและระยะเวลาในการปฏิบัติงานไมมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัทริโก (ประเทศไทย) จํากัด นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และปจจัยดานการบริหารองคกรทั้ง 7ดาน มีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

(2)

Page 5: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

Study Report Title : Factors Influencing the Employee Efficiency of WorkPerformance : A Case Study of Ricoh (Thailand) Co. Ltd.

Author’s Name : Mr.Satit MeesitFaculty/Department/University : Department of Organizational Administration

Faculty of Liberal Arts, Krirk UniversityStudy Report Advisor : Assist. Prof. Dr. Preecha PiyachanAcademic Year : 2018

ABSTRACT

The objectives of this research were to 1) analyze the efficiency level of workperformance of the employees at Ricoh (Thailand) Co. Ltd., and 2) analyze the factorsinfluencing the efficiency of work performance of the employees at Ricoh (Thailand) Co. Ltd.This was a quantitative research. The research tool was the questionnaire. The samples for thisresearch were two hundred and seventy-three employees of Ricoh (Thailand) Co. Ltd. The datareceived were analyzed using Statistical Package for Social Sciences by frequency, percentage,mean, standard deviation, Chi-Square, and Pearson Product Moment Correlation.

The results revealed that the majority of the respondents were male, 31-40 years old,married, received Bachelor’s Degrees, earned average monthly income of 20,001 baht and over,worked as the service technicians and had work experience of 5-10 years. The results of theoverall organizational management factors influencing the efficiency of work performance werethat the factors that had the efficiency at high level were the factors of the organizational strategy,next on down were the factors of personnel, skills and competence, work system, managementmodel, shared value and organizational structure, respectively. In terms of the overall efficiencyof work performance, it was found at high level. The factors that were found at high level werethe factors of workload, time, quality of work, and cost, respectively. In addition, the results ofthe hypothetical testing revealed that the respondent average monthly income was related to theefficiency of work performance at statistical significant level of 0.05. On the other hand, therespondent marital status, age, educational background, work position, and years of experience

(3)

Page 6: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

were not related to the respondent efficiency of work performance at statistical significant level of0.05. Moreover, it was found that the seven factors of the organizational management wererelated to the respondent efficiency of work performance at statistical significant level of 0.01.

(4)

Page 7: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

(5)

กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธเลมน้ีสําเร็จไดดวยความกรุณาจาก ผูชวยศาสตราจารย ดร. ปรีชา ปยจันทรอาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ ที่ทานไดกรุณาสละเวลาในการใหขอเสนอแนะตลอดจนการใหคําปรึกษาและคําแนะนํา ปรับปรุงแกไขใหความรูและแนวคิดใหม ๆ ในการทําสารนิพนธเลมน้ีสมบูรณยิ่งขึ้น ซึ่งเปนประโยชนแกผูศึกษาเปนอยางมาก จึงสงผลใหสารนิพนธเลมน้ีสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี

ขอขอบพระคุณคณาจารยหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารจัดการองคการ มหาวิทยาลัยเกริกทุกทานที่ใหคําแนะนําดานการดําเนินการศึกษา อันเปนประโยชนตอการทําสารนิพนธเลมน้ีอยางละเอียดทุกขั้นตอนจนสําเร็จสมบูรณ และขอขอบคุณพนักงาน บริษัท ริโก(ประเทศไทย) จํากัด ที่ใหความรวมมือในการกรอกแบบสอบถามพรอมเสนอแนะความคิดเห็นอันเปนประโยชนตองานวิจัยและบริษัทฯ

ความสําเร็จในคร้ังน้ีจะเกิดขึ้นไมได หากไมไดรับกําลังใจจากครอบครัวที่เปนกําลังใจในการศึกษามาโดยตลอด และขอขอบคุณบุคคลอ่ืนๆ ที่มีสวนชวยเหลือ แนะนําในการทําใหสารนิพนธฉบับน้ีจนเสร็จสมบูรณ

นายสถิตย มีสิทธิ์มหาวิทยาลัยเกริกพ.ศ.2561

Page 8: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

(6)

สารบัญหนา

บทคัดยอภาษาไทย (1)บทคัดยอภาษาอังกฤษ (3)กิตติกรรมประกาศ (5)สารบัญ (6)สารบัญตาราง (8)สารบัญภาพ (11)บทท่ี 1 บทนํา 1

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 11.2 วัตถุประสงคการศึกษา 31.3 ขอบเขตการศึกษา 31.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 41.5 คํานิยามศัพทที่เกี่ยวของ 4

บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 62.1 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับประสิทธิภาพการทํางาน 62.2 แนวคิดทฤษฎีปจจัยหลักการของแมคคินซีย (McKinsey) (McKinsey’s 7SFramework)

21

2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 242.4 กรอบแนวคิดการศึกษา 292.5 สมมติฐานการศึกษา 312.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ 312.7 ความสัมพันธระหวางตัวแปร ตัวชี้วัด และขอคําถาม 34

บทท่ี 3 วิธีการศึกษา 403.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 403.2 เคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูล 413.3 การเก็บรวบรวมขอมูล 433.4 การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ 433.5 การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชวิเคราะหขอมูล 44

Page 9: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

(7)

สารบัญหนา

บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 464.1 ผลการวิเคราะหปจจัยสวนบุคคล 474.2 ผลการวิเคราะหขอมูลปจจัยดานการบริหารองคกร 494.3 ผลการวิเคราะหประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก

(ประเทศไทย) จํากัด57

4.4 การทดสอบสมมติฐานระหวางปจจัยสวนบุคคลและปจจัยการบริหารองคกรกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย)จํากัด

62

บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ 785.1 สรุปผลการวิจัย 785.2 อภิปรายผล 795.3 ขอเสนอแนะ 81

บรรณานุกรม 83ภาคผนวก 87 แบบสอบถาม 88ประวัติผูศึกษา 96

Page 10: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

(8)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา2.1 ความสัมพันธระหวางตัวแปร ตัวชี้วัด และขอคําถาม 343.1 จํานวนกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา 413.2 เกณฑการวัดระดับความสัมพันธ 454.1 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล 474.2 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานปจจัยรายดานการบริหารองคกรและภาพรวม 494.3 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานปจจัยดานการบริหารองคกร ดานกลยุทธ

ขององคกร50

4.4 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานปจจัยดานการบริหารองคกร ดานโครงสรางองคกร

51

4.5 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานปจจัยดานการบริหารองคกร ดานระบบงาน

52

4.6 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานปจจัยดานการบริหารองคกร ดานบุคลากร 534.7 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานปจจัยดานการบริหารองคกร ดานทักษะ

ความรูความสามารถ54

4.8 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานปจจัยดานการบริหารองคกร ดานรูปแบบการบริหารจัดการ

55

4.9 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานปจจัยดานการบริหารองคกร ดานคานิยมรวม

56

4.10 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด โดยรวม 57

4.11 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด จําแนกตามคุณภาพของงาน 58

4.12 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด จําแนกตามปริมาณงาน 59

4.13 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด จําแนกตามดานเวลา 60

Page 11: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

(9)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา4.14 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ

พนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด จําแนกตามดานคาใชจาย 614.15 ความสัมพันธระหวางเพศกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก

(ประเทศไทย) จํากัด 624.16 ความสัมพันธระหวางอายุกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก

(ประเทศไทย) จํากัด 634.17 ความสัมพันธระหวางสถานภาพกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท

ริโก (ประเทศไทย) จํากัด 644.18 ความสัมพันธระหวางระดับการศึกษากับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน

บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด 654.19 คาความสัมพันธระหวางรายไดเฉลี่ยตอเดือนกับประสิทธิภาพการทํางานของ

พนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด 664.20 ความสัมพันธระหวางตําแหนงงานกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน

บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด 674.21 ความสัมพันธระหวางระยะเวลาในการปฏิบัติงานกับประสิทธิภาพการทํางาน

ของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด 684.22 สรุปผลการทดสอบสมมติฐานที่ 1 694.23 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการบริหารองคกร ดานกลยุทธขององคกรกับ

ประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด70

4.24 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการบริหารองคกร ดานโครงสรางองคกรกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

71

4.25 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการบริหารองคกร ดานระบบงานกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

72

4.26 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการบริหารองคกร ดานบุคลากรกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

73

Page 12: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

(10)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา4.27 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการบริหารองคกร ดานทักษะความรู

ความสามารถกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

74

4.28 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการบริหารองคกร ดานรูปแบบการบริหารจัดการกับระดับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

75

4.29 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการบริหารองคกร ดานคานิยมรวมกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

76

4.30 สรุปผลการทดสอบสมมติฐานที่ 2 77

Page 13: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

(11)

สารบัญภาพ

แผนภาพที่ หนา2.1 ปจจัยที่มีผลตอการปรับปรุงประสิทธิภาพงาน 192.2 โครงรางพื้นฐาน 7S ของแมคคินซีย (McKinsey) (7S Framework of McKinsey) 222.3 กรอบแนวคิดในการศึกษา 30

Page 14: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

1

บทที่ 1บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหาปจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงและมีการแขงขันกันในธุรกิจเปนอยางสูงในทุก ๆ ดาน

การนําใชเทคโนโลยีมาใชในการดําเนินธุรกิจจึงเปนเร่ืองสําคัญซึ่งทุกองคกรตองปรับตัวใหเขากับกระแสยุคสมัยเพื่อใหองคกรกาวหนาสงผลใหอัตราการผลิตสินคาหรือการบริการรวดเร็วและมีคุณภาพ ซึ่งอัตราความเร็วดังกลาวน้ีจะวัดดวยความเร็วในการดําเนินธุรกรรมทางเศรษฐกิจ เวลาที่ตองใชในการตัดสินใจเกี่ยวกับการลงทุน ความสําเร็จในการสรางแนวคิดใหม ๆ และการนําสินคาสูตลาด อัตราการหมุนเวียนของทุน ประการสําคัญคือ ความเร็วในการสรางและกระจายขอมูลสารสนเทศและความรูภายในระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจที่เร็วจะสรางความมั่งคั่งไดรวดเร็วกวาระบบเศรษฐกิจที่ชา ปจจัยที่ทําใหระบบเศรษฐกิจแบบใหมดําเนินไปอยางรวดเร็ว คือความรูซึ่งความรู น้ีจะเปนพื้นฐานของเทคโนโลยีใหมๆ เชน บารโคด คอมพิวเตอร และขายงานอีเล็กทรอนิกสที่แผไปทั่วโลก เปนตน เทคโนโลยีเหลาน้ีเปนตัวอยางของกิจกรรมที่ดําเนินไปอยางรวดเร็ว ซึ่งนอกจากจะชวยใหกิจกรรมทางเศรษฐกิจดําเนินไปอยางรวดเร็วแลวยังสามารถเก็บขอมูลจากลูกคาผูใชสินคา และบริการแลวปอนกลับไปยังผูผลิตในทันทีสามารถทําใหผูผลิตรับรูและตอบสนองความเปลี่ยนแปลงของตลาดผูบริโภคไดทันตอเหตุการณ ความรูจึงชวยใหระยะเวลาในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจสั้นลง (รังสรรค ประเสริฐศรี, 2549 : 59)

ประสิทธิภาพการทํางานจึงมีความสําคัญเปนปจจัยและกระบวนการในการดําเนินงานโดยประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานตองมีความคุมคา ประหยัด ไมมีการสูญเปลาเกินความจําเปนรวมถึงมีการใชกลยุทธหรือเทคนิควิธีการปฏิบัติที่เหมาะสม สามารถนําไปสูการบังเกิดผลไดเร็วและมีคุณภาพ ความสําคัญถูกเชื่อมโยงกับประสิทธิภาพของบุคคลการทํางานเสร็จโดยสูญเสียเวลาและพลังงานนอยที่สุด คานิยมการทํางานที่ยึดกับสังคม เปนการทํางานไดเร็วและไดงานดี บุคคลที่มีประสิทธิภาพในการทํางาน คือบุคคลที่ต้ังใจปฏิบัติงานอยางเต็มความสามารถ ใชกลวิธีหรือเทคนิคการทํางานที่จะสรางผลงานไดมาก เปนผลงานที่มีคุณภาพ เปนที่นาพอใจ โดยสิ้นเปลืองคาใชจาย พลังงานและเวลานอย เปนบุคคลที่มีความสุขและพอใจในการทํางาน เปนบุคคลที่มีความพอใจจะเพิ่มพูนคุณภาพและปริมาณของผลงาน คิดคน ดัดแปลง วิธีการทํางานใหไดผลดียิ่งขึ้นอยูเสมอ และสวนสําคัญประการหน่ึงที่ทําใหองคการดําเนินตอไปได ประสิทธิภาพขององคกร คือการที่องคกรสามารถดําเนินงานตาง ๆ ตามภารกิจหนาที่ขององคกร โดยใชทรัพยากร ปจจัยตาง ๆ

Page 15: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

2

รวมถึงกําลังคนอยางคุมคา มีการสูญเปลานอยที่สุด มีลักษณะการดําเนินงานไปสูผลตามวัตถุประสงค โดยประหยัดทั้งเวลา ทรัพยากร และกําลังคน

เมื่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจการเมืองและเทคโนโลยีมีผลตอตอภาคธุรกิจเน่ืองจากการเปลี่ยนแปลงหลายประการที่ทําใหการดําเนินธุรกิจตองเผชิญในดานการดําเนินการปจจุบันและอนาคต เพื่อรักษาและคงสภาพธุรกิจมุงสูอนาคตอยางยั่งยืน องคการจึงจําเปนที่จะตองพัฒนาและการปรับปรุงคุณภาพการใหบริการลูกคา เพิ่มประสิทธิภาพขององคกร ใหเกิดความนาเชื่อถือรักษาภาพลักษณสินคาและลูกคาดวยการใหบริการหลาย ๆ ดานเน่ืองจากธุรกิจของบริษัทริโก (ประเทศไทย) จํากัด คือ “ธุรกิจขายและการบริการ” ดังน้ันความพึงพอใจของลูกคาจึงมีความสําคัญกับธุรกิจอยางมาก จากการแขงขันของธุรกิจจึงมีความจําเปนตองเปลี่ยนแปลงเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการของพนักงานชางผูใหบริการสรางความยั่งยืนใหกับธุรกิจ มุงเนนการบริการหลายๆดาน เชน ตัวสินคา คุณภาพการบริการ เทคโนโลยี การสื่อสารและคน รวมทั้งการรักษาความสัมพันธที่ดีกับลูกคา ผูมีสวนไดสวนเสียทั้งภายในและภายนอก ซึ่งเปนหนาที่ของทุกคนในองคกรตองตระหนักและรับผิดชอบหนาที่ของตนเอง เพื่อใหเกิดผลโดยใชตนทุนที่ตํ่าไดผลงานที่เปนไปตามกําหนด ทําใหเกิดประสิทธิภาพ สรางความประทับ สงผลความพึงพอใจเหนือความคาดหวังจากลูกคาเพื่อนําไปสูความยั่งยืน

บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด เปนบริษัทที่ขายสินคาและบริการลูกคาชั้นนําในดานการผลิตอุปกรณสํานักงานอัตโนมัติและเคร่ืองใชสํานักงานมากวา 73 ป โดยผลิตภัณฑของริโกเร่ิมเขาสูประเทศไทยมานานกวา 35 ป ผานการจัดจําหนายของบริษัท Inchcape Plc ซึ่งตอมาไดรวมตัวเขากับบริษัท Gestetner Pls กลายเปนบริษัท Inchcape NRG (Thailand) และพัฒนาผลิตภัณฑเพื่อเขาสูการดําเนินธุรกิจดานอุปกรณสํานักงานอัตโนมัติในภูมิภาคน้ีอยางเต็มตัว บริษัท ริโก จํากัด ประเทศญ่ีปุน ไดซื้อหุนจาก Gestetner จากน้ัน จึงเขาซื้อหุนที่เหลือของ Inchcape เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.2542 และไดเปลี่ยนชื่อบริษัทเปนบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด ต้ังแตวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2542เปนตนมา ดวยความครบครันของทั้งอุปกรณฮารดแวรและซอฟทแวรของบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด ทําใหธุรกิจตางๆ สามารถบริหารและจัดการเอกสารไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยบริษัทริโก (ประเทศไทย) จํากัด มุงหวังใหผูคนเขาถึงเทคโนโลยีที่ล้ําหนาไดงายขึ้น เพื่อการทํางานที่สะดวกสบายและเปยมประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด จึงมีชื่อเสียงในดานการผลิตสินคาที่ไดรับความนิยมจากตลาดในประเทศไทยและตางประเทศในดานการผลิตอุปกรณสํานักงานอัตโนมัติและเคร่ืองใชสํานักงาน เชน เคร่ืองถายเอกสาร เคร่ืองสําเนาเอกสาร ปร้ินเตอร เคร่ืองอัดสําเนาดิจิตอล เปนตนดวยการดําเนินธุรกิจของบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด เปนเชนน้ีการใหบริการหลังการขายหรือ

Page 16: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

3

ฝายชางซอมบํารุง จึงเปนเปนหนวยงานที่มีความสําคัญที่ตองรักษาคุณภาพมาตรฐาน การใหบริการลูกคาตามแผนการดําเนินงานและ นโยบายที่บริษัทกําหนดใหสามารถดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ จากการใชจํานวนคนและ เคร่ืองมืออยางเหมาะสม

ผูศึกษาในฐานะหัวหนาฝายบริการลูกคาของ บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งมีหนาที่ดูแลลูกคาและทําใหลูกคาเกิดความประทับใจมากจนถึงมากที่สุด เพื่อใหลูกคาเลือกที่จะใชบริการกับบริษัทฯไปอีกนาน แทนที่จะเปลี่ยนใจไปใชบริการของผูใหบริการรายอ่ืน ดังน้ันงานดานงานบริการลูกคา จึงตองเขาใจและมีใจรักการทํางานดานน้ีเปนอยางดี จึงจะทําใหการทํางานดานน้ีมีความสุข และประสบผลสําเร็จ และงานบริการของบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัดตองอาศัยความเชี่ยวชาญและความชํานาญในการใหบริการ เมื่อบริษัทฯไดฝกอบรมพนักงานใหมีทักษะและความรูเกี่ยวกับผลิตภัณฑที่บริษัทฯนําไปเสนอลูกคา ดังน้ันผูศึกษาไดพบปญหาในการทํางานอยู เห็นความสําคัญในการทํางานใหเกิดประสิทธิภาพจึงมุงที่จะศึกษาระดับประสิทธิภาพในการทํางานของพนักงาน ตลอดจนศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธตอระดับประสิทธิภาพในการทํางานของพนักงานบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด เพื่อเปนแนวทางสําหรับผูบริหารนําไปใชประโยชนในการพัฒนาและปรับปรุงการบริหารงานพนักงานของ บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด ใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพสงผลใหการดําเนินงานโดยรวมของบริษัท ประสบความสําเร็จบรรลุเปาหมายที่ต้ังไว1.2 วัตถุประสงคการศึกษา

1.2.1 เพื่อศึกษาระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย)จํากัด

1.2.2 เพื่อศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัทริโก (ประเทศไทย) จํากัด

1.3 ขอบเขตการศึกษาการวิจัยคร้ังน้ีดําเนินการภายใตขอบเขตการศึกษาในแตละดาน ซึ่งประกอบไปดวย 3 สวน

ดังน้ี1.3.1 ดานเน้ือหา การศึกษามุงศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก

(ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งมีรายละเอียดของตัวแปรตนและตัวแปรตาม ดังน้ีตัวแปรตน1. ปจจัยสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายไดตอเดือน

ตําแหนงงาน และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน

Page 17: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

4

2. ปจจัยดานการบริหารองคการ ผูศึกษาไดนําทฤษฎี 7’s McKinsey มาใชในการศึกษาเปนตัวแปรตน ไดแก 1.ดานกลยุทธขององคกร (Strategy) 2.ดานโครงสรางองคกร (Structure) 3.ดานระบบงาน (System) 4.ดานบุคลากร (Staff) 5.ดานทักษะความรูความสามารถ (Skill) 6.ดานรูปแบบการบริหารจัดการ (Style) และ7.ดานคานิยมรวม (Shared values)

3. ตัวแปรตาม ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย)จํากัด ผูศึกษาใชแนวคิดทฤษฎีของ Peterson and Plowman (1953:145-150)กลาวไววาในการดําเนินงานทางดานธุรกิจสิ่งสําคัญสินคาตองมีคุณภาพ การบริการตองมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งผูศึกษาไดวัดประสิทธิภาพการทํางาน มี 4 ดาน ไดแก 1. ดานคุณภาพของงาน 2. ดานปริมาณงาน3. ดานเวลา และ 4. ดานคาใชจาย

1.3.2 ดานประชากร ในการศึกษาคร้ังน้ีเปนพนักงานทุกสวนงานของ บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด จํานวน 864 คน

1.3.3 ดานพื้นท่ีศึกษา ศึกษาพื้นที่ บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด ตําบลเหมือง อําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี

1.3.4 ดานระยะเวลาในการทําการศึกษา การศึกษาน้ีใชเวลาในการดําเนินการศึกษาระหวางเดือนมิถุนายน ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 25611.4 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1.4.1 นําผลการศึกษาใชเปนแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

1.4.2 นําผลการศึกษามาเปนแนวทางในการกําหนดนโยบายการบริหาร รวมทั้งวางแผนการบริหารจัดการปจจัยที่จะสงผลตอการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานพนักงานบริษัท ริโก(ประเทศไทย) จํากัดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น1.5 นิยามศัพทท่ีเกี่ยวของ

1.5.1. ประสิทธิภาพขององคกร คือ การที่องคกรสามารถดําเนินงานตาง ๆ ตามภารกิจหนาที่ขององคกร โดยใชทรัพยากร ปจจัยตาง ๆ รวมถึงกําลังคนอยางคุมคา มีการสูญเปลานอยที่สุดมีลักษณะการดําเนินงานไปสูผลตามวัตถุประสงค โดยประหยัดทั้งเวลา ทรัพยากร และกําลังคน

1.5.2 ประสิทธิภาพในการทํางาน คือ พนักงานที่ปฏิบัติงานอยางเต็มความสามารถ ใชกลวิธีหรือเทคนิคการทํางานที่จะสรางผลงานไดมาก เปนผลงานที่มีคุณภาพ เปนที่นาพอใจ โดยสิ้นเปลืองคาใชจาย พลังงานและเวลานอย เปนบุคคลที่มีความสุขและพอใจในการทํางาน เปนบุคคลที่มีความพอใจจะเพิ่มพูนคุณภาพและปริมาณของผลงาน คิดคน ดัดแปลง วิธีการทํางานใหไดผลดียิ่งขึ้นอยูเสมอ

Page 18: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

5

1.5.3 ปจจัยที่สงผลตอประสิทธิภาพการใหบริการของพนักงาน หมายถึง ปจจัยดานองคกรที่สงผลตอการเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการของพนักงานฝายซอมบํารุง บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

1.5.4 พนักงาน หมายถึง พนักงานที่ทํางานในปจจุบันที่บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด1.5.5 บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด หมายถึง บริษัทที่ต้ังอยูที่ตําบลเหมือง อําเภอเมือง

ชลบุรี จังหวัดชลบุรี เปนบริษัทผลิตดสินคาที่ไดรับความนิยมจากตลาดในประเทศไทยและตางประเทศในดานการผลิตอุปกรณสํานักงานอัตโนมัติและเคร่ืองใชสํานักงาน เชน เคร่ืองถายเอกสาร เคร่ืองสําเนาเอกสาร ปร้ินเตอร เคร่ืองอัดสําเนาดิจิตอล

Page 19: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

6

บทที่ 2แนวคิด ทฤษฎี และงานวจิัยที่เก่ียวของ

การวิจัยน้ีผูศึกษาไดศึกษาแนวความคิดทฤษฏี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อนํามาใชเปนแนวทางในการกําหนดกรอบแนวคิดการศึกษา เพื่อใหงานวิจัยมีความครบถวนสมบูรณยิ่งขึ้นผูศึกษาไดศึกษาคนควาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของโดยมีรายละเอียดดังตอไปน้ี

2.1 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับประสิทธิภาพการทํางาน2.1.1 ความหมายประสิทธิภาพการทํางาน2.1.2 แนวคิดเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพการทํางาน

2.2 แนวคิดทฤษฎีปจจัยหลักการของแมคคินซีย (McKinsey) (McKinsey’s 7SFramework)

2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวของ2.4 กรอบแนวคิดการศึกษา2.5 สมมติฐานการศึกษา2.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ2.7 ความสัมพันธระหวางตัวแปร ตัวชี้วัด และขอคําถาม

2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับประสิทธิภาพการทํางาน2.1.1 ความหมายประสิทธิภาพการทํางาน“ประสิทธิภาพการทํางาน” ประกอบดวยคํา 2 คํา ไดแก “ประสิทธิภาพ” กับ“การ

ทํางาน” สําหรับความหมายของประสิทธิภาพการทํางานได มีนักวิชาการใหความหมายไวหลายทานความหมายดังน้ี

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (2546 : 203) ไดใหความหมายประสิทธิภาพ หมายถึง ความสามารถที่ทํางานใหเกิดผลในการปฏิบัติงาน

วัชรี ธุวธรรม (2539:45) กลาววาประสิทธิภาพการทํางาน หมายถึง การใชความรูความสามารถในการปฏิบัติงานไดเหมาะสมตามภาวะหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย

พิทยา บวรวัฒนา (2552:181) กลาววา ประสิทธิภาพ หมายถึง อัตราสวนที่สะทอนใหเห็นการเปรียบเทียบระหวางการปฏิบัติงานหน่ึงหนวยตอคาใชจายที่ตองเสียไปสําหรับการปฏิบัติงานหน่ึงหนวยน้ัน ๆ

Page 20: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

7

นันทนา ธรรมบุศย (2540 : 25) กลาววา ประสิทธิภาพ หมายถึง วิธีการทํางานโดยสิ้นเปลืองเวลา และสูญเสียพลังงานในการทํางานนอยที่สุดแตเกิดประโยชน และความพึงพอใจสูงสุด

สมใจ ลักษณะ (2549 : 279) ไดใหความหมายของคําวา “ประสิทธิภาพ” มีความหมายวา กิจกรรมการทํางานอยางราบร่ืน ครบถวน ประหยัดเวลา ใชกําลังและทรัพยากรอยางคุมคา เกิดการสูญเสียนอยที่สุด บุคคลที่มีประสิทธิภาพ จึงเปนบุคคลที่พึงปรารถนาในสังคมที่เขาเปนสมาชิกและในองคการที่เขาปฏิบัติหนาที่การงาน

ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานน้ัน มักจะพูดถึง ผลการปฏิบัติงานซึ่งถือไดวาเปนเร่ืองเดียวกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน คือเมื่อผลการปฏิบัติงานที่ดี ก็ถือวามีประสิทธิภาพในการทํางานสูงและถาผลการปฏิบัติงานไมดีก็ถือไดวามี ประสิทธิ ภาพในการทํางานตํ่า ซึ่งไดมีนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายของประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานไว ดังน้ี

สมใจ ลักษณะ (2549 : 7) กลาววา การมีประสิทธิภาพในการทํางานของตัวบุคคลหมายถึงการทํางานใหเสร็จ โดยสูญเวลาและเสียพลังงานนอยที่สุด ไดแกการทํางานได เร็ว และไดงานที่ดี บุคลากรที่มีประสิทธิภาพในการทํางาน เปนบุคลากรที่ ต้ังใจในการปฏิบัติงานเต็มความสามารถใชกลวิธีหรือเทคนิคการทํางานที่จะสรางผลงานไดมาก เปนผลงานที่มีคุณภาพเปนที่นาพอใจโดยสิ้นเปลือง ตนทุน คาใชจาย พลังงาน และเวลานอยที่สุด

ณัฐกูล จอมบดินทร(2544 : 66) ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานในความหมายเชิงสังคมศาสตรน้ัน หมายถึง ปจจัยนําเขาที่พิจารณาถึงความพยายาม ความพรอม ความสามารถ ความคลองแคลวในการปฏิบัติงานของผูปฏิบัติ โดยเปรียบเทียบกับผลที่ไดรับ คือ ความพึงพอใจ ของผูบริหาร หรือการบรรลุวัตถุประสงคที่ต้ังไว

จอหน ดี.มิลเล็ท (John D.Millet,1954 : 4) กลาววา ประสิทธิภาพ หมายถึง ผลการปฏิบัติงานที่ทําใหเกิดความพึงพอใจและไดรับผลกําไรจากการปฏิบติงาน ซึ่งความพึงพอใจหมายถึง ความพึงพอใจในการบริการใหกับประชาชน โดยพิจารณาจาก

1) การใหบริการอยางเทาเทียมกัน2) การใหบริการอยางรวดเร็วทันเวลา3) การใหบริการอยางเพียงพอ4) การใหบริการอยางตอเน่ือง5) การใหบริการอยางกาวหนา

Page 21: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

8

2.1.2 แนวคิดท่ีเกี่ยวของกับประสิทธิภาพในการปฎิบัติงานPeterson and Plowman (1953:145-150 ,อางถึงใน กชกร เอ็นดูราษฎร ,2550:32-33 )ได

ใหแนวคิดใกลเคียงกับ Harring Emerson โดยไดตัดทอนบางขอลงและสรุปองคประกอบของประสิทธิภาพไว 4 ขอดวยกัน คือ

1) คุณภาพของงาน (Quality) จะตองมีคุณภาพสูงคือผูผลิตและผูใชไดประโยชนคุมคาและมีความพึงพอใจ ผลการทํางานมีความถูกตองไดมาตรฐานรวดเร็ว นอกจากน้ีผลงานที่มีคุณภาพควรกอเกิดประโยชนตอองคกรและสรางความพึงพอใจของลูกคาหรือผูมารับบริการ

2) ปริมาณงาน (Quantity) งานที่เกิดขึ้นจะตองเปนไปตามความคาดหวังของหนวยงานโดยผลงานที่ปฏิบัติไดมีปริมาณที่เหมาะสมตามที่กําหนดในแผนงานหรือเปาหมายที่บริษัทวางไวและควรมีการวางแผนบริหารเวลาเพื่อใหไดปริมาณงานตามเปาหมายที่กําหนดไว

3) เวลา (Time) คือ เวลาที่ใชในการดําเนินงานจะตองอยูในลักษณะที่ถูกตองตามหลักการ เหมาะสมกับงาน และทันสมัย มีการพัฒนาเทคนิคการทํางานใหสะดวกรวดเร็วขึ้น

4) คาใชจาย (Costs) คือในการดําเนินการทั้งหมดจะตองเหมาะสมกับงานและวิธีการคือจะตองลงทุนนอยและไดผลกําไรมากที่สุด ประสิทธิภาพในมิติของคาใชจายหรือตนทุนการผลิตไดแก การใชทรัพยากรดานการเงิน คน วัสดุ เทคโนโลยีที่มีอยูอยางประหยัดคุมคา และเกิดการสูญเสียนอยที่สุด

ฮารริง (Harring อางถึงใน สมพงศ เกษมสิน, 2521:56) เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับหลักการทํางานใหประสิทธิภาพในหนังสือ “The Twelve Principles of Efficiency” ซึ่งไดรับการยกยองและกลาวขวัญกันมาก หลัก 12 ประการมีดังน้ี คือ

1) ทําความเขาใจและกําหนดแนวความคิดในการทํางานใหกระจาง2) ใชหลักสามัญสํานึกในการพิจารณาความนาจะเปนไปไดของงาน3) คําปรึกษาแนะนําตองสมบูรณและถูกตอง4) รักษาระเบียบวินัยในการทํางาน5) ปฏิบัติงานดวยความยุติธรรม6) การทํางานตองเชื่อถือไดเร็ว มีคุณภาพและมีการลงทะเบียนไวเปนหลักฐาน7) งานควรมีลักษณะแจงใหทราบถึงการดําเนินงานอยางทั่วถึง8) งานสําเร็จทันเวลา9) ผลงานไดมาตรฐาน10) การดําเนินงานสามารถยึดเปนมาตรฐานได11) กําหนดมาตรฐานที่สามารถใชเปนเคร่ืองมือในการฝกสอนงานได

Page 22: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

9

12) ใหบําเหน็จรางวัลมิลเลท (Millet, 1954:98) ไดใหทรรศนะเกี่ยวกับประสิทธิภาพไววา ประสิทธิภาพ

หมายถึง ผลการปฏิบัติงานที่กอใหเกิดความพึงพอใจแกมวลมนุษยและไดรับผลกําไรจากการปฏิบัติงานน้ันดวย

ไซมอน (Simon, 1960 อางถึงใน ควรคิด ชโลธรรังสี, 2542:12) ไดใหทรรศนะเกี่ยวกับประสิทธิภาพไวคลายคลึงกับมิลเลท (Millet) กลาวคือ ถาพิจารณาวางานใดจะมีประสิทธิภาพสูงสุดน้ันใหดูจากความสัมพันธระหวางปจจัยนําเขา (Input) กับผลผลิต (Output) ที่ไดรับ สามารถเขียนเปนสูตรไดดังน้ี

E = (O-I) + SE = Efficiency คือ ประสิทธิภาพของงานO = Output คือ ผลผลิตI = Input คือ ปจจัยนําเขาS = Satisfaction คือ ความพึงพอใจของผูรับบริการธานินทร สุทธิกุญชร(2543) กลาววา ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานเปนสิ่งที่วัดได

หลายมิติตามแตวัตถุประสงคที่ตองการพิจารณา คือ1) ประสิทธิภาพในมิติคาใชจายหรือตนทุนการผลิต ไดแก การใชทรัพยากรดาน

การเงิน คน วัสดุ เทคโนโลยี ที่มีอยูอยางประหยัด คุมคาและเกิดการสูญเสียนอยที่สุด2) ประสิทธิภาพในมิติของกระบวนการบริหาร ซึ่งไดแก การมีวิธีการทํางานที่ถูกตอง

ไดมาตรฐานรวดเร็ว และใชเทคนิคที่สะดวกขึ้นกวาเดิม3) ประสิทธิภาพในมิติของผลผลิตและผลลัพธ ไดแก การปฏิบัติงานที่มีคุณภาพเกิด

ประโยชนตอสังคม เกิดผลกําไร ทันเวลา ผูปฏิบัติงานมีจิตสํานึกที่ดีตอปฏิบัติงานและการบริการเปนที่นาพอใจของผูมารับบริการ

ปรียาพร วงศอนุตรโรจน (2544:32) มีแนวคิดว าทีมงานหรือกลุมทํางานที่มีประสิทธิภาพจะตองมีความรูสึกที่ดีตอกันในหมูสมาชิก และผูที่เปนหัวหนาตองตระหนักวาปญหาสวนใหญเกิดจากสภาพแวดลอม และความสัมพันธระหวางบุคคล ดังน้ันทีมงานที่มีประสิทธิภาพตองมีเงื่อนที่สําคัญ คือ

1) ความรับผิดชอบ และความผูกพัน โดยความผูกพันตอองคการเปนความผูกพันใน 3ลักษณะ คือ

1.1) ความปรารถนาอยางแรงกลาที่จะคงความเปนสมาชิกในองคการ2.2) มีความต้ังใจ และความพรอมที่จะใชความพยายามที่มีอยูเพื่อองคการ

Page 23: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

10

3.3) มีความเชื่อและยอมรับในคุณคาและเปาหมายขององคการ2) ความจําเปนที่จะตองพัฒนาความเขาใจในความสัมพันธระหวางบุคคล เน่ืองจาก

บุคคลเกิดความรูสึกวาตนเองมีความสําคัญ มีคุณคา และมีการแลกเปลี่ยนความคิดแบบริเร่ิมสรางสรรค กับความกาวหนาใหองคการ

3) ความจําเปนตองพัฒนาทักษะ ความสามารถของสมาชิกใหสมาชิกมีความรู และความชํานาญงาน ตลอดจนเทคนิคการทํางานรวมกับผูอ่ืน

4) มีสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับทีมงาน รวมทั้งการมีที่ปรึกษาเปนบุคคลที่สาม ซึ่งทําหนาที่เปนผูรวบรวมขอมูล เพื่อพัฒนาการทํางาน ใหขาวสารยอนกลับ แกไข ปญหาความขัดแยงและการไกลเกลี่ย

เมเจอร และ เบรจ (Mager and Besch.1967:140 อางถึงในปณฑารีย ฟองแพร,2559:44-45) ไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานไวเปนประเด็นตางๆ ดังน้ี

1) ความสามารถในการแยกแยะเร่ืองราว หมายถึง การที่จะสามารถมองเห็นความแตกตางระหวาง 2 สิ่ง หรือมากกวา หรือความสามารถในการที่จะบอกไดถูกตองวางานสําคัญไดเสร็จสิ้นลุลวงไปแลว หรือสามารถเห็นถึงความแตกตางวาอันใดถูกตองและอันใดไมถูกตอง

2) ความสามารถในการวิเคราะหปญหา หมายถึง กระบวนการของการสามารถหาคําตอบเพื่อแกปญหาตางๆ ความสามารถในการแกปญหาน้ีจะกระทําไดโดยกา รสอนพนักงานใหเห็นความสัมพันธระหวางอาการและสาเหตุที่จะเกิดขึ้นตลอดแนวทางแกไข

3) ความสามารถจําเร่ืองที่ผานมา หมายถึง การสามารถรูไดวาจะตองทําอะไรหรือตองใชอะไรตลอดจนสามารถรูลําดับ หรือระเบียบของการปฏิบัติงานของงานใดงานหน่ึง สิ่งเหลาน้ีลวนแตเปนประสิทธิภาพและความสามารถเชิงสติปญญา

4) ความสามารถในการดัดแปลง หมายถึง ความสามารถในการรูจักเคร่ืองมือ หรือเคร่ืองกลตางๆ เพื่อที่จะปฏิบัติงานที่ตองการใหเสร็จสิ้นลงไปได

5) ความสามารถในการพูด หมายถึง ความสามารถในเชิงการพูดเปนสิ่งสําคัญในการสื่อความรู ความเขาใจ ซึ่งเปนเร่ืองสําคัญอยางยิ่งสําหรับประสิทธิภาพในการทํางาน

สมพิศ สุขแสน(2556:45-55) การที่จะ เกิดประสิทธิภาพการทํางานน้ันตองมีองคประกอบ 2 สวนหลักคือ ผูที่ทํางานกับโครงสรางการทํางาน สําหรับในเร่ืองของคนทํางานจะตองมีแนวคิดการปฏิบัติตัวในการทํางานและการพัฒนาตนเองอยูเสมอ ดังน้ันคนทํางานที่มีประสิทธิภาพควรมีลักษณะดังน้ี

1) ความฉับไว หมายถึง การใชเวลาไดอยางดีที่สุดรวดเร็ว ไมทํางานลาชา น่ันคือคนที่มีประสิทธิภาพ ควรทํางานใหเสร็จตามกําหนดเวลา หรืองานบริการ ผูรับบริการยอมตองการความ

Page 24: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

11

รวดเร็ว ดังน้ัน ผูใหบริการจะตองสรางวัฒนธรรมการใหบริการแบบเบ็ดเสร็จจุดเดียว (One StopService)

2) ความถูกตองแมนยํา หมายถึง การผิดพลาดในงานนอย มีความแมนยําในกฎระเบียบ ขอมูล ตัวเลขหรือสถิติตาง ๆ ไมเลินเลอจนทําใหเกิดความเสียหายแกองคกร

3) ความรู หมายถึง การมีองคความรูในงานดี รูจักศึกษาหาความรูในเร่ืองงานที่ทําอยูตลอดเวลา คนที่มีประสิทธิภาพควรแสวงหาความรูอยูตลอดเวลา ทั้งการเรียนรูดวยตนเอง องคกรผูอ่ืน อินเทอรเน็ต เปนตน และสามารถนําความรูน้ันมาปรับปรุงการทํางานใหดีขึ้น

4) ประสบการณ หมายถึง การรอบรูหรือรูรอบดาน จากการไดเห็น ไดสัมผัส ไดลงมือปฏิบัติบอย ๆ มิใชมีความรูดานวิชาการแตเพียงอยางเดียว การเปนผูมีประสบการณ ในการทํางานสูงจะทํางานผิดพลาดนอย สมควรที่องคกรจะตองรักษาบุคคลเหลาน้ีใหอยูกับองคกรใหนานที่สุดเพราะคนเหลาน้ีจะทําใหองคกรพัฒนาไดเร็ว

5) ความคิดสรางสรรค หมายถึง การคิดริเร่ิมสิ่งใหม ๆ มาใชในองคกร เชน คิดระบบการใหบริการที่ลดขั้นตอน การประเมินผลการปฏิบัติงานแบบใหม การบริหารงานแบบเชิงรุก เปนตน คนที่มีประสิทธิภาพจึงเปนคนที่ชอบคิด หรือเกงคิด หรือมองไปขางหนาตลอดเวลา ไมใชคนที่ชอบทํางานตามคําสั่ง และจะตองไมทํางานประจําวันเหมือนกับหุนยนต

ผูที่จะทํางานได อยางมีประสิทธิภาพควรมีความสุขในการทํางาน มีการพัฒนาการทํางานทํางานที่ดีไดดี และควรมีเทคนิคในการทํางานรวมดวยงานจึงจะมีประสิทธิภาพ ดังน้ี

1) ต้ังเปาหมายในการทํางาน กอนที่จะเร่ิมตนในการทํางานทุกคร้ังตองต้ังเปาหมายในการทํางานลวงหนา และตองเปนเปาหมายที่ชัดเจน กําหนดใหอยูในรูปของการปฏิบัติไดจริง ทั้งเปาหมายระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว การต้ังเปาหมายจึงเปนการวางแผนการทํางานไวลวงหนา ซึ่งจะชวยทําใหการปฏิบัติงานมีทิศทาง ผิดพลาดนอย และตรงจุดมุงหมายขององคกร

2) การบริหารเวลาใหเปนจะชวยลดความไมเปนระเบียบในชีวิต เพิ่มความสุขและความสําเร็จใหแกตนเองและการทํางาน โดยเฉพาะภาคธุรกิจเร่ืองเวลาเปนสิ่งสําคัญมาก

3) การเพิ่มความมั่นใจในการทํางานใหตนเอง ปจจุบันมีคนจํานวนไมนอยที่ขาดความเชื่อมั่นในตนเองหรือขาดความมั่นใจในการทํางาน ไมกลาแสดงออกในทางที่ถูกที่ควร ดูถูกความสามารถของตนเอง คิดวามีปมดอย ไมเกงเหมือนคนอ่ืน และคิดวาหมดหวังที่จะประสบความสําเร็จในชีวิต

4) มีความรวมมือรวมใจในการทํางานเปนทีมหรือสรางการทํางานเปนทีมใหเขมแข็ งเพราะทีมงานเปนกุญแจสําคัญแหงความสําเร็จและความลมเหลวในการทํางานได ผูนําตองเปนผูที่

Page 25: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

12

มีความสามารถ มีการยอมรับซึ่งกันและกัน มีความไววางใจกัน มีความรักในทีมงาน รวมมือรวมใจในการทํางานอยางจริงจังจริงใจ ขจัดปญหาความขัดแยงระหวางบุคคลในทีมงาน แบงผลประโยชนรวมกันอยางยุติธรรม มีการติดตอประสานงานที่ดีระหวางกันและการสรางบรรยากาศที่ดีในการทํางานรวมกัน

5) ตองมีคุณธรรมในการทํางาน คือ ตองมีความพอใจและรักใครในงานที่ทําอยางจริงจังมีความเพียรพยายามในงานที่ไดรับมอบหมายให บรรลุผลสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพ มีใจจดจอตองานที่ทํา มีสมาธิไมวอกแวกการทํางานผิดพลาดนอย และมีการทบทวนตรวจสอบงานที่ทําอยูเสมอหากเบี่ยงเบนไปจากเปาหมายหรือผิดพลาดตองปรับปรุงแกไข นอกจากน้ันผูปฏิบัติงานในองคกรทุกคนจะตองไมปฏิบัติหรือประพฤติในสิ่งที่อาจทําใหเกิดความเสียหายตอองคกรหรือเกิดความลําเอียงในการปฏิบัติหนาที่ตลอดจนมีความรับผิดชอบ ซื่อสัตยสุจริต ยุติธรรม และโปรงใสตรวจสอบได โดยยึดหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) ในการบริหารงานและปฏิบัติงานอยางเครงครัด

6) ฝกเปนคนที่ชอบกระทําหรือลงมือปฏิบัติมากกวาพูด7) กระตุนเตือนตัวเองหรือสรางแรงจูงใจภายในใหอยากทํางานตลอดเวลา โดยไมตอง

ใหใครบังคับ มีศรัทธาในงานและองคกรที่ทํางานอยู8) ปรับทัศนคติและคานิยมที่ไมเหมาะสมเสียใหม เชน การทํางานเปนเลนการประจบ

สอพลอ การมีระบบพรรคพวก การเกรงใจอยางไรเหตุผล ตลอดจนนิสัยที่ไมพึงประสงค ตาง ๆ9) สรางมนุษยสัมพันธในการทํางาน เชน รูจักชวยเหลือเกื้อกูลกัน การยิ้มแยมแจมใส

ตอกันใหอภัยกัน รูจักเอาใจเขามาใสใจเรา โดยปกติคนสวนใหญเต็มใจและยินดีที่จะผูกมิตรไมตรีแกกัน ความสัมพันธในองคกรจะเปนเสมือนโซทองคลองใจซึ่งกันและกัน และจะชวยผลักดันใหงานบรรลุผลสําเร็จไดตามที่มุงหมายไว

2.2.2 แนวคิดเกี่ยวกับปจจัยท่ีมีผลตอประสิทธิภาพการทํางานพรทิพย เย็นจะบกและกมลรัฐ อินทรทัศน (2556:44) กลาวถึงปจจัยที่มีผลใหการ

ทํางานมีประสิทธิภาพไว 5 ขอ ไดแก1) การทําตัวใหเปนคนงานที่ดี2) การรักษามารยาทและระเบียบในที่ทํางาน3) การสรางบรรยากาศสดใสในที่ทํางาน4) การสรางสัมพันธภาพที่ดี5) การสื่อสารในองคกรหรือในการทํางาน

Page 26: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

13

โดยเฉพาะเร่ืองการสื่อสารภายในองคกรน้ันเปนเคร่ืองมือสําคัญอยางหน่ึงในการตัดสินความสําเร็จหรือการลมเหลวของการทํางานรวมกันของบุคลากร ทั้งการสื่อสารภายในองคกรและนอกองคกร ดังน้ัน จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่บุคลากรภายในองคกรจําเปนตองมีความรูและทักษะเกี่ยวกับสื่อสารเพื่อใชในการปฏิบัติงานเพื่อทําใหเกิดประสิทธิภาพการสื่อสารในองคกรน้ันประกอบดวยบุคคลหลายระดับ ซึ่งในแตละองคกรก็จะมีพฤติกรรมการสื่อสารที่แตกตางกันออกไปตามวัฒนธรรมขององคกรน้ัน แตโดยทั่วไปการสื่อสารในองคกรมี อยู 3 ระดับ ไดแก

1) ระดับผูบังคับบัญชาหรือการสื่อสารจากบุคลากรระดับตาง ๆ ไปยังผูบังคับบัญชาหรือที่เรียกวา การสื่อสารในแนวต้ัง เปนการสื่อสารที่เปดโอกาสใหผูใตบังคับบัญชาไดแสดงความคิดเห็นหรือสภาพปญหาตางในการทํางานไปสูผูบริหาร และมักจะเปนการสื่อสารสองทางเพราะผูบริหารมักจะสื่อสารตอบกลับเพื่อใหขอมูลแกผูใตบังคับบัญชา

2) ระดับผูใตบังคับบัญชาหรือการสื่อสารจากผูบังคับบัญชาไปยังบุคลากรระดับตางๆหรือที่เรียกวา การสื่อสารในแนวด่ิง มักอยูในรูปแบบของการสั่งงาน การกํากับดูแล การออกนโยบายสูบุคลากรในระดับปฏิบัติงาน และปญหาที่มักพบดวยเสมอก็คือมักจะเปนการสื่อสารทางเดียว

3) ผูรวมงานระดับเดียวกันหรือการสื่อสารในแนวนอน เปนการสื่อสารที่เกิดขึ้นระหวางบุคลากรในระดับเดียวกัน มักเรียกวา การสื่อสารแบบคูขนานหรือการสื่อสารในระดับเดียวกัน เปนการสื่อสารขององคกรที่มีอิทธิพลและมีความเขมแข็งมากที่สุด จุดเนนของการสื่อสารชนิดน้ีก็ คือ การรวมมือและประสานการทํางาน รวมถึงการแกไขปญหา และขอคับของใจตาง ๆ ในการทํางาน

สมใจ ลักษณะ(2549 : 274-277) กลาววา ปจจัยดานบุคคลเปนปจจัยหน่ึงที่องคการสวนใหญสามารถแกไขปรับปรุง พัฒนาไดดวยตนเอง จึงจัดไดวาบุคคลเปนปจจัยที่ควบคุมไดการพัฒนาปจจัยดานบุคลากรมีตัวอยางการกําหนดวัตถุประสงคเปาหมายของการพัฒนาไว ดังน้ี

1) ความรูความสามารถและคุณสมบัติสวนบุคคล1.1) มีความกระตือรือรนและการพัฒนาตนเอง เชน เอาจริงเอาจังกับงาน1.2) ปฏิบัติตามคําสั่งและมีระเบียบวินัย เชน เชื่อฟงคําสั่งของผูบังคับบัญชา โดยไม

มีขอขัดแยง1.3) พรอมที่ประสานงานและใหความรวมมือ มีมนุษยสัมพันธที่ดีตอเพื่อนรวมงาน1.4) เปนผูที่ตรงตอเวลาและใชเวลาใหเกิดประโยชน1.5) มีความรูความเขาใจในการระวังรักษาดูแลการใช เคร่ืองมืออุปกรณและ

ทรัพยสิน ตาง ๆขององคกรใหอยูในสภาพดีเสมอ

Page 27: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

14

1.6) สามารถวิเคราะห ตัดสินใจการแกปญหาใหทันตอเหตุการณ2) ปริมาณและคุณภาพของงาน

2.1) สามารถปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายใหสําเร็จลุลวงตามระยะเวลาหรือมาตรฐานที่ต้ังไว คุณภาพของงานที่ทําสําเร็จ มีความถูกตอง เรียบรอย และสมบูรณครบถวนตามกําหนด

2.2) มีความรับผิดชอบ สนใจ เอาใจใสงานและปฏิบัติงานในหนาที่ดวยความรับผิดชอบ เชื่อถือและไววางใจได

2.3) มีความรอบรูชํานาญในขั้นตอน หรือวิธีการทํางานทั้งงานในหนาที่และงานที่เกี่ยวของ

2.4) มีความคิดริเร่ิมในการปรับปรุงงานวิธีการการทํางานใหมีประสิทธิภาพ3) ความคิดริเร่ิมสรางสรรคพฤติกรรมบงชี้ถึงบุคลิกภาพของบุคคลที่มีความคิดริเร่ิม

สรางสรรคในการทํางาน3.1) มีความคิดริเร่ิมสรางสิ่งใหม ๆ เชน คิดหาคําตอบของปญหาไดหลาย ๆ อยาง

ในเวลาจํากัดสามารถเสนอวิธีการแกปญหาใดปญหาหน่ึงไดหลายแนวทาง3.2) สามารถยืดหยุนวิธีการทํางานเพื่อความสําเร็จในการทํางาน3.3) คนควาการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ เชน เปนคนสังเกตุ เกี่ยวกับลักษณะ

ของงาน4) ทักษะในการปฏิบัติงาน การเสริมสรางประสิทธิภาพในการทํางานนอกจาก

องคประกอบตาง ๆ ตามที่กลาวมาแลว ทักษะการปฏิบัติงานดังน้ี4.1) ทักษะเทคนิคเฉพาะ (Technical skill) เปนความรูความสามารถเกี่ยวกับเทคนิค

ลักษณะการทํางาน หรือวิธีการทํางานเฉพาะดาน4.2) ทักษะในการทํางานรวมกับบุคคลอ่ืน (Human skill) เปนความสามรถในการ

ทํางานรวมกับบุคคลอ่ืน สรางความเขาใจ รวมประสานงานกับบุคคล และกลุมบุคคลในองคกร4.3)ทักษะดานความรูความคิด (Conceptual skill) เปนความสามรถทางดาน

สติปญญาในการมององคการ เห็นความสัมพันธของกิจการตาง ๆ ในองคการ ทั้งในแง ทางสังคมเศรษฐกิจ และการเมือง

5) บุคลิกภาพ เจตคติ และคานิยมในการทํางานเน่ืองจากบุคลิกภาพ หรือคุณสมบัติตางๆ ที่ประกอบขึ้นเปนบุคคล และคุณสมบัติเหลาน้ี เปนตนเหตุของการกระทําไมวาจะเปนการพูดการปฏิบัติ ความคิด เจตคติ คานิยม และลักษณะนิสัยตาง ๆ

Page 28: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

15

ดังน้ัน เมื่อบุคคลตองปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ประสิทธิภาพของการทํางานที่เกี่ยวของโดยตรงกับการแสดงออก หรือพฤติกรรมของบุคคลในการทํางาน เชน

5.1) แสดงออกถึงเจตคติที่ดีตอการทํางาน รักงาน พอใจงาน5.2) แสดงถึงการทํางานใหครบถวนถูกตอง ไดผลในเวลาอันสั้น5.3) แสดงออกถึงความสามรถในการปฏิบัติงานตามระเบียบ กฎเกณฑและคําสั่ง

ของผูบังบัญชาไดอยางสบาย6) ขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงาน ในการทํางานสิ่งที่ควรเกิดขึ้นกับพนักงาน ก็คือ

เขาสามารถรับรู เขาใจวัตถุประสงค และเปาหมายขององคการ มุงมั่นพยายามทํางานอยางเต็มความสามารถโดยไมยอทอตออุปสรรคของการทํางาน มีความสุขในการทํางาน มีความรูสึกมั่นคงในหนาที่และการงาน มั่นใจวาตนเองสามารถเจริญกาวหนาในหนาที่การงาน

นฤมล กิตตะยานนท(อางถึงใน คฑาวุธ พรหมายน,2545, : 15-16) ไดเสนอ วา การปฏิบัติงานของแตละคนจะลูกกําหนดโดย 3 สวน ดังน้ี

1) คุณลักษณะเฉพาะสวนบุคคล (individual attributes) แบงออกเปน 3 กลุมดังน้ี1.1 demographic characteristics เปนลักษณะที่เกี่ยวกับ เพศ อายุ เชื้อชาติเผาพันธุ1.2 competence characteristics เปนลักษณะที่เกี่ยวกับความรูความสามารถ ความ

ถนัดและความชํานาญของบุคคลซึ่งคุณลักษณะเหลาน้ีจะไดมาจากการศึกษาอบรม และสั่งสมประสบการณ

1.3 psychological characteristics เปนคุณลักษณะทางดานจิตวิทยา ซึ่งไดแก ทัศนะคติ คานิยม การรับในเร่ืองตาง ๆ รวมทั้งบุคลิกภาพของแตละบุคคลดวย

2) ระดับความพยายามในการทํางาน (work effort) จะเกิดขนจากการมีแรงจูงใจ ในการทํางาน ไดแก ความตองการ แรงผลักดันอารมณความรูสึก ความสนใจ ความ ต้ังใจ เพราะวาคนที่มีแรงจูงใจในการทํางานสูงจะมีความพยายามที่จะอุทิศกําลังกายและ กําลังใจใหแกการทํา งานมากกวาผูที่แรงจูงใจในการทํางานต่ํา

3) แรงสนับสนุนจากองคการหรือหนวยงาน (organization support) ซึ่งไดแกคาตอบแทน ความยุติธรรม การติดตอสื่อสาร และวิธีการที่จะมอบหมายงานซึ่งมีผลตอ กําลังใจผูปฏิบัติงาน

ปติ วัลยะเพ็ชร (2548 : 19 - 20) ไดกลาวถึงแนวคิดของ แฮมเมอร และแชมพีที ไดเสนอปจจัย 8 ประการ ที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ไวดังน้ีคือ

1) หลักการขั้นพื้นฐาน2) การเปลี่ยนแปลงที่ถอนรากถอนโคน

Page 29: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

16

3) การเปลี่ยนแปลงในลักษณะที่ยิ่งใหญ4) เนนกระบวนการ5) ใชเทคโนโลยีสมัยใหม6) นําตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานมาเปนองคประกอบที่สําคัญ7) สายการบังคับบัญชาขององคกรสั้นลงในรูปแบบของการจัดองคกรแนวราบ8) การใหความเชื่อถือ และใหความสําคัญกับเจาหนาที่ระดับปฏิบัติการมาโนช สุขฤกษ และคณะ (2544 : 18-19) ได กลาวถึง ปจจัยที่จะกอให เกิด

ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานวา ประกอบดวยปจจัยหลัก 3 ปจจัยดวยกัน คือ1) ปจจัยสวนบุคคลไดแก 1.1) เพศ 1.2) จํานวนสมาชิกในครอบครัว 1.3) อายุ 1.4) ระยะเวลาในการทํางาน 1.5) สติปญญา 1.6) ระดับการศึกษา 1.7) บุคลิกภาพ2) ปจจัยที่ไดรับมาจากงาน ไดแก 2.1) ชนิดของงาน 2.2) ทักษะความชํานาญ 2.3) สถานภาพทางอาชีพ 2.4) สถานภาพทางภูมิศาสตร 2.5) ขนาดของธุรกิจ3) ปจจัยที่ควบคุมไดโดยฝายบริหารไดแก 3.1) ความมั่นคง 3.2) รายได 3.3) สวัสดิการ 3.4) โอกาสกาวหนาในงาน 3.5) สภาพการทํางาน 3.6) ผูรวมงาน 3.7) ความรับผิดชอบ

Page 30: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

17

3.8) การจัดการวิชัย แหวนเพชร (2543: 141-142) กลาววาพื้นฐานที่สําคัญที่มีผลตอความพึงพอใจใน

การทํางาน ซึ่งสามารถสงผลใหเกิดประสิทธิภาพในการทํางานในองคกรระยะยาวมีดังตอไปน้ี1) งาน (Job) คือ ตัวงานที่เขาไดไปทําอยู หมายความวา เขาน้ันมีความชอบ ความถนัด

และความสนใจในงานน้ันหรือไม หากเขามีความชอบความสนใจแลวก็ยอมจะมีความพึงพอใจในงานน้ันสูงเปนทุนอยู ในขณะที่เขาทํางานไปโอกาสที่เขาจะเรียนรูงาน รูสิ่งใหม ๆ ก็มากขึ้น

2) คาจาง (Wage) คาจางแรงงานเปนองคประกอบหน่ึงที่ทําใหบุคคลอยากทํางานในหนวยงานน้ันหรือไม การใหคาจางในอัตราที่เหมาะสม โดยเฉพาะในบรรดาคนงานหรือลูกจางที่มีคุณสมบัติเดียวกัน

3) โอกาสที่ไดเลื่อนขั้นหรือตําแหนง (Promotion)4) การยอมรับ (Recognition) ทั้งจากผูบังคับบัญชาผูบริหารและเพื่อนรวมงาน หากมี

การยอมรับเขาในบทบาท ยอมทําใหบุคคลเกิดความพึงพอใจในการทํางาน ดังน้ัน การใหเกียรติใหการยอมรับ รับฟงความคิดเห็นตอบุคคลยอมทําใหเขาเกิดความพึงพอใจได

5) สภาพการทํางาน (Working Condition) เปนสภาพโดยทั่ว ๆ ไปของสถานที่ทํางานเชน ความสะอาด ความเปนระเบียบ ฯ

6) ผลประโยชน (Benefit) และสวัสดิการ (Services) หมายถึง สิ่งที่เขาไดรับตอบแทนจากผลการปฏิบัติงาน นอกเหนือจากคาจาง เชน บําเหน็จ บํานาญ คารักษาพยาบาล คาที่พักคานํ้ามันรถ ฯลฯ

7) ผูบังคับบัญชา (Leader) หัวหนาก็มีอิทธิพลมากเชนกัน เชน ลักษณะของหัวหนาเปนแบบใด มีทักษะในการบริหารงานมากนอยเพียงใด รูหลักจิตวิทยา หลักมนุษยสัมพันธเพียงไรและเมื่อมีปญหาหัวหนามีความสามารถที่จะแกไขปญหาหรือใหคําแนะนําแกผูปฏิบัติงานไดเพียงใด

8) เพื่อนรวมงาน (Co - workers) หากมีเพื่อนรวมงานที่ดีในองคการยอมสงผลทําใหผูปฏิบัติงานเกิดความพอใจในการทํางานมากขึ้น

9) องคกรและการจัดการ (Organization and Management) หมายถึง องคกรใดที่มีชื่อเสียงในการทํางาน ยอมทําใหเกิดการยอมรับ เกิดความพึงพอใจในองคกรน้ัน

สมยศ นาวีการ (2529:6) กลาวถึงแนวความคิดของ (Thomas J. Peters) ซึ่งเสนอ ปจจัย7 ประการ (7-S) ที่มีอิทธิพลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานในองคกร คือ

1) กลยุทธ (Strategy) กลยุทธเกี่ยวกับการกําหนดภารกิจ การพิจารณาจุดออน และจุดแข็งภายในองคกร โอกาสและอุปสรรคภายนอก

Page 31: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

18

2) โครงสราง (Structure) โครงสรางขององคกรที่เหมาะสมจะชวยในการปฏิบัติงาน3) ระบบ (Systems) ระบบขององคกรที่จะบรรลุเปาหมาย4) แบบ (Styles) แบบของการบริหารของผูบริหารเพื่อบรรลุเปาหมายขององคกร5) บุคลากร (Staff) ผูรวมองคกร6) ความสามารถ (Skill)7) คานิยม (Shared Values) คานิยมรวมของคนในองคกรGilbert (อางถึงใน สมยศ นาวีการ (2536:12) สิ่งที่ทุกคนนํามาใชกับการทํางาน คือ

พฤติกรรมที่สะสมอยูในตัวเอง ซึ่งประกอบดวย 3 สวนคือ ความรู (Knowledge) ขีดความสามารถ(Capacity) สิ่งกระตุน (Motives)

1) Knowledge คือ ความรูเกี่ยวกับการทํางาน อันเปนผลมาจากการศึกษาเลาเรียนฝกอบรมและทักษะในการทํางานจากการผานประสบการณการทํางานมา

2) Capacity คือ ขีดความสามารถเชิงกายภาพและปญญาที่คนทํางานมี3) Motives คือ คานิยม ความเชื่อ ความชื่นชม ความชอบ ความไมชอบ ฯลฯGilbert (อางถึงใน สมยศ นาวีการ (2539:12) กลาววา นอกเหนือจากปจจัยพฤติกรรม

ประจําตัวของบุคคลแลว พนักงานผูปฏิบัติงานยังตองการปจจัยทางดานสภาพแวดลอม สนับสนุนเพื่อใหเกิดการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ปจจัยสภาพแวดลอมที่วา ประกอบไปดวย 3 สวน คือขอมูลขาวสาร (Information) เคร่ืองมือ (Instruments) และสิ่งกระตุนความตองการ (Incentives)

1) Information เปนเร่ืองเกี่ยวกับ เปาหมาย วัตถุประสงคของธุรกิจและการทํางานของกลุมและการจะทํางานใหบรรลุผลไดอยางไร

2) Instruments เคร่ืองมือในการทํางาน เทคนิคงาน เทคโนโลยี กระบวนการตางๆขั้นตอน วิธีการทํางาน โครงสรางองคกร ที่ชวยใหพนักงานทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล

3) Incentives สิ่งกระตุนความตองการของคน ทั้งที่อยูในรูปของตัวเงิน และไมใชตัวเงิน ในการทํางานตางๆ

Page 32: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

19

Information Instruments Incentives

Knowledge Capacity Motives

ภาพท่ี 2.1 ปจจัยที่มีผลตอการปรับปรุงประสิทธิภาพงาน

จากภาพประกอบที่ 2.2 Gilbert เชื่อวาการปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ใหลืมพฤติกรรมที่สะสมในตัวพนักงานมา แตใหมุงเนนถึงสภาพแวดลอมที่จัดสรางขึ้นสําหรับพนักงานจากภาพประกอบที่ 2.2 แสดงใหเห็นถึงขั้นตอน ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางาน ดังน้ี

ลําดับแรก พนักงานมีขอมูลขาวสารที่เพียงพอ และเชื่อไดที่จะบอกใหพนักงานทราบถึงสิ่งที่พนักงานพึงกระทํา เชน เปาหมาย วัตถุประสงคของธุรกิจ และการทํางานของกลุมและการจะทํางานใหบรรลุผลไดอยางไร

ลําดับที่สอง ควรจะตรวจประเมินวา เคร่ืองมือในการทํางาน เทคนิคงาน วิธีการทํางานและเทคโนโลยี ไดถูกพนักงานนํามาใชในการทํางาน เพื่อที่จะชวยใหพนักง านทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล

ลําดับที่สาม ตรวจสอบสิ่งกระตุนความตองการของคน ทั้งที่อยูในรูปของตัวเงิน และไมใชตัวเงิน ในการทํางานตางๆ ที่องคกรจัดให น้ันเพียงพอที่จะสนับสนุนใหเกิดประสิทธิภาพงานหรือไม

ลําดับสุดทาย ตรวจสอบวา พนักงานขาดทักษะ หรือตองการการฝกอบรมหรือไมโดยGilberg กลาวถึงเร่ืองการฝกอบรมเปนเร่ืองที่มีประโยชน แตเปนการปรับปรุงประสิทธิภาพที่มีคาใชจายสูง ดวยเหตุผลดังกลาว จึงควรใชการฝกอบรม เปนลําดับสุดทาย ในการปรับปรุงประสิทธิภาพงาน ควรแกไขขอบกพรองในเร่ืองของขอมูลขาวสาร เคร่ืองมือ และสิ่งกระตุนความตองการ เปนลําดับแรก

3

4

1 2

Environmental supports(ปจจัยดานสภาพแวดลอม สนับสนุน)

Repertory of behavior(พฤติกรรมที่สะสมอยูในตัวเอง)

Page 33: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

20

Frederick Hertzberg (1968 อางถึงใน โสฬส ปญจะวิสุทธิ์ 2541:100) ไดศึกษาการบริหารงานในแบบวิทยาศาสตรโดยไดนําเอาการบริหารงานแบบวิทยาศาสตร และความ สัมพันธระหวางผูปฏิบัติงานมาศึกษารวมกันเพื่อใหไดปจจัยสําคัญที่จะทําใหบุคคล ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังน้ันเขาจึงไดศึกษาวิจัยถึงทัศคติของบุคคลที่พอใจ ในการทํางาน และไมพอใจในการทํางานพบวา บุคคลที่พอใจในการทํางานน้ันประกอบ ดวยปจจัยดังน้ี

1) การที่สามารถทํางานไดบรรลุผลสําเร็จ2) การที่ไดรับการยกยองนับถือเมื่อทํางานสําเร็จ3) ลักษณะเน้ือหาของงานเปนสิ่งที่นาสนใจ4) การที่ไดมีความรับผิดชอบมากขึ้น5) ความกาวหนาในการทํางาน6) การที่ไดรับโอกาสพัฒนาความรูและความสามรถในการทํางานสวนปจจัยที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมของงานที่เปนสวนที่ทําใหเกิดความไมพึงพอใจ

ประกอบดวยปจจัย ดังน้ี คือ1) นโยบายและการบริหารองคกร (Policy and Administrion)2) การควบคุมการบังคับบัญชา (Supervision)3) สภาพการทํางาน (Work Conditions)4) ความสัมพันธระหวางบุคคลทุกระดับในหนวยงาน (Relation with Pee and

Subordinate)5) คาตอบแทน (Salary)6) สถานภาพ (Status)7) การกระทบกระเทือนตอชีวิตสวนตัว (Personal Life)8) ความปลอดภัย (Security)ซาลินิค (Zaleanick,1957 : 40 อางถึงในโสฬส ปญจะวิสุทธิ์ 2541:102) การปฏิบัติงาน

จะดีมีประสิทธิภาพหรือไมขึ้นอยูกับผูปฏิบัติวาจะไดรับการตอบสนองความตองการทั้งภายนอกและภายใน (external and internal) มากนอยเพียงใด ซึ่งถาหากวาผูปฏิบัติงานได รับการตอบสนองมากการปฏิบัติงานก็ยอมมีประสิทธิภาพมากดวยเชนกันโดยมีรายละเอียด ดังน้ี

1) ความตองการภายนอกไดแก1.1) รายไดหรือคาตอบแทน1.2) ความมั่นคงปลอดภัยในการปฏิบัติงาน1.3) สภาพแวดลอมทางภายภาพ

Page 34: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

21

1.4) ตําแหนงหนาที่2) ความตองการภายใน ไดแก

2.1) ความตองการเขาหมูคณะ2.2) ความตองการแสดงความจงรักภักดี2.3) ความเปนเพื่อน2.4) ความรักใคร

2.2 แนวคิดทฤษฎีปจจัยหลักการของแมคคินซีย (McKinsey) (McKinsey’s 7S Framework)การวิเคราะหปจจัย 7 ประการตามหลักการของแมคคินซีย (McKinsey) (McKinsey’s 7S

Framework) ถูกคิดคนโดย Tom Peter, Julien Phillips ผูซึ่งเปนทนายของบริษัทแมคคินซีย(McKinsey, 1980:120 ,อางถึงในสมยศ แยมเผื่อน,2551:44-45) ซึ่งเปนแนวทางวิเคราะหปจจัยภายในหนวยงานซึ่งเปนเคร่ืองมืออยางหน่ึงที่ถูกนํามาใชในการวิเคราะหการบริหารองคกรที่จะชวยใหการบริหารองคกรมีศักยภาพการทํางานสูงมากยิ่งขึ้น McKinsey ไดกลาววาความสําเร็จในการดําเนินงานขององคกรตาง ๆ หรือการบริหารงานที่ สัมฤทธิ์ผลน้ันขึ้นอยูกับตัวแปรซึ่งมีความสัมพันธเกี่ยวเน่ืองกันอยางนอยที่สุด 7 ตัว ซึ่งไดแก

1. กลยุทธ (Strategy)2. โครงสราง (Structure)3. ระบบการปฏิบัติงาน (System)4. รูปแบบการบริหาร (Style)5. บุคลากร (Staff)6. ทักษะความสามารถ (Skill)7. คานิยมรวม (Shared values)โดยที่ตัวแปร 2 ตัวแรกคือ กลยุทธ กับโครงสราง เปนสิ่งที่สามารถจับตองได หรือ

มองเห็นไดชัดเจนจึงทําใหตลอดระยะเวลาที่ผานมาผูบริหารใหความสนใจเปนพิเศษสําหรับตัวแปรใหมที่คนพบเทาที่ผานมาผูบริหารไมไดใหความสนใจเพราะเปนสิ่งที่จับตองไมไดหรือมองเห็นภาพไมชัดเจนไดแกคนหรือพนักงานสไตลการบริหารระบบและวิธีการคุณคารวมและฝมือหรือทักษะตอมาบริษัท McKinsey ไดปรับปรุงคําจํากัดความของตัวแปรทั้ง 7 ตัว ใหมีความถูกตองชัดเจนยิ่งขึ้นและเรียกตัวแปรเหลาน้ีวาเปนโครงรางพื้นฐาน 7S (7S Framework of McKinsey)

Page 35: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

22

ภาพที่ 2.2 โครงรางพื้นฐาน 7S ของแมคคินซีย (McKinsey) (7S Framework of McKinsey)

จากรูปจะเห็นไดวาตัวแปรทั้ง 7 ตัวของ McKinsey (7S Framework of McKinsey) มีความสัมพันธซึ่งกันและกันและมีความเชื่อมโยงกันทั้งหมดดัง น้ันความเปนเลิศขององคกรจะเกิดขึ้นจากความเกี่ยวพันระหวางกันของตัวแปรทั้งหมดโดยที่ผูบริหารจะตองใหความสําคัญกับตัวแปรทั้งหมด (Strategy, Structure, Staff, Style, Systems, Shared Values, Skills) ซึ่งมีรายละเอียดดังน้ี

1.กลยุทธ (Strategy) หมายถึง การวางแผนกลยุทธขององคกรเพื่อตอบสนองตอสภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอก มากําหนดกลยุทธเพื่อนํากลยุทธไปใช โดยมีการประเมินผลและควบคุมตรวจสอบ สอดคลองกับ อํานาจ วัดจินดา (2553) กลาววากลยุทธ (Strategy) หมายถึงการวางแผนเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมการพิจารณาจุดแข็งจุดออนของกิจการ

2. โครงสรางองคกร (Structure) หมายถึง การออกแบบโครงสรางองคกรใหมีความสัมพันธเชื่อมโยงกันกับอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบมีการจัดระบบการบริหารงาน การจัดตําแหนงงานและแผนกงานใหสอดคลองกับองคกรน้ัน ๆ

อํานาจ วัดจินดา (2553) ใหความหมายโครงสราง (Structure) เปนโครงสรางขององคกรที่แสดงความสัมพันธระหวางอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบรวมถึงขนาดการควบคุมการรวมอํานาจและการกระจายอํานาจของผูบริหารการแบงโครงสรางงานตามหนาที่ตามผลิตภัณฑตามลูกคาตามภูมิภาคไดอยางเหมาะสม

Page 36: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

23

3. ระบบ (System) หมายถึง กระบวนการและลําดับขั้นในการทํางานที่ตองเปนระบบที่สอดคลองกัน (เขากัน)ระบบการทํางานควรสอดคลองไปในทิศทางเดียวกับเร่ืองอ่ืนๆ โดยมีการจัดระบบการบริหารงาน การปรับเปลี่ยนกลยุทธ และการมุงสูความเปนเลิศ สอดคลองกับ อภิสิทธิ์กฤษเจริญ (2551) กลาววาระบบหมายถึงองคประกอบตางๆที่มีความสัมพันธกันและขึ้นตอกันโดยสวนประกอบตางๆรวมกันทํางานอยางผสมผสานกันเพื่อใหบรรลุถึงเปาหมาย และอํานาจ วัดจินดา(2553) ใหความหมายวาระบบ (System) หมายถึงการปฏิบัติงานตามกลยุทธเพื่อใหบรรลุเปาประสงคตามที่กําหนดไวนอกจากการจัดโครงสรางที่เหมาะสมและมีกลยุทธที่ดีแลวการจัดระบบการทํางาน (Working system) ก็มีความสําคัญยิ่ง

4.รูปแบบการบริหารงาน (Style) หมายถึง รูปแบบการบริหารโดยมีการกระจายอํานาจและการแบงอํานาจการบริหาร การทบทวนการบริหารงานและผลการดําเนินงานภายในองคกรของผูบริหาร องคกร อีกทั้งความเปนผูนําของผูบริหาร ซึ่งสอดคลองกับประชา ตันเสนีย (2550)กลาวถึงลีลาการบริหาร (Style) แบบแผนพฤติกรรมในการปฏิบัติงานของผูบริหารเปนองคประกอบที่สําคัญอยางหน่ึงของสภาพแวดลอมภายในองคกรพบวาความเปนผูนําขององคกรจะมีบทบาทที่สําคัญตอความสําเร็จหรือลมเหลวขององคกรผูนําที่ประสบความสําเร็จจะตองวางโครงสรางองคกรดวยการเชื่อมโยงการกระจายอํานาจใหมีความสอดคลองกันทั้งหมด

5. บุคลากร (Staff) หมายถึง การบริหารจัดการบุคคล โดยการคัดเลือกบุคลากร การจัดคนใหเขากับงาน คาตอบแทน การสรางแรงจูงใจ การพัฒนาบุคลากร การสงเสริมการมีสวนรวมการสรางบรรยากาศในการทํางาน การสื่อสาร สอดคลองกับอํานาจ วัดจินดา (2553) กลาววาการจัดการบุคคลเขาทํางาน (Staff) หมายถึงการคัดเลือกบุคลากรที่มีความสามารถการพัฒนาบุคลากรอยางตอเน่ือง

6.ทักษะความสามารถ (Skill) หมายถึง ศักยภาพขององคกรขององคกรในการใชทักษะความสามารถความโดดเดน ความเชี่ยวชาญในการผลิต/ขาย/ใหบริการ สอดคลองกับอํานาจวัดจินดา (2553) กลาววาหมายถึงความโดดเดนความเชี่ยวชาญในการผลิตการขายการใหบริการเปนการพิจารณาถึงทักษะหรือความเชี่ยวชาญขององคกรโดยรวมวามีความเ ชี่ยวชาญหรือมีความชํานาญในดานใด และประชาตันเสนีย (2550) กลาววา ทักษะคือความสามารถในการปฏิบัติงานของทรัพยากรบุคคลในองคกร

7. คานิยมรวม (Shared Value)หมายถึง คานิยมรวมในองคการ วัฒนธรรมองคกร การองคกรที่องคกรสื่อสารคานิยมใหพนักงานใหมีความเชื่ออยางไร สอดคลองกับณัชนัน แกวชัยเจริญกิจ (2550) กลาววาคานิยมรวมหมายถึงการมีคานิยมและความเชื่อที่มีรวมกันอยางเปนระบบที่เกิดขึ้นในองคกรและใชเปนแนวทางในการกําหนดพฤติกรรมของคนในองคกรน้ันๆโดยเนนให

Page 37: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

24

บุคลากรรูจักศึกษาวิเคราะหในรายละเอียดของงานที่ทํามุงที่ผลงานมากกวาวิธีปฏิบัติการที่ผูบริหารใหความสําคัญกับบุคลากรในการตัดสินใจตางๆมุงใหความสําคัญกับการทํางานเปนทีมเนนใหบุคลากรคิดและทํางานในเชิงรุกและสงเสริมใหบุคลากรมีความคิดริเร่ิมสรางสรรค และเกศรา รักชาติ (2549) อธิบายวาคานิยมรวมหมายถึงคานิยมรวมกันระหวางคนในองคกรความเปนอันหน่ึงอันเดียวกันเปนคานิยมและบรรทัดฐานที่ยึดถือรวมกันโดยสมาชิกขององคกรที่ไดกลายเปนรากฐานของระบบการบริหารและวิธีการปฏิบัติของบุคลากรและผูบริหารภายในองคกรหรืออาจเรียกวาวัฒนธรรมองคกรรากฐานของวัฒนธรรมองคกรคือความเชื่อคานิยมที่สรางรากฐานทางปรัชญาเพื่อทิศทางขององคกร

2.3 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของในการศึกษาเร่ือง ปจจัยที่สงตอประสิทธิภาพในการทํางานของพนักงานบริษัท ริโก

(ประเทศไทย) จํากัด ผูศึกษาไดศึกษาผลงานวิจัยที่เกี่ยวของดังน้ีสุดธิดา แกวปลั่ง (2545) ทําการศึกษาเร่ืองปจจัยที่มีอิทธิพลตอประสิทธิภาพในการ

ปฏิบัติงานของพนักงานโทรศัพทจังหวัดลําปาง ผลการศึกษาพบวาระดับความสําคัญของปจจัยจูงใจที่มิใชตัวเงินที่มีอิทธิพลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน พบวาปจจัยดานความกาวหนาในงานที่ทําปจจัยดานการไดรับการยอมรับนับถือปจจัยดานการสภาพแวดลอมในการทํางานและปจจัยดานความสัมพันธระหวางบุคคลเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานในระดับมาก สวนปจจัยดานนโยบายและการบริหารงานเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานในระดับปานกลาง ความสัมพันธระหวางลักษณะสวนบุคคลกับปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานพบวา

ลักษณะสวนบุคคลที่มีความสัมพันธกับปจจัยดานความกาวหนาในงาน ไดแก อายุ ระกับการศึกษา ประสบการณในการปฏิบัติงาน ระดับตําแหนงงาน (สายงาน) และรายได

ลักษณะสวนบุคคลที่มีความสัมพันธกับปจจัยดานการไดรับการยอมรับนับถือ ไดแกประสบการณในการปฏิบัติงาน ระดับตําแหนงงาน (สายงาน) สถานภาพและรายได

ลักษณะสวนบุคคลที่มีความสัมพันธกับปจจัยดานความมั่นคงและปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ไดแก อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพและรายได

ลักษณะสวนบุคคลที่มีความสัมพันธกับปจจัยดานนโยบายและการบริหาร ไดแก เพศอายุ ระดับการศึกษา ประสบการณในการปฏิบัติงาน ระดับตําแหนง (สายงาน) สถานภาพและรายได

Page 38: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

25

ลักษณะสวนบุคคลที่มีความสัมพันธกับปจจัยดานความรับผิดชอบ ไดแก อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณในการปฏิบัติงานและรายได

ลักษณะสวนบุคคลที่มีความสัมพันธกับปจจัยดานสภาพแวดลอมในการทํางาน ไดแกอายุ ระดับการศึกษา และประสบการณในการปฏิบัติงาน ระดับตําแหนง (สายงาน) สถานภาพและรายได

ลักษณะสวนบุคคลที่มีความสัมพันธกับปจจัยดานความสัมพันธระหวางบุคคล ไดแกอายุ ระดับการศึกษา ประสบการณในการปฏิบัติงานและรายได

กิติภัส เพ็งศรี (2545) ไดวิจัยเร่ืองปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่พัฒนาชุมชน ระดับของประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่พัฒนาชุมชนอุปสรรคในการปฏิบัติงานและเสนอแนวทางในการแกไขปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่พัฒนาชุมชน ผลการศึกษา พบวา ตัวแปรปจจัยพื้นฐานสวนบุคคลของเจาหนาที่พัฒนาชุมชน ไดแก เพศ มีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่พัฒนาชุมชน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ยกเวน อายุ ระดับการศึกษา ระดับตําแหนง ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน อัตราเงินเดือน ไมมีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่พัฒนาชุมชนสําหรับปจจัยจูงใจที่กอใหเกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ไดแก โอกาสกาวหนาในหนาที่การงาน การมีสวนรวมในการวางแผน ผลประโยชน ตอบแทน และการเพิ่มพูนความรู ความสามารถ มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่พัฒนาชุมชน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และพบวาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่พัฒนาชุมชนของจังหวัดสระบุรี อยูในระดับดี

นคร บางน่ิมนอย (2546) ไดศึกษาวิจัยเร่ือง ปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานพนักงานการเดินรถการรถไฟแหงประเทศไทย ผลการศึกษาสรุปไดวา พนักงานมีประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอยูในระดับปานกลาง ซึ่งดานความรับผิดชอบและเอาใจใสในงาน มีความสัมพันธกับปจจัยดานการปฏิบั ติงานทุกดานในระดับปานกลาง และปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานไดแก โอกาสความกาวหนาในหนาที่การงาน ผูบังคับบั ญชาความสัมพันธกับเพื่อนรวมงานโอกาสแสดงความคิดเห็นในงาน วัสดุอุปกรณเคร่ืองมือและเคร่ืองใชในการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานในทุกๆ ดานอยูในระดับปานกลาง สวนปจจัยที่ไมมีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ไดแก อายุ ระดับการศึกษาเงินเดือน ที่พักอาศัย ประสบการณ ในการปฏิบัติงานและความพอใจในผลตอบแทน

Page 39: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

26

ศันสนีย ชูเชื้อ (2546) ทําการศึกษาเร่ืองปจจัยที่สงผลตอการทํางานเปนทีมของพนักงานมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พบวาการทํางานเปนทีมสงผลทําใหงานมีประสิทธิภาพดีขึ้น ทั้งดาน คุณภาพ ปริมาณงาน ประหยัดคาใชจายและเวลา สําหรับปจจัยที่พนักงานมหาวิทยาลัยวลัยลักษณคิดวาสงผลตอการปฏิบัติงานเปนทีม ไดแก บรรยากาศ ภาวะผูนํา การสื่ อสาร ทักษะในการทํางาน ความชัดเจนของวัตถุประสงค การตัดสินใจ การประชุม วัฒนธรรมองคกร การมีสวนรวมและแรงจูงใจ เรียงตามลําดับ สวนปญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานเปนทีมของพนักงานมหาวิทยาลัยวลยัลักษณ ไดแก การไมทราบวัตถุประสงคที่ชัดเจนของงานที่รับผิดชอบ สมาชิกขาดการมีสวนรวม และการมอบหมายงานที่ไมเหมาะสมกับผูปฏิบัติ

อัครินทร พาฬเสวต (2546) ไดศึกษาวิจัยเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท คาโอ อินดัสเตรียล(ประเทศไทย) จํากัด พบวา พนักงานที่มี เพศ ระดับการศึกษา ระดับตําแหนงงาน ตางกัน มีประสิทธิภาพในการทํางานแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และผลการทดสอบความสัมพันธของ อายุ และประสบการณการทํางานของพนักงาน พบวา มีความสัมพันธกับประสิทธิภาพในการทํางานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ0.05

กชกร เอ็นดูราษฎร (2550) ศึกษาวิจัยในเร่ือง ปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานบริษัท โกรเฮสยาม จํากัด พนักงานบริษัท โกรเฮสยาม จํากัด มีความพึงพอใจโดยรวมทุกดานอยูในระดับที่มากในดานเกี่ยวกับผูบังคับบัญชา ดานลักษณะงานที่ปฏิบัติดานเพื่อนรวมงานดานสภาพแวดลอมในการทํางาน ดานนโยบายและการบริหาร ดานความยุติธรรมในการทํางานดานผลตอบแทนหรือรายได และดานโอกาสกาวหนาในตําแหนงการงานประสิทธิภาพในการทํางานโดยรวมทุกดานของพนักงานบริษัท โกรเฮ สยาม จํากัด อยูในระดับสูง ไดแก ในดานประสิทธิภาพสวนบุคคล ดานผลผลิต ดานตนทุนการผลิต และดานกระบวนการทํางาน เมื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยตางๆ กับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานบริษัท โกรเฮ สยามจํากัด โดยการวิเคราะหถดถอยพหุแบบขั้นตอน พบวา ปจจัยดานสภาพแวดลอมในการทํางาน มีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานบริษัท โกรเฮ สยาม จํากัด มากที่สุดรองลงมาน้ันเปนปจจัยดานนโยบายและการบริหารดานลักษณะงาน ที่ปฏิบัติดานผูบังคับบัญชาและดานผลตอบแทนหรือรายได ตามลําดับ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05

ชาคริต ศรีขาว (2551) ไดทําการศึกษาความคิดเห็นตอประสิทธิภาพในดานก ารปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทมิสกัน (ไทยแลนด ) พนักงานที่มี เพศ ระดับการศึกษา ประเภทของพนักงาน รายไดตอเดือน และประสบการณในการทํางานมีความตางกัน มีระดับความคิดเห็นตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานไมแตกตางกัน สวนพนักงานที่มีอายุตางกัน มีระดับความคิดเห็นตอ

Page 40: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

27

ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานแตกตางกันอยางมีระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 พนักงานมีความคิดเห็นตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานโดยรวมเห็นดวยในระดับมากในดานความรวดเร็วในการปฏิบัติงาน ดานความถูกตองในการปฏิบัติงาน ดานความสามารถในการปฏิบัติงาน ดานความสําเร็จตรงเวลาในการปฏิบัติงาน และดานการบรรลุวัตถุประสงคในการปฏิบัติงาน

สมยศ แยมเผื่อน (2551) ไดศึกษาเร่ืองปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานปฏิบัติการ บริษัท อาเซียน มารีน เซอรวิส จํากัด (มหาชน) มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพการทํางานและความสัมพันธระหวางปจจัยดานสิ่งแวดลอมในการทํางานและปจจัยดานความพึงพอใจในการบริหารทรัพยากรมนุษยกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานปฏิบัติการในบริษัท ผลการศึกษาพบวา ความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงานของพนักงานปฏิบัติการบริษัท อาเซียน มารีน เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ดานบรรยากาศในการทํางานพนักงานมีระดับความคิดเห็นตอสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงานโดยรวมอยูในระดับดีมาก สวนความสัมพันธระหวางผูปฏิบัติงานกับผูบังคับบัญชาและดานความสัมพันธระหวางผูปฏิบัติงานกับเพื่อนรวมงาน พนักงานมีความเห็นตอสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงานโดยรวมอยูในระดับดีประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน ดานปริมาณงาน ดานคุณภาพ และดานผลผลิตพบวาพนักงานมีระดับประสิทธิภาพการทํางานโดยรวมแตละดานอยูในระดับดี

สุนิสา สงบเงียบ (2551)ไดทําการศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอประสิทธิ -ภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท มินอิก เทคโนโลยี (ไทยแลนด ) พนักงานสวนใหญเปนเพศหญิง มีอายุ 20 – 29 ป มี ระดับการศึกษามัธยมศึกษา/ปวช. มีสถานภาพโสด มีตําแหนงหนาที่พนักงานระดับปฏิบัติการ มีรายไดเฉลี่ยตอเดือนนอยกวา 10,000 บาท และมีประสบการณ ในการทํางานตํ่ากวา 1 ป พนักงานมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานดานลักษณะงานที่ปฏิบัติดานความรับผิดชอบ ดานความรู ความเขาใจในงานที่ปฏิบัติดานความมั่นคงกาวหนาในการปฏิบัติงาน และดานความสัมพันธระหวางบุคคลในที่ทํางานวามีผลตอประสิทธิภาพมาก สวนดานสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงาน และดานเงินเดือนผลตอบแทนและสวัสดิการ พนักงานมีความคิดเห็นวามีผลตอประสิทธิภาพปานกลาง พนักงานที่มี เพศ อายุระดับการศึกษา สถานภาพ ตําแหนงหนาที่ รายไดเฉลี่ยตอเดือน และประสบการณการทํ างาน ที่ตางกันมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานในบริษัท มินอิก เทคโนโลยี (ไทยแลนด) จํากัด ไมแตกตางกัน อยางมีระดับนัยสําคัญทางสถิตที่ .05

วันวิสาข สมร (2552) ไดทําการศึกษาในเร่ืองความคิดเห็นตอปจจัยที่มีผลตอประสิทธิ-ภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท คาโตเล็ค (ประเทศไทย) จํากัด โดยมีกลุมตัวอยาง คือพนักงานบริษัท คาโตเล็ค (ประเทศไทย) จํากัด จํานวน 281 คน เคร่ืองมือที่ใช คือแบบสอบถาม

Page 41: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

28

วิเคราะหขอมูลดวยคาสถิติ คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t -test , F - testและLSD. ผลการศึกษาพบวา 1) พนักงานสวนใหญเปนเพศหญิง มีอายุ 26 - 35 ป มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา มีตําแหนงงานเปนพนักงานระดับปฏิบัติการอายุงาน 1 - 2 ปรายไดเฉลี่ยตอเดือนไมเกิน 10,000 บาท และมีสถานภาพสมรสแลว 2) พนักงานมี ความคิดเห็นดวยวาปจจัยในการปฏิบัติงาน ดานนโยบายการบริหารจัดการ ดานสภาพการทํางานดานความกาวหนาในการปฏิบัติงาน ดานขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงาน และดานคาจางและคาตอบแทน มีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานในระดับปานกลาง และพนักงานมีความคิดเห็นดวยวาปจจัยในดานการปฏิบัติงานดานตางๆ ดานความมั่นคงและความพึงพอใจ และดานความสัมพันธของผูบังคับบัญชา ผูใตบังคับบัญชา และเพื่อนรวมงาน มีผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานในระดับมาก 3) พนักงานที่มี เพศ อายุ อายุงาน และสถานภาพสมรสตางกัน มีระดับความคิดเห็นตอปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานไมแตกตางกัน สวนพนักงานที่มีระดับการศึกษาตําแหนงงานในปจจุบันและรายไดเฉลี่ยตอเดือนตางกัน มีระดับความคิดเห็นตอปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทแตกตางกันอยางมีระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05

ปริศนา พิมพา(2558)ไดศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรองคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตอําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม การศึกษาคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อ1) ศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรองคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตอําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม 2) ศึกษาปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรองคกรปกครองสวนทองถิ่น ในเขตอําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม 3) ศึกษาถึงความคิดเห็นและขอเสนอแนะในการสงเสริมการปฏิบัติงานของบุคลากรองคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตอําเ ภอธาตุพนมจังหวัดนครพนม การศึกษาคร้ังน้ีเปนการศึกษาประชากรทั้งหมดซึ่งไดแก บุคลากรที่ปฏิบัติงานอยูในองคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตอําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม จํานวน 232คน เคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถาม สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลไดแก คาเฉลี่ย คารอยละ ความถี่สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสันและการวิเคราะหสมการถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบวา (1) ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร องคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตอําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดยรวมและรายดานอยูในระดับมากที่สุด (2) ปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรองคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตอําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดยรวมและรายดานอยูในระดับมากที่สุด (3)ขอเสนอแนะในการสงเสริมการปฏิบัติงานของบุคลากรองคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตอําเภอธาตุพนมจังหวัดนครพนม ควรมีการวางแผนและจัดระบบการปฏิบัติงานไวใหชัดเจน ตรงกับ

Page 42: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

29

ความรูความสามารถ ความถนัดของบุคลากรในหนวยงาน มีการกําหนดปจจัยชี้วัดผลสําเร็จของงานรวมทั้งมาตรฐานผลงานที่สามารถวัดประเมินเขาใจ ตรวจสอบได2.4 กรอบแนวคิดการศึกษา

การศึกษาเร่ืองประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย)จํากัด มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัดและปจจัยที่มีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก(ประเทศไทย) จํากัด จากการที่ศึกษาคนควาแนวคิดทฤษฎีที่มีหลักการและเหตุผลที่ตรงกับวัตถุประสงคของการศึกษาคร้ังน้ีผูศึกษาคํานึงถึงความสอดคลองกับการบริหารงานของ บริษัท ริโก(ประเทศไทย) จํากัด ผูศึกษาจึงพิจารณานําแนวคิดทฤษฎี 7 ประการ (7’s McKinsey) (McKinsey,1980:120 ,อางถึงใน สมยศ แยมเผื่อน,2551:44-45)ของ McKinsey มาใชกําหนดเปนตัวแปรตนปจจัยดานองคการ ไดแก 1.ดานกลยุทธขององคกร (Strategy) 2.ดานโครงสรางองคกร (Structure)3.ดานระบบงาน (System) 4.ดานบุคลากร (Staff) 5.ดานทักษะความรูความสามารถ (Skill) 6.ดานรูปแบบการบริหารจัดการ (Style) และ7.ดานคานิยมรวม (Shared values) ซึ่งตัวแปรตนอีกสวนหน่ึงเปนปจจัยสวนบุคล ไดแก เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา รายไดตอเดือน ตําแหนงงาน และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน

ตัวแปรตาม เปนตัววัดประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด ผูศึกษาพิจารณาใชแนวคิดทฤษฎีของ Peterson and Plowman (1953:145-150 ,อางถึงในกชกร เอ็นดูราษฎร ,2550:32-33) กลาวไววา ในการดําเนินงานทางดานธุรกิจสิ่งสําคัญสินคาตองมีคุณภาพ การบริการตองมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งผูศึกษาไดวัดประสิทธิภาพการทํางาน มี 4 ดานไดแก 1. ดานคุณภาพของงาน 2. ดานปริมาณงาน 3. ดานเวลา และ 4. ดานคาใชจาย ซึ่งเมื่อพิจารณาประสิทธิภาพเพื่อใหเกิดขึ้นในการบริหารงานของบริษัท ตัวแปรทั้ง 4 ดานจึงเปนสวนการวัดประสิทธิภาพของการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงไดเสนอกรอบแนวคิดในการศึกษาดังน้ี

Page 43: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

30

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

ปจจัยสวนบุคคล1. เพศ2. อายุ3. สถานภาพสมรส4. ระดับการศึกษา5. รายไดตอเดือน6. ตําแหนงงาน7. ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน

ปจจัยดานการบริหารองคกร1.ดานกลยุทธขององคกร2.ดานโครงสรางองคกร3.ดานระบบงาน4.ดานบุคลากร5.ดานทักษะความรูความสามารถ6.ดานรูปแบบการบริหารจัดการ7.ดานคานิยมรวม

ที่มา (McKinsey, 1980:120 ,อางถึงในสมยศ แยมเผื่อน,2551:44-45)

ภาพท่ี 2.3 กรอบแนวคิดที่ใชในการศึกษา

ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

1. ดานคุณภาพของงาน2. ดานปริมาณงาน3. ดานเวลา4. ดานคาใชจาย

ทฤษฎีของ Peterson and Plowman(1953:145-150 ,อางถึงใน กชกร เอ็นดู

ราษฎร ,2550:32-33)

Page 44: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

31

2.5 สมมติฐานการศึกษาจากแนวคิดทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน

บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด ผูศึกษาไดกําหนดสมมติฐานเพื่อการศึกษามีดังตอไปน้ีสมมติฐานท่ี 1 ปจจัยสวนบุคคลของพนักงานบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

ประกอบดวย เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายไดตอเดือน ตําแหนงงานและระยะเวลาในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก(ประเทศไทย) จํากัด

สมมติฐานท่ี 2 ปจจัยดานการบริหารองคกรของบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัดประกอบดวย ไดแก 1.ดานกลยุทธขององคกร (Strategy) 2.ดานโครงสรางองคกร (Structure)3.ดานระบบงาน (System) 4.ดานบุคลากร (Staff) 5.ดานทักษะความรูความสามารถ (Skill) 6.ดานรูปแบบการบริหารจัดการ (Style) และ7.ดานคานิยมรวม (Shared values) มีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด2.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ

2.6.1. ปจจัยสวนบุคคล หมายถึง ลักษณะสวนบุคคลของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

1. เพศ หมายถึง ความแตกตางทางสรีระ ที่บงบอกถึงความเปนเพศของมนุษย ไดแกเพศชาย เพศหญิง

2. อายุ หมายถึง ระยะเวลาต้ังแตปเกิดจนถึงปที่ตอบแบบสอบถามของพนักงาน3. สถานภาพสมรส หมายถึง สภาพการครองตนของพนักงาน แบงออกเปน โสด

สมรส หมาย/หยาราง/แยกกันอยู4. ระดับการศึกษา หมายถึง วุฒิการศึกษาสูงสุดของพนักงานในองคการปจจุบัน

จําแนกเปน มัธยมศึกษา/ปวช.หรือเทียบเทา อนุปริญญาหรือเทียบเทา ปริญญาตรีและสูงกวาปริญญาตรี

5. รายไดตอเดือน หมายถึง รายไดตอเดือน ของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เงินเดือนและรายไดอ่ืน ๆ แบงออกเปนรายไดไมเกิน 15,000 บาท 15,001 – 20,000 บาท 20,001 – 25,000บาท และ 25,001 บาท ขึ้นไป

6. ตําแหนงงาน หมายถึง หนาที่ความรับผิดชอบของพนักงานที่ปฏิบัติงานอยูในองคการ ต้ังแตเขาทํางานจนถึงปจจุบัน

Page 45: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

32

7. ระยะเวลาในการปฏิบัติงานที่ บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด หมายถึงระยะเวลาที่พนักงานที่ปฏิบัติงานอยูในองคการ ต้ังแตเขาทํางานจนถึงปจจุบัน

2.6.2 ปจจัยดานการบริหารองคกร1. ดานกลยุทธขององคกร (Strategy) หมายถึง การที่องคกรจัดทําแผนปฏิบัติงานที่

สอดคลองกับแผนกลยุทธที่กําหนดไวอยางชัดเจน คือ การที่บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด เปนบริษัทชั้นนําในดานการผลิตอุปกรณสํานักงานอัตโนมัติและเคร่ืองใชสํานักงานที่มีคุณภาพระดับแนวหนา พรอมการมีถายทอดนโยบายเพื่อสรางความเขาใจรวมกับพนักงาน โดยมีการมอบหมายผูรับผิดชอบในแผนงานที่วางไวอยางชัดเจนเพื่อนําไปสูเปาหมายที่องคกรกําหนดไว และสามารถปฏิบัติงานตามแผนไดจริงภายในระยะเวลาที่กําหนด

2. ดานโครงสรางองคกร (Structure) หมายถึง โครงสรางการบริหารงานในองคกรมีความชัดเจนการแบงอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบเพื่อการประสานงานอยางเปนระบบความเหมาะสมของพนักงานในแตละตําแหนงงาน การปรับปรุงโครงสรางองคกรตอสถานการณตลอดจนการปรับเปลี่ยนตําแหนงงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององคกร

3. ดานระบบงาน (System) หมายถึง ความพรอมของระบบที่ใชปฏิบัติงานในองคกรทั้งที่เปนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบการบริหารจัดการ รวมถึงกระบวนการปฏิบัติงานตลอดจนการพัฒนาระบบงานในองคกรอยางตอเน่ือง

4. ดานบุคลากร (Staff) หมายถึง พนักงานในองคกรที่มีสวนรวมในการสรางความสําเร็จใหกับองคกร การทํางานเปนทีมรวมกันขับเคลื่อนองคกรใหไปเปนตามนโยบายผูบริหาร จํานวนบุคลากรที่เหมาะสมกับเน้ืองานที่รับผิดชอบ รวมถึงการมีสวนรวมในการสรางบรรยากาศในองคกรที่สงเสริมตอการปฏิบัติงาน และการสงเสริมการพัฒนาบุคลากรในแตละตําแหนงหนาที่ที่รับผิดชอบ

5. ดานทักษะของบุคลากร (Skill) หมายถึง ความรู ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ เชิงลึกของบุคลากรที่สงเสริมการปฏิบัติงานตลอดจนการแสวงหาความรูเพื่อเพิ่มพูนทักษะ และทักษะดานวิชาชีพที่หนวยงานสงเสริมใหมีความรูความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น รวมถึงการพัฒนาตนเองอยางตอเน่ืองสม่ําเสมอ

6. ดานรูปแบบการบริหารจัดการ (Style) หมายถึง ลักษณะแบบแผนหรือพฤติกรรมที่ผูบริหารนํามาใชในการบริหารองคกร ทัศนคติที่ดีของผูบริหารในการพัฒนาองคกร วิธีการบริหารแบบตาง ๆ ที่ถือปฏิบัติในองคกร การตัดสินใจ การแกไขปญหา การวางแผนติดตามผลการดําเนินงาน การจัดสรรงบประมารณ และการเปดโอกาสใหบุคลากรในหนวยงานมีสวนรวมในการแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณเพื่อปรับปรุงกระบวนการทํางาน

Page 46: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

33

7. ดานคานิยมรวม (Shared Value) หมายถึง การที่ผูบริหารและพนักงานในองคกรมีความเชื่อหรือทัศนคติที่ถูกกําหนดขึ้นโดยคนในองคกร เพื่อนําไปสูเปาหมายเดียวกัน คือ การมีจิตสํานึกในคานิยมหลักของบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด การใหบริการที่มีคุณภาพน้ันตอง“Love your Neighbor,Love your country, Love your work” “รักเพื่อน รักประเทศ รักงาน”

2.6.3 ประสิทธิภาพการทํางาน หมายถึง พนักงานที่ปฏิบัติงานอยางเต็มความสามารถ ใชกลวิธีหรือเทคนิคการทํางานที่จะสรางผลงานไดมาก เปนผลงานที่มีคุณภาพ เปนที่นาพอใจ โดยไมสิ้นเปลืองคาใชจาย พลังงานและเวลานอย เปนบุคคลที่มีความสุขและพอใจในการทํางาน เปนบุคคลที่มีความพอใจจะเพิ่มพูนคุณภาพและปริมาณของผลงาน คิดคน ดัดแปลง วิธีการทํางานใหไดผลดียิ่งขึ้นอยูเสมอโดยแบงประสิทธิภาพการทํางาน ออกเปน 4 ดาน ไดแก

2.1 คุณภาพของงาน หมายถึง ผลจากการทํางานที่มีความถูกตองไดมาตรฐานรวดเร็วโดยผลงานที่ออกมาจะตองมีคุณภาพ เกิดประโยชนตอองคการและสรางความพึงพอใจใหกับลูกคาหรือผูมารับบริการ ไดแก ผลการทํางานไดมาตรฐาน มีความรับผิดชอบเอาใจใสงานที่ทํา มีความรอบรูความชํานาญในขั้นตอนการทํางาน และ สรางความพึงพอใจตอลูกคา

2.2 ปริมาณงาน หมายถึง ผลงานที่เกิดขึ้นไปตามความคาดหวังของหนวยงานโดยผลงานที่ปฏิบัติไดมีปริมาณที่เหมาะสมตามที่กําหนดในแผนงานหรือเปาหมายที่บริษัทวางไว ไดแกความคาดหวังของหนวยงาน ผลงานที่ปฏิบัติไดมีปริมาณเหมาะสมตามที่กําหนด และมีการวางแผนบริหารเวลา เพื่อใหไดปริมาณงานตามเปาหมายที่กําหนดไว

2.3 เวลา หมายถึง เวลาที่ใชในการดําเนินงานภายในองคการ จะตองอยูในลักษณะที่ถูกตองตามหลักการ เหมาะสมกับงานที่ปฏิบัติ ไดแก งานสําเร็จทันเวลา เวลาที่ใชในการดําเนินงานเหมาะสมกับงาน และมีการพัฒนาเทคนิคการทํางานใหสะดวกขึ้น

2.4 คาใชจาย หมายถึง คาใชจายในการทํางานทั้งหมดจะตองเหมาะสมกับงานและตองลงทุนนอยและไดผลกําไรมากที่สุด ไดแก คาใชจายในการดําเนินงานมีความหมาะสมกับงาน ใชเทคโนโลยีที่มีอยูอยางประหยัดคุมคาและเกิดการสูญเสียนอยที่สุด ใชวัสดุอุปกรณใหคุมคาดวยวิธีการที่เหมาะสม และมีการวางแผนงานกอนเร่ิมงานเพื่อลดคาใชจายในงาน

Page 47: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

34

2.7 ตารางแสดงความสัมพันธระหวางตัวแปรกับตัวชี้วัด

ตารางท่ี 2.2 แสดงความสัมพันธระหวางตัวแปรกับตัวชี้วัดตัวแปร ตัวชี้วัด ขอคําถามตัวแปรตน (Independent Variable):ปจจัยสวนบุคคล - เพศ

- อายุ

- สถานภาพสมรส

- ระดับการศึกษา

- รายไดตอเดือน

- ตําแหนงงาน

- ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน

- เพศชายและเพศหญิง- ระยะเวลาต้ังแตปเกิดจนถึงปที่ตอบ

แบบสอบถามของพนักงาน- สภาพการครองตนของพนักงาน แบง

ออกเปน โสด สมรส หมาย/หยาราง/แยกกันอยู

- วุฒิการศึกษาสูงสุดของพนักงานในองคการปจจุบัน จําแนกเปน มัธยมศึกษา/ปวช.หรือเทียบเทา อนุปริญญาหรือเทียบเทา ปริญญาตรี และสูงกวาปริญญาตรี

- รายไดตอเดือน ของพนักงานแบบสอบถาม ไดแก เงินเดือนและรายไดอ่ืน ๆ แบงออกเปนรายไดไมเกิน 10,000บาท 10,001 – 20,000 บาท 20,001–25,000 บาท และ 25,001 บาทขึ้นไป

- ตําแหนงงานของพนักงานแบบสอบถามไดแก ฝายชางบริการ ฝายขาย ฝายบริการลูกคา และฝายสนับสนุน

- ระยะเวลาที่พนักงานที่ปฏิบัติงานอยูในองคการ ต้ังแตเขาทํางานจนถึงปจจุบัน

Page 48: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

35

ตัวแปร ตัวชี้วัด ขอคําถามตัวแปรตน (Independent Variable): ปจจัยดานการบริหารองคกร1. ดานกลยุทธขององคกร

- กลยุทธการบริหารงานใหเปนองคกรใหบริการสูความเปนเลิศอยางชัดเจน- แผนการปฏิบัติงานที่สอดคลองกับแผนกลยุทธขององคกร- การกําหนดผูรับผิดชอบในแผนการปฏิบัติงานอยางเปนระบบ- การถายทอดนโยบายการบริหารงานตามวิสัยทัศน- การปฏิบัติตามแผนงานและนโยบายที่กําหนดไวไดจริง

- มีการกําหนดกลยุทธการบริหารงานใหเปนองคกรบริการสูความเปนเลิศ

- มีการจัดทําแผนปฏิบัติงานที่สอดคลองกับแผนกลยุทธที่วางไว

- การมีสวนรวมรับผิดชอบในแผนงานที่เกี่ยวของ

- การรับรูนโยบายการบริหารงานตามวิสัยทัศนหลักของบริษัท- ความสามารถปฏิบัติงานในแผนงานที่วางไวไดจริงตามระยะเวลาที่กําหนดไว

2. ดานโครงสรางองคกร

- การกําหนดสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจนและเปนระบบ- การกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบในแตละแผนกที่ชัดเจน- ความเหมาะสมของบุคลากรในแตละตําแหนงงาน- การปรับปรุงโครงสรางองคกรใหเหมาะสมยิ่งขึ้น- การปรับเปลี่ยนตําแหนงงานเพื่อใหเหมาะสมกับงาน

- หนวยงานมีการกําหนดสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจนและเปนระบบ

- ขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบที่ไดรับ มีความเหมาะสมกับตําแหนงงาน

- งานที่ไดรับมอบหมายมีความเหมาะสมกับความรูความสามารถ

- หนวยงานมีการปรับปรุงโครงสรางองคกรใหเหมาะสมตอสถานการณ- มีการหมุนเวียนตําแหนงงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของหนวยงาน

Page 49: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

36

3. ดานระบบงาน - การนําระบบสารสนเทศเครือขายมาใชในการทํางาน- การลดการสูญเสีย ความสิ้นเปลืองที่เกิดขึ้นจากกระบวนการปฏิบัติงาน- ความพึงพอใจในระบบสารสนเทศที่ใชในการปฏิบัติงาน- การจัดระบบการทํางาน

ที่มีประสิทธิภาพ- การพัฒนาระบบสารสนเทศ

- ระบบสารสนเทศเครือขายภายในหนวยงาน ชวยใหการปฏิบัติงานมีความสะดวกและรวดเร็ว- การมีสวนรวมในการลดการสูญเสียและความสิ้นเปลืองที่เกิดจากกระบวนการทํางาน- ระบบสารสนเทศที่นํามาใชตอบสนองตอความตองการที่เหมาะสมกับการทํางาน

- มีการจัดระบบการทํางานอยางเปนระบบและมีประสิทธิภาพ- มีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอยางตอเน่ือง

4. ดานบุคลากร - การมีสวนรวมของบุคลากร- การทํางานเปนทีม- ปริมาณงานเหมาะสมกับปริมาณคน- การสรางบรรยากาศที่ดีในหนวยงาน- การสงเสริมการพัฒนาบุคลากรในแตละตําแหนงหนาที่ที่รับผิดชอบ

- พนักงานมีสวนรวมในการขับเคลื่อนองคกรใหเปนไปตามนโยบายผูบริหาร- การปฏิบัติงานรวมของกับพนักงานในหนวยงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

- ความเหมาะสมของปริมาณงานที่ทานไดรับ- การมีสวนรวมในการสรางบรรยากาศที่ดีในการทํางาน- ผูบริหารสงเสริมการพัฒนาบุคลากรในแต

ละตําแหนงหนาที่ที่รับผิดชอบ

Page 50: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

37

5. ดานทักษะความรูความสามารถ

- ทักษะ ความรูความสามารถ- การเพิ่มทักษะความรูความสามารถใหกับตนเอง- การพัฒนาขีดความสามารถใหพนักงาน- การอบรม/สัมมนาเพื่อการพัฒนา- การสนับสนุนใหบุคลากรศึกษาเพิ่มเติม

- การมีทักษะ ความรู ความสามารถในการปฏิบัติงานตามตําแหนงหนาที่- การแสวงหาความรูเพื่อเพิ่มทักษะ ในการทํางานอยางสม่ําเสมอ- การไดรับการสนับสนุนใหเขารับการฝกอบรม เพื่อพัฒนาความรู ความสามารถในการทํางานอยางตอเน่ือง-หนวยงานจัดใหมีอบรม/สัมมนาเพื่อพัฒนาความสามารถของพนักงาน- การไดรับการสนับสนุนใหศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น

6. ดานรูปแบบการบริหารจัดการ

- หัวหนางานมีทัศนคติที่ดีในการพัฒนาองคกร

- ผูหัวหนางานแกไขปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ- การจัดประชุม หารือและติดตามผลการทํางาน- การพิจารณาจัดสรรงบประมาณอยางเหมาะสม- การแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณเพื่อนํามาเปนแนวทางในการปฏิบัติงานที่ดี

- หวัหนางานมีทัศนคติที่ดีในการพัฒนาองคกร- เมื่อเกิดปญหาหัวหนางานไมเพิกเฉยตอปญหาน้ัน ๆ และแกไขปญหาไดอยางรวดเร็วทันตอเหตุการณ- มีการจัดประชุมหารือ และติดตามผลการทํางานอยางเปนตอเน่ือง- มีการจัดสรรงบประมาณรายจายที่ครอบคลุมทุกดานอยางเหมาะสม- การมีสวนรวมในการแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณเพื่อปรับปรุงวิธีการทํางาน

7. ดานคานิยมรวม - การสงเสริมการมีสวนรวมองคกร- การสงเสริมคานิยมรวมกัน- การสื่อสารคานิยมใหแก

- ผูบริหารสงเสริมใหพนักงานมีสวนรวมในการกําหนดคานิยมขององคกร- ผูบริหารกําหนดนิยามของคานิยมรวมกันอยางชัดเจน- ผูบริหารสื่อสารคานิยมทั้งหมดให

Page 51: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

38

พนักงาน- การกําหนดพฤติกรรมของคานิยม- การใหรางวัลแกบุคคลตามคานิยม

พนักงานรับทราบ รับรูและปฏิบัติงานอยางชัดเจน- การกําหนดพฤติกรรมของคานิยมที่พนักงานตองประพฤติ ปฏิบัติตัวตามคานิยมในองคกร- ผูบริหารใหรางวัลแกพนักงานที่ปฏิบัติตามคานิยมขององคเพื่อเปนขวัญกําลังใจ

ตัวแปรตาม (Dependent Variable) : ประสิทธิภาพในการทํางานตัวแปร ตัวชี้วัด ขอคําถาม

1.คุณภาพของงาน - ประโยชนคุมคา

- มีความพึงพอใจ

- มีความถูกตอง

- ความเรียบรอยของงาน

- งานเสร็จตามเวลาที่กําหนด

- งานครบถวนสมบูรณ

- ผลงานที่ทานทํามีความคุมคาและมีประโยชนสูงสุดตอบริษัทฯ

- ผลงานที่ทานทําเปนไปตามขอกําหนดที่ตองการ โดยสินคาหรือบริการน้ันสรางความพอใจใหกับลูกคา

- ผลงานที่ออกมามีความถูกตองละเอียดรอบคอบและไมกอใหเกิดผลเสียหายตอบริษัท

- ผลงานที่ทานทํา มีความเปนระเบียบเรียบรอย

- ทานสามารถทํางานที่ไดรับมอบหมายสําเร็จตามเวลา

- ทานสามารถทํางานที่ไดรับมอบหมาย ไดอยางถูกตองแมนยํา ครบถวนสมบูรณ

2.ปริมาณงาน - เปนไปตามความคาดหวังของหนวยงาน

- ผลงานที่ปฏิบัติไดมีปริมาณเหมาะสมตามที่กําหนด

- มีการวางแผนบริหารเวลา

- ทานสามารถทํางานไดตามปริมาณใบสั่งงานที่บริษัทฯมอบหมาย- ทานสามารถทํางานไดปริมาณตามเปาหมายที่บริษัทฯ กําหนดไว- ทานมีการวางแผนบริหารเวลา เพื่อใหไดปริมาณงานตามเปาหมายที่กําหนดไว- ทานมีการพัฒนาเทคนิคในการทํางานให

Page 52: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

39

สะดวกขึ้นเพื่อประหยัดเวลาในการทํางาน- ทานมีการจัดลําดับความสําคัญและความเรงดวนของงานที่ไดรับมอบหมาย เพื่อใหงานเสร็จไดทันเวลา

3.เวลา - การบริหารเวลา- ใชเวลาใหเกิดประโยชน- เปนผูตรงตอเวลา- มีการพัฒนาเทคนิคการทํางานใหสะดวกขึ้น

- ทานรักษาวินัยในการทํางาน โดยทําตามเวลา และแผนงาน/กําหนดการ ใหมากที่สุด- ทานสามารถทํางานเพิ่มนอกเหนือจากแผนการทํางานในแตละวัน ดวยเวลาที่มีอยูไดอยางเหมาะส- ทานรักษาเวลาในการทํางาน ทั้งการเขา-ออกบริษัทฯ การประชุม รวมถึงการนัดหมายลูกคาโดยการไปตรงเวลา หรือกอนเวลานัดหมายเสมอ- ทานสามารถทํางานไดทันทีที่ที่ ได รับมอบหมายและเสร็จทันเวลา

4.คาใชจาย - คาใชจายในการดําเนินงานมีความหมาะสมกับงาน

- การใชเทคโนโลยีที่มีอยูอยางประหยัดคุมคาและเกิดการสูญเสียนอยที่สุด

- การใชวัสดุอุปกรณใหคุมคาดวยวิธีการที่เหมาะสม

- มีการวางแผนงานกอนเร่ิมงานเพื่อลดคาใชจายในงาน

- ในการทํางาน ทานไดทําการเปรียบเทียบราคากอนสั่งซื้อสินคาเสมอ เพื่อเปนการลดคาใชจายที่ไมจําเปน

- ทานใชเทคโนโลยีที่บริษัทฯ จัดหามาใหทํางานอยางประหยัดคุมคา และไมทําใหเกิดการสูญเสียโดยเปลาประโยชน

- ทานสามารถจัดลําดับวิธีการ ขั้นตอนการใชงานเคร่ืองมือใน การทํางาน ใหเหมาะสมกับงาน- ทานมีการวางแผนหรือการกําหนด

แนวทางในการทํางานกอนเร่ิมงานในแตละวัน เพื่อลดคาใชจายในการทํางาน

Page 53: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

40

บทที่ 3ระเบียบวิธีศึกษา

การศึกษาเร่ืองประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน : กรณีศึกษา บริษัท ริโก(ประเทศไทย) จํากัด เปนการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูลคือ แบบสอบถาม (Questionnaires) โดยมีขั้นตอนการศึกษาดังตอไปน้ี

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง3.2 เคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูล3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล3.4 การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ3.5 การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง3.1.1 ประชากรที่ใชศึกษา ไดแก พนักงานบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด จํานวน 864

คน3.1.2 กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา คือ พนักงานบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

จํานวน 273 คนไดจากการคํานวณหาขนาดกลุมตัวอยาง โดยใชสูตรของ Taro Yamane (1967)แสดงสูตรไดดังน้ี

สูตร n = N 1 + Ne2

โดย n = ขนาดของกลุมตัวอยางN = ขนาดของประชากรe = ความคลาดเคลื่อนของการสุมตัวอยาง กําหนดใหเทากับ .05

เมื่อแทนคาลงในสูตรจะไดผลดังตอไปน้ีn = 864

1 + 864 (0.05)2

n = 273 ตัวอยาง

Page 54: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

41

3.1.3 การหาสัดสวนการสุมกลุมตัวอยาง3.1.3.1 การคํานวณการหาสัดสวนของกลุมตัวอยางจําแนกตามฝายงานของ

พนักงานบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัดจํานวนกลุมตัวอยาง = จํานวนประชากรในแตละฝาย X กลุมตัวอยางทั้งหมดในแตละฝาย

จํานวนประชากรทั้งหมด

ตารางที่ 3.1 จํานวนกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา

ฝายงานประชากร

(คน)ขนาดกลุมตัวอยาง

(คน)ฝายบัญชีและการเงิน 87 27ฝายประชาสัมพันธและการตลาด 225 71ฝายบริการลูกคา 277 88ฝายซอมบํารุง/วิศวกรรม/คุณภาพ 180 57ฝายขนสงสินคา 95 30

รวม 864 273

3.1.3.2 เมื่อดําเนินการแบงกลุมตัวอยางจําแนกตามฝายงานเรียบรอยแลว ผูศึกษาดําเนินการสุมกลุมตัวอยางแบบบังเอิญ (Accidental sampling) โดยการนําแบบสอบถามไปเก็บรวบรวมขอมูลตามฝายงานตาง ๆ ของบริษัท และเมื่อเจอพนักงานทานใดจะเก็บขอมูลกับพนักงานทานน้ันจนครบตามจํานวนตามตารางที่ 3.13.2 เคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูล

จากการทบทวนแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ ผูศึกษาสรางกรอบแนวคิดในการศึกษาใหสอดคลองกับวัตถุประสงคในการศึกษาหลังจากน้ันทําการสรางเคร่ืองมือคือแบบสอบถาม (Questionnaire) โดยแบบสอบถามมีทั้งหมด 4 สวน ไดแก

สวนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลของพนักงาน ประกอบดวย เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายไดตอเดือน และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน เปนลักษณะขอคําถามแบบเลือกตอบและปลายเปด

สวนที่ 2 ปจจัยดานการบริหารองคกร ประกอบดวย 7 ดาน ไดแก ดานกลยุทธขององคกรดานโครงสรางองคกร ดานระบบงาน ดานบุคลากร ดานทักษะความรูความสามารถ ดานรูปแบบ

Page 55: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

42

การบริหารจัดการ และดานคานิยมรวม ซึ่งขอคําถามมีลักษณะเปนมาตราสวนประมาณคา (Ratingscale) ตามแบบของลิเคอรท (Likert) เปนแบบเลือกตอบได 5 ระดับ โดยแตละระดับมีคาคะแนนดังน้ี

มากที่สุด ใหคะแนนเทากับ 5มาก ใหคะแนนเทากับ 4ปานกลาง ใหคะแนนเทากับ 3นอย ใหคะแนนเทากับ 2นอยที่สุด ใหคะแนนเทากับ 1

การแปลความหมายระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน กําหนดเกณฑเฉลี่ยสูงสุดเทากับ5.00 และเกณฑตํ่าสุดเทากับ 1.00 คาเฉลี่ยทั้ง 3 ระดับ มีดังน้ี

ความกวางของอันตรภาคชั้น = (คาสูงสุด-คาตํ่าสุด)/จํานวนชั้น= (5-1) / 3= 1.33

จึงแปลความหมายประสิทธิภาพการปฏิบัติงานไดดังน้ีคะแนนเฉลี่ย 3.68 – 5.00 ระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอยูในระดับมากคะแนนเฉลี่ย 2.34 – 3.67 ระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอยูในระดับปานกลางคะแนนเฉลี่ย 1.00 – 2.33 ระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอยูในระดับนอยสวนที่ 3 ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ประกอบดวย 4 ดานไดแก ดานคุณภาพ

ของงาน ดานปริมาณงาน ดานเวลา และดานคาใชจาย ซึ่งขอคําถามมีลักษณะเปนมาตราสวนประมาณคา (Rating scale) ตามแบบของลิเคอรท (Likert) เปนแบบเลือกตอบได 5 ระดับโดยแตละระดับมีคาคะแนน ดังน้ี

มากที่สุด ใหคะแนนเทากับ 5มาก ใหคะแนนเทากับ 4ปานกลาง ใหคะแนนเทากับ 3นอย ใหคะแนนเทากับ 2นอยที่สุด ใหคะแนนเทากับ 1

Page 56: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

43

การแปลความหมายระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน กําหนดเกณฑเฉลี่ยสูงสุดเทากับ5.00 และเกณฑตํ่าสุดเทากับ 1.00 คาเฉลี่ยทั้ง 3 ระดับ มีดังน้ี

ความกวางของอันตรภาคชั้น = (คาสูงสุด-คาตํ่าสุด)/จํานวนชั้น= (5-1) / 3= 1.33

จึงแปลความหมายประสิทธิภาพการปฏิบัติงานไดดังน้ีคะแนนเฉลี่ย 3.68 – 5.00 ระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอยูในระดับมากคะแนนเฉลี่ย 2.34 – 3.67 ระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอยูในระดับปานกลางคะแนนเฉลี่ย 1.00 – 2.33 ระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอยูในระดับนอยสวนที่ 4 ขอเสนอแนะตาง ๆ เพิ่มเติม

3.3 การเก็บรวบรวมขอมูลการศึกษาเร่ืองประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

ทั้งน้ี ผูศึกษาไดเก็บรวบรวมขอมูลจากแหลงขอมูลดังน้ีขั้นตอนที่ 1 ศึกษาคนควาขอมูลจากเอกสาร ตํารา วารสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของกับบริษัท ริโก

(ประเทศไทย) จํากัด เพื่อใชเปนแนวทางในการสรางแบบสอบถามขั้นตอนที่ 2 ศึกษาคํานิยามศัพทเชิงปฏิบัติการที่มีความสัมพันธกับตัวแปรที่ศึกษาขั้นตอนที่ 3 รวบรวมขอมูลที่ไดเพื่อนํามาสรางแบบสอบถามใหสอดคลองกับวัตถุประสงค

และนิยามเชิงปฏิบัติการของงานวิจัยเร่ืองปจจัยที่มีผลตอบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัดขั้นตอนที่ 4 นําแบบสอบถามที่ผานการแกไขแลวไปทดลองใชกับพนักงานฝายการเงิน

ของบริษัทจํานวน 30 คนแลวนําแบบสอบถามที่เก็บไดไปหาคาความเชื่อมั่น โดยใชสูตรคาสัมประสิทธิ์ แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) พบวา มีคาแอลฟาต้ังแต 0.806ถือวาแบบสอบถามมีความเชื่อมั่นแลวจึงทําการสงแบบสอบถามที่สมบูรณไปใชกับกลุมตัวอยางที่นํามาศึกษา

ขั้นตอนที่ 5 นําเคร่ืองมือที่ผานการทดลองใชแลว เสนออาจารยที่ปรึกษาเพื่อขอคําแนะนําและปรับปรุงแกไขจัดทําแบบสอบถามฉบับสมบูรณ เพื่อนําไปเก็บรวบรวมขอมูลสําหรับศึกษาวิจัยอีก 273 คน ตอไป

Page 57: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

44

3.4 การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือการศึกษาปจจัยที่สงผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท ริโก

(ประเทศไทย) จํากัด เคร่ืองมือที่ใชเก็บรวบรวมขอมูลจะตองมีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได ดังน้ันเมื่อสรางแบบสอบถามเสร็จแลวจึงตองทําการหาคาความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่น ดังน้ี

3.3.1 นําแบบสอบถามฉบับรางที่เรียบรอยแลวเสนอตออาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ เพื่อตรวจสอบเบื้องตนในดานความเที่ยงตรงตาม เน้ือหาความเที่ยงตรงตามโครงสราง และความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ

3.3.2 นําแบบสอบถามที่แกไขปรับปรุงแลวไปทดลองใช (Try Out) กับกลุมตัวอยางที่ไมใชกลุมตัวอยางจริงที่มีคุณสมบัติใกลเคียงกับประชากรที่ใชในการวิจั ย จํานวน 30 คน นํามาวิเคราะหหาความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถามดวยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟา (AlphaCoefficient) ของครอนบัค (Cronbach) ซึ่งตองมีคาแอลฟาต้ังแต 0.80 ขึ้นไป ถือวามีความเชื่อมั่นของแบบสอบถามที่จะนําไปใชได ซึ่งในการศึกษาคร้ังน้ี แบบสอบถามมีคาความเชื่อมั่นดังน้ี

ปจจัยดานการบริหารองคกร เทากับ 0.9012ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน เทากับ 0.93733.3.3 นําเคร่ืองมือที่ผานการทดลองใชแลว เสนออาจารยที่ปรึกษาเพื่อขอคําแนะนําและ

ปรับปรุงแกไขจัดทําเคร่ืองมือฉบับสมบูรณ3.5 การวิเคราะหและประมวลผล

3.5.1 การวิเคราะหขอมูลในการศึกษาผูศึกษาไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ดังน้ี1. ผูศึกษาเก็บรวบรวมขอมูลดวยตัวเองโดยอธิบายถึงวัตถุประสงคของการวิจัยใหผูตอบ

แบบสอบถามฟงเพื่อใหเกิดความเขาใจไปในทิศทางเดียวกันและตอบคําถามตามวัตถุประสงค2. ผูตอบแบบสอบถามทั้งหมดคือพนักงานบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด จังหวัด

ชลบุรี3. ตรวจสอบความครบถวนสมบูรณของการตอบแบบสอบถามกอนรับคืน4. ทําการลงรหัสในแบบสอบถาม5. ลงรหัสในโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติโดยใชเคร่ืองคอมพิวเตอรเพื่อนําไปวิเคราะห

และประมวลผลตอไป

Page 58: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

45

3.5.2 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล3.5.1.1 สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)

1. คาความถี่ (Frequency) และ คารอยละ (Percentage) เพื่อใชอธิบายความถี่และรอยละของขอมูลที่ไดจากแบบสอบถามทั้งฉบับยกเวนคําถามปลายเปดที่มีลักษณะบรรยาย

2. คาเฉลี่ย (Mean) ใชอธิบายคาเฉลี่ยของขอมูลที่ไดจากแบบสอบถามปจจัยดานการบริหารองคกร และประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน

3) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation หรือ S.D.) ใชอธิบายคาความเบี่ยงเบนของขอมูลที่ไดจากปจจัยดานการบริหารองคกร และประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน

3.5.1.2 สถิติเชิงอนุมานเพื่อทดสอบสมมติฐาน 1. ไคสแควร (Chi-square) ใชหาคาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลของ

พนักงานกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน2. Pearson’s product moment correlation coefficient ใชหาคาความสัมพันธ

ระหวางปจจัยดานการบริหารองคกร และประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน โดยกําหนดคานัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 0.05 มีเกณฑการวัดระดับความสัมพันธ (Correlation) เพื่อกําหนดประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานทิศทางบวก และทิศทางลบ ดังน้ี

ตารางที่ 3.2 เกณฑการวัดระดับความสัมพันธ

ความสัมพันธทางตรง ความสัมพันธเชิงผกผัน การแปรความหมาย1.00 -1.00 สมบูรณมาก

0.80 ถึง 0.99 -0.80 ถึง -0.99 สูงมาก0.60 ถึง 0.79 -0.60 ถึง -0.79 สูง0.40 ถึง 0.59 -0.40 ถึง -0.59 ปานกลาง0.20 ถึง 0.39 -0.20 ถึง -0.39 ตํ่า0.10 ถึง 0.19 -0.10 ถึง -0.19 ตํ่ามาก0.00 ถึง 0.09 -0.00 ถึง -0.09 ไมมีนัยสําคัญ

ที่มา : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,2550

Page 59: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

46

บทที่ 4ผลการวิเคราะหขอมูล

การวิจัยเร่ืองปจจัยที่สงผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานกรณีศึกษาบริษัท ริโก(ประเทศไทย) จํากัด มีวัตถุประสงคของการศึกษา คือ 1. เพื่อศึกษาระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน และ2.เพื่อศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัดผลการวิเคราะหขอมูลไดขอมูลจากพนักงานบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งเปนกลุมตัวอยางจํานวน 273 คน โดยใชแบบสอบถามที่ผานการตรวจสอบความถูกตองจากอาจารยที่ปรึกษาและผานการหาคาความเชื่อมั่นของเคร่ืองมือ ผูศึกษาจึงไดนํามาทําการวิเคราะหและนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล โดยแบงออกเปน 4 สวน ดังน้ี

4.1 ผลการวิคราะหขอมูลปจจัยสวนบุคคลของพนักงาน4.2 ผลการวิคราะหขอมูลปจจัยดานการบริหารองคกร4.3 ผลการวิคราะหขอมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการทํางาน4.4 ผลการทดสอบสมมติฐานระหวางปจจัยสวนบุคคลของพนักงานกับประสิทธิภาพการ

ปฏิบัติงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

Page 60: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

47

4.1 ผลการวิคราะหขอมูลปจจัยสวนบุคคลของพนักงานจากการศึกษาปจจัยสวนบุคคล คือ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายไดตอ

เดือน ตําแหนงงานและระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ผูศึกษานําเสนอในรูปแบบตารางประกอบการบรรยาย ดังน้ี

ตารางท่ี 4.1 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล(n=273)

ปจจัยสวนบุคคล จํานวน (คน) รอยละ1. เพศ ชาย

หญิง18489

67.432.6

2. อายุ ไมเกิน 30 ป31 – 40 ป41-50อายุ 51 ปขึ้นไป(อายุนอยที่สุด 26 ป อายุมากที่สุด 53 ป)

76128663

27.846.924.21.1

3. สถานภาพสมรส

โสดสมรสหยาราง/หมาย/แยกกันอยู

10814322

39.652.48.1

4. ระดับการศึกษา

มัธยมศึกษา/ปวช.หรือเทียบเทาอนุปริญญาหรือเทียบเทาปริญญาตรีสูงกวาปริญญาตรี

-90

1758

-33.064.12.9

5.รายไดตอเดือน

ไมเกิน 15,000 บาท15,001-20,000 บาท20,001-25,000 บาท25,001 บาทขึ้นไป

605437

122

22.019.813.644.7

6. ตําแหนงงาน ชางบริการพนักงานขายบริการลูกคาสนับสนุน

104267865

38.19.5

28.623.8

Page 61: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

48

ตารางท่ี 4.1 (ตอ)(n=273)

ปจจัยสวนบุคคล จํานวน (คน) รอยละ7.ระยะเวลาใน

การฏิบัติงานไมเกิน 5 ป5 – 10 ปมากกวา 10 ปขึ้น

9612552

35.245.819.0

จากตารางที่ 4.1 ผลการวิเคราะหขอมูลจํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง ไดแก คือ เพศอายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายไดตอเดือน ตําแหนงงาน และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ผูศึกษานําเสนอแตละตัวแปรสวนบุคคล ดังน้ี

เพศ พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญรอยละ 67.4 เปนเพศชาย ที่เหลือเปนรอยละ 32.6เพศหญิง

อายุ พบวากลุมตัวอยางสวนมาก รอยละ 46.9 อายุ31-40 ป รองลงมา รอยละ 27.8 อายุไมเกิน 30 ป รอยละ 24.2 อายุ 41-50 ป และ รอยละ 1.1 อายุ 51 ปขึ้นไป

สถานภาพสมรส พบวากลุมตัวอยางสวนมากรอยละ 52.4 สถานภาพสมรส รองลงมารอยละ 39.6 สถานภาพโสด สวนนอยที่สุด รอยละ 8.1 สถานภาพหยาราง/หมาย/แยกกันอยู

ระดับการศึกษา พบวากลุมตัวอยางสวนใหญ รอยละ 64.1 สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีรองลงมา รอยละ 33.0 สําเร็จการศึกษาอนุปริญญาหรือเทียบเทา และลําดับสุดทาย รอยละ 2.9สําเร็จการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี

รายไดตอเดือน พบวากลุมตัวอยางสวนมาก รอยละ 44.7 รายไดตอเดือน 25,001บาทขึ้นไปรองลงมา รอยละ 22.0 ไมเกิน 15,000 บาท รอยละ 19.8 รายไดตอเดือน 15,001-20,000 บาท และลําดับสุดทายรอยละ 13.6 รายไดตอเดือน 20,001-25,000 บาท

ตําแหนงงาน พบวา กลุมตัวอยางสวนมาก รอยละ 38.1 ตําแหนงชางบริการ รองลงมา รอยละ 28.6 ตําแหนงบริการลูกคา รอยละ 23.8 ตําแหนงสนับสนุน และรอยละ 9.5 ตําแหนงพนักงานขาย

ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน พบวากลุมตัวอยางสวนมาก รอยละ 45.8 มีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 5-10 ป รองลงมารอยละ 35.2 มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานไมเกิน 5 ป และสวนนอยที่สุด รอยละ 19.0 มีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน มากกวา 10 ปขึ้น

Page 62: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

49

4.2 ผลการวิเคราะหขอมูลปจจัยดานการบริหารองคกรผูศึกษาไดวิเคราะหขอมูลปจจัยดานการบริหารองคกรตามแนวคิดทฤษฎี 7 ประการของ

McKinsey (1980:120,อางถึงใน สมยศ แยมเผื่อน,2551:44-45) คือ 1.ดานกลยุทธขององคกร 2.ดานโครงสรางองคกร 3.ดานระบบงาน 4.ดานบุคลากร 5.ดานทักษะความรูความสามารถ 6.ดานรูปแบบการบริหารจัดการ และ7.ดานคานิยมรวม ดังมีรายละเอียดดังตอไปน้ี

ตารางท่ี 4.2 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานปจจัยรายดานการบริหารองคกรและภาพรวม

ปจจัยดานการบริหารองคกร X S.D. ระดับ อันดับ1.ดานกลยุทธขององคกร 3.99 0.91 สูง 12.ดานโครงสรางองคกร 3.82 0.99 สูง 73.ดานระบบงาน 3.86 0.91 สูง 44.ดานบุคลากร 3.96 0.82 สูง 25.ดานทักษะความรูความสามารถ 3.93 0.88 สูง 36.ดานรูปแบบการบริหารจัดการ 3.85 0.92 สูง 57.ดานคานิยมรวม 3.84 0.90 สูง 6

เฉลี่ยรวม 3.89 0.90 สูง -จากตารางที่ 4.2 พบวาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน ปจจัยรายดานการ

บริหารองคกรและภาพรวม ทั้ง 7 ดาน อยูในระดับสูง ( X =3.86,S.D.= 0.90) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอย พบวาดานที่มีคาเฉลี่ยมากที่สุดดานกลยุทธขององคกร ( X =3.99,S.D.=0.91) รองลงมาดานบุคลากร ( X = 3.96,S.D.=0.82) ดานทักษะความรูความสามารถดานระบบงาน ( X =3.93,S.D.=0.88) ดานระบบงาน( X =3.86,S.D.=0.91)ดานรูปแบบการบริหารจัดการ( X =3.85,S.D.=0.92) ดานคานิยมรวม ( X = 3.86,S.D.=0.90) และลําดับสุดทาย ดานโครงสรางองคกร ( X = 3.82,S.D.=0.99)

Page 63: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

50

ตารางท่ี 4.3 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานปจจัยดานการบริหารองคกร ดานกลยุทธขององคกร

ดานกลยุทธขององคกร X S.D. ระดับ อันดับ1. หนวยงานกําหนดกลยุทธการบริหารงานใหเปนองคกรบริการสูความเปนเลิศ

4.15 0.93 สูง 1

2. หนวยงานจัดทําแผนปฏิบัติงานที่สอดคลองกับแผนกลยุทธที่วางไว

3.84 0.96 สูง 5

3. หนวยงานมีสวนรวมรับผิดชอบในแผนงานที่เกี่ยวของ 3.92 0.91 สูง 34. หนวยงานรับรูนโยบายการบริหารงานตามวิสัยทัศนหลักของบริษัท

4.13 0.88 สูง 2

5. หนวยงานปฏิบัติงานตามแผนงานที่วางไวไดจริงตามระยะเวลาที่กําหนด

3.91 0.87 สูง 4

รวม 3.99 0.91 สูง -จากตารางที่ 4.3 พบวาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน ปจจัยดานการบริหาร

องคกร ดานกลยุทธขององคกร อยูระดับสูง ( X = 3.99 , S.D.= 0.91) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวาขอที่มีคาเฉลี่ยมากที่สุด คือ หนวยงานกําหนดกลยุทธการบริหารงานใหเปนองคกรบริการสูความเปนเลิศ ( X = 4.15,S.D.=0.93) รองลงมาหนวยงานรับรูนโยบายการบริหารงานตามวิสัยทัศนหลักของบริษัท ( X = 4.13,S.D.=0.88) หนวยงานมีสวนรวมรับผิดชอบในแผนงานที่เกี่ยวของ ( X =3.92,S.D.=0.91) หนวยงานปฏิบัติงานตามแผนงานที่วางไวไดจริงตามระยะเวลาที่กําหนด ( X =3.91,S.D.=0.87) และลําดับสุดทายหนวยงานจัดทําแผนปฏิบัติงานที่สอดคลองกับแผนกลยุทธที่วางไว ( X = 3.84,S.D.=0.96)

Page 64: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

51

ตารางท่ี 4.4 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานปจจัยดานการบริหารองคกร ดานโครงสรางองคกร

ดานโครงสรางองคกร X S.D. ระดับ อันดับ1.หนวยงานมีการกําหนดสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจนและเปนระบบ

4.04 0.94 สูง 1

2.ขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบมีความเหมาะสมกับตําแหนงงาน

3.85 0.99 สูง 3

3.งานที่ไดรับมอบหมายมีความเหมาะสมกับความรูความสามารถ

3.94 0.93 สูง 2

4.หนวยงานมีการปรับปรุงโครงสรางองคกรใหเหมาะสมตอสถานการณ

3.75 0.94 สูง 4

5.หนวยงานปรับเปลี่ยนหมุนเวียนตําแหนงงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของหนวยงาน

3.50 1.14 ปานกลาง 5

รวม 3.82 0.99 สูง -จากตารางที่ 4.4 พบวาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน ปจจัยดานการบริหาร

องคกร ดานโครงสรางองคกร อยูระดับสูง ( X = 3.82 , S.D.= 0.99) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวาขอที่มีคาเฉลี่ยมากที่สุด คือ หนวยงานมีการกําหนดสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจนและเปนระบบ( X = 4.04,S.D.=0.94) รองลงมางานที่ไดรับมอบหมายมีความเหมาะสมกับความรูความสามารถ( X = 3.94,S.D.=0.93) ขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบมีความเหมาะสมกับตําแหนงงาน ( X =3.85,S.D.=0.99) หนวยงานมีการปรับปรุงโครงสรางองคกรใหเหมาะสมตอสถานการณ ( X =3.75,S.D.=0.94)และลําดับสุดทายหนวยงานปรับเปลี่ยนหมุนเวียนตําแหนงงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของหนวยงาน ( X = 3.50,S.D.=1.14)

Page 65: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

52

ตารางท่ี 4.5 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานปจจัยดานการบริหารองคกร ดานระบบงาน

ดานระบบงาน X S.D. ระดับ อันดับ1.ระบบสารสนเทศเครือขายภายในหนวยงาน ชวยใหการปฏิบัติงานมีความสะดวกและรวดเร็ว

3.81 1.02 สูง 5

2.การมีสวนรวมในการลดการสูญเสียและความสิ้นเปลืองที่เกิดจากกระบวนการทํางาน

3.89 0.86 สูง 1

3.ระบบสารสนเทศที่นํามาใชตอบสนองตอความตองการที่เหมาะสมกับการทํางาน

3.86 0.85 สูง 3

4.มีการจัดระบบการทํางานอยางเปนระบบและมีประสิทธิภาพ

3.84 0.92 สูง 4

5.มีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอยางตอเน่ือง

3.87 0.92 สูง 2

รวม 3.86 0.91 สูง -จากตารางที่ 4.5 พบวาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน ปจจัยดานการบริหาร

องคกร ดานโครงสรางองคกร อยูระดับสูง ( X = 3.86 , S.D.= 0.91) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวาขอที่มีคาเฉลี่ยมากที่สุด คือ การมีสวนรวมในการลดการสูญเสียและความสิ้นเปลืองที่เกิดจากกระบวนการทํางาน( X = 3.89,S.D.=0.86)รองลงมามีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอยางตอเน่ือง ( X = 3.87,S.D.=0.92) ระบบสารสนเทศที่นํามาใชตอบสนองตอความตองการที่เหมาะสมกับการทํางาน( X = 3.86,S.D.=0.85) มีการจัดระบบการทํางานอยางเปนระบบและมีประสิทธิภาพ( X = 3.84,S.D.=0.92) และลําดับสุดทายระบบสารสนเทศเครือขายภายในหนวยงาน ชวยใหการปฏิบัติงานมีความสะดวกและรวดเร็ว ( X =3.81,S.D.=1.02)

Page 66: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

53

ตารางท่ี 4.6 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานปจจัยดานการบริหารองคกร ดานบุคลากร

ดานบุคลากร X S.D. ระดับ อันดับ1.พนักงานมีสวนรวมในการขับเคลื่อนองคกรใหเปนไปตามนโยบายผูบริหาร

4.03 0.83 สูง 2

2.การปฏิบัติงานรวมของกับพนักงานในหนวยงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

3.92 0.76 สูง 3

3.ความเหมาะสมของปริมาณงานที่ทานไดรับ 3.77 0.87 สูง 54.การมีสวนรวมในการสรางบรรยากาศที่ดีในการทํางาน

3.89 0.93 สูง 4

5.ผูบริหารสงเสริมการพัฒนาบุคลากรในแตละตําแหนงหนาที่ที่รับผิดชอบ

4.17 0.70 สูง 1

รวม 3.96 0.82 สูง -จากตารางที่ 4.6 พบวาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน ปจจัยดานการบริหาร

องคกร ดานบุคลากร อยูระดับสูง ( X = 3.96 , S.D.= 0.82) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวาขอที่มีคาเฉลี่ยมากที่สุด คือผูบริหารสงเสริมการพัฒนาบุคลากรในแตละตําแหนงหนาที่ที่รับผิดชอบ ( X =4.17,S.D.=0.70 ) รองลงมาพนักงานมีสวนรวมในการขับเคลื่อนองคกรใหเปนไปตามนโยบายผูบริหาร ( X = 4.03,S.D.=0.83) การปฏิบัติงานรวมของกับพนักงานในหนวยงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ( X = 3.92,S.D.=0.76) การมีสวนรวมในการสรางบรรยากาศที่ดีในการทํางาน ( X =3.89,S.D.=0.93) และลําดับสุดทายความเหมาะสมของปริมาณงานที่ทานได รับ ( X =3.77,S.D.=0.87)

Page 67: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

54

ตารางท่ี 4.7 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานปจจัยดานการบริหารองคกร ดานทักษะความรูความสามารถ

ดานทักษะความรูความสามารถ X S.D. ระดับ อันดับ1.การมีทักษะ ความรู ความสามารถในการปฏิบัติงานตามตําแหนงหนาที่

4.09 0.80 สูง 1

2.การแสวงหาความรูเพื่อเพิ่มทักษะ ในการทํางานอยางสม่ําเสมอ

4.05 0.84 สูง 2

3.การไดรับการสนับสนุนใหเขารับการฝกอบรม เพื่อพัฒนาความรู ความสามารถในการทํางานอยางตอเน่ือง

3.97 0.91 สูง 3

4.หนวยงานจัดใหมีอบรม/สัมมนาเพื่อพัฒนาความสามารถของพนักงาน

3.91 0.94 สูง 4

5.การไดรับการสนับสนุนใหศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น 3.63 0.92 สูง 5รวม 3.93 0.88 สูง -

จากตารางที่ 4.7 พบวาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน ปจจัยดานการบริหารองคกร ดานทักษะความรูความสามารถ อยูระดับสูง ( X = 3.93 , S.D.= 0.88) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวาขอที่มีคาเฉลี่ยมากที่สุด คือการมีทักษะ ความรู ความสามารถในการปฏิบัติงานตามตําแหนงหนาที่ ( X = 4.09,S.D.=0.80) รองลงมาการแสวงหาความรูเพื่อเพิ่มทักษะ ในการทํางานอยางสม่ําเสมอ( X = 4.05,S.D.=0.84) การไดรับการสนับสนุนใหเขารับการฝกอบรม เพื่อพัฒนาความรู ความสามารถในการทํางานอยางตอเน่ือง ( X = 3.97,S.D.=0.91) หนวยงานจัดใหมีอบรม/สัมมนาเพื่อพัฒนาความสามารถของพนักงาน ( X = 3.91,S.D.=0.94) และลําดับสุดทายการไดรับการสนับสนุนใหศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น ( X = 3.63,S.D.=0.63)

Page 68: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

55

ตารางท่ี 4.8 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานปจจัยดานการบริหารองคกร ดานรูปแบบการบริหารจัดการ

ดานรูปแบบการบริหารจัดการ X S.D. ระดับ อันดับ1.หัวหนางานมีทัศนคติที่ดีในการพัฒนาองคกร 4.00 0.89 สูง 12.เมื่อเกิดปญหาหัวหนางานไมเพิกเฉยตอปญหาน้ัน ๆและแกไขปญหาไดอยางรวดเร็วทันตอเหตุการณ

3.92 0.91 สูง 3

3.มีการจัดประชุมหารือและติดตามผลการทํางานอยางเปนตอเน่ือง

3.95 0.92 สูง 2

4.มีการจัดสรรงบประมาณรายจายที่ครอบคลุมทุกดานอยางเหมาะสม

3.75 0.91 สูง 4

5.การมีสวนรวมในการแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณเพื่อปรับปรุงวิธีการทํางาน

3.65 0.97 สูง 5

รวม 3.85 0.92 สูง -จากตารางที่ 4.8 พบวาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน ปจจัยดานการบริหาร

องคกร ดานรูปแบบการบริหารจัดการ อยูระดับสูง ( X = 3.85 , S.D.= 0.92) เมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวาขอที่มีคาเฉลี่ยมากที่สุด คือหัวหนางานมีทัศนคติที่ดีในการพัฒนาองคกร ( X = 4.00,S.D.=0.89) รองลงมามีการจัดประชุมหารือและติดตามผลการทํางานอยางเปนตอเน่ือง( X = 3.95,S.D.=0.92) เมื่อเกิดปญหาหัวหนางานไมเพิกเฉยตอปญหาน้ัน ๆ และแกไขปญหาไดอยางรวดเร็วทันตอเหตุการณ ( X = 3.92, S.D.=0.91) มีการจัดสรรงบประมาณรายจายที่ครอบคลุมทุกดานอยางเหมาะสม ( X = 3.75, S.D.=0.91) และลําดับสุดทายการมีสวนรวมในการแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณเพื่อปรับปรุงวิธีการทํางาน( X = 3.65, S.D.=0.97)

Page 69: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

56

ตารางท่ี 4.9 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานปจจัยดานการบริหารองคกร ดานคานิยมรวม

ดานคานิยมรวม X S.D. ระดับ อันดับ1.ผูบริหารสงเสริมใหพนักงานมีสวนรวมในการกําหนดคานิยมขององคกร

3.84 0.97 สูง 4

2.ผูบริหารกําหนดนิยามของคานิยมรวมกันอยางชัดเจน 3.89 0.89 สูง 23.ผูบริหารสื่อสารคานิยมทั้งหมดใหพนักงานรับทราบรับรูและปฏิบัติงานอยางชัดเจน

3.87 0.84 สูง 3

4.การกําหนดพฤติกรรมของคานิยมที่พนักงานตองประพฤติปฏิบัติตัวตามคานิยมในองคกร

3.91 0.82 สูง 1

5.ผูบริหารใหรางวัลแกพนักงานที่ปฏิบัติตามคานิยมขององคเพื่อเปนขวัญกําลังใจ

3.70 0.98 สูง 5

รวม 3.84 0.90 สูง -จากตารางที่ 4.9 พบวาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน ปจจัยดานการบริหาร

องคกร ดานคานิยมรวม อยูระดับสูง ( X = 3.84 , S.D.= 0.90) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวาขอที่มีคาเฉลี่ยมากที่สุดการ คือกําหนดพฤติกรรมของคานิยมที่พนักงานตองประพฤติ ปฏิบัติตัวตามคานิยมในองคกร ( X = 3.91, S.D.=0.82) รองลงมาผูบริหารกําหนดนิยามของคานิยมรวมกันอยางชัดเจน ( X = 3.89, S.D.=0.89) ผูบริหารสื่อสารคานิยมทั้งหมดใหพนักงานรับทราบ รับรูและปฏิบัติงานอยางชัดเจน ( X = 3.87, S.D.=0.84) ผูบริหารสงเสริมใหพนักงานมีสวนรวมในการกําหนดคานิยมขององคกร ( X = 3.84, S.D.=0.97) และลําดับสุดทายผูบริหารใหรางวัลแกพนักงานที่ปฏิบัติตามคานิยมขององคเพื่อเปนขวัญกําลังใจ ( X = 3.70, S.D.=0.98)

Page 70: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

57

4.3 ผลการวิเคราะหประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัดจากขอมูลประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด ผู

ศึกษาใชแนวคิดทฤษฎีของ Peterson and Plowman (1953:145-150,อางถึงในกชกร เอ็นดูราษฎร,2550:32-33) ตัวชี้วัดประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด มี4 ดาน ไดแก 1. ดานคุณภาพของงาน 2. ดานปริมาณงาน 3. ดานเวลา และ4. ดานคาใชจาย ดังมีรายละเอียดดังตอไปน้ี

ตารางท่ี 4.10 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด โดยรวม

ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน X S.D. ระดับ อันดับ1.คุณภาพของงาน 4.11 0.65 สูง 32.ปริมาณงาน 4.13 0.67 สูง 13.ดานเวลา 4.09 0.71 สูง 44.คาใชจาย 4.12 0.70 สูง 2

รวม 4.10 0.68 สูง -จากตารางที่ 4.10 พบวา โดยภาพรวมระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน

บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยูในระดับสูง ( X = 4.10,S.D.= 0.68) เมื่อแยกพิจารณาเปนรายดาน พบวาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยูในระดับสูงทุกดานโดยเรียงลําดับจากมากไปหานอย ไดแก ดานปริมาณงาน ( X = 4.12,S.D.= 0.68)รองลงมาดานคาใชจาย( X = 4.12,S.D.= 0.70) ดานคุณภาพของงาน ( X = 4.11,S.D.= 0.65) สวนคาใชจาย อยูในลําดับสุดทาย ( X = 4.09,S.D.= 0.71)

Page 71: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

58

ตารางท่ี 4.11 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด จําแนกตามคุณภาพของงาน

คุณภาพของงาน X S.D. ระดับ อันดับ1.ผลงานที่ทานทํามีความคุมคาและมีประโยชนสูงสุดตอบริษัทฯ

4.13 0.69 สูง 3

2.ผลงานที่ทานทําเปนไปตามขอกําหนดที่ตองการ โดยสินคาหรือบริการน้ันสรางความพอใจใหกับลูกคา

4.10 0.68 สูง 6

3.ผลงานที่ออกมามีความถูกตองละเอียด รอบคอบและไมกอใหเกิดผลเสียหายตอบริษัท

4.11 0.58 สูง 5

4.ผลงานที่ทานทํา มีความเปนระเบียบเรียบรอย 4.12 0.66 สูง 45.ทานสามารถทํางานที่ไดรับมอบหมาย สําเร็จตามเวลา 4.15 0.66 สูง 16.ทานสามารถทํางานที่ไดรับมอบหมาย ไดอยางถูกตองแมนยํา ครบถวนสมบูรณ

4.14 0.60 สูง 2

รวม 4.13 0.65 สูง -จากตารางที่ 4.11 พบวา ระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก

(ประเทศไทย) จํากัด ดานคุณภาพของงาน อยูในระดับสูง ( X = 4.13,S.D.= 0.65) เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอ พบวาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยูในระดับสูงทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอย ไดแก พนักงานสามารถทํางานที่ไดรับมอบหมายสําเร็จตามเวลา ( X = 4.15,S.D.= 0.66) รองลงมาพนักงานสามารถทํางานที่ไดรับมอบหมาย ไดอยางถูกตองแมนยําครบถวนสมบูรณ ( X = 4.14,S.D.= 0.60) ผลงานที่พนักงานทํามีความคุมคาและมีประโยชนสูงสุดตอบริษัทฯ ( X = 4.13,S.D.= 0.69) ผลงานที่ทานทํา มีความเปนระเบียบเรียบรอย( X = 4.12,S.D.= 0.66) ผลงานที่ออกมามีความถูกตองละเอียด รอบคอบและไมกอใหเกิดผลเสียหายตอบริษัท ( X = 4.11,S.D.= 0.58) และผลงานที่พนักงานทําเปนไปตามขอกําหนดที่ตองการโดยสินคาหรือบริการน้ันสรางความพอใจใหกับลูกคา อยูในลําดับสุดทาย ( X = 4.10,S.D.= 0.68)

Page 72: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

59

ตารางท่ี 4.12 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด จําแนกตามปริมาณงาน

ปริมาณงาน X S.D. ระดับ อันดับ1.ทานสามารถทํางานไดตามปริมาณใบสั่งงานที่บริษัทฯมอบหมาย

4.13 0.63 สูง 3

2.ทานสามารถทํางานไดปริมาณตามเปาหมายที่บริษัทฯ กําหนดไว

4.11 0.68 สูง 4

3.ทานมีการวางแผนบริหารเวลา เพื่อใหไดปริมาณงานตามเปาหมายที่กําหนดไว

4.14 0.73 สูง 2

4.ทานมีการพัฒนาเทคนิคในการทํางานใหสะดวกขึ้นเพื่อประหยัดเวลาในการทํางาน

4.10 0.67 สูง 5

5.ทานมีการจัดลําดับความสําคัญและความเรงดวนของงานที่ไดรับมอบหมาย เพื่อใหงานเสร็จไดทันเวลา

4.17 0.65 สูง 1

รวม 4.13 0.67 สูง -จากตารางที่ 4.12 พบวา ระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก

(ประเทศไทย) จํากัด ดานปริมาณงาน อยูในระดับสูง ( X = 4.13,S.D.= 0.67) เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอ พบวาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยูในระดับสูงทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอย ไดแก พนักงานมีการจัดลําดับความสําคัญและความเรงดวนของงานที่ไดรับมอบหมาย เพื่อใหงานเสร็จไดทันเวลา( X = 4.17,S.D.= 0.65)รองลงมาพนักงานมีการวางแผนบริหารเวลา เพื่อใหไดปริมาณงานตามเปาหมายที่กําหนดไว ( X =4.14,S.D.= 0.73) พนักงานสามารถทํางานไดตามปริมาณใบสั่งงานที่บริษัทฯมอบหมาย ( X =4.13,S.D.= 0.63) พนักงานสามารถทํางานไดปริมาณตามเปาหมายที่บริษัทฯ กําหนดไว ( X =4.11,S.D.= 0.68) และมีการพัฒนาเทคนิคในการทํางานใหสะดวกขึ้นเพื่อประหยัดเวลาในการทํางาน อยูในลําดับสุดทาย ( X = 4.10,S.D.= 0.67)

Page 73: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

60

ตารางท่ี 4.13 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด จําแนกตามดานเวลา

ดานเวลา X S.D. ระดับ อันดับ1.ทานรักษาวินัยในการทํางาน โดยทําตามเวลา และแผนงาน/กําหนดการ ใหมากที่สุด

4.11 0.67 สูง 1

2.ทานสามารถทํางานเพิ่มนอกเหนือจากแผนการทํางานในแตละวัน ดวยเวลาที่มีอยูไดอยางเหมาะสม

4.07 0.69 สูง 4

3.ทานรักษาเวลาในการทํางาน ทั้งการเขา-ออกบริษัทฯ การประชุม รวมถึงการนัดหมายลูกคาโดยการไปตรงเวลา หรือกอนเวลานัดหมายเสมอ

4.09 0.76 สูง 3

4.ทานสามารถทํางานไดทันทีที่ที่ไดรับมอบหมายและเสร็จทันเวลา

4.10 0.70 สูง 2

รวม 4.09 0.71 สูง -จากตารางที่ 4.13 พบวา ระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก

(ประเทศไทย) จํากัด ดานเวลา อยูในระดับสูง ( X = 4.09 , S.D.= 0.71) เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอพบวาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยูในระดับสูงทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอย ไดแก พนักงานรักษาวินัยในการทํางาน โดยทําตามเวลา และแผนงาน/กําหนดการ ใหมากที่สุด ( X = 4.11 , S.D.= 0.67) รองลงมาพนักงานสามารถทํางานไดทันทีที่ที่ไดรับมอบหมายและเสร็จทันเวลา ( X = 4.10 , S.D.= 0.70) พนักงานรักษาเวลาในการทํางาน ทั้งการเขา-ออกบริษัทฯ การประชุม รวมถึงการนัดหมายลูกคาโดยการไปตรงเวลา หรือกอนเวลานัดหมายเสมอ ( X = 4.09 , S.D.= 0.76) และพนักงานสามารถทํางานเพิ่มนอกเหนือจากแผนการทํางานในแตละวัน ดวยเวลาที่มีอยูไดอยางเหมาะสม อยูในลําดับสุดทาย ( X = 4.07 ,S.D.= 0.69)

Page 74: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

61

ตารางท่ี 4.14 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด จําแนกตามดานคาใชจาย

คาใชจาย X S.D. ระดับ อันดับ1.ในการทํางาน ทานไดทําการเปรียบเทียบราคากอนสั่งซื้อสินคาเสมอ เพื่อเปนการลดคาใชจายที่ไมจําเปน

4.05 0.72 สูง 4

2.ทานใชเทคโนโลยีที่บริษัทฯ จัดหามาใหทํางานอยางประหยัดคุมคา และไมทําใหเกิดการสูญเสียโดยเปลาประโยชน

4.08 0.73 สูง 3

3.ทานสามารถจัดลําดับวิธีการขั้นตอนการใชงานเคร่ืองมือในการทํางาน ใหเหมาะสมกับงาน

4.16 0.67 สูง 2

4.ทานมีการวางแผนหรือการกําหนดแนวทางในการทํางานกอนเร่ิมงานในแตละวัน เพื่อลดคาใชจายในการทํางาน

4.17 0.68 สูง 1

รวม 4.12 0.70 สูง -จากตารางที่ 4.14 พบวา ระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก

(ประเทศไทย) จํากัด ดานคาใชจาย อยูในระดับสูง ( X = 4.12 , S.D.= 0.70) เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอ พบวาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยูในระดับสูงทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอย ไดแก มีการวางแผนหรือการกําหนดแนวทางในการทํางานกอนเร่ิมงานในแตละวัน เพื่อลดคาใชจายในการทํางาน ( X = 4.17 , S.D.= 0.68)รองลงมาพนักงานสามารถจัดลําดับวิธีการขั้นตอนการใชงานเคร่ืองมือในการทํางาน ใหเหมาะสมกับงาน ( X = 4.16 , S.D.= 0.67) พนักงานใชเทคโนโลยีที่บริษัทฯ จัดหามาใหทํางานอยางประหยัดคุมคา และไมทําใหเกิดการสูญเสียโดยเปลาประโยชน ( X = 4.08 , S.D.= 0.73) และในการทํางานพนักงานไดทําการเปรียบเทียบราคากอนสั่งซื้อสินคาเสมอ เพื่อเปนการลดคาใชจายที่ไมจําเปนอยูในลําดับสุดทาย ( X = 4.05 , S.D.= 0.72)

Page 75: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

62

4.4 การทดสอบสมมติฐานระหวางปจจัยสวนบุคคลและปจจัยการบริหารองคกรกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

ผูศึกษาไดทดสอบสมมติฐานเพื่อหาคาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลและปจจัยดานการบริหารองคกรกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย)จํากัดโดยผูศึกษากําหนดสมมติฐานการศึกษาไว ดังน้ี

สมมติฐานท่ี 1 ปจจัยสวนบุคคลของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัดมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด โดยวิเคราะหความสัมพันธดวยสถิติไคสแควร(Chi-square)

สมมติฐานท่ี 2 ปจจัยดานการบริหารองคกรของบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัดประกอบดวย ไดแก 1.ดานกลยุทธขององคกร (Strategy) 2.ดานโครงสรางองคกร (Structure)3.ดานระบบงาน (System) 4.ดานบุคลากร (Staff) 5.ดานทักษะความรูความสามารถ (Skill) 6.ดานรูปแบบการบริหารจัดการ(Style)และ7.ดานคานิยมรวม(Shared values) มีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด โดยวิเคราะหความสัมพันธดวยสถิติไคสแควร(Chi-square) ผูศึกษาจึงนําเสนอผลการทดสอบสมมติฐานดังน้ี

สมมติฐานที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลของพนักงานบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด ประกอบดวย เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา รายไดตอเดือน ตําแหนงงาน และระยะเวลาในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย)จํากัดตารางท่ี 4.15 ความสัมพันธระหวางเพศกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก

(ประเทศไทย) จํากัด

ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานเพศ

ตํ่า ปานกลาง สูงรวม

ชาย 62(33.7)

73(39.7)

49(26.6)

49(100.0)

หญิง 20(22.5)

44(49.4)

25(28.1)

89(100.0)

รวม 82(30.0)

117(42.9)

74(27.1)

273(100.0)

PearsonChi-SquareValue = 3.897Sig. = 0.142

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 76: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

63

จากตารางที่ 4.15 พบวาเพศไมมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (Sig. = 0.142) จึงปฏิเสธสมมติฐานที่ต้ังไว

ตารางท่ี 4.16 ความสัมพันธระหวางอายุกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก(ประเทศไทย) จํากัด

ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอายุ

ตํ่า ปานกลาง สูงรวม

ไมเกิน 30 ป 26(34.2)

28(36.8)

22(28.9)

76(100.0)

31 – 40 ป 41(32.0)

54(42.2)

33(25.8)

128(100.0)

41-50 15(22.7)

32(48.5)

19(28.8)

66(100.0)

อายุ 51 ปขึ้นไป 0(0.0)

3(100.0)

0(0.0)

3(100.0)

รวม82

(30.0)117

(42.9)74

(27.1)273

(100.0)

PearsonChi-SquareValue = 7.174Sig. = 0.305

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05จากตารางที่ 4.16 พบวา อายุไมมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน

บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (Sig. = 0.305) จึงปฏิเสธสมมติฐานที่ต้ังไว

Page 77: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

64

ตารางท่ี 4.17 ความสัมพันธระหวางสถานภาพกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสถานภาพสมรส

ตํ่า ปานกลาง สูงรวม

โสด 25(23.1)

52(48.1)

31(28.7)

108(100.0)

สมรส 50(35.0)

60(42.0)

33(23.1)

143(100.0)

หมาย/หยาราง/แยกกันอยู 7(31.8)

5(22.7)

10(45.5)

17(100.0)

รวม82

(30.0)117

(42.9)74

(27.1)273

(100.0)

PearsonChi-SquareValue = 9.389Sig. = 0.052

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05จากตารางที่ 4.17 พบวาสถานภาพสมรสไมมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางาน

ของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (Sig. = 0.052)จึงยอมรับสมมติฐานที่ต้ังไว

Page 78: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

65

ตารางท่ี 4.18 ความสัมพันธระหวางระดับการศึกษากับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานระดับการศึกษา

ตํ่า ปานกลาง สูงรวม

อนุปริญญาหรือเทียบเทา 26(28.9)

38(42.2)

26(28.9)

90(100.0)

ปริญญาตรี 53(30.3)

75(42.9)

47(26.9)

175(100.0)

สูงกวาปริญญาตรี 3(37.5)

4(50.0)

1(12.5)

8(100.0)

รวม82

(30.0)117

(42.9)74

(27.1)273

(100.0)

PearsonChi-SquareValue = 1.034Sig. = 0.905

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05จากตารางที่ 4.18 พบวาระดับการศึกษาไมมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของ

พนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (Sig. = 0.905) จึงปฏิเสธสมมติฐานที่ต้ังไว

Page 79: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

66

ตารางท่ี 4.19 ความสัมพันธระหวางรายไดตอเดือน กับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานรายไดตอเดือน

ตํ่า ปานกลาง สูงรวม

ไมเกิน 15,000 บาท 20(33.3)

24(40.0)

16(26.7)

60(100.0)

15,001-20,000 บาท 14(25.9)

31(57.4)

9(16.7)

54(100.0)

20,001-25,000 บาท 13(35.1)

6(16.2)

18(48.6)

37(100.0)

25,001 บาทขึ้นไป 35(28.7)

56(45.9)

31(25.4)

122(100.0)

รวม82

(30.0)117

(42.9)74

(27.1)273

(100.0)

PearsonChi-SquareValue = 18.728Sig. = 0.005**r = 0.030

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01จากตารางที่ 4.19 พบวารายไดตอเดือนมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของ

พนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (Sig. = 0.005) จึงยอมรับสมมติฐานที่ต้ังไว

Page 80: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

67

ตารางท่ี 4.20 ความสัมพันธระหวางตําแหนงงานกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานตําแหนงงาน

ตํ่า ปานกลาง สูงรวม

ฝายชางบริการ 26(25.0)

47(45.2)

31(29.8)

104(100.0)

ฝายขาย 7(26.9)

12(46.2)

7(26.9)

26(100.0)

ฝายบริการลูกคา 28(35.9)

34(43.6)

16(20.5)

78(100.0)

ฝายสนับสนุน 21(32.3)

24(36.9)

20(30.8)

65(100.0)

รวม82

(30.0)117

(42.9)74

(27.1)273

(100.0)

PearsonChi-SquareValue = 4.561Sig. = 0.601

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05จากตารางที่ 4.20 พบวาระยะเวลาในการปฏิบัติงานไมมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการ

ทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (Sig.= 0.601) จึงปฏิเสธสมมติฐานที่ต้ังไว

Page 81: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

68

ตารางท่ี 4.21 ความสัมพันธระหวางระยะเวลาในการปฏิบัติงานกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานระยะเวลาในการปฏิบัติงาน

ตํ่า ปานกลาง สูงรวม

ไมเกิน 5 ป 26(27.1)

38(39.6)

32(33.3)

32(100.0)

5 – 10 ป 39(31.2)

58(46.4)

28(22.4)

125(100.0)

มากกวา 10 ปขึ้น 17(32.7)

21(40.4)

14(26.9)

52(100.0)

รวม82

(30.0)117

(42.9)74

(27.1)273

(100.0)

PearsonChi-SquareValue = 3.533Sig. = 0.473

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05จากตารางที่ 4.21 พบวาระยะเวลาในการปฏิบัติงานไมมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการ

ทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (Sig.= 0.473) จึงปฏิเสธสมมติฐานที่ต้ังไว

Page 82: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

69

ตารางท่ี 4.22 สรุปผลการทดสอบสมมติฐานที่ 1

ผลการทดสอบสมมติฐานสมมติฐานยอมรับ ปฏิเสธ

1.เพศมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

-

2.อายุมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

-

3.สถานภาพสมรมมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

-

4.ระดับการศึกษามีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

-

5.รายไดตอเดือน มีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

-

6.ตําแหนงงานมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

-

7.ระยะเวลาในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

-

จากตารางที่ 4.22 พบวา เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ตําแหนงงานและระยะเวลาในการปฏิบัติงานไมมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก(ประเทศไทย) จํากัด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงปฏิเสธสมมติฐานที่ต้ังไว

สวนปจจัยสวนบุคคล คือ รายไดตอเดือน มีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงยอมรับสมมติฐานที่ต้ังไว

Page 83: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

70

สมมติฐานท่ี 2 ปจจัยดานการบริหารองคกรของบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัดประกอบดวย ไดแก 1.ดานกลยุทธขององคกร (Strategy) 2.ดานโครงสรางองคกร (Structure)3.ดานระบบงาน (System) 4.ดานบุคลากร (Staff) 5.ดานทักษะความรูความสามารถ (Skill) 6.ดานรูปแบบการบริหารจัดการ (Style) และ7.ดานคานิยมรวม (Shared values) มีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

ตารางท่ี 4.23 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการบริหารองคกร ดานกลยุทธขององคกรกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานปจจัยองคกรดานกลยุทธขององคกร ตํ่า ปานกลาง สูง

รวม

ตํ่า 29(67.4)

10(23.3)

4(9.3)

43(100.0)

ปานกลาง 42(31.3)

68(50.7)

24(17.9)

134(100.0)

สูง 11(11.5)

39(40.6)

46(47.9)

96(100.0)

รวม82

(30.0)117

(42.9)74

(27.1)273

(100.0)

PearsonChi-SquareValue = 61.597Sig. = 0.000**r = 0.435

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01จากตารางที่ 4 .23 พบวาปจจัยดานการบริหารองคกร ด านกลยุทธ ขององคกรมี

ความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 (Sig. = 0.000) จึงยอมรับสมมติฐานที่ต้ังไว

Page 84: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

71

ตารางท่ี 4.24 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการบริหารองคกร ดานโครงสรางองคกรกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานปจจัยองคกรดานโครงสรางองคกร ตํ่า ปานกลาง สูง

รวม

ตํ่า 31(57.4)

14(25.9)

9(16.7)

54(100.0)

ปานกลาง 42(33.1)

56(44.1)

29(22.8)

127(100.0)

สูง 9(9.8)

47(51.1)

36(39.1)

96(100.0)

รวม82

(30.0)117

(42.9)74

(27.1)273

(100.0)

PearsonChi-SquareValue = 39.467Sig. = 0.000**r = 0.338

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01จากตารางที่ 4.24 พบวาปจจัยดานการบริหารองคกร ดานโครงสรางองคกรมีความสัมพันธ

กับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 (Sig. = 0.000) จึงยอมรับสมมติฐานที่ต้ังไว

Page 85: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

72

ตารางท่ี 4.25 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการบริหารองคกร ดานระบบงานกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานปจจัยองคกรดานระบบงาน ตํ่า ปานกลาง สูง

รวม

ตํ่า 10(43.5)

7(30.4)

6(26.1)

23(100.0)

ปานกลาง 49(52.1)

33(35.1)

12(12.8)

94(100.0)

สูง 23(14.7)

77(49.4)

56(35.9)

156(100.0)

รวม82

(30.0)117

(42.9)74

(27.1)273

(100.0)

PearsonChi-SquareValue = 44.075Sig. = 0.000**r = 0.307

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01จากตารางที่ 4.25 พบวาปจจัยดานการบริหารองคกร ดานระบบงานมีความสัมพันธกับ

ประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 (Sig. = 0.000) จึงยอมรับสมมติฐานที่ต้ังไว

Page 86: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

73

ตารางท่ี 4.26 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการบริหารองคกร ดานบุคลากรกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานปจจัยองคกร ดานบุคลากร

ตํ่า ปานกลาง สูงรวม

ตํ่า 23(52.3)

13(29.5)

8(18.2)

44(100.0)

ปานกลาง 37(31.1)

61(51.3)

21(17.6)

119(100.0)

สูง 22(20.0)

43(39.1)

45(40.9)

110(100.0)

รวม82

(30.0)117

(42.9)74

(27.1)273

(100.0)

PearsonChi-SquareValue = 28.073Sig. = 0.000**r = 0.272

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01จากตารางที่ 4.26 พบวาปจจัยดานการบริหารองคกร ดานบุคลากรมีความสัมพันธกับ

ประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 (Sig. = 0.000) จึงยอมรับสมมติฐานที่ต้ังไว

Page 87: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

74

ตารางท่ี 4.27 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการบริหารองคกร ดานทักษะความรูความสามารถกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานปจจัยองคกรดานทักษะความรู

ความสามารถตํ่า ปานกลาง สูง รวม

ตํ่า 26(49.1)

15(28.3)

12(22.6)

53(100.0)

ปานกลาง 45(34.4)

63(48.1)

23(17.6)

131(100.0)

สูง 11(12.4)

39(43.8)

39(43.8)

89(100.0)

รวม82

(30.0)117

(42.9)74

(27.1)273

(100.0)

PearsonChi-SquareValue = 33.900Sig. = 0.000**r = 0.294

**นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01จากตารางที่ 4.27 พบวาปจจัยดานการบริหารองคกร ดานทักษะความรูความสามารถมี

ความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 (Sig. = 0.000) จึงยอมรับสมมติฐานที่ต้ังไว

Page 88: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

75

ตารางท่ี 4.28 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการบริหารองคกร ดานรูปแบบการบริหารจัดการกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานปจจัยองคกรดานรูปแบบการบริหาร

จัดการตํ่า ปานกลาง สูง รวม

ตํ่า 27(56.3)

10(20.8)

11(22.9)

48(100.0)

ปานกลาง 52(26.3)

97(49.0)

49(24.7)

198(100.0)

สูง 3(11.1)

10(37.0)

14(51.9)

27(100.0)

รวม82

(30.0)117

(42.9)74

(27.1)273

(100.0)

PearsonChi-SquareValue = 29.340Sig. = 0.000**r = 0.247

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01จากตารางที่ 4.28 พบวาปจจัยดานการบริหารองคกร ดานรูปแบบการบริหารจัดการมี

ความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 (Sig. = 0.000) จึงยอมรับสมมติฐานที่ต้ังไว

Page 89: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

76

ตารางท่ี 4.29 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการบริหารองคกร ดานคานิยมรวมกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานปจจัยองคกรดานคานิยมรวม ตํ่า ปานกลาง สูง

รวม

ตํ่า 29(46.0)

21(20.8)

13(22.9)

63(100.0)

ปานกลาง 43(32.8)

65(49.6)

23(17.6)

131(100.0)

สูง 10(12.7)

31(39.2)

38(48.1)

79(100.0)

รวม82

(30.0)117

(42.9)74

(27.1)273

(100.0)

PearsonChi-SquareValue = 34.847Sig. = 0.000**r = 0.300

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01จากตารางที่ 4.29 พบวาปจจัยดานการบริหารองคกร ดานคานิยมรวมมีความสัมพันธกับ

ประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 (Sig. = 0.000) จึงยอมรับสมมติฐานที่ต้ังไว

Page 90: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

77

ตารางท่ี 4.30 สรุปผลการทดสอบสมมติฐานที่ 2

ผลการทดสอบสมมติฐานสมมติฐานยอมรับ ปฏิเสธ

1. ดานกลยุทธขององคกรมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

-

2. ดานโครงสรางองคกรมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

-

3. ดานระบบงานมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

-

4. ดานบุคลากรมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

-

5. ดานทักษะความรูความสามารถมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย)จํากัด

-

6. ดานรูปแบบการบริหารจัดการมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

-

7. ดานคานิยมรวมมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

-

จากตารางที่ 4.30 พบวาปจจัยดานการบริหารองคกรมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 จึงยอมรับสมมติฐานที่ต้ังไว

Page 91: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

78

บทที่ 5สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

การศึกษาคร้ังนี้ เร่ืองปจจัยที่สงผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด ใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และใชแบบสอบถามเปนเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูลจากพนักงานบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด กลุมตัวอยาง จํานวน 273 คน และประมวลผลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ ผลการศึกษามีดังนี้

5.1 สรุปผล5.2 อภิปรายผล5.3 ขอเสนอแนะ

5.1 สรุปผล5.1.1 ปจจัยสวนบุคคล

กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศชาย สวนมากมีอายุ 31-40 ป มีสถานภาพสมรส สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี มีรายไดตอเดือน 20,001 บาทขึ้นไป สวนมากอยูฝายชางบริการและมีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 5-10 ป

5.1.2 ปจจัยดานการบริหารองคกรปจจัยดานการบริหารองคกรภาพรวมทั้ง 7 ดาน ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอยูใน

ระดับสูง เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวาดานที่มีคาเฉลี่ยมากที่สุดประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานดานกลยุทธขององคกร รองลงมาดานบุคลากร ดานทักษะความรูความสามารถ ดานระบบงานดานรูปแบบการบริหารจัดการ ดานคานิยมรวม และลําดับสุดทายดานโครงสรางองคกร

5.1.3 ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัดโดยภาพรวมระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศ

ไทย) จํากัด อยูในระดับสูงเมื่อแยกพิจารณาเปนรายดาน พบวาประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด มีประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอยูในระดับสูง โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอย ไดแก อันดับแรกประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานดานปริมาณงานรองลงมาดานเวลา ดานคุณภาพของงาน และดานคาใชจาย อยูในลําดับสุดทาย

78

Page 92: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

79

5.1.4 การทดสอบสมมติฐานปจจัยสวนบุคคล พบวา เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ตําแหนงงานและ

ระยะเวลาในการปฏิบัติงานไมมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บ ริษัท ริโก(ประเทศไทย) จํากัด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงปฏิเสธสมมติฐานที่ต้ังไว สวนปจจัยสวนบุคคล คือ รายไดตอเดือน มีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก(ประเทศไทย) จํากัด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงยอมรับสมมติฐานที่ต้ังไว

ปจจัยดานการบริหารองคกรทั้ง 7 ดาน มีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 จึงยอมรับสมมติฐานที่ต้ังไว

5.2 อภิปรายผลการศึกษาปจจัยที่สงผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด ผู

ศึกษาจึงนําประเด็นสําคัญมาอภิปรายผลการศึกษา ดังนี้5.2.1 ปจจัยดานการบริหารองคกร

ปจจัยดานการบริหารองคกรภาพรวม ทั้ง 7 ดาน อยูในระดับสูง เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวาดานที่มีคาเฉลี่ยมากที่สุดดานกลยุทธขององคกร รองลงมาดานบุคลากร ดานทักษะความรูความสามารถ ดานระบบงาน ดานรูปแบบการบริหารจัดการ ดานคานิยมรวม และลําดับสุดทายดานโครงสรางองคกร

จะเห็นไดวาลําดับสุดทายถึงแมจะมีประสิทธิภาพปจจัยดานการบริหารองคกร อยูใ นระดับสูง สาเหตุที่เปนเชนนี้อันเนื่องจากบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด เปนบริษัทที่ผลิตอุปกรณสํานักงานอัตโนมัติและเคร่ืองใชสํานักงาน เชน เคร่ืองถายเอกสาร เคร่ืองสําเนาเอกสาร ปร้ินเตอรเคร่ืองอัดสําเนาดิจิตอล การปรับโครงสรางก็ยังคงคอยๆ ปรับไมตางจากโครงสรางเดิม สังเกตวาดานโครงสรางก็ยังคงเปนประเด็นที่ควรใหความสําคัญในการนํามาปรับปรุง หนวยงานกําหนดสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจนและเปนระบบ การที่มอบหมายตองคํานึงความเหมาะสมกับความรูความสามารถขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบมีความเหมาะสมกับตําแหนงงาน และประเด็นสําคัญหนวยงานมีการปรับปรุงโครงสรางองคกรใหเหมาะสมตอสถานการณ โดยปรับเปลี่ยนหมุนเวียนตําแหนงงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของหนวยงาน ซึ่งผลการศึกษาสอดคลองกับสมยศ แยมเผื่อน (2551) ไดศึกษาเร่ืองปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานปฏิบัติการ บริษัท อาเซียน มารีน เซอรวิส จํากัด

Page 93: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

80

(มหาชน) มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพการทํางานและความสัมพันธระหวางปจจัยดานสิ่งแวดลอมในการทํางาน และปจจัยดานความพึงพอใจในการบริหารทรัพยากรมนุษยกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานปฏิบัติการในบริษัท ผลการศึกษาพบวา ความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงานของพนักงานปฏิบัติการบริษัท อาเซียน มารีน เซอรวิส จํากัด (มหาชน)ดานบรรยากาศในการทํางานพนักงานมีระดับความคิดเห็นตอสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงานโดยรวมอยูในระดับดีมาก สวนความสัมพันธระหวางผูปฏิบัติงานกับผูบังคับบัญชาและดานความสัมพันธระหวางผูปฏิบัติงานกับเพื่อนรวมงาน พนักงานมีความเห็นตอสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงานโดยรวมอยูในระดับดีประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน ดานปริมาณงาน ดาน คุณภาพ และดานผลผลิตพบวาพนักงานมีระดับประสิทธิภาพการทํางานโดยรวมแตละดานอยูในระดับดี

5.2.2 ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัดโดยภาพรวมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย)

จํากัด อยูในระดับสูง เมื่อแยกพิจารณาเปนรายดาน พบวาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด อยูในระดับสูงทุกดานโดยเรียงลําดับจากมากไปหานอย ไดแก ดานปริมาณ รองลงมาดานคาใชจาย ดานคุณภาพของงาน และดานคาใชจาย อยูในลําดับสุดทาย ซึ่งผลการศึกษาสอดคลองกับผลงานวิจัย ปริศนา พิมพา (2558) ไดศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรองคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตอําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรองคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตอําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ1) ศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรองคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตอําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม 2) ศึกษาปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรองคกรปกครองสวนทองถิ่น ในเขตอําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม 3) ศึกษาถึงความคิดเห็นและขอเสนอแนะในการสงเสริมการปฏิบัติงานของบุคลากรองคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตอําเภอธาตุพนมจังหวัดนครพนม การศึกษาคร้ังนี้ เปนการศึกษาประชากรทั้งหมดซึ่งไดแก บุคลากรที่ปฏิบัติงานอยูในองคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตอําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม จํานวน 232 คนเคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถาม สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแกคาเฉลี่ย คารอยละ ความถี่สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน และการวิเคราะหสมการถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบวา (1) ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร องคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตอําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดยรวมและรายดานอยูในระดับมาก

Page 94: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

81

ที่สุด (2) ปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรองคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตอําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดยรวมและรายดานอยูในระดับมากที่สุด

5.2.3 ผลการทดสอบสมมติฐานปจจัยสวนบุคคล พบวา เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ตําแหนงงานและ

ระยะเวลาในการปฏิบัติงานไมมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก(ประเทศไทย) จํากัด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนปจจัยสวนบุคคล คือ รายไดตอเดือน มีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

ปจจัยดานการบริหารองคกรทั้ง 7 ดาน ไดแก 1.ดานกลยุทธขององคกร (Strategy)2.ดานโครงสรางองคกร (Structure) 3.ดานระบบงาน (System) 4.ดานบุคลากร (Staff) 5.ดานทักษะความรูความสามารถ (Skill) 6.ดานรูปแบบการบริหารจัดการ (Style) และ7.ดานคานิยมรวม (Sharedvalues) มีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัดมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

5.3 ขอเสนอแนะ5.3.1 ขอเสนอแนะในการศึกษาคร้ังนี้

ผูศึกษาพิจารณาจากปจจัยการบริหารองคกร ทั้ง 7 ดานตามแนวคิดทฤษฎี 7 ประการของ McKinsey จากผลการศึกษาทั้ง 7 ดานมีระดับความคิดเห็นประสิทธิภาพปจจัยการบริหารองคกรอยูในระดับสูง ผูศึกษาจึงเสนอแนะดานที่มีคาเฉลี่ยนอยที่สุด มีรายละเอียด ดังนี้

1. ดานกลยุทธขององคกร ผูบริหารควรประชุมเพื่อมอบหมายงานงานใหหนวยงานจัดทําแผนปฏิบัติงานที่สอดคลองกับแผนกลยุทธที่วางไว และมีระบบการประเมินผลจากแผนกลยุทธที่ต้ังไวบรรลุตามแผนกลยุทธกี่ดาน

2. ดานโครงสราง ผูบริหารควรมีการปรับเปลี่ยนหมุนเวียนตําแหนงงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของหนวยงานและการปรับปรุงโครงสรางองคกรใหเหมาะสมตอสถานการณ โดยระบุขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบมีความเหมาะสมกับตําแหนงงานรวมทั้งมีการกําหนดสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจนและเปนระบบ

3. ดานระบบงาน ผูบริหารควรวางระบบสารสนเทศเครือขายภายในหนวยงาน ชวยใหการปฏิบัติงานมีความสะดวกและรวดเร็ว

Page 95: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

82

4. ดานบุคลากร ผูบริหารควรพิจารณาความเหมาะสมของปริมาณงานที่มอบหมายใหพนักงานแตละตําแหนงใหสอดคลองกับตําแหนงหรือหนาที่ความรับผิดชอบ

5. ดานทักษะความรูความสามารถ ผูบริหารควรมีการสนับสนุนใหพนักงานศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้นจากเดิม เพื่อเปนการเพิ่มศักยภาพและทัศนคติในการทํางาน อาจจะมีขอเสนอใหสําหรับผูที่ตองการศึกษาตามที่ตองการ

6. ดานรูปแบบการบริหารจัดการผูบริหารควรมีการทบทวนการดําเนินเพื่อใหพนักงานมีสวนรวมในการแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณเพื่อปรับปรุงวิธีการทํางานและจัดสรรงบประมาณรายจายที่ครอบคลุมทุกดานอยางเหมาะสม สิ่งสําคัญหัวหนางานตองเขามามีบทบาทในการแกไขปญหาไดอยางรวดเร็วทันตอเหตุการณ

7. ดานคานิยมรวม ผูบริหารควรใหรางวัลแกพนักงานที่ปฏิบัติตามคานิยมขององคเพื่อเปนขวัญกําลังใจ และสงเสริมใหพนักงานมีสวนรวมในการกําหนดคานิยมขององคกร รวมถึงกําหนดพฤติกรรมของคานิยมที่พนักงานตองประพฤติปฏิบัติตัวตามคานิยมในองคกร อีกทั้งการสื่อสารคานิยมทั้งหมดใหพนักงานรับทราบ รับรูและปฏิบัติงานอยางชัดเจน

5.3.2 ขอเสนอแนะในการศึกษาคร้ังตอไป5.3.2.1 การศึกษาคร้ังนี้เปนการศึกษาเชิงปริมาณ ศึกษาเชิงคุณภาพ เชน การสัมภาษณ

เจาะลึกกับกลุมตัวแทนผูบริหารระดับสูง กลุมหัวหนางานเพื่อจะไดขอมูลในเชิงลึกในการอธิบายปรากฏการณที่เกิดขึ้นและเพื่อหารูปแบบพัฒนาการบริหารงานตอไป

5.3.2.2 การศึกษาคร้ังตอไป ควรมีการศึกษาการการพัฒนาองคการใหมีสมรรถนะสูงเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

Page 96: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

83

83

บรรณานุกรม

หนังสือและบทความในหนังสือกชกร เอ็นดูราษฎร. (2550). ปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานบริษัทโกรเฮส

ยาม จํากัด. วิทยานิพนธ รป.ม. (การบริหารทัวไป). ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพาธงชัย สันติวงษ และชัยยศ สนัติวงษ. (2530). การวางแผนเชิงกลยุทธ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ เจริญ

พัฒน.นันทนา ธรรมบุศย. (2540). การพัฒนาตน. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร สถาบันราชภัฏจันทรเกษม.บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องตน. พิมพคร้ังที่ 7. กรงเทพฯ : สุวีริยาสาสน.ปรียาพร วงศอนุตรโรจน. (2544). จิตวิทยาบริหารงานบุคคล.กรุงเทพฯ: ศูนยสื่อเสริมกรุงเทพฯ.พิทยา บวรวัฒนา. (2552). ทฤษฎีองคกรสาธารณะ. กรุงเทพฯ: ศักดิโสภาการพิมพ.พิทยา บวรวัฒนา. (2552). ทฤษฎีองคการสาธารณะ (พิมพคร้ังที่ 4). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ

แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.ภรณี กีรติบุตร. (2529). การประเมินประสิทธิผลองคการ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร.มาโนช สุขฤกษ และคณะ. (2523). จิตวิทยาอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุค

พับลเคชั่นส.วัชรี ธุวธรรม.(2539).53กลยุทธเสริมพลังตน.กรุงเทพฯ : ศูนยการพิมพพลชัย.วัชรี ธุวธรรมและคณะ. (2526). ระบบพัฒนาประสิทธิภาพการทํางาน. กรุงเทพฯ : กรมการฝกหัด

ครู. กระทรวงศึกษาธิการ.วิชัย แหวนเพชร. (2543). มนุษยสัมพันธในการบริหารอุตสาหกรรม . กรุงเทพฯ:โรงพิมพธรรม

กมล.วีรชัย ตันติวีระวิทยา. (2537). ด้ันดนหาความเปนเลิศ. กรุงเทพฯ. ซีเอ็ดยูเคชั่น.สมใจ ลักษณะ. (2549). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทํางาน. กรุงเทพฯ : เพิ่มทรัพย.สมพงศ เกษมสิน. (2521). การบริหาร. (พิมพคร้ังที่ 8). กรุงเทพ ฯ:ไทยวัฒนาพาณิชย.สมพิศ สุขแสน. (2556). เทคนิคการทํางานใหมีประสิทธิภาพ. สืบคนจาก https://bongkotsakorn.

wordpress.com/2013/06/06/เทคนิคการทํางานใหประสบความสําเร็จ.สมยศ นาวีการ. 2536. การบริหาร. กรุงเทพฯ : ดอกหญา.สวิง สุวรรณ. (2540). พฤติกรรมองคการ.พิมพคร้ังที่ 2 ฉบับปรับปรุงใหม. กรุงเทพ:ไทยวัฒนา

พานิช.

Page 97: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

84

เอกสารอื่น ๆกิติภัส เพ็งศรี. (2545). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีพัฒนาชุมชน . กรณีศึกษาจังหวัด

สระบุรี. กรุงเทพมหานคร. ฐานขอมูลวิทยานิพนธไทย. เขาถึงเม่ือ 20 สิงหาคม 2561. เขาถึงไดจากhttp://www.tnrr.in.th/2561/?page=result_search&record_id=310060

คฑาวุธ พรหมายน. (2545). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจกองตรวจคนเขาเมือง: ศึกษาเฉพาะกรณีขาราชการตํารวจฝาย1 ฝาย2.วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต,สาขารัฐศาสตร, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

ควรคิด ชโลธรรังสี. (2542). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสุขาภิบาลจังหวัดอุบลราชธานี. ภาคนิพนธพัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาพัฒนาสังคม,บัณฑิตวิทยาลัย,สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. ความสุข. สืบคนเมื่อ 12 กันยายน 2559

ชาคริต ศรีขาว. (2551). ความคิดเห็นตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัทมิสกัน (ไทยแลนด). การคนควาอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราภัฏพระนครศรีอยุธยา.

ฐาปณีย ปกแกว. (2556). กลยุทธการจัดการโดยตัวแบบ 7S McKinsey ที่มีผลตอกระบวนการบริหารงาน ขององคการบริหารสวนตําบลบานดง อําเภอแมเมาะ จังหวัดลําปาง.

ธานินทร สุทธิกุญชร. (2543). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานของฝายการพนักงานบริษัทการบินไทย จํากัด (มหาชน). วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

นคร บางน่ิมนอย. (2546). ปจจัยท่ีมีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานพนักงานการเดินรถการ รถไฟแหงประเทศไทย. สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ปริศรา พิมพา. (2558). ปจจัยที-มีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรองคกรปกครอง สวนทองถ่ินในเขตอําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม. การคนควาอิสระ รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ปณฑารีย ฟองแพร .2559. “การพัฒนาองคกรใหมีศักยภาพการทํางานสูง: กรณีศึกษาธนาคารยูโอบี”. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการธุรกิจโลก มหาวิทยาลัยบูรพา.มหาวิทยาลัยหอการคาไทย .2560. กรอบยุทธศาสตร การจัดการดานอาหารของประเทศไทย .สํานักงานคณะกรรมการการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

ปติ วัลยะเพ็ชร. (2548). ปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของขาราชการกรมกิจการพลเรือนทหารเรือ. ปญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการบริหารทั่วไป,วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา.

Page 98: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

85

พรทิพย เย็นจะบกและกมลรัฐ อินทรทัศน. (2556). กระบวนการทํางานอยางมีประสิทธิภาพและมีภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

วันวิสาข สมร. (2552). ความคิดเห็นตอปจจัยที-มีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของ พนักงานบริษัท คาโตเล็ค (ประเทศไทย ). วิทยานิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราช ภัฏพระนครศรีอยุธยา.

ศันสนีย ชูเชื้อ (2546) “ปจจัยสงผลตอการทางานเปนทีมของพนักงานมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ” การศึกษาอิสระการจดการมหาบัณฑิต สาขาการจัดการมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ.

สมยศ แยมเผื่อน. (2551). ปจจัยท่ีมีผลตอประสิทธิภาพในการทํางานของพนักงาน ปฏิบัติการ บริษัทเอเชีย มารีน เซอรวิส จํากัด (มหาชน). สารนิพนธ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(สาขาการจัดการ)บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สมใจ ลักษณะ. (2549). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทํางาน. กรุงเทพฯ : คณะวิทยาการจัดการสถาบันราชภัฏสวนสุนันทา.

สุดธิดา แกวปล่ัง. (2545). ปจจัยท่ีมีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานโทรศัพท จังหวัดลําปาง (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต). เชียงใหม : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแมโจ.

สุนิสา สงบเงียบ. (2551). ความคิดเห็นเก่ียวกับปจจัยท่ีมีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ของพนักงานบริษัท มินอิก เทคโนโลยี (ไทยแลนด) จํากัด.การคนควาอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

โสฬส ปญจะวิสุทธิ. (2541). ปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จของการ บริหารกิจการประปาหมูบาน:ศึกษาเฉพาะกรณีประปาหมูบานขนาดใหญ . ภาคนิพนธพัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาพัฒนาสังคม, บัณฑิตวิทยาลัย, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

อัครินทร พาฬเสวต. (2546). ปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทคาโออินดัสเตรียล(ประเทศไทย)จํากัด สารนิพนธปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตสาขาการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อํานาจ วัดจินดา. (2553). McKinney 7-S Framework แนวคิดปจจัย 7 ประการในการประเมินองคกร. (Online). Available: http//www.gracezone.org/index.../81--in-search-of-excellence- (2553, กรกฎาคม 26)30.

Page 99: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

86

BooksMillet, John D.1954. Management in the Public Service. New York : McGraw-Hill.Peterson, E. & Plowman, G. E. (1953). Business Organization and Management. (3rd ed.).

Ill:Irwin.Washington : The George Washington University. Photocopied.Zaleanick et al. (1958). Motion productivity and Satisfaction of worker. Massachusettes :

Division of Research, Harward University.

Page 100: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

87

ภาคผนวก

Page 101: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

88

แบบสอบถามงานวิจัย เร่ือง ปจจัยท่ีสงผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน :

กรณีศึกษา บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด

คําชี้แจงการศึกษาในคร้ังน้ีเปนสวนหน่ึงของการทําสารนิพนธ ในระดับปริญญาโท สาขาวิชาการ

บริหารจัดการองคการ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก โดยการศึกษามีวัตถุประสงค 2 ประเด็นคือ 1. เพื่อศึกษาระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัดและ2. เพื่อศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ริโก(ประเทศไทย) จํากัดโดยจําแนกแบบสอบถามออก เปน 4 สวน ดังน้ี

สวนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลของพนักงานสวนที่ 2 ปจจัยดานการบริหารองคกรสวนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการทํางานสวนที่ 4 ขอเสนอแนะอ่ืน ๆ

การตอบแบบสอบถามจะไมสงผลกระทบทางลบแกทานแตอยางใด จะนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลในภาพรวม ขอความกรุณาตอบแบบสอบถามตามความเปนจริงและกรุณาตอบใหครบทุกขอ ผลการศึกษาอาจนําไปสูการบริหารจัดการและพัฒนาองคการใหมีประสิทธิภาพประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น

ผูศึกษาขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสน้ี

นายสถิตย มีสิทธิ์ ผูวิจัย

Page 102: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

89

สวนท่ี 1 ปจจัยสวนบุคคลของพนักงานคําชี้แจง โปรดเขียนเคร่ืองหมาย ลงในที่ตรงกับขอมูลของทานตามความเปนจริง1. เพศ

1. ชาย 2. หญิง

2. อายุ1.ไมเกิน 30 ป 2. 31 – 40 ป3. 41-50 ป 4. 51 ปขึ้นไป

3. สถานภาพสมรส1. โสด 2. สมรส 3. หมาย/หยาราง/แยกกันอยู

4. ระดับการศึกษา1. มัธยมศึกษา/ปวช.หรือเทียบเทา 2. อนุปริญญาหรือเทียบเทา3. ปริญญาตรี 4. สูงกวาปริญญาตรี

5. รายไดตอเดือน 1.ไมเกิน 15,000 บาท 2. 15,001-20,000 บาท 3. 20,001-25,000 บาท 4. 25,001 บาทขึ้นไป

6. ตําแหนงงาน1. ชางบริการ 2. พนักงานขาย3. พนักงงานบริการลูกคา 4. พนักงานฝายสนับสนุน

7. ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน1. ไมเกิน 5 ป 2. 5 – 10 ป3. มากกวา 10 ปขึ้น

Page 103: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

90

สวนท่ี 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับปจจัยดานการบริหารองคกรคําชี้แจง โปรดเขียนเคร่ืองหมาย✓ ลงใน❒ ที่ตรงกับการดําเนินงานขององคการทานมากที่สุด

ระดับความคิดเห็น

ขอความ มากท่ีสุด(5)

มาก

(4)

ปานกลาง(3)

นอย

(2)

นอยท่ีสุด(1)

1. ดานกลยุทธขององคกร1.1 หนวยงานกําหนดกลยุทธการบริหารงานใหเปน

องคกรบริการสูความเปนเลิศ1.2 หนวยงานจัดทําแผนปฏิบัติงานที่สอดคลองกับแผน

กลยุทธที่วางไว1.3 หนวยงานมีสวนรวมรับผิดชอบในแผนงานที่

เกี่ยวของ1.4 หนวยงานรับรูนโยบายการบริหารงานตามวิสัยทัศน

หลักของบริษัท1.5 หนวยงานปฏิบัติงานตามแผนงานที่วางไวไดจริงตาม

ระยะเวลาที่กําหนด2. ดานโครงสรางองคกร

2.1 หนวยงานมีการกําหนดสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจนและเปนระบบ

2.2 ขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบที่ไดรับ มีความเหมาะสมกับตําแหนงงาน

2.3 งานที่ไดรับมอบหมายมีความเหมาะสมกับความรูความสามารถ

2.4 หนวยงานมีการปรับปรุงโครงสรางองคกรใหเหมาะสมตอสถานการณ

2.5 หนวยงานปรับเปลี่ยนหมุนเวียนตําแหนงงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของหนวยงาน

Page 104: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

91

สวนท่ี 2 (ตอ)คําชี้แจง โปรดเขียนเคร่ืองหมาย✓ ลงใน❒ ที่ตรงกับการดําเนินงานขององคการทานมากที่สุด

ระดับความคิดเห็น

ขอความ มากท่ีสุด(5)

มาก

(4)

ปานกลาง(3)

นอย

(2)

นอยท่ีสุด(1)

3. ดานระบบงาน3.1 ระบบสารสนเทศเครือขายภายในหนวยงาน ชวยให

การปฏิบัติงานมีความสะดวกและรวดเร็ว3.2 การมีสวนรวมในการลดการสูญเสียและความ

สิ้นเปลืองที่เกิดจากกระบวนการทํางาน3.3 ระบบสารสนเทศที่นํามาใชตอบสนองตอความ

ตองการที่เหมาะสมกับการทํางาน3.4 มีการจัดระบบการทํางานอยางเปนระบบและมี

ประสิทธิภาพ3.5 มีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ

การปฏิบัติงานอยางตอเน่ือง4. ดานบุคลากร

4.1 พนักงานมีสวนรวมในการขับเคลื่อนองคกรใหเปนไปตามนโยบายผูบริหาร

4.2 การปฏิบัติงานรวมของกับพนักงานในหนวยงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

4.3 ความเหมาะสมของปริมาณงานที่ทานไดรับ4.4 การมีสวนรวมในการสรางบรรยากาศที่ ดีในการ

ทํางาน4.5 ผูบ ริหารสง เส ริมการพัฒนาบุคลากรในแตล ะ

ตําแหนงหนาที่ที่รับผิดชอบ

Page 105: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

92

สวนท่ี 2 (ตอ)คําชี้แจง โปรดเขียนเคร่ืองหมาย✓ ลงใน❒ ที่ตรงกับการดําเนินงานขององคการทานมากที่สุด

ระดับความคิดเห็น

ขอความ มากท่ีสุด(5)

มาก

(4)

ปานกลาง(3)

นอย

(2)

นอยท่ีสุด(1)

5. ดานทักษะความรูความสามารถ5.1 การมีทักษะ ความรู ความสามารถในการปฏิบัติงาน

ตามตําแหนงหนาที่5.2 การแสวงหาความรูเพื่อเพิ่มทักษะ ในการทํางานอยาง

สม่ําเสมอ5.3 การไดรับการสนับสนุนใหเขารับการฝกอบรม เพื่อ

พัฒนาความรู ความสามารถในการทํางานอยางตอเน่ือง

5.4 ห น ว ย ง า น จั ด ใ ห มี อ บ ร ม / สั ม ม น า เ พื่ อ พั ฒ น าความสามารถของพนักงาน

5.5 การไดรับการสนับสนุนใหศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น6. ดานรูปแบบการบริหารจัดการ

6.1 หัวหนางานมีทัศนคติที่ดีในการพัฒนาองคกร6.2 เมื่อเกิดปญหาหัวหนางานไมเพิกเฉยตอปญหาน้ัน ๆ

และแกไขปญหาไดอยางรวดเร็วทันตอเหตุการณ6.3 มีการจัดประชุมหารือและติดตามผลการทํางานอยาง

เปนตอเน่ือง6.4 มีการจัดสรรงบประมาณรายจายที่ครอบคลุมทุกดาน

อยางเหมาะสม6.5 การมีสวนรวมในการแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณ

เพื่อปรับปรุงวิธีการทํางาน

Page 106: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

93

สวนท่ี 2 (ตอ)ระดับความคิดเห็น

ขอความ มากท่ีสุด(5)

มาก

(4)

ปานกลาง(3)

นอย

(2)

นอยท่ีสุด(1)

7. ดานคานิยมรวม7.1 ผูบริหารสงเสริมใหพนักงานมีสวนรวมในการ

กําหนดคานิยมขององคกร7.2 ผูบริหารกําหนดนิยามของคานิยมรวมกันอยางชัดเจน7.3 ผูบริหารสื่อสารคานิยมทั้งหมดใหพนักงานรับทราบ

รับรูและปฏิบัติงานอยางชัดเจน7.4 การกําหนดพฤติกรรมของคานิยมที่พนักงานตอง

ประพฤติ ปฏิบัติตัวตามคานิยมในองคกร7.5 ผูบริหารใหรางวัลแกพนักงานที่ปฏิบัติตามคานิยม

ขององคเพื่อเปนขวัญกําลังใจสวนท่ี 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการทํางานคําชี้แจง โปรดเขียนเคร่ืองหมาย✓ ลงใน❒ ที่ตรงกับความคิดเห็นของทานมากที่สุด

ระดับความคิดเห็น

ขอความ มากท่ีสุด(5)

มาก

(4)

ปานกลาง(3)

นอย

(2)

นอยท่ีสุด(1)

1. คุณภาพของงาน1.1 ผลงานที่ทานทํามีความคุมคาและมีประโยชนสูงสุด

ตอบริษัทฯ1.2 ผลงานที่ทานทําเปนไปตามขอกําหนดที่ตองการ โดย

สินคาหรือบริการน้ันสรางความพอใจใหกับลูกคา1.3 ผลงานที่ออกมามีความถูกตองละเอียด รอบคอบและ

ไมกอใหเกิดผลเสียหายตอบริษัท1.4 ผลงานที่ทานทํา มีความเปนระเบียบเรียบรอย

Page 107: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

94

ระดับความคิดเห็น

ขอความ มากท่ีสุด(5)

มาก

(4)

ปานกลาง(3)

นอย

(2)

นอยท่ีสุด(1)

1.5 ทานสามารถทํางานที่ไดรับมอบหมาย สําเร็จตามเวลา

1.6 ทานสามารถทํางานที่ไดรับมอบหมาย ไดอยางถูกตองแมนยํา ครบถวนสมบูรณ2. ปริมาณงาน

2.1 ทานสามารถทํางานไดตามปริมาณใบสั่งงานที่บริษัทฯมอบหมาย

2.2 ทานสามารถทํางานไดปริมาณตามเปาหมายที่บริษัทฯ กําหนดไว

2.3 ทานมีการวางแผนบริหารเวลา เพื่อใหไดปริมาณงานตามเปาหมายที่กําหนดไว

2.4 ทานมีการพัฒนาเทคนิคในการทํางานใหสะดวกขึ้นเพื่อประหยัดเวลาในการทํางาน

2.5 ทานมีการจัดลําดับความสําคัญและความเรงดวนของงานที่ไดรับมอบหมาย เพื่อใหงานเสร็จไดทันเวลา

3. ดานเวลา3.1 ทานรักษาวินัยในการทํางาน โดยทําตามเวลา และ

แผนงาน/กําหนดการ ใหมากที่สุด3.2 ทานสามารถทํางานเพิ่มนอกเหนือจากแผนการ

ทํางานในแตละวัน ดวยเวลาที่มีอยูไดอยางเหมาะสม3.3 ทานรักษาเวลาในการทํางาน ทั้งการเขา-ออกบริษัทฯ

การประชุม รวมถึงการนัดหมายลูกคาโดยการไปตรงเวลา หรือกอนเวลานัดหมายเสมอ

3.4 ทานสามารถทํางานไดทันทีที่ที่ไดรับมอบหมายและเสร็จทันเวลา

Page 108: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

95

ระดับความคิดเห็น

ขอความ มากท่ีสุด(5)

มาก

(4)

ปานกลาง(3)

นอย

(2)

นอยท่ีสุด(1)

4. คาใชจาย4.1 ในการทํางาน ทานไดทําการเปรียบเทียบราคากอน

สั่งซื้อสินคาเสมอ เพื่อเปนการลดคาใชจายที่ไมจําเปน

4.2 ทานใชเทคโนโลยีที่บริษัทฯ จัดหามาใหทํางานอยางประหยัดคุมคา และไมทําใหเกิดการสูญเสียโดยเปลาประโยชน

4.3 ทานสามารถจัดลําดับวิธีการขั้นตอนการใชงานเคร่ืองมือในการทํางาน ใหเหมาะสมกับงาน

4.4 ทานมีการวางแผนหรือการกําหนดแนวทางในการทํางานกอนเร่ิมงานในแตละวัน เพื่อลดคาใชจายในการทํางาน

สวนท่ี 4 ขอเสนอแนะอื่น ๆ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................

Page 109: ป จจัยที่ส งผลต อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ...mis.krirk.ac.th › librarytext

96

ประวัติผูศึกษา

ชื่อ – นามสกุล นายสถิตย มีสิทธิ์

วัน เดือน ปเกิด 13 มิถุนายน 2513

สถานท่ีทํางานปจจุบัน บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัดตําแหนง Assistant Server Managerประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2557 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ (ศศ.บ.)