90
เครื่องหมายรับรอง ข้อบังคับว่าด้วย การใช้เครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทย (ตรานกยูงพระราชทาน) กรมหม่อนไหม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ข้อบังคับว่าด้วย การใช้ ...qsds.go.th/ocs//file_upload/2013-11-27-12.pdf · 2013-11-27 · วันที่ 11 มิถุนายน

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • เคร่ืองหมายรับรอง

    ข้อบังคบัว่าด้วย

    การใช้เคร่ืองหมายรับรองผลติภัณฑ์ผ้าไหมไทย

    (ตรานกยูงพระราชทาน)

    กรมหม่อนไหม

    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  • คาํนาํ

    16 กุมภาพนัธ์ พ.ศ.2547 ได้มีการ จดเคร่ืองหมายรับรองผา้ไหมไทยโดย สํานักงานปลัดสํานัก

    นายกรัฐมนตรี และต่อมาสถาบนัหม่อนไหมแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจา้สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ

    สํานกังานปลดักระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไดถู้กตั้งข้ึนจึงไดรั้บโอนหนงัสือสําคญัแสดงการจดทะเบียนผา้ไหม

    ไทยจากสาํนกังานปลดัสาํนกันายกรัฐมนตรี ท่ีจดไวก้บักรมทรัพยสิ์นทางปัญญา กระทรวงพาณิชย ์ ซ่ึงมีสาระสําคญั

    เก่ียวกบัการคุม้ครองไหมไทย ท่ีมีขอ้บงัคบัวา่ดว้ยการใชเ้คร่ืองหมายรับรอง ท่ีจดัทาํตามบทบญัญติัมาตรา 82 แห่ง

    พระราชบญัญติัเคร่ืองหมายการคา้ พ.ศ.2534 ในการน้ีสมเด็จพระนางเจา้สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถไดท้รงพระ

    กรุณาฯ พระราชทานสัญญาลกัษณ์นกยูงไทย ให้เป็นเคร่ืองหมายรับรองคุณภาพผลิตภณัฑ์ผา้ไหมไทย 4 ชนิด

    ไดแ้ก่

    1. Royal Thai Silk นกยงูสีทอง

    2. Classic Thai Silk นกยงูสีเงิน

    3. Thai Silk นกยงูสีนํ้าเงิน

    4. Thai Silk Blend นกยงูสีเขียว

    เพื่อเป็นการแกไ้ขปัญหาในดา้นคุณภาพของผลิตภณัฑท่ี์ถูกผูผ้ลิตซ่ึงขาดคุณธรรม ผลิตผา้ไหมไม่ได้

    มาตรฐานแต่ยงัคงแอบอา้งนาํคาํวา่ Thai Silk ไปใชเ้พื่อการคา้ จนทาํให้ผูซ้ื้อทั้งในประเทศและต่างประเทศไม่มัน่ใจ

    ในคุณภาพของผา้ไหมไทย ดงันั้นตั้งแต่บดัน้ีเป็นตน้ไป พวกเราชาวไทยทุกคนจะตอ้งร่วมมือในการรักษาช่ือเสียง

    และหวงแหนคาํวา่ “ไหมไทย” ไวเ้ป็นมรดกทางวฒันธรรมของชาติ และเป็นการสนองพระราชปณิธานของสมเด็จ

    พระนางเจา้สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ

    ท่ีจะอนุรักษแ์ละคุม้ครองไหมไทย ไวเ้ป็นสมบติัของชาติสืบต่อไป

    คณะทาํงานจดัทาํขอ้บงัคบัวา่ดว้ยการใชเ้คร่ืองหมาย

    รับรองผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทย

  • บทนํา

    สืบเน่ืองจากปัจจุบนัมีผูน้าํเขา้เส้นไหม และเส้นใยสังเคราะห์อ่ืนจากต่างประเทศ ทั้งถูกกฎหมาย

    และผิดกฎหมาย เส้นไหมจึงมีทั้งท่ีได้คุณภาพและด้อยคุณภาพ เม่ือนาํมาผลิตผา้ไหม จึงทาํให้ผา้ไหมไทยด้อย

    คุณภาพลง แต่ผูผ้ลิตยงัคงใชต้ราสัญลกัษณ์คาํวา่ ผา้ไหมไทย หรือ Thai Silk เพื่อการคา้ ทาํให้ผูซ้ื้อทั้งในประเทศและ

    ต่างประเทศไม่มั่นใจในคุณภาพของผ้าไหมไทยอีกต่อไป ด้วยปัญหาดังกล่าวสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิ ต์ิ

    พระบรมราชินีนาถ ทรงมีกระแสพระราชดาํรัสให้หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้งไปดาํเนินการหาสาเหตุของปัญหาและแนว

    ทางการแกไ้ข

    วนัท่ี 11 มิถุนายน พ.ศ. 2545 สถาบนัวิจยัหม่อนไหม กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตร และ

    สหกรณ์ (ซ่ึงเป็นหน่วยงานเดิมของสถาบันหม่อนไหมแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิ ต์ิ

    พระบรมราชินีนาถ) ร่วมกบัคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ กรมทรัพยสิ์นทางปัญญา กระทรวง

    พาณิชย ์และมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจา้ฯ พระบรมราชินีนาถ ไดร่้วมกนัจดัสัมมนาเร่ือง “ การ

    คุ้มครองไหมไทย” ข้ึน ณ โรงแรมมารวยการ์เดน้ กรุงเทพมหานคร คณะกรรมการจดัสัมมนา ไดเ้ชิญนกัวิชาการใน

    ทุกสาขาท่ีเก่ียวขอ้งกบัไหมทั้งภาครัฐ และเอกชนมาร่วมประชุมเพื่อกาํหนดทิศทางและวิธีการคุม้ครองไหมไทย โดย

    พิจารณาทั้งดา้นพนัธ์ุไหม กระบวนการผลิต ชนิดผา้ไหมและผลิตภณัฑ์ท่ีผลิตในประเทศไทย ผลจากการสัมมนา

    ระดมสมองในคร้ังนั้ น และการประชุมของคณะทาํงานฯ อีกหลายๆ คร้ัง จนทาํให้ได้ข้อบงัคบัว่าด้วยการใช้

    เคร่ืองหมายรับรองน้ี ซ่ึงจดัทาํตามบทบญัญติัมาตรา 82 แห่งพระราชบญัญติัเคร่ืองหมายการคา้ พ.ศ. 2534

    เพื่อใหมี้การใชเ้คร่ืองหมายรับรองอยา่งกวา้งขวางทั้งในและต่างประเทศ สมเด็จพระนางเจา้ฯ

    พระบรมราชินีนาถ จึงไดท้รงพระกรุณาโปรดเกลา้ฯ พระราชทานสัญลกัษณ์นกยงูไทย ใหเ้ป็นเคร่ืองหมายรับรอง

    คุณภาพผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทย 4 ชนิด ในการจดทะเบียน ประกอบดว้ย

    1. Royal Thai Silk นกยงูสีทอง

    2. Classic Thai Silk นกยงูสีเงิน

    3. Thai Silk นกยงูสีนํ้าเงิน

    4. Thai Silk Blend นกยงูสีเขียว

    แต่เน่ืองจากหน่วยงานของสถาบนัวิจยัหม่อนไหมในขณะนั้น อยูร่ะหวา่งการปรับเปล่ียนเพื่อจดัตั้งเป็น องคก์รใหม่

    ดงันั้น คณะกรรมการหม่อนไหมแห่งชาติ จึงได้มีมติมอบหมายให้ สํานักงานปลดัสํานักนายกรัฐมนตรี ซ่ึงเป็น

    หน่วยงานกลาง ยื่นจดทะเบียนเคร่ืองหมายรับรองต่อกรมทรัพยสิ์นทางปัญญา แทนไปก่อน โดยไดย้ื่นจดทะเบียน

    เม่ือ 16 กุมภาพนัธ์ 2547 ทั้งยงัไดย้ืน่จดทะเบียนในต่างประเทศอีก 18 ประเทศดว้ย และนบัจากวนันั้นจนถึงปัจจุบนั

    น้ี (ปี พ.ศ. 2551 ) ไดย้ืน่จดทะเบียนไปแลว้รวมทั้งส้ิน 33 ประเทศ

  • ต่อมา เม่ือไดมี้ประกาศราชกิจจานุเบกษาแบ่งส่วนราชการ สถาบนัหม่อนไหมแห่งชาติเฉลิมพระ

    เกียรติสมเด็จพระนางเจา้สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ สังกดั สํานกังานปลดักระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ จึงไดรั้บ

    โอนเคร่ืองหมายรับรองมาจาก สปน. เม่ือ 19 ธนัวาคม 2548 มาดาํเนินการและรับผดิชอบ

    ต่อเน่ือง โดยขอ้บงัคบัท่ีวา่ดว้ยการใชเ้คร่ืองหมายรับรองผลิตภณัฑไ์หมไทย ไดแ้ยกไวเ้ป็น 8 หมวดดงัน้ี

    หมวดท่ี 1 : บททัว่ไปจะกล่าวถึงคาํนิยามท่ีใชต้ามขอ้บงัคบั

    หมวดท่ี 2 : กล่าวถึงคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทย

    หมวดท่ี 3 : กล่าวถึงผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทยตามขอ้บงัคบัแต่ละชนิด

    หมวดท่ี 4 : กล่าวถึงแหล่งกาํเนิดท่ีตอ้งผลิตในประเทศไทยเท่านั้น

    หมวดท่ี 5 : กล่าวถึงส่วนประกอบของผลิตภณัฑ์

    หมวดท่ี 6 : กล่าวถึงวธีิการผลิต

    หมวดท่ี 7 : กล่าวถึงคุณภาพของผลิตภณัฑ์

    หมวดท่ี 8 : กล่าวถึงหลกัเกณฑ ์วธีิการ และเง่ือนไขในการอนุญาตใหใ้ชเ้คร่ืองหมายรับรอง

    ขอ้บงัคบัเหล่าน้ีจะแตกต่างกนัไปในแต่ละชนิดของผลิตภณัฑ์ ในทางปฏิบติัผูท่ี้มีความประสงค์จะขอใช้

    เคร่ืองหมายรับรองผลิตภณัฑ์ไหมไทยสามารถทราบกระบวนการรับรองคุณภาพผลิตภณัฑ์ การยื่นขอรับใบรับรอง

    การรับคาํขอใบรับรองสามารถขอได้จาก สถาบนัหม่อนไหมแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ ทางสถาบนัฯ จะมีการ

    ตรวจสอบและการประเมินผล โดยเม่ือผา่นการประเมินแลว้จึงจะออกใบรับรองให้ หากผูป้ระกอบการไม่ปฏิบติัตาม

    ขอ้บงัคบั คณะกรรมการฯ อาจให้มีการพกัใช้และเพิกถอนใบอนุญาต ขั้นสุดทา้ย ถึงขั้นยกเลิกใบรับรอง เม่ือการ

    ดาํเนินการผลิตผลิตภณัฑผ์า้ไหมท่ีไม่เป็นไปตามขอ้บงัคบั ผูป้ระกอบการสามารถ อุทธรณ์ร้องเรียน และโตแ้ยง้ได้

    ภายใน 30 วนันบัแต่วนัทราบคาํสั่ง สถาบันหม่อนไหมแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ จะรักษา

    ความลบัในกระบวนการรับรองคุณภาพผลิตภณัฑ์ และจะถือเป็นเร่ืองลบั สําหรับการเขา้ถึงขอ้มูลดงักล่าวทาํได้

    เฉพาะเจา้หน้าท่ีซ่ึงได้รับมอบหมายเท่านั้น และสําหรับเร่ืองการแจง้การมีส่วนได้ส่วนเสียของผูเ้ก่ียวขอ้ง อตัรา

    ค่าธรรมเนียม และค่าใชจ่้ายต่างๆ ไดบ้รรจุไวใ้นขอ้บงัคบัน้ี สาํหรับ เกณฑก์ารตรวจสอบเพื่อให้การรับรองผลิตภณัฑ์

    ผา้ไหมไทยทั้ง 4 ชนิด ตลอดจนแบบฟอร์มคาํขอต่างๆ และสถานท่ีติดต่อขอรับคาํขอใบรับรองสามารถขอรับไดท้ั้ง

    ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค

    เพื่อใหไ้หมไทยกอ้งไกลไปทัว่หลา้ และสนองพระราชปณิธานองคส์มเด็จพระนางเจา้ฯ พระบรมราชินีนาถ

    พระผูเ้ป็น “แม่ของแผ่นดิน” ท่ีไดท้รงเหน็ดเหน่ือยพระวรกายมานานนบั 5 ทศวรรษ ท่ีไดส่้งเสริมและอนุรักษอ์าชีพ

    หม่อนไหมไวเ้ป็นเอกลกัษณ์ไทยท่ีมีคุณค่าต่อชาวไทยและชาวโลก จนคณะกรรมาธิการหม่อนไหมระหวา่งประเทศ

    (International Sericulture Commission, ISC) ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตทูลเกลา้ทูลกระหม่อม

    ถวายรางวลั หลุยส์ปาสเตอร์ (Louis Pasteur) แด่พระองคท์่าน พวกเราชาวไทยทุกคนจะรักษามรดกช้ินน้ีไวต้ราบ

    นานเท่านาน เพื่อเป็นมรดกทางวฒันธรรมของชาติไทยสืบต่อไป

  • สารบัญ

    หนา้

    คาํนาํ ก

    บทนาํ ข-ค

    สารบญั ง

    ขอ้บงัคบัวา่ดว้ยการใชเ้คร่ืองหมายรับรองผลิตภณัฑไ์หมไทย ชนิด Royal Thai Silk 1

    ขอ้บงัคบัวา่ดว้ยการใชเ้คร่ืองหมายรับรองผลิตภณัฑไ์หมไทย ชนิด Classic Thai Silk 6

    ขอ้บงัคบัวา่ดว้ยการใชเ้คร่ืองหมายรับรองผลิตภณัฑไ์หมไทย ชนิด Thai Silk 11

    ขอ้บงัคบัวา่ดว้ยการใชเ้คร่ืองหมายรับรองผลิตภณัฑไ์หมไทย ชนิด Thai Silk Blend 16

    ภาคผนวก

    ภาคผนวก 1

    ระเบียบ หลกัเกณฑ ์และขอ้กาํหนดการใชเ้คร่ืองหมายรับรองผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทย 21

    - แบบคาํขอรับใบรับรอง (แบบ กษ. 01) พร้อมคาํช้ีแจงประกอบการยื่นคาํขอ 33

    - หนงัสือรับรองการผลิตและจ่ายเสน้ไหม (แบบ กษ.07) 39

    - หนงัสือรับรองการจาํหน่ายเสน้ไหม (แบบ กษ.08) 40

    - แบบคาํขอรับดวงตรานกยงู (แบบ กษ.02) 41

    -ใบรับรองแสดงเคร่ืองหมายรับรองมาตรฐานผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทยชนิด Royal Thai Silk (สมมช.๑) 42

    - ใบรับรองแสดงเคร่ืองหมายรับรองมาตรฐานผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทยชนิด Classic Thai Silk (สมมช.๒) 43

    - ใบรับรองแสดงเคร่ืองหมายรับรองมาตรฐานผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทยชนิด Thai Silk (สมมช.๓) 44

    -ใบรับรองแสดงเคร่ืองหมายรับรองมาตรฐานผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทยชนิด Thai Silk Blend (สมมช.๔) 45

    - อตัราค่าธรรมเนียมต่างๆ 46

    ภาคผนวก 2

    -เกณฑก์ารตรวจสอบเพ่ือใหก้ารรับรองผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทย ชนิด Royal Thai Silk (แบบ กษ 03) 47

    -เกณฑก์ารตรวจสอบเพ่ือใหก้ารรับรองผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทย ชนิด Classic Thai Silk (แบบ กษ 04) 50

    - เกณฑก์ารตรวจสอบเพ่ือใหก้ารรับรองผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทย ชนิด Thai Silk (แบบ กษ 05) 52

    -เกณฑก์ารตรวจสอบเพ่ือใหก้ารรับรองผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทย ชนิด Thai Silk Blend (แบบ กษ 06) 54

    ภาคผนวก 3

    -แบบสรุปผลการตรวจสอบประเมินของ อ.กมม. เพ่ือเสนอ กมม. พิจารณาอนุมติักรณีขอใบรับรองใหม่ 56

    ( กษ.03-1ก, กษ.03-2ก, กษ.04-1ก, กษ.04-2ก, กษ.05-1ก, กษ.05-2ก, กษ.06-1ก, กษ.06-2ก )

    -แบบสรุปผลการตรวจสอบประเมินของ อ.กมม.เพ่ือเสนอ กมม.พิจารณาอนุมติัตดิดวงตรานกยูง กรณีได้ 65

    ใบรับรองแล้ว ( กษ.03-1ข, กษ.03-2ข, กษ.04-1ข, กษ.04-2ข, กษ05-1ข, กษ.05-2ข, กษ 06-1ข, กษ.06-2ข )

    ภาคผนวก 4

    -คาํสัง่แต่งตั้งคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทย (กมม.) 76

  • ข้อบังคบัว่าด้วยการใช้เคร่ืองหมายรับรองผลติภัณฑ์ผ้าไหมไทย ชนิด Royal Thai Silk

    ของ

    กรมหม่อนไหม

    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

    -------------------------------

    ขอ้บงัคบัวา่ดว้ยการใชเ้คร่ืองหมายรับรองน้ีจดัทาํตามบทบญัญติัมาตรา ๘๒

    แห่งพระราชบญัญติัเคร่ืองหมายการคา้ พ.ศ. ๒๕๓๔

    หมวดที ่๑

    บททัว่ไป

    ขอ้ ๑ ขอ้บงัคบัวา่ดว้ยการใชเ้คร่ืองหมายรับรองน้ีถือเป็นส่วนหน่ึงของ

    คาํขอจดทะเบียนเคร่ืองหมายรับรอง

    ข้อ ๒ ข้อบังคับน้ีถ้ามิได้ตราไว้เป็นอย่างอ่ืน ให้นําบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติ

    เคร่ืองหมายการคา้ พ.ศ.๒๕๓๔ มาบงัคบัใช ้

    ขอ้ ๓ ในขอ้บงัคบัน้ี

    “มม.” หมายถึง กรมหม่อนไหม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

    “มาตรฐานผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทย” หมายถึง ขอ้กาํหนดเก่ียวกบัคุณภาพของผลิตภณัฑผ์า้ไหม

    ไทยตามขอ้บงัคบัน้ี หรือมาตรฐานอ่ืนท่ีอาจกาํหนดใหมี้ข้ึนไดอี้ก

    “หน่วยตรวจสอบ” หมายถึง หน่วยงานท่ีไดรั้บมอบหมายใหต้รวจสอบผลิตภณัฑ ์ ผา้ไหม

    ตามขอ้กาํหนดในขอ้บงัคบัน้ี หรือมาตรฐานผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทย

    “ใบรับรอง” หมายถึง ใบรับรองท่ีให้แสดงคุณภาพหรือชนิดของผลิตภณัฑ์ผา้ไหมไทย

    ตามท่ีกาํหนดในขอ้บงัคบัน้ี ท่ีผา่นการพิจารณาจากคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภณัฑ ์ผา้ไหมไทย

    “เคร่ืองหมายรับรอง” หมายถึงเคร่ืองหมายรับรองผลิตภณัฑ์ผา้ไหมไทยท่ีกรมหม่อนไหม

    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไดจ้ดทะเบียนไว ้

    1

  • “เส้นไหมไทย” หมายถึง ผลิตภณัฑท่ี์ไดจ้ากกระบวนการผลิตเส้นไหมในประเทศไทย โดยใชรั้งไหมท่ีมี

    ถ่ินกาํเนิดในประเทศไทย

    “เส้นไหมแท”้ หมายถึง เส้นไหมท่ีสาวมาจากรังไหมซ่ึงเป็นรังไหมชนิดท่ีกินใบหม่อนเป็นอาหารหลกั

    “ผา้ไหมไทย” หมายถึง ผา้ไหมท่ีผลิตในประเทศไทย

    “พนัธ์ุไหมไทย” หมายถึง พนัธ์ุไหมท่ีมีถ่ินกาํเนิดในประเทศไทย หรือมีการสร้างและพฒันาพนัธ์ุข้ึนใน

    ประเทศไทย

    “พนัธ์ุไหมไทยพื้นบา้น” หมายถึง พนัธ์ุไหมดั้งเดิม ของไทยท่ีมีการอนุรักษสื์บทอดกนัมา รวมทั้งพนัธ์ุ

    ไหมดั้งเดิมท่ีมีการปรับปรุงให้มีคุณสมบติัท่ีดีข้ึน โดยเป็นการพฒันาพนัธ์ุในประเทศไทยท่ีใชเ้ฉพาะพนัธ์ุไหมไทย

    ดั้งเดิมเป็นเช้ือพนัธ์ุเท่านั้น

    “พนัธ์ุไหมไทยปรับปรุง” หมายถึง พนัธ์ุไหมใหม่ท่ีพฒันา หรือปรับปรุงพนัธ์ุ สร้างพนัธ์ุข้ึนในประเทศ

    ไทย โดยมีเช้ือพนัธ์ุทั้งหมดหรือบางส่วนมาจากพนัธ์ุไหมท่ีมิใช่พนัธ์ุไทย

    “พนัธ์ุไหมไทยลูกผสม” หมายถึง พนัธ์ุไหมไทยปรับปรุงท่ีมีการสร้างพนัธ์ุข้ึนโดยเกิดจากการใชเ้ช้ือพนัธ์ุ

    บางส่วนท่ีมิใช่พนัธ์ุไทยมาผสมกบัเช้ือพนัธ์ุไทย

    “พนัธ์ุไหมลูกผสม” หมายถึง พนัธ์ุไหมไทยปรับปรุงท่ีมีการสร้างพนัธ์ุข้ึนโดยเกิดจากการใช้เช้ือพนัธ์ุ

    ทั้งหมดท่ีมิใช่พนัธ์ุไทยมาผสมกนั

    “การสาวไหม” หมายถึง การดึงเส้นไหมออกจากรังไหม เพื่อผลิตเส้นไหมตามขนาดท่ีตอ้งการเพื่อใช้

    ประโยชน์ในการทอผา้หรือผลิตภณัฑ ์

    “การสาวไหมด้วยมือ” หมายถึง การสาวไหมท่ีสาวด้วยมือ และอุปกรณ์อย่างง่าย ไม่มีกลไกท่ียุ่งยาก

    ซบัซอ้น เส้นไหมท่ีสาวไดมี้ขนาดตามทกัษะของผูส้าวท่ีไม่แน่นอน มีการแบ่งชั้น ชนิดของเส้นไหมไวใ้นขั้นตอน

    การสาว อตัราการผลิตไม่สูงเม่ือเทียบกบัการสาวดว้ยเคร่ืองจกัร

    “การสาวไหมดว้ยมือแบบพื้นบา้น” หมายถึง การสาวแบบภูมิปัญญาดั้งเดิม โดยการดึงเส้นไหมผา่นพวง

    สาว (รอกสาวไหม) ลงภาชนะรองรับ

    “สาวไหมดว้ยมือแบบเขา้อกัหรือเขา้ระวงิ” หมายถึง การสาวไหมดว้ยมือหมุนดึงเส้นไหมผา่นพวงสาวเขา้

    อกั หรือเขา้ระวงิโดยตรง

    “การสาวไหมด้วยเคร่ืองจกัร” หมายถึง การสาวไหมท่ีใช้เคร่ืองจกัรในการสาว ทาํให้ได้เส้นไหมใน

    ปริมาณมาก เส้นไหมท่ีไดม้กัมีคุณภาพและขนาดตามความตอ้งการของผูใ้ช ้

    “ทอมือ” หมายถึง การทอผา้ดว้ยมือ ดว้ยก่ีทอมือ หรือก่ีทอมือแบบพื้นบา้น

    “ก่ีทอมือ” หมายถึง ก่ีทอผา้ท่ีไม่มีเคร่ืองจกัรเป็นส่วนประกอบ

    “ก่ีทอมือแบบพื้นบา้น” หมายถึง ก่ีท่ีทอผา้ดว้ยมือแบบดั้งเดิมท่ีพุง่กระสวยดว้ยมือ

    “ทอเคร่ืองจกัร” หมายถึง การทอผา้ดว้ยเคร่ืองจกัร

    2

  • หมวดที ่๒

    คณะกรรมการมาตรฐานผลติภัณฑ์ผ้าไหมไทย

    ข้อ ๔ ให้มีคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผา้ไหมไทยท่ีแต่งตั้ งโดยรัฐมนตรีว่าการ

    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรียกโดยย่อ “กมม.” ประกอบดว้ย ท่านผูห้ญิงจรุงจิตต ์ทีขะระ รองราช

    เลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ เป็นท่ีปรึกษา ปลดักระทรวงเกษตรและสหกรณ์

    เป็นประธาน ผูแ้ทนมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจา้สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ผูแ้ทน

    กรมทรัพยสิ์นทางปัญญา ผูแ้ทนกระทรวงวฒันธรรม ผูแ้ทนกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ผูแ้ทนสํานัก

    มาตรฐานสินคา้เกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) ผูท้รงคุณวุฒิซ่ึงท่ีปรึกษาคณะกรรมการมาตรฐาน

    ผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทย แต่งตั้งไม่เกิน ๕ คน เป็นกรรมการ และใหอ้ธิบดีกรมหม่อนไหม ทาํหนา้ท่ีเป็น

    เลขานุการ รองอธิบดีกรมหม่อนไหมท่ีได้รับมอบหมาย เป็นผู ้ช่วยเลขานุการ กับให้แต่งตั้ ง

    ผูช่้วยเลขานุการอีก 1 คน จากสาํนกัอนุรักษแ์ละตรวจสอบมาตรฐานหม่อนไหม

    ขอ้ ๕ ให ้กมม. มีอาํนาจหนา้ท่ีดงัน้ี

    ๑. กาํหนดมาตรฐานของผา้ไหมไทย ๒. กาํหนดแบบคาํขอใชเ้คร่ืองหมายรับรอง ๓. พิจารณาคาํขอท่ีผูผ้ลิตยืน่คาํขอใชเ้คร่ืองหมายรับรอง ๔. ตรวจสอบคุณภาพของผา้ไหมไทยท่ีผูผ้ลิตยืน่ขอใชเ้คร่ืองหมายรับรอง ๕. ตรวจสอบสถานท่ีผลิต กระบวนการผลิต และติดตามประเมินผล เพื่อใหผู้ผ้ลิตสามารถทาํ

    ผลิตภณัฑใ์หมี้คุณภาพไดอ้ยา่งสมํ่าเสมอ

    ๖. เสนอ ประธาน กมม. เพื่อดาํเนินการออกใบรับรองใหผู้ผ้ลิตหรือยกเลิกใบรับรองท่ีไดอ้อก ใหแ้ก่ผูผ้ลิตแลว้

    ๗. กาํหนดหลกัเกณฑ ์แนวทาง และวธีิปฏิบติัเพื่อใหเ้ป็นไป ตามขอ้บงัคบัน้ี ๘. พิจารณาให้ความเห็นชอบในการปรับปรุง และเปล่ียนแปลงขอ้บงัคบัให้เหมาะสมกบั

    สถานการณ์ท่ีเปล่ียนไป ตามมาตรา ๘๖ แห่ง พรบ. เคร่ืองหมายการคา้ พ.ศ. ๒๕๓๔

    ๙. มีอาํนาจในการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการในการดาํเนินงานไดต้ามท่ีเห็นสมควร

    3

  • หมวดที ่๓

    ผลติภัณฑ์

    ขอ้ ๖ ผลิตภณัฑใ์นขอ้บงัคบัน้ีคือผา้ไหมไทยชนิด “Royal Thai Silk”

    หมวดที ่๔

    แหล่งกาํเนิด

    ขอ้ ๗ ผลิตภณัฑท่ี์จะรับรองจะตอ้งเป็นผลิตภณัฑท่ี์ผลิตในประเทศไทยเท่านั้น

    หมวดที ่๕

    ส่วนประกอบของผลติภัณฑ์

    ขอ้ ๘ ผลิตภณัฑท่ี์จะรับรองจะตอ้งเป็นผลิตภณัฑท่ี์ใชเ้ส้นไหมพนัธุ์ไทยพื้นบา้นเป็นทั้งเส้นพุ่ง

    และเส้นยืน โดยอาจมีการตกแต่งดว้ยเส้นเงิน หรือเส้นทองท่ีไดม้าตรฐานได ้ไม่เกินร้อยละ ๒๐ โดย

    พื้นท่ีในหน่วยตารางหลา ในกรณีผา้ทอยกท่ีทอดว้ยกรรมวิธีการ ยก หรือ จก หรือ ขิด อนุญาตให้มีการ

    ตกแต่งดว้ยเส้นเงิน หรือเส้นทองท่ีไดม้าตรฐานไดไ้ม่เกินร้อยละ ๕๐

    หมวดที ่๖

    วธีิการผลติ

    ขอ้ ๙ ผลิตภณัฑท่ี์จะรับรองจะตอ้งเป็นผลิตภณัฑท่ี์สาวไหมดว้ยมือ ทอมือดว้ยก่ีทอมือแบบ

    พื้นบา้นท่ีพุ่งกระสวยดว้ยมือ

    หมวดที ่๗

    คุณภาพ

    ขอ้ ๑๐ ผลิตภณัฑคุ์ณภาพท่ีจะรับรองตอ้งเป็นผลิตภณัฑท่ี์เป็นไปตามขอ้กาํหนดในขอ้บงัคบัน้ี

    4

  • หมวดที ่๘

    หลกัเกณฑ์ วธีิการ และเงื่อนไขในการอนุญาตให้ใช้เคร่ืองหมายรับรอง

    ขอ้ ๑๑ ผูใ้ดจะแสดงเคร่ืองหมายรับรองท่ี กรมหม่อนไหม ไดจ้ดทะเบียนไวแ้ลว้ ตอ้งไดรั้บ

    ใบรับรองใหแ้สดงเคร่ืองหมายรับรองจาก กรมหม่อนไหม ก่อนจึงจะใชไ้ด ้

    ขอ้ ๑๒ ผูท่ี้จะขอใชเ้คร่ืองหมายรับรองจะตอ้งเป็นผูผ้ลิตผา้ไหมไทย

    ขอ้ ๑๓ ผูท่ี้จะขอใช้เคร่ืองหมายรับรองให้ยื่นคาํขอพร้อมเอกสาร ตามแบบท่ี กมม.กาํหนด

    โดยแจง้ความประสงคไ์ดท่ี้ กรมหม่อนไหม ก่อนส่งเร่ืองให ้กมม. ดาํเนินการ

    ขอ้ ๑๔ เม่ือ กมม. ไดพ้ิจารณารับคาํขอท่ีผูผ้ลิตไดย้ืน่คาํขอไวแ้ลว้ จะนดัหมายผูผ้ลิตเพื่อไปทาํ

    การตรวจสอบสถานท่ีผลิต กระบวนการผลิต ส่วนประกอบและเกบ็ตวัอยา่งทดสอบ

    ขอ้ ๑๕ หาก กมม. เห็นวา่ ผลการตรวจสอบเป็นไปตามขอ้บงัคบัและ มาตรฐานผลิตภณัฑ์

    ผา้ไหมไทยแลว้ให ้กมม. เสนอประธาน กมม. เพื่อดาํเนินการออกใบรับรองให ้

    ขอ้ ๑๖ ใบรับรองท่ีออกให้จะมีอายุ ๓ ปี นบัแต่วนัท่ีระบุไวใ้นใบรับรองและเม่ือใบรับรองท่ี

    ออกใหค้รบกาํหนดแลว้ หรือครบตามจาํนวนท่ีขอผลิต ผูผ้ลิตตอ้งยืน่คาํขอเพื่อขอใชเ้คร่ืองหมายรับรอง

    ใหม่

    ขอ้ ๑๗ ให ้กมม. ตรวจติดตามผลผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทยท่ีไดรั้บรองแลว้เป็นประจาํ เพื่อให้มี

    การพฒันาท่ีย ัง่ยนืและมัน่ใจต่อผูบ้ริโภค

    ขอ้ ๑๘ ภายหลงัจากท่ีผูผ้ลิตไดรั้บใบรับรองเคร่ืองหมายแลว้ หากมีการตรวจพบว่าผลิตภณัฑ์

    ท่ีไดก้ารรับรองมีคุณภาพไม่เป็นไปตามเกณฑท่ี์กาํหนดไวใ้นขอ้บงัคบัน้ี หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานผา้

    ไหมไทย กมม. จะดาํเนินการยกเลิกใบรับรองและผูข้อใชเ้คร่ืองหมายรับรองจะตอ้งชาํระค่าปรับเป็น

    จาํนวนเงินอตัราร้อยละ ๒๐ ของยอดขาย ก่อนหักค่าใชจ่้ายในรอบปีบญัชีหรือปีภาษีของปีก่อนหนา้วนั

    ตรวจพบให้กบั กรมหม่อนไหม เพิ่มเติมจากการตรวจสอบตามปกติ เพื่อจดัตั้งเป็นกองทุนสนับสนุน

    งานวจิยัการผลิตผา้ไหมไทยต่อไป

    ขอ้ ๑๙ ในกรณีท่ีมีการยกเลิกใบรับรองแลว้ ผูท่ี้ถูกแจง้ยกเลิกจะตอ้งยุติการใช้ส่ิงพิมพ ์ส่ือ

    โฆษณา ท่ีมีการอา้งอิงถึงการไดรั้บการรับรองทั้งหมด

    ขอ้ ๒๐ ค่าใช้จ่ายในการดาํเนินการรับรองเพื่อออกใบรับรองและการตรวจสอบคุณภาพให้

    เป็นไปตามประกาศระเบียบหลกัเกณฑแ์ละขอ้กาํหนด

    ---------------------------

    5

  • ข้อบังคบัว่าด้วยการใช้เคร่ืองหมายรับรองผลติภัณฑ์ไหมผ้าไทย ชนิด Classic Thai Silk

    ของ

    กรมหม่อนไหม

    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

    -------------------------------

    ขอ้บงัคบัวา่ดว้ยการใชเ้คร่ืองหมายรับรองน้ีจดัทาํตามบทบญัญติัมาตรา ๘๒

    แห่งพระราชบญัญติัเคร่ืองหมายการคา้ พ.ศ. ๒๕๓๔

    หมวดที ่๑

    บททัว่ไป

    ขอ้ ๑ ขอ้บงัคบัวา่ดว้ยการใชเ้คร่ืองหมายรับรองน้ีถือเป็นส่วนหน่ึงของ

    คาํขอจดทะเบียนเคร่ืองหมายรับรอง

    ข้อ ๒ ข้อบังคับน้ีถ้ามิได้ตราไว้เป็นอย่างอ่ืน ให้นําบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติ

    เคร่ืองหมายการคา้ พ.ศ.๒๕๓๔ มาบงัคบัใช ้

    ขอ้ ๓ ในขอ้บงัคบัน้ี

    “มม.” หมายถึง กรมหม่อนไหม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

    “มาตรฐานผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทย” หมายถึง ขอ้กาํหนดเก่ียวกบัคุณภาพของผลิตภณัฑผ์า้ไหม

    ไทยตามขอ้บงัคบัน้ี หรือมาตรฐานอ่ืนท่ีอาจกาํหนดใหมี้ข้ึนไดอี้ก

    “หน่วยตรวจสอบ” หมายถึง หน่วยงานท่ีไดรั้บมอบหมายใหต้รวจสอบผลิตภณัฑ ์ ผา้ไหม

    ตามขอ้กาํหนดในขอ้บงัคบัน้ี หรือมาตรฐานผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทย

    “ใบรับรอง” หมายถึง ใบรับรองท่ีให้แสดงคุณภาพหรือชนิดของผลิตภณัฑ์ผา้ไหมไทย

    ตามท่ีกาํหนดในขอ้บงัคบัน้ี ท่ีผา่นการพิจารณาจากคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภณัฑ ์ผา้ไหมไทย

    “เคร่ืองหมายรับรอง” หมายถึงเคร่ืองหมายรับรองผลิตภณัฑ์ผา้ไหมไทยท่ีกรมหม่อนไหม

    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไดจ้ดทะเบียนไว ้

    6

  • “เส้นไหมไทย” หมายถึง ผลิตภณัฑท่ี์ไดจ้ากกระบวนการผลิตเส้นไหมในประเทศไทย โดยใชรั้งไหมท่ีมี

    ถ่ินกาํเนิดในประเทศไทย

    “เส้นไหมแท”้ หมายถึง เส้นไหมท่ีสาวมาจากรังไหมซ่ึงเป็นรังไหมชนิดท่ีกินใบหม่อนเป็นอาหารหลกั

    “ผา้ไหมไทย” หมายถึง ผา้ไหมท่ีผลิตในประเทศไทย

    “พนัธ์ุไหมไทย” หมายถึง พนัธ์ุไหมท่ีมีถ่ินกาํเนิดในประเทศไทย หรือมีการสร้างและพฒันาพนัธ์ุข้ึนใน

    ประเทศไทย

    “พนัธ์ุไหมไทยพื้นบา้น” หมายถึง พนัธ์ุไหมดั้งเดิม ของไทยท่ีมีการอนุรักษสื์บทอดกนัมา รวมทั้งพนัธ์ุ

    ไหมดั้งเดิมท่ีมีการปรับปรุงให้มีคุณสมบติัท่ีดีข้ึน โดยเป็นการพฒันาพนัธ์ุในประเทศไทยท่ีใชเ้ฉพาะพนัธ์ุไหมไทย

    ดั้งเดิมเป็นเช้ือพนัธ์ุเท่านั้น

    “พนัธ์ุไหมไทยปรับปรุง” หมายถึง พนัธ์ุไหมใหม่ท่ีพฒันา หรือปรับปรุงพนัธ์ุ สร้างพนัธ์ุข้ึนในประเทศ

    ไทย โดยมีเช้ือพนัธ์ุทั้งหมดหรือบางส่วนมาจากพนัธ์ุไหมท่ีมิใช่พนัธ์ุไทย

    “พนัธ์ุไหมไทยลูกผสม” หมายถึง พนัธ์ุไหมไทยปรับปรุงท่ีมีการสร้างพนัธ์ุข้ึนโดยเกิดจากการใชเ้ช้ือพนัธ์ุ

    บางส่วนท่ีมิใช่พนัธ์ุไทยมาผสมกบัเช้ือพนัธ์ุไทย

    “พนัธ์ุไหมลูกผสม” หมายถึง พนัธ์ุไหมไทยปรับปรุงท่ีมีการสร้างพนัธ์ุข้ึนโดยเกิดจากการใช้เช้ือพนัธ์ุ

    ทั้งหมดท่ีมิใช่พนัธ์ุไทยมาผสมกนั

    “การสาวไหม” หมายถึง การดึงเส้นไหมออกจากรังไหม เพื่อผลิตเส้นไหมตามขนาดท่ีตอ้งการเพื่อใช้

    ประโยชน์ในการทอผา้หรือผลิตภณัฑ ์

    “การสาวไหมด้วยมือ” หมายถึง การสาวไหมท่ีสาวด้วยมือ และอุปกรณ์อย่างง่าย ไม่มีกลไกท่ียุ่งยาก

    ซบัซอ้น เส้นไหมท่ีสาวไดมี้ขนาดตามทกัษะของผูส้าวท่ีไม่แน่นอน มีการแบ่งชั้น ชนิดของเส้นไหมไวใ้นขั้นตอน

    การสาว อตัราการผลิตไม่สูงเม่ือเทียบกบัการสาวดว้ยเคร่ืองจกัร

    “การสาวไหมดว้ยมือแบบพื้นบา้น” หมายถึง การสาวแบบภูมิปัญญาดั้งเดิม โดยการดึงเส้นไหมผา่นพวง

    สาว (รอกสาวไหม) ลงภาชนะรองรับ

    “สาวไหมดว้ยมือแบบเขา้อกัหรือเขา้ระวงิ” หมายถึง การสาวไหมดว้ยมือหมุนดึงเส้นไหมผา่นพวงสาวเขา้

    อกั หรือเขา้ระวงิโดยตรง

    “การสาวไหมด้วยเคร่ืองจกัร” หมายถึง การสาวไหมท่ีใช้เคร่ืองจกัรในการสาว ทาํให้ได้เส้นไหมใน

    ปริมาณมาก เส้นไหมท่ีไดม้กัมีคุณภาพและขนาดตามความตอ้งการของผูใ้ช ้

    “ทอมือ” หมายถึง การทอผา้ดว้ยมือ ดว้ยก่ีทอมือ หรือก่ีทอมือแบบพื้นบา้น

    “ก่ีทอมือ” หมายถึง ก่ีทอผา้ท่ีไม่มีเคร่ืองจกัรเป็นส่วนประกอบ

    “ก่ีทอมือแบบพื้นบา้น” หมายถึง ก่ีท่ีทอผา้ดว้ยมือแบบดั้งเดิมท่ีพุง่กระสวยดว้ยมือ

    “ทอเคร่ืองจกัร” หมายถึง การทอผา้ดว้ยเคร่ืองจกัร

    7

  • หมวดที ่๒

    คณะกรรมการมาตรฐานผลติภัณฑ์ผ้าไหมไทย

    ข้อ ๔ ให้มีคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผา้ไหมไทยท่ีแต่งตั้ งโดยรัฐมนตรีว่าการ

    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรียกโดยย่อ “กมม.” ประกอบดว้ย ท่านผูห้ญิงจรุงจิตต ์ทีขะระ รองราช

    เลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ เป็นท่ีปรึกษา ปลดักระทรวงเกษตรและสหกรณ์

    เป็นประธาน ผูแ้ทนมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจา้สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ผูแ้ทน

    กรมทรัพยสิ์นทางปัญญา ผูแ้ทนกระทรวงวฒันธรรม ผูแ้ทนกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ผูแ้ทนสํานัก

    มาตรฐานสินคา้เกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) ผูท้รงคุณวุฒิซ่ึงท่ีปรึกษาคณะกรรมการมาตรฐาน

    ผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทย แต่งตั้งไม่เกิน ๕ คน เป็นกรรมการ และใหอ้ธิบดีกรมหม่อนไหม ทาํหนา้ท่ีเป็น

    เลขานุการ รองอธิบดีกรมหม่อนไหมท่ีได้รับมอบหมาย เป็นผู ้ช่วยเลขานุการ กับให้แต่งตั้ ง

    ผูช่้วยเลขานุการอีก 1 คน จากสาํนกัอนุรักษแ์ละตรวจสอบมาตรฐานหม่อนไหม

    ขอ้ ๕ ให ้กมม. มีอาํนาจหนา้ท่ีดงัน้ี

    ๑. กาํหนดมาตรฐานของผา้ไหมไทย

    ๒. กาํหนดแบบคาํขอใชเ้คร่ืองหมายรับรอง

    ๓. พิจารณาคาํขอท่ีผูผ้ลิตยืน่คาํขอใชเ้คร่ืองหมายรับรอง

    ๔. ตรวจสอบคุณภาพของผา้ไหมไทยท่ีผูผ้ลิตยืน่ขอใชเ้คร่ืองหมายรับรอง

    ๕. ตรวจสอบสถานท่ีผลิต กระบวนการผลิต และติดตามประเมินผล เพื่อใหผู้ผ้ลิตสามารถทาํ

    ผลิตภณัฑใ์หมี้คุณภาพไดอ้ยา่งสมํ่าเสมอ

    ๖. เสนอ ประธาน กมม. เพื่อดาํเนินการออกใบรับรองใหผู้ผ้ลิตหรือยกเลิกใบรับรองท่ีไดอ้อก

    ใหแ้ก่ผูผ้ลิตแลว้

    ๗. กาํหนดหลกัเกณฑ ์แนวทาง และวธีิปฏิบติัเพื่อใหเ้ป็นไป ตามขอ้บงัคบัน้ี

    ๘. พิจารณาใหค้วามเห็นชอบในการปรับปรุง และเปล่ียนแปลงขอ้บงัคบัใหเ้หมาะสมกบั

    สถานการณ์ท่ีเปล่ียนไป ตามมาตรา ๘๖ แห่ง พรบ. เคร่ืองหมายการคา้ พ.ศ. ๒๕๓๔

    ๙. มีอาํนาจในการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการในการดาํเนินงานไดต้ามท่ีเห็นสมควร

    8

  • หมวดที ่๓

    ผลติภัณฑ์

    ขอ้ ๖ ผลิตภณัฑใ์นขอ้บงัคบัน้ีคือผา้ไหมไทยชนิด“Classic Thai Silk”

    หมวดที ่๔

    แหล่งกาํเนิด

    ขอ้ ๗ ผลิตภณัฑท่ี์จะรับรองจะตอ้งเป็นผลิตภณัฑท่ี์ผลิตในประเทศไทยเท่านั้น

    หมวดที ่๕

    ส่วนประกอบของผลติภัณฑ์

    ขอ้ ๘ ผลิตภณัฑ์ท่ีจะรับรองจะตอ้งเป็นผลิตภณัฑ์ท่ีใช้เส้นไหมพนัธุ์ไทยพื้นบา้นเป็นเส้นพุ่ง

    หรือเส้นยนื และมีการใชเ้ส้นไหมพนัธุ์ไทยปรับปรุงเป็นส่วนผสม หรือใชเ้ส้นไหมพนัธุ์ไทยปรับปรุง

    เป็นทั้งเส้นพุ่งและเส้นยืน โดยอาจมีการตกแต่งดว้ยเส้นเงิน หรือเส้นทองในอตัราไม่เกินร้อยละ ๒๐

    โดยพื้นท่ีในหน่วยตารางหลา ในกรณีผา้ทอยกท่ีทอดว้ยกรรมวิธีการ ยก หรือ จก หรือ ขิด อนุญาตให้มี

    การตกแต่งดว้ยเส้นเงิน หรือเส้นทองท่ีไดม้าตรฐานไดไ้ม่เกินร้อยละ ๕๐

    หมวดที ่๖

    วธีิการผลติ

    ขอ้ ๙ ผลิตภณัฑท่ี์จะรับรองจะตอ้งเป็นผลิตภณัฑท่ี์สาวไหมดว้ยมือ ทอมือดว้ยก่ีทอมือ

    หมวดที ่๗

    คุณภาพ

    ขอ้ ๑๐ ผลิตภณัฑคุ์ณภาพท่ีจะรับรองตอ้งเป็นผลิตภณัฑท่ี์เป็นไปตามขอ้กาํหนดในขอ้บงัคบัน้ี

    9

  • หมวดที ่๘

    หลกัเกณฑ์ วธีิการ และเงื่อนไขในการอนุญาตให้ใช้เคร่ืองหมายรับรอง

    ขอ้ ๑๑ ผูใ้ดจะแสดงเคร่ืองหมายรับรองท่ี กรมหม่อนไหม ไดจ้ดทะเบียนไวแ้ลว้ ตอ้งไดรั้บ

    ใบรับรองใหแ้สดงเคร่ืองหมายรับรองจาก กรมหม่อนไหม ก่อนจึงจะใชไ้ด ้

    ขอ้ ๑๒ ผูท่ี้จะขอใชเ้คร่ืองหมายรับรองจะตอ้งเป็นผูผ้ลิตผา้ไหมไทย

    ขอ้ ๑๓ ผูท่ี้จะขอใช้เคร่ืองหมายรับรองให้ยื่นคาํขอพร้อมเอกสาร ตามแบบท่ี กมม.กาํหนด

    โดยแจง้ความประสงคไ์ดท่ี้ กรมหม่อนไหม ก่อนส่งเร่ืองให ้กมม. ดาํเนินการ

    ขอ้ ๑๔ เม่ือ กมม. ไดพ้ิจารณารับคาํขอท่ีผูผ้ลิตไดย้ืน่คาํขอไวแ้ลว้ จะนดัหมายผูผ้ลิตเพื่อไปทาํ

    การตรวจสอบสถานท่ีผลิต กระบวนการผลิต ส่วนประกอบและเกบ็ตวัอยา่งทดสอบ

    ขอ้ ๑๕ หาก กมม. เห็นวา่ ผลการตรวจสอบเป็นไปตามขอ้บงัคบัและ มาตรฐานผลิตภณัฑ์

    ผา้ไหมไทยแลว้ให ้กมม. เสนอประธาน กมม. เพื่อดาํเนินการออกใบรับรองให ้

    ขอ้ ๑๖ ใบรับรองท่ีออกให้จะมีอายุ ๓ ปี นบัแต่วนัท่ีระบุไวใ้นใบรับรองและเม่ือใบรับรองท่ี

    ออกใหค้รบกาํหนดแลว้ หรือครบตามจาํนวนท่ีขอผลิต ผูผ้ลิตตอ้งยืน่คาํขอเพื่อขอใชเ้คร่ืองหมายรับรอง

    ใหม่

    ขอ้ ๑๗ ให ้กมม. ตรวจติดตามผลผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทยท่ีไดรั้บรองแลว้เป็นประจาํ เพื่อให้มี

    การพฒันาท่ีย ัง่ยนืและมัน่ใจต่อผูบ้ริโภค

    ขอ้ ๑๘ ภายหลงัจากท่ีผูผ้ลิตไดรั้บใบรับรองเคร่ืองหมายแลว้ หากมีการตรวจพบว่าผลิตภณัฑ์

    ท่ีไดก้ารรับรองมีคุณภาพไม่เป็นไปตามเกณฑท่ี์กาํหนดไวใ้นขอ้บงัคบัน้ี หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานผา้

    ไหมไทย กมม. จะดาํเนินการยกเลิกใบรับรองและผูข้อใชเ้คร่ืองหมายรับรองจะตอ้งชาํระค่าปรับเป็น

    จาํนวนเงินอตัราร้อยละ ๒๐ ของยอดขาย ก่อนหักค่าใชจ่้ายในรอบปีบญัชีหรือปีภาษีของปีก่อนหนา้วนั

    ตรวจพบให้กบั กรมหม่อนไหม เพิ่มเติมจากการตรวจสอบตามปกติ เพื่อจดัตั้งเป็นกองทุนสนับสนุน

    งานวจิยัการผลิตผา้ไหมไทยต่อไป

    ขอ้ ๑๙ ในกรณีท่ีมีการยกเลิกใบรับรองแลว้ ผูท่ี้ถูกแจง้ยกเลิกจะตอ้งยุติการใช้ส่ิงพิมพ ์ส่ือ

    โฆษณา ท่ีมีการอา้งอิงถึงการไดรั้บการรับรองทั้งหมด

    ขอ้ ๒๐ ค่าใช้จ่ายในการดาํเนินการรับรองเพื่อออกใบรับรองและการตรวจสอบคุณภาพให้

    เป็นไปตามประกาศระเบียบหลกัเกณฑแ์ละขอ้กาํหนด

    ---------------------------

    10

  • ข้อบังคบัว่าด้วยการใช้เคร่ืองหมายรับรองผลติภัณฑ์ผ้าไหมไทย ชนิด Thai Silk

    ของ

    กรมหม่อนไหม

    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

    -------------------------------

    ขอ้บงัคบัวา่ดว้ยการใชเ้คร่ืองหมายรับรองน้ีจดัทาํตามบทบญัญติัมาตรา ๘๒

    แห่งพระราชบญัญติัเคร่ืองหมายการคา้ พ.ศ. ๒๕๓๔

    หมวดที ่๑

    บททัว่ไป

    ขอ้ ๑ ขอ้บงัคบัวา่ดว้ยการใชเ้คร่ืองหมายรับรองน้ีถือเป็นส่วนหน่ึงของ

    คาํขอจดทะเบียนเคร่ืองหมายรับรอง

    ข้อ ๒ ข้อบังคับน้ีถ้ามิได้ตราไว้เป็นอย่างอ่ืน ให้นําบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติ

    เคร่ืองหมายการคา้ พ.ศ.๒๕๓๔ มาบงัคบัใช ้

    ขอ้ ๓ ในขอ้บงัคบัน้ี

    “มม.” หมายถึง กรมหม่อนไหม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

    “มาตรฐานผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทย” หมายถึง ขอ้กาํหนดเก่ียวกบัคุณภาพของผลิตภณัฑผ์า้ไหม

    ไทยตามขอ้บงัคบัน้ี หรือมาตรฐานอ่ืนท่ีอาจกาํหนดใหมี้ข้ึนไดอี้ก

    “หน่วยตรวจสอบ” หมายถึง หน่วยงานท่ีไดรั้บมอบหมายใหต้รวจสอบผลิตภณัฑ ์ ผา้ไหม

    ตามขอ้กาํหนดในขอ้บงัคบัน้ี หรือมาตรฐานผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทย

    “ใบรับรอง” หมายถึง ใบรับรองท่ีให้แสดงคุณภาพหรือชนิดของผลิตภณัฑ์ผา้ไหมไทย

    ตามท่ีกาํหนดในขอ้บงัคบัน้ี ท่ีผา่นการพิจารณาจากคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภณัฑ ์ผา้ไหมไทย

    “เคร่ืองหมายรับรอง” หมายถึงเคร่ืองหมายรับรองผลิตภณัฑ์ผา้ไหมไทยท่ีกรมหม่อนไหม

    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไดจ้ดทะเบียนไว ้

    11

  • “เส้นไหมไทย” หมายถึง ผลิตภณัฑท่ี์ไดจ้ากกระบวนการผลิตเส้นไหมในประเทศไทย โดยใชรั้งไหมท่ีมี

    ถ่ินกาํเนิดในประเทศไทย

    “เส้นไหมแท”้ หมายถึง เส้นไหมท่ีสาวมาจากรังไหมซ่ึงเป็นรังไหมชนิดท่ีกินใบหม่อนเป็นอาหารหลกั

    “ผา้ไหมไทย” หมายถึง ผา้ไหมท่ีผลิตในประเทศไทย

    “พนัธ์ุไหมไทย” หมายถึง พนัธ์ุไหมท่ีมีถ่ินกาํเนิดในประเทศไทย หรือมีการสร้างและพฒันาพนัธ์ุข้ึนใน

    ประเทศไทย

    “พนัธ์ุไหมไทยพื้นบา้น” หมายถึง พนัธ์ุไหมดั้งเดิม ของไทยท่ีมีการอนุรักษสื์บทอดกนัมา รวมทั้งพนัธ์ุ

    ไหมดั้งเดิมท่ีมีการปรับปรุงให้มีคุณสมบติัท่ีดีข้ึน โดยเป็นการพฒันาพนัธ์ุในประเทศไทยท่ีใชเ้ฉพาะพนัธ์ุไหมไทย

    ดั้งเดิมเป็นเช้ือพนัธ์ุเท่านั้น

    “พนัธ์ุไหมไทยปรับปรุง” หมายถึง พนัธ์ุไหมใหม่ท่ีพฒันา หรือปรับปรุงพนัธ์ุ สร้างพนัธ์ุข้ึนในประเทศ

    ไทย โดยมีเช้ือพนัธ์ุทั้งหมดหรือบางส่วนมาจากพนัธ์ุไหมท่ีมิใช่พนัธ์ุไทย

    “พนัธ์ุไหมไทยลูกผสม” หมายถึง พนัธ์ุไหมไทยปรับปรุงท่ีมีการสร้างพนัธ์ุข้ึนโดยเกิดจากการใชเ้ช้ือพนัธ์ุ

    บางส่วนท่ีมิใช่พนัธ์ุไทยมาผสมกบัเช้ือพนัธ์ุไทย

    “พนัธ์ุไหมลูกผสม” หมายถึง พนัธ์ุไหมไทยปรับปรุงท่ีมีการสร้างพนัธ์ุข้ึนโดยเกิดจากการใช้เช้ือพนัธ์ุ

    ทั้งหมดท่ีมิใช่พนัธ์ุไทยมาผสมกนั

    “การสาวไหม” หมายถึง การดึงเส้นไหมออกจากรังไหม เพื่อผลิตเส้นไหมตามขนาดท่ีตอ้งการเพื่อใช้

    ประโยชน์ในการทอผา้หรือผลิตภณัฑ ์

    “การสาวไหมด้วยมือ” หมายถึง การสาวไหมท่ีสาวด้วยมือ และอุปกรณ์อย่างง่าย ไม่มีกลไกท่ียุ่งยาก

    ซบัซอ้น เส้นไหมท่ีสาวไดมี้ขนาดตามทกัษะของผูส้าวท่ีไม่แน่นอน มีการแบ่งชั้น ชนิดของเส้นไหมไวใ้นขั้นตอน

    การสาว อตัราการผลิตไม่สูงเม่ือเทียบกบัการสาวดว้ยเคร่ืองจกัร

    “การสาวไหมดว้ยมือแบบพื้นบา้น” หมายถึง การสาวแบบภูมิปัญญาดั้งเดิม โดยการดึงเส้นไหมผา่นพวง

    สาว (รอกสาวไหม) ลงภาชนะรองรับ

    “สาวไหมดว้ยมือแบบเขา้อกัหรือเขา้ระวงิ” หมายถึง การสาวไหมดว้ยมือหมุนดึงเส้นไหมผา่นพวงสาวเขา้

    อกั หรือเขา้ระวงิโดยตรง

    “การสาวไหมด้วยเคร่ืองจกัร” หมายถึง การสาวไหมท่ีใช้เคร่ืองจกัรในการสาว ทาํให้ได้เส้นไหมใน

    ปริมาณมาก เส้นไหมท่ีไดม้กัมีคุณภาพและขนาดตามความตอ้งการของผูใ้ช ้

    “ทอมือ” หมายถึง การทอผา้ดว้ยมือ ดว้ยก่ีทอมือ หรือก่ีทอมือแบบพื้นบา้น

    “ก่ีทอมือ” หมายถึง ก่ีทอผา้ท่ีไม่มีเคร่ืองจกัรเป็นส่วนประกอบ

    “ก่ีทอมือแบบพื้นบา้น” หมายถึง ก่ีท่ีทอผา้ดว้ยมือแบบดั้งเดิมท่ีพุง่กระสวยดว้ยมือ

    “ทอเคร่ืองจกัร” หมายถึง การทอผา้ดว้ยเคร่ืองจกัร

    12

  • หมวดที ่๒

    คณะกรรมการมาตรฐานผลติภัณฑ์ผ้าไหมไทย

    ข้อ ๔ ให้มีคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผา้ไหมไทยท่ีแต่งตั้ งโดยรัฐมนตรีว่าการ

    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรียกโดยย่อ “กมม.” ประกอบดว้ย ท่านผูห้ญิงจรุงจิตต ์ทีขะระ รองราช

    เลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ เป็นท่ีปรึกษา ปลดักระทรวงเกษตรและสหกรณ์

    เป็นประธาน ผูแ้ทนมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเดจ็พระนางเจา้สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ผูแ้ทนกรม

    ทรัพย์สินทางปัญญา ผูแ้ทนกระทรวงวฒันธรรม ผูแ้ทนกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ผูแ้ทนสํานัก

    มาตรฐานสินคา้เกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) ผูท้รงคุณวุฒิซ่ึงท่ีปรึกษาคณะกรรมการมาตรฐาน

    ผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทย แต่งตั้งไม่เกิน ๕ คน เป็นกรรมการ และใหอ้ธิบดีกรมหม่อนไหม ทาํหนา้ท่ีเป็น

    เลขานุการ รองอธิบดีกรมหม่อนไหมได้รับมอบหมาย เป็นผู ้ช่วยเลขานุการ กับให้แต่งตั้ ง

    ผูช่้วยเลขานุการอีก 1 คน จากสาํนกัอนุรักษแ์ละตรวจสอบมาตรฐานหม่อนไหม

    ขอ้ ๕ ให ้กมม. มีอาํนาจหนา้ท่ีดงัน้ี

    ๑. กาํหนดมาตรฐานของผา้ไหมไทย

    ๒. กาํหนดแบบคาํขอใชเ้คร่ืองหมายรับรอง

    ๓. พิจารณาคาํขอท่ีผูผ้ลิตยืน่คาํขอใชเ้คร่ืองหมายรับรอง

    ๔. ตรวจสอบคุณภาพของผา้ไหมไทยท่ีผูผ้ลิตยืน่ขอใชเ้คร่ืองหมายรับรอง

    ๕. ตรวจสอบสถานท่ีผลิต กระบวนการผลิต และติดตามประเมินผล เพื่อใหผู้ผ้ลิตสามารถทาํ

    ผลิตภณัฑใ์หมี้คุณภาพไดอ้ยา่งสมํ่าเสมอ

    ๖. เสนอ ประธาน กมม. เพื่อดาํเนินการออกใบรับรองใหผู้ผ้ลิตหรือยกเลิกใบรับรองท่ีไดอ้อก

    ใหแ้ก่ผูผ้ลิตแลว้

    ๗. กาํหนดหลกัเกณฑ ์แนวทาง และวธีิปฏิบติัเพื่อใหเ้ป็นไป ตามขอ้บงัคบัน้ี

    ๘. พิจารณาใหค้วามเห็นชอบในการปรับปรุง และเปล่ียนแปลงขอ้บงัคบัใหเ้หมาะสมกบั

    สถานการณ์ท่ีเปล่ียนไป ตามมาตรา ๘๖ แห่ง พรบ. เคร่ืองหมายการคา้ พ.ศ. ๒๕๓๔

    ๙. มีอาํนาจในการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการในการดาํเนินงานไดต้ามท่ีเห็นสมควร

    13

  • หมวดที ่๓

    ผลติภัณฑ์

    ขอ้ ๖ ผลิตภณัฑใ์นขอ้บงัคบัน้ีคือผา้ไหมไทยชนิด “Thai Silk”

    หมวดที ่๔

    แหล่งกาํเนิด

    ขอ้ ๗ ผลิตภณัฑท่ี์จะรับรองจะตอ้งเป็นผลิตภณัฑท่ี์ผลิตในประเทศไทยเท่านั้น

    หมวดที ่๕

    ส่วนประกอบของผลติภัณฑ์

    ขอ้ ๘ ผลิตภณัฑท่ี์จะรับรองจะตอ้งเป็นผลิตภณัฑท่ี์เส้นไหมแทเ้ป็นทั้งเส้นพุ่งและเส้นยนื

    โดยเส้นไหมท่ีใชอ้าจเป็นไดท้ั้งชนิดท่ีมีถ่ินกาํเนิดในราชอาณาจกัรหรือมีถ่ินกาํเนิดนอกราชอาณาจกัร ซ่ึง

    ในกรณีท่ีใชเ้ส้นไหมท่ีมีถ่ินกาํเนิดนอกราชอาณาจกัรจะตอ้งมีเอกสารกาํกบัการนาํเขา้ท่ีถูกตอ้งตาม

    กฎหมาย และอาจมีการตกแต่งดว้ยเส้นเงิน หรือเส้นทองในอตัราไม่เกินร้อยละ ๒๐ โดยพื้นท่ีในหน่วย

    ตารางหลา ในกรณีผา้ทอยกท่ีทอดว้ยกรรมวธีิการ ยก หรือ จก หรือขิด อนุญาตใหมี้การตกแต่งดว้ยเส้น

    เงินหรือเส้นทองท่ีไดม้าตรฐานไดไ้ม่เกินร้อยละ๕๐

    หมวดที ่๖

    วธีิการผลติ

    ขอ้ ๙ ผลิตภณัฑท่ี์จะรับรอง ไม่กาํหนดวธีิการสาวและวธีิการทอ

    หมวดที ่๗

    คุณภาพ

    ขอ้ ๑๐ ผลิตภณัฑคุ์ณภาพท่ีจะรับรองตอ้งเป็นผลิตภณัฑท่ี์เป็นไปตามขอ้กาํหนดในขอ้บงัคบัน้ี

    14

  • หมวดที ่๘

    หลกัเกณฑ์ วธีิการ และเงื่อนไขในการอนุญาตให้ใช้เคร่ืองหมายรับรอง

    ขอ้ ๑๑ ผูใ้ดจะแสดงเคร่ืองหมายรับรองท่ี กรมหม่อนไหม ไดจ้ดทะเบียนไวแ้ลว้ ตอ้งไดรั้บ

    ใบรับรองใหแ้สดงเคร่ืองหมายรับรองจาก กรมหม่อนไหม ก่อนจึงจะใชไ้ด ้

    ขอ้ ๑๒ ผูท่ี้จะขอใชเ้คร่ืองหมายรับรองจะตอ้งเป็นผูผ้ลิตผา้ไหมไทย

    ขอ้ ๑๓ ผูท่ี้จะขอใช้เคร่ืองหมายรับรองให้ยื่นคาํขอพร้อมเอกสาร ตามแบบท่ี กมม.กาํหนด

    โดยแจง้ความประสงคไ์ดท่ี้ กรมหม่อนไหม ก่อนส่งเร่ืองให ้กมม. ดาํเนินการ

    ขอ้ ๑๔ เม่ือ กมม. ไดพ้ิจารณารับคาํขอท่ีผูผ้ลิตไดย้ืน่คาํขอไวแ้ลว้ จะนดัหมายผูผ้ลิตเพื่อไปทาํ

    การตรวจสอบสถานท่ีผลิต กระบวนการผลิต ส่วนประกอบและเกบ็ตวัอยา่งทดสอบ

    ขอ้ ๑๕ หาก กมม. เห็นวา่ ผลการตรวจสอบเป็นไปตามขอ้บงัคบัและ มาตรฐานผลิตภณัฑ์

    ผา้ไหมไทยแลว้ให ้กมม. เสนอประธาน กมม. เพื่อดาํเนินการออกใบรับรองให ้

    ขอ้ ๑๖ ใบรับรองท่ีออกให้จะมีอายุ ๓ ปี นบัแต่วนัท่ีระบุไวใ้นใบรับรองและเม่ือใบรับรองท่ี

    ออกใหค้รบกาํหนดแลว้ หรือครบตามจาํนวนท่ีขอผลิต ผูผ้ลิตตอ้งยืน่คาํขอเพื่อขอใชเ้คร่ืองหมายรับรอง

    ใหม่

    ขอ้ ๑๗ ให ้กมม. ตรวจติดตามผลผลิตภณัฑผ์า้ไหมไทยท่ีไดรั้บรองแลว้เป็นประจาํ เพื่อให้มี

    การพฒันาท่ีย ัง่ยนืและมัน่ใจต่อผูบ้ริโภค

    ขอ้ ๑๘ ภายหลงัจากท่ีผูผ้ลิตไดรั้บใบรับรองเคร่ืองหมายแลว้ หากมีการตรวจพบว่าผลิตภณัฑ์

    ท่ีไดก้ารรับรองมีคุณภาพไม่เป็นไปตามเกณฑท่ี์กาํหนดไวใ้นขอ้บงัคบัน้ี หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานผา้

    ไหมไทย กมม. จะดาํเนินการยกเลิกใบรับรองและผูข้อใชเ้คร่ืองหมายรับรองจะตอ้งชาํระค่าปรับเป็น

    จาํนวนเงินอตัราร้อยละ ๒๐ ของยอดขาย ก่อนหักค่าใชจ่้ายในรอบปีบญัชีหรือปีภาษีของปีก่อนหนา้วนั

    ตรวจพบให้กบั กรมหม่อนไหม เพิ่มเติมจากการตรวจสอบตามปกติ เพื่อจดัตั้งเป็นกองทุนสนับสนุน

    งานวจิยัการผลิตผา้ไหมไทยต่อไป

    ขอ้ ๑๙ ในกรณีท่ีมีการยกเลิกใบรับรองแลว้ ผูท่ี้ถูกแจง้ยกเลิกจะตอ้งยุติการใช้ส่ิงพิมพ ์ส่ือ

    โฆษณา ท่ีมีการอา้งอิงถึงการไดรั้บการรับรองทั้งหมด

    ขอ้ ๒๐ ค่าใช้จ่ายในการดาํเนินการรับรองเพื่อออกใบรับรองและการตรวจสอบคุณภาพให้

    เป็นไปตามประกาศระเบียบหลกัเกณฑแ์ละขอ้กาํหนด

    ---------------------------