171
การออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยกรุงเทพโดยผูพูดภาษาพมาและ ผูพูดภาษาอูรดู และการประเมินระดับสําเนียงภาษาไทยของผูพูดทั้งสองกลุโดยผูพูดภาษาไทยกรุงเทพ โดย นายกองวิช อักขระเสนา วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตรเพื่อการสื่อสาร ภาควิชาภาษาศาสตร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปการศึกษา 2558 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

  • Upload
    others

  • View
    11

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

การออกเสียงวรรณยกุตภาษาไทยกรุงเทพโดยผูพูดภาษาพมาและ

ผูพูดภาษาอูรดู และการประเมินระดับสําเนียงภาษาไทยของผูพูดทั้งสองกลุม

โดยผูพูดภาษาไทยกรงุเทพ

โดย

นายกองวิช อักขระเสนา

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาภาษาศาสตรเพือ่การสื่อสาร ภาควชิาภาษาศาสตร

คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ปการศึกษา 2558

ลิขสิทธ์ิของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Page 2: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

การออกเสียงวรรณยกุตภาษาไทยกรุงเทพโดยผูพูดภาษาพมาและ

ผูพูดภาษาอูรดู และการประเมินระดับสําเนียงภาษาไทยของผูพูดทั้งสองกลุม

โดยผูพูดภาษาไทยกรงุเทพ

โดย

นายกองวิช อักขระเสนา

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาภาษาศาสตรเพือ่การสื่อสาร ภาควชิาภาษาศาสตร

คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ปการศึกษา 2558

ลิขสิทธ์ิของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Page 3: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

PRODUCTION OF BANGKOK THAI TONES BY BURMESE AND URDU

SPEAKERS AND RATING OF THEIR FOREIGN ACCENTS BY

BANGKOK SPEAKERS

BY

MR. KONGWIT AKKHARASENA

A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS

FOR THE DEGREE OF MASTER OF ARTS IN

LINGUISTICS FOR COMMUNICATION

DEPARTMENT OF LINGUISTICS

FACULTY OF LIBERAL ARTS

THAMMASAT UNIVERSITY

ACADEMIC YEAR 2015

COPYRIGHT OF THAMMASAT UNIVERSITY

Page 4: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·
Page 5: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(1)

หัวขอวิทยานิพนธ การออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยกรุงเทพ

โดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

และการประเมินระดับสําเนียงภาษาไทยของผูพูดทั้งสอง

กลุมโดยผูพูดภาษาไทยกรุงเทพ

ช่ือผูเขียน นายกองวิช อักขระเสนา

ช่ือปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชา/คณะ/มหาวิทยาลัย สาขาวิชาภาษาศาสตรเพ่ือการสื่อสาร

คณะศิลปศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ รองศาสตราจารย ดร. วริษา กมลนาวิน

ปการศึกษา 2558

บทคัดยอ

งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคสองประการ คือ 1. เปรียบเทียบลักษณะทางกลสัทศาสตรของ

วรรณยุกตภาษาไทยกรุงเทพที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและภาษาอูรดูกับผลการออกเสียง

วรรณยุกตของผูพูดภาษาไทย และ 2. ศึกษาระดับสําเนียงตางประเทศของผูพูดภาษาพมาและผูพูด-

ภาษาอูรดูที่ประเมินโดยผูพูดภาษาไทย

ในการวิเคราะหการออกเสียงวรรณยุกต คําทดสอบ คือ คําพูดเด่ียวพยางคเดียวจํานวน

5 คํา ผูวิจัยวิเคราะหคาความถี่มูลฐาน พิสัยคาความถี่มูลฐาน และคาระยะเวลาของสระดวย

โปรแกรมพราท

ผลการศึกษาคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตแสดงใหเห็นวา วรรณยุกตเอกและ

วรรณยุกตจัตวาเปนวรรณยุกตที่ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูสวนใหญสามารถออกเสียงได

ใกลเคียงผูพูดภาษาไทย รองลงมาคือวรรณยุกตสามัญ สวนวรรณยุกตโทและวรรณยุกตตรี ผลการ-

วิเคราะหแสดงใหเห็นวา ไมมีผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูคนใดสามารถออกเสียงไดใกลเคียงผู-

พูดภาษาไทย

นอกจากน้ี ผลการวิเคราะหพิสัยคาความถี่มูลฐานแสดงใหเห็นวา วรรณยุกตทุกหนวย-

เสียงที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูมีพิสัยกวางที่สุด รองลงมา คือ พิสัยของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดย

ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาไทยตามลําดับ

Page 6: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(2)

ในประเด็นคาระยะเวลาของสระ ผลการวิเคราะหแสดงใหเห็นวา วรรณยุกตทุกหนวย-

เสียงที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดูไมมีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญ อยางไรก็ตาม คาระยะเวลาเฉลี่ยของสระที่มีวรรณยุกตทุกหนวยเสียงแสดงใหเห็นวา คา-

ระยะเวลาของสระที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาแตกตางจากคาระยะเวลาของสระที่ออกเสียงโดยผู-

พูดภาษาไทยอยางมีนัยสําคัญ

ในประเด็นการประเมินระดับสําเนียง ผลการศึกษาพบวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูด-

ภาษาอูรดูทุกคนไดรับคะแนนประเมินจากเจาของภาษาในระดับที่แตกตางกัน อยางไรก็ตาม ไมมีผู-

พูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูคนใดมีระดับคะแนนอยูในเกณฑ “เหมือนเจาของภาษา” นอกจากน้ี

เมื่อเปรียบเทียบผลคะแนนประเมินระดับสําเนียงของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูทางสถิติ ผล-

การศึกษาพบวา คะแนนประเมินระดับสําเนียงของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูไมมีความ-

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ผลการวิจัยน้ีสามารถสรุปไดวา ระบบเสียงวรรณยุกตในภาษาพมาไมไดสงผลใหผูพูด-

ภาษาพมาออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยดีกวาคนที่ผูพูดภาษาอูรดูที่ไมมีระบบเสียงวรรณยุกต และผู-

พูดภาษาไทยก็มิไดประเมินระดับสําเนียงของผูพูดภาษาพมาในเกณฑที่สูงกวาผูพูดภาษาอูรดู

คําสําคญั: วรรณยุกตภาษาไทยกรุงเทพ คาความถี่มลูฐาน พิสัยคาความถี่มูลฐาน

คาระยะเวลาของสระ การประเมินระดับสําเนียงตางประเทศ ผูพูดภาษาพมา

ผูพูดภาษาอูรดู

Page 7: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(3)

Thesis Title Production of Bangkok Thai Tones by Burmese

and Urdu speakers and rating of their foreign

accents by Bangkok speakers

Author Mr. Kongwit Akkharasena

Degree Master of Arts

Major Field/Faculty/University Linguistics for Communication

Faculty of Liberal Arts

Thammasat University

Thesis Advisor Associate Professor Varisa Kamalanavin, Ph.D.

Academic Years 2015

ABSTRACT

This research has two objectives; comparing the acoustic characteristics of

Bangkok Thai tones produced by Burmese and Urdu speakers with those produced

by a Thai speaker, and studying the foreign accents of Burmese and Urdu speakers

rated by Thai speakers.

To analyze tonal production, the data consisted of five monosyllabic

words in citation form. The Praat Program was employed for analysis in order to

examine the fundamental frequency, the F0 range, and vowel duration.

The result of the fundamental frequency showed that the low tone and

the rising tone were the tones that most of Burmese and Urdu speakers could

produce similarly to those of the Thai speaker, and followed by the mid tone.

However, no speaker could produce the falling tone and the high tone like those

produced by the native Thai speaker.

In addition, the findings of F0 ranges indicated that all of the tones

produced by the Urdu speakers had the widest range, followed by those produced

by the Burmese and the Thai speaker respectively.

When comparing vowel duration, all tones produced by three groups of

speakers; the Thai speaker, the Burmese speakers, and the Urdu speakers, were not

Page 8: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(4)

significantly different. However, analyzing of averaged vowel duration bearing all

tones resulted that vowel duration produced by the Burmese speakers were

significantly different from those produced by the Thai speaker.

In terms of accent rating, the findings showed that all Burmese and Urdu

speakers had foreign accents at different levels. In particular, no speaker was rated at

“native speaker” level. When comparing the average scores of the two groups, the

result showed that the rating scores of the two groups were not significantly

different.

In conclusion, this study showed that the Burmese speakers did not

produce Thai tones better than the Urdu speakers, despite the fact that Burmese is a

tonal language and Urdu is not. Moreover, the Thai tones produced by the Burmese

speakers were not rated at a higher level than those of the Urdu speakers.

Keywords: Bangkok Thai tones, fundamental frequency, F0 range, vowel duration,

foreign accent rating, Burmese speakers, Urdu speakers

Page 9: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(5)

กิตติกรรมประกาศ

ผู วิจัยขอขอบพระคุณรองศาสตราจารย ดร. วริษา กมลนาวิน อาจารยที่ปรึกษา

วิทยานิพนธ ที่คอยใหคําแนะนําอันเปนประโยชนตอการวิจัย ตลอดทั้งใหกําลังใจและชวยเหลือดาน

ตางๆ ทั้งดานทุนทรัพยและการดําเนินการทําวิจัย

ผูวิจัยขอขอบพระคุณอาจารย ดร. จุฑามณี ออนสุวรรณ ที่กรุณาใหความรู ขอคิดอันเปน

ประโยชน และความปรารถนาดีเสมอมา และศาสตราจารย ดร. สมทรง บุรุษพัฒน ที่กรุณาชวยตรวจ

แกไข และใหคําแนะนําที่มีประโยชนเพ่ือใหวิทยานิพนธฉบับน้ีสมบูรณมากย่ิงขึ้น

ผูวิจัยขอขอบพระคุณรองศาสตราจารย ดร. ดียู ศรีนราวัฒน ที่เมตตาและเกื้อกูลผูวิจัย

ต้ังแตเมื่อครั้งที่ผูวิจัยเปนนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ทุกขสุขใดๆ ของผูวิจัยอยูในสายตาของ

อาจารยเสมอ ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณมา ณ ที่น้ีครับ

และขอขอบพระคุณรองศาสตราจารย ดร. นันทนา รณเกียรติ ที่เมตตาเปนธุระสอบถาม

เรื่องการขออนุมัติโครงการจริยธรรมการวิจัยในคนของผูวิจัยจนไดรับการอนุมัติอยางลุลวง

และขอขอบพระคุณ “พ่ีสาว พ่ีหมี” คุณทัศนีย สังขวงศและคุณนริศ สังขวงศ ผูที่เปนทั้ง

ครู ญาติ และผูหยิบย่ืนโอกาสทางการศึกษาแกผูวิจัย

ผูวิจัยขอขอบคุณ คุณซาราห เวลลา (Ms. Sarah Vella) ผูเปนเสมือนพ่ีสาวที่คอยให

กําลังใจและชวยตรวจแกเอกสารภาษาอังกฤษทุกช้ินที่ผูวิจัยเขียน คุณเย มินท อู (Mr. Ye Myint Oo)

ที่ชวยแปลเอกสารตางๆ เปนภาษาพมาดวยความเต็มใจเสมอ คุณจิบรัน ชาสซาด (Mr. Jibran

Shaszad) ที่ชวยแปลเอกสารตางๆ เปนภาษาอูรดูตลอดทั้งเปนผูขอรองใหผูพูดภาษาอูรดูชวยให

ขอมูลเสียงภาษาไทยในงานวิจัยน้ี และ “พ่ีโย” คุณกุลชาติ ประทุมชัย ที่สละเวลาชวยวิเคราะห

ขอมูลทางสถิติ หากไมมีบุคคลทั้งสี่ทานน้ี งานวิจัยน้ีคงไมสําเร็จลุลวง

ตลอดระยะเวลาที่ศึกษาระดับมหาบัณฑิต ผูวิจัยตองขอขอบคุณพ่ีวิภาณี เพ็ชรมาก (พ่ีวิ)

เพ่ือนรวมรุนที่คอยชวยเหลือและรับฟงปญหาตางๆ เสมอมา แมประสบอุปสรรคมากมาย ผูวิจัย

สามารถกาวผานมาไดเพราะมีกําลังใจจากพ่ีสาวคนน้ี

สุดทายน้ี คุณประโยชนใดที่เกิดจากวิทยานิพนธน้ี ผูวิจัยขออุทิศแดคุณแมสังเวียน คง-

เล็ก แมผูเห็นคุณคาของการศึกษาและเฝาคอยวันที่ผูวิจัยสําเร็จการศึกษา แตแมก็จากไปในขณะที่

ผูวิจัยเขียนวิทยานิพนธเลมน้ี อยางไรก็ตาม การจากไปของแมไดเตือนสติผูวิจัยวา ในขณะที่ผูวิจัย

ขวนขวายใหไดมาซึ่งลาภ ยศหลังจากสําเร็จการศึกษา แมกลับละทิ้งทุกอยางไปพรอมกับเปลวเพลิงที่

เผาราง

นายกองวิช อักขระเสนา

Page 10: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(6)

สารบญั

หนา

บทคัดยอภาษาไทย (1) บทคัดยอภาษาอังกฤษ (3) กิตติกรรมประกาศ (5) สารบัญตาราง (11) สารบัญภาพ (12) รายการสัญลักษณและคํายอ (14) บทที่ 1 บทนํา 1

1.1 ความสําคัญของปญหา 1

1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย 5

1.3 สมมติฐานของการวิจัย 5

1.4 ของเขตของการวิจัย 5

1.5 นิยามศัพทเฉพาะ 5

1.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 7 บทที่ 2 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 8

2.1 ระบบเสียงภาษาไทย ภาษาพมา และภาษาอูรดู 8

2.1.1 ระบบเสียงภาษาไทย 8

2.1.1.1 ระบบเสียงพยัญชนะ 9

2.1.1.2 ระบบเสียงสระ 10

2.1.1.3 ระบบเสียงวรรณยุกต 10

Page 11: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(7)

2.1.2 ระบบเสียงภาษาพมา 12

2.1.2.1 ระบบเสียงพยัญชนะ 13

2.1.2.2 ระบบเสียงสระ 14

2.1.2.3 ระบบเสียงวรรณยุกต 14

2.1.3 ระบบเสียงภาษาอูรดู 16

2.1.3.1 ระบบเสียงพยัญชนะ 16

2.1.3.2 ระบบเสียงสระ 17

2.2 งานวิจัยเกี่ยวกับการรับภาษาที่สอง 19

2.2.1 งานวิจัยเกี่ยวกับการออกเสียงภาษาที่สอง 20

2.2.2 งานวิจัยเกี่ยวกับการรับรูเสียงภาษาที่สอง 24

2.2.2.1 การประเมินระดับสําเนียง (accent rating) 24

2.2.2.2 การระบุเสียง (identification) 29

2.2.2.3 การแยกแยะเสียง (discrimination) 30 บทที่ 3 วิธีการวิจัย 33

3.1 ประชากรศึกษา 33

3.2 สถานที่เกบ็ขอมูล 35

3.3 การสรางเครื่องมือ 35

3.3.1 การคัดเลือกผูพูดภาษาไทย 35

3.3.1.1 ผูพูดภาษาไทยที่เขารวมการออกเสียงวรรณยุกต 35

3.3.1.2 ผูพูดภาษาไทยที่เขารวมการออกเสียงคําเราการรับรู 35

3.3.2 การสรางแบบสอบถามประวัติ 35

3.3.2.1 แบบสอบถามประวัติของผูพูดภาษาพมาและของผูพูดภาษาอูรดู 35

3.3.2.2 แบบสอบถามประวัติของผูประเมินระดับสําเนียง 36

3.3.3 การสรางบัตรคําทดสอบและบัตรคําเราการรับรู 36

3.3.3.1 การสรางบัตรคําทดสอบ 36

(1) การเตรียมคําทดสอบ 36

(2) การเตรียมรูปภาพประกอบคําทดสอบ 37

Page 12: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(8)

3.3.3.2 การสรางบัตรคําเราการรับรู 37

(1) การเตรียมคําเราการรับรู 37

(2) การเตรียมรูปภาพประกอบคําเราการรับรู 38

3.4 การเก็บขอมูลเสียง 39

3.4.1 การเก็บขอมูลเสียงของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู 39

3.4.2 การเก็บขอมูลเสียงของผูพูดภาษาไทย 40

3.5 การสรางเครื่องมือการทดสอบการประเมินระดับสําเนียง 40

3.5.1 การคัดเลือกผูประเมินระดับสําเนียง 40

3.5.2 การสรางไฟลเสียงคําเราการรับรู 40

3.5.3 การสรางแบบประเมินระดับสําเนียง 41

3.6 การวิเคราะหขอมูล 42

3.6.1 การวิเคราะหขอมูลทางกลสัทศาสตร 42

3.6.1.1 การคัดเลือกไฟลเสียง 43

3.6.1.2 การคัดเลือกบริเวณของเสียงสระ 43

3.6.1.3 การเรียกดูคาความถี่มูลฐานสูงสุดและตํ่าสุด 44

3.6.1.4 การเรียกดูคาระยะเวลาการออกเสียง 44

3.6.1.5 การแปลงคาความถี่มูลฐานจากคาเฮิรตซเปนคาเซมิโทน 45

3.6.2 การวิเคราะหขอมูลทางสถิติ 45

3.6.2.1 การวิเคราะหผลการออกเสียงวรรณยุกตทางสถิติ 45

3.6.2.2 การวิเคราะหผลการประเมินระดับสําเนียงทางสถิติ 46

3.7 การนําเสนอผลการวิจัย 48 บทที่ 4 การออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา 50

และผูพูดภาษาอูรดู

4.1การเปรียบเทียบผลการออกเสียงของผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา 51

และผูพูดภาษาอูรดู

4.1.1 การเปรียบเทียบสัทลักษณะของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดย 51

ผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดูเปนรายบุคคล

4.1.2 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยสัทลักษณะของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดย 56

ผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

Page 13: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(9)

4.1.3 พิสยัคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย 63

ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

4.1.4 คาระยะเวลาเฉลี่ยของสระที่มีวรรณยุกตแตกตางกันที่ออกเสียงโดย 65

ผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

4.2 ผลการวิเคราะหคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย 68

ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

4.2.1 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย 68

4.2.2 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา 71

4.2.2.1 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและ 78

ผูพูดภาษาพมา

4.2.2.2 คาเฉลี่ยของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา 83

4.2.3 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดู 86

4.2.3.1 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและ 94

ผูพูดภาษาอูรดู

4.2.3.2 คาเฉลี่ยของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดู 99 บทที่ 5 ผลการประเมินระดับสําเนียงของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู 103

5.1 ผลการประเมินระดับสําเนียงของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูรายบุคคล 105

5.2 ผลการประเมินระดับสําเนียงของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูในภาพรวม 110 บทที่ 6 สรุป อภิปรายผลการวิจัย และขอเสนอแนะ 111

6.1 สรุปผลการวิจัย 111

6.1.1 สรุปผลการวิจัยดานกลสัทศาสตร 113

6.1.1.1 คาความถี่มูลฐาน 113

(1) คาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา 113

และผูพูดภาษาอูรดูรายบุคคล

(2) คาเฉลี่ยของคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดย 114

ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

Page 14: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(10)

6.1.1.2 พิสัยคาความถี่มูลฐาน 115

6.1.1.3 คาระยะเวลาของสระ 115

6.1.2 สรุปผลการวิจัยการประเมินระดับสําเนียงตางประเทศ 116

6.2 อภิปรายผลการวิจัย 117

6.2.1 ระบบเสียงในภาษาแม 117

6.2.2 ปจจัยทีม่ีผลตอการออกเสียงภาษาที่สอง 118

6.2.3 ลักษณะการออกเสียงวรรณยุกตของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู 120

6.2.4 ความสมัพันธระหวางผลการออกเสยีงวรรณยุกตของผูพูดภาษาพมาและ 123

ผูพูดภาษาอูรดูกับผลการประเมินระดับเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

6.3 ขอเสนอแนะ 125

6.3.1 ความสมัพันธระหวางการรับรูและการออกเสียง 125

6.3.2 การเก็บขอมูลจากกลุมประชากรที่มีความเปราะบาง 126 รายการอางอิง 127 ภาคผนวก

ภาคผนวก ก เอกสารอนุมติจริยธรรมการวิจัยในคน 135

ภาคผนวก ข แบบสอบถามประวัติของผูพูดภาษาพมา 136

ภาคผนวก ค แบบสอบถามประวัติของผูพูดภาษาอูรดู 144

ภาคผนวก ง แบบสอบถามประวัติของผูประเมินระดับสําเนียง 151 ประวัติผูเขียน 152

Page 15: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(11)

สารบญัตาราง ตารางที่ หนา

2.1 ระบบเสียงพยัญชนะภาษาไทย 9

2.2 ระบบเสียงสระภาษาไทย 10

2.3 ระบบเสียงพยัญชนะภาษาพมา 13

2.4 ระบบเสียงสระภาษาพมา 14

2.5 ระบบเสียงพยัญชนะภาษาอูรดู 16

2.6 ระบบเสียงสระภาษาอูรดู 17

3.1 ภูมิหลงัและขอมูลการใชภาษาไทยของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู 34

3.2 ตัวอยางแบบประเมินระดับสําเนียง 41

4.1 สัทลักษณะของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา 51

และผูพูดภาษาอูรดู

4.2 คาเฉลี่ยสัทลักษณะของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย 61

ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

4.3 พิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย 64

ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

4.4 คาเฉลี่ยและคาเบ่ียงเบนมาตรฐานของคาระยะเวลาของสระที่จําแนกตามวรรณยุกต 66

ที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

4.5 การเปรียบคาระยะเวลาของสระที่มวีรรณยุกตตางๆ ดวยวิธีการทางสถิติ 67

4.6 คาเฉลี่ยและคาเบ่ียงเบนมาตรฐานของคาระยะเวลาของสระในภาพรวมของทุก 67

วรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

4.7 พิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย 70

4.8 พิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดพมา 84

4.9 พิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดู 100

5.1 ผลคะแนนประเมินระดับสําเนียงของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูรายบุคคล 105

5.2 การเปรียบเทียบผลการประเมินระดับสําเนียงกับผลการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทย 107

ของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

5.3 ผลคะแนนประเมินระดับสําเนียงของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูในภาพรวม 110

6.1 ผลการวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตภาษาไทย ผลการประเมินระดับสําเนียง 112

ภูมิหลงั และขอมูลการใชภาษาไทยของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

Page 16: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(12)

สารบญัภาพ

ภาพที ่ หนา

2.1 สัทลักษณะของวรรณยุกตภาษาไทยในคําพูดเด่ียวพยางคเดียว 11

2.2 สัทลักษณะของวรรณยุกตภาษาพมา 15

3.1 ตัวอยางบัตรคําทดสอบ 37

3.2 ตัวอยางบัตรคําเราการรับรู 38

3.3 ไฟลเสียงที่ประกอบดวยเสียง 3 พยางค 43

3.4 ไฟลเสียงที่เตรียมนําไปวิเคราะหคาความถี่มูลฐาน 44

4.1 วรรณยุกตสามัญที่ออกเสยีงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู 57

4.2 วรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู 58

4.3 วรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู 59

4.4 วรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู 59

4.5 วรรณยุกตจัตวาที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู 60

4.6 ลําดับของวรรณยุกตภาษาไทยที่ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูออกเสียงได 62

ใกลเคียงกบัวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

4.7 ชวงพิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย 63

ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

4.8 พิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย 65

ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

4.9 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย 68

4.10 พิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย 70

4.11 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาคนที่ 1 72

4.12 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาคนที่ 2 74

4.13 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาคนที่ 3 76

4.14 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาคนที่ 4 77

4.15 วรรณยุกตสามัญที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาพมา 79

4.16 วรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาพมา 80

4.17 วรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาพมา 80

4.18 วรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาพมา 81

Page 17: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(13)

4.19 วรรณยุกตจัตวาที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาพมา 82

4.20 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา 83

4.21 พิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา 85

4.22 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 1 86

4.23 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 2 88

4.24 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 3 90

4.25 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 4 92

4.26 วรรณยุกตสามัญที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาอูรดู 94

4.27 วรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาอูรดู 95

4.28 วรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาอูรดู 96

4.29 วรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาอูรดู 97

4.30 วรรณยุกตจัตวาที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาอูรดู 98

4.31 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดู 99

4.32 พิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดู 101

6.1 ทํานองเสียงของประโยคบอกเลาในภาษาอูรดูที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูเพศชาย 122

Page 18: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(14)

รายการสญัลักษณและคาํยอ

สัญลักษณ/คํายอ คําเต็ม/คาํจํากัดความ

T

B

U

ผูพูดภาษาไทย

ผูพูดภาษาพมา

ผูพูดภาษาอูรดู

Page 19: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

1

บทท่ี 1

บทนํา

1.1 ความสําคญัของปญหา

ตามแนวทางสัทวิทยา ภาษาอาจแบงเปนสองกลุม คือ ภาษาที่มีระบบเสียงวรรณยุกต

และภาษาที่ไมมีระบบเสียงวรรณยุกต ยิพ (Yip, 2007: 229) กลาววา ภาษาที่มีระบบเสียงวรรณยุกต

คือ ภาษาที่ระดับเสียง (pitch) ของคําสามารถเปลี่ยนความหมายของคําได กวารอยละ 70 ของภาษา

บนโลกจัดเปนภาษาที่มีระบบเสียงวรรณยุกต ภาษาเหลาน้ีพูดโดยคนจํานวนมหาศาล และมีการ-

กระจายตัวทางภูมิศาสตรที่กวางขวาง เชน ผูพูดภาษาจีนแมนดารินประมาณ 885 ลานคน ผูพูด-

ภาษาโยรูบาประมาณ 20 ลานคน และผูพูดภาษาสวีเดนประมาณ 9 ลานคน เปนตน

ในปจจุบัน การศึกษาการรับภาษาที่สอง (second language acquisition) เปน

สาขาวิชาหน่ึงที่นักภาษาศาสตรใหความสนใจ โดยเฉพาะการศึกษาเชิงเปรียบเทียบระหวางประชากร

ที่พูดภาษาแมตางกัน (cross-linguistic) ในการศึกษาการรับเสียงวรรณยุกต นักภาษาศาสตรกลุม

หน่ึงจะศึกษาการรับสียงวรรณยุกตในภาษาที่สองของผูพูดภาษาแมที่มีระบบเสียงวรรณยุกตและผูพูด

ภาษาแมที่ไมมีระบบเสียงวรรณยุกตเพ่ือพิสูจนวา ระบบเสียงวรรณยุกตในภาษาแมจะมีอิทธิพลตอ

การรับเสียงวรรณยุกตในภาษาที่สองหรือไม อยางไร

จากการทบทวนวรรณกรรม ผูวิจัยพบวา นักภาษาศาสตรเหลาน้ีสามารถแบงเปน 3 กลุม

ตามสมมุติฐานที่แตกตางกัน ไดแก 1. กลุมที่เช่ือวา ผูพูดภาษาแมที่ไมมีระบบเสียงวรรณยุกตไม

สามารถรับรูเสียงวรรณยุกตในภาษาที่สองไดเพราะภาษาแมไมมีคาความถี่มูลฐานที่สื่อความหมาย

ในทางอรรถศาสตร (lexical tone) (ดูเพ่ิมเติมใน Wayland & Guion, 2004) 2. กลุมที่เช่ือวา ผูพูด-

ภาษาแมที่ไมมีระบบเสียงวรรณยุกตสามารถรับรูเสียงวรรณยุกตในภาษาที่สองไดดวยการเทียบเคียง

คาความถี่มูลฐานในภาษาแม ซึ่งปรากฏในรูปทํานองเสียง (intonation) กับเสียงวรรณยุกตในภาษาที่

สอง เชนเดียวกับผูพูดภาษาแมที่มีระบบเสียงวรรณยุกตที่เทียบเคียงวรรณยุกตในภาษาที่สองกับ

วรรณยุกตในภาษาแม (ดูเพ่ิมเติมใน Hallé et al., 2004) และ 3. กลุมที่เช่ือวา ระบบเสียงของทุก

ภาษามีความเปนเอกเทศ ไมสามารถเทียบเคียงกันได แมวากลุมตัวอยางจะพูดภาษาแมที่มีระบบเสียง

วรรณยุกตเชนเดียวกับภาษาที่สอง แตตัวบงช้ีทางกลสัทศาสตร (acoustic cue) ของวรรณยุกตใน

ภาษาแมและภาษาที่สองมีความแตกตางกัน ดังน้ัน จึงไมมีผูพูดกลุมใดไดเปรียบหรือเสียเปรียบในการ

รับรูวรรณยุกตในภาษาที่สอง (ดูเพ่ิมเติมใน Wang et al., 2004)

Page 20: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

2

งานวิจัยที่ศึกษาการรับรูวรรณยุกตจํานวนมากพบวา ผูพูดภาษาแมที่มีระบบเสียง-

วรรณยุกตสามารถออกเสียงและรับรูเสียงวรรณยุกตในภาษาที่สองไดดีกวาผูพูดภาษาแมที่ไมมีระบบ-

เสียงวรรณยุกต (Lee, Vakoch & Wurm, 1996; Wayland & Guion, 2003, 2004; So & Best,

2010; Qin, & Mok, 2011, 2013) ดังน้ัน ผูวิจัยจึงเห็นวา ระบบเสียงวรรณยุกตในภาษาแมนาจะเปน

ปจจัยหน่ึงที่สงผลใหผูพูดภาษาแมที่มีระบบเสียงวรรณยุกตออกเสียงวรรณยุกตในภาษาที่สองดีกวาผู-

พูดภาษาแมที่ไมมีระบบเสียงวรรณยุกต

ประเทศไทยเปนประเทศที่ประกอบดวยประชากรหลากหลายเช้ือชาติ ประชากรเหลาน้ี

เขามาพํานักในประเทศไทยดวยวัตถุประสงคที่แตกตางกัน เชน ประกอบอาชีพ ศึกษา หรือติดตาม

สามหีรือภรรยาที่ประกอบอาชีพในประเทศไทย เปนตน ดังน้ัน การสื่อสารดวยภาษาไทยจึงเปนทักษะ

ที่จําเปนตอการดํารงชีวิตประจําวัน แตเน่ืองจากชาวตางประเทศเหลาน้ีมาจากประเทศที่พูดภาษาแม

แตกตางกัน นักภาษาศาสตรกลุมหน่ึงเห็นวา ระบบเสียงในภาษาแมอาจสงผลใหชาวตางประเทศแต

ละคนรับรูและออกเสียงภาษาไทยแตกตางกัน การรับเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของชาวตางประเทศ

จึงเปนหัวขอวิจัยหน่ึงที่ไดรับความสนใจจากนักภาษาศาสตรชาวไทยและชาวตางประเทศ

งานวิจัยเหลาน้ีศึกษาวรรณยุกตภาษาไทยใน 3 มุมมอง ไดแก 1. การออกเสียง-

วรรณยุกตภาษาไทยของชาวตางประเทศ (เชน วิไลลักษณ, 2543; ชนิกา, 2545; ศุลีพร, 2547;

เหงียน, 2549; สุรีเนตร, 2550; ธนิกาญจน, 2550; กันตินันท, 2557) 2. การรับรูเสียงวรรณยุกต

ภาษาไทยของชาวตางประเทศ (เชน Ioup & Tansomboon 1987; Burnham et al., 1992;

Burnham & Francis, 1997; Wayland & Guion, 2003, 2004; Burnham, 2000 อางถึงใน

Burnham & Mattock, 2007: 264-266) และ 3. การศึกษาทั้งการออกเสียงวรรณยุกตของชาว

ตางประเทศและการรับรูเสียงโดยผูพูดภาษาไทย (เชน Wayland, 1997; ธนภัทร, 2552)

ผูวิจัยมองวา การศึกษาทั้งการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของชาวตางประเทศและ

การรับรูเสียงโดยผูพูดภาษาไทยนาจะทําใหเห็นความสามารถทางภาษาของผูพูดชาวตางประเทศ

มากกวาการศึกษาเพียงการออกเสียงหรือการรับรูเสียงของผูพูดชาวตางประเทศเพราะในความเปน

จริง แมกลุมตัวอยางจะออกเสียงวรรณยุกตไดใกลเคียงเจาของภาษา ซึ่งพิจารณาไดจากสัทลักษณะ

ของวรรณยุกต แตผูประเมินซึ่งเปนเจาของภาษาก็สามารถรับรูไดวา เสียงดังกลาวไมใชเสียงของผูพูด-

ภาษาไทย สอดคลองกับคํากลาวของมุนโร (Munro, 1993) ที่วา เจาของภาษามีความรูวา เสียงใดคือ

ตัวอยางเสียงที่ดีของภาษาที่พวกเขาพูดเปนภาษาแม ดังน้ัน ในงานวิจัยน้ี ผูวิจัยจึงศึกษาทั้งผลการ

ออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของชาวตางประเทศและการรับรูผลการออกเสียงดังกลาวโดยผูพูด-

ภาษาไทย

Page 21: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

3

กระน้ัน ในงานวิจัย ผูวิจัยไมศึกษาเชิงเปรียบเทียบระหวางผลการออกเสียงและผลการ-

รับรูของผูพูดตางชาติที่เรียนรูภาษาไทยเพราะประเด็นดังกลาวยังมีขอถกเถียงวา ระหวางการออก-

เสียงและการรับรูเสียง ผูพูดภาษาตางประเทศมีความสามารถดานใดมากกวากัน แมโบลสโลวและคัง

(Broselow & Kang, 2013) ไดกลาววา นักวิจัยดานการรับภาษาที่สองตางเสนอวา อุปสรรคในการ-

ออกเสียงภาษาที่สองลวนเปนผลมาจากการรับรูเสียงที่ไมถูกตอง แตงานวิจัยบางเรื่องกลับพบวา

ปรากฏการณเชนน้ีไมไดพบในผูพูดทุกกลุม ดังที่ ฮาเยส-ฮารบและมาซึดะ (Hayes-Harb & Masuda,

2008) ไดพบวา ผูพูดภาษาอังกฤษที่เรียนภาษาญี่ปุนบางคนประสบความสําเร็จในการแยกแยะคู-

เทียบเสียงพยัญชนะภาษาญี่ปุน แตไมสามารถออกเสียงคูเทียบเสียงพยัญชนะเหลาน้ันใหแตกตางจาก

กันได ในทางกลับกัน คีจัก (Kijak, 2009) ไดพบวา ผูพูดภาษาแมตางกันจะออกเสียงภาษาโปลิชได

ดีกวาการรับรู ผูวิจัยจึงเห็นวา การศึกษาเชิงเปรียบระหวางการออกเสียงและการรับรูเสียงของผูพูด-

ตางประเทศเปนประเด็นที่ซับซอนและผลการวิจัยแปรไปตามกลุมประชากร ดังน้ัน ผูวิจัยจึงศึกษา

เพียงการออกเสียงของชาวตางประเทศเพราะผูวิจัยเห็นวา การออกเสียงมีผลตอการรับรูของเจาของ

ภาษาตลอดทั้งการทําความเขาใจระหวางเจาของภาษาและผูพูดตางประเทศ

จากการสังเกตแบบมีสวนรวม0

1 (participant observation) ผูวิจัยพบวา เขตบางกะป

กรุงเทพมหานคร มีความนาสนใจเพราะประกอบดวยประชากรจากหลายประเทศ ซึ่งตางจากพ้ืนที่อ่ืน

ในกรุงเทพมหานครหรือปริมณฑลที่มีประชากรกลุมหลักเพียงกลุมเดียว เชน พ้ืนที่พาหุรัดที่ประชากร

สวนใหญเปนคนอินเดีย หรือเขตอุตสาหกรรมของจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรปราการ หรือ

จังหวัดสมุทรสงครามที่ประชากรสวนใหญเปนคนพมา

นอกจากน้ี ผูวิจัยพบวา ประชากรในเขตบางกะปมีความหลากหลายทางชาติพันธุ ซึ่ง

สามารถแบงเปน 2 กลุมใหญ ไดแก 1. กลุมประเทศเพ่ือนบานประเทศไทย เชน คนพมา คนกะเหรี่ยง

คนไทใหญ คนมอญ คนอาระกัน คนเขมร และคนลาว เปนตน และ 2. กลุมที่มาจากภูมิภาคเอเชียใต

เชน คนอินเดีย คนปากีสถาน คนบังกลาเทศ และคนเนปาล เปนตน

ประชากรสองกลุมน้ีมีความนาสนใจเพราะอาศัยอยูในสภาพแวดลอมเดียวกัน พวกเขา

รับรูภาษาไทยสําเนียงกรุงเทพเชนเดียวกัน อีกทั้ง การอาศัยในพ้ืนที่ใกลเคียงกันทําใหประชากร 2

กลุมน้ีเกิดความสนิทสนมและกลาที่จะสื่อสารระหวางกันมากกวาการสื่อสารกับคนไทย ซึ่งมี

สถานภาพเปนนายจางหรือลูกคา การสื่อสารระหวางกันเปนการแสดงออกซึ่งความเปนปกแผน

1 สุภางค (2549: 5) กลาววา การสังเกตแบบมีสวนรวม คือ การท่ีผูสังเกตเขาใชชีวิตรวมกับกลุมคน

ท่ีถูกศึกษา มีการทํากิจกรรมรวมกัน จนผูถูกศึกษายอมรับวา ผูสังเกตมีสถานภาพและบทบาทเชนเดียวกับตน ผู-

สังเกตจะตองปรับตัวใหเขากับกลุมคนท่ีถูกศึกษา โดยอาจเขาไปฝงตัวอยูในชุมชนเปนเวลานานจนคนในชุมชนรูสึก

วา เปนเรื่องธรรมดาท่ีมีนักวิจัยมาอาศัยอยู

Page 22: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

4

(solidarity) ดังน้ัน การใชภาษาไทยของชาวตางประเทศในเขตบางกะปจึงมีความนาสนใจทั้งในแง

ความหลากหลายทางชาติพันธุและการมีปฏิสัมพันธระหวางกลุมประชากร

ในบรรดาชาวตางประเทศที่อาศัยอยูในพ้ืนที่ดังกลาว ผูวิจัยสังเกตวา คนพมาและคน-

ปากีสถานนาจะมีจํานวนประชากรมากกวากลุมอ่ืน อีกทั้งสํานักงานขาหลวงใหญผูลี้ ภัยแหง

สหประชาชาติ (UNHCR) (2015) ไดระบุวา จํานวนผูอพยพ (refugees) ผูมองหาที่หลบภัย (asylum

seekers) และบุคคลไรรัฐ (stateless people) กวา 40 สัญชาติไดพํานักในประเทศไทย โดยเฉพาะ

ในเขตกรุงเทพมหานคร ประชากรกลุมใหญที่สุด คือ คนพมา (72,900 คนในเดือนมกราคม 2558

และ 53,600 คนในเดือนธันวาคม 2558) กลุมที่มีจํานวนประชากรรองลงมา คือ คนปากีสถาน (400

คนในเดือนมกราคม 2558 และ 700 คนในเดือนธันวาคม 2558) นอกจากน้ี ราเบีย (Rabia, 2014)

ไดกลาววา ผูลี้ภัยชาวปากีสถานประมาณ 10,000 คนอาศัยอยูในประเทศไทย โดยเฉพาะในเขต-

กรุงเทพมหานคร ซึ่งประชากรสวนใหญนับถือศาสนาคริสตที่หลีกหนีความขัดแยงทางศาสนา

นอกจากน้ี ผูวิจัยยังเห็นวา ประชากรสองกลุมน้ีนาสนใจดวยเหตุผล 3 ประการ คือ 1.

ชาวตางประเทศสองกลุมน้ีรับรูภาษาไทยดวยการสื่อสารกับคนไทย ตางจากงานวิจัยกอนหนาน้ีที่

กลุม-ตัวอยางเรียนภาษาไทยในหองเรียน (เชน เหงียน, 2549; ธนิกาญจน, 2550; ธนภัทร, 2552;

ดลชญา, 2555) หรือฝกรับรูเสียงภาษาไทยโดยผูพูดภาษาไทย (เชน Wayland & Guion, 2004;

Hallé et al., 2004) 2. ชาวตางประเทศสองกลุมน้ีเขามาประกอบอาชีพในประเทศไทยจํานวนมาก

แตไมปรากฏงานวิจัยเกี่ยวกับการออกเสียงและการรับรูเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของชาวตางประเทศ

สองกลุมน้ีมากอน และ 3. ภาษาพมาซึ่งเปนภาษาแมของคนพมาและภาษาอูรดูซึ่งเปนภาษาแมของ

คนปากีสถานมีระบบเสียงแตกตางกัน กลาวคือ ภาษาพมามีระบบเสียงวรรณยุกต แตไมปรากฏใน

ภาษาอูรดู

เหตุผลขางตนแสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู 1

2อาศัยในชุมชน

แวดลอมเดียวกันและมีประสบการณภาษาไทยใกลเคียงกัน กลาวคือ ประชากรทั้งสองกลุมเขามา

อาศัยในประเทศไทยในวัยผูใหญ ในทางภาษาศาสตรจิตวิทยาถือวา เด็กที่อายุเลย 12 ปไมสามารถรับ

ภาษาอยางเปนธรรมชาติเชนเดียวกับการรับภาษาที่หน่ึงในเด็กและพัฒนาไปจนเหมือนภาษาแม

(ศึกษาเพ่ิมเติมใน Steiberg, Nagata & Aline, 2001: 117) ดังน้ัน ผูพูดทั้งสองกลุมจึงมี

ประสบการณภาษาไทยใกลเคียงกันเพราะประชากรสวนใหญเขามาพํานักในประเทศไทยในวัยผูใหญ

แตประเด็นที่ผูพูดทั้งสองกลุมแตกตางกัน คือ ระบบเสียงในภาษาแม

2 เพ่ือบงชี้วา ประชากรสองกลุมนี้เปนประชากรจากพมาท่ีพูดภาษาพมาเปนภาษาแม และประชากร

จากประเทศปากีสถานท่ีพูดภาษาอูรดูเปนภาษาแม ไมใชผูพูดภาษาอ่ืนในประเทศพมาและประเทศปากีสถาน ผูวิจัย

จึงใชคําวาผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูแทนคําวาคนพมาและคนปากีสถาน

Page 23: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

5

ผูวิจัยจึงตองการศึกษาวา ในขณะที่ประสบการณภาษาไทยและสภาพแวดลอมของ

ประชากรมีความใกลเคียงกัน แตพูดภาษาแมตางกัน ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูจะออกเสียง

วรรณยุกตภาษาไทยแตกตางกันอยางไร และผลการออกเสียงน้ีจะสงผลตอการประเมินระดับสําเนียง

ของผูพูดภาษาไทยอยางไร ผูวิจัยจึงนําผลการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของผูพูดภาษาพมาและผู-

พูดภาษาอูรดูไปใหผูพูดภาษาไทยประเมินระดับสําเนียงเพ่ือศึกษาวา ผูพูดกลุมใดออกเสียงวรรณยุกต

ภาษาไทยไดใกลเคียงวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยมากกวา

1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย

1.2.1 เพ่ือวิเคราะหและเปรียบเทียบลักษณะทางกลสัทศาสตรของวรรณยุกตภาษาไทยที่

ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

1.2.2 เพ่ือศึกษาผลการประเมินระดับสําเนียงตางประเทศของผูพูดภาษาพมาและผูพูด-

ภาษาอูรดูซึ่งประเมินโดยผูพูดภาษาไทย

1.3 สมมุติฐานของการวิจัย 1.3.1 ผูพูดภาษาพมาออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทยมากกวาผู-

พูดภาษาอูรดู

1.3.2 ผลการออกเสียงภาษาไทยของผูพูดภาษาพมาไดรับการประเมินวา มีสําเนียง-

ตางประเทศนอยกวาผลการออกเสียงของผูพูดภาษาอูรดู

1.4 ขอบเขตของการวิจัย

1.4.1 ศึกษาคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตที่ปรากฏในคําพูดเด่ียวพยางคเดียว

1.4.2 ประชากรศึกษา คือ ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูที่พํานักในเขตบางกะป

กรุงเทพมหานคร

1.5 นิยามคําศัพทเฉพาะ

คาความถ่ีมูลฐาน (fundamental frequency) หมายถึง ลักษณะทางกลสัทศาสตรของ

ระดับเสียงที่เกิดจากอัตราการสั่นของเสนเสียง หนวยในการวัด คือ เฮิรตซ ในงานวิจัยน้ี คาเฮิรตซจะ

ปรับเปนคาเซมิโทนเพ่ือลดการแปรระหวางบุคคล

Page 24: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

6

พิสัยคาความถ่ีมูลฐาน (fundamental frequency range) หมายถึง ชวงระหวางคา-

ตํ่าสุดและคาสูงสุดของคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกต

คาระยะเวลาของสระ (vowel duration) ระยะเวลาที่ใชในการเปลงเสียงสระ ซึ่งเริ่มวัด

จากจุดเร่ิมตนของสระ (vowel onset) จนถึงจุดสิ้นสุดของสระ (vowel offset) มีหนวยในการวัด

เปนมิลลิวินาที (millisecond หรือ msec) เน่ืองจากสระเปนเสียงกองและนําพาคาความถี่มูลฐาน

ดังน้ัน คาระยะของวรรณยุกตจึงวัดจากคาระยะเวลาของสระ

เซมิโทน (semitone) หมายถึง คาความถ่ีมูลฐานที่แปลงจากคาเฮิรตซเปนคาเซมิโทน

โนแลน (Nolan, 2007) พบวา การแปลงคาเฮิรตซเปนคาเซมิโทนสามารถลดการแปรของคาความถี่-

มูลฐานระหวางบุคคล ซึ่งเกิดจากความแตกตางดานเพศหรืออายุ อีกทั้ง คาเซมิโทนสามารถ

เทียบเคียงไดกับการรับรูมากที่สุด

ลักษณะทางกลสัทศาสตร (acoustic characteristics) ในงานวิจัยน้ี หมายถึง ลักษณะ

ทางกลสัทศาสตรของวรรณยุกตซึ่งพิจารณาจากคาความถี่มูลฐาน พิสัยคาความถี่มูลฐาน และคา-

ระยะเวลาของสระ

ผูพูดภาษาพมา (native speakers of Burmese) หมายถึง คนพมาเพศชายที่พูด-

ภาษาพมาเปนภาษาแม เกิดและเติบโตในประเทศพมา อายุระหวาง 20 – 50 ป พํานักในเขตบาง-

กะป กรุงเทพมหานคร เพ่ือประกอบอาชีพสองปข้ึนไป ไมเคยเรียนภาษาไทยในช้ันเรียน และรับ

ภาษาไทยดวยการสื่อสารโดยตรงกับผูพูดภาษาไทย

ผูพูดภาษาอูรดู (native speakers of Urdu) หมายถึง คนปากีสถานเพศชายที่พูด

ภาษาอูรดูเปนภาษาแม เกิดและเติบโตในประเทศปากีสถาน อายุระหวาง 20 – 50 ป พํานักในเขต-

บางกะป กรุงเทพมหานคร เพ่ือประกอบอาชีพสองปข้ึนไป ไมเคยเรียนภาษาไทยในช้ันเรียน และรับ

ภาษาไทยดวยการสื่อสารโดยตรงกับผูพูดภาษาไทย

ภาษาวรรณยุกต (tonal language) หมายถึง ภาษาที่ระดับเสียงสูงตํ่าประจําคํา

สามารถเปลี่ยนความหมายของคํา

วรรณยุกตคงระดับ (level tone) หมายถึง วรรณยุกตที่คาความถ่ีมูลฐานจากชวง

เริ่มตนถึงชวงทายของการออกเสียงสระมีลักษณะคงระดับ

วรรณยุกตเปลี่ยนระดับ (contour tone) หมายถึง วรรณยุกตที่คาความถ่ีมูลฐานจาก

ชวงเริ่มตนถึงชวงทายของการออกเสียงสระเปลี่ยนแปลงเพ่ิมขึ้นหรือลดลงอยางเห็นไดชัด

คําทดสอบ (token) หมายถึง คําหรือประโยคที่ใชทดสอบการออกเสียงของกลุมตัวอยาง

ในงานวิจัยน้ี คําทดสอบ คือ คําพูดเด่ียวพยางคเดียวที่ใหกลุมตัวอยางออกเสียงเพ่ือนําขอมูลเสียงน้ัน

ไปวิเคราะหคาความถี่มูลฐานตอไป

Page 25: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

7

คําเราการรับรู (stimuli) หมายถึง ถอยคําที่ใชทดสอบการรับรูของผูฟง ในงานวิจัยน้ี คํา

เราการรับรู คือ ประโยคที่มีความยาว 4 – 8 พยางคที่ใหคนไทยฟงเพ่ือประเมินระดับสําเนียง

ตางประเทศของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

การรับภาษาที่สอง (second language acquisition) หมายถึง กระบวนการเรียนรู

ภาษาอ่ืนที่ไมใชภาษาแม ซึ่งเรียนรูเมื่อผานวัยเด็กไปแลว ทั้งน้ี ภาษาอ่ืนอาจมีมากกวา 1 หรือ 2

ภาษา (ราชบัณฑิตยสถาน, 2553: 397)

การรับรู (perception) หมายถึง ความสามารถในการทําความเขาใจหรือแยกแยะเสียง

ตางๆ ซึ่งความสามารถน้ีเกิดจากการสั่งสมประสบการณเกี่ยวกับขอมูลภาษา ในงานวิจัยน้ี การรับรู

หมายถึง การรับรูวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูโดยผูพูด-

ภาษาไทย ซึ่งทดสอบโดยการประเมินระดับสําเนียงตางประเทศ (foreign accent rating)

การประเมินระดับสําเนียงตางประเทศ (foreign accent rating) หมายถึง การ

ประเมินเสียงพูดของชาวตางประเทศโดยเจาของภาษาวา ชาวตางประเทศมีระดับสําเนียงตางประเทศ

ในระดับใดเมื่อออกเสียงภาษาที่ตนพูด

1.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1.6.1 งานวิจัยน้ีเปนแนวทางในการศึกษาการออกเสียงภาษาไทยของชาวตางประเทศ

ดานอ่ืนๆ เชน พยัญชนะ สระ ดวยแนวทางกลสัทศาสตรและการประเมินระดับสําเนียงตางประเทศ

1.6.2 งานวิจัยน้ีเปนประโยชนตอการสอนภาษาที่สอง โดยผูสอนสามารถตอบคําถามได

วา ปจจัยใดมีอิทธิพลตอการเรียนภาษาที่สอง และสถานการณการเรียนแบบใดที่เอ้ือตอการรับภาษา

ที่สอง

1.6.3 งานวิจัยตองการนําเสนอวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูเขามาพํานักใน

ประเทศไทยจํานวนมาก แตมีงานวิจัยจํานวนนอยที่ศึกษาเกี่ยวกับประชากรกลุมดังกลาว ผูวิจัยหวัง

เปนอยางยิ่งวา งานวิจัยน้ีจะจุดประกายความคิดใหนักวิจัยทานอ่ืนๆ ใหความสําคัญตอประชากรทั้ง 2

กลุมและรวมกันศึกษาในแงมุมตางๆ เพ่ือแสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูตลอดทั้ง

ชนกลุมนอยอ่ืนๆ ที่อาศัยอยูในประเทศไทยมีศักด์ิศรีความเปนมนุษยไมตางจากชาวตางประเทศที่มา

จากประเทศที่มีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ และผลที่ตามมา คือ ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูมี

ทัศนคติที่ดีตอคนไทย เปนมิตร ไมหวาดกลัว และอาศัยอยูรวมกันในสังคมไทยอยางสงบสุขเพราะ

ประชากรทั้งสองกลุมรับรูไดวา คนไทยพยายามที่จะทําความเขาใจและใหความสําคัญตอพวกเขา

Page 26: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

8

บทท่ี 2

งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

ผูวิจัยทบทวนงานวิจัยเกี่ยวกับระบบเสียงภาษาไทย ระบบเสียงภาษาพมา และระบบ-

เสียงภาษาอูรดู และการรับภาษาที่สอง

2.1 ระบบเสียงภาษาไทย ภาษาพมา และภาษาอูรดู

2.1.1 ระบบเสียงภาษาไทย

กัลยา ติงศภัทิยและอาบรัมสัน (Tingsabadh & Abramson, 1993: 24) กลาว

วา ภาษาไทยมาตรฐานพูดโดยคนที่มีการศึกษา ใชในการประกาศขาวทางวิทยุและโทรทัศน ในการ

เรียนการสอน และปรากฏในตําราไวยากรณและพจนานุกรม

ภาษาไทยมาตรฐาน คือ ภาษาไทยกรุงเทพ ซึ่งจัดเปนภาษายอยมาตรฐาน

(standard dialect) ของประเทศไทย ราชบัณฑิตสถาน (2553: 434) กลาววา ภาษายอยมาตรฐาน

หมายถึง ภาษายอยของภาษาใดภาษาหน่ึงที่สังคมถือวาถูกตองมากกวาภาษายอยอ่ืนๆ อีกทั้ง เปน

ภาษายอยที่ผานกระบวนการจัดประมวลคําศัพท (codification) เพ่ือการจัดทําพจนานุกรมและ

ตํารา-ไวยากรณ

เน่ืองจากภาษาไทยกรุงเทพไดรับการยอมรับใหเปนภาษามาตรฐาน ประชากร

สวนใหญที่อาศัยอยูในกรุงเทพมหานครตลอดทั้งชาวตางประเทศที่พํานักในประเทศไทยใชเปน

ภาษากลางในการสื่อสาร อีกทั้ง เพ่ือควบคุมไมใหเสียงของคําทดสอบ (tokens) และคําเราการรับรู

(stimuli) แปรไปตามปจจัยดานถิ่นที่อยู ผูวิจัยจึงศึกษาการออกเสียงภาษาไทยสําเนียงกรุงเทพเพียง

สําเนียงเดียว

ในการอธิบายภาษาไทย ผูวิจัยจะนําเสนอระบบเสียงพยัญชนะ ระบบเสียงสระ

และระบบเสียงวรรณยุกตตามลําดับดังน้ี

Page 27: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

9

2.1.1.1 ระบบเสียงพยัญชนะ

ตารางที่ 2.1

ระบบเสียงพยัญชนะภาษาไทย (Tingsabadh & Abramson, 1993: 24)

Bilabial Labio-

dent

Dent Alveolar Post-

alveolar

Palatal Velar Glottal

Plosive

Nasal

Fricative

Affricate

Trill

Approximant

Lateral

approximant

ลักษณะที่นาสนใจของภาษาไทย คือ พยัญชนะตนเสียงกัก (plosive)

สามารถปรากฏได 3 ลักษณะ คือ เสียงกัก-กอง /, / กัก-ไมกอง-พนลม /, , / และเสียงกัก-ไม

กอง-ไมพนลม /, , / และพยัญชนะกัก-ไมกอง-ไมพนลม พยัญชนะนาสิก (nasal) และเสียงกึ่งสระ

(glide) เทาน้ันที่สามารถปรากฏในตําแหนงทายพยางคได

นอกจากน้ี พยัญชนะตนสามารถปรากฏเปนพยัญชนะควบกล้ําไดโดย

เสียงพยัญชนะเสียงแรกเปนพยัญชนะกัก ไดแก หนวยเสียง แลว

ตามดวยหนวยเสียง

Page 28: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

10

2.1.1.2 ระบบเสียงสระ

ตารางที่ 2.2

ระบบเสียงสระภาษาไทย (Wayland, 1997: 349)

Front Back-unrounded Back-rounded

High / / /

Mid / / /

Low / / /

Diphthongs

ตารางที่ 2.2 แสดงใหเห็นวา ภาษาไทยมีสระจํานวน 21 หนวยเสียง

โดยจําแนกเปนสระเด่ียว 18 หนวยเสียง และสระประสม 3 หนวยเสียง เวยแลนด (Wayland, 1997)

กลาววา สระเด่ียวทั้ง 18 หนวยเสียงเกิดจากสระเด่ียว 9 หนวยเสียง แตความสั้น-ยาวของเสียงสระมี

ผลตอความหมายของคํา ดังจะพิจารณาไดจากคูเทียบเสียง ปก ปาก หรือ ขัด ขาด เปนตน ดังน้ัน

ภาษาไทยจึงมีสระเด่ียว 18 หนวยเสียง ซึ่งทั้ง 18 หนวยสียงน้ีสามารถปรากฏรวมกับพยัญชนะตน

และพยัญชนะทายหรือปรากฏกลางพยัญชนะตนและพยัญชนะทายได

2.1.1.3 ระบบเสียงวรรณยุกต

จากการศึกษาระบบเสียงวรรณยุกตภาษาไทย อาบรัมสัน (Abramson,

1962) พบวา วรรณยุกตในภาษาไทยมี 5 หนวยเสียง ซึ่งจําแนกเปนวรรณยุกตคงระดับ (static tone)

หมายถึง วรรณยุกตที่คาความถี่มูลฐานจากชวงเริ่มตนถึงชวงทายของสระคอนขางคงระดับ ไดแก

วรรณยุกตสามัญ วรรณยุกตเอก และวรรณยุกตตรี และวรรณยุกตเปลี่ยนระดับ (dynamic tone)

หมายถึง วรรณยุกตที่คาความถี่มูลฐานจากชวงเริ่มตนถึงชวงทายของสระเพ่ิมขึ้นหรือลดลงอยางเห็น

ไดชัด ไดแก วรรณยุกตโทและวรรณยุกตจัตวา ดังจะเห็นในภาพที่ 2.1

Page 29: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

11

ภาพที่ 2.1 สัทลักษณะของวรรณยุกตภาษาไทยในคําพูดเด่ียวพยางคเดียว

(คัดลอกจาก Abramson, 1962: 126)

อยางไรก็ตาม ผลการศึกษาของงานวิจัยจํานวนหน่ึงที่ศึกษาวรรณยุกต

ภาษาไทยไมสอดคลองกับผลการวิจัยของอาบรัมสัน จากการทบทวนวรรณกรรม ผูวิจัยเห็นวา

วรรณยุกตบางหนวยเสียง เชน วรรณยุกตตรีมีการแปรไปตามยุคสมัย โดยในยุคแรกเริ่มที่มีการศึกษา

วรรณยุกตภาษาไทย แบรดลี (Bradley, 1911) พบวา วรรณยุกตตรีมีสัทลักษณะกลาง-ตก (mid-

falling) ซึ่งตางจากผลการวิจัยของอาบรัมสัน (Abramson, 1962) ที่พบวา วรรณยุกตตรีมีสัท-

ลักษณะสูงระดับ (high level) แตมีสัทลักษณะสูง-ขึ้น (high-rising) ดังปรากฏในงานวิจัยของอภิ-

ลักษณ (Tumtavitikul, 1992) นอกจากน้ี งานวิจัยของมอเรนและซีกา (Moren & Zsiga, 2006) ได

พบวา วรรณยุกตตรีมีสัทลักษณะกลาง-ขึ้น (mid-rising) ซึ่งถือวา มีความใกลเคียงกับผลการศึกษา

ของอภิลักษณ

สวนผณินทราและรุงวิมล (Teeranon & Rungrojsuwan, 2009: 34 -

44) ไดศึกษาการเปลี่ยนแปลงของวรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยคนสองรุนอายุ คือ 60 ปข้ึนไป และตํ่า

กวา 20 ป ผลการศึกษาพบวา วรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยคนอายุ 60 ปข้ึนไปมีสัทลักษณะสูงระดับ

(high level) ตางจากวรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยคนอายุตํ่ากวา 20 ปที่มีสัทลักษณะกลาง-ขึ้น

(mid-rising) ผณินทราและรุงวิมลเสนอวา วรรณยุกตตรีมีแนวโนมที่จะเปนวรรณยุกตเปลี่ยนระดับ

นอกจากน้ี การเปลี่ยนแปลงเชนน้ียังปรากฏในวรรณยุกตเอก (low) ดวย ดังน้ัน จึงควรมีการศึกษา

Page 30: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

12

เพ่ือหาขอสรุปวา วรรณยุกตตรีและวรรณยุกตเอกควรจัดเปนวรรณยุกตระดับตามแนวคิดของอาบรัม-

สันอยูหรือไม

ผูวิจัยเห็นวา แมอาบรัมสันศึกษาวรรณยุกตภาษาไทยดวยแนวทางกล-

สัทศาสตรที่เนนอภิปรายสัทลักษณะตามที่ปรากฏจริง กระน้ัน ผลการวิจัยของอาบรัมสันไดนําไปสู

การศึกษาวรรณยุกตในระดับสัทวิทยา ซึ่งเปนการศึกษาเพ่ือจัดระบบเสียงวรรณยุกต วรรณยุกต

ภาษาไทยทั้ง 5 หนวยเสียงจึงจําแนกออกเปนสองกลุมเพ่ือใหงายตอการทําความเขาใจระบบเสียงใน

ภาพรวม ดังที่อาบรัมสัน (Abramson, 1978: 325) ไดกลาววา แมขอถกเถียงในประเด็นการออก-

เสียงวรรณยุกตคงระดับและวรรณยุกตเปลี่ยนระดับยังไมมีขอยุติ กระน้ัน การจัดกลุมวรรณยุกตถือ

เปนประโยชนในการแสดงใหเห็นถึงตัวบงช้ีทางกลสัทศาสตร (acoustic cues) ที่ใชในการแยกแยะ

หนวยเสียงวรรณยุกตภาษาไทย

ในงานวิจัยน้ี ประชากรศึกษา คือ ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูที่

จําเปนตองสื่อสารกับผูพูดภาษาไทยวัยกลางคน จึงอาจกลาวไดวา กลุมตัวอยางดังกลาวรับรูภาษาไทย

สมัยปจจุบัน ไมใชภาษาไทยที่พูดโดยคนอายุ 60 ปข้ึนไป ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของผณินทราและ

รุงวิมล (Teeranon & Rungrojsuwan, 2009) ที่วา ผูพูดภาษาไทยที่อายุไมเกิน 60 ปมีแนวโนมที่จะ

ออกเสียงวรรณยุกตตรีแตกตางจากแนวคิดของอาบรัมสัน (Abramson, 1962)

ผูวิจัยจึงเห็นวา สัทลักษณะของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยกลุม

ตัวอยางทั้ง 2 กลุมนาจะแตกตางจากการจําแนกของอาบรัมสัน ดังน้ัน ในงานวิจัยน้ี ผูวิจัยจึง

พิจารณาสัทลักษณะของวรรณยุกตตามที่ปรากฏจริง โดยไมเนนการจําแนกวา เปนวรรณยุกตเปลี่ยน

ระดับหรือวรรณยุกตคงระดับตามแนวคิดของอาบรัมสัน

2.1.2 ระบบเสียงภาษาพมา

ในประเทศเมียนมาร ชาวพมา คือ กลุมชาติพันธุที่มีจํานวนประชากรมากที่สุด

วีทลี (Wheatley, 1990: 834 - 835) กลาววา ภาษาพมา คือ ภาษาราชการของประเทศ แมประเทศ

พมาประกอบดวยกลุมชาติพันธุจํานวนมาก แตภาษาที่ประชากรกวา 37 ลานคนใชในฐานะภาษาที่

หน่ึงและภาษาที่สอง คือ ภาษาพมา ผูวิจัยเห็นวา ภาษาพมาเปนภาษาที่มีการศึกษาไวมาก อีกทั้ง มี

ระบบการเขียนที่เปนรูปธรรม ซึ่งระบบการเขียนน้ีเปนประโยชนในการจัดพิมพแบบสอบถามประวัติ

ของกลุมตัวอยาง ดังน้ัน ผูวิจัยจึงเลือกศึกษาการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของผูพูดภาษาพมา

แทนที่จะศึกษาการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของกลุมชาติพันธุอ่ืนในประเทศเมียนมาร เชน ผู-

พูดภาษากะเหรี่ยง ผู พูดภาษามอญ ผู พูดภาษาอาระกัน หรือผู พูดภาษาไทใหญ ภาษาพมา

ประกอบดวยระบบเสียงพยัญชนะ ระบบเสียงสระ และระบบเสียงวรรณยุกต ดังน้ี

Page 31: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

13

2.1.2.1 ระบบเสียงพยัญชนะ

ตารางที่ 2.3

ระบบเสียงพยัญชนะภาษาพมา (Wheatley, 1990: 839 - 841) Bilabial Dental Alveolar Post

Alveolar

Palatal Velar Glottal

Plosive

Nasal

Trill

Fricative

Approximant

Lateral

Approximant

ตารางที่ 2.3 แสดงใหเห็นวา ภาษาพมามีพยัญชนะจํานวนมาก วีทลี

(Wheatley, 1990: 839) อธิบายวา สาเหตุประการหน่ึง คือ พยัญชนะเสียงกองและเสียงไมกอง

สามารถออกเสียงแบบพนลมได นอกจากน้ี ลักษณะพิเศษประการหน่ึงของพยัญชนะในภาษาพมา คือ

เสียงนาสิกสามารถออกเสียงแบบพนลมได ไดแก หนวยเสียง และ

นอกจากเสียงนาสิกแลว พยัญชนะอีกหลายหนวยเสียงสามารถออกเสียงแบบพนลมได ไดแก หนวย-

เสียง

วีทลีกลาวเพ่ิมเติมวา โครงสรางพยางคในภาษาพมาประกอบดวย

พยัญชนะตน (initial) พยัญชนะกลาง (medial) สระ (vowel) และพยัญชนะทาย (final) ซึ่งจําแนก

เปนพยางคเต็ม (full syllable) และพยางคลดรูป (reduced syllable) พยางคเต็ม คือ พยางคที่

ประกอบดวยพยัญชนะตน พยัญชนะกลาง สระ และพยัญชนะทาย (CCVC) สวนพยางคลดรูป คือ

พยางคที่ประกอบดวยพยัญชนะตนและสระ (CV)

นอกจากน้ี พยัญชนะบางหนวยเสียงมีหนวยเสียงยอย (allophone)

เชน หนวยเสียง ซึ่งมีหนวยเสียงยอย คือ และ และหนวยเสียง มีหนวยเสียง

ยอย คือ ดวยเหตุน้ี นักภาษาศาสตรบางคนจึงมองวา พยัญชนะในภาษาพมามี 34 หนวยเสียง

(ดูเพ่ิมเติมใน Wheatley, 1990: 839)

ประเด็นสําคัญในภาษาพมาอีกประการหน่ึง คือ พยัญชนะกัก-ไมกอง-

เสนเสียง เปนไดทั้งพยัญชนะและวรรณยุกต หนวยเสียงน้ีสามารถปรากฏไดทั้งในตําแหนงตน-

พยางคและตําแหนงทายพยางค ในกรณีที่เสียงดังกลาวปรากฏทายพยางค ระดับเสียงของพยางคน้ันๆ

Page 32: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

14

จะสั้นและสูง การออกเสียงพยางคเปนเสียงสั้นและสูงเชนน้ีเปนตัวบงช้ีทางกลสัทศาสตรของ

วรรณยุกตในภาษาพมา

2.1.2.2 ระบบเสียงสระ

ตารางที่ 2.4

ระบบเสียงสระภาษาพมา (ดัดแปลงจาก Wheatley, 1990: 840)

Front Centre Back

High

Mid-High

Mid-Low

Low

ตารางที่ 2.4 แสดงใหเห็นวา สระเด่ียวในภาษาพมามีจํานวน 9 หนวย-

เสียง วีทลี (Wheatley, 1990: 840) กลาววา สระเหลาน้ีสามารถเปลงเสียงดวยเสียงเชิงซอน

(secondary articulation) แบบนาสิก (nasalized) ไดนอกจากน้ี เสียงสระเด่ียวเหลาน้ี

สามารถปรากฏเปนสระประสมได 4 หนวยเสียง คือ หนวยเสียง

2.1.2.3 ระบบเสียงวรรณยุกต

แมแกนดอร (Gandour, 1978: 41) ไดกลาววา ระดับเสียง (pitch)

เปนตัวบงช้ีทางสัทศาสตร (principal phonetic features) ที่สําคัญของวรรณยุกต แตในกรณี

วรรณยุกตภาษาพมา ผูวิจัยเห็นวา ลักษณะทางสัทศาสตรที่เปนตัวบงช้ีวรรณยุกตมีความหลากหลาย

เกินขอบเขตของระดับเสียง สอดคลองกับคํากลาวของโอฮาลา (Ohala, 1978: 6) ที่วา

นักภาษาศาสตรจํานวนมากพบวา ตัวบงช้ีทางสัทศาสตรอ่ืนๆ นอกเหนือจากระดับเสียงก็สามารถ

แยกแยะหนวยเสียงวรรณยุกต (tonal contrasts) ได เชน ระยะเวลาการออกเสียงสระ (vowel

duration) คุณภาพเสียง (voice quality) ลักษณะการสิ้นสุดการออกเสียงวรรณยุกต (manner of

tone offset) และคุณภาพของเสียงสระ (vowel quality)

Page 33: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

15

นักภาษาศาสตรหลายทาน (Bradley, 1982; Wheatley, 1987;

Watkins, 2005; Green, 2005, Kelly, 2012) เห็นพองวา ภาษาพมามีวรรณยุกต 4 หนวยเสียง

ไดแก วรรณยุกตสูง (high) วรรณยุกตตํ่า (low) วรรณยุกตเสียงตํ่าลึก (creaky) และวรรณยุกตใน

พยางคตาย (checked/killed) ดังปรากฏในภาพที่ 2.2

ภาพที่ 2.2 สทัลักษณะของวรรณยุกตภาษาพมา (ดัดแปลงจาก Watkins, 2005)

หากอางคํากลาวของโอฮาลา (Ohala, 1978: 6) ผูวิจัยเห็นวา ตัวบงช้ี-

ทางสัทศาสตรของวรรณยุกตภาษาพมามี 3 ลักษณะ ไดแก 1. วรรณยุกตที่จําแนกหนวยเสียงดวย

ระดับเสียง (pitch) คือ วรรณยุกตสูงและวรรณยุกตตํ่า 2. วรรณยุกตที่จําแนกหนวยเสียงดวยคุณภาพ

เสียง (voice quality) คือ วรรณยุกตเสียงตํ่าลึก และ 3. วรรณยุกตที่จําแนกหนวยเสียงดวยลักษณะ

การสิ้นสุดการออกเสียง (manner of tone offset) คือ วรรณยุกตในพยางคตายเพราะมีลักษณะการ

กักฐานเสนเสียง (glottalization) ในชวงทายของการออกเสียงสระ

ในบรรดาวรรณยุกตทั้ง 4 หนวยเสียง เคลลี (Kelly, 2012) พบวา

วรรณยุกตเสียงตํ่าลึกและวรรณยุกตในพยางคตายปรากฏการแปร (variation) ไดมากกวาวรรณยุกต

สูงและวรรณยุกตตํ่า ซึ่งสอดคลองกับคํากลาวของวีทลี (Wheatley, 1990: 842) ที่วา แมวรรณยุกต

ภาษาพมาจะจําแนกเปน 4 หนวยเสียง แตเมื่อบริบทการออกเสียงเปลี่ยนไป สัทลักษณะของ

วรรณยุกตอาจเปลี่ยนไปดวย เชน ในคําสองพยางค “” ซึ่งเปนวรรณยุกตในพยางคตาย เมื่อ

วรรณยุกตดังกลาวปรากฏในคําพูดเด่ียวพยางคเดียว พิสัยของวรรณยุกตจะลดตํ่าลง นอกจากน้ี

วรรณยุกตเสียงตํ่าลึก (creaky) ก็มีการแปรไปในทิศทางเดียวกันดวย จากการศึกษางานวิจัยเกี่ยวกับ

Page 34: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

16

วรรณยุกตภาษาพมาโดยสังเขป ผูวิจัยเห็นวา วรรณยุกตภาษาพมามีความนาสนใจทั้งในดานความ

หลากหลายของการออกเสียงและการแปรของหนวยเสียง

2.1.3 ระบบเสียงภาษาอูรดู

คาชรู (Kachru, 1990: 470 - 471) กลาววา ภาษาอูรดูเปนภาษาที่สัมพันธ

ใกลชิดกับภาษาฮินดี พูดโดยประชากรประมาณ 23 ลานคนในรัฐจัมมู (Jammu) และรัฐแคชเมียร

(Kashmir) ของประเทศอินเดีย นอกจากน้ี ยังเปนภาษาแมของประชากรกวา 8 ลานคนในประเทศ-

ปากีสถาน

คาชรูอธิบายวา ภาษาฮินดีและภาษาอูรดูมีตนกําเนิดเดียวกัน กลาวคือ ทั้งสอง

ภาษาวิวัฒนาการจากภาษาที่มีช่ือวา “คารี โบลี” (Kari boli) ซึ่งพูดโดยชาวอัฟกัน ชาวเปอรเซีย

และชาวเติรกที่อาศัยอยูในตลาดและคายทหารแถบเมืองเดลฮี (Delhi) ราวศตวรรษที่ 8 – 10 โดย

เปนภาษาที่ใชสื่อสารกับคนพ้ืนเมือง คํา “อูรดู” น้ีจึงมีรากศัพทมาจากภาษาตุรกี คือ “ordu” ซึ่ง

แปลวา “คาย” ความแตกตางของทั้งสองภาษาเกิดจากเหตุผลทางการเมืองและศาสนา โดยภาษา-

อูรดูเปนภาษาในราชสํานักมุสลิม ไดรับอิทธิพลจากภาษาอารบิกและฟารซี และเขียนดวยอักษรอา-

รบิก สวนภาษาฮินดีน้ันรับอิทธิพลจากภาษาสันสกฤต ซึ่งเปนภาษาในคัมภีรพระเวทของผูนับถือ

ศาสนาฮินดู และเขียนดวยอักษรเทวนาครี (Devanagari)

เน่ืองจากไดรับอิทธิพลจากผูพูดหลายกลุมชาติพันธุ ภาษาอูรดูจึงมีลักษณะการ-

ออกเสียงที่หลากหลาย ดังจะเห็นไดจากตารางที่ 2.5

2.1.3.1 ระบบเสียงพยัญชนะ

ตารางที่ 2.5

ระบบเสียงพยัญชนะภาษาอูรดู (ดัดแปลงจาก Saleem et al., 2002: 2 -3) Bilabial Labio-

dental

Dental Alveolar Post

alveolar

Retroflex Palatal Velar Uvular Glottal

Plosive

Nasal

Trill

Fricative

Affricate

Approximant ()

Lateral

Page 35: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

17

ตารางที่ 2.5 แสดงใหเห็นวา ภาษาอูรดูมีพยัญชนะจํานวน 44 หนวย-

เสียง คาชรู (Kachru, 1990: 472) กลาววา โครงสรางพยางคในภาษาอูรดูประกอบดวยพยัญชนะตน

(initial) พยัญชนะกลาง (medial) สระ (vowel) และพยัญชนะทาย (final) นอกจากน้ี พยัญชนะใน

ภาษาอูรดูมีความโดดเดนเพราะมพียัญชนะฐานลิ้นสวนหนาเพดานแข็งซึ่งออกเสียงโดยการงอลิ้น

นอกจากน้ี ภาษาอูรดูยังมีการออกเสียงแบบพนลม ลักษณะการออก-

เสียงเชนน้ีพบในพยัญชนะเสียงกัก เสียงกึ่งเสียดแทรก เสียงรัวลิ้น เสียงสะบัดลิ้น และเสียงเปด หาก

พิจารณาตารางสัทอักษรขางตน จะเห็นไดวา การออกเสียงแบบพนลมมีความสําคัญในการออกเสียง

พยัญชนะในภาษาอูรดูเพราะปรากฏในพยัญชนะจํานวนมากและพยัญชนะเสียงกักเกือบทุกฐานการ-

ออกเสียง จึงอาจกลาวไดวา ภาษาอูรดูเปนภาษาที่มีพยัญชนะจํานวนมากภาษาหน่ึง

จากคํากลาวของคาชรู (Kachru, 1990: 470 - 471) ขางตนแสดงให

เห็นวา สาเหตุที่ทําใหภาษาอูรดูมีพยัญชนะจํานวนมาก คือ การที่ภาษาอูรดูใชพูดเพ่ือติดตอสื่อสาร

โดยคนจากหลายกลุมชาติพันธุต้ังแตสมัยโบราณ ผูคนเหลาน้ีพูดภาษาแมแตกตางกัน เมื่อพูดภาษา

อูรดู พวกเขาอาจเสริมลักษณะการออกเสียงบางประการที่คุนเคยในภาษาแมมาใชในออกเสียงภาษา-

อูรดู เมื่อเวลาผานไป การออกเสียงดังกลาวกลายเปนเสียงที่สังคมยอมรับใหเปนหนวยเสียงพยัญชนะ

ไมใชการแปรของหนวยเสียงดังที่ปรากฏในชวงเริ่มตน

2.1.3.2 ระบบเสียงสระ

ตารางที่ 2.6

ระบบเสียงสระภาษาอูรดู (ดัดแปลงจาก Saleem et al., 2002: 3 -4)

Front Central Back

High

Mid-High

Middle

Mid-Low

Low

ตารางที่ 2.6 แสดงใหเห็นวา ภาษาอูรดูมีสระจํานวน 17 หนวยเสียง

บางหนวยเสียง คือ สระเดียวกัน แตจําแนกเปนสองหนวยเสียงเพราะอีกหนวยเสียงหน่ึงออกเสียง

Page 36: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

18

แบบนาสิก คริสตัล (Crystal, 2003: 308) กลาววา สระนาสิก (nasal vowel) แตกตางจากสระ

ธรรมดาในประเด็นที่กระแสลมเคลื่อนออกทางชองปาก (oral vowel) เพราะการออกเสียงสระนาสิก

(nasal vowel) คือ การที่กระแสลมเคลื่อนออกทั้งทางชองปาก (oral cavity) และชองจมูก (nasal

cavity)

ดาเวนพอรทและฮันนาฮส (Davenport & Hannahs, 1998: 65)

กลาววา สระที่มีการออกเสียงแบบนาสิกมี 2 ลักษณะ คือ 1. สระที่กลายเปนเสียงนาสิก (nasalized

vowels) และ 2. สระนาสิก (nasal vowel) สระที่กลายเปนเสียงนาสิก คือ สระที่ปรากฏในตําแหนง

หนาหรือหลังพยัญชนะนาสิก ดังน้ัน สระจึงไดรับอิทธิพลจากพยัญชนะที่ปรากฏรวม เชนคําใน

ภาษาอังกฤษ mat และ hand ที่สระ // ไดกลายเปนเสียงนาสิกเพราะรับอิทธิพลจากพยัญชนะ /m/

และ /n/ นักภาษาศาสตรเรียกปรากฏการณเชนน้ีวา การกลมกลืนเสียง (assimilation)

สวนสระนาสิก คือ สระที่ออกเสียงแบบนาสิกโดยไมจําเปนปรากฏ

รวมกับพยัญชนะนาสิก หนวยเสียงสระเชนน้ีปรากฏในภาษาฝรั่งเศส (French) ภาษาโปลิช (Polish)

และภาษานาวาโฮ (Navajo) เปนตน ดังจะพิจารณาไดจากคูเทียบเสียงในภาษาฝรั่งเศส เชน =

“fact” และ = “end” เปนตน

ในภาษาอูรดู สระบางหนวยเสียงเปนสระนาสิก (nasal vowel) มี

นัยสําคัญทางความหมาย แมไมปรากฏในตําแหนงหนาหรือหลังพยัญชนะนาสิก (, , ) สระเหลาน้ี

ก็มีการออกเสียงแบบนาสิก ดังจะพิจารณาไดจากคูเทียบเสียง , 3 (ศึกษาเพ่ิมเติมใน

Saleem et al., 2002: 4)

จากการทบทวนวรรณกรรม ผูวิจัยพบวา ภาษาไทยและภาษาพมามี

ระบบเสียง 3 ระบบ ไดแก ระบบเสียงพยัญชนะ ระบบเสียงสระ และระบบเสียงวรรณยุกต ซึ่งตาง

จากภาษาอูรดูที่มีเพียงระบบเสียงพยัญชนะและระบบเสียงสระ กระน้ัน ภาษาอูรดูก็มีทํานองเสียง

(intonation) ซึ่งเปนระดับเสียง (pitch) รูปแบบหน่ึงแตปรากฏในระดับประโยค

ในงานวิจัยน้ี ผู วิจัยจึงตองการพิสูจนวา ผู พูดภาษาพมาออกเสียง

วรรณยุกตภาษาไทยไดดีกวาผูพูดภาษาอูรดูหรือไม เพราะในความเปนจริง ภาษาอูรดูก็มีระดับเสียงใน

ภาษา หากแตระดับเสียงน้ันปรากฏในรูปทํานองเสียง

3 ผูวิจัยไดสอบถามผูพูดภาษาอูรดู แตผูพูดภาษาอูรดูไมเขาใจความหมายเพราะพวกเขาไมทราบวา

รูปภาษาของเสียงดังกลาวคือรูปเขียนใด

Page 37: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

19

2.2 งานวิจัยเก่ียวกับการรับภาษาที่สอง

การรับภาษาที่สอง (second language acquisition) (ราชบัณฑิตยสถาน, 2553:

397-398) เปนกระบวนการเรียนรูภาษาอ่ืนที่ไมใชภาษาแม ซึ่งเรียนรูเมื่อพนวัยเด็กไปแลว ทั้งน้ีภาษา

อ่ืนอาจมีมากกวาหน่ึงหรือสองภาษา แครชเชน (Krashen, 1981: 10) กลาววา การรับภาษามีความ-

แตกตางจากการเรียนรูภาษา (learning) กลาวคือ การรับภาษาเปนกระบวนการแบบไมรูตัว ผูรับจะ

ไมรูสึกวา ตนกําลังรับภาษา แตจะรูสึกวา กําลังใชภาษาเพ่ือการสื่อสาร อีกทั้ง ผูรับจะไมตระหนักถึง

กฎทางภาษา แตจะรูสึกไดวา รูปภาษาใดถูก รูปภาษาใดผิด สวนการเรียนรูภาษา คือ การรับภาษา

แบบรูตัว ผูเรียนจะตระหนักถึงไวยากรณและระวังความถูกผิดของภาษาที่ตนกําลังสื่อสาร

การรับภาษาที่สองไดมีการศึกษาเปนเวลานานจากนักวิชาการสาขาตางๆ อาจกลาวได

วา การรับภาษาที่สองเปนการศึกษาเชิงพหุศาสตร อาคีบาวด (Archibald, 1997: 503) กลาววา ราว

ป ค.ศ. 1950 - 1960 การศึกษาการรับภาษาที่สองมีวัตถุประสงคเพ่ือการสอนภาษา นักวิชาการใน

ยุคน้ีมุงพัฒนาวิธีการสอนภาษา แตหลังจากป ค.ศ. 1970 เปนตนมา ประเด็นการศึกษาไดเปลี่ยนจาก

ผูสอนเปนผูเรียน สาขาวิชาที่ศึกษาภาษาที่สองจึงขยายวงกวางมากข้ึนเปนการศึกษาทางภาษาศาสตร

และจิตวิทยา

การศึกษาการรับภาษาที่สองดวยแนวทางภาษาศาสตรมีความนาสนใจเพราะขอมูลมี

ความหลากหลาย เชน เสียง คํา ประโยค และขอความ แตงานวิจัยสวนใหญเนนวิเคราะหขอมูล

ประโยค ซึ่ งอาจเปนผลมาจากอิทธิพลของไวยากรณปริวรรตเพ่ิมพูน (Transformational-

Generative Grammar) ที่นําเสนอโดยชอมสกี (Chomsky, N.) ไวยากรณน้ีกลาวถึงไวยากรณสากล-

ลักษณ (Universal Grammar/UG) ซึ่งมีสาระสําคัญวา มนุษยทุกคนมีโครงสรางภาษาในสมองแบบ

เดียวกัน ดังน้ัน มนุษยจึงสามารถรับภาษาที่สองไดเหมือนเจาของภาษา

นักภาษาศาสตรกลุมหน่ึงไมเห็นดวยกับขอสันนิษฐานของชอมสกีเพราะพวกเขาเช่ือวา

คนที่ พูดภาษาแมตางกัน โครงสรางทางภาษาจะตางกันและไมสามารถเทียบเคียงกันได

(ศึกษาเพ่ิมเติมใน Saville-Troike, 2006: 46 – 51) ขอโตแยงน้ีอาจเปนสาเหตุหน่ึงที่ทําใหเกิด

งานวิจัยจํานวนมากที่เนนวิเคราะหขอมูลประโยคเพ่ือนําเสนอผลการวิจัยที่สนับสนุนแนวคิดของตน

ผูวิจัยมองวา เสียง คือ จุดเริ่มตนของภาษา เราไมสามารถเขาใจภาษา หากไมทําความ

เขาใจหนวยเสียงในภาษาน้ันๆ ซึ่งจะเห็นไดจากการเริ่มเรียนภาษาแมหรือภาษาตางประเทศ ผูสอน

สวนใหญจะใหผูเรียนทําความเขาใจระบบเสียงในชวงเริ่มตน จากน้ัน จึงสอนการประกอบหนวยเสียง

เหลาน้ันเปนคําที่มีความหมายและฝกสรางประโยคในลําดับตอไป

Page 38: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

20

ในการศึกษาขอมูลเสียง การรับภาษาที่สองจําแนกเปน 2 ประเด็นหลัก คือ การออก-

เสียง (production) และการรับรู (perception) นักภาษาศาสตรที่ศึกษาการรับภาษาอาจเลือก

ศึกษาในประเด็นใดประเด็นหน่ึง หรือเลือกศึกษาทั้ง 2 ประเด็นเพ่ือแสดงใหเห็นความเช่ือมโยง

ระหวางการออกเสียงและการรับรูเสียง เชน ในงานวิจัยที่ศึกษาเสียงพูดภาษาที่สองของกลุมตัวอยาง

ตางประเทศวัยผูใหญ นักวิชาการสวนใหญจะวิเคราะหวา เสียงพูดของกลุมตัวอยางมีสัทลักษณะ

อยางไร จากน้ัน พวกเขาจึงศึกษาการรับรูโดยการใหผูพูดกลุมน้ันฟงขอมูลเสียงที่ออกเสียงโดยเจา-

ของภาษาเพ่ือแยกแยะ (discrimination) หรือระบุ (identification) วา เสียงที่ตนไดยินคือเสียงใด

เมื่อเสร็จสิ้นทั้งขั้นตอนการออกเสียงและการรับรูเสียง นักภาษาศาสตรจะนําผลการศึกษาทั้ง 2

ประเด็นมาวิเคราะหวา ผลการรับรูมีความถูกตองมากกวาหรือนอยกวาผลการออกเสียง หากผลการ-

รับรูดีกวาผลการออกเสียง ผลการวิจัยจะแสดงใหเห็นวา กลุมตัวอยางสามารถรับรูเสียงพูดของ

เจาของภาษาได แตมีปญหาดานการออกเสียง ซึ่งอาจสัมพันธกับกลไกการออกเสียงในชองปากที่

เสื่อมความคลองไปตามวัยของผูพูดหรือการแทรกแซงจากภาษาแม ในงานวิจัยน้ี ผูวิจัยจะนําเสนอ

งานวิจัยเกี่ยวกับการออกเสียงและการรับรูเสียงของชาวตางประเทศตลอดทั้งวิธีการศึกษาดังน้ี

2.2.1 งานวิจัยเก่ียวกับการออกเสียงภาษาที่สอง

การออกเสียงภาษาที่สองเปนประเด็นหน่ึงที่นักภาษาศาสตรใหความสนใจเพราะ

แสดงใหเห็นขอผิดพลาดที่เกิดจากการนําสัทลักษณะบางประการในภาษาแมมาใชในการออกเสียง

ภาษาที่สอง การวิเคราะหขอผิดพลาดเหลาน้ีนําไปสูการแกไขและการปรับปรุงเสียงพูดของชาว-

ตางประเทศวัยผูใหญและวัยเด็กใหใกลเคียงเจาของภาษามากขึ้น หรืออาจเปนการศึกษาวา ผูเรียน

เรียนรูภาษาที่สองอยางไรจึงออกเสียงไดใกลเคียงเจาของภาษา

ในการศึกษาการรับภาษาที่สอง นักภาษาศาสตรจํานวนมากเห็นพองวา หาก

ผูเรียนมีอายุนอยเพียงไร โอกาสที่จะประสบความสําเร็จในการออกเสียงภาษาตางประเทศก็มีมากขึ้น

เทาน้ัน (Asher & Garcia, 1969; Fathman, 1975; Suter, 1976; Oyama, 1976; Tahta et al.,

1981; Flege, 1988; Patkowski, 1990; Thomson, 1991; Flege et al., 1999; Moyer, 1999)

สไตเบิรคและคณะ (Steinberg et al., 2001: 175 - 177) กลาววา สาเหตุ

ประการหน่ึงที่ทําใหเด็กออกเสียงภาษาที่สองไดดีกวาผูใหญ คือ ทักษะการเคลื่อนไหว (motor skill)

ทักษะการเคลื่อนไหวเปนคําศัพทที่นักจิตวิทยาใชกลาวถึงการใชกลามเน้ือในการเคลื่อนไหว เชน การ-

เดิน การเขียน ตลอดทั้งการออกเสียง ทั้งน้ี การใชกลามเน้ือเพ่ือการออกเสียงหมายถึงการที่อวัยวะ

ตางๆ ในชองปากและลําคอเคลื่อนไหวเพ่ือใหเกิดเสียงตางๆ กลาวโดยสรุป สไตเบิรคและคณะเห็นวา

เด็กสามารถออกเสียงภาษาที่สองไดดีกวาผูใหญเน่ืองจากอวัยวะที่ใชในการออกเสียงของเด็กมีความ

Page 39: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

21

คลองมากกวาอวัยวะที่ใชในการออกเสียงของผูใหญ นอกจากน้ี ระบบเสียงในภาษาแมของเด็กยังไม

พัฒนาจนถึงขั้นสมบูรณ ดังน้ัน ภาษาแมจึงไมเปนอุปสรรคในการออกเสียงภาษาที่สองของเด็ก

นอกจากน้ี สไตเบิรคและคณะ (Steinberg et al., 2001: 178-183) ไดกลาวอีก

วา สถานการณการเรียนรูภาษาของผูใหญและเด็กมีความสําคัญในการเรียนรูภาษาที่สอง โดยเด็กจะ

เรียนรูภาษาที่สองในสถานการณธรรมชาติ (natural situation) แตผูใหญจะเรียนรูในสถานการณ-

หองเรียน (classroom situation) ทั้งสองสถานการณแตกตางกันในประเด็นการใชภาษา กลาวคือ

เด็กจะใชภาษาที่สองในการสื่อสารกับเพ่ือนวัยเดียวกัน เชนเดียวกับการใชภาษาแมในบริบทตางๆ

เด็กจึงมีโอกาสฟงและพูดมากกวาผูใหญ อีกทั้ง เด็กยังปรับตัวงายกวาผูใหญเมื่อสื่อสารกับเพ่ือนที่พูด

ภาษาอ่ืนเพราะใชภาษาผานการเลนและการทํากิจกรรมอ่ืนๆ ในชีวิตประจําวันทั้งในและนอก

หองเรียน ในทางกลับกัน ผูใหญมักเรียนรูภาษาที่สองในสถานการณหองเรียนเน่ืองจากขอจํากัดหลาย

ประการ เชน วัยวุฒิ การงาน และความตองการความเปนสวนตัว ดังน้ัน ผูใหญจึงประสบความสําเร็จ

ในการเรียนรูภาษาที่สองในสถานการณหองเรียนมากกวาสถานการณธรรมชาติ

สไตเบิรคและคณะกลาวโดยสรุปวา เ ด็กสามารถเรียนรูภาษาที่สองใน

สถานการณธรรมชาติไดดีเพราะไมมีขอบังคับและตําราเรียน เด็กสามารถใชภาษาไดอยางอิสระ

เสมือนการใชภาษาแมผานการเลนกับกลุมเพ่ือน สวนผูใหญสามารถเรียนรูภาษาในสถานการณ

หองเรียนไดดีเพราะมีความอดทนและสมาธิมากกวาเด็กในการฟงผูสอนเปนระยะเวลานาน

งานวิจัยขางตนแสดงใหเห็นวา เด็กสามารถออกเสียงภาษาที่สองไดใกลเคียง

เจาของภาษามากกวาผูใหญเพราะเรียนรูภาษาผานสถานการณธรรมชาติ สวนผูใหญจะสามารถ

เรียนรูภาษาที่สองไดดีเมื่อเรียนในหองเรียน กระน้ัน ผูใหญจํานวนหน่ึงก็เรียนรูภาษาที่สองใน

สถานการณธรรมชาติ เชน แรงงานตางดาวและกลุมผูลี้ภัย

ในงานวิจัยน้ี ผูวิจัยจะยกตัวอยางงานวิจัยที่ศึกษาการออกเสียงภาษาไทยของชาว

ตางประเทศวัยผูใหญเปนหลักเพราะประชากรศึกษาของงานวิจัยน้ี คือ ผูพูดภาษาพมาและผูพูด-

ภาษาอูรดูที่มีอายุระหวาง 20 – 50 ป ในทางภาษาศาสตรเชิงจิตวิทยา (psycholinguistics) การ-

เรียนรูภาษาอ่ืนที่ไมใชภาษาแมหลังอายุ 12 ป ผูเรียนจะไมสามารถรับภาษาโดยธรรมชาติและพัฒนา

ไปจนเหมือนภาษาแม (ศึกษาเพ่ิมเติมใน Steiberg, Nagata & Aline, 2001: 117) อยางไรก็ตาม

งานวิจัยจํานวนหน่ึงที่ศึกษาเสียงภาษาไทยไดแสดงใหเห็นวา ผู พูดแตละคนหรือแตละกลุมมี

ความสามารถและอุปสรรคในการออกเสียงแตกตางกัน กลาวคือ การออกเสียงหรือการรับรูเสียง

ภาษาที่สองอาจไดรับอิทธิพลจากปจจัยอ่ืนๆ ดวย มิใชปจจัยดานอายุที่เริ่มรับรูภาษาเพียงปจจัยเดียว

ดังจะเห็นไดจากตัวอยางงานวิจัยตอไปน้ี

Page 40: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

22

วิไลลักษณ (2543) ไดศึกษาวรรณยุกตภาษาไทยกรุงเทพที่ออกเสียงโดยคนไทย

คนแตจิ๋วและคนซิกซซึ่งมีอายุระหวาง 40 – 60 ป โดยเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยาง 10 คน เพศชาย 5

คน และเพศหญิง 5 คน วิไลลักษณศึกษาคาความถ่ีมูลฐาน พิสัยคาความถ่ีมูลฐาน และคาระยะเวลา

ของสระ การศึกษาแบงออกเปน 2 ประเด็น คือ 1. ระบบเสียงวรรณยุกตที่วิเคราะหจากคําพูดเด่ียว

และ 2. สัทลักษณะหลักและสัทลักษณะยอยในคําพูดเด่ียวและคําพูดตอเน่ือง

ผลการศึกษาพบวา วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดทั้ง 3 กลุมมีสัท-

ลักษณะแตกตางกัน โดยวรรณยุกตในคําพูดเด่ียวที่ออกเสียงโดยคนแตจิ๋วและคนซิกซมีสัทลักษณะ

คลายกับการออกเสียงของคนไทย ในขณะที่วรรณยุกตในคําพูดตอเน่ืองที่ออกเสียงโดยคนแตจิ๋วและ

คนซิกซแตกตางจากผลการออกเสียงของคนไทย นอกจากน้ี คนแตจิ๋วยังมีปญหาในการออกเสียง

วรรณยุกตเอกทั้งในคําพูดเด่ียวและคําพูดตอเน่ือง สําหรับคนซิกซ เสียงที่เปนปญหามากที่สุด คือ

วรรณยุกตตรี แตในภาพรวม คนแตจิ๋วสามารถออกเสียงวรรณยุกตไดใกลเคียงคนไทยมากกวาคนซิกซ

ในตอนทาย วิไลลักษณแสดงความเห็นวา ความแตกตางในการออกเสียงวรรณยุกตของคนแตจิ๋วและ

คนซิกซอาจเปนผลมาจากอิทธิพลของภาษาแม ปจจัยแวดลอมทางเสียง และปรากฏการณ-

อันตรภาษา (interlanguage)

สวนเหงียน (2549) แมเปนชาวเวียดนาม แตเขียนงานวิจัยเปนภาษาไทย เหงียน

ศึกษาเชิงเปรียบเทียบลักษณะทางกลสัทศาสตรของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยชาวเวียดนาม

ที่มีประสบการณทางภาษาแตกตางกัน โดยศึกษาคาความถี่มูลฐานและพิสัยคาความถ่ีมูลฐานของกลุม

ตัวอยาง 3 กลุม คือ คนไทย คนเวียดนามที่มีประสบการณภาษาไทยนอย และคนเวียดนามที่มี

ประสบการณภาษาไทยมาก ประชากรทุกคนมีอายุระหวาง 20 – 30 ป

ผลการศึกษาพบวา ประสบการณดานภาษาเปนตัวบงช้ีความสามารถในการออก

เสียงวรรณยุกตของชาวเวียดนาม กลาวคือ คนเวียดนามที่มีประสบการณภาษาไทยมากมีปญหาใน

การออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยนอยกวาคนเวียดนามที่มีประสบการณภาษาไทยนอย นอกจากน้ี

งานวิจัยน้ีสนับสนุนวา ชาวตางประเทศที่พูดภาษาแมที่มีระบบเสียงวรรณยุกตจะนําสัทลักษณะของ

วรรณยุกตบางลักษณะในภาษาแมมาใชในการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทย

งานวิจัยสองเรื่องขางตนมีความนาสนใจเพราะศึกษาการออกเสียงวรรณยุกต

ภาษาไทยของกลุมตัวอยางที่พูดภาษาแมที่มีระบบเสียงวรรณยุกต ซึ่งแสดงใหเห็นการรับอิทธิพลจาก

ภาษาแม กระน้ัน ชาวตางประเทศที่พูดภาษาไทยมาจากหลายประเทศ ผูพูดภาษาแมที่ไมมีระบบ

เสียงวรรณยุกตจึงนาสนใจเชนกัน เชน งานวิจัยของธนิกาญจน (2550) ที่ศึกษาการออกเสียง

Page 41: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

23

วรรณยุกตและสระภาษาไทยของผูพูดภาษาอังกฤษ กลุมตัวอยางมีจํานวน 12 คน เปนชาวอเมริกัน

จํานวน 11 คน และชาวออสเตรเลียจํานวน 1 คน

ผลการวิจัยพบวา กลุมตัวอยางออกเสียงวรรณยุกตสามัญไดดีที่สุดและไมมี

ปญหาในการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทย ยกเวนวรรณยุกตเอก ในการออกเสียงสระ กลุมตัวอยาง

ไมมีปญหาในการออกเสียงสระเด่ียวและสระประสมในภาษาไทย เพราะเสียงที่เปนปญหาตอกลุม

ตัวอยางมี 2 หนวยเสียง ไดแก หนวยเสียง และหนวยเสียง

นอกจากงานวิจัยในประเทศไทย ประเด็นการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยยัง

เปนประเด็นสนใจของชาวตางประเทศ เชน เบอรนแฮม (Burnham, 2000 อางถึงใน Burnham &

Mattock, 2007: 264 - 266) ที่ศึกษาการรับรูวรรณยุกตและพยัญชนะกักฐานริมฝปากของคน

ออสเตรเลียและคนไทย ผูบอกภาษามีจํานวน 24 คน เปนคนไทย 12 คนและคนออสเตรเลียกลุมละ

12 คน โดยแบงตามชวงอายุได 4 กลุม คือ เด็กอายุ 4 ป 6 ป 8 ป และวัยผูใหญ

ผลการวิจัยพบวา ชาวออสเตรเลียมีปญหาในการออกเสียงคูเสียง และ

เสียง มากกวาการออกเสียงคูเสียง และ นอกจากน้ี ผลการวิจัยยังแสดงใหเห็นวา

ชาวออสเตรเลียวัยเด็กมีความสามารถในแยกแยะเสียงพยัญชนะไดดีกวาเสียงวรรณยุกต ในขณะที่

ผูใหญสามารถแยกแยะเสียงวรรณยุกตไดดีกวาเสียงพยัญชนะ

นอกจากน้ี เวยแลนด (Wayland, 1997) ไดศึกษาการออกเสียงภาษาไทยของ

ชาวตางประเทศดวยแนวทางกลสัทศาสตรและการประเมินระดับสําเนียง ในประเด็นการออกเสียง

ผูวิจัยไดศึกษาการออกเสียงพยัญชนะ สระ และวรรณยุกตของผูพูดภาษาอังกฤษ ผลการศึกษาพบวา

ผลการออกเสียงภาษาไทยของคนไทยและคนอเมริกันมีความแตกตางในประเด็นคาความถี่-

(frequency) มากกวาประเด็นชวงเวลาเริ่มเสียงกอง (voice-onset time (VOT))

ผลการศึกษาของวิไลลักษณ ของเหงียน และของเบอรแฮมที่ศึกษาการรับเสียง

วรรณยุกตของผูใหญแสดงใหเห็นวา ผูใหญสามารถรับเสียงวรรณยุกตไดดี โดยเฉพาะงานของเบอร-

แฮมที่พบวา ผูใหญสามารถแยกแยะเสียงวรรณยุกตไดดีกวาเด็ก กระน้ัน ผูใหญก็ประสบกับอุปสรรค

ในการออกเสียงวรรณยุกตบางหนวยเสียง ดังจะพิจารณาไดจากผลการศึกษาของวิไลลักษณ (2543)

และผลการศึกษาของเหงียน (2549) ดังน้ัน นักภาษาศาสตรจึงควรพิจารณาปจจัยอ่ืนๆ ประกอบการ-

อภิปรายดวย

นอกจากน้ี งานวิจัยขางตนยังแสดงใหเห็นวา การออกเสียงภาษาไทยโดยชาว-

ตางประเทศไดรับความสนใจจากนักภาษาศาสตรไทยและนักภาษาศาสตรตางประเทศ อีกทั้ง

Page 42: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

24

ประเด็นการศึกษาก็มีความหลากหลาย ทั้งเสียงพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต ในงานวิจัยน้ี ผูวิจัยจึง

ศึกษาเพียงระบบเสียงวรรณยุกต

ในงานวิจัยน้ี งานวิจัยของวิไลลักษณ (2543) และงานวิจัยของเวยแลนด

(Wayland, 1997) ถือเปนแนวทางศึกษาแกผูวิจัยเพราะวิไลลักษณไดศึกษาเชิงเปรียบเทียบการออก-

เสียงวรรณยุกตของผูพูดภาษาแมที่มีระบบเสียงวรรณยุกตและของผูพูดภาษาแมที่ไมมีระบบเสียง-

วรรณยุกต สวนงานวิจัยของเวยแลนดน้ัน ถือเปนแนวทางในการศึกษาทั้งประเด็นการออกเสียงของ

ชาวตางประเทศและการประเมินระดับสําเนียงตางประเทศโดยเจาของภาษา

2.2.2 งานวิจัยเก่ียวกับการรับรูเสียงภาษาที่สอง

ฟลด (Field, 2004: 204) กลาววา การรับรู คือ กระบวนการวิเคราะหสิ่งเรา

(the operation of analyzing a stimulus) ซึ่งผูใชภาษาตองตีความขอมูลที่แสดงดวยรูปภาษาหรือ

สัญลักษณที่ใชสื่อความ การรับรูเชนน้ีเรียกวา การรับรูทางตา (visual perception) หรือการตีความ

จากเสียงที่ไดยิน ซึ่งเรียกวา การรับรูทางการไดยิน (auditory perception) ฟลดกลาวเพ่ิมเติมวา

การรับรูแตกตางจากประสาทสัมผัสซึ่งหมายถึงการตีความสิ่งเราจากประสบการณที่ไมผาน

กระบวนการวิเคราะห (unanalyzed experience) เน่ืองจากงานวิจัยน้ีวิเคราะหการรับรูของกลุม

ตัวอยางจากการฟง ผูวิจัยจึงนําเสนอวิธีการทดสอบการรับรูเสียงเปนหลัก

จากการทบทวนวรรณกรรม ผูวิจัยพบวา การทดสอบการรับรูเสียงสามารถ

กระทําได 3 ลักษณะ ไดแก การประเมินระดับสําเนียง (accent rating) การระบุเสียง

(identification) และการแยกแยะเสียง (discrimination) โดยการระบุเสียงและการแยกแยะเสียง ผู-

ระบุและผูแยกแยะอาจเปนชาวตางประเทศหรือเจาของภาษาก็ได แตในการประเมินระดับสําเนียง ผู-

ประเมินคือเจาของภาษาเทาน้ัน สําหรับรายละเอียดของแตละวิธีการทดสอบ ผูวิจัยจะนําเสนอทีละ

ประเด็นดังน้ี

2.2.2.1 การประเมินระดับสําเนียง (accent rating)

การประเมินระดับสําเนียง คือ การใหเจาของภาษาประเมินวา เสียงที่

ตนไดยินใกลเคียงกับเสียงของภาษาที่ตนพูดมากนอยเพียงใด เชน เหมือนเจาของภาษามากที่สุด

(native-like) หรือเหมือนเจาของภาษานอยที่สุด (non-native) เปนตน

มาตรวัดที่ใชประเมินระดับสําเนียง คือ ลิเคิรท เสกล (Likert scale)

เจสนี (Jesney, 2004: 2) กลาววา คําเราการรับรูที่ใชศึกษาการประเมินระดับสําเนียงสามารถปรากฏ

Page 43: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

25

ในรูปพยางค คํา วลี และประโยค ซึ่งประโยคอาจมีความยาวต้ังแต 2 ประโยคไปจนถึง 2 นาที เจสนี

พบวา คําเราการรับรูที่นิยมใชประเมินระดับสําเนียงมากที่สุด คือ คําเราการรับรูระดับ 1 ประโยค

นอกจากประเด็นการเลือกลักษณะคําเราการรับรูแลว การเลือกใชมาตร

วัดระดับตางๆ ก็เปนประเด็นหน่ึงที่นักภาษาศาสตรใหความสําคัญ เจสนี (Jesney, 2004: 2-3) พบวา

มาตรวัดมีต้ังแตระดับ 3 – 10 แตที่นิยมใชในการประเมินระดับสําเนียงมากที่สุด คือ มาตรวัด 9

ระดับ แมมาตรวัดมีระดับแตกตางกัน แตมีจุดมุงหมายเดียวกัน คือ เพ่ือแสดงระดับสําเนียงในลักษณะ

ลดหลั่นภายใตสองขั้วหลักที่อยูตรงขามกัน คือ ระดับสําเนียงที่เหมือนเจาของภาษามากที่สุด (native)

และระดับสําเนียงที่เหมือนเจาของภาษานอยที่สุด (non–native) ระดับที่อยูระหวางสองขั้วน้ี คือ

ระดับการลดหลั่นของระดับสําเนียง ยกตัวอยางเชน มาตรวัด 5 อันดับ หากผูวิจัยแสดงระดับที่เหมือน

เจาของภาษามากที่สุดทางขวามือสุด คือ หมายเลข 5 ทางซายมือสุดคือหมายเลข 1 จะหมายถึง

เสียงพูดที่มีสําเนียงภาษาอ่ืนมากที่สุด ระดับที่ 2 หมายถึง “นาจะเปนเจาของภาษา” ระดับที่ 4

หมายถึง “นาจะใชเจาของภาษา” และระดับ 3 คือ “ไมแนใจ”

อยางไรก็ตาม งานวิจัยบางเรื่องไมอธิบายความหมายของบางระดับใน

แบบประเมินเพราะการระบุคําอธิบายในชองดังกลาวไมมีผลตอการประเมินของผูฟง ดังที่ปาริชาติ

(2555: 35) ไดใชมาตรวัด 5 ระดับ โดยไมระบุคําอธิบายของระดับ 2 - 4 เพราะงานวิจัยนํารอง

(pilot study) ของปาริชาติแสดงใหเห็นวา การระบุคําอธิบายในทุกระดับไมมีผลตอการประเมินของ

ผูฟง นอกจากน้ี ยังทําใหผูฟงบางคนเกิดคําถามวา การออกเสียงลักษณะใดเปนไปตามคําอธิบายที่

ระบุไว ปาริชาติจึงกําหนดเพียงตัวเลขในระดับ 2 – 4 เน่ืองจากผูฟงสามารถประเมินไดเองวา

เสียงพูดน้ันๆ ควรจัดอยูในระดับใด ในงานวิจัยน้ี ผูวิจัยอางอิงมาตรวัด 5 ระดับตามแนวคิดของปาริ

ชาติและระบุคําอธิบายเพียงชองที่ 5 และชองที่ 1 เทาน้ัน สวนชองที่ 2 – 4 ผูวิจัยจะปลอยวางเพ่ือให

ผูฟงประเมินเองวา เสียงที่ตนไดยินสมควรไดรับคะแนนประเมินเทาไร

ในประเด็นการเลือกใชมาตรวัด ผูวิจัยเห็นวา เปนความพอใจสวนบุคคล

นักวิจัยที่ตองการศึกษาอยางละเอียดอาจเลือกวิเคราะหระดับสําเนียงดวยมาตรวัดหลายระดับ แตใน

ความเปนจริง การประเมินระดับสําเนียงต้ังอยูบนพ้ืนฐานการรับรู ผูฟงที่เปนเจาของภาษายอมมี

ความสามารถในการประเมินไดวา เสียงใดมีสําเนียงในระดับใด อีกทั้ง การคัดเลือกผูฟงดวยเกณฑ

ระดับการศึกษาและประสบการณการคลุกคลีกับชาวตางประเทศที่พูดภาษาไทย คือ ตัวกรองเบ้ืองตน

ในการคัดเลือกผูประเมินระดับสําเนียงที่มีศักยภาพ การวิเคราะหโดยใชมาตรวัดหลายระดับจึงนาจะ

ไมมีผลตอการประเมินระดับสําเนียง ในงานวิจัยน้ี ผูวิจัยใชมาตรวัด 5 ระดับ ซึ่งเปนที่นิยมรองจาก 9

Page 44: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

26

ระดับ (ศึกษาเพ่ิมเติมใน Jesney, 2004: 9) และผูวิจัยเห็นวา มาตราวัด 5 ระดับนาจะเปนมาตราวัด

ที่ไมมากหรือนอยเกินไป และไมทําใหผูฟงเกิดความสับสนหรือลังเล

จากการทบทวนวรรณกรรม ผูวิจัยพบวา ภาษาอังกฤษเปนภาษาที่ไดรับ

การประเมินสําเนียงมากที่สุด เน่ืองจากงานวิจัยดานน้ีมีจํานวนมาก ผูวิจัยจึงนําเสนองานวิจัยที่

เกี่ยวของกับการประเมินระดับสําเนียงภาษาอังกฤษและภาษาไทยเทาน้ัน และเปนงานวิจัยที่ศึกษาใน

ยุคปจจุบันมากที่สุดดังน้ี

กลุมตัวอยางในงานวิจัยที่เปนชาวตะวันตก ไดแก งานวิจัยของพิสเค

แมคเคย และเฟลกี้ (Piske, MacKay & Flege, 2001) ที่ทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอ

ระดับสําเนียงตางประเทศ งานวิจัยน้ีใชกลุมตัวอยางที่มีชวงอายุที่เร่ิมเรียนภาษาอังกฤษและระดับ-

การใชภาษาอังกฤษที่มากนอยตางกัน ผูประเมินระดับสําเนียงเปนผูพูดภาษาอังกฤษสําเนียงแคนาดา

จํานวน 9 คน งานวิจัยใชมาตรวัด 9 ระดับ คําเราการรับรูมีจํานวน 3 ประโยค โดยใชผูพูดเพ่ือสราง

คําเราการรับรูทั้งหมด 72 คน ผลการวิจัยพบวา ชวงอายุที่เริ่มเรียนภาษาอังกฤษและความถ่ีของการ

ใชภาษาอังกฤษมีผลตอระดับสําเนียงของผูพูด

งานวิจัยที่ศึกษาสําเนียงภาษาอังกฤษของกลุมตัวอยางที่เปนคนเอเชีย

เชน เยนี-คอมเชียนและคณะ (Yeni–Komshian et al., 2000) ที่ศึกษาการออกเสียงภาษาแมและ

ภาษาที่สองของผูพูดสองภาษา โดยระยะเวลาการเขามาอยูในประเทศสหรัฐอเมริกาเปนเกณฑใน

เปรียบเทียบ ประชากรศึกษาเปนชาวเกาหลีจํานวน 240 คน ผูประเมินระดับสําเนียงคือผูพูด-

ภาษาอังกฤษสําเนียงอเมริกันจํานวน 10 คนและผูพูดภาษาเกาหลีจํานวน 10 คน งานวิจัยใชมาตรวัด

9 ระดับ คําเราการรับรูมีจํานวน 5 ประโยคจากผูพูดหน่ึงคน ผลการวิจัยพบวา อายุแรกเขามาพํานัก

ในประเทศสหรัฐอเมริกามีความสัมพันธกับระดับสําเนียง กลาวคือ คนเกาหลีที่เขามาอยูในประเทศ-

สหรัฐอเมริกาในชวงอายุประมาณ 1 – 5 ปจะมีสําเนียงใกลเคียงเจาของภาษามากกวาคนรุนอายุอ่ืน

และคนที่พํานักในประเทศสหรัฐอเมริกาในชวงอายุประมาณ 12 ปจะออกเสียงภาษาเกาหลีไดดีกวา

คนรุนอายุอ่ืน

เฟลกี้และคณะ (Flege et al., 2006) ไดศึกษาระดับสําเนียง-

ตางประเทศของประโยคภาษาอังกฤษที่ออกเสียงโดยผูใหญและเด็กเกาหลี กลุมตัวอยางในงานวิจัยน้ี

คือชาวเกาหลีจํานวน 155 คน จําแนกเปนเด็กชวงอายุ 6 - 14 และผูใหญชวงอายุ 21 - 40 ป

ในขณะที่เขามาประเทศสหรัฐอเมริกา งานวิจัยใชมาตรวัด 9 อันดับ ผูประเมินระดับสําเนียงคือผูพูด-

ภาษาอังกฤษสําเนียงอเมริกันจํานวน 18 คน คําเราการรับรูมีจํานวน 8 ประโยคซึ่งออกเสียงโดยผูพูด-

Page 45: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

27

หน่ึงคน ผลการวิจัยพบวา เสียงของเด็กไดรับการประเมินวา ใกลเคียงเสียงของเจาของภาษามากกวา

เสียงของผูใหญ

เฟลกี้และคณะกลาวเพ่ิมเติมวา แมงานวิจัยที่เคยศึกษาการรับภาษาที่-

สองตางสนับสนุนวา ผูพูดที่เขามาอยูในประเทศที่พูดภาษาที่สองในชวงอายุ 3 -12 ป จะออกเสียง

ภาษาที่สองโดยปราศจากสําเนียงตางประเทศ แตผลการวิจัยน้ีแสดงใหเห็นวา กลุมตัวอยางที่เขาเรียน

ในโรงเรียนของประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนนาดาในชวงอายุ 4 ปยังคงพูดภาษาอังกฤษติด

สําเนียงตางประเทศ ผลการวิจัยน้ีจึงไมสอดคลองกับสมมุติฐานที่วา เสียงพูดภาษาที่สองของผูใหญ

และเด็กแตกตางกันเน่ืองจากผูใหญไดผานชวงอายุที่มีผลตอการรับรู (critical period hypothesis)

เดอวิง ทอมสัน และมุนโร (Derwing, Thomson & Munro, 2006) ได

ศึกษาพัฒนาการของความคลองและการออกเสียงภาษาอังกฤษของชาวจีนแมนดารินและชาวสลาวิก

กลุมตัวอยางเปนชาวจีนแมนดาริน 20 คน และชาวสลาวิก 20 คน กลุมตัวอยางทั้ง 2 กลุมเรียน

ภาษาอังกฤษในหองเรียน แตไมมีหลักสูตรที่เนนการออกเสียงหรือเสริมทักษะความคลองเปนพิเศษ

ปจจัยที่นํามาวิเคราะหคือการใชภาษาอังกฤษนอกหองเรียน งานวิจัยใชมาตรวัด 7 ระดับ ผูประเมิน-

ระดับสําเนียง คือ กลุมที่ประเมินสําเนียงชาวจีน 20 คน และกลุมที่ประเมินสําเนียงชาวสลาวิก 20

คน ผลการวิจัยพบวา ชาวสลาวิกมีผลการประเมินสูงกวาชาวจีนแมนดาริน ซึ่งเปนเพราะชาวสลาวิก

สื่อสารกับเจาของภาษามากกวาชาวจีน

นอกจากการประเมินระดับสํา เ นียงของชาวตางประเทศที่ พูด

ภาษาอังกฤษแลว ยังมีงานวิจัยบางเร่ืองที่ศึกษาการประเมินระดับสําเนียงตางประเทศของชาว-

ตางประเทศที่พูดภาษาไทยดวย ไดแก เวยแลนด (Wayland, 1997) ที่ศึกษาการออกเสียงพยัญชนะ

สระ และวรรณยุกตในภาษาไทยของผูพูดภาษาอังกฤษ ผูประเมินระดับสําเนียงคือผูพูดภาษาไทย

ผลการวิจัยพบวา กลุมตัวอยางที่พูดภาษาอังกฤษออกเสียงภาษาไทยตางจากผูพูดภาษาไทย คําเรา-

การรับรูบางคําไดรับการประเมินวา เหมือนเจาของภาษา (native–liked) นอกจากน้ี เวยแลนดพบวา

วรรณยุกตคงระดับไดรับการประเมินตํ่ากวาวรรณยุกตเปลี่ยนระดับ

งานวิจัยขางตนมีลักษณะรวมกัน คือ เปนการศึกษาการประเมินระดับ-

สําเนียงตางประเทศโดยเจาของภาษา กระน้ัน งานวิจัยบางเรื่องเลือกที่จะศึกษาสําเนียงภาษาถิ่น เชน

งานวิจัยของวริษา (2555) ที่เปรียบเทียบระบบเสียงวรรณยุกตภาษาลาวครั่งกับภาษาลาวหลวงพระ-

บาง และการประเมินระดับสําเนียงตางถ่ินโดยผูฟงชาวหลวงพระบาง ในประเด็นการรับรู กลุม-

ตัวอยาง คือ คนลาวครั่งเพศหญิง 4 คน ผูประเมินระดับสําเนียง คือ คนลาวหลวงพระบางจํานวน 28

Page 46: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

28

คน ผลการศึกษาพบวา คนลาวคร่ังมีสําเนียงใกลเคียงกับคนหลวงพระบาง ซึ่งผลการวิจัยน้ีแสดงให

เห็นถึงการรักษาเสียงด้ังเดิมไว แมคนลาวครั่งจะแยกตัวออกจากคนหลวงพระบางกวา 200 ป

เพรสตัน (Preston, 2010: 90) กลาววา การศึกษาการรับรูสําเนียง

ภาษาถิ่นมีการศึกษาเปนระยะเวลานานและมีวิธีการทดสอบการรับรูที่หลากหลาย เชน

1. การใหผูประเมินวาดขอบเขตลงบนแผนที่วาง ซึ่งผูประเมินเช่ือวา

นาจะเปนบริเวณที่พูดสําเนียงที่ตนไดยินจากไฟลเสียงคําเราการรับรู

2. การใหผูประเมินประเมินวา เสียงที่ตนไดยินมีความแตกตางจาก

สําเนียงที่ตนพูดมากนอยเพียงใด โดยทั่วไป มาตรวัดสําเนียงภาษาถ่ินมี 4 ดับ ซึ่งมีคําอธิบายมาตรวัด

คือ

ลําดับที่ 1 หมายถึง เหมือนสําเนียงที่ตนพูด

ลําดับที่ 2 หมายถึง แตกตางเพียงเล็กนอยจากสําเนียงที่ตนพูด

ลําดับที่ 3 หมายถึง แตกตางจากสําเนียงที่ตนพูด

ลําดับที่ 4 หมายถึง แตกตางโดยไมสามารถสื่อสารกันเขาใจ

3. การใหผูประเมินระบุภาษาถิ่น ในการศึกษาสําเนียงดวยวิธีน้ี ผูวิจัยจะ

มีแบบฟอรมใหเจาของภาษาระบุวา เสียงที่ตนไดยินน้ันเปนสําเนียงใด

งานวิจัยของเพรสตันแสดงใหเห็นวา การศึกษาการรับรูเสียงสามารถ

กระทําไดหลายวิธี ผูวิจัยมองวา หากนําวิธีการศึกษาการรับรูสําเนียงภาษาถ่ินมาศึกษาการรับรู-

สําเนียงภาษาตางประเทศ ผลการวิจัยที่ไดรับนาจะสะทอนมุมมองบางประการที่นาสนใจและลุมลึก

มากขึ้น

งานวิจัยขางตนแสดงใหเห็นวา นักวิจัยสวนใหญสนใจศึกษาการประเมิน

ระดับสําเนียงภาษาอังกฤษที่พูดโดยชาวตางประเทศ สวนงานวิจัยเกี่ยวกับการประเมินระดับสําเนียง-

ภาษาไทยน้ันมีจํานวนนอยกวา นอกจากน้ี การประเมินระดับสําเนียงสามารถศึกษาไดทั้งระดับ-

สําเนียงตางประเทศและสําเนียงภาษาถิ่น

อยางไรก็ตาม งานวิจัยทุกเร่ืองมีวัตถุประสงคเดียวกัน คือ การศึกษาวา

เจาของภาษารับรูหรือตอบสนองตอเสียงที่ตนไดยินเชนไร นอกจากน้ี งานวิจัยเหลาน้ีตางมีแนวโนมที่

จะอภิปรายผลการวิจัยในทิศทางเดียวกัน กลาวคือ หากเจาของภาษาประเมินวา เสียงที่ตนไดยินมี

Page 47: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

29

ความใกลเคียงกับเสียงที่ตนพูด จะแสดงใหเห็นวา เจาของเสียงคนดังกลาวมีศักยภาพในการออกเสียง

อยูในเกณฑใกลเคียงหรือเหมือนเจาของภาษา

2.2.2.2 การระบุเสียง (identification)

สเตรนจและแชฟเฟอร (Strange & Shafer, 2008) กลาววา การระบุ-

เสียง คือ การใหผูฟงระบุวา เสียงที่ตนไดยินเปนเสียงใด โดยผูฟงสามารถตอบสนองได 2 แนวทาง คือ

1. ตอบดวยการพูดหรือการเขียน การตอบเชนน้ีเรียกวา การตอบแบบเปด (open-set task)

หมายถึง การใหโอกาสผูฟงตอบไดตามที่ผูฟงรับรูอยางอิสระ และ 2. การเลือกตัวเลือกที่เตรียมไวซึ่ง

ตัวเลือกอาจอยูในรูปของคําหรือเสียง

การระบุเสียงเปนวิธีการหน่ึงที่ใชศึกษาสําเนียงของภาษาตางๆ งานวิจัย

จํานวนมากศึกษาสําเนียงภาษาถิ่นดวยการระบุเสียง (dialect identification) เชน งานวิจัยของโบเอ

และเดอ สกูตเตอร (Boets & De Schutter, 1977 อางถึงใน Gooskens, Van Bezooijen &

Nerbonne, 2013) ที่ศึกษาการรับรูสําเนียงถ่ินของภาษาดัทชที่พูดในประเทศเบลเยียมของคนที่มา

จากเมืองดัฟเฟล (Duffel) ซึ่งอยูใกลกับเมืองแอนทเวอรพ (Antwerp) โดยผูฟงจะไดฟงขอความที่

ออกเสียงโดยผูพูดภาษาดัทชจาก 14 พ้ืนที่ในประเทศเบลเยียม จากน้ัน ผูฟงจึงระบุในแผนที่วา เสียง

ที่พวกเขาไดยินเปนเสียงของคนที่อาศัยอยูในบริเวณใด ผลการศึกษาพบวา ภาษาถิ่นที่ใกลเคียงกับ

เสียงของคนที่มาจากเมืองดัฟเฟลไดรับการระบุอยางถูกตองมากกวาเสียงที่มาจากบริเวณอ่ืนๆ

นอกจากน้ี ผลการวิจัยยังแสดงใหเห็นวา ผูชายระบุไดถูกตองมากกวาผูหญิง คนที่มาจากชนช้ันสูงระบุ

ไดถูกตองมากกวาคนที่มาจากชนช้ันลาง และผูฟงที่มีอายุมากระบุไดถูกตองมากกวาคนที่อายุนอย

งานวิจัยที่ใชวิธีวิจัยใกลเคียงกับงานวิจัยขางตนคืองานวิจัยของ แวน บีซู

อีเจน (Bezooijen, 1995 อางถึงใน Gooskens, Van Bezooijen & Nerbonne,, 2013) ที่ศึกษา

การรับรูสําเนียงของคน 7 กลุมที่มีรุนอายุแตกตางกัน (ต้ังแต 9 – 12 ปถึงวัยผูใหญ) โดยผูฟงจะไดฟง

เสียงบรรยายรูปภาพสถานการณตางๆ ในชีวิตประจําวันที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาถ่ิน 4 ภาษา ผูพูด-

เหลาน้ีอาศัยในบริเวณที่พูดภาษาดัทชในประเทศเนเธอรแลนด จากน้ัน ผูฟงตองระบุตําแหนงในแผน-

ที่วา เสียงที่ตนไดยินน้ันเปนสําเนียงของคนในบริเวณใด ผลการศึกษาพบวา ผูใหญสามารถระบุสํา-

เสียงภาษาถิ่นไดดีกวาเด็ก ผลการวิจัยน้ีแสดงใหเห็นวา ภูมิหลังดานถิ่นที่อยูของผูฟงไมมีผลตอการ-

ระบุเสียงมากนัก

สวนการระบุเสียงภาษาไทย จะเห็นไดจากงานวิจัยของจุฑามณีและ

คณะ (Onsuwan et al., 2014) ที่ศึกษาการออกเสียงวรรณยุกต การรับรูเสียงวรรณยุกต และการ-

รับรูทํานองเสียงภาษาไทยของเด็ก ในประเด็นการรับรูเสียงวรรณยุกต จุฑามณีและคณะไดใหกลุม

Page 48: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

30

ตัวอยาง 3 กลุมซึ่งมีชวงอายุตางกันระบุวา เสียงที่ตนไดยินตรงกับรูปภาพใด แบบการทดสอบมี

ตัวเลือก 2 ตัวเลือก หากเด็กไดยินคําเราการรับรูแลวตองการตอบ พวกเขาจะช้ีไปที่รูปภาพหน่ึงใน

สองรูปน้ัน ซึ่งเปนคําตอบที่พวกเขารับรู

ดังจะเห็นจากงานวิจัยขางตน การระบุสามารถกระทําไดหลายวิธี เชน

การใชแผนที่ภูมิประเทศหรือรูปภาพประกอบการทดสอบ แตลักษณะรวมประการหน่ึง คือ ผูฟงจะได

ฟงคําเราการรับรูที่ออกเสียงโดยเจาของภาษา จากน้ัน ผูฟงจึงระบุดวยการช้ีที่รูปภาพหรือตําแหนงใน

แผนที่วา เสียงที่ตนไดยินน้ันตรงกับรูปภาพใดหรือเปนเสียงของคนที่มาจากบริเวณใดในแผนที่ การ-

ระบุจึงมีลักษณะคลายกับการประเมินระดับสําเนียง (accent rating) ในประเด็นที่สามารถนําไป

ศึกษาไดทั้งสําเนียงภาษาถิ่นและสําเนียงภาษาตางประเทศ

2.2.2.3 การแยกแยะเสียง (discrimination)

คํา เร าการรับรูที่ ใชศึกษาการแยกแยะเสียงจะเปนไฟล เสียงที่

ประกอบดวยเสียงต้ังแต 2 – 3 เสียง ผูวิจัยจะเปดไฟลเสียงเหลาน้ีตอเน่ืองกันเพ่ือใหผูฟงระบุวา เสียง

ที่ตนไดยินเปนเสียงเดียวกันหรือคนละเสียง เชน ขอที่ประกอบดวยเสียง 2 เสียง (อาจเปนคําหรือ

พยางค) จะปรากฏในรูป AX ผูฟงตองแยกแยะวา เสียง X ที่ตนไดยินเปนเสียงเดียวกับเสียง A (AA)

หรือเปนเปนคนละเสียง (AB) คําตอบอาจมีลักษณะคงที่ กลาวคือ A หมายถึง คําเราการรับรูเสียงเดิม

เสมอไปในทุกครั้งการทดสอบ เราเรียกคําเราการรับรูเชนน้ีวา “คําเราการรับรูคงที่” (constant

stimulus)

อยางไรก็ตาม สเตรนจและแชฟเฟอร (Strange & Shafer, 2008)

กลาววา ผลการแยกแยะเสียงแปรไปตามบุคคลเพราะแตละคนมีเกณฑการตัดสินความเหมือนและ

ความตางของเสียงตางแตกตางกัน ปรากฏการณเชนน้ีเรียกวา “ความโนมเอียงตอคําตอบ”

(response bias) ดังน้ัน ผูวิจัยจึงปรับแบบทดสอบใหซับซอนมากขึ้นโดยการเพ่ิมคําเราการรับรูในขอ-

ทดสอบเปน 3 เสียง โครงสรางของไฟลคําเราการรับรูจะปรากฏในรูป ABX AXB หรือตามที่ผูวิจัย

กําหนดเอง

ดังที่กลาวไวในรูปแบบ 2 ตัวเลือก เสียง X คือ เสียงที่ผูวิจัยตองการให

ผูฟงแยกแยะ สวนเสียง A และเสียง B คือ เสียงที่แตกตางกัน ผูฟงตองแยกแยะวา เสียง X ที่ตนไดยิน

เปนเสียงเดียวกับเสียง A หรือเสียง B สวนโครงสรางคําเราการรับรูที่ผูวิจัยกําหนดเองอาจปรากฏได

หลายโครงสราง เชน AAB ABA BAA ABB BAB หรือ BBA เปนตน สําหรับชุดคําเราการรับรูที่ไมยาก

นัก ผูวิจัยอาจใหเวลาผูฟงตอบกลับเร็วข้ึน (reaction time) เพ่ือทดสอบความแมนยําของผูฟงตอคํา-

เราการรับรูน้ันๆ

Page 49: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

31

งานวิจัยที่ศึกษาการแยกแยะเสียงดวยโครงสราง 3 คําเราการรับรู เชน

งานวิจัยของเวยแลนดและเกวียน (Wayland & Guion, 2004) ที่ศึกษาเชิงเปรียบเทียบระหวางกลุม-

ตัวอยางที่พูดภาษาแมแตกตางกัน โดยฝกใหผูฟงชาวอังกฤษและชาวจีนรับรูเสียงวรรณยุกตภาษาไทย

ผูบอกภาษามีทั้งหมด 6 คน ไดแก คนไทย 2 คน คนอเมริกัน 2 คน คนจีนแมนดาริน 1 คน และ

ไตหวัน 1 คน ผูบอกภาษาประกอบดวยผูชาย 3 คนและผูหญิง 3 คน ผูวิจัยเก็บขอมูลโดยฝกใหกลุม-

ตัวอยางทั้ง 6 คนแยกแยะคูวรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตเอก

ในการทดสอบการรับรู เวยแลนดและเกวียนใชโครงสราง ABX และ

AXB นอกจากน้ี ผู วิจัยไดกําหนดระยะเวลาระหวางคําเราการรับรูในแตละขอ (interstimulus

interval) 2 ระยะเวลา คือ ตอบสนองทุกๆ 500 มิลลิวินาที (500 ms) และตอบสนองทุกๆ 1500

มิลลิวินาที (1500 ms) ผลการวิจัยพบวา ชาวจีนสามารถแยกแยะเสียงวรรณยุกตภาษาไทยไดดีกวา

ชาวอเมริกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติทั้งสองระยะเวลาการออกเสียง

ดังที่กลาวขางตน นอกจากการศึกษาเพียงประเด็นการออกเสียงหรือ

การรับรูเสียงแลว นักภาษาศาสตรบางคนอาจศึกษาทั้งการออกเสียงและการับรูเสียงในงานวิจัย

เดียวกัน เชน ธนภัทร (2552) ที่ศึกษาวรรณยุกตภาษาไทยกรุงเทพที่ออกเสียงโดยคนญี่ปุนในประเด็น

คาความถี่มูลฐาน พิสัยคาความถี่มูลฐาน และคาระยะเวลาของสระของผูบอกภาษา 3 กลุม คือคน-

ไทย คนญี่ปุนที่มีประสบการณภาษาไทยนอย (คนญี่ปุนที่ศึกษาภาษาไทยประมาณ 2 เดือน) และคน

ญี่ปุนที่มีประสบการณภาษาไทยมาก (คนญี่ปุนที่ศึกษาภาษาไทยประมาณ 1 - 7 ป)

ผลการศึกษาพบวา คนญี่ปุนทั้ง 2 กลุมมีปญหาในการออกเสียง แต

ปญหาที่พบในกลุมคนญี่ปุนที่มีประสบการณภาษาไทยมากเปนปญหาที่คาดเดาได กลาวคือ มีปญหา

การออกคูเสียงวรรณยุกตสามัญกับวรรณยุกตเอก และคูเสียงวรรณยุกตตรีกับวรรณยุกตจัตวาให

แตกตางออกจากกัน ในขณะที่คนญี่ปุนที่มีประสบการณภาษาไทยนอยมีปญหาแตกตางกันเปน

รายบุคคล

ดานการทดสอบการรับรู ธนภัทรพบวา ผูฟงรับรูเสียงวรรณยุกตที่ออก

เสียงโดยคนญี่ปุนที่มีประสบการณภาษาไทยมากไดถูกตองมากในคําพูดเด่ียว แตรับรูเสียงวรรณยุกตที่

ออกเสียงโดยตัวแทนคนญี่ปุนที่มีประสบการณภาษาไทยนอยไดถูกตองมากในคําพูดตอเน่ือง ในการ-

รับรูคําพูดตอเน่ืองน้ี ธนภัทรเสนอวา ผูฟงมีปญหาในการรับรูบางประการ กลาวคือ รับรูวรรณยุกต

สามัญผิดเปนวรรณยุกตเอก และรับรูวรรณยุกตตรีผิดเปนวรรณยุกตจัตวา เน่ืองจากทั้งสองคูเปนคู

วรรณยุกตที่มีระดับเสียงใกลกัน

Page 50: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

32

งานวิจัยของเวยแลนด (Wayland, 1997) ไดศึกษาทั้งการออกเสียง

วรรณยุกตภาษาไทยและการรับรูของคนไทย เวยแลนดไดศึกษาเสียงพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต

ภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอังกฤษ เวยแลนดแบงการศึกษาเปน 2 ประเด็น คือ การวิเคราะห

ทางกลสัทศาสตรและการประเมินระดับสําเนียง กลุมตัวอยาง คือ ผูพูดภาษาไทยจํานวน 3 คนและผู-

พูดภาษาอังกฤษจํานวน 6 คน คําทดสอบในงานวิจัย คือ คํา “ ” และคํา “ ” ซึ่งผันตามเสียง

วรรณยุกตทั้ง 5 หนวยเสียงในภาษาไทย

ผลการวิจัยพบวา ผลการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของผูพูด-

ภาษาอังกฤษแตกตางจากผูพูดภาษาไทยในประเด็นคาความถี่มูลฐานมากกวาคาระยะเวลาของสระ

ในประเด็นการรับรู ผลการศึกษาแสดงใหเห็นวา เจาของภาษาประเมินเสียงของผูพูดภาษาอังกฤษวา

ไมใชเสียงของเจาของภาษาอยางเห็นไดชัด มีบางเสียงเทาน้ันที่ไดรับการประเมินวา อยูในระดับ

เหมือนเจาของภาษา นอกจากน้ี ผลการประเมินยังแสดงใหเห็นวา วรรณยุกตคงระดับไดรับการ-

ประเมินตํ่ากวาวรรณยุกตเปลี่ยนระดับ ในภาพรวม ผลการประเมินแสดงใหเห็นวา ประสบการณทาง

ภาษาไมมีความสัมพันธกับผลการประเมิน

จากการศึกษาการรับเสียงภาษาที่สองแสดงใหเห็นวา การรับเสียง-

ภาษาที่สองสามารถจําแนกประเด็นการศึกษาได 2 ประเด็น ไดแก การออกเสียงและการรับรูเสียง ใน

ประเด็นการรับรูเสียง ผูวิจัยพบวา แนวทางการศึกษาสามารถกระทําได 3 วิธี ไดแก 1. การประเมิน

ระดับสําเนียง 2. การแยกแยะ และ 3. การระบุ ซึ่งแตละวิธีมีลักษณะการทดสอบแตกตางกัน การ-

นําไปปรับใชขึ้นอยูกับความเหมาะสมของระเบียบวิธีวิจัยในงานวิจัยน้ันๆ

ในงานวิจัยน้ี ผูวิจัยเลือกใชการประเมินระดับสําเนียงเปนวิธีการศึกษา

เพราะผูวิจัยตองการทราบวา เสียงภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูจะ

ไดรับการประเมินระดับสําเนียงในระดับใด ดังน้ัน งานวิจัยน้ีจึงศึกษาทั้งการออกเสียงของประชากร

ศึกษาและการรับรูโดยเจาของภาษา

หากพิจารณาระเบียบวิธีการวิจัย ผูวิจัยเห็นวา งานวิจัยของเวยเลนด

(Wayland, 1997) เปนแนวทางในการศึกษาของงานวิจัยน้ีมากที่สุด เพราะเปนการศึกษาทั้งผลการ-

ออกเสียงภาษาไทยของเจาของภาษาและชาวตางประเทศ ตลอดทั้งการประเมินระดับสําเนียง-

ตางประเทศโดยเจาของภาษา แตประเด็นความแตกตาง คือ ในงานวิจัยน้ี ผูวิจัยตองการศึกษาผล-

การออกเสียงภาษาไทยของผูพูดภาษาตางประเทศจํานวน 2 กลุมเพ่ือแสดงใหเห็นวา ผูพูดกลุมใดออก

เสียงวรรณยุกตภาษาไทยไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทยมากกวา

Page 51: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

33

บทท่ี 3

วิธีวิจัย

3.1 ประชากรศึกษา

ประชากรศึกษาในงานวิจัยน้ี คือ ผูพูดภาษาพมาจํานวน 4 คน และผูพูดภาษาอูรดู

จํานวน 4 คน ผูพูดทั้งสองกลุมพํานักในประเทศไทยอยางถูกตองตามกฎหมาย ซึ่งพิจารณาจาก

ใบอนุญาตทํางาน 3

4 (work permit) วีซา (VISA) และหนังสือเดินทาง (passport) ผูพูดทุกคนเปนเพศ

ชายอายุ 20 – 50 ป ไมสามารถพูดภาษาอังกฤษ ไมเคยเรียนภาษาไทยในหองเรียน และพํานักใน

ประเทศไทยเปนเวลาสองปขึ้นไป

จากการสังเกตแบบมีสวนรวม โดยการใชชีวิตประจําวันรวมกับผูพูดภาษาพมาและผูพูด-

ภาษาอูรดู ผูวิจัยพบวา ผูพูดบางรายสามารถออกเสียงภาษาไทยไดในระดับใกลเคียงผูพูดภาษาไทย

แมวาผูพูดรายน้ันๆ จะเขามาพํานักในประเทศไทยเปนระยะเวลาเพียง 2 ป ดังน้ัน ผูวิจัยจึงกําหนด

ระยะเวลา 2 ปเปนระยะเวลาเริ่มตนของการเขามาอยูในประเทศไทยของประชากรศึกษาในงานวิจัยน้ี

ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูตองเปนผูที่มีอวัยวะในการออกเสียงครบถวนเพราะ

จุดประสงคหลักของงานวิจัยน้ี คือ การศึกษาการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทย นอกจากน้ี ประชากร

ศึกษาตองสามารถสื่อสารภาษาไทยไดอยางเขาใจและสามารถอานทําความเขาใจระบบการเขียน

ภาษาแมของตนไดเพราะเปนภาษาที่ปรากฏในแบบสอบถามภูมิลําเนาและประสบการณการใช

ภาษาไทย หนังสือแสดงเจตนายินยอมเขารวมการวิจัย และเอกสารช้ีแจงการเขารวมวิจัย ดังน้ัน หาก

ผูเขารวมวิจัยขาดคุณสมบัติดังกลาว ผูวิจัยจะถือวา ผูพูดภาษาพมาหรือผูพูดภาษาอูรดูคนน้ันขาด

คุณสมบัติในการเขารวมวิจัย

เน่ืองจากประชากรทั้ง 2 กลุมไมใครจะใหความรวมมือในการใหขอมูล ผูวิจัยจึงเก็บ

ขอมูลจากบุคคลที่เต็มใจเขารวมวิจัยเทาน้ัน ประชากรศึกษาในงานวิจัยน้ีจึงมีจํานวนเพียง 8 คนและมี

ชวงอายุคอนขางกวาง (30 ป)

4 ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูท่ียินดีใหผูวิจัยเก็บขอมูลเสียงประกอบอาชีพเปนลูกจางของ

นายจางชาวไทยและบางคนมีรานคาของตัวเอง ซ่ึงอาชีพเหลานี้ไมขัดตอพระราชกฤษฎีกากําหนดในอาชีพและ

วิชาชีพท่ีหามคนตางดาวทํา พ.ศ. 2552 (พิจารณาเพ่ิมเติมในพระราชบัญญัติคนเขาเมือง พ.ศ. 2522)

Page 52: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

34

นอกจากน้ี งานวิจัยน้ีไมไดศึกษาในเชิงปริมาณ ที่เนนศึกษาจํานวนประชากรจํานวนมาก

แตเปนการศึกษาเชิงคุณภาพที่เปนการศึกษาวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยประชากรทั้งสองกลุมโดย

ละเอียดดวยแนวทางกลสัทศาสตร (acoustic phonetic) การใชประชากรจํานวนมากจึงไมจําเปนใน

งานวิจัยน้ี

ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูทุกคนเรียนรูภาษาไทยจากการสื่อสารโดยตรงกับคน

ไทยหลังอายุ 17 ป ซึ่งในการศึกษาการรับภาษาที่สอง (second language acquisition) การเรียนรู

ภาษาอ่ืนที่ไมใชภาษาแมหลังอายุ 12 ป ผูเรียนจะไมสามารถรับภาษาโดยธรรมชาติและพัฒนาไปจน

เหมือนภาษาแม (ศึกษาเพ่ิมเติมใน Steiberg, Nagata & Aline, 2001: 117) ดังน้ัน กลุมตัวอยางทั้ง

8 คนจึงมีความเทาเทียมกันในการรับรูภาษาไทย ทั้งน้ี ผูวิจัยไดแสดงภูมิหลังดานการใชภาษาและ

ระยะเวลาการเขามาอยูในประเทศไทยของประชากรทั้ง 8 คนในตารางที่ 3.1 ดังน้ี

ตารางที่ 3.1

ภูมิหลงัและขอ้มูลการใชภ้าษาไทยของผูพ้ดูภาษาพม่าและผูพ้ดูภาษาอูรดู

ประชากรศึกษา

B1 B2 B3 B4 U1 U2 U3 U4

อายุท่ีเขามาพํานักในประเทศ

ไทย

25 21 20 19 27 17 17 25

อายุในขณะท่ีไดรับการ

ทดสอบ

33 49 22 21 29 20 20 45

ระยะเวลาท่ีพํานักอยูใน

ประเทศไทย

15 yrs. 28 yrs. 2yrs. 2yrs. 2yrs. 3yrs. 3yrs. 20 yrs.

การใชภาษาไทยโดยประมาณ

ในหนึ่งสัปดาห

21hrs./

wk.

7hrs./

wk.

3.5hrs.

/wk.

3.5hrs.

/wk.

3.5hrs.

/wk.

14hrs./

wk.

17.5hr

s/wk.

3.5hrs.

/wk.

* B = Burmese (ผูพูดภาษาพมา) U = Urdu (ผูพูดภาษาอูรดู) yrs. = years (ป)

hrs. = hours (ช่ัวโมง) wk. = week (สัปดาห)

Page 53: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

35

3.2 สถานที่เก็บขอมูล

ผูวิจัยเก็บขอมูลจากที่อยูของผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดูใน

เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร

3.3 การสรางเครื่องมือ

3.3.1 การคัดเลือกผูพูดภาษาไทย

3.3.1.1 ผูพูดภาษาไทยที่เขารวมการออกเสียงวรรณยุกต

ผูพูดภาษาไทยที่ออกเสียงวรรณยุกตมีจํานวน 1 คน เปนเพศชายอายุ

38 ป เกิดและเติบโตในกรุงเทพมหานคร บิดาและมารดาเปนชาวกรุงเทพฯ และมีการศึกษาระดับ

ปริญญาตรีขึ้นไป งานวิจัยน้ีมีกลุมตัวอยางน้ีเพ่ือเปนประชากรควบคุมและเปนตัวแทนของผูพูด-

ภาษาไทยกรุงเทพ ยุคปจจุบันเพศชายวัยกลางคน อีกทั้ง เพ่ือนําผลการออกเสียงวรรณยุกตของกลุม

ตัวอยางคนน้ีไปเปรียบเทียบกับผลการออกเสียงวรรณยุกตของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูวา

ใกลเคียงหรือแตกตางกันอยางไร

3.3.1.2 ผูพูดภาษาไทยที่เขารวมการออกเสียงคําเราการรับรู

ผูพูดภาษาไทยที่ออกเสียงคําเราการรับรูมีจํานวน 2 คน เปนเพศชาย

อายุ 25 ป และ 38 ป ผูพูดทั้ง 2 คนเกิดและเติบโตในกรุงเทพมหานคร บิดาและมารดาเปนชาว-

กรุงเทพฯ และมีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป งานวิจัยน้ีมีกลุมตัวอยางน้ีเพ่ือใหไฟลเสียงคําเรา

การรับรูมีสําเนียงหลากหลายและเพ่ือทดสอบความแมนยําในการประเมินระดับสําเนียงของผูประเมิน

3.3.2 การสรางแบบสอบถามประวัติ

3.3.2.1 แบบสอบถามประวัติของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

ผูวิจัยสรางแบบสอบถามประวัติผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูโดย

พัฒนาจากแบบสอบถามในงานวิจัยของธนภัทร (2552) ในงานวิจัยน้ี ผูวิจัยสรางแบบสอบถามเปน

ภาษาอังกฤษในขั้นตน จากน้ัน ใหผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูที่มีความรูภาษาอังกฤษแปลจาก

ภาษาอังกฤษเปนภาษาพมาและภาษาอูรดูตามลําดับ แบบสอบถามมี 2 สวน (ดูภาคผนวก ข และ

ภาคผนวก ค)

Page 54: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

36

สวนที่ 1 คือ ขอมูลสวนบุคคล ซึ่งประกอบดวยคําถามเกี่ยวกับช่ือ

นามสกุล อายุ ภาษาแม และภูมิลําเนา

สวนที่ 2 คือ ความถี่ในการใชภาษาไทยในชีวิตประจําวัน เชน การสื่อสาร

กับผูพูดภาษาไทย และการฟงรายการทางวิทยุหรือโทรทัศนภาคภาษาไทย เปนตน

3.3.2.2 แบบสอบถามประวัติของผูประเมินระดับสําเนียง

ผูวิจัยสรางแบบสอบถามเปนภาษาไทยโดยปรับจากแบบสอบถาม

ประวัติผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู แบบสอบถามชุดน้ีใชสํารวจขอมูลเบ้ืองตนของผูประเมิน

ระดับสําเนียง ประเด็นสําคัญในการสอบถาม คือ ผูประเมินเปนคนไทยกรุงเทพฯ โดยกําเนิด (ดู

ภาคผนวก ง)

3.3.3 การสรางบัตรคําทดสอบและบัตรคําเราการรับรู

3.3.3.1 การสรางบัตรคําทดสอบ

ผูวิจัยสรางบัตรคําทดสอบเปนลักษณะคําพูดเด่ียวพยางคเดียวเพ่ือศึกษา

คาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูด-

ภาษาอูรดู การจัดทําบัตรคําทดสอบมีขั้นตอนดังน้ี

(1) การเตรียมคําทดสอบ

คําทดสอบ คือ คําที่ข้ึนตนดวยพยัญชนะกักไมกองพนลมฐานเพดานออน

5 คํา คําทดสอบทั้งหมดประสมดวยสระอา ผูวิจัยเลือกคําทดสอบชุดน้ีเพราะประกอบดวยพยัญชนะ

ตนและสระเดียวกัน ซึ่งการควบคุมพยัญชนะตนและสระจะทําใหคาความถ่ีมูลฐานที่ปรากฏในสระมี

ความคงที่ คําทดสอบเหลาน้ีเปนคําที่ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูคุนเคยเพราะใชสื่อสารใน

ชีวิตประจําวัน

เน่ืองจากผูออกเสียงในงานวิจัยน้ีมีจํานวน 9 คน โดยแบงเปนผูพูด-

ภาษาไทย 1 คน ผูพูดภาษาพมา 4 คน และผูพูดภาษาอูรดู 4 คน ดังน้ัน ผูพูดหน่ึงคนจะมีขอมูลเสียง

ที่ดีที่สุดคนละ 5 ไฟลเสียง ไฟลเสียงที่นํามาวิเคราะหทางกลสัทศาสตรในงานวิจัยน้ีจึงมีทั้งสิ้น 45 ไฟล

เสียง (5 คํา x 1 ครั้ง x 8 คน = 45) คําทดสอบมี 5 คําดังน้ี (พิจารณาการคัดเลือกไฟลเสียงเพ่ือการ

วิเคราะหทางกลสัทศาสตรในหัวขอที่ 3.6.1.1)

(หลัง) คา ขา ฆา (พอ) คา ขา

Page 55: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

37

(2) การเตรียมรูปภาพประกอบคําทดสอบ

ผูวิจัยจัดหารูปภาพประกอบคําแปลภาษาพมาและภาษาอูรดู ดังเชน

บัตรคําทดสอบ “ขา” ขางลาง

ساق

ภาพที่ 3.1 ตัวอยางบัตรคําทดสอบ

3.3.3.2 การสรางบัตรคําเราการรับรู

ผูวิจัยสรางบัตรคําเราการรับรูเพ่ือศึกษาการประเมินระดับสําเนียง

ตางประเทศ การจัดทําบัตรคําเราการรับรูมีขั้นตอนดังน้ี

(1) การเตรียมคําเราการรบัรู4F5

5 เจสนี (Jesney, 2004: 2) พบวา คําเราการรับรูท่ีนิยมใชประเมินระดับสําเนียงตางประเทศมาก

ท่ีสุด คือ คําเราการรับรูระดับ 1 ประโยค นอกจากนี้ งานวิจัยนี้ตองการศึกษาการรับรูสําเนียงในระดับการสื่อสาร

ซ่ึงแสดงถึงการยอมรับวา เสียงท่ีตนไดยินอยูในเกณฑใด เชน ใกลเคียงเจาของภาษาหรือไมนาจะใชเจาของภาษา

เปนตน มากกวาการศึกษาเพ่ือวิเคราะหความถูกตองหรือขอผิดพลาดโดยใหผูเชี่ยวชาญดานสัทศาสตรเปนผูประเมิน

ผูประเมินในงานวิจัยนี้ คือ คนไทยท่ีไมมีความรูดานสัทศาสตร มุนโร (Munro, 2008: 200) กลาววา

ผูประเมินท่ีเปนบุคคลท่ัวไป (unsophisticated listeners) คือ เจาของภาษาท่ีมีความสามารถในการประเมินระดับ

สําเนียง ความเขาใจ และความคลอง ตลอดท้ังสามารถมองเห็นวา ผูพูดตางชาติมีระดับความเขาใจภาษาท่ีสอง

อยางไรเม่ือจําเปนตองสื่อสารกับบุคคลอ่ืนในสังคมท่ีพวกเขาอาศัยอยู

ดังนั้น ในงานวิจัยนี้ ผูวิจัยจึงศึกษาการประเมินระดับสําเนียงดวยคําเราการรับรูระดับประโยค ซ่ึงเปน

ประโยคท่ัวไปท่ีสื่อสารในชีวิตประจําวันเพ่ือตองการทราบวา เสียงของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูจะไดรับ

การยอมรับจากผูประเมินในระดับใด

Page 56: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

38

คําเราการรับรูในงานวิจัยน้ี คือ ประโยคที่มีความยาว 4 – 8 พยางค มี

เสียงวรรณยุกตหลากหลาย และเปนประโยคที่ผู พูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูสื่อสารใน

ชีวิตประจําวัน ดังน้ี

(1) นกอยูบนหลังคาสามตัว (2) แกงน้ีใสขากับพริก

(3) เขาฆาคนตาย (4) ผมรูจักพอคาคนน้ัน

(5) หมามีขาสี่ขา (6) ชาวนากําลังปลูกขาว

(7) ผมซื้อนอยหนามาจากตลาด (8) ผูหญิงคนน้ีหนาตาสวย

(9) ผมมีนาสาวสองคน (10) เขาหั่นหมูช้ินหนาเกินไป

(2) การเตรียมรูปภาพประกอบคําเราการรับรู

แมผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูไมสามารถอานประโยคภาษาไทย

ได แตผูพูดทั้งสองกลุมจะสามารถเขาใจความหมายของประโยคไดเพราะมีคําแปลภาษาพมาและ

ภาษาอูรดูใตรูปภาพ ดังเชนบัตรคําเราการรับรู “นกอยูบนหลังคาสามตัว”

.ان تين پرندوں کی چهت پر ہے

ภาพที่ 3.2 ตัวอยางบัตรคําเราการรับรู

Page 57: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

39

3.4. การเก็บขอมูลเสียง

3.4.1 การเก็บขอมูลเสียงของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

1. ผูวิจัยแจกแบบสอบถามและสัมภาษณผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

ตามที่พักของผูพูด

2. ผูวิจัยคัดเลือกผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูที่มีคุณสมบัติตรงตามที่ผูวิจัย

ตองการศึกษา จากแบบสอบถามประวัติ และความสมัครใจในการเขารวมวิจัย จากน้ัน ผูวิจัยนัด

หมายวัน เวลา และสถานที่เพ่ือบันทึกเสียง

3. ผูวิจัยช้ีแจงรายละเอียดการเก็บขอมูล และใหกลุมตัวอยางทําความเขาใจ

รูปภาพประมาณ 5 – 10 นาทีกอนบันทึกเสียงจริงในหองที่ปดเงียบ

4. ผูวิจัยใหกลุมตัวอยางออกเสียงคําทดสอบ 5

6 และคําเราการรับรู 6 7 ผาน

ไมโครโฟนเพ่ืออัดเสียงไปยังเครื่องบันทึกเสียงโซนี (SONY) รุน ICD-UX523F

5. เมื่อบันทึกขอมูลเสียงแลว ผูวิจัยจะตรวจสอบความถูกตองของขอมูลและจะ

อัดเสียงซอมสวนที่มีปญหาทันทีเพ่ือไมทําใหผูเขารวมวิจัยตองสละเวลามาใหขอมูลเปนครั้งที่สอง

จากน้ัน ผูวิจัยบันทึกไฟลเสียงในคอมพิวเตอรเพ่ือวิเคราะหขอมูลเสียงทางกลสัทศาสตรตอไป

6. ผูวิจัยจะสรางช่ือไฟลเสียงที่ไดจากการออกเสียงของผูพูดภาษาพมาและผูพูด-

ภาษาอูรดู โดยเรียงลําดับอักษรยอดังน้ี กลุมประชากร ลําดับการใหขอมูล คําที่ออกเสียง และ

หมายเลขแสดงเสียงวรรณยุกต เชน B1Kha1 ซึ่งหมายถึง ผูพูดภาษาพมา (B ยอมาจาก Burmese)

คนที่ 1 คําคา และเสียงสามัญ หรือ U2kha3 ซึ่งหมายถึง ผูพูดภาษาอูรดู (U ยอมาจาก Urdu) คนที่

2 คําคาและเสียงโท (เลข 3 แทนเสียงโท) เปนตน ซึ่งการสรางช่ือไฟลเสียงดวยการไมระบุช่ือจริงและ

นามสกุลจริงของผูเขารวมวิจัยเชนน้ีถือเปนการปกปดขอมูลสวนตัวของผูวิจัยตอสาธารณะชน

6 ในการเก็บเสียงคําทดสอบ ผูวิจัยใหกลุมตัวอยางออกเสียงคําละ 3 ครั้ง แตจะคัดเลือกเฉพาะเสียง

ท่ีออกเปนครั้งท่ีสองเทานั้น ซ่ึงงานวิจัยสวนใหญมีแนวโนมจะใชเสียงครั้งท่ีสองเพราะถือเปนเสียงท่ีชัดเจนมากท่ีสุด

ในการเก็บขอมูล ผูวิจัยจะฝกใหกลุมตัวอยางฝกออกเสียงกอนเพ่ือพิจารณาวา เสียงท่ีกลุมตัวอยาง

ออกเสียงนั้นคือเสียงท่ีผูวิจัยตองการศึกษา ผูวิจัยจะยกบัตรคําใหกลุมตัวอยางออกเสียง กลุมตัวอยางก็จะออกเสียง

ตามท่ีเห็นจากบัตรคํา เชน เม่ือผูวิจัยยกบัตรคํา “หลังคา” ซ่ึงกลุมตัวอยางทําความเขาใจกอนแลววา แมคํานี้มีสอง

พยางค แตออกเสียงเพียงพยางคหลังคือ “คา” เทานั้น 7 ในการเก็บเสียงคําเราการรับรู ผูวิจัยใหกลุมตัวอยางทําความเขาใจบัตรคําเราการรับรูกอน เม่ือถึง

เวลาออกเสียงจริง ผูวิจัยจะยกบัตรคําเราการรับรู แลวใหกลุมตัวอยางออกเสียงตามท่ีพวกเขาไดทําความเขาใจ

Page 58: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

40

3.4.2 การเก็บขอมูลเสียงของผูพูดภาษาไทย

1. ผูวิจัยแจกแบบสอบถามและสัมภาษณผูพูดภาษาไทยที่บานของผูพูด

2. ผูวิจัยคัดเลือกผูพูดภาษาไทยที่มีคุณสมบัติตรงตามที่ผูวิจัยตองการศึกษาจาก

แบบสอบถามประวัติ และความสมัครใจในการเขารวมวิจัย จากน้ัน ผูวิจัยนัดหมายวัน เวลา และ

สถานที่เพ่ือบันทึกเสียง

3. ผูวิจัยใหกลุมตัวอยางทําความเขาใจรายการคําทดสอบและรายการคําเราการ

รับรูประมาณ 10 นาทีกอนการบันทึกเสียงจริงในหองที่ปดเงียบ

4. ใหกลุมตัวอยางอานออกเสียงคําทดสอบทีละคําและคําเราการรับรูทีละ

ประโยคตามลําดับผานไมโครโฟน เพ่ืออัดเสียงเขาไปยังเครื่องบันทึกเสียงโซนี (SONY) รุน ICD-

UX523F

5. เมื่อบันทึกขอมูลเสียงแลว ผูวิจัยจะตรวจสอบความถูกตองของขอมูลเสียงและ

จะอัดเสียงซอมสวนที่มีปญหาทันทีเพ่ือไมทําใหผูเขารวมวิจัยตองสละเวลามาใหขอมูลเปนครั้งที่สอง

จากน้ัน ผูวิจัยบันทึกไฟลเสียงในคอมพิวเตอรเพ่ือวิเคราะหขอมูลเสียงทางกลสัทศาสตรตอไป

3.5 การสรางเครื่องมือการทดสอบการประเมินระดับสําเนียง

3.5.1 การคัดเลือกผูประเมินระดับสําเนียง

ผูประเมินระดับสําเนียงมีจํานวน 20 คน เปนเพศชาย 10 คน และเพศหญิง 10

คน ผูประเมินทั้ง 20 คนเกิดและเติบโตในกรุงเทพมหานคร บิดาและมารดาเปนชาวกรุงเทพฯ มี

การศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป มีอายุอยูในชวง 20 – 40 ป ไมประกอบอาชีพเกี่ยวกับการสอน

ภาษา และไมเคยคลุกคลีกับผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

3.5.2 การสรางไฟลเสียงคําเราการรับรู

ผูวิจัยสรางไฟลเสียงคําเราการรับรูจากเสียงของกลุมตัวอยาง 10 คน คนละ 20

ประโยค ซึ่งไฟลเสียง 20 ประโยคน้ีไดมาจากการที่ผูพูดออกเสียงประโยคจํานวน 10 ประโยค 2 ครั้ง

รวมทั้งสิ้น 200 ไฟลเสียง โดยไฟลเสียงทั้งหมดถูกเรียงลําดับใหม เพ่ือไมใหผูฟงทราบวา ไฟลเสียง

ใดบางที่ออกเสียงโดยผูพูดคนเดียวกัน ไฟลเสียงทั้ง 200 ไฟล แบงเปน 3 กลุมดังน้ี

1. ไฟลเสียงผูพูดภาษาพมาจํานวน 80 ไฟล (ผูวิจัยเก็บไฟลเสียงจากผูพูดภาษา-

พมา 4 คน คนละ 20 ประโยค คิดเปนรอยละ 40 ของไฟลเสียงทั้งหมด)

Page 59: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

41

2. ไฟลเสียงผูพูดภาษาอูรดูจํานวน 80 ไฟล (ผูวิจัยเก็บไฟลเสียงจากผูพูดภาษา-

อูรดู 4 คน คนละ 20 ประโยค คิดเปนรอยละ 40 ของไฟลเสียงทั้งหมด)

3. ไฟลเสียงผูพูดภาษาไทยจํานวน 40 ไฟล (ผูวิจัยเก็บไฟลเสียงจากผูพูด-

ภาษาไทยกรุงเทพ 2 คน คนละ 20 ประโยค คิดเปนรอยละ 20 ของไฟลเสียงทั้งหมด)

3.5.3 การสรางแบบประเมินระดับสําเนียง

ผูวิจัยสรางแบบประเมินระดับสําเนียงเปนแบบลิเคิรท สเกล (Likert scales) 5

ระดับเพราะปรากฏในงานวิจัยจํานวนมาก (เชน Olson and Samuels, 1973; Oyama, 1976;

Snow and Hoefnagel–Hohle, 1977; Major, 1987; Thompson, 1991; Elliott, 1995 ทั้งหมด

อางถึงใน Jesney, 2004) แบบประเมินมีรายละเอียด คือ ระดับที่ 1 หมายถึง “ไมใชเจาของภาษา

แนนอน” และระดับที่ 5 หมายถึง “เหมือนเจาของภาษามากที่สุด” สวนระดับที่ 2 – 4 ผูวิจัยเวนวาง

ไวดังตัวอยางในตารางที่ 3.2 ตารางที่ 3.2 ตัวอยางแบบประเมินระดับสําเนียง

ประโยคทั้งหมด 200 ประโยค

1

ไมใช

เจาของ

ภาษา

แนนอน

2

3

4

5

เหมือน

เจาของ

ภาษามาก

ที่สุด

หมายเหตุ

ตัวอยางที่ 18

ตัวอยางที่ 2

1. นกอยูบนหลังคาสามตัว

2. แกงนี้ใสขากับพริก

3. เขาฆาคนตาย

4. ผมรูจักพอคาคนนั้น

5. หมามีขาสี่ขา

8 ตัวอยางท่ี 1 และตัวอยางท่ี 2 คือ ตัวอยางคําเราการรับรูท่ีผูวิจัยเปดใหผูประเมินลองประเมิน

กอนท่ีจะฟงไฟลเสียงคําเราการรับรูท้ัง 200 ประโยคซ่ึงเปนการประเมินจริง

Page 60: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

42

ตารางที่ 3.2 (ตอ) ตัวอยางแบบประเมินระดับสําเนียง

ประโยคทั้งหมด 200 ประโยค

1

ไมใช

เจาของ

ภาษา

แนนอน

2

3

4

5

เหมือน

เจาของ

ภาษามาก

ที่สุด

หมายเหตุ

6. ชาวนากําลังปลูกขาว

7. ผมซ้ือนอยหนามาจากตลาด

8. ผูหญิงคนนี้หนาตาสวย

9. ผมมีนาสาวสองคน

10. เขาห่ันหมูชิ้นหนาเกินไป

การประเมินระดับสําเนียงมีขั้นตอนดังนี้

1. ผูวิจัยนัดหมายวัน เวลา และสถานที่เพ่ือทดสอบการประเมิน

2. ผูวิจัยแจกแบบประเมินระดับสําเนียง เละอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับ

การประเมิน

3. ผูวิจัยเปดไฟลเสียงทั้ง 200 ไฟล (โดยเปดใหฟง 1 ไฟลเสียงเพียง 1 ครั้ง

เทาน้ัน) เพ่ือใหผูฟงประเมินวา ไฟลเสียงแตละไฟลมีสําเนียงในระดับใด

3.6. การวิเคราะหขอมูล

3.6.1 การวิเคราะหขอมูลทางกลสัทศาสตร

ผูวิจัยวิเคราะหคําพูดเด่ียวพยางคเดียวตามแนวทางกลสัทศาสตรดวยโปรแกรม-

พราท (Praat) เวอรชัน 5356 โดยพิจารณาคาความถี่มูลฐาน (fundamental frequency) และพิสัย-

คาความถี่มูลฐาน (fundamental frequency range) และคาระยะเวลาของสระ (vowel duration)

ตามขั้นตอนดังน้ี

Page 61: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

43

3.6.1.1 การคัดเลือกไฟลเสียง

ไฟลเสียง 1 ไฟลประกอบดวยเสียง 3 พยางค เชน ไฟลเสียง “คา” ผูพูด

จะออกเสียง 3 ครั้ง คือ “คา คา คา” ( ) แตผูวิจัยจะเลือกวิเคราะหคาความถ่ีมูลฐาน

ของสระในพยางคที่สองเทาน้ัน

ภาพที่ 3.3 ไฟลเสียงที่ประกอบดวยเสียง 3 พยางค

3.6.1.2 การคัดเลือกบริเวณของเสียงสระ

เมื่อเปดไฟล “textgrid” ที่สรางไว โปรแกรมพราทจะแสดงไฟลเสียง

พรอมขอความบอกตําแหนงพยัญชนะและสระ ในการวัดคาความถี่มูลฐาน ผูวิจัยจะเริ่มวัดจาก

จุดเริ่มตนของเสียงสระ (vowel onset) จนถึงจุดสิ้นสุดของเสียงสระ (vowel offset) ดังภาพที่ 3.4

Page 62: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

44

ภาพที่ 3.4 ไฟลเสียงที่เตรียมนําไปวิเคราะหคาความถี่มูลฐาน

3.6.1.3 การเรียกดูคาความถ่ีมูลฐานสูงสุดและตํ่าสุด

ผูวิจัยเปดโปรแกรมพราทแลวเลือกคําสั่ง “get minimum pitch” และ

“get maximum pitch” จากน้ัน จึงนําคาความถ่ีมูลฐานดังกลาวไปวิเคราะหพิสัยของคาความถ่ีมูล-

ฐาน

3.6.1.4 การเรียกดูคาระยะเวลาการออกเสียง

ผูวิจัยเลือกคําสั่ง “Pitch” และ “Pitch listing” ตามลําดับ แลว

คัดลอกคาระยะเวลาและคาความถี่มูลฐานไปวางในโปรแกรม Microsoft Excel 2010 แลวคํานวณ

คาระยะเวลาแบบปรับคา (normalized time) ดวยสูตร

C2 = B2+(L2-B2)/109

9 C2 B2 และ L2 คือ ตําแหนงการวางคาระยะเวลาในโปรแกรม Microsoft Excel ซ่ึงสามารถปรับ

ตามดุลยพินิจของผูวิจัยแตละคน ในท่ีนี้ C2 คือ คาระยะเวลาในตําแหนง 10% B2 คือ คาระยะเวลาในตําแหนง 0%

และ L2 คือ คาระยะเวลาในตําแหนง 100%

Page 63: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

45

3.6.1.5 การแปลงคาความถ่ีมูลฐานจากคาเฮิรตซเปนคาเซมิโทน9

10

เน่ืองจากพิสัยคาความถ่ีมูลฐานแปรไปตามปจจัยทางสังคมดานตางๆ

เชน เพศ อายุ ตลอดทั้งชาติพันธุ ดังน้ัน วรรณยุกตที่ออกเสียงโดยกลุมผูพูดที่มีภูมิหลังแตกตางตางกัน

จะทําใหชวงพิสัยคาความถี่มูลฐานแตกตางกันดวยเมื่อวางคาลงบนเสกลที่มีหนวยวัดเปนคาเฮิรตซ

โนแลน (Nolan, 2007) จึงไดเสนอใหนําเสนอคาความถ่ีมูลฐานดวยเสกลเซมิโทน (semitone) ซึ่ง

เปนสเกลที่เทียบเคียงไดกับการรับรูของคน ในงานวิจัยน้ี ประชากรศึกษามาจากสองกลุมชาติพันธุ

ผล-การออกเสียงวรรณยุกตจึงมีความหลากหลาย ดังน้ัน ผูวิจัยจึงนําเสนอผลการออกเสียงดังกลาว

ดวย เสกลเซมิโทนแทนเสกลเฮิรตซโดยอาศัยสูตรการคํานวณจากงานวิจัยของศุจิณัฐ (2555) ดังน้ี

semitone = 12*log(Hztrans/Hzref)/log(2)10

11

3.6.2 การวิเคราะหขอมูลทางสถิติ

3.6.2.1 การวิเคราะหผลการออกเสียงวรรณยุกตทางสถิติ

ผู วิจัยทดสอบผลตางคานัยสําคัญของคาระยะเวลาของสระที่มี

วรรณยุกตตางๆ ที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดูดวยสถิติทดสอบ

แมน-วิตนี ยู เทสต (Mann-Whitney U Test)12

10 เนื่องจากพิสัยคาความถี่มูลฐานแปรไปตามปจจัยทางสังคมดานตางๆ เชน เพศ อายุ ตลอดท้ังชาติ-

พันธุ ดังนั้น วรรณยุกตท่ีออกเสียงโดยกลุมผูพูดท่ีมีภูมิหลังแตกตางตางกันจะทําใหชวงพิสัยคาความถ่ีมูลฐาน

แตกตางกันดวยเม่ือวางคาลงบนเสกลท่ีมีหนวยวัดเปนคาเฮิรตซ โนแลน (Nolan, 2007) จึงไดเสนอใหนําเสนอ

คาความถี่มูลฐานดวยเสกลเซมิโทน (semitone) ซ่ึงเปนสเกลท่ีเทียบเคียงไดกับการรับรูของคน ในงานวิจัยนี้

ประชากรศึกษามาจากสองกลุมชาติพันธุ ผลการออกเสียงวรรณยุกตจึงมีความหลากหลาย ดังนั้น ผูวิจัยจึงนําเสนอ

ผลการออกเสียงดังกลาวดวยเสกลเซมิโทนแทนเสกลเฮิรตซ 11 Hztrans หมายถึง คาเฮิรตซท่ีจะแปลงคา สวน Hzref หมายถึง คาอางอิงท่ีใชเปนฐานในการ

คํานวณขอมูลแตละชุด ในงานวิจัยนี้ ผูวิจัยกําหนดคาอางอิงเปนคาเฮิรตซท่ีต่ําท่ีสุด และหนาเครื่องหมายเทากับ (=)

คือ ตําแหนงใดก็ไดในโปรแกรม Microsoft Excel 12 การวิเคราะหทางสถิติแมน-วิตนี ยู เทสตเปนสถิติอางอิงแบบไมมีพารามิเตอรซ่ึงใชวิเคราะหขอมูล

ท่ีแจกแจงแบบไมปกติ (ศึกษาเพ่ิมเติมในธานินทร, 2557: 200) งานวิจัยนี้ ขอมูลไมมีการแจงแจงแบบปกติเพราะขอ

มูลคาระยะเวลาของสระมีปริมาณนอย ผูวิจัยไดรับคําแนะนําจากผูเชี่ยวชาญทางสถิติวา ควรใชสถิติทดสอบแมน-

วิตนี ยู เทสตในการวิเคราะหความแตกตางคาระยะเวลาของสระ

Page 64: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

46

3.6.2.2 การวิเคราะหผลการประเมินระดับสําเนียงทางสถิติ

(1) เมื่อผูวิจัยไดขอมูลเสียงจากลุมตัวอยาง 10 คน คนละ 20 ประโยค ซึ่ง

ไฟลเสียง 20 ประโยคน้ีไดมาจากการที่ผูพูดออกเสียงประโยคจํานวน 10 ประโยค 2 ครั้ง รวมทั้งสิ้น

200 ไฟล ผูวิจัยจะฟงและประเมินดวยตัวเองวา ไฟลเสียงที่ซ้ํากัน 2 ไฟลน้ัน ไฟลเสียงใดมีความ

ใกลเคียงกับเสียงของผูพูดภาษาไทยมากที่สุด เมื่อผูวิจัยประเมินไดแลว ผูวิจัยจะตัดไฟลเสียงที่ซ้ํา

ออกไปเพ่ือใหไดไฟลเสียงคําเราการรับรูที่ดีที่สุด ดังน้ัน ไฟลเสียงคําเราการรับรูจึงมีจํานวนเพียง 100

ไฟล โดยแบงเปน 3 กลุมดังน้ี 1. ไฟลเสียงของผูพูดภาษาพมาจํานวน 40 ไฟล 2. ไฟลเสียงของผูพูด-

ภาษาอูรดูจํานวน 40 ไฟล และ 3. ไฟลเสียงของผูพูดภาษาไทยจํานวน 20 ไฟล

(2) ผูวิจัยจะกําหนดและระบุไวชัดเจนวา คําเราการรับรูแตละประโยคออก-

เสียงโดยกลุมตัวอยางใด แตไมไดเปดเผยใหผูประเมินรับทราบ การกําหนดเชนน้ีมีประโยชนในการ

คํานวณคะแนนผลการออกเสียงของกลุมตัวอยาง เชน ประโยคที่หน่ึงออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาคน

ที่ 1 ประโยคที่ 2 ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 1 เปนตน โดยแตละลําดับจะเปนเสียงของผูพูด

ตางกลุมกัน

(3) เมื่อผูประเมินประเมินระดับสําเนียงแลว ผูวิจัยจะนําแบบประเมินน้ัน

มาระบุวา เปนผลการออกเสยีงของผูพูดคนใด โดยผูวิจัยจะเขียนเปนรหัสไวหลังประโยค เชน B1

หมายถึง ผูพูดภาษาพมาคนที่ 1 U1 หมายถึง ผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 1 เปนตน

(4) เมื่อผูวิจัยระบุรหัสประจําตัวหลังคําเราการรับรูในแบบประเมินแลว

ผูวิจัยจะนับคะแนนของแตละประโยค ดังที่เห็นในแบบประเมินวา ชองใหคะแนนมีทั้งหมด 5 ชอง ซึ่ง

กําหนดโดยตัวเลข 1 2 3 4 และ 5 แตละตัวเลข หมายถึง คะแนนที่ผูพูดจะไดรับ เชน หากผูประเมิน

เห็นวา ประโยคที่ตนไดยินมีความใกลเคียงหรือเหมือนกับเสียงของผูพูดภาษาไทยมาก ผูประเมินจะ

เขียนเครื่องหมายกากบาทที่ชองหมายเลข 5 ซึ่งหมายความวา ผูพูดคนน้ันไดรับคะแนน 5 คะแนน

(5) เมื่อผูวิจัยนับคะแนนของผูพูดเปนรายบุคคลเสร็จแลว ผูวิจัยจะนําผล

คะแนนน้ันมาคํานวณคาเฉลี่ย (mean) ซึ่งมีคะแนนเต็ม 5 คะแนน

(6) ผูวิจัยนําผลคะแนนเฉลี่ยของกลุมตัวอยางแตละคนมาพิจารณาวา ผูพูด

คนใดมีระดับคะแนนเฉลี่ยอยูในเกณฑใด ซึ่งพิจารณาจากเกณฑคะแนนดังน้ี

ผลคะแนนต้ังแต 0 – 0.9 คะแนน หมายถึง ไมใชเจาของภาษาแนนอน

ผลคะแนนต้ังแต 1 – 1.9 คะแนน หมายถึง ไมนาจะใชเจาของภาษา

ผลคะแนนต้ังแต 2 – 2.9 คะแนน หมายถึง ไมแนใจ

Page 65: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

47

ผลคะแนนต้ังแต 3 – 3.9 คะแนน หมายถึง ใกลเคียงเจาของภาษา

ผลคะแนนต้ังแต 4 – 5 คะแนน หมายถึง เหมือนเจาของภาษามากที่สุด

ดังน้ัน หากสมมุติวา ผูพูดภาษาพมาคนที่ 1 มีระดับคะแนนเฉลี่ย 3.5 ผล-

การประเมินระดับสําเนียงของผูพูดภาษาพมาคนที่ 1 จะอยูในระดับใกลเคียงเจาของภาษาเพราะอยู

ในชวงคะแนน 3 – 3.9 คะแนน เปนตน

(7) เมื่อคํานวณคะแนนของผูพูดแตละคนเปนคาเฉลี่ยแลว ผูวิจัยจะนําผล-

คะแนนเฉลี่ยของผูพูดแตละคนน้ีมาคํานวณหาคะแนนเฉลี่ยของกลุม เชน กลุมผูพูดภาษาพมามี

จํานวน 4 คน ผูวิจัยจะนําผลคะแนนเฉลี่ยของทั้ง 4 คนมาคํานวณคาเฉลี่ยเพ่ือแสดงคะแนนเฉลี่ยของ

กลุมผูพูดภาษาพมา เปนตน

(8) นอกจากพิจารณาวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูแตละคนไดรับ

ผลคะแนนประเมินเทาไรแลว ผูวิจัยจะพิจารณาคะแนนประเมินของแตละประโยคเพ่ิมเติมดวย เพ่ือ

พิจารณาวา แตละประโยคที่ออกเสียงโดยผูพูดแตละคนไดรับผลคะแนนประเมินเทาไร ซึ่งคะแนน

ประเมินในรายประโยคน้ีจะนําไปพิจารณารวมกับสัทลักษณะของวรรณยุกต เ พ่ือวิเคราะห

ความสัมพันธระหวางผลการออกเสียงและผลการรับรูวา มีความสัมพันธกันมากนอยเพียงไร

(9) ในขั้นตอนสุดทายของการวิเคราะหผลการประเมินระดับสําเนียง ผูวิจัย

จะทดสอบผลตางคานัยสําคัญดวยสถิติทดสอบที (Independent Sample t-test)13 แบบสองทาง

(2-tail significant) ดวยโปรแกรม SPSS (version 21) โดยกําหนดคาความเช่ือมั่นที่ 95% ดังน้ัน

หากผลตางระหวางผลการประเมินสําเนียงของกลุมตัวอยางทั้ง 2 กลุมมีนัยสําคัญทางสถิติจะมีคา-

ความเปนไปไดนอยกวา 0.05 ซึ่งสามารถแสดงไดดวย p < 0.05 การทดสอบคานัยสําคัญทางสถิติ

เชนน้ีจะแสดงใหเห็นวา ผูพูดกลุมใดมีระดับสําเนียงตางประเทศมากกวาเมื่อออกเสียงภาษาไทย

13 งานวิจัยท่ีแบบสอบถามเปนแบบมาตราสวนประมาณคา (rating scale) จะทดสอบความแตกตาง

ดวยคา t-test หรือ ANOVA แตท้ังสองวิธีใชในกรณีท่ีแตกตางกัน กลาวคือ กรณีท่ีตัวแปรตนมีคายอย 2 คาใหใช t-

test ในการ ทดสอบความตาง (เชน ตัวแปรตนเพศมีคายอย 2 คา คือ เพศชายและเพศหญิง) และกรณีท่ีตัวแปรตน

มีคายอยมากกวา 2 คา ใหใช ANOVA ในการทดสอบความตาง (เชน ตัวแปรตนวุฒิการศึกษามีคายอย 3 คา คือ ต่ํา

กวาปริญญาตรี ปริญญาตรี และสูงกวาปริญญาตรี) (ศึกษาเพ่ิมเติมใน ธานินทร, 2557: 428-429) งานวิจัยนี้มีตัว

แปรตน คือ ภาษาแม ซ่ึงมีคายอย 2 คา คือ ภาษาท่ีมีระบบเสียงวรรณยุกต (ภาษาพมา) และภาษาท่ีไมมีระบบเสียง

วรรณยุกต (ภาษาอูรดู) ผูวิจัยจึงทดสอบความตางดวยสถิติทดสอบที (t-test)

Page 66: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

48

3.7 การนําเสนอผลการวิจัย

ในการนําเสนอสัทลักษณะของวรรณยุกต ผูวิจัยอาศัยแนวคิดอักษรวรรณยุกตของชาว

(Chao, 1930) ซึ่งใชตัวเลขในการนําเสนอวรรณยุกต ในงานวิจัยน้ี ผูวิจัยใชกราฟ 5 ชวงเพ่ือแสดงสัท

ลักษณะของวรรณยุกต กราฟดังกลาวมีลักษณะและรายละเอียดดังน้ี

ชวงท่ี 5 เปนระดับเสียงสูง

ชวงท่ี 4 เปนระดับเสียงกลางคอนขางสูง

ชวงท่ี 3 เปนระดับเสียงกลาง

ชวงท่ี 2 เปนเสียงระดับกลางคอนขางตํ่า

ชวงท่ี 1 เปนระดับเสียงต่ํา

จากกราฟขางตน ผูวิจัยสามารถแสดงสัทลักษณะของวรรณยุกตดวยหมายเลข 1 – 5

ตามชวงกราฟที่คาเซมิโทนปรากฏ เชน วรรณยุกต ก. คาเซมิโทนเริ่มที่ชวงที่ 3 และลดระดับลงอยาง

ตอเน่ืองจนสิ้นสุดที่ชวงที่ 1 ผูวิจัยจึงแสดงสัทลักษณะของวรรณยุกต ก. ดวยหมายเลข 31 เปนตน

แตเน่ืองจากผลการออกเสียงของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูในงานวิจัยน้ีมีการ

แปรจากผลการออกเสียงของผูพูดภาษาไทยมาก การอธิบายสัทลักษณะของวรรณยุกตดวยตัวเลข

เพียงอยางเดียวอาจไมสามารถอธิบายสัทลักษณะของวรรณยุกตตางๆ ไดชัดเจน ดังน้ัน ผูวิจัยจึงแบง

ครึ่งชวงเสียงวรรณยุกตขางตนเพ่ือแสดงใหเห็นสัทลักษณะของวรรณยุกตชัดเจนมากข้ึน ผูวิจัยอางอิง

การการแบงชวงเสียงวรรณยุกตเชนน้ีจากงานวิจัยของปนิฏฐา (2544) และงานวิจัยของอารีวรรณ

(2548) ดังน้ี

5^ สูง

5 สูง

4^ กลางคอนขางสูง

4 กลางคอนขางสูง

3^ กลาง

3 กลาง

2^ กลางคอนขางต่ํา

2 กลางคอนขางต่ํา

1^ ต่ํา

1 ตํ่า

Page 67: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

49

นอกจากความสูงของระดับเสียงแลว การเคลื่อนที่ของระดับเสียงจากจุดเริ่มตนของเสียง

สระไปถึงจุดสิ้นสุดของเสียงสระก็มีความสําคัญในการแสดงใหเห็นสัทลักษณะของวรรณยุกต ผูวิจัยจึง

กําหนดเกณฑการอธิบายการเคลื่อนที่ของระดับเสียงเปน 3 จุด คือ จุดเริ่มตน จุดกลาง และจุดสิ้นสุด

ของสระ การอธิบายการเคลื่อนที่ของระดับเสียง 3 จุดเชนน้ีจะแสดงใหเห็นการเคลื่อนขึ้นและเคลื่อน

ลงของระดับเสียงไดชัดเจนมากยิ่งขึ้น

สวนตาราง ผูวิจัยจะใชนําเสนอ 1. ชวงพิสัยคาความถ่ีมูลฐานของวรรณยุกต 2. ผลตาง

คานัยสําคัญคาระยะเวลาของสระที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

และ 3. ผลการประเมินระดับสําเนียงตางประเทศ

Page 68: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

50

บทท่ี 4

การออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา

และผูพดูภาษาอูรด ู

ในบทน้ี ผูวิจัยจะนําเสนอผลการวิเคราะหคาความถ่ีมูลฐานของวรรณยุกตภาษาไทย

ออกเปน 2 ประเด็น ในชวงตนซึ่งอยูภายใตหัวขอ 4.1 จะเปนการเปรียบเทียบผลการออกเสียง

วรรณยุกตภาษาไทยของผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู ในชวงที่สองซึ่งอยูภายใต

หัวขอ 4.2 จะเปนการนําเสนอผลการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของผูพูดทั้ง 3 กลุม

ในชวงตน ผูวิจัยไดเปรียบเทียบสัทลักษณะของวรรณยุกตตางๆ ที่ออกเสียงโดยผูพูด-

ภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู ในการนําเสนอสัทลักษณะของวรรณยุกต ผูวิจัยจะ

นําเสนอการเปรียบเทียบสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

กับสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยทีละวรรณยุกตเพ่ือแสดงใหเห็นความ-

ใกลเคียงและความแตกตาง วรรณยุกตภาษาไทยในงานวิจัยน้ีถือเปนภาพแทนของวรรณยุกต

ภาษาไทยปจจุบันเพราะออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยเพศชายที่อายุระหวาง 20 – 50 ป ดังจะเห็นได

จากตารางที่ 4.1 ชองที่แรเงาดวยแถบสีเทาทึบ หมายถึง สัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผู-

พูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูที่ออกเสียงไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย

จากน้ัน ผูวิจัยไดนําเสนอภาพแสดงสัทลักษณะเฉลี่ยของวรรณยุกตตางๆ เพ่ือแสดงให

เห็นความแตกตางและความใกลเคียงของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยกลุมผูพูดภาษาพมาและผูพูด-

ภาษาอูรดูกับวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย สัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูด-

ภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูในสวนน้ีเปนคาเฉลี่ยของวรรณยุกตที่ออกเสียงดวยกลุมตัวอยางแตละ

กลุม เชน วรรณยุกตสามัญที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาที่ปรากฏในภาพที่ 4.1 คือ คาเฉลี่ยของ

วรรณยุกตสามัญที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาจํานวน 4 คน เปนตน

สวนชวงที่สองซึ่งอยูภายใตหัวขอ 4.2 จะเปนการนําเสนอผลการออกเสียงวรรณยุกต

ภาษาไทยของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูรายบุคคลเพ่ือแสดงใหเห็นความสามารถดานการ

ออกเสียงของผูภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูเปนรายบุคคล ซึ่งในความเปนจริง ผูพูดแตละคนมี

ความสามารถตางกัน การพิจารณาเพียงคาเฉลี่ยของคาความถ่ีมูลฐานที่เปนภาพแทนของแตละกลุม

อาจทําใหมองไมเห็นความสามารถของรายบุคคล

Page 69: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

51

4.1 การเปรียบเทียบผลการออกเสียงของผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพดูภาษาอูรดู

4.1.1 การเปรยีบเทียบสัทลกัษณะของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดย

ผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพดูภาษาอูรดูเปนรายบุคคล

ตารางที่ 4.1 สัทลักษณะของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา

และผูพูดภาษาอูรดู

ประชากรศึกษา วรรณยุกต สัทลักษณะของวรรณยุกต สัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออก

เสียงโดยผูพูดภาษาไทย

ผูพูดภาษาพมาคนท่ี 1 สามัญ 221

1^1^1

เอก 21

2^1

โท 4^2^

3^41

ตรี 213^

242^

จัตวา 2^14^

213^

ผูพูดภาษาพมาคนท่ี 2 สามัญ 2^1

1^1^1

เอก 2^1

2^1

โท 3^1

3^41

ตรี 2^1^3^

242^

จัตวา 2^23^

213^

Page 70: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

52

ตารางที่ 4.1 (ตอ) สัทลักษณะของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา

และผูพูดภาษาอูรดู

ประชากรศึกษา วรรณยุกต สัทลักษณะของวรรณยุกต สัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออก

เสียงโดยผูพูดภาษาไทย

ผูพูดภาษาพมาคนท่ี 3 สามัญ 21

1^1^1

เอก 21

2^1

โท 3^2

3^41

ตรี 23^

242^

จัตวา 1^3

213^

ผูพูดภาษาพมาคนท่ี 4 สามัญ 31^

1^1^1

เอก 31

2^1

โท 42

3^41

ตรี 323^

242^

จัตวา 3^24

213^

ผูพูดภาษาอูรดูคนท่ี 1 สามัญ 3^1

1^1^1

เอก 31

2^1

โท 4^1

3^41

ตรี 4^34^

242^

Page 71: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

53

ตารางที่ 4.1 (ตอ) สัทลักษณะของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา

และผูพูดภาษาอูรดู

ประชากรศึกษา วรรณยุกต สัทลักษณะของวรรณยุกต สัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออก

เสียงโดยผูพูดภาษาไทย

จัตวา 425^

213^

ผูพูดภาษาอูรดูคนท่ี 2 สามัญ 221^ 1^1^1

เอก 1^1^1 2^1

โท 3^1

3^41

ตรี 33^

242^

จัตวา 212

213^

ผูพูดภาษาอูรดูคนท่ี 3 สามัญ 21^1^

1^1^1

เอก 21

2^1

โท 3^1^

3^41

ตรี 1^12^

242^

จัตวา 1^12

213^

ผูพูดภาษาอูรดูคนท่ี 4 สามัญ 41^

1^1^1

เอก 31

2^1

โท 51^

3^41

Page 72: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

54

ตารางที่ 4.1 (ตอ) สัทลักษณะของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา

และผูพูดภาษาอูรดู

ประชากรศึกษา วรรณยุกต สัทลักษณะของวรรณยุกต สัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออก

เสียงโดยผูพูดภาษาไทย

ตรี 2^3^

242^

จัตวา 3^23^

213^

ตารางที่ 4.1 เปนการเปรียบเทียบสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูด-

ภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูกับสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูวิจัย

นําเสนอตารางดังกลาวเพ่ือแสดงใหเห็นความสามารถในการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของผูพูด-

ภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

ดังจะเห็นไดจากตารางดังกลาว ผูวิจัยไดแรเงาวรรณยุกตที่ผูพูดภาษาพมาและผู-

พูดภาษาอูรดูออกเสียงไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทยดวยแถบสีเทาทึบ และในการบรรยายสัทลักษณะ

ของวรรณยุกต ผูวิจัยจะเนนอธิบายการเปลี่ยนทิศทางของระดับเสียง (pitch direction) เปนหลัก

โดยไมเนนอธิบายความสูงของระดับเสียง (pitch height) ซึ่งคาบเกี่ยวกับพิสัยคาความถ่ีมูลฐาน (F0-

range) เน่ืองจากผูพูดแตละคนมีความกวางของพิสัยของระดับเสียงแตกตางกัน อีกทั้งระดับความสูง-

ตํ่าของระดับเสียงเปนลักษณะที่แปรไปตามบุคคล

ผลการวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตในตารางที่ 4.1 แสดงใหเห็นวา ผูพูด-

ภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูจํานวน 7 คนสามารถออกเสียงวรรณยุกตเอกและวรรณยุกตจัตวาได

ใกลเคียงผูพูดภาษาไทย กระน้ัน วรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูทุกคนมีสัทลักษณะ

พิเศษ กลาวคือ ปรากฏการเคลื่อนขึ้นที่ชวงทายการออกเสียง การเคลื่อนขึ้นเชนน้ีไมปรากฏในผล-

การออกเสียงวรรณยุกตเอกของผูพูดภาษาไทยและของผูพูดภาษาพมา (พิจารณาคําอภิปรายในหัวขอ

ที่ 6.2.3 บทที่ 6 หนา 120 - 123) วรรณยุกตที่ผูพูดออกเสียงไดใกลเคียงรองลงมา คือ วรรณยุกต

สามัญ (3 คน) สวนวรรณยุกตโทและวรรณยุกตตรีน้ัน ผลการวิเคราะหพบวา ไมมีผูพูดคนใดสามารถ

ออกเสียงไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย

Page 73: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

55

นอกจากน้ี สัทลักษณะของวรรณยุกตขางตนยังแสดงใหเห็นลักษณะรวมบาง

ประการ คือ ผูพูดสวนใหญมีปญหาในการออกเสียงคูวรรณยุกตสามัญกับวรรณยุกตเอก โดยมีผูพูด

เพียงสองคนเทาน้ัน คือ ผูพูดภาษาพมาคนที่ 1 และผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 3 ที่สามารถออกเสียงคู

วรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตเอกไดแตกตางออกจากกัน สวนผูพูดภาษาพมาคนที่ 2 3 และ 4 และ

ผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 1 และ 4 น้ันมีแนวโนมที่จะออกเสียงวรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตเอกใน

ทิศทางเดียวกัน กลาวคือ มีการลดระดับเสียงลงอยางตอเน่ืองจากชวงเริ่มตนจนถึงชวงทายของการ

ออกเสียง

อยางไรก็ตาม แมผูพูดบางรายสามารถออกเสียงวรรณยุกตสามัญได แตผลการ

วิเคราะหสัทลักษณะก็แสดงใหเห็นวา ผูพูดคนดังกลาวออกเสียงวรรณยุกตเอกในทิศทางเดียวกับการ

ออกเสียงวรรณยุกตสามัญเพราะผูพูดออกเสียงวรรณยุกตทั้งสองเปนวรรณยุกตระดับ ซึ่งปรากฏในผล

การออกเสียงของผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 2 กรณีเชนน้ีชวยสนับสนุนวา ผูพูดมีความสับสนระหวางการ

ออกเสียงวรรณยุกตเอกและวรรณยุกตสามัญ

นอกจากน้ี สัทลักษณะของวรรณยุกตในตารางที่ 4.1 ยังแสดงใหเห็นวา คู

วรรณยุกตตรีและจัตวาอาจเปนปญหาในการออกเสียงของผูพูดสวนใหญดวย กลาวคือ ผูพูดสวนใหญ

ออกเสียงวรรณยุกตทั้งสองในทิศทางเดียวกันเพราะมีการเริ่มตนในระดับเสียงหน่ึงๆ แลวตกในชวง

กลาง จากน้ัน จึงเคลื่อนสูงขึ้นจนถึงชวงทายของการออกเสียง อยางไรก็ตาม จากการพิจารณาระดับ-

เสียงของวรรณยุกต จะเห็นไดวา วรรณยุกตตรีอยูในระดับเสียงที่สูงกวาวรรณยุกตจัตวาอยางเห็นได

ชัด

สวนวรรณยุกตโท ผลการวิเคราะหสัทลักษณะแสดงใหเห็นวา ผูพูดทุกคนออก

เสียงวรรณยุกตโทแตกตางจากผูพูดภาษาไทยเพราะไมปรากฏการเคลื่อนข้ึนในชวงกลางของการออก

เสียง นอกจากน้ี หากไมพิจารณาประเด็นความสูงของระดับเสียง ผูวิจัยเห็นวา สัทลักษณะของ

วรรณยุกตโทมีลักษณะคลายกับสัทลักษณะของวรรณยุกตเอกเพราะระดับเสียงตกอยางตอเน่ืองจาก

ชวงเริ่มตนถึงชวงทายของการออกเสียง

ในภาพรวม ผลการวิเคราะหแสดงใหเห็นวา มีผูพูดจํานวน 2 คน (ผูพูดภาษา

พมาคนที่ 1 และผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 3) ที่สามารถออกเสียงวรรณยุกตไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย 3

วรรณยุกต (วรรณยุกตสามัญ วรรณยุกตเอก และวรรณยุกตจัตวา) และมีผูพูดจํานวน 5 คน (ผูพูด-

ภาษาพมาคนที่ 2 และ 4 และผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 1 2 และ 4) ที่สามารถออกเสียงวรรณยุกตได

ใกลเคียงผูพูดภาษาไทย 2 วรรณยุกต (วรรณยุกตเอกและวรรณยุกตจัตวา ยกเวนผูพูดภาษาอูรดูคนที่

Page 74: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

56

2 ที่สามารถออกเสียงวรรณยุกตสามัญกับวรรณยุกตจัตวาไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย) สวนผูพูดภาษา-

พมาคนที่ 3 ออกเสียงวรรณยุกตไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทยเพียง 1 หนวยเสียง

ดังน้ัน ผลการวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา

และผูพูดภาษาอูรดูจะเห็นไดวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูทั้ง 8 คนสามารถออกเสียง

วรรณยุกตภาษาไทยไดใกลเคียงกัน กระน้ัน ผูพูดภาษาพมาคนที่ 1 และผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 3 มี

ความโดดเดนดานการออกเสียงมากกวาผูพูดคนอ่ืนๆ เพราะสามารถออกเสียงวรรณยุกตไดใกลเคียง

ผูพูดภาษาไทย 3 หนวยเสียง ซึ่งตางจากผูพูดคนอ่ืนที่ออกเสียงวรรณยุกตไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย

จํานวนนอยกวา

4.1.2 การเปรยีบเทียบคาเฉลี่ยสัทลักษณะของวรรณยุกตภาษาไทยทีอ่อกเสียงโดย

ผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพดูภาษาอูรดู

จากตารางที่ 4.1 ขางตน จะเห็นไดวา สัทลักษณะของวรรณยุกตตางๆ ที่ออก

เสียงโดย ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูมีการแปรไปจากวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูด-

ภาษาไทย การนําเสนอผลการออกเสียงวรรณยุกตดังกลาวแสดงใหเห็นผลการออกเสียงวรรณยุกต

ของรายบุคคล กระน้ัน เพ่ือใหเห็นความสามารถดานการออกเสียงวรรณยุกตในภาพรวมของผูพูดทั้ง

สองกลุม ผูวิจัยจึงนําเสนอวรรณยุกตตางๆ ที่เปนคาเฉลี่ยของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดทุกคนใน

แตละกลุมเพ่ือเปรียบเทียบกับผลการออกเสียงวรรณยุกตของผูพูดภาษาไทยดวย

ดังจะเห็นไดจากภาพที่แสดงสัทลักษณะของวรรณยุกตทั้ง 5 ภาพขางลางน้ี

ระดับคาเซมิโทนสูงสุดอยูที่ 9 เซมิโทน ซึ่งตางจากสเกลเซมิโทนที่นําเสนอสัทลักษณะของวรรณยุกต

รายบุคคลซึ่งอยูที่ 12 เซมิโทน ทั้งน้ี เน่ืองจากพิสัยของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดบางคนอยูใน

ระดับสียงที่สูง ผูวิจัยจึงจําเปนตองถือเอาระดับเสียงสูงสุดเปนเกณฑในการกําหนดคาสูงสุดของสเกล-

เซมิโทนที่นําเสนอผลการออกเสียงรายบุคคล แตในการนําเสนอผลการออกเสียงที่ปรากฏในรูปภาพ

ขางลางน้ีเปนคาเซมิโทนของคาความถ่ีมูลฐานเฉลี่ยของผูพูดทุกคน คาเซมิโทนสูงสุดจึงลดระดับลง

ผูวิจัยจึงกําหนดคาสูงสุดของสเกลไวที่ 9 เซมิโทน

Page 75: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

57

ภาพที่ 4.1 วรรณยุกตสามัญที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

จะเห็นไดวา สัทลักษณะของวรรณยุกตสามัญที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและ

ผูพูดภาษาอูรดูมีความแตกตางจากสัทลักษณะของวรรณยุกตสามัญที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

กลาวคือ วรรณยุกตสามัญที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาเละผูพูดภาษาอูรดูมีสัทลักษณะคลาย

วรรณยุกตเอกเพราะมีการตกอยางตอเน่ืองต้ังแตชวงเริ่มตนจนถึงชวงทาย ซึ่งตางจากวรรณยุกต

สามัญที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยที่มีสัทลักษณะคงระดับในชวงเริ่มตนและชวงกลางและตก

เล็กนอยในชวงทาย

การเปรียบเทียบระหวางสัทลักษณะของวรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตเอกทํา

ใหเห็นลักษณะการออกเสียงของกลุมตัวอยางมากข้ึนวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูออกเสียง

วรรณยุกตสามัญคลายกับวรรณยุกตเอก ซึ่งตางจากผูพูดภาษาไทยที่ออกเสียงวรรณยุกตทั้งสองได

แตกตางกัน

0

1.8

3.6

5.4

7.2

9

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

ไทย

พมา

อูรดู

Page 76: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

58

ภาพที่ 4.2 วรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

สัทลักษณะขางตนแสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูออกเสียง

วรรณยุกตเอกไดใกลเคียงกับผูพูดภาษาไทยเพราะมีการตกอยางตอเน่ืองต้ังแตชวงเร่ิมตนถึงชวงทาย

หากพิจารณาสัทลักษณะของวรรณยุกตอ่ืนๆ ประกอบ จะเห็นไดวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษา-

อูรดูออกเสียงวรรณยุกตเอกไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทยมากกวาวรรณยุกตอ่ืนๆ อยางไรก็ตาม ผูวิจัย

พบวา วรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูปรากฏการเคลื่อนข้ึนเล็กนอยในตอนทาย ซึ่งการ

เคลื่อนขึ้นเชนน้ีพบในวรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูทุกคน จึงอาจกลาวไดวา ลักษณะ

การออกเสียงในภาษาอูรดูบางประการมีอิทธิพลตอการออกเสียงวรรณยุกตในภาษาไทย (พิจารณาคํา

อภิปรายในหัวขอที่ 6.2.3 บทที่ 6 หนา 120 - 123)

0

1.8

3.6

5.4

7.2

9

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

ไทย

พมา

อูรดู

Page 77: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

59

ภาพที่ 4.3 วรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

สัทลักษณะของวรรณยุกตโทขางตนแสดงใหเห็นวา วรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดย

ผูพูดภาษาไทยมีลักษณะเปลี่ยนระดับขึ้น-ตกอยางเห็นไดชัด ซึ่งตางจากวรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผู-

พูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูที่ตกอยางตอเน่ืองต้ังแตชวงเริ่มตนถึงชวงทาย

ภาพที่ 4.4 วรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

0

1.8

3.6

5.4

7.2

9

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

ไทย

พมา

อูรดู

0

1.8

3.6

5.4

7.2

9

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

ไทย

พมา

อูรดู

Page 78: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

60

สัทลักษณะของวรรณยุกตตรีแสดงใหเห็นวา วรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดย ผูพูด-

ภาษาไทยมีสัทลักษณะเคลื่อนขึ้นไปที่ระดับเสียงที่สูงอยางตอเน่ือง ซึ่งตางจากวรรณยุกตตรีที่ออก

เสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูที่มีลักษณะเปนวรรณยุกตเปลี่ยนระดับตก-ขึ้นเพราะ

ปรากฏการเคลื่อนลงและขึ้นของระดับเสียง หากไมพิจารณาความชันของระดับเสียง ผูวิจัยเห็นวา

วรรณยุกตตรีและวรรณยุกตจัตวาที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูมีสัทลักษณะ

คลายกัน

ภาพที่ 4.5 วรรณยุกตจัตวาที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

สัทลักษณะของวรรณยุกตจัตวาขางตนแสดงใหเห็นวา วรรณยุกตจัตวาที่ออก

เสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูมีสัทลักษณะเปลี่ยนระดับตก-ข้ึนเชนเดียวกับวรรณยุกต-

จัตวาที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย อาจกลาวไดวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูไมมีปญหาใน

การออกเสียงวรรณยุกตจัตวา

0

1.8

3.6

5.4

7.2

9

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

ไทย

พมา

อูรดู

Page 79: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

61

ตารางที่ 4.2 คาเฉลี่ยสัทลักษณะของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา

และผูพูดภาษาอูรดู

กลุมผูพูด วรรณยุกต

สามัญ เอก โท ตรี จัตวา

ไทย 221 31 451 2^53 2^1^4^4

พมา 31^ 31 52 324^ 3^25

อูรดู 3^1^ 311^ 51^ 3^34^ 3^24

ตารางที่ 4.2 เปนการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียง

โดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูกับสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ซึ่ง

ตารางดังกลาวไดแสดงสัทลักษณะของวรรณยุกตทั้ง 5 หนวยเสียงดังน้ี

วรรณยุกตสามัญที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยมีความแตกตางจากวรรณยุกต-

สามัญที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู กลาวคือ วรรณยุกตสามัญที่ออกเสียงโดยผู-

พูดภาษาไทยมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า คงระดับในชวงเริ่มตนถึงชวงกลาง แลวจึงตกในชวงทาย

สวนวรรณยุกตสามัญที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูมีสัทลักษณะกลาง-ตกอยาง

เห็นไดชัดคลายกับสัทลักษณะของวรรณยุกตเอก

วรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดทั้ง 3 กลุมมีสัทลักษณะคลายกัน กลาวคือ

วรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดทั้ง 3 กลุมตางเริ่มตนที่ระดับกลางแลวจึงเคลื่อนตํ่าลงเรื่อยๆ จนถึง

ชวงทายของการออกเสียง

วรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยมีสัทลักษณะแตกตางจากวรรณยุกต-

โทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู กลาวคือ วรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูด-

ภาษาไทยเริ่มตนที่ระดับกลางคอนขางสูง จากน้ัน เคลื่อนขึ้นในชวงกลาง และตกในชวงทาย แต

วรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูไมปรากฏการเคลื่อนขึ้นในชวงกลาง

แตจะเคลื่อนตกอยางตอเน่ืองจนถึงชวงทาย

Page 80: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

62

วรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยมีความแตกตางจากวรรณยุกตที่ออก

เสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูอยางเห็นไดชัด กลาวคือ วรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยผู-

พูดภาษาไทยเคลื่อนขึ้นอยางตอเน่ืองต้ังแตชวงเริ่มตนจนถึงชวงกลาง และตกเล็กนอยในชวงทาย ตาง

จากวรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูที่ตกในชวงกลาง จากน้ัน จึง

เคลื่อนขึ้นจนถึงชวงทาย

วรรณยุกตจัตวาที่ออกเสียงโดยผู พูดภาษาไทยมีสัทลักษณะใกลเคียงกับ

วรรณยุกตจัตวาที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูเพราะปรากฏการตกในชวงกลาง

แลวเคลื่อนขึ้นในชวงทาย ในภาพรวม อาจกลาวไดวา สัทลักษณะของวรรณยุกตจัตวาที่ออกเสียงโดย

ผูพูดทั้ง 3 กลุมมีลักษณะคลายกัน แตระดับเสียงไมเทากัน

เมื่อพิจารณาผลการวิเคราะหสัทลักษณะในตารางที่ 4.2 รวมกับตารางที่ 4.1 จะ

เห็นใหเห็นวา ผูพูดทั้ง 2 กลุมสามารถออกเสียงวรรณยุกตเอกและวรรณยุกตจัตวาไดใกลเคียงผูพูด-

ภาษาไทยมากกวาวรรณยุกตอ่ืนๆ

กระน้ัน แมผลการวิเคราะหในตารางที่ 4.2 แสดงใหเห็นวา มีเพียงวรรณยุกตเอก

และวรรณยุกตจัตวา ที่ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูออกเสียงไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย แตผล-

การวิเคราะหในตารางที่ 4.1 แสดงใหเห็นวา วรรณยุกตสามัญ คือ อีกวรรณยุกตหน่ึงที่ผูพูดภาษาพมา

และผูพูดภาษาอูรดูบางคนสามารถออกเสียงไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย

โดยสรุป ผูวิจัยมองวา วรรณยุกตเอกและวรรณยุกตจัตวานาจะเปนวรรณยุกตที่

งายที่สุดที่ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูสามารถออกเสียงไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย จากน้ัน จึง

เปนวรรณยุกตสามัญ สวนวรรณยุกตโทและตรีน้ัน ผูพูดอาจตองอาศัยระยะเวลาในการรับรูและฝก

ออกเสียงมากกวาวรรณยุกตอ่ืน ทั้งน้ี ผูวิจัยจะนําเสนอลําดับของวรรณยุกตที่ผูพูดภาษาพมาและผู-

พูดภาษาอูรดูวัยผูใหญสามารถออกเสียงไดในภาพที่ 4.6

1. วรรณยุกตเอก/จัตวา 2.วรรณยุกตสามัญ 3.วรรณยุกตโท/ตร ี

ภาพที่ 4.6 ลําดับของวรรณยุกตภาษาไทยที่ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูออกเสียงไดใกลเคียง

กับวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

Page 81: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

63

4.1.3 พิสัยคาความถ่ีมูลฐานของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูด-

ภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

เพ่ือแสดงใหเห็นความแตกตางระหวางผลการออกเสียงวรรณยุกตของผูพูดทั้ง 3

กลุม ผูวิจัยไดนําเสนอภาพที่ 4.7 ซึ่งเปนการแสดงความแคบและความกวางของชวงพิสัยคาความถี่-

มูลฐานของวรรณยุกต การนําเสนอความแตกตางของชวงพิสัยเชนน้ีจะแสดงใหเห็นวา ผูพูดแตละกลุม

สามารถออกเสียงวรรณยุกตที่ระดับเสียงสูงสุดและตํ่าสุดที่คาความถี่มูลฐานเทาไร

ภาพที่ 4.7 ชวงพิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

ภาพที่ 4.7 แสดงใหเห็นวา ชวงพิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตสามัญที่ออก

เสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูมีความกวาง 78 เฮิรตซ ที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา 56 เฮิรตซ และที่ออก

เสียงโดยผูพูดภาษาไทย 48 เฮิรตซ

ชวงพิสัยคาความถ่ีมูลฐานของวรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูมี

ความกวาง 65 เฮิรตซ ที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา 59 เฮิรตซ และที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

32 เฮิรตซ

23

32

42

39

50

56

59

89

62

98

78

65

109

111

123

0 20 40 60 80 100 120 140

สามัญ

เอก

โท

ตรี

จัตวา

ชวงพิสัยคาความถ่ีมูลฐาน

วรรณ

ยุกต

อูรดู

พมา

ไทย

Page 82: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

64

ชวงพิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูมีความ

กวาง 109 เฮิรตซ ที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา 89 เฮิรตซ และที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย 72

เฮิรตซ

ชวงพิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูมีความ

กวาง 111 เฮิรตซ ที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา 62 เฮิรตซ และที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย 52

เฮิรตซ

ชวงพิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตจัตวาที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูมี

ความกวาง 123 เฮิรตซ ที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา 98 เฮิรตซ และที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

66 เฮิรตซ

ผลการวิเคราะหขางตนสามารถสรุปไดวา คาความถี่มูลฐานของทุกวรรณยุกตที่

ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูมีความกวางมากที่สุด รองลงมา คือ คาความถี่มูลฐานของทุกวรรณยุกตที่

ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา และที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยตามลําดับ

ตารางที่ 4.3 พิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา

และผูพูดภาษาอูรดู

กลุมตัวอยาง คาความถ่ีมูลฐาน (Hz)

คาสูงสุด คาตํ่าสุด ชวงพิสัย

ผูพูดภาษาไทย 177 117 60

ผูพูดภาษาพมา 197 91 106

ผูพูดภาษาอูรดู 207 84 123

Page 83: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

65

ภาพที่ 4.8 พิสัยคาความถี่มลูฐานของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

เมื่อพิจารณาตารางที่ 4.3 รวมกับภาพที่ 4.8 จะสามารถอธิบายไดวา ชวงพิสัย-

คาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูมีความกวางมากที่สุดคือ 123 เฮิรตซ

ซึ่งอยูในชวง 84 – 207 เฮิรตซ รองลงมา คือ ชวงพิสัยคาความถ่ีมูลฐานของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดย

ผูพูดภาษาพมาคือ 106 เฮิรตซ ซึ่งอยูในชวง 91 – 197 เฮิรตซ สวนชวงพิสัยคาความถ่ีมูลฐานของ

วรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยแคบมากที่สุด คือ 60 เฮิรตซ ซึ่งอยูในชวง 117 – 177

เฮิรตซ

4.1.4 คาระยะเวลาเฉลี่ยของสระที่มีวรรณยุกตแตกตางกันที่ออกเสยีงโดย

ผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพดูภาษาอูรดู

จากการวิเคราะหคาระยะเวลาของสระที่มีวรรณยุกตตางๆ ที่ออกเสียงโดย ผูพูด-

ภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู ผูวิจัยเห็นวา ควรนําเสนอผลการวิจัยใน 2 ประเด็น

คือ คาเฉลี่ยและคาเบ่ียงเบนมาตรฐานของคาระยะเวลาของสระที่พิจารณาเปนรายวรรณยุกตในลําดับ

แรกเพ่ือวิเคราะหวา แตละวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดแตละกลุมมีความแตกตางกันหรือไม

จากน้ัน ผูวิจัยจะนําเสนอ คาเฉลี่ยและคาเบ่ียงเบนมาตรฐานของคาระยะเวลาของสระที่เปนคาเฉลี่ย

ของทุกวรรณยุกต ซึ่งจะทําใหเห็นความแตกตางของคาระยะเวลาของสระที่ออกเสียงโดยผูพูดแตละ

กลุมในภาพรวม

177

197 207

117

91 84 80

106

132

158

184

210

ไทย พมา อูรดู

คาคว

ามถี่มู

ลฐาน

(Hz)

คาสูงสุด

คาเฉล่ีย

คาตํ่าสุด

Page 84: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

66

ตารางที ่4.4 คาเฉลี่ยและคาเบ่ียงเบนมาตรฐานของคาระยะเวลาของสระที่จําแนกตามวรรณยุกตทีอ่อกเสียงโดย

ผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

ผูพูด

คาระยะเวลาของสระที่มีวรรณยุกตเสียงตางๆ (มิลลิวินาที)

สามัญ เอก โท ตรี จัตวา

M SD M SD M SD M SD M SD14

ไทย 364 484 501 407 544

พมา 371.5 98.41 384.25 129.61 304.75 120.12 357.5 68.50 370.5 120.45

อูรดู 336.25 24.14 447.25 189.57 381.75 69.01 451.75 74.09 475 160.84

ตารางที่ 4.4 แสดงใหเห็นวา ผูพูดทั้ง 3 กลุมมีคาระยะเวลาของสระที่มี

วรรณยุกตตางๆ แตกตางกันดังน้ี

ผูพูดภาษาไทยมีคาระยะเวลาของสระที่มีวรรณยุกตจากมากไปหานอยตามลําดับ

ดังน้ี วรรณยุกตจัตวา วรรณยุกตโท วรรณยุกตเอก วรรณยุกตตรี และวรรณยุกตสามัญ

ผู พูดภาษาพมามีคาระยะเวลาของสระที่มีวรรณยุกตจากมากไปหานอย

ตามลําดับดังน้ี วรรณยุกตเอก วรรณยุกตสามัญ วรรณยุกตจัตวา วรรณยุกตตรี และวรรณยุกตโท

ผูพูดภาษาอูรดูมีคาระยะเวลาของสระที่มีวรรณยุกตจากมากไปหานอยตามลําดับ

ดังน้ี วรรณยุกตจัตวา วรรณยุกตตรี วรรณยุกตเอก วรรณยุกตโท และวรรณยุกตสามัญ

จะเห็นไดวา ผู พูดแตละกลุมมีความสั้นยาวของคาระยะเวลาของสระที่มี

วรรณยุกตตางๆ แตกตางกัน ดังน้ัน ผูวิจัยจึงนําขอมูลคาระยะเวลาเหลาน้ีไปวิเคราะหความแตกตาง

เพ่ิมเติมดวยวิธีการทางสถิติ เมื่อใชวิธีวิเคราะหแมน วิตนี ยู เทสต (Mann-Whitney U Test) โดย

กําหนดระดับนัยสําคัญที่ 0.05 มีขอคนพบวา วรรณยุกตทุกหนวยเสียงที่ออกเสียงโดยผูพูดทั้งสาม

กลุมไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ ดังจะพิจารณาไดในตารางที่ 4.5

14 ผูวิจัยไมแสดงคาเบี่ยงเบนมาตรฐานเฉลี่ยของคาระยะเวลาของเสียงสระท่ีออกเสียงโดย

ผูพูดภาษาไทยเพราะผูบอกภาษาไทยมีเพียงคนเดียว

Page 85: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

67

ตารางที่ 4.5

การเปรียบคาระยะเวลาของสระที่มีวรรณยุกตตางๆ ดวยวิธีการทางสถิติ

ผูพูด

คานัยสําคัญของความตางคาระยะเวลาของวรรณยุกต

คานัยสําคัญของความตาง (p)

สามัญ เอก โท ตรี จัตวา

ไทย-พมา 1.00 0.480 0.157 0.480 0.157

ไทย-อูรดู 0.277 01.00 0.157 0.480 0.480

พมา-อูรดู 0.386 0.564 0.386 0.149 0.386

แมคาระยะเวลาของสระที่มีวรรณยุกตตางๆ ไมมีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญ ผูวิจัยเห็นวา ในภาพรวม การออกเสียงสระผูพูดทั้ง 3 กลุมโดยมิไดคํานึงความแตกตางของ

แตละวรรณยุกตนาจะมีความแตกตางกัน ผูวิจัยจึงวิเคราะหคาระยะเวลาเฉลี่ยของสระที่มีวรรณยุกต

ทุกเสียงอีกครั้ง ดังน้ี

ตารางที ่4.6 คาเฉลี่ยและคาเบ่ียงเบนมาตรฐานของคาระยะเวลาของสระในภาพรวมของทุกวรรณยุกต

ที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

กลุมผูพูด คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของคาระยะเวลาของสระ (มิลลิวินาที)

M SD

ผูพูดภาษาไทย 460* 73.04

ผูพูดภาษาพมา 357.7* 101.51

ผูพูดภาษาอูรดู 418.4 119.40

เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยและคาเบ่ียงเบนมาตรฐานของคาระยะเวลาของสระที่มี

วรรณยุกตทุกหนวยเสียง จะเห็นวา คาระยะเวลาของสระที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและโดยผูพูด-

ภาษาพมามีความแตกตางกันมาก หากเปรียบเทียบระหวางผูพูดภาษาไทยกับผูพูดภาษาอูรดู จะเห็น

ไดวา คาระยะเวลาของสระมีความใกลเคียงกันมากกวา

Page 86: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

68

และเมื่อวิเคราะหคาระยะเวลาเฉลี่ยน้ีดวยวิธีการทางสถิติ (Mann-Whitney U

Test) ผลการวิเคราะหแสดงใหเห็นวา คาระยะเวลาเฉลี่ยของสระที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผู

พูดภาษาพมามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ [U = 21.00, p = 0.049] แตคาระยะเวลา

เฉลี่ยของสระที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาอูรดูไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ

4.2 ผลการวิเคราะหคาความถ่ีมูลฐานของวรรณยุกตทีอ่อกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

4.2.1 วรรณยกุตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

ในการวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูวิจัย

จะนําเสนอคาเซมิโทน และบรรยายสัทลักษณะของวรรณยุกต จากน้ัน จึงนําเสนอพิสัยคาความถ่ีมูล-

ฐานและคาระยะเวลาของวรรณยุกตตามลําดับ

ภาพที่ 4.9 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

ภาพที่ 4.9 แสดงใหเห็นวา คาเซมิโทนของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูด-

ภาษาไทยอยูในชวง 0 – 8.41 เซมิโทน และมีสัทลักษณะดังน้ี

วรรณยุกตสามัญมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่าระดับ-ตก (21) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางคอนขางตํ่าที่ 2.75 เซมิโทน คงระดับจากตําแหนง 0% – 40% และที่ตําแหนง 50%

0

1.8

3.6

5.4

7.2

9

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

สามัญ

เอก

โท

ตรี

จัตวา

Page 87: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

69

คาเซมิโทนลดลงเร่ือยๆ จนถึง 0.35 เซมิโทน คาเซมิโทนของวรรณยุกตสามัญอยูในชวง 0.35 – 2.52

เซมิโทน

วรรณยุกตเอกมีสัทลักษณะกลางคอน-ตก (31) ระดับเสียงเร่ิมในระดับกลางที่

4.54 เซมิโทน และลดลงเรื่อยๆ จากตําแหนง 0% – 100% คาเซมิโทนไมชันมากและตกที่ 0.34 เซมิ-

โทน คาเซมิโทนของวรรณยุกตเอกอยูในชวง 0.34 – 4.54 เซมิโทน

วรรณยุกตโทมีสัทลักษณะกลางคอนขางสูง-ขึ้น-ตก (45^1) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางคอนขางสูงที่ 6.12 เซมิโทน เคลื่อนข้ึนเรื่อยๆ จากตําแหนง 0% – 40% ที่ตําแหนง 50%

ระดับเสียงตกจนถึง 0% คาเซมิโทนของวรรณยุกตโทอยูในชวง 0 – 8.41 เซมิโทน

วรรณยุกตตรีมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ขึ้น-ตก (2^53) ระดับเสียงเร่ิมใน

ระดับกลางคอนขางตํ่าที่ 3.28 เซมิโทน แลวเคลื่อนข้ึนเรื่อยๆ จากตําแหนง 0% – 80% และตกที่

ตําแหนง 90% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตตรีอยูในชวง 3.28 – 7.45 เซมิโทน

วรรณยุกตจัตวามีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ตก-ขึ้น (21^4^4) ระดับเสียงเริ่ม

ในระดับกลางคอนขางตํ่าที่ 2.75 เซมิโทน แลวลดลงเรื่อยๆ จากตําแหนง 0% - 30% และเคลื่อนขึ้น

ที่ตําแหนง 40% – 90% และที่ตําแหนง 100% ระดับเสียงลดลงเล็กนอย คาเซมิโทนของวรรณยุกต

จัตวาอยูในชวง 0.92 – 6.85 เซมิโทน

การนําเสนอสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยขางตน

แสดงใหเห็นวา วรรณยุกตตางๆ มีสัทลักษณะแตกตางกันอยางเห็นไดชัด เชน วรรณยุกตสามัญและ

วรรณยุกตเอกมีลักษณะแตกตางกันเพราะวรรณยุกตสามัญมีสัทลักษณะคงระดับในชวงเริ่มตนถึงชวง

กลางของการออกเสียงกอนที่จะตกเล็กนอยในชวงทาย สวนวรรณยุกตเอก ผูวิจัยพบวา ปรากฏการ

เปลี่ยนทิศทางของระดับเสียงจากระดับที่สูงกวาสูระดับที่ตํ่ากวาอยางเห็นไดชัด

สวนวรรณยุกตตรี ผู วิจัยพบวา สัทลักษณะของวรรณยุกตสอดคลองกับ

ผลการวิจัยของผณินทราและรุงวิมล(Teeranon & Rungrojsuwan, 2009) ที่เสนอวา ควรจัด

วรรณยุกตตรีเปนวรรณยุกตเปลี่ยนระดับเพราะวรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยปจจุบัน

มีสัทลักษณะกลาง-ขึ้น (mid-rising) คลายกับวรรณยุกตตรีในงานวิจัยน้ีที่มีสัทลักษณะกลางคอนขาง

ตํ่า-ขึ้นและตกเล็กนอยที่ชวงทาย

สวนวรรณยุกตโทและวรรณยุกตจัตวา ผูวิจัยพบวา ทั้งสองวรรณยุกตมีลักษณะ

เปลี่ยนระดับอยางเห็นไดชัด และขอสังเกตอีกประการหน่ึง คือ วรรณยุกตจัตวามีการตกชวงทาย

Page 88: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

70

เชนเดียวกับวรรณยุกตตรี ผูวิจัยเห็นวา การตกในชวงทายเปนลักษณะรวมระหวางวรรณยุกตตรีและ

วรรณยุกตจัตวาที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

ตารางที่ 4.7

พิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

วรรณยุกต คาความถ่ีมูลฐาน (Hz)

คาสูงสุด คาตํ่าสุด ชวงพิสัย

สามัญ 145 122 23

เอก 149 117 32

โท 165 123 42

ตรี 177 138 39

จัตวา 168 118 50

ภาพที่ 4.10 พิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

ตารางที่ 4.7 และภาพที่ 4.10 แสดงใหเห็นวา พิสัยคาความถ่ีมูลฐานสูงสุดของ

วรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย คือ 187 เฮิรตซ และตํ่าสุดคือ 115 เฮิรตซ วรรณยุกตที่มี

ชวงพิสัยคาความถี่มูลฐานกวางที่สุดคือ วรรณยุกตจัตวา รองลงมาคือ วรรณยุกตโท วรรณยุกตตรี

วรรณยุกตเอก และวรรณยุกตสามัญตามลําดับ ซึ่งมีรายละเอียดดังน้ี

145 149

165

177

168

122 117

123

138

118

110

124

138

152

166

180

สามัญ เอก โท ตรี จัตวา

คาคว

ามถี่มู

ลฐาน

(Hz)

วรรณยุกต

คาสูงสุด

คาเฉล่ีย

คาตํ่าสุด

Page 89: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

71

วรรณยุกตสามัญมีพิสัยคาความถ่ีมูลฐานอยูในชวง 122 – 145 เฮิรตซ ความ

กวางของชวงพิสัยคือ 16 เฮิรตซ

วรรณยุกตเอกมีพิสัยคาความถ่ีมูลฐานอยูในชวง 117 – 149 เฮิรตซ ความกวาง

ของชวงพิสัยคือ 32 เฮิรตซ

วรรณยุกตโทมีพิสัยคาความถ่ีมูลฐานอยูในชวง 123 – 165 เฮิรตซ ความกวาง

ของชวงพิสัยคือ 72 เฮิรตซ

วรรณยุกตตรีมีพิสัยคาความถ่ีมูลฐานอยูในชวง 138 – 177 เฮิรตซ ความกวาง

ของชวงพิสัยคือ 38 เฮิรตซ

วรรณยุกตจัตวามีพิสัยคาความถี่มูลฐานอยูในชวง 118 – 168 เฮิรตซ ความกวาง

ของชวงพิสัยคือ 50 เฮิรตซ

ผูวิจัยพบวา วรรณยุกตสามัญมีพิสัยแคบมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับวรรณยุกต

เอกและวรรณยุกตตรี ซึ่งสอดคลองกับสัทลักษณะของวรรณยุกตขางตนที่พบวา วรรณยุกตสามัญมี

สัทลักษณะตํ่าระดับ ไมปรากฏการเปลี่ยนระดับข้ึนลงมากนัก สวนวรรณยุกตเอก มีสัทลักษณะกลาง-

ตํ่าเพราะปรากฏการเปลี่ยนระดับลงตํ่า จึงทําใหมีพิสัยมากกวาวรรณยุกตสามัญ สวนวรรณยุกตตรีมี

พิสัยกวางกวาวรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตเอกเพราะมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ขึ้น-ตก โดย

วรรณยุกตไดเคลื่อนขึ้นถึงชวงระดับเสียงสูงจึงทําใหมีชวงพิสัยที่กวาง

กลาวโดยสรุป ผลการวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตมีความสอดคลองกับ

ผลการวิเคราะหพิสัยคาความถี่มูลฐานเพราะแสดงใหเห็นวา หากระดับเสียงของวรรณยุกตมีการ

เปลี่ยนระดับที่ชันมากจะทําใหชวงพิสัยมีความกวางมากตามไปดวย ดังจะเห็นไดจากการเปลี่ยน

ทิศทางของระดับเสียงของวรรณยุกตจัตวาและวรรณยุกตโท

4.2.2 วรรณยกุตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา

ในการนําเสนอวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา ผูวิจัยจะนําเสนอสัท-

ลักษณะของวรรณยุกตเปนรายบุคคลในชวงตน จากน้ัน จึงนําเสนอการเปรียบเทียบวรรณยุกตที่ออก

เสียงโดยผูพูดภาษาพมาทั้ง 4 คนกับวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย คาเฉลี่ยของวรรณยุกต-

ภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและพิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผู-

พูดภาษาพมาทั้ง 4 คนตามลําดับ

Page 90: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

72

ภาพที่ 4.11 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาคนที่ 1

ภาพที่ 4.11 แสดงใหเห็นวา คาเซมิโทนของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดย

ผูพูดภาษาพมาคนที่ 1 อยูในชวง 0 – 9.59 เซมิโทน และมีสัทลักษณะดังน้ี

วรรณยุกตสามัญมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่าระดับ-ตก (221) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางคอนขางตํ่าที่ 4.10 เซมิโทน คงระดับจากตําแหนง 0% – 80 % และตกที่ตําแหนง 90%

– 100 % คาเซมิโทนของวรรณยุกตสามัญอยูในชวง 1.02 – 4.10 เซมิโทน

วรรณยุกตเอกมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ตก (21) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางคอนขางตํ่าที่ 3.02 เซมิโทน ลดลงที่ตําแหนง 10% และคงระดับที่ตําแหนง 20% – 80 %

และที่ตําแหนง 90% – 100% ระดับเสียงลดลงเล็กนอย คาเซมิโทนของวรรณยุกตเอกอยูในชวง 0 –

3.02 เซมิโทน

วรรณยุกตโทมีสัทลักษณะกลางคอนขางสูง-ตก (4^2^) ระดับเสียงเร่ิมใน

ระดับกลางคอนขางสูงที่ 8.57 เซมิโทน คงระดับจากตําแหนง 0% – 60% และตกลงเรื่อยๆ จาก

ตําแหนง 70% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตโทอยูในชวง 3.74 – 8.61 เซมิโทน

วรรณยุกตตรีมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ตก-ขึ้น (213^) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางคอนขางตํ่าที่ 3.33 เซมิโทน ลดลงเรื่อยๆ จากตําแหนง 0% – 40 % และเคลื่อนข้ึนที่

ตําแหนง 50% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตตรีอยูในชวง 1.12 – 6.99 เซมิโทน

0

2.4

4.8

7.2

9.6

12

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

สามัญ

เอก

โท

ตรี

จัตวา

Page 91: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

73

วรรณยุกตจัตวามีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ตก-ขึ้น (2^14^) ระดับเสียงเริ่ม

ในระดับกลางคอนขางตํ่าที่ 4.36 เซมิโทน ลดลงเรื่อยๆ จากตําแหนง 0% – 40% แลวเคลื่อนขึ้น

อยางตอเน่ืองที่ตําแหนง 50% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตจัตวาอยูในชวง 0.84 – 9.59 เซมิ-

โทน

ผลการวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาคนที่ 1

แสดงใหเห็นวา วรรณยุกตสามัญมีสัทลักษณะคงระดับ สวนวรรณยุกตเอก วรรณยุกตโท วรรณยุกต-

ตรี และวรรณยุกตจัตวามีสัทลักษณะเปลี่ยนระดับเพราะระดับเสียงมีการเปลี่ยนทิศทางอยางเห็นได

ชัด นอกจากน้ี ผูวิจัยเห็นวา บางวรรณยุกตมีสัทลักษณะคลายกัน เชน คูวรรณยุกตตรีและวรรณยุกต-

จัตวาที่มีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ตก-ขึ้น

ผลการวิเคราะหสัทลักษณะขางตนอาจสรุปไดวา ผูพูดภาษาพมาคนที่ 1 ไมมี

ปญหาในการออกเสียงคูวรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตเอกเพราะแมวาวรรณยุกตทั้งสองจะมีทิศ-

ทางการเคลื่อนตกที่คลายกัน แตเมื่อพิจารณาระดับเสียง จะเห็นไดวา วรรณยุกตสามัญอยูในระดับ

เสียงที่สูงกวาวรรณยุกตเอกมาก กระน้ัน ผูพูดอาจมีปญหาในการออกเสียงคูวรรณยุกตตรีและ

วรรณยุกตจัตวา สวนวรรณยุกตโท แมมีระดับเสียงสูงกวาวรรณยุกตเอก แตหากเปรียบเทียบทิศทาง

ของระดับเสียง จะเห็นไดวา วรรณยุกตทั้งสองปรากฏการตกสูระดับเสียงที่ตํ่ากวาในลักษณะเดียวกัน

แตแตกตางจากวรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยเพราะระดับเสียงไมปรากฏการเคลื่อนขึ้น

กอนการตก อาจกลาวไดวา ผูพูดภาษาพมาคนที่ 1 ออกเสียงวรรณยุกตสามัญ วรรณยุกตเอก และ

วรรณยุกตจัตวาไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย

Page 92: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

74

ภาพที่ 4.12 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาคนที่ 2

ภาพที่ 4.12 แสดงใหเห็นวา คาเซมิโทนของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูด-

ภาษาพมาคนที่ 2 อยูในชวง 0 – 7.15 เซมิโทน และมีสัทลักษณะดังน้ี

วรรณยุกตสามัญมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ตก (2^1) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางคอนขางตํ่าที่ 4.54 เซมิโทน ลดลงเรื่อยๆ จากตําแหนง 0% – 90 % และเคลื่อนขึ้น

เล็กนอยที่ตําแหนง 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตสามัญอยูในชวง 4.54 – 0.63 เซมิโทน

วรรณยุกตเอกมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ตก (2^1) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางคอนขางตํ่าที่ 4.63 เซมิโทน ลดลงเร่ือยๆ จากตําแหนง 0% - 100% คาเซมิโทนของ

วรรณยุกตเอกอยูในชวง 0 – 4.63 เซมิโทน

วรรณยุกตโทมีสัทลักษณะกลาง-ตก (3^1) ระดับเสียงเริ่มในระดับกลางที่ 6.42

เซมิโทน เคลื่อนขึ้นเล็กนอยที่ตําแหนง 10% - 20% แลวลดลงจากตําแหนง 30% – 100% คาเซมิ-

โทนของวรรณยุกตโทอยูในชวง 0.59 – 7.00 เซมิโทน

วรรณยุกตตรีมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ตก-ขึ้น (2^1^3^) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางคอนขางตํ่าที่ 3.79 เซมิโทน ลดลงเรื่อยๆ จากตําแหนง 0% – 20 % แลวเคลื่อนข้ึนจาก

ตําแหนง 30% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตตรีอยูในชวง 2.11 – 6.59 เซมิโทน

0

2.4

4.8

7.2

9.6

12

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

สามัญ

เอก

โท

ตรี

จัตวา

Page 93: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

75

วรรณยุกตจัตวามีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ตก-ขึ้น (2^23^) ระดับเสียงเริ่ม

ในระดับกลางคอนขางตํ่าที่ 4.26 เซมิโทน ลดลงเรื่อยๆ จากตําแหนง 0% – 40% แลวเคลื่อนข้ึนจาก

ตําแหนง 50% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตจัตวาอยูในชวง 2.55 – 7.15 เซมิโทน

ผลการวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาคนที่ 2

แสดงใหเห็นวา ทุกวรรณยุกตมีสัทลักษณะเปลี่ยนระดับ ระดับเสียงของวรรณยุกตสามัญมีสัทลักษณะ

กลางคอนขางตํ่า-ตก นอกจากน้ี แมวรรณยุกตโทเริ่มตนที่ระดับเสียงที่สูงกวาวรรณยุกตสามัญและ

วรรณยุกตเอก แตปรากฏการเปลี่ยนระดับจากระดับที่สูงกวาสูระดับที่ตํ่ากวาเชนกัน ซึ่งแสดงใหเห็น

วา ทั้งสามวรรณยุกตแตกตางกันในแงของความสูงของระดับเสียง (pitch height) ไมใชทิศทางของ

ระดับเสียง (pitch direction)

สวนวรรณยุกตตรีมีลักษณะเปลี่ยนระดับเพราะมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-

ตก-ขึ้น แมไมมีทิศทางการเปลี่ยนระดับชันอยางเห็นไดชัด แตอาจกลาวไดวา วรรณยุกตตรีปรากฏการ

เปลี่ยนระดับคลายกับวรรณยุกตจัตวา

จากผลการวิเคราะหสัทลักษณะขางตน อาจสรุปไดวา ผูพูดภาษาพมาคนที่ 2

สามารถออกเสียงวรรณยุกตเอกและวรรณยุกตจัตวาไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย แตอาจมีอุปสรรคใน

การออกเสียงวรรณยุกตสามัญ วรรณยุกตโท และวรรณยุกตตรี ผูวิจัยเห็นวา ผูพูดอาจมีปญหาในการ

ออกเสียงคูวรรณยุกตสามัญกับวรรณยุกตเอก และคูวรรณยุกตตรีกับวรรณยุกตจัตวา สวนวรรณยุกต-

โทน้ัน ผูพูดออกเสียงในระดับที่สูงกวาวรรณยุกตอ่ืนๆ แตไมปรากฏการเปลี่ยนระดับขึ้น-ตกในชวง

กลางเหมือนวรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

Page 94: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

76

ภาพที่ 4.13 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาคนที่ 3

ภาพที่ 4.13 แสดงใหเห็นวา คาเซมิโทนของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูด-

ภาษาพมาคนที่ 3 อยูในชวง 0 – 7.36 เซมิโทน และมีสัทลักษณะดังน้ี

วรรณยุกตสามัญมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ตก (21) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางคอนขางตํ่าที่ 3.78 เซมิโทน แลวลดลงเรื่อยๆ จากตําแหนง 0% – 100 % คาเซมิโทนของ

วรรณยุกตสามัญอยูในชวง 0.75 - 3.78 เซมิโทน

วรรณยุกตเอกมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ตก (21) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางคอนขางตํ่าที่ 3.61 เซมิโทน เคลื่อนข้ึนเล็กนอยที่ตําแหนง 10% และลดลงเร่ือยๆ จาก

ตําแหนง 20% - 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตเอกอยูในชวง 0 – 3.67 เซมิโทน

วรรณยุกตโทมีสัทลักษณะกลาง-ตก (3^2) ระดับเสียงเริ่มในระดับกลางที่ 6.23

เซมิโทน คงระดับจากตําแหนง 0% – 40% จากน้ัน ลดลงจากตําแหนง 50% - 100% คาเซมิโทน

ของวรรณยุกตโทอยูในชวง 2.94 – 6.26 เซมิโทน

วรรณยุกตตรีมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ขึ้น (23^) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางคอนขางตํ่าที่ 2.94 เซมิโทน คงระดับที่ตําแหนง 0% – 50 % แลวเคลื่อนข้ึนอยางตอเน่ือง

จากตําแหนง 60% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตตรีอยูในชวง 2.90 – 7.36 เซมิโทน

0

2.4

4.8

7.2

9.6

12

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

สามัญ

เอก

โท

ตรี

จัตวา

Page 95: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

77

วรรณยุกตจัตวามีสัทลักษณะตํ่า-ขึ้น (1^3) ระดับเสียงเริ่มในระดับตํ่าที่ 1.84 เซ-

มิโทน คงระดับที่ตําแหนง 0% – 40% แลวเคลื่อนข้ึนอยางตอเน่ืองจากตําแหนง 50% – 100% คา-

เซมิโทนของวรรณยุกตจัตวาอยูในชวง 1.56 – 5.11 เซมิโทน

ผลการวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาคนที่ 3

แสดงใหเห็นวา วรรณยุกตทุกหนวยเสียงมีสัทลักษณะเปลี่ยนระดับ วรรณยุกตสามัญและวรรณยุกต

เอกตางมีลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ตก วรรณยุกตโทมีสัทลักษณะกลาง-ตก สวนวรรณยุกตตรีและ

วรรณยุกตจัตวาตางเคลื่อนขึ้นอยางตอเน่ืองจากชวงเริ่มตนจนถึงชวงทายของการออกเสียง

ผลการวิเคราะหสัทลักษณะขางตนสรุปไดวา ผูพูดสามารถออกเสียงวรรณยุกต

เอกไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย แตวรรณยุกตอ่ืนๆ มีความแตกตางจากผลการออกเสียงของผูพูด-

ภาษาไทย ผูวิจัยเห็นวา ผูพูดอาจมีปญหาในการออกเสียงคูวรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตเอก และคู

วรรณยุกตตรีและวรรณยุกตจัตวา สวนวรรณยุกตโท จะเห็นไดวาเร่ิมตนในระดับเสียงที่สูง แตไม

ปรากฏการเปลี่ยนระดับขึ้น-ตกในชวงกลางของการออกเสียง

ภาพที่ 4.14 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาคนที่ 4

จากภาพที่ 4.14 แสดงใหเห็นวา คาเซมิโทนของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูด-

ภาษาพมาคนที่ 4 อยูในชวง 0 – 8.51 เซมิโทน และมีสัทลักษณะดังน้ี

0

2.4

4.8

7.2

9.6

12

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

สามัญ

เอก

โท

ตรี

จัตวา

Page 96: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

78

วรรณยุกตสามัญมีสัทลักษณะกลาง-ตก (31^) ระดับเสียงเริ่มในระดับกลางที่

5.66 เซมิ-โทน มีลักษณะคงระดับที่ 0 – 60% แลวลดลงเรื่อยๆ จากตําแหนง 70% – 100 % คาเซ-

มิโทนของวรรณยุกตสามัญอยูในชวง 2.16 – 5.72 เซมิโทน

วรรณยุกตเอกมีสัทลักษณะกลาง-ตก (31) ระดับเสียงเร่ิมในระดับกลางที่ 5.74

เซมิโทน แลวลดลงเร่ือยๆ จากตําแหนง 0% - 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตเอกอยูในชวง 0 –

5.74 เซมิ-โทน

วรรณยุกตโทมีสัทลักษณะกลางคอนขางสูง-ตก (42) ระดับเสียงเร่ิมใน

ระดับกลางคอนขางสูงที่ 8.16 เซมิโทน เคลื่อนข้ึนเล็กนอยที่ตําแหนง 10% แลวลดลงจากตําแหนง

20% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตโทอยูในชวง 2.45 – 8.51 เซมิโทน

วรรณยุกตตรีมีสัทลักษณะกลาง-ตก-ขึ้น (323^) ระดับเสียงเริ่มในระดับกลางที่

5.29 เซ-มิโทน ลดลงที่ตําแหนง 0% – 40 % แลวเคลื่อนข้ึนจากตําแหนง 50% – 100% คาเซมิโทน

ของวรรณยุกตตรีอยูในชวง 3.22 – 7.19 เซมิโทน

วรรณยุกตจัตวามีสัทลักษณะกลาง-ตก-ขึ้น (3^24) ระดับเสียงเริ่มในระดับกลาง

ที่ 7.40 เซมิโทน ลดลงที่ตําแหนง 0% – 40% แลวเคลื่อนข้ึนอยางตอเน่ืองจากตําแหนง 50% –

100% คา-เซมิโทนของวรรณยุกตจัตวาอยูในชวง 2.31 – 8.08 เซมิโทน

ผลการวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาคนที่ 4

แสดงใหเห็นวา วรรณยุกตทุกหนวยเสียงมีสัทลักษณะเปลี่ยนระดับ วรรณยุกตสามัญและวรรณยุกต

เอกตางมีสัทลักษณะกลาง-ตก วรรณยุกตตรีและวรรณยุกตจัตวามีสัทลักษณะคลายกันเพราะมีสัท-

ลักษณะกลาง-ตก-ขึ้น แมระดับเสียงของวรรณยุกตจัตวาสูงกวาเล็กนอย แตเมื่อพิจารณาการเปลี่ยน

ระดับขึ้น-ลงของระดับเสียง สวนวรรณยุกตโท มีสัทลักษณะกลางคอนขางสูง-ตก

ผลการวิเคราะหสัทลักษณะขางตนอาจสรุปไดวา ผูพูดภาษาพมาคนที่ 4 สามารถ

ออกเสียงวรรณยุกตเอกและวรรณยุกตจัตวาไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย แตอาจมีอุปสรรคในการออก

เสียงวรรณยุกตสามัญ วรรณยุกตโท และวรรณยุกตตรี ผูวิจัยเห็นวา ผูพูดอาจมีปญหาในการออกเสียง

คูวรรณยุกตสามัญกับวรรณยุกตเอก และคูวรรณยุกตตรีกับวรรณยุกตจัตวา สวนวรรณยุกตโท แม

เริ่มตนในระดับเสียงที่สูง แตไมปรากฏการเปลี่ยนระดับขึ้น-ตกในชวงกลางของการออกเสียง

4.2.2.1 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาพมา

เพ่ือใหเห็นความแตกตางและความใกลเคียงของสัทลักษณะของ

วรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาทั้งสี่คนกับสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูด-

ภาษาไทย ผูวิจัยจึงนําเสนอการเปรียบเทียบสัทลักษณะของวรรณยุกตตางๆ ที่ออกเสียงโดยผูพูด-

ภาษาพมาทั้ง 4 คนกับวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยทีละวรรณยุกตดังน้ี

Page 97: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

79

ภาพที่ 4.15 วรรณยุกตสามัญที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาพมา

ภาพที่ 4.15 แสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาพมาสวนใหญ (คนที่ 2 3 และ

4) ออกเสียงวรรณยุกตสามัญแตกตางจากผูพูดภาษาไทย กลาวคือ วรรณยุกตสามัญที่ออกเสียงโดยผู-

พูดภาษาพมาทั้งสี่คนมีสัทลักษณะกลางหรือกลางคอนขางตํ่า-ตกคลายกับสัทลักษณะของวรรณยุกต-

เอก ซึ่งตางจากวรรณยุกตสามัญที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยที่มีสัทลักษณะตํ่าระดับ-ตกเพราะคง

ระดับอยางตอเน่ืองจากชวงเร่ิมตนถึงชวงกลางของวรรณยุกตแลวจึงตกเล็กนอยในชวงทาย กระน้ัน

สัทลักษณะของวรรณยุกตสามัญที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาคนที่ 1 ก็มีสัทลักษณะคลายวรรณยุกต

สามัญที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยเพราะปรากฏการคงระดับของระดับเสียง

0

2.4

4.8

7.2

9.6

12

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

B1

B2

B3

B4

T

Page 98: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

80

ภาพที่ 4.16 วรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาพมา

ภาพที่ 4.16 แสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาพมาทุกคนออกเสียงวรรณยุกต

เอกไดใกลเคียงวรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยเพราะระดับเสียงเริ่มตนในระดับใกลเคียง

กัน มีทิศทางการตกในทิศทางเดียวกัน กลาวคือ ระดับเสียงของวรรณยุกตคอยๆ ลดลงอยางตอเน่ือง

จากชวงเริ่มตนถึงชวงทาย จึงอาจกลาวไดวา ผูพูดภาษาพมาทุกคนไมมีปญหาในการออกเสียง

วรรณยุกตเอก

ภาพที่ 4.17 วรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาพมา

0

2.4

4.8

7.2

9.6

12

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

B1

B2

B3

B4

T

0

2.4

4.8

7.2

9.6

12

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

B1

B2

B3

B4

T

Page 99: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

81

ภาพที่ 4.17 แสดงใหเห็นวา วรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษา-

พมามีสัทลักษณะเปลี่ยนระดับขึ้น-ตก โดยไมมีการเคลื่อนขึ้นในชวงกลาง จึงอาจกลาวไดวา ผูพูด-

ภาษาพมาสวนใหญออกเสียงวรรณยุกตโทแตกตางจากวรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ซึ่ง

มีสัทลักษณะขึ้น-ตก

ผูวิจัยสังเกตวา สัทลักษณะของวรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษา-

พมาบางคน (คนที่ 2 และคนที่ 4) มีแนวโนมที่จะเคลื่อนข้ึน แตไมมากนัก จากน้ัน จึงลดลงอยาง

ตอเน่ือง การเคลื่อนขึ้นดังกลาวแสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาพมามีความออนไหวตอการเปลี่ยนระดับ

ของวรรณยุกตโท แตอาจไมคุนเคยกับวรรณยุกตเปลี่ยนระดับข้ึน-ตก ระดับเสียงในชวงกลางจึงไมสูง

กวาชวงเริ่มตนดังที่ปรากฏในวรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

ภาพที่ 4.18 วรรณยุกตตรีทีอ่อกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาพมา

ภาพที่ 4.18 แสดงใหเห็นวา วรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

มีความแตกตางจากวรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาอยางเห็นไดชัด เน่ืองจากวรรณยุกต-

ตรีที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ข้ึน สวนสัทลักษณะของวรรณยุกตตรี

ที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมามีแนวโนมที่จะมีสัทลักษณะตํ่า-ตก-ขึ้น

0

2.4

4.8

7.2

9.6

12

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

B1

B2

B3

B4

T

Page 100: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

82

ภาพที่ 4.19 วรรณยุกตจัตวาที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาพมา

ภาพที่ 4.19 แสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาพมาสวนใหญ (คนที่ 1 คนที่ 2

และคนที่ 4) ออกเสียงวรรณยุกตจัตวาเปนวรรณยุกตเปลี่ยนระดับตก-ข้ึนเชนเดียวกับผูพูดภาษาไทย

แตมีความแตกตางในประเด็นที่ วรรณยุกตจัตวาที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยมีการตกเล็กนอยใน

ตอนทาย ซึ่งการตกเชนน้ีไมปรากฏในวรรณยุกตจัตวาที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา นอกจากน้ี การ

ตกในชวงเริ่มตนของวรรณยุกตจัตวาที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมามีการเคลื่อนลงที่ชันมากอีกดวย

โดยสรุป ผูพูดภาษาพมาสามารถออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยได

ใกลเคียงผูพูดภาษาไทย แตผลการวิเคราะหสัทลักษณะแสดงใหเห็นวา วรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผู-

พูดภาษาพมามีความชันในการเปลี่ยนระดับเสียงมากกวาวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

0

2.4

4.8

7.2

9.6

12

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

B1

B2

B3

B4

T

Page 101: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

83

4.2.2.2 คาเฉลี่ยของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา

เมื่อพิจารณาสัทลักษณะของวรรณยุกตรายบุคคลแลว ผูวิจัยเห็นวา ควร

นําเสนอคาเฉลีย่ของวรรณยุกตตางๆ ที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาเพ่ือแสดงใหเห็นภาพรวมของ

การออกเสียงวรรณยุกตตางๆ

ภาพที่ 4.20 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา

ภาพที่ 4.20 แสดงใหเห็นวา คาเซมิโทนของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผู-

พูดภาษาพมาอยูในชวง 0 – 7.69 เซมิโทน และมีสัทลักษณะดังน้ี

วรรณยุกตสามัญมีสัทลักษณะกลาง-ตก (31^) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางที่ 4.56 เซมิโทน แลวลดลงจากตําแหนง 0% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตสามัญ

อยูในชวง 1.32 – 4.56 เซมิโทน

วรรณยุกตเอกมีสัทลักษณะกลาง-ตก (31) ระดับเสียงเริ่มในระดับกลาง

ที่ 4.29 เซมิโทน แลวลดลงจากตําแหนง 0% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตเอกอยูในชวง 0 –

4.29 เซมิโทน

วรรณยุกตโทมีสัทลักษณะสูง-ตก (52) ระดับเสียงเริ่มในระดับสูงที่ 7.45

เซมิโทน แตในตําแหนงที่ 10% จะสูงกวาในตําแหนงที่ 0% เล็กนอย จากน้ัน ลดลงอยางตอเน่ืองจาก

ตําแหนง 30% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตโทอยูในชวง 2.50 – 7.69 เซมิโทน

0

1.8

3.6

5.4

7.2

9

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

สามัญ

เอก

โท

ตรี

จัตวา

Page 102: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

84

วรรณยุกตตรีมีสัทลักษณะกลาง-ตก-ขึ้น (324^) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางที่ 3.89 เซมิโทน ลดลงเล็กนอยที่ตําแหนง 0% – 40% จากน้ัน เคลื่อนขึ้นที่ตําแหนง 50%

– 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตตรอียูในชวง 2.37 – 7.03 เซมิโทน

เสียงวรรณยุกตจัตวามีสัทลักษณะกลาง-ตก-ขึ้น (3^25) ระดับเสียงเริ่ม

ในระดับกลางที่ 4.68 เซมิโทน ลดลงจนถึงระดับตํ่าที่ตําแหนง 0% – 40% จากน้ัน เคลื่อนขึ้นที่

ตําแหนง 50% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตจัตวาอยูในชวง 1.88 – 7.68 เซมิโทน

คาเฉลี่ยของวรรณยุกตตางๆ ที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาแสดงใหเห็น

วา กลุมผูพูดภาษาพมามีปญหาในการออกเสียงคูวรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตเอก และคูวรรณยุกต

ตรีและวรรณยุกตจัตวา หากพิจารณาสัทลักษณะของวรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตเอก จะเห็นไดวา

ทั้งสองวรรณยุกตมีสัทลักษณะคลายกันเพราะตางมีสัทลักษณะกลาง-ตก แตวรรณยุกตสามัญเกิดใน

ระดับเสียงที่สูงกวาวรรณยุกตเอก ผูวิจัยสันนิษฐานวา ผูพูดภาษาพมาอาจพยายามออกเสียง

วรรณยุกตใหแตกตางกันโดยใชความสูงของระดับเสียง (pitch height)

สวนวรรณยุกตโทน้ัน มีความแตกตางจากวรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดย

ผูพูดภาษาไทย เพราะไมปรากฏการเปลี่ยนระดับข้ึน-ตก ถึงแมวาจะมีลักษณะเคลื่อนข้ึนเล็กนอย

ในชวงเร่ิมตน แตจะเห็นไดวา วรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมามีการตกที่ชันมาก จึงทําให

ชวงพิสัยมีความกวางมากดวยเชนกัน

ตารางที่ 4.8

พิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา

วรรณยุกต คาความถ่ีมูลฐาน (Hz)

คาสูงสุด คาตํ่าสุด ชวงพิสัย

สามัญ 150 94 56

เอก 150 91 59

โท 185 96 89

ตรี 170 108 62

จัตวา 197 99 98

Page 103: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

85

ภาพที่ 4.21 พิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา

ตารางที่ 4.8 และภาพที่ 4.21 แสดงใหเห็นวา คาความถ่ีมูลฐานสูงสุด

ของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา คือ 197 เฮิรตซ และคาความถ่ีมูลฐานตํ่าสุดคือ 91

เฮิรตซ วรรณยุกตที่มีชวงพิสัยกวางที่สุด คือ วรรณยุกตจัตวา รองลงมาคือ วรรณยุกตโท วรรณยุกต

ตรี วรรณยุกตเอก และวรรณยุกตสามัญ ตามลําดับ ซึ่งมีรายละเอียดแตกตางกันดังน้ี

วรรณยุกตสามัญมีพิสัยคาความถ่ีมูลฐานอยูในชวง 94 – 150 เฮิรตซ

ความกวางของชวงพิสัยคือ 56 เฮิรตซ

วรรณยุกตเอกมีพิสัยคาความถ่ีมูลฐานอยูในชวง 91 – 150 เฮิรตซ

ความกวางของชวงพิสัยคือ 59 เฮิรตซ

วรรณยุกตโทมีพิสัยคาความถี่มูลฐานอยูในชวง 96 – 185 เฮิรตซ ความ-

กวางของชวงพิสัยคือ 89 เฮิรตซ

วรรณยุกตตรีมีพิสัยคาความถ่ีมูลฐานอยูในชวง 108 – 170 เฮิรตซ

ความกวางของชวงพิสัยคือ 62 เฮิรตซ

วรรณยุกตจัตวามีพิสัยคาความถ่ีมูลฐานอยูในชวง 99 – 197 เฮิรตซ

ความกวางของชวงพิสัยคือ 98 เฮิรตซ

ผลการวิเคราะหพิสัยคาความถี่มูลฐานขางตนสอดคลองกับผลการ-

วิเคราะหสัทลักษณะในประเด็นที่วรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตเอกมีสัทลักษณะใกลเคียงกัน เพราะ

150 150

185

170

197

94 91 96

108 99

80

104

128

152

176

200

สามัญ เอก โท ตรี จัตวา

คาคว

ามถี่มู

ลฐาน

(Hz)

วรรณยุกต

คาสูงสุด

คาเฉล่ีย

คาตํ่าสุด

Page 104: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

86

เมื่อพิจารณาพิสัยคาความถี่มูลฐานของทั้งสองวรรณยุกต จะเห็นไดวา ความกวางของพิสัยของทั้งสอง

วรรณยุกตไมแตกตางกันมากนัก

นอกจากน้ี ผลการวิเคราะหพิสัยคาความถ่ีมูลฐานของวรรณยุกตตรีและ

วรรณยุกตจัตวาไมสอดคลองกับผลการวิเคราะหสัทลักษณะที่พบวา คูวรรณยุกตตรีและวรรณยุกต-

จัตวามีสัทลักษณะคลายกันมากจนอาจเปนปญหาในการออกเสียงของผูพูดภาษาพมา แตผลการ-

วิเคราะหพิสัยคาความถี่มูลฐานไดแสดงใหเห็นวา วรรณยุกตจัตวามีชวงพิสัยกวางกวาวรรณยุกตตรี

ผูวิจัยเห็นวา ความสูงและความชันของระดับเสียงเปนลักษณะสําคัญที่ทําใหวรรณยุกตตรีและ

วรรณยุกตจัตวาแตกตางกัน

สวนวรรณยุกตโท ผลการวิเคราะหพิสัยมีความสอดคลองกับผลการ-

วิเคราะหสัทลักษณะเพราะมีระดับเสียงสูงและปรากฏการตกที่ชันมาก ชวงพิสัยจึงมีความกวางมาก

ดวยเชนกัน

4.2.3 วรรณยกุตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดู

ในการนําเสนอวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดู ผูวิจัยจะนําเสนอสัท-

ลักษณะของวรรณยุกตเปนรายบุคคลในชวงตน จากน้ัน จึงนําเสนอการเปรียบเทียบวรรณยุกตที่ออก

เสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูทั้งสี่คนกับวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย คาเฉลี่ยวรรณยุกต

ภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดู และพิสัยคาความถี่มูลฐานเฉลี่ยของวรรณยุกตที่ออกเสียง

โดยผูพูดภาษาอูรดูทั้งสี่คนตามลําดับ

ภาพที่ 4.22 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 1

0

2.4

4.8

7.2

9.6

12

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

สามัญ

เอก

โท

ตรี

จัตวา

Page 105: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

87

ภาพที่ 4.22 แสดงใหเห็นวา คาเซมิโทนของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูด-

ภาษาอูรดูคนที่ 1 อยูในชวง 0 – 11.57 เซมิโทน และมีสัทลักษณะดังน้ี

วรรณยุกตสามัญมีสัทลักษณะกลาง-ตก (3^1) ระดับเสียงเริ่มในระดับกลางที่

6.55 เซมิโทน แลวลดลงจากตําแหนง 0% – 100 % คาเซมิโทนของวรรณยุกตสามัญอยูในชวง 0 –

6.55 เซมิโทน

วรรณยุกตเอกมีสัทลักษณะกลาง-ตก (31) ระดับเสียงเร่ิมในระดับกลางที่ 5.71

เซมิโทน ลดลงจากตําแหนง 0% - 80% แลวเคลื่อนข้ึนเล็กนอยที่ตําแหนง 90 – 100% คาเซมิโทน

ของวรรณยุกตเอกอยูในชวง 0.60 – 5.71 เซมิโทน

วรรณยุกตโทมีสัทลักษณะกลางคอนขางสูง-ตก (4^1) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางคอนขางสูงที่ 8.40 เซมิโทน เคลื่อนข้ึนเล็กนอยที่ตําแหนง 10% แลวลดลงอยางตอเน่ือง

จากตําแหนง 20% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตโทอยูในชวง 0.33 – 9.43 เซมิโทน

วรรณยุกตตรีมีสัทลักษณะกลางคอนขางสูง-ตก-ขึ้น (4^34^) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางคอนขางสูงที่ 9.35 เซมิโทน ลดลงในตําแหนง 0% – 70 % แลวเคลื่อนข้ึนที่ตําแหนง

80% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตตรีอยูในชวง 5.59 – 9.51 เซมิโทน

วรรณยุกตจัตวามีสัทลักษณะกลางคอนขางสูง-ตก-ขึ้น (425^) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางคอนขางสูงที่ 7.89 เซมิโทน ลดลงจากตําแหนง 0% – 60% แลวเคลื่อนข้ึนที่ตําแหนง

70% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตจัตวาอยูในชวง 2.70 – 11.57 เซมิโทน

ผลการวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษา-

อูรดูคนที่ 1 แสดงใหเห็นวา ผูพูดออกเสียงวรรณยุกตทุกหนวยเสียงเปนวรรณยุกตเปลี่ยนระดับ

วรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตเอกมีสัทลักษณะกลาง-ตกใกลเคียงกัน วรรณยุกตโทเริ่มตนที่ระดับ-

เสียงสูงกวาวรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตเอก แตลดระดับลงเรื่อยๆ เชนเดียวกับวรรณยุกตสามัญ

และวรรณยุกตเอก สวนวรรณยุกตตรีและวรรณยุกตจัตวาตางมีสัทลักษณะเปลี่ยนระดับตก-ขึ้น

ผลการวิเคราะหดังกลาวสรุปไดวา ผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 1 สามารถออกเสียง

วรรณยุกตเอกและวรรณยุกตจัตวาไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย แตออกเสียงวรรณยุกตสามัญ

วรรณยุกตโท และวรรณยุกตตรีแตกตางจากผูพูดภาษาไทย ผูวิจัยเห็นวา ผูพูดอาจมีปญหาในการ-

ออกเสียงคูวรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตเอก และคูวรรณยุกตตรีและวรรณยุกตจัตวา สวน

วรรณยุกตโทไมปรากฏการขึ้น-ตกของระดับเสียงอยางเห็นไดชัดเชนเดียวกับวรรณยุกตโทที่ออกเสียง

โดยผูพูดภาษาไทย

Page 106: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

88

ภาพที่ 4.23 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 2

ภาพที่ 4.23 แสดงใหเห็นวา คาเซมิโทนของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษา

อูรดูคนที่ 2 อยูในชวง 0 – 6.98 เซมิโทน และมีสัทลักษณะดังน้ี

วรรณยุกตสามัญมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่าระดับ-ตก (221^) ระดับเสียงเริ่ม

ในระดับกลางที่ 3.08 เซมิโทน คงระดับที่ตําแหนง 0% – 50 % แลวลดลงจากตําแหนง 60% –

100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตสามัญอยูในชวง 1.63 – 3.08 เซมิโทน

วรรณยุกตเอกมีสัทลักษณะตํ่าระดับ-ตก (1^1^1) ระดับเสียงเร่ิมในระดับตํ่าที่

2.06 เซมิโทน คงระดับที่ตําแหนง 0% – 40 % แลวลดลงจากตําแหนง 50% – 80% และเคลื่อนขึ้น

เล็กนอยที่ตําแหนง 90% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตสามัญอยูในชวง 0 – 2.06 เซมิโทน และ

มีการเคลื่อนขึ้นเล็กนอยในชวงทาย

วรรณยุกตโทมีสัทลักษณะกลาง-ตก (3^1) ระดับเสียงเริ่มในระดับกลางที่ 6.49

เซมิโทน คงระดับที่ตําแหนง 0% – 20% แลวลดลงจากตําแหนง 30% – 100% คาเซมิโทนของ

วรรณยุกตโทอยูในชวง 0.80 – 6.51 เซมิโทน

วรรณยุกตตรีมีสัทลักษณะกลาง-ขึ้น (33^) ระดับเสียงเริ่มในระดับกลางที่ 5.73

เซมิโทน คงระดับที่ตําแหนง 0% – 50 % แลวเคลื่อนข้ึนที่ตําแหนง 60% – 100% คาเซมิโทนของ

วรรณยุกตตรีอยูในชวง 4.96 – 6.98 เซมิโทน

0

2.4

4.8

7.2

9.6

12

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

สามัญ

เอก

โท

ตรี

จัตวา

Page 107: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

89

วรรณยุกตจัตวามีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ตก-ขึ้น (212) ระดับเสียงเร่ิมใน

ระดับกลางคอนขางตํ่าที่ 3.51 เซมิโทน ลดลงจากตําแหนง 0% – 70% แลวเคลื่อนข้ึนที่ตําแหนง

80% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตจัตวาอยูในชวง 0.54 – 3.51 เซมิโทน

ผลการวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 2

แสดงใหเห็นวา ผูพูดออกเสียงวรรณยุกตโท วรรณยุกตตรี และวรรณยุกตจัตวาเปนวรรณยุกตเปลี่ยน

ระดับ และออกเสียงวรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตเอกเปนวรรณยุกตคงระดับ วรรณยุกตสามัญและ

วรรณยุกตเอกตางมีสัทลักษณะคงระดับและตกในชวงทาย แตวรรณยุกตสามัญมีระดับเสียงสูงกวา

เล็กนอย สวนวรรณยุกตโทมีสัทลักษณะกลาง-ตกและไมปรากฏการเปลี่ยนระดับขึ้น-ตก สวน

วรรณยุกตตรีและวรรณยุกตจัตวาตางมีสัทลักษณะตก-ขึ้น แตไมชันมาก

ผลการวิเคราะหสัทลักษณะขางตนสรุปไดวา ผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 2 สามารถออก

เสียงวรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตจัตวาไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย แตออกเสียงวรรณยุกตเอก

วรรณยุกตโท และวรรณยุกตตรีแตกตางจากผูพูดภาษาไทย ผูวิจัยเห็นวา ผูพูดอาจมีปญหาในออก

เสียงคูวรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตเอกและคูวรรณยุกตตรีและวรรณยุกตจัตวา สวนวรรณยุกตโท

ไมปรากฏสัทลักษณะขึ้น-ตกอยางเห็นไดชัด แตปรากฏการตกเรื่อยๆ จากชวงเริ่มตนถึงชวงทายของ

การออกเสียง

Page 108: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

90

ภาพที่ 4.24 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 3

ภาพที่ 4.24 แสดงใหเห็นวา คาเซมิโทนของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูด-

ภาษาอูรดูคนที่ 3 อยูในชวง 0 – 6.40 เซมิโทน และมีสัทลักษณะดังน้ี

วรรณยุกตสามัญมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ตก (21^1^) ระดับเสียงเร่ิมใน

ระดับกลางคอนขางตํ่าที่ 3.09 เซมิโทน ตกเล็กนอยที่ตําแหนง 10% แลวลดลงอยางตอเน่ืองจาก

ตําแหนง 20% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตสามัญอยูในชวง 1.49 – 3.09 เซมิโทน

วรรณยุกตเอกมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ตก (21) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางคอนขางตํ่าที่ 3.39 เซมิโทน ลดลงอยางตอเน่ืองจากตําแหนง 0% – 80% และเคลื่อนขึ้น

เล็กนอยที่ตําแหนง 90% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตเอกอยูในชวง 0.30 – 3.93 เซมิโทน

วรรณยุกตโทมีสัทลักษณะกลาง-ตก (3^1^) ระดับเสียงเร่ิมในระดับกลางที่

6.40 เซมิโทน คงระดับที่ตําแหนง 0% – 50% แลวลดลงอยางตอเน่ืองจากตําแหนง 60% – 100%

คาเซมิโทนของวรรณยุกตโทอยูในชวง 1.77 – 6.40 เซมิโทน

วรรณยุกตตรีมีสัทลักษณะตํ่า-ตก-ขึ้น (1^12^) ระดับเสียงเริ่มในระดับตํ่าที่ 2.03

เซมิโทน ลดลงที่ตําแหนง 0% – 30% จากน้ัน เคลื่อนขึ้นจากตําแหนง 40% – 100% คาเซมิโทนของ

วรรณยุกตตรีอยูในชวง 1.08 – 4.07 เซมิโทน

0

2.4

4.8

7.2

9.6

12

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

สามัญ

เอก

โท

ตรี

จัตวา

Page 109: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

91

วรรณยุกตจัตวามีสัทลักษณะตํ่า-ตก-ขึ้น (1^12) ระดับเสียงเริ่มในระดับตํ่าที่

1.32 เซมิโทน ลดลงเล็กนอยที่ตําแหนง 0% – 40% แลวเคลื่อนข้ึนจากตําแหนง 50% – 100% คา-

เซมิโทนของวรรณยุกตจัตวาอยูในชวง 0 – 3.71 เซมิโทน

ผลการวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 3

แสดงใหเห็นวา ผูพูดออกเสียงวรรณยุกตสามัญเปนวรรณยุกตคงระดับ และออกเสียงวรรณยุกตเอก

วรรณยุกตโท วรรณยุกตตรี และวรรณยุกตจัตวาเปนวรรณยุกตเปลี่ยนระดับ แตมีความชันไมมากนัก

ยกเวนวรรณยุกตโท วรรณยุกตสามัญมีสัทลักษณะคงระดับที่ชวงกลางถึงชวงทายของการออกเสียง

วรรณยุกตเอกมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ตก วรรณยุกตโทมีสัทลักษณะกลาง-ตก สวนวรรณยุกต

ตรีและวรรณยุกตจัตวาตางมีสัทลักษณะตํ่า-ตก-ขึ้น

ผลการวิเคราะหสัทลักษณะสรุปไดวา ผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 3 สามารถออกเสียง

วรรณยุกตสามัญ วรรณยุกตเอก และวรรณยุกตจัตวาไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย แตออกเสียง

วรรณยุกตโทและวรรณยุกตตรีแตกตางจากผูพูดภาษาไทย ผูวิจัยเห็นวา ผูพูดไมมีปญหาในการออก

เสียงคูวรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตเอก แตอาจมีปญหาในการออกเสียงวรรณยุกตตรีและ

วรรณยุกตจัตวา สวนวรรณยุกตโทไมปรากฏสัทลักษณะขึ้น-ตกอยางเห็นไดชัด แตเริ่มตนและระดับ

เสียงสวนใหญอยูในชวงระดับเสียงที่สูง

Page 110: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

92

ภาพที่ 4.25 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 4

ภาพที่ 4.25 แสดงใหเห็นวา คาเซมิโทนของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูด-

ภาษาอูรดูคนที่ 4 อยูในชวง 0 – 10.57 เซมิโทน และมีสัทลักษณะดังน้ี

วรรณยุกตสามัญมีสัทลักษณะกลางคอนขางสูง-ตก (41^) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางคอนขางสูงที่ 7.46 เซมิโทน ลดลงอยางตอเน่ืองจากตําแหนง 0% – 100% คาเซมิโทน

ของวรรณยุกตสามัญอยูในชวง 1.44 – 7.46 เซมิโทน และมีการเคลื่อนขึ้นเล็กนอยในชวงทาย

วรรณยุกตเอกมีสัทลักษณะกลาง-ตก (31) ระดับเสียงเร่ิมในระดับกลางที่ 5.10

เซมิโทน ลดลงอยางตอเน่ืองจากตําแหนง 0% – 90% และเคลื่อนข้ึนเล็กนอยที่ตําแหนง 100% คา-

เซมิโทนของวรรณยุกตเอกอยูในชวง 0 – 510 เซมิโทน

วรรณยุกตโทมีสัทลักษณะสูง-ตก (51^) ระดับเสียงเริ่มในระดับสูงที่ 9.47 เซมิ-

โทน เคลื่อนขึ้นเล็กนอยที่ตําแหนง 10% – 20% แลวลดลงอยางตอเน่ืองจากตําแหนง 30% – 100%

คาเซมิโทนของวรรณยุกตโทอยูในชวง 1.73 – 10.57 เซมิโทน

วรรณยุกตตรีมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ขึ้น (2^3^) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางคอนขางตํ่าที่ 4.43 เซมิโทน คงระดับที่ตําแหนง 0% – 40% แลวเคลื่อนข้ึนจากตําแหนง

50% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตตรีอยูในชวง 3.63 – 6.20 เซมิโทน

0

2.4

4.8

7.2

9.6

12

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

สามัญ

เอก

โท

ตรี

จัตวา

Page 111: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

93

วรรณยุกตจัตวามีสัทลักษณะกลาง-ตก-ขึ้น (3^23^) ระดับเสียงเร่ิมใน

ระดับกลางที่ 6.99 เซมิโทน ลดลงที่ตําแหนง 0% – 60% แลวเคลื่อนขึ้นที่ตําแหนง 70% – 100%

คาเซมิโทนของวรรณยุกตจัตวาอยูในชวง 3.26 – 6.99 เซมิโทน

ผลการวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษา-

อูรดูคนที่ 4 แสดงใหเห็นวา วรรณยุกตทุกหนวยเสียงมีสัทลักษณะเปลี่ยนระดับ โดยวรรณยุกตสามัญ

และวรรณยุกตเอกมีสัทลักษณะตกอยางตอเน่ือง แตพิสัยของวรรณยุกตสามัญจะสูงกวาเล็กนอย

วรรณยุกตโทเคลื่อนขึ้นเล็กนอยในชวงเริ่มตน แตไมปรากฏการเปลี่ยนระดับขึ้น-ตกอยางเห็นไดชัด

และวรรณยุกตตรีและวรรณยุกตจัตวาตางปรากฏการเปลี่ยนระดับตก-ขึ้น

ผลการวิเคราะหสัทลักษณะขางตนสรุปไดวา ผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 4 สามารถออก

เสียงวรรณยุกตเอกและวรรณยุกตจัตวาไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย แตออกเสียงวรรณยุกตสามัญ

วรรณยุกตโท และวรรณยุกตตรีแตกตางจากผูพูดภาษาไทย ผูวิจัยเห็นวา ผูพูดอาจมีปญหาในการออก

เสียงคูวรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตเอก

สวนวรรณยุกตโท แมแตกตางจากวรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

อยางเห็นไดชัดเพราะไมปรากฏการเปลี่ยนระดับขึ้น-ตก แตจะเห็นไดวา วรรณยุกตโทเกิดในระดับ-

เสียงที่สูง ดังน้ัน จึงไมนาจะเปนปญหาในการออกเสียงของผูพูด

สวนวรรณยุกตตรี แมระดับเสียงเคลื่อนขึ้น แตผูวิจัยเห็นวา ไมปรากฏการเคลื่อน

ขึ้นที่ชันมากเหมือนวรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูวิจัยจึงเห็นวา ผูพูดออกเสียง

วรรณยุกตตรีแตกตางจากผูพูดภาษาไทย

อยางไรก็ตาม วรรณยุกตจัตวาและวรรณยุกตตรีไมใชคูวรรณยุกตที่เปนปญหาตอ

การออกเสียงของผูพูดเพราะสัทลักษณะของวรรณยุกตจัตวามีความแตกตางจากวรรณยุกตตรีในแง

ของการตก-ขึ้นอยางเห็นไดชัด

Page 112: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

94

4.2.3.1 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพดูภาษาอูรดู

เพ่ือใหเห็นความแตกตางและความใกลเคียงของสัทลักษณะของ

วรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูทั้งสี่คนกับสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูด-

ภาษาไทย ผูวิจัยจึงนําเสนอการเปรียบเทียบสัทลักษณะของวรรณยุกตตางๆ ทีละเสียงดังน้ี

ภาพที่ 4.26 วรรณยุกตสามญัที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาอูรดู

ภาพที่ 4.26 จะเห็นไดวา ผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 2 และ 3 ออกเสียง

วรรณยุกตสามัญไดใกลเคียงวรรณยุกตสามัญที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยเพราะมีลักษณะคงระดับ

สวนวรรณยุกตสามัญที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 1 และคนที่ 4 ตางมีลักษณะตกอยาง

ตอเน่ืองต้ังแตชวงเร่ิมตนถึงชวงทายของการออกเสียงคลายกับการออกเสียงวรรณยุกตเอก ซึ่งมีความ

แตกตางจากวรรณยุกตสามัญที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

0

2.4

4.8

7.2

9.6

12

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

U1

U2

U3

U4

T

Page 113: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

95

ภาพที่ 4.27 วรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาอูรดู

ภาพที่ 4.27 แสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาอูรดูสวนใหญ (ยกเวนคนที่ 2)

ออกเสียงวรรณยุกตเอกไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย สวนวรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดู

คนที่สองน้ัน มีลักษณะคงระดับเพราะระดับเสียงในชวงเริ่มตนและชวงกลางคอนขางคงระดับ

นอกจากน้ี สัทลักษณะของวรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดู

แสดงใหเห็นวา ชวงทายของวรรณยุกตมีระดับเสียงสูงข้ึนเล็กนอย ซึ่งลักษณะเชนน้ีปรากฏใน

วรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูทุกคน ผูวิจัยเห็นวา สัทลักษณะดังกลาวอาจไดรับ

อิทธิพลจากภาษาแม (พิจารณาคําอภิปรายในหัวขอที่ 6.2.3 บทที่ 6 หนา 120 - 123)

0

2.4

4.8

7.2

9.6

12

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

U1

U2

U3

U4

T

Page 114: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

96

ภาพที่ 4.28 วรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาอูรดู

ภาพที่ 4.28 แสดงใหเห็นวา วรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดู

ทุกคนแตกตางจากวรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยเพราะไมปรากฏการเปลี่ยนระดับขึ้น-

ตก ผูพูดภาษาอูรดูทุกคนมีแนวโนมที่จะออกเสียงวรรณยุกตโทในระดับเสียงใกลเคียงกับผูพูด-

ภาษาไทย แตไมปรากฏการเปลี่ยนระดับขึ้นในชวงกลาง

อยางไรก็ตาม ผูพูดภาษาอูรดูบางคน ไดแก คนที่ 1 และ 4 อาจ

พยายามที่จะออกเสียงวรรณยุกตโทใหมีการเปลี่ยนระดับในชวงเริ่มตน กลาวคือ ประมาณ 0% -

20% ของระยะเวลาการออกเสียง กระน้ัน ระดับเสียงที่ระยะเวลาสวนใหญก็มีแนวโนมที่จะลดตํ่าลง

อยางตอเน่ือง

0

2.4

4.8

7.2

9.6

12

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

U1

U2

U3

U4

T

Page 115: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

97

ภาพที่ 4.29 วรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาอูรดู

ภาพที่ 4.29 แสดงใหเห็นวา วรรณยุกตรีที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดู

มีลักษณะตกในชวงกลาง (ประมาณ 0% - 60%) แลวคอยๆ เคลื่อนข้ึนอยางตอเน่ือง แตไมชันมาก

และหากเปรียบเทียบกับวรรณยุกตจัตวา จะเห็นไดวา วรรณยุกตทั้งสองมีสัทลักษณะเปลี่ยนระดับตก-

ขึ้นใกลเคียงกัน โดยเฉพาะวรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 1 อยางไรก็ตาม

วรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 2 และคนที่ 4 ปรากฏสัทลักษณะเคลื่อนข้ึนคลาย

วรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย แตแตกตางกันในประเด็นของความชัน ซึ่งจะเห็นไดวา

วรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยมีความชันมากกวา ผูวิจัยจึงเห็นวา สัทลักษณะของ

วรรณยุกตตรีที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาคนที่ 2 และคนที่ 4 แตกตางจากวรรณยุกตตรีที่ออกเสียง

โดยผูพูดภาษาไทย

0

2.4

4.8

7.2

9.6

12

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

U1

U2

U3

U4

T

Page 116: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

98

ภาพที่ 4.30 วรรณยุกตจัตวาที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยและผูพูดภาษาอูรดู

ภาพที่ 4.30 แสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาอูรดูสวนใหญออกเสียง

วรรณยุกตจัตวาไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทยเพราะสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ปรากฏการเปลี่ยนระดับ

ตก-ขึ้น ผูวิจัยต้ังขอสังเกตวา ผูพูดภาษาอูรดูมีแนวโนมที่จะออกเสียงวรรณยุกตตรีและวรรณยุกต-

จัตวาไปในทิศทางเดียวกัน กลาวคือ ระดับเสียงของวรรณยุกตทั้งสองอยูในระดับใกลเคียงกัน

นอกจากน้ี ผูวิจัยเห็นวา ผูพูดภาษาอูรดูนาจะมีความสามารถในการออกเสียงวรรณยุกตจัตวา แตมี

ความสับสนกับวรรณยุกตตรีซึ่งมีระดับเสียงใกลเคียงกัน ดังน้ัน ผูพูดภาษาอูรดูจึงไมสามารถออกเสียง

วรรณยุกตทั้งสองเสียงไดแตกตางกันอยางชัดเจน

0

2.4

4.8

7.2

9.6

12

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

U1

U2

U3

U4

T

Page 117: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

99

4.2.3.2 คาเฉลี่ยของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดู

ภาพที่ 4.31 วรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดู

ภาพที่ 4.31 แสดงใหเห็นวา คาเซมิโทนของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผู-

พูดภาษาอูรดูอยูในชวง 0 – 7.92 เซมิโทน และมีสัทลักษณะดังน้ี

วรรณยุกตสามัญมีสัทลักษณะกลาง-ตก (3^1^) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางที่ 5.00 เซมิโทน แลวลดลงอยางตอเน่ืองจากตําแหนง 0% – 100% คาเซมิโทนของ

วรรณยุกตสามัญอยูในชวง 0.99 – 4.95 เซมิโทน

วรรณยุกตเอกมีสัทลักษณะกลาง-ตก (311^) ระดับเสียงเร่ิมใน

ระดับกลางที่ 3.84 เซมิโทน ลดลงอยางตอเน่ืองจากตําแหนง 0% – 80% และเคลื่อนข้ึนเล็กนอยที่

ตําแหนง 90% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตเอกอยูในชวง 0 – 3.84 เซมิโทน

วรรณยุกตโทมีสัทลักษณะสูง-ตก (51^) ระดับเสียงเริ่มในระดับสูงที่

7.61 เซมิโทน 7.61 เซมิโทน แตในตําแหนงที่ 0% - 20% จะสูงข้ึนเล็กนอย จากน้ัน ลดลงอยาง

ตอเน่ืองจากตําแหนง 30% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตโทอยูในชวง 0.92 – 7.92 เซมิโทน

วรรณยุกตตรีมีสัทลักษณะกลาง-ตก-ขึ้น (3^34^) ระดับเสียงเริ่มใน

ระดับกลางที่ 5.53 เซมิโทน และลดลงเรื่อยๆ จากตําแหนง 0% – 50% จากน้ัน เคลื่อนขึ้นที่ตําแหนง

60% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตตรอียูในชวง 4.15 -6.71 เซมิโทน

0

1.8

3.6

5.4

7.2

9

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

เซมิโ

ทน

คาระยะเวลา (%)

สามัญ

เอก

โท

ตรี

จัตวา

Page 118: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

100

วรรณยุกตจัตวามีสัทลักษณะกลาง-ตก-ขึ้น (3^24) ระดับเสียงเร่ิมใน

ระดับกลางที่ 5.00 เซมิโทน และลดลงเรื่อยๆ จากตําแหนง 0% – 50% จากน้ัน เคลื่อนขึ้นที่ตําแหนง

60% – 100% คาเซมิโทนของวรรณยุกตจัตวาอยูในชวง 1.68 – 6.27 เซมิโทน

ภาพที่ 4.31 แสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาอูรดูออกเสียงวรรณยุกตสามัญ

และวรรณยุกตเอกในทิศทางเดียวกัน กลาวคือ ทั้งสองวรรณยุกตเริ่มตนในระดับกลางแลวลดลงอยาง

ตอเน่ืองจนถึงชวงทาย อยางไรก็ตาม วรรณยุกตเอกไดเคลื่อนขึ้นในชวงทาย ซึ่งเปนลักษณะเฉพาะ

ของการออกเสียงวรรณยุกตเอกของผูพูดภาษาอูรดูทุกคน สวนวรรณยุกตโทน้ัน เริ่มตนในระดับสูง

แลวลดลงอยางตอเน่ือง ระดับเสียงไมปรากฏการเปลี่ยนระดับขึ้น-ตก นอกจากน้ี ผลการวิเคราะหสัท-

ลักษณะขางตนยังแสดงใหเห็นวา วรรณยุกตตรีและวรรณยุกตจัตวาตางมีสัทลักษณะเปลี่ยนระดับตก-

ขึ้น แตความแตกตาง คือ ระดับเสียงของวรรณยุกตตรีอยูในระดับที่สูงกวาวรรณยุกตจัตวา

ผูวิจัยเห็นวา ผูพูดภาษาอูรดูอาจมีปญหาในการออกเสียงคูวรรณยุกต-

สามัญและวรรณยุกตเอกและคูวรรณยุกตตรีและวรรณยุกตจัตวา สวนวรรณยุกตโทน้ัน ผูวิจัยเห็นวา

ผูพูดอาจเริ่มตนออกเสียงในระดับเสียงที่สูงแลวคอยๆ ลดระดับเสียงลงอยางตอเน่ือง

ตารางที่ 4.9

พิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดู

วรรณยุกต คาความถ่ีมูลฐาน (Hz)

คาสูงสุด คาตํ่าสุด ชวงพิสัย

สามัญ 169 91 78

เอก 150 85 65

โท 202 93 109

ตรี 199 88 111

จัตวา 207 84 123

Page 119: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

101

ภาพที่ 4.32 พิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดู

ตารางที่ 4.9 และภาพที่ 4.32 แสดงใหเห็นวา คาความถ่ีมูลฐานสูงสุด

ของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูคือ 207 เฮิรตซ และคาความถี่มูลฐานตํ่าสุดคือ 84

เฮิรตซ วรรณยุกตที่มีชวงพิสัยกวางที่สุด คือ วรรณยุกตจัตวา รองลงมาคือ วรรณยุกตโท วรรณยุกต-

ตรี วรรณยุกตสามัญ และวรรณยุกตเอกตามลําดับ และมีรายละเอียดดังน้ี

วรรณยุกตสามัญมีพิสัยคาความถ่ีมูลฐานอยูในชวง 91 – 169 เฮิรตซ

ความกวางของชวงพิสัยคือ 78 เฮิรตซ

วรรณยุกตเอกมีพิสัยคาความถ่ีมูลฐานอยูในชวง 85 – 150 เฮิรตซ

ความกวางของชวงพิสัยคือ 65 เฮิรตซ

วรรณยุกตโทมีพิสัยคาความถ่ีมูลฐานอยูในชวง 93 – 202 เฮิรตซ

ความกวางของชวงพิสัยคือ 109 เฮิรตซ

วรรณยุกตตรีมีพิสัยคาความถ่ีมูลฐานอยูในชวง 88 – 199 เฮิรตซ

ความกวางของชวงพิสัยคือ 111 เฮิรตซ

วรรณยุกตจัตวามีพิสัยคาความถ่ีมูลฐานอยูในชวง 84 – 207 เฮิรตซ

ความกวางของชวงพิสัยคือ 123 เฮิรตซ

ผลการวิเคราะหพิสัยคาความถี่มูลฐานขางตนสอดคลองกับผลการ

วิเคราะหสัทลักษณะในประเด็นที่ วรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตเอกมีสัทลักษณะใกลเคียงกัน

169

150

202 199 207

91 85

93 88 84 80

106

132

158

184

210

สามัญ เอก โท ตรี จัตวา

คาคว

ามถี่มู

ลฐาน

(Hz)

วรรณยุกต

คาสูงสุด

คาเฉล่ีย

คาตํ่าสุด

Page 120: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

102

เพราะเมื่อพิจารณาพิสัยคาความถี่มูลฐานของทั้งสองวรรณยุกต จะเห็นไดวา ความกวางของพิสัยของ

ทั้งสองวรรณยุกตไมแตกตางกันมากนัก

นอกจากน้ี จะเห็นไดวา วรรณยุกตโท วรรณยุกตตรี และวรรณยุกต

จัตวามีความกวางของชวงพิสัยที่ไมตางกันมากนัก (โท = 109 ตรี = 111 และจัตวา = 123) ผลการ-

วิเคราะหน้ีแสดงใหเห็นวา ทั้งสามวรรณยุกตมีการเปลี่ยนระดับชันมากกวาวรรณยุกตสามัญและ

วรรณยุกตเอก

Page 121: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

103

บทท่ี 5

ผลการประเมินระดับสําเนียงของผูพูดภาษาพมาและผูพดูภาษาอูรด ู

เน่ืองจากวัตถุประสงคประการที่สองของงานวิจัยน้ี คือ การศึกษาผลการประเมินระดับ-

สําเนียงตางประเทศของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู ผูวิจัยจึงนําคําเราการรับรูที่ออกเสียงโดย

ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูไปใหผูฟงคนไทยประเมินวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูมี

ระดับสําเนียงภาษาไทยอยูในระดับใด

โดยทั่วไป คําเราการรับรูที่ใชในการศึกษาการรับรู (perception) ของเจาของภาษาจะ

เปนขอมูลเสียงชุดเดียวกันกับที่ใชในการศึกษาดานการออกเสียง (production) ของกลุมตัวอยาง

(เชน Wayland, 1997; ธนภัทร, 2552) ผูวิจัยเห็นวา คําเราการรับรูในระดับคําเคยปรากฏการศึกษา

ไวแลวในงานของเวยแลนด (Wayland, 1997) ซึ่งศึกษาการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยดวย

แนวทางกลสัทศาสตรและการประเมินระดับสําเนียงโดยคนไทย คําทดสอบในงานวิจัยของเวยแลนด

คือ คํา “ ” และ “” หากพิจารณาแนวทางการประเมินระดับสําเนียงในงานวิจัยของเวย-

แลนด จะเห็นไดวา มีความใกลเคียงกับแนวทางการวิจัยในงานวิจัยน้ี นอกจากน้ี วิธีการคํานวณ

คะแนนการประเมินก็เปนไปในแนวทางเดียวกัน กลาวคือ เปนการหาคาเฉลี่ยของคะแนนประเมิน

ผลการวิจัยดานการประเมินระดับสําเนียงในงานวิจัยของเวยแลนดแสดงใหเห็นวา

คะแนนเฉลี่ยของกลุมผูพูดภาษาอังกฤษอยูในชวง 2.96 – 4.68 สวนคะแนนเฉลี่ยของกลุมผูพูด-

ภาษาไทยอยูในชวง 3.26 – 5 นอกจากน้ี เวยแลนดไดนําเสนอคะแนนเฉลี่ยของผูพูดแตละคนดวย

โดยคะแนนเฉลี่ยรายบุคคลของผูพูดภาษาอังกฤษอยูในชวง 1.75 – 5 สวนคะแนนเฉลี่ยรายบุคคลของ

ผูพูดภาษาไทยอยูในชวง 4.25 – 5 ซึ่งหากใชเกณฑการอธิบายความหมายของระดับคะแนนดังที่

ผูวิจัยไดนําเสนอไวขางลาง จะเห็นไดวา ระดับสําเนียงของผูภาษาอังกฤษอยูในระดับใกลเคียงเจาของ-

ภาษาจนถึงระดับเหมือนเจาของภาษา

ผูวิจัยเลือกที่จะดําเนินการวิจัยตามแนวทางของเวยแลนดเน่ืองจากเห็นวา เวยแลนดได

ศึกษาผลการประเมินระดับสําเนียงดวยคําเราการรับรูระดับคําไวอยางรัดกุมดีแลว อีกทั้ง ผลการวิจัย

ก็มีความนาเช่ือถือเพราะกําหนดระเบียบวิธีวิจัยตามที่ยอมรับในระดับสากล ดังน้ัน ผูวิจัยจึงเห็นวา

หากศึกษาระดับสําเนียงดวยคําเราการรับรูระดับอ่ืน เชน ระดับหน่ึงประโยคจนถึงระดับขอความหรือ

เรื่องเลานาจะแสดงใหเห็นถึงระดับสําเนียงของประชากรศึกษาไดชัดเจนมากย่ิงขึ้น

ในงานวิจัยน้ี ผูวิจัยเลือกใชคําเราการรับรูระดับประโยคเพราะยึดตามการนําเสนอใน

งานวิจัยของเจสนี (Jesney, 2004: 2) ที่ไดทบทวนวรรณกรรมดานการประเมินระดับสําเนียง-

Page 122: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

104

ตางประเทศและพบวา คําเราการรับรูที่นิยมใชประเมินระดับสําเนียงตางประเทศมากที่สุดคือระดับ 1

ประโยค ผูวิจัยจึงไดสรางประโยคจํานวน 10 ประโยคเพ่ือใชเปนคําเราการรับรู

ในการประเมินระดับสําเนียง ผูฟงจะไมมุงความสนใจไปที่คําใดคําหน่ึงในประโยค แตจะ

ประเมินสําเนียงในภาพรวมของประโยควา สมควรจัดใหประโยคน้ันๆ มีสําเนียงอยูในระดับใด การ-

ประเมินคําเราการรับรูระดับประโยคเชนน้ีไมใชการศึกษาผลการประเมินเพ่ือศึกษาความถูกตองของ

การออกเสียงวา เหมือนหรือแตกตางจากเสียงของเจาของภาษา แตจะเปนการศึกษาระดับการ

ยอมรับของผูฟงคนไทยที่เปนเจาของภาษาวา หากพวกเขาไดยินประโยคที่ออกเสียงโดยชาว-

ตางประเทศ พวกเขาจะยอมรับในระดับใด อีกทั้ง ในชีวิตประจําวัน ผูคนมักสื่อสารระหวางกันเปน

ประโยคมากกวาจะสื่อสารดวยคําพยางคเดียว การศึกษาระดับสําเนียงของคําเราการรับรูระดับ

ประโยคจึงเปนการศึกษาภาษาเพ่ือประโยชนในการสื่อสารและการทําความเขาใจระหวางกันมากกวา

การมุงพิจารณาความชัดเจนถูกตองของการออกเสียง

ดังที่กลาวแลวขางตนวา คําเราการรับรู คือ ขอมูลเสียงระดับประโยคที่ไดจากการออก-

เสียงของผูพูดภาษาพมาจํานวน 80 ประโยค ของผูพูดภาษาอูรดูจํานวน 80 ประโยค และของผูพูด-

ภาษาไทย ซึ่งจัดในลําดับไฟลเสียงคําเราการรับรูเพ่ือทดสอบความแมนยําในการประเมินของผูฟง

จํานวน 40 ประโยค ลําดับไฟลเสียงคําเราการรับรูจึงมีจํานวนประโยคทั้งหมด 200 ประโยค ผู-

ประเมิน คือ คนไทยกรุงเทพจํานวน 20 คน โดยแบงเปนเพศชาย 10 คน เพศหญิง 10 คน ผูประเมิน

ทุกคนเกิดและเติบโตในกรุงเทพมหานคร บิดาและมารดาเปนคนกรุงเทพฯ มีระดับการศึกษาปริญญา-

ตรีขึ้นไป ไมเคยคลุกคลีหรือสมรสกับชาวตางประเทศ และไมประกอบอาชีพเกี่ยวกับการสอนภาษา

เน่ืองจากคะแนนเต็มในแบบประเมินคือ 5 คะแนน โดยแตละชวงคะแนนมีความหมาย

แตกตางกัน ดังน้ัน ในการอธิบายผลการประเมินระดับสําเนียงตางประเทศของผูพูดภาษาพมาและผู-

พูดภาษาอูรดู ผูวิจัยจึงอธิบายผลการประเมินดวยระดับคะแนนดังน้ี

ผลคะแนนต้ังแต 0 – 0.9 คะแนน หมายถึง ไมใชเจาของภาษาแนนอน

ผลคะแนนต้ังแต 1 – 1.9 คะแนน หมายถึง ไมนาจะใชเจาของภาษา

ผลคะแนนต้ังแต 2 – 2.9 คะแนน หมายถึง ไมแนใจ

ผลคะแนนต้ังแต 3 – 3.9 คะแนน หมายถึง ใกลเคียงเจาของภาษา

ผลคะแนนต้ังแต 4 – 5 คะแนน หมายถึง เหมือนเจาของภาษามากที่สุด

Page 123: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

105

5.1 ผลการประเมินระดับสําเนียงของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูรายบุคคล

เมื่อผูวิจัยไดเปดไฟลประโยคภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

ทั้งแปดคนใหผูพูดภาษาไทยทั้ง 20 คนฟง ผลการประเมินแสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูด-

ภาษาอูรดูแตละคนไดรับคะแนนประเมินระดับสําเนียงในระดับที่แตกตางกัน ซึ่งผลคะแนนน้ีคือผล-

การประเมินเฉลี่ยจากผูประเมินทั้ง 20 คน ดังจะพิจารณาไดจากตารางที่ 5.1

ตารางที่ 5.1

ผลคะแนนการประเมินระดับสําเนียงของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูรายบุคคล

คะแนนการประเมินระดับสําเนียงของผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผูพูดภาษาอูรดู

B1 B2 B3 B4 U1 U2 U3 U4 T1 T2

3.61 2.57 2.15 1.87 2.01 3.33 3.39 1.92 4.72 4.63

ตารางที่ 5.1 แสดงใหเห็นวา ผลการประเมินระดับสําเนียงตางประเทศของผูพูดภาษา-

พมาและผูพูดภาษาอูรดูมีแนวโนมไปในทิศทางเดียวกัน กลาวคือ ไมมีกลุมใดที่มีผลคะแนนมากกวาอีก

กลุมหน่ึงอยางเห็นไดชัดเพราะแตละกลุมมีทั้งผูที่ไดรับการประเมินระดับสําเนียงในเกณฑสูงและ

เกณฑตํ่า และเมื่อพิจารณาผลคะแนนรายบุคคล จะเห็นไดวา ผูพูดทั้งแปดคนมีผลการประเมิน

แตกตางกันดังน้ี

ผูพูดภาษาพมาคนที่ 1 มีผลการประเมินอยูในเกณฑ ใกลเคียงเจาของภาษา (คะแนน

เฉลี่ยอยูในชวง 3 – 3.9 คะแนน)

ผูพูดภาษาพมาคนที่ 2 มีผลการประเมินอยูในเกณฑ ไมแนใจ (คะแนนเฉลี่ยอยูในชวง 2

– 2.9 คะแนน)

ผูพูดภาษาพมาคนที่ 3 มีผลการประเมินอยูในเกณฑ ไมแนใจ (คะแนนเฉลี่ยอยูในชวง 2

– 2.9 คะแนน)

ผูพูดภาษาพมาคนที่ 4 มีผลการประเมินอยูในเกณฑ ไมนาจะใชเจาของภาษา (คะแนน

เฉลี่ยอยูในชวง 1 – 1.9 คะแนน )

ผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 1 มีผลการประเมินอยูในเกณฑ ไมแนใจ (คะแนนเฉลี่ยอยูในชวง 2

– 2.9 คะแนน)

Page 124: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

106

ผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 2 มีผลการประเมินอยูในเกณฑ ใกลเคียงเจาของภาษา (คะแนน

เฉลี่ยอยูในชวง 3 – 3.9 คะแนน)

ผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 3 มีผลการประเมินอยูในเกณฑ ใกลเคียงเจาของภาษา (คะแนน

เฉลี่ยอยูในชวง 3 – 3.9 คะแนน)

ผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 4 มีผลการประเมินอยูในเกณฑ ไมนาจะใชเจาของภาษา (คะแนน

เฉลี่ยอยูในชวง 1 – 1.9 คะแนน)

นอกจากน้ี เมื่อพิจารณาผลการประเมินระดับสําเนียงของผูพูดภาษาไทย ผูวิจัยเห็นวา

ผูฟงมีความสามารถในแยกแยะวา เสียงใดคือเสียงของเจาของภาษาและเสียงใดไมใชเสียงของเจาของ

ภาษา ดังคํากลาวของมุนโร (Munro, 1993) ที่วา เจาของภาษามีความรูวา เสียงใดคือตัวอยางเสียงที่

ดีของภาษาที่พวกเขาพูดเปนภาษาแม ซึ่งจะเห็นไดจากผลการประเมินวา ผูพูดภาษาไทยทั้งสองคน

ไดรับคะแนนการประเมินใหอยูในชวงคะแนนที่จัดอยูในเกณฑ “เหมือนเจาของภาษามากที่สุด” ดังน้ี

ผูพูดภาษาไทยคนที่ 1 มีผลการประเมินอยูในเกณฑ เหมือนเจาของภาษามากที่สุด

(คะแนนเฉลี่ยอยูในชวง 4 - 5 คะแนน)

ผูพูดภาษาไทยคนที่ 2 มีผลการประเมินอยูในเกณฑ เหมือนเจาของภาษามากที่สุด

(คะแนนเฉลี่ยอยูในชวง 4 - 5 คะแนน)

ผลคะแนนรวมรายบุคคลขางตนแสดงใหเห็นวา ทั้งผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูมี

ผลการประเมินระดับสําเนียงในเกณฑที่แตกตางกัน นอกจากน้ี ผลคะแนนดังกลาวยังแสดงใหเห็นวา

ผูพูดภาษาอูรดูมีผูที่มีผลการประเมินอยูในเกณฑ “ใกลเคียงเจาของภาษา” จํานวน 2 คน ซึ่งมากกวา

ผูพูดภาษาพมา ที่มีผูที่มีผลการประเมินอยูในเกณฑน้ีเพียง 1 คนเพราะผูพูดภาษาพมาสวนใหญมีผล-

การประเมนิอยูในเกณฑ “ไมแนใจ”

จะเห็นไดวา ผลคะแนนประเมินเสียงภาษาไทยของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูแต

ละคนมีความแตกตางกันเพราะลําดับคะแนนอยูในเกณฑที่แตกตางกัน เพ่ือแสดงใหเห็นความ-

เช่ือมโยงระหวางผลการออกเสียงวรรณยุกตและผลการรับรูสําเนียง ผูวิจัยจึงนําผลคะแนนการ

ประเมินของแตละประโยคที่ออกเสียงโดยผูพูดแตละคนมาพิจารณารวมกับสัทลักษณะของวรรณยุกต

ที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูทั้ง 8 คน

ผลการประเมินระดับสําเนียงในตารางน้ีเปนการประเมินระดับสําเนียงของคําเราการรับรู

ระดับประโยค จากการฟงเพ่ือพิจารณาความชัดเจนของของวรรณยุกตในคําทดสอบ (5 คํา) และจาก

การพิจารณาคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตของคําทดสอบในประโยคคําเราการรับรู (100 ประโยค)

Page 125: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

107

ผูวิจัยพบวา ไมปรากฏความแตกตางมากนักจากคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตที่ปรากฏในคําพูด-

เด่ียวพยางคเดียว ผูวิจัยจึงนําผลการวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตตางๆ ที่ปรากฏในคําพูดเด่ียว-

พยางคเดียวมาพิจารณารวมกับผลการประเมินระดับสําเนียงของคําเราการรับรูระดับประโยค ตารางที่ 5.2 การเปรียบเทียบผลการประเมินระดับสําเนียงกับผลการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของผูพูดภาษา-

พมาและผูพูดภาษาอูรดู

กลุมประชากร ประโยค ผลการประเมินระดับ

สําเนียง

สัทลักษณะของวรรณยุกต

ผูพูดภาษาไทย นกอยูบนหลังคาสามตัว 4.87 1^1^1

แกงนี้ใสขากับพริก 4.5 2^1

เขาฆาคนตาย 4.83 3^41

ผมรูจักพอคาคนนั้น 4.9 242^

หมามีขาสี่ขา 4.83 213^

ผูพูดภาษาพมาคนท่ี 1 นกอยูบนหลังคาสามตัว 3.5 221

แกงนี้ใสขากับพริก 3.67 21

เขาฆาคนตาย 3 4^2^

ผมรูจักพอคาคนนั้น 4.17 213^

หมามีขาสี่ขา 3.67 2^14^

ผูพูดภาษาพมาคนท่ี 2 นกอยูบนหลังคาสามตัว 1.33 2^1

แกงนี้ใสขากับพริก 1.83 2^1

เขาฆาคนตาย 1.5 3^1

ผมรูจักพอคาคนนั้น 2 2^1^3^

หมามีขาสี่ขา 4.17 2^23^

ผูพูดภาษาพมาคนท่ี 3 นกอยูบนหลังคาสามตัว 1.33 21

แกงนี้ใสขากับพริก 1.33 21

เขาฆาคนตาย 2.17 3^2

ผมรูจักพอคาคนนั้น 1.67 23^

หมามีขาสี่ขา 2.33 1^3

Page 126: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

108

ตารางที่ 5.2 (ตอ) การเปรียบเทียบผลการประเมินระดับสําเนียงกับผลการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของผูพูดภาษา-

พมาและผูพูดภาษาอูรดู

กลุมประชากร ประโยค ผลการประเมินระดับ

สําเนียง

สัทลักษณะของวรรณยุกต

ผูพูดภาษาพมาคนท่ี 4 นกอยูบนหลังคาสามตัว 2.17 31^

แกงนี้ใสขากับพริก 1.17 31

เขาฆาคนตาย 1 42

ผมรูจักพอคาคนนั้น 1.17 323^

หมามีขาสี่ขา 1.33 3^24

ผูพูดภาษาอูรดูคนท่ี 1 นกอยูบนหลังคาสามตัว 1.17 3^1

แกงนี้ใสขากับพริก 1.33 31

เขาฆาคนตาย 1 4^1

ผมรูจักพอคาคนนั้น 1.17 4^34^

หมามีขาสี่ขา 1.33 425^

ผูพูดภาษาอูรดูคนท่ี 2 นกอยูบนหลังคาสามตัว 4.5 221^

แกงนี้ใสขากับพริก 2.33 1^1^1

เขาฆาคนตาย 3 3^1

ผมรูจักพอคาคนนั้น 3.83 33^

หมามีขาสี่ขา 4.5 212

ผูพูดภาษาอูรดูคนท่ี 3 นกอยูบนหลังคาสามตัว 2.83 21^1^

แกงนี้ใสขากับพริก 2 21

เขาฆาคนตาย 3.5 3^1^

ผมรูจักพอคาคนนั้น 4.17 1^12^

หมามีขาสี่ขา 3.17 1^12

ผูพูดภาษาอูรดูคนท่ี 4 นกอยูบนหลังคาสามตัว 1.17 41^

แกงนี้ใสขากับพริก 1.17 31

เขาฆาคนตาย 1.83 51^

ผมรูจักพอคาคนนั้น 1.5 2^3^

หมามีขาสี่ขา 1 3^23^

Page 127: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

109

ตารางที่ 5.2 เปนการนําเสนอผลการออกเสียงวรรณยุกตและผลการประเมินระดับ-

สําเนียง จะเห็นไดวา ตารางดังกลาวประกอบดวย 4 คอลัมน คอลัมนที่ 1 แสดงกลุมประชากร

คอลัมนที่ 2 แสดงประโยคแตละประโยคที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู คอลัมนที่

3 คือ ผลการประเมินระดับสําเนียงของแตละประโยค และคอลัมนที่ 4 คือ สัทลักษณะของวรรณยุกต

เสียงตางๆ ที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูทุกคน จะเห็นไดวา ในคอลัมนที่ 4

ผูวิจัยไดระบายสีแถวบางแถวดวยสีฟาเพ่ือแสดงวา วรรณยุกตในแถวน้ันๆ เปนวรรณยุกตที่ผูพูด-

ภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูออกเสียงไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย (พิจารณาเพ่ิมเติมในตารางที่ 4.1

หนา 51 - 54)

ในการเปรียบเทียบระหวางผลการออกเสียงและผลการรับรู ผูวิจัยใชเกณฑระดับคะแนน

เปนตัวช้ีวัดวา ผลการประเมินระดับสําเนียงมีความความสอดคลองกับผลการออกเสียงหรือไม

กลาวคือ หากประโยคใดไดรับคะแนนการประเมินอยูในชวง 3 – 5 คะแนน ผูวิจัยจะถือวาประโยคน้ัน

มีระดับคะแนนอยูในเกณฑ “ใกลเคียงเจาของภาษา” จนถึงเกณฑ “เหมือนเจาของภาษา” ซึ่งจัดเปน

ชวงคะแนนที่มีความเหมาะสมที่จะนํามาพิจารณารวมกับวรรณยุกตที่มีความใกลเคียงกับวรรณยุกตที่

ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

ดังจะเห็นไดจากตารางที่ 5.2 ผูวิจัยไดระบายสีแถวในตารางดวยสีเขียว ซึ่งหมายความวา

ผลการออกเสียงสอดคลองกับผลการประเมินระดับสําเนียงเพราะคะแนนการประเมินอยูในเกณฑที่

กําหนด (3 – 5 คะแนน) และผูวิจัยไดระบายสีแถวในตารางดวยสีแดง ซึ่งหมายความวา ผลการออก-

เสียงไมสอดคลองกับผลการประเมินระดับสําเนียงเพราะคะแนนการประเมินตํ่ากวาเกณฑที่กําหนด

(1 – 2.9)

ผลการวิเคราะหแสดงใหเห็นวา ในจํานวนวรรณยุกตทุกหนวยเสียงที่ออกเสียงโดยผูพูด-

ภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูแตละคน มีเพียง 17 หนวยเสียงเทาน้ันที่มีสัทลักษณะใกลเคียงกับสัท-

ลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงผูพูดภาษาไทย ซึ่งเมื่อนําวรรณยุกตที่ใกลเคียงวรรณยุกตที่ออก

เสียงโดยผูพูดภาษาไทยทั้ง 17 หนวยเสียงน้ีไปเปรียบเทียบกับคะแนนการประเมินระดับสําเนียง

ผูวิจัยพบวา ผลการออกเสียงสอดคลองกับผลการประเมินจํานวน 7 หนวยเสียง (แถวสีเขียว) และไม

สอดคลองกับผลการประเมินจํานวน 10 หนวยเสียง (แถวสีแดง)

ผลการเปรียบเทียบแสดงใหเห็นวา ผลการออกเสียงวรรณยุกตมีแนวโนมที่จะไม

สอดคลองกับผลการประเมินระดับสําเนียงเพราะแมวาผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูสามารถ

ออกเสียงวรรณยุกตไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย แตผลการประเมินระดับสําเนียงของผูพูดไมไดอยูใน

เกณฑสูงดวยเสมอไป เชน ผูพูดภาษาพมาคนที่ 2 ที่ออกเสียงวรรณยุกตเอกไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย

Page 128: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

110

เพราะมีสัทลักษณะกลางคอนขางตํ่า-ตก (2^1) เหมือนกัน แตประโยคคําเราการรับรูที่มีคําทดสอบ

เสียงวรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาคนที่ 2 ไดรับคะแนนการประเมินระดับสําเนียง

เพียง 1.83 ซึ่งอยูในเกณฑ “ไมนาจะใชเจาของภาษา” เปนตน

5.2 ผลการประเมินระดับสําเนียงของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูในภาพรวม

นอกจากน้ี ผูวิจัยไดนําผลคะแนนการประเมินระดับสําเนียงของผูพูดภาษาพมาและผู-

พูดภาษาอูรดูไปวิเคราะหคาความตางนัยสําคัญทางสถิติเพ่ือใหผลการประเมินระดับสําเนียงมีความ-

ชัดเจนมากย่ิงขึ้น ดังจะเห็นไดจากผลการวิเคราะหในตารางที่ 5.3

ตารางที่ 5.3

ผลการประเมนิระดับสําเนียงของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูในภาพรวม

กลุมตัวอยาง M SD t-Value p-Value

ผูพูดภาษาพมา 2.55 0.68

-.559

.580 ผูพูดภาษาอูรดู 2.66 0.60

เมื่อพิจารณาผลคะแนนการประเมินเฉลี่ยของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูจาก

ตารางที่ 5.3 จะเห็นไดวา ผูพูดภาษาคนพมามีคะแนนเฉลี่ย 2.55 คะแนน ซึ่งอยูในเกณฑ “ไมแนใจ”

และผูพูดภาษาอูรดูมีคะแนนเฉลี่ย 2.66 คะแนน ซึ่งอยูในเกณฑ “ไมแนใจ” เชนกัน และเมื่อวิเคราะห

ผลคะแนนประเมินของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูโดยผูพูดภาษาไทยทั้ง 20 คนดวยสถิติ

ทดสอบที (Independent Sample t-test) ผลการวิจัยแสดงใหเห็นวา คะแนนการประเมินระดับ-

สําเนียงของผูพูดทั้งสองกลุมไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ [t = -.599, p = .580] จึง

อาจกลาวไดวา ผูพูดทั้งสองกลุมมีระดับสําเนียงตางประเทศในระดับเดียวกัน

Page 129: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

111

บทท่ี 6

สรุป อภิปรายผลการวิจัย และขอเสนอแนะ

6.1 สรปุผลการวิจัย

งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคสองประการ คือ เปรียบเทียบลักษณะทางกลสัทศาสตรของ

วรรณยุกตภาษาไทยในคําพูดเด่ียวพยางคเดียวที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ผูพูดภาษาพมา และผู-

พูดภาษาอูรดู และศึกษาระดับสําเนียงตางประเทศของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูที่ประเมิน

โดยคนไทยกรุงเทพ ประชากรศึกษามีจํานวน 8 คน โดยแบงเปนผูพูดภาษาพมาจํานวน 4 คน และผู-

พูดภาษาอูรดูจํานวน 4 คน และประชากรควบคุม คือ ผูพูดภาษาไทยจํานวน 2 คน ทั้งประชากร

ศึกษาและประชากรควบคุมมีอายุระหวาง 20 – 50 ป

ในการวิจัยตามวัตถุประสงคขางตน ผูวิจัยไดแบงการศึกษาออกเปน 2 ประเด็น คือ

การศึกษาดานกลสัทศาสตรและการประเมินระดับสําเนียงตางประเทศ ในการศึกษาดานกลสัทศาสตร

ผูวิจัยศึกษาประเด็นคาความถี่มูลฐาน พิสัยคาความถี่มูลฐาน และคาระยะเวลา

ในการนําเสนอสรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ผูวิจัยไดนําเสนอตารางที่ 6.1 ซึ่ง

ไดแสดงภูมิหลังและประสบการณทางภาษาของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู ตลอดทั้งเพ่ือ

แสดงใหเห็นความสามารถในการออกเสียงของผูพูดทั้ง 8 คน ผูวิจัยไดนําเสนอผลการออกเสียง

วรรณยุกตและผลคะแนนการประเมินระดับสําเนียงในตารางดังกลาวดวย

Page 130: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

112

ตารางที่ 6.1

ผลการวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตภาษาไทย ผลการประเมินระดับสําเนียง ภูมิหลัง

และขอมูลการใชภาษาไทยของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู ประชากรศึกษา

B1 B2 B3 B4 U1 U2 U3 U4

อายุแรกเขามาพํานักใน

ประเทศไทย

25 21 20 19 27 17 17 25

ระยะเวลาที่พํานักอยูใน

ประเทศไทย

15

yrs.

28 yrs. 2yrs. 2yrs. 2yrs. 3yrs. 3yrs. 20

yrs.

ประชากร

ควบคุม

ปริมาณการใชภาษาไทยโดย

เฉล่ียในหนึ่งสัปดาห

21hrs

./

wk.

7hrs./

wk.

3.5hr

s./wk.

3.5hr

s./wk.

3.5hr

s./wk.

14hrs

./wk.

17.5

hrs/

wk.

3.5hr

s./wk

.

T1 T2

สัทลักษณะของวรรณยุกต

สามัญ

221 2^1 21 31^ 3^1 221^ 21^1^ 41^ 1^1^1

สัทลักษณะของวรรณยุกต

เอก

21 2^1 21 31 31 1^1^1 21 31 2^1

สัทลักษณะของวรรณยุกตโท 4^2^ 3^1 3^2 42 4^1 3^1 3^1^ 51^ 3^41

สัทลักษณะของวรรณยุกตตรี 213^ 2^1^3^ 23^ 323^ 4^34^ 33^ 1^12^ 2^3^ 242^

สัทลักษณะของวรรณยุกต

จัตวา

2^14^ 2^23^ 13^ 3^24 425^ 212 1^12 3^23^ 213^

ผลคะแนนการประเมินระดับ

สําเนียงตางประเทศ

3.61 2.57 2.15 1.87 2.01 3.33 3.39 1.92 4.72 4.63

* B = Burmese (ผูพูดภาษาพมา) U = Urdu (ผูพูดภาษาอูรดู) T = Thai (ผูพูดภาษาไทย)

yrs. = years (ป) hrs. = hours (ชั่วโมง) wk. = week (สัปดาห)

ตัวเลขในชองท่ีแรเงาแถบสีเทาทึบ คือ สัทลักษณะของวรรณยุกตท่ีออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและ

ผูพูดภาษาอูรดูท่ีออกเสียงไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย

Page 131: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

113

6.1.1 สรุปผลการวิจัยดานกลสัทศาสตร

6.1.1.1 คาความถ่ีมูลฐาน

ในการนําเสนอผลการวิเคราะหคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตที่ออก

เสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาไทย ผูวิจัยไดนําเสนอสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดย

ผูพูดจํานวน 8 คนในเบ้ืองตน จากน้ัน ผูวิจัยจึงนําเสนอผลการวิเคราะหคาความถี่มูลฐานที่เปน

คาเฉลี่ยรวมของผูพูดทั้งสองกลุมเพ่ือแสดงใหเห็นผลการออกเสียงวรรณยุกตในภาพรวม

(1) คาความถ่ีมูลฐานของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและ

ผูพูดภาษาอูรดูรายบุคคล

ผลการวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา

และผูพูดภาษาอูรดูในตารางที่ 6.1 แสดงใหเห็นวา ผูพูดแตละคนมีความสามารถในการออกเสียง

วรรณยุกตแตกตางกัน หากพิจารณาทิศทางของวรรณยุกตเปนหลัก โดยไมพิจารณาพิสัยของ

วรรณยุกต จะเห็นไดวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูหลายคนออกเสียงวรรณยุกตไดใกลเคียงผู-

พูดภาษาไทย ดังจะเห็นไดจากตารางที่ 6.1 ชองที่แรเงาดวยแถบสีเทาทึบ หมายถึง วรรณยุกตที่ผูพูด-

ภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูสามารถออกเสียงไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทยประกอบดวยวรรณยุกต

สามัญ วรรณยุกตเอก และวรรณยุกตจัตวา

วรรณยุกตที่ผูพูดจํานวน 7 คนออกเสียงไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย คือ

วรรณยุกตเอกและวรรณยุกตจัตวา เมื่อพิจารณาทิศทางของระดับเสียงแลว จะเห็นไดวา วรรณยุกต

เอกที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูเริ่มตนในระดับเสียงหน่ึงๆ แลวลดระดับลง

เรื่อยๆ จนถึงชวงทายเชนเดียวกับวรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย สวนวรรณยุกตจัตวาที่

ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู สวนใหญตกจากชวงเร่ิมตนจนถึงชวงกลาง จากน้ัน

ระดับเสียงคอยๆ เคลื่อนขึ้นจนถึงชวงทายคลายกับวรรณยุกตจัตวาที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

วรรณยุกตสามัญ คือ อีกวรรณยุกตหน่ึงที่แสดงถึงศักยภาพในการออก

เสียงของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู (บางคน) จะเห็นไดวา มีผูพูดเพียง 3 คนที่สามารถออก

เสียงวรรณยุกตสามัญไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย สวนวรรณยุกตโทและวรรณยุกตตรีน้ัน ถือวาเปน

อุปสรรคในการออกเสียงของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูมากที่สุด ดังจะเห็นไดจากตารางที่

6.1 ที่ไมปรากฏวา ผูพูดภาษาพมาหรือผูพูดภาษาอูรดูคนใดสามารถออกเสียงวรรณยุกตทั้งสองได

ใกลเคียงผูพูดภาษาไทย

Page 132: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

114

(2) คาเฉลี่ยของคาความถ่ีมูลฐานของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยกลุมผูพูด-

ภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

เมื่อวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดทั้งสองกลุม

เปนรายบุคคลแลว ผูวิจัยไดนําผลการวิเคราะหน้ีไปคํานวณคาเฉลี่ยเพ่ือแสดงใหเห็นผลการออกเสียง

ของกลุมผูพูดในภาพรวมดังปรากฏในตารางที่ 4.2 (ดูรายละเอียดในบทที่ 4 หนา 61)

ผลการวิเคราะหคาเฉลี่ยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดย

กลุมผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูมีความสอดคลองกับผลการวิเคราะหคาความถี่มูลฐานของ

วรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูรายบุคคล กลาวคือ ผูพูดภาษาพมาและ

ผูพูดภาษาอูรดูสามารถออกเสียงวรรณยุกตเอกและวรรณยุกตจัตวาไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทยเพราะ

วรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดทั้งสองกลุมตางเริ่มตนในระดับเดียวกับวรรณยุกตเอกที่ออกเสียง

โดยผูพูดภาษาไทย แลวลดระดับเสียงลงเรื่อยๆ จนถึงชวงทาย

สวนวรรณยุกตจัตวาน้ัน ปรากฏการเคลื่อนลงในชวงกลางและเคลื่อนขึ้น

ในชวงทาย อยางไรก็ตาม ผูพูดภาษาไทยไดออกเสียงวรรณยุกตจัตวาแตกตางจากผูพูดภาษาพมาและ

ผูพูดภาษาอูรดู กลาวคือ สัทลักษณะของวรรณยุกตจัตวาที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยตกเล็กนอย

ในชวงทาย อีกทั้ง ระดับเสียงของวรรณยุกตจัตวาที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

เริ่มตนในระดับที่สูงกวา และไมปรากฏการเปลี่ยนระดับชัดเจนเมื่อเปรียบเทียบกับวรรณยุกตจัตวาที่

ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

ผลการวิจัยน้ีแสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูไม

สามารถออกเสียงคูวรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตเอกและคูวรรณยุกตตรีและวรรณยุกตจัตวาให

แตกตางออกจากกัน สวนวรรณยุกตโท ผูวิจัยเห็นวา ผูพูดทั้งสองกลุมไมสามารถออกเสียงเปน

วรรณยุกตเปลี่ยนระดับขึ้น-ตกไดเหมือนวรรณยุกตโทที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยเพราะผูพูดมี

แนวโนมที่จะออกเสียงวรรณยุกตโทคลายกับการออกเสียงวรรณยุกตเอก แตเริ่มตนการออกเสียงใน

ระดับเสียงที่สูงกวา

เมื่อพิจารณาคาความถ่ีมูลฐานของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษา-

พมาและผูพูดภาษาอูรดูรายบุคคลรวมกับคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยกลุมผูพูด-

ภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู ผูวิจัยพบวา ผลการออกเสียงวรรณยุกตโดยผูพูดทั้ง 2 กลุมมี

ลักษณะรวมบางประการ กลาวคือ ผูพูดสามารถออกเสียงวรรณยุกตเอกและวรรณยุกตจัตวาไดดีที่สุด

รองลงมาคือวรรณยุกตสามัญ สวนวรรณยุกตโทและวรรณยุกตตรีถือเปนอุปสรรคในการออกเสียงของ

ผูพูดทั้งสองกลุม

Page 133: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

115

6.1.1.2 พิสัยคาความถ่ีมูลฐาน

ผลการวิเคราะหพิสัยคาความถี่มูลฐานสามารถสรุปไดวา ชวงพิสัยของ

คาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตทุกหนวยเสียงที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูมีความกวางมากที่สุด

รองลงมา คือ คาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา และคาความถี่มูลฐาน

ของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทยตามลําดับ

เมื่อพิจารณาผลการวิเคราะหพิสัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตใน

ตารางที่ 4.3 (ดูรายละเอียดในบทที่ 4 หนา 64) จะเห็นไดวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูออก

เสียงวรรณยุกตภาษาไทยไมแตกตางกันมากนักเพราะมีความสามารถและอุปสรรคคลายกัน พิสัย-

คาความถี่มูลฐานจึงเปนลักษณะทางกลสัทศาสตรที่แสดงใหเห็นความแตกตางของวรรณยุกตที่ออก

เสียงโดยผูพูดทั้งสองกลุม

6.1.1.3 คาระยะเวลาของสระ

การพิจารณาคาระยะเวลาของสระแสดงใหเห็นวา ผูพูดแตละกลุมมี

ความสั้นยาวของคาระยะเวลาของสระที่มีวรรณยุกตตางๆ แตกตางกัน แตการวิเคราะหความแตกตาง

ดวยวิธีการทางสถิติไดแสดงใหเห็นวา วรรณยุกตทุกหนวยเสียงที่ออกเสียงโดยผูพูดทั้ง 3 กลุมไมมี

ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

กระน้ัน เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยและคาเบ่ียงเบนมาตรฐานของคา-

ระยะเวลาของสระที่มีวรรณยุกตทุกหนวยเสียง จะเห็นวา คาระยะเวลาของสระที่ออกเสียงโดยผูพูด-

ภาษาไทยและโดยผูพูดภาษาพมามีความแตกตางกันมาก หากเปรียบเทียบระหวางผูพูดภาษาไทยกับ

ผูพูดภาษาอูรดู จะเห็นไดวา คาระยะเวลาของสระมีความใกลเคียงกันมากกวา และเมื่อพิจารณาผล

การวิเคราะหคาระยะเวลาเฉลี่ย จะเห็นไดวา คาระยะเวลาเฉลี่ยของสระที่ออกเสียงโดยผูพูด-

ภาษาไทยและโดยผูพูดภาษาพมามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ [U = 21.00, p =

0.049] แตไมปรากฏความแตกตางอยางมีนัยสําคัญระหวางคาระยะเวลาของสระที่ออกเสียงโดยผูพูด-

ภาษาไทยและโดยผูพูดภาษาอูรดู

ผลการวิจัยคาความถี่มูลฐานของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษา-

พมาและผูพูดภาษาอูรดูในทุกประเด็นขางตนไมเปนไปตามสมมติฐานขอที่ 1 ที่ผูวิจัยต้ังไววา “ผูพูด-

ภาษาพมาออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทยมากกวาผูพูดภาษาอูรดู” กลาวคือ

ผูพูดภาษาพมามีปญหาในการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยในทิศทางเดียวกับผูพูดภาษาอูรดู ผล-

การศึกษาน้ีจึงไมเปนไปตามสมมติฐาน เพราะผลการวิเคราะหทั้งหมดตางแสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษา-

พมาไมไดออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยใกลเคียงผูพูดภาษาไทยมากกวาผูพูดภาษาอูรดู

Page 134: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

116

6.1.2 สรุปผลการวิจัยการประเมินระดับสําเนียงตางประเทศ

ในประเด็นการประเมินระดับสําเนียงตางประเทศ ผลการวิเคราะหในตารางที่

6.1 แสดงใหเห็นวา ผูพูดแตละคนไดรับคะแนนการประเมินจากเจาของภาษาแตกตางกัน นอกจากน้ี

ผลการประเมินในตารางดังกลาวไดแสดงใหเห็นวา ทั้งกลุมผูพูดภาษาพมาและกลุมผูพูดภาษาอูรดูตาง

ประกอบดวยผูที่ไดรับการประเมินในเกณฑสูงและผูที่ไดรับการประเมินในเกณฑตํ่า ดังน้ี

กลุมผูพูดภาษาพมามีผูพูดที่มีระดับคะแนนในเกณฑ “ใกลเคียงเจาของภาษา”

จํานวน 1 คน มีผูพูดที่มีระดับคะแนนในเกณฑ “ไมแนใจ” จํานวน 2 คน และมีผูพูดที่มีระดับคะแนน

ในเกณฑ “ไมนาจะใชเจาของภาษา” จํานวน 1 คน

กลุมผูพูดภาษาอูรดูมีผูพูดที่มีระดับคะแนนในเกณฑ “ใกลเคียงเจาของภาษา”

จํานวน 2 คน มีผูพูดที่มีระดับคะแนนในเกณฑ “ไมแนใจ” จํานวน 1 คน และมีผูพูดที่มีระดับคะแนน

ในเกณฑ “ไมนาจะใชเจาของภาษา” จํานวน 1 คน

ผลการประเมินระดับสําเนียงขางตนแสดงใหเห็นวา ไมมีผูพูดภาษาพมาและผู-

พูดภาษาอูรดูคนใดมีระดับคะแนนในเกณฑ “เหมือนเจาของภาษา” ซึ่งตางจากผลคะแนนของผูพูด-

ภาษาไทยทั้งสองคนที่มีระดับคะแนนอยูในเกณฑ “เหมือนเจาของภาษา” ทั้งสองคน

นอกจากน้ี เมื่อพิจารณาคะแนนประเมินเฉลี่ยในตารางที่ 5.3 (ดูรายละเอียดใน

บทที่ 5 หนา 110) จะเห็นไดวา ผูพูดภาษาพมาไดรับผลการประเมิน 2.55 คะแนน ผูพูดภาษาอูรดู

ไดรับผลการประเมิน 2.66 คะแนน ซึ่งผลคะแนนดังกลาวอยูในเกณฑ “ไมแนใจ” และเมื่อ

เปรียบเทียบผลคะแนนทางสถิติ ผลการวิเคราะหแสดงใหเห็นวา ผลการประเมินระดับสําเนียงของผู-

พูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ [p = .580]

ผลการประเมินระดับสําเนียงทั้งในตารางที่ 6.1 และในตารางที่ 5.3 (ดู

รายละเอียดในบทที่ 5 หนา 110) แสดงใหเห็นวา ไมมีผูพูดกลุมใดมีผลคะแนนประเมินโดดเดนกวาอีก

กลุมหน่ึงอยางเห็นไดชัด ดังน้ัน ผลคะแนนการประเมินน้ีชวยตอบสมมติฐานขอที่ 2 ที่ต้ังไววา “ผูพูด-

ภาษาพมามีระดับสําเนียงตางประเทศนอยกวาผูพูดภาษาอูรดู” ไดวา ผูพูดทั้งสองกลุมตางไดรับการ

ประเมินใหอยูในเกณฑ “ไมแนใจ” ดังน้ัน ผลการศึกษาน้ีจึงไมเปนไปตามสมมุติฐาน เพราะผลการ

ประเมินระดับสําเนียงแสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาพมาไมไดมีสําเนียงตางประเทศนอยกวาผูพูดภาษา-

อูรดูเมื่อออกเสียงภาษาไทย

Page 135: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

117

6.2 อภิปรายผลการวิจัย

ผลการวิจัยในครั้งน้ีสามารถนํามาอภิปรายได 4 ประเด็นดังน้ี

6.2.1 ระบบเสียงในภาษาแม

แมงานวิจัยจํานวนมากสนับสนุนวา ผูพูดภาษาแมที่มีระบบเสียงวรรณยุกต

สามารถรับภาษาที่สองที่มีระบบเสียงวรรณยุกตไดดีกวาผูพูดภาษาแมที่ไมมีระบบเสียงวรรณยุกต

(Lee, Vakoch & Wurm, 1996; Wayland & Guion, 2003, 2004; So & Best, 2010; Qin &

Mok, 2011, 2013) แตผลการวิจัยน้ีแสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาพมาซึ่งเปนภาษาที่มีระบบเสียง

วรรณยุกตไมไดออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยไดดีกวาผูพูดภาษาอูรดูซึ่งเปนภาษาที่ไมมีระบบเสียง

วรรณยุกต ดังจะเห็นไดจากผลการวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมา

และผูพูดภาษาอูรดูรายบุคคลในตารางที่ 6.1 ผูพูดทั้งสองกลุมมีความสามารถในการออกเสียง

วรรณยุกตภาษาไทยไดใกลเคียงกันเพราะผูพูดสวนใหญตางมีปญหาในการออกเสียงในทิศทางเดียวกัน

นอกจากน้ี ผลการวิเคราะหในตารางที่ 6.1 แสดงใหเห็นวา ผูพูดที่ออกเสียง

วรรณยุกตสวนใหญไดใกลเคียงวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย ไดแก ผูพูดภาษาพมาคนที่ 1

ผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 2 และผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 3 ไดรับผลการประเมินระดับสําเนียงจากเจาของ

ภาษาในระดับคะแนนที่สูงกวาผูพูดคนอ่ืนๆ ผลการวิจัยทั้งสองประเด็นน้ีสนับสนุนวา ระบบเสียงใน

ภาษาแมไมไดมีอิทธิพลตอการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

เพราะผูที่ออกเสียงวรรณยุกตไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทยตางประกอบดวยผูพูดภาษาพมาและผูพูด-

ภาษาอูรดู

เมื่อพิจารณางานวิจัยที่ นําเสนอไว ในบทนําของงานวิจัย น้ี ผู วิจัยพบวา

ผลการวิจัยน้ีมีแนวโนมที่จะสนับสนุนสมมติฐานของหวังและคณะ (Wang et al., 2004) ที่เสนอวา

ไมมีผูพูดกลุมใดออกเสียงวรรณยุกตในภาษาที่สองไดดีไปกวากัน เพราะระบบเสียงของแตละภาษามี

ลักษณะทางกลสัทศาสตรที่แตกตางกัน กลาวคือ แมงานวิจัยจํานวนมากเสนอวา ผูพูดภาษาแมที่มี

ระบบเสียงวรรณยุกตไดเปรียบผูพูดภาษาแมที่ไมมีระบบเสียงวรรณยุกตในการออกเสียงวรรณยุกต

ของภาษาที่สอง แตเน่ืองจากตัวบงช้ีทางกลสัทศาสตร (acoustic cue) ที่ใชในการแยกแยะเสียง

วรรณยุกตของแตละภาษาไมสามารถเทียบเคียงกันได ผูพูดแตละกลุมจึงมีความสามารถเทาเทียมกัน

ในการรับรูเสียงวรรณยุกตในภาษาที่สอง

ในงานวิจัยน้ี แมภาษาพมามีระบบเสียงวรรณยุกต กระน้ัน ตัวบงช้ีทางกล-

สัทศาสตรของวรรณยุกตภาษาพมาก็มีความแตกตางจากตัวบงช้ีทางกลสัทศาสตรของวรรณยุกต

Page 136: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

118

ภาษาไทย กลาวคือ นอกจากระดับเสียง (pitch) แลว สภาพเสนเสียง (voice quality) และลักษณะ

การสิ้นสุดของวรรณยุกต (manner of tone offset) คือ ตัวบงช้ีทางกลสัทศาสตรที่ใชในการ

แยกแยะหนวยเสียงวรรณยุกตในภาษาพมา (Kelly, 2012: 2) แตในภาษาไทย ความสูงระดับเสียง

(pitch height) ทิศทางของระดับเสียง (pitch direction) และการตกของระดับเสียง (pitch slope)

ถือเปนตัวบงช้ีสําคัญในการออกเสียงวรรณยุกต (Wayland & Guion, 2004: 690) ดังน้ัน ระบบเสียง

วรรณยุกตในภาษาพมาจึงไมสามารถเทียบเคียงไดกับระบบเสียงวรรณยุกตในภาษาไทย จึงอาจกลาว

ไดวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูมีความสามารถเทาเทียมกันในการออกเสียงวรรณยุกต

ภาษาไทย

นอกจากน้ี ผลการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของผูพูดภาษาพมาและผูพูด-

ภาษาอูรดูขางตนแสดงใหเห็นวา ผูพูดทั้งสองกลุมออกเสียงวรรณยุกตไดใกลเคียงกัน ลักษณะการออก

เสียงที่ใกลเคียงกันน้ีนาจะเกิดจากการที่ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูอาศัยอยูในพ้ืนที่เดียวกัน

คือ เขตบางกะป ผูพูดทั้งสองกลุมจึงมีโอกาสไดสื่อสารระหวางกันเน่ืองจากทั้งสองกลุมเขามาประเทศ

ไทยเพ่ือประกอบอาชีพ โดยสวนใหญ ผูพูดภาษาพมาจะมีสถานภาพเปนลูกจางของนายจางคนไทย

สวนผูพูดภาษาอูรดูจะประกอบอาชีพสวนตัว กระน้ัน ผูพูดทั้งสองกลุมก็มีโอกาสสื่อสารระหวางกัน

จากการซื้อขายสินคาและการอาศัยในชุมชนใกลเคียงกัน

อีกทั้ง ผูวิจัยยังเห็นวา การที่ประชากรทั้งสองกลุมเขามาพํานักในประเทศไทย

ดวยเหตุผลเดียวกัน คือ แสวงหาที่อยูใหมเพ่ือหลีกหนีความลําบากจากประเทศพมาและประเทศ-

ปากีสถาน (พิจารณา UNHCR, 2015; Rabia, 2014) ทําใหประชากรทั้งสองกลุมเกิดความรูสึกรวมวา

พวกเขาเปนพวกพองเดียวกัน (solidarity) ดังน้ัน ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูจึงมีความกลาที่

จะสื่อสารระหวางกันโดยใชภาษาไทยเปนสื่อกลางมากกวาที่จะสื่อสารกับคนไทยซึ่งมีสถานภาพเปน

นายจางหรือเจาของพ้ืนที่ ดวยเหตุน้ี ผูพูดทั้งสองกลุมจึงออกเสียงภาษาไทยไดใกลเคียงกัน

6.2.2 ปจจัยที่มีผลตอการออกเสียงภาษาที่สอง

หัวขอ 6.2.1 แสดงใหเห็นวา ระบบเสียงในภาษาแมไมใชปจจัยสําคัญที่ทําใหผู-

พูดตางชาติออกเสียงภาษาที่สองไดใกลเคียงเจาของภาษา ดังจะเห็นไดจาก ผลการวิจัยในงานวิจัยน้ีที่

แสดงใหเห็นวา ทั้งผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูสามารถออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยได

ใกลเคียงกัน อีกทั้ง เมื่อพิจารณาผลการออกเสียงและผลการประเมินระดับสําเนียงในตารางที่ 6.1 จะ

เห็นไดวา กลุมตัวอยางแตละกลุมประกอบดวยผูพูดที่มีความสามารถในเกณฑสูงและเกณฑตํ่า ผูวิจัย

จึงเห็นวา ความสามารถดานการออกเสียงของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูในงานวิจัยน้ีนาจะ

ไดรับอิทธิพลจากปจจัยอ่ืน

Page 137: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

119

งานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับการรับภาษาที่สองจํานวนมากสนับสนุนวา หากผูเรียนมี

อายุนอยเพียงไร โอกาสที่จะประสบความสําเร็จในการออกเสียงภาษาตางประเทศก็มีมากข้ึนเทาน้ัน

(Asher & Garcia, 1969; Fathman, 1975; Suter, 1976; Oyama, 1976; Tahta et al., 1981;

Flege, 1988; Patkowski, 1990; Thomson, 1991; Flege et al., 1999; Moyer, 1999)

สอดคลองกับพิสเค แมคเคย และเฟลกี้ (Piske, Mackay & Flege, 2001: 212) ที่ไดทบทวน

วรรณกรรมเกี่ยวกับงานวิจัยที่ศึกษาปจจัยในการรับภาษาที่สองและกลาวสนับสนุนวา อายุในการเริ่ม

เรียนภาษาที่สองเปนตัวบงช้ีระดับสําเนียงตางประเทศที่สําคัญที่สุด

แตผลการวิจัยในงายวิจัยน้ีแสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูซึ่ง

เปนผูพูดวัยผูใหญสามารถออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยไดใกลเคียงวรรณยุกตภาษาไทยที่ออกเสียง

โดยผูพูดภาษาไทย อีกทั้ง ผลการประเมินระดับสําเนียงตางประเทศโดยผูพูดภาษาไทยก็ไดแสดงให

เห็นวา แมไมมีผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูคนใดมีระดับสําเนียงในเกณฑ “เหมือนเจาของ-

ภาษา” แตผูพูดจํานวนหน่ึงก็มีระดับสําเนียงในเกณฑ “ใกลเคียงเจาของภาษา” ผูวิจัยจึงเห็นวา

ปจจัยดานอายุนาจะไมใชปจจัยสําคัญที่มีผลตอการออกเสียงวรรณยุกตของผูพูดภาษาพมาและผูพูด-

ภาษาอูรดูในงานวิจัยน้ี

แมผลการประเมินระดับสําเนียงในตารางที่ 5.3 (ดูรายละเอียดในบทที่ 5 หนา

110) แสดงใหเห็นวา กลุมผูพูดภาษาพมาและกลุมผูพูดภาษาอูรดูไดรับการประเมินระดับสําเนียงใน

ระดับ “ไมแนใจ” (กลุมผูพูดภาษาพมา = 2.55 กลุมผูพูดภาษาอูรดู = 2.66) แตผลการวิจัยในตาราง

ที่ 6.1 แสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูบางราย (B1, U2, U3) ก็สามารถออกเสียง

วรรณยุกตภาษาไทยไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย และไดรับการประเมินระดับสําเนียงในระดับ

“ใกลเคียงเจาของภาษา” ผูวิจัยจึงเห็นวา ปจจัยดานอายุนาจะไมใชตัวบงช้ีระดับสําเนียงตางประเทศ

ที่สําคัญที่สุด

หากพิจารณาตารางที่ 6.1 ผูวิจัยพบวา ปริมาณการใชภาษาไทยของประชากรใน

หน่ึงสัปดาหมีความสอดคลองกับผลการวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตและผลการประเมินระดับ-

สําเนียง ซึ่งผลการวิจัยในตารางดังกลาวแสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาพมาคนที่ 1 และผูพูดภาษาอูรดูคน

ที่ 2 ออกเสียงวรรณยุกตไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทยมากกวาผูพูดคนอ่ืนๆ และเมื่อพิจารณาปริมาณ

การใชภาษาไทยประกอบกับผลการประเมินระดับสําเนียง ผูวิจัยพบวา ผูพูดภาษาพมาคนที่ 1 และผู-

พูดภาษาอูรดูคนที่ 2 มีจํานวนช่ัวโมงการใชภาษาไทยมากกวาประชากรคนอ่ืนๆ ดวย กลาวคือ ผูพูด-

ภาษาพมาคนที่ 1 ใชภาษาไทย 21 ช่ัวโมงในหน่ึงสัปดาห สวนผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 2 ใชภาษาไทย 14

ช่ัวโมงในหน่ึงสัปดาห ซึ่งมากกวาผูพูดสวนใหญที่มีจํานวนช่ัวโมงการใชภาษาไทยไมถึง 10 ช่ัวโมงใน

หน่ึงสัปดาห

Page 138: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

120

ผูวิจัยเห็นวา ปริมาณการใชภาษาไทยของผูพูดสอดคลองกับผลการประเมิน-

ระดับสําเนียง กลาวคือ ทั้งผูพูดภาษาพมาคนที่ 1 และผูพูดภาษาอูรดูคนที่ 2 ซึ่งใชภาษาไทยโดยเฉลี่ย

ในหน่ึงสัปดาหมากกวาผูพูดคนอ่ืนๆ ไดรับผลการประเมินสําเนียงภาษาไทยในระดับ “ใกลเคียง

เจาของภาษา” ตางจากผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูคนอ่ืนๆ ที่มีระดับคะแนนเฉลี่ยในระดับ

“ไมแนใจ” และในระดับ “ไมนาจะใชเจาของภาษา” ดังน้ัน จึงอาจกลาวไดวา ปริมาณการใช

ภาษาไทยนาจะมีอิทธิพลตอการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

ในงานวิจัยน้ี

ผลการวิจัยน้ีสอดคลองกับผลการวิจัยของ เดอวิง ทอมสัน และมุนโร (Derwing,

Thomson & Munro, 2006) ที่ศึกษาพัฒนาการดานความคลองและความถูกตองในการออกเสียง

ภาษาอังกฤษของชาวจีนแมนดารินและชาวสลาวิก ซึ่งผลการวิจัยพบวา ชาวสลาวิกมีผลการประเมิน

ความคลองในเกณฑที่สูงกวาชาวจีนแมนดาริน ซึ่งเปนผลมาจากการที่ชาวสลาวิกสื่อสารกับเจาของ

ภาษามากกวาชาวจีนแมนดาริน

ดังน้ัน ผลการวิจัยน้ีจึงสรุปไดวา ปริมาณการใชภาษาไทย (amount of L2 use)

มีผลตอการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูมากกวาระบบเสียง

ในภาษาแม อีกทั้ง ผลการวิจัยน้ียังชวยสนับสนุนวา ผูใหญที่ไมมีโอกาสไดเขาเรียนกับผูสอนคนไทยใน

หองเรียนก็สามารถรับรูและออกเสียงภาษาไทยไดดีหากพวกเขาพยายามฝกฝนดวยการสื่อสาร

ภาษาไทยในสถานการณที่แวดลอมดวยเจาของภาษา

6.2.3 ลักษณะการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของผูพูดภาษาพมาและ

ผูพูดภาษาอูรดู

ผลการเปรียบเทียบการออกเสียงวรรณยุกตของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษา-

อูรดูกับผลการออกเสียงวรรณยุกตของผูพูดภาษาไทยแสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษา-

อูรดูมีปญหาการออกเสียงวรรณยุกตสามัญ วรรณยุกตโท และวรรณยุกตตรีเมื่อเปรียบเทียบกับผล-

การออกเสียงของผูพูดภาษาไทยเพราะวรรณยุกตสามัญและวรรณยุกตตรีมีทิศทางการเคลื่อนที่ของ

ระดับเสียงเชนเดียวกับวรรณยุกตเอกและวรรณยุกตจัตวาตามลําดับ สวนวรรณยุกตโท ผูพูดทุกคนไม

สามารถออกเสียงไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทยเพราะไมปรากฏการเปลี่ยนระดับของระดับเสียงข้ึน-ตกที่

ชวงกลางของการออกเสียง

ผูวิจัยมองวา หากเปรียบเทียบผลการออกเสียงวรรณยุกตของผูพูดภาษาพมา

และผูพูดภาษาอูรดูกับผลการออกเสียงของผูพูดภาษาไทย ผลการเปรียบเทียบจะแสดงใหเห็นวา ผูพูด

สวนใหญไมมีความสามารถในการออกเสียงไดใกลเคียงเจาของภาษา แตหากพิจารณาผลการออก

Page 139: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

121

เสียงของผูพูดแตละกลุมโดยไมเปรียบเทียบกับผลการออกเสียงของผูพูดภาษาไทยดังจะเห็นไดจาก

ภาพที่ 4.20 (ดูรายละเอียดในบทที่ 4 หนา 83) และภาพที่ 4.31 (ดูรายละเอียดในบทที่ 4 หนา 99)

จะเห็นไดวา สัทลักษณะของแตละวรรณยุกตมีความแตกตางกันอยางเห็นไดชัดในแงของความสูงของ

ระดับเสียง (pitch height)

ผูวิจัยเห็นวา แมผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูจะไมมีความสามารถในการ

เลียนแบบการออกเสียงวรรณยุกตบางเสียง ไดแก วรรณยุกตสามัญ วรรณยุกตโท และวรรณยุกตตรี

แตผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูอาจมีความสามารถในการออกเสียงวรรณยุกตตางๆ ใหแตกตาง

กันดวยระดับเสียงที่แตกตางกัน ยกตัวอยางเชน แมผูพูดบางคนไมสามารถออกเสียงวรรณยุกตสามัญ

เปนวรรณยุกตคงระดับเชนเดียวกับผูพูดภาษาไทย แตผูพูดสามารถออกเสียงวรรณยุกตสามัญให

แตกตางจากวรรณยุกตเอกดวยระดับเสียงที่แตกตางกัน

ในประเด็นการรับรูเสียงวรรณยุกต ผลการวิจัยของแกนดอร (Gandour, 1983)

และฟรานซิสและคณะ (Francis et al., 2008) พบวา ผูพูดภาษาแมที่ไมมีระบบเสียงวรรณยุกตจะ

รับรูวรรณยุกตในภาษาตางประเทศดวยการใหความสนใจที่ความสูงของระดับเสียง (pitch height)

ในทางกลับกัน ผูพูดภาษาแมที่มีระบบเสียงวรรณยุกตจะออนไหวตอการเปลี่ยนทิศทางของระดับเสียง

(pitch direction)

กระน้ัน ผลการออกเสียงของกลุมประชากรในงานวิจัยน้ีไดแสดงใหเห็นวา ทั้งผู-

พูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูตางออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยไดใกลเคียงกัน และประสบปญหา

ในการออกเสียงวรรณยุกตบางเสียงเชนเดียวกัน แตผูพูดทั้งสองกลุมสามารถออกเสียงวรรณยุกตทุก

เสียงไดแตกตางกันดวยระดับเสียงที่แตกตางกัน หากอางคํากลาวของโบลสโลวและคัง (Broselow &

Kang, 2013: 533) ที่วา นักวิจัยดานการรับภาษาที่สองตางเสนอวา อุปสรรคในการออกเสียงภาษาที่

สองลวนเปนผลมาจากการรับรูเสียงที่ไมถูกตอง ผูวิจัยเห็นวา ทั้งผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

อาจรับรูเสียงวรรณยุกตภาษาไทยในแงของความสูงของระดับเสียงเปนหลัก ดังน้ัน ทั้งผูพูดภาษาพมา

และผูพูดภาษาอูรดูจึงออกเสียงวรรณยุกตเหลาน้ีใหแตกตางกันดวยระดับเสียงที่เตกตางกัน

นอกจากน้ี ผลการวิเคราะหสัทลักษณะของวรรณยุกตยังแสดงใหเห็นการรับ

อิทธิพลจากลักษณะการออกเสียงบางประการในภาษาแมของผูพูดภาษาอูรดู ดังจะเห็นไดวา

วรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูทุกคนปรากฏการเคลื่อนข้ึนเล็กนอยที่ชวงทายของการ-

ออกเสียง ผูวิจัยเห็นวา ปรากฏการณดังกลาวอาจเปนผลจากการแทรกแซงของภาษาแม แมภาษา-

อูรดูไมมีระบบเสียงวรรณยุกตแตมีทํานองเสียงซึ่งจัดเปนระดับเสียงรูปแบบหน่ึงที่ปรากฏในระดับ

ประโยค ดังน้ัน ผลการออกเสียงวรรณยุกตของผูพูดภาษาอูรดูจึงอาจไดรับการแทรกแซงจากทํานอง

Page 140: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

122

เสียงในภาษาอูรดู ขอสันนิษฐานน้ีสอดคลองกับคํากลาวของอัลลีและคณะ (Hallé et al., 2004) ที่วา

ผูพูดภาษาแมที่ไมมีระบบเสียงวรรณยุกตสามารถรับรูเสียงวรรณยุกตในภาษาที่สองไดดวยการ

เทียบเคียงคาความถี่มูลฐานในภาษาแมซึ่งปรากฏในรูปทํานองเสียง

นาเยอรและมัดนี (Nayyer & Madni, 2002) ไดศึกษารูปแบบของทํานองเสียง

ในภาษาอูรดู ผลการศึกษาพบวา ประโยคแตละประเภทมีทํานองเสียงแตกตางกัน ซึ่งมีความสําคัญใน

การสื่อเจตนาของผูพูด ผูวิจัยเห็นวา บทความน้ีมีความนาสนใจเพราะแสดงใหเห็นวา ทํานองเสียงที่

ปรากฏในประโยคบอกเลา (declarative sentence) ที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูเพศชายมี

ลักษณะคลายกับสัทลักษณะของวรรณยุกตเอกที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูในงานวิจัยน้ีเพราะมี

ลักษณะเคลื่อนลงอยางตอเน่ืองและเคลื่อนขึ้นเล็กนอยที่ชวงทายของการออกเสียงดังจะพิจารณาได

จากภาพที่ 6.1

ภาพที่ 6.1 ทํานองเสียงของประโยคบอกเลาในภาษาอูรดูที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาอูรดูเพศชาย

(คัดลอกจาก Nayyer & Madni, 2002: 34)

Page 141: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

123

ผูวิจัยเห็นวา การออกเสียงวรรณยุกตเอกในภาษาไทยอาจไดรับอิทธิพลจาก

ทํานองเสียงของประโยคบอกเลาในภาษาอูรดูเพราะสัทลักษณะของวรรณยุกตเอกในภาษาไทยมี

ลักษณะการตกอยางตอเน่ืองคลายกับทํานองเสียงของประโยคบอกเลาในภาษาอูรดู อาจกลาวไดวา

เมื่อผูพูดภาษาอูรดูออกเสียงวรรณยุกตเอกซึ่งมีระดับเสียงคลายกับทํานองเสียงของประโยคบอกเลาที่

พวกเขาคุนเคย พวกเขาอาจเทียบเคียงวรรณยุกตเอกกับทํานองเสียงในประโยคบอกเลาในภาษาอูรดู

และเสริมลักษณะการเคลื่อนขึ้นที่ชวงทายเมื่อออกเสียงวรรณยุกตเอกในภาษาไทย นอกจากน้ี

ประเด็นที่นาสนใจอีกประการหน่ึงคือผลการออกเสียงประโยคบอกเลาของผูพูดภาษาอูรดูเพศหญิงไม

ปรากฏการเคลื่อนขึ้นที่ชวงทาย ประเด็นน้ีควรมีการศึกษาเพ่ิมเติมสําหรับผูสนใจศึกษาภาษาอูรดู

6.2.4 ความสัมพันธระหวางผลการออกเสียงวรรณยุกตของผูพูดภาษาพมาและผูพูด-

ภาษาอูรดูกับผลการประเมินระดับเสียงโดยผูพูดภาษาไทย

จากการศึกษาผลการออกเสียงวรรณยุกตของผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดู

ผลการวิจัยแสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูสามารถออกเสียงวรรณยุกตเอกและ

วรรณยุกตจัตวาไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทยมากที่สุด รองลงมาคือวรรณยุกตสามัญ สวนวรรณยุกตโท

และวรรณยุกตตรี ผลการวิจัยแสดงใหเห็นวา ไมมีผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูคนใดออกเสียงได

ใกลเคียงผูพูดภาษาไทย (พิจารณาเพ่ิมเติมในตารางที่ 4.1 บทที่ 4 หนา 51 - 54)

เพ่ืออภิปรายวา ผลการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยของผูพูดภาษาพมาและผู-

พูดภาษาอูรดูมีความสัมพันธกับผลการรับรูของเจาของภาษาอยางไร ผูวิจัยไดนําประโยคคําเราการ-

รับรูที่ประกอบดวยคําทดสอบที่มีเสียงวรรณยุกตตางๆ ไปใหผูพูดภาษาไทยประเมิน ผลการประเมิน-

ระดับสําเนียงแสดงใหเห็นวา แตละประโยคที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูแตละ

คนไดรับคะแนนการประเมินในระดับที่แตกตางกัน

จากน้ัน ผูวิจัยไดนําผลการออกเสียงไปพิจารณารวมกับผลการประเมินระดับ-

สําเนียง (ดังปรากฏในตารางที่ 5.2 บทที่ 5 หนา 107) ผลการเปรียบเทียบแสดงใหเห็นวา ผลการ-

ออกเสียงวรรณยุกตมีแนวโนมที่จะไมสอดคลองกับผลการประเมินระดับสําเนียงเพราะแมวาผูพูด

สามารถออกเสียงวรรณยุกตไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย แตผลการประเมินระดับสําเนียงไมไดรับการ

ประเมินในเกณฑที่สูงตามไปดวยเสมอไป

ผูวิจัยเห็นวา ผลการประเมินระดับสําเนียงไมสอดคลองกับผลการออกเสียง

วรรณยุกตเปนเพราะการศึกษาผลการออกเสียงเปนการศึกษาคาความถ่ีมูลฐานที่พิจารณาเพียงความ

ใกลเคียงกับเสียงของผูพูดภาษาไทย อีกทั้ง ผลวิเคราะหสัทลักษณะในงานวิจัยน้ีเนนการวิเคราะหทิศ-

ทางการเคลื่อนที่ของระดับเสียง ไมใชความสูงของระดับเสียงเพราะความสูงของระดับเสียงอาจคาบ

Page 142: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

124

เกี่ยวกับชวงพิสัยคาความถี่มูลฐานซึ่งเปนลักษณะที่แปรไปตามบุคคล ดังน้ัน วรรณยุกตภาษาไทยที่

ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูที่ไดรับการพิจารณาวา ใกลเคียงกับผลการออกเสียง

วรรณยุกตของผูพูดภาษาไทยในงานวิจัยน้ีจึงต้ังอยูบนพ้ืนฐานของการเทียบเคียงทิศทางการเคลื่อนที่

ของระดับเสียง ซึ่งขอมูลที่นํามาเทียบเคียงกันน้ีคือคาความถี่มูลฐานที่ผานการวัดและวิเคราะหดวย

โปรแกรมพราท

แตการศึกษาผลการประเมินระดับสําเนียงเปนการศึกษาการรับรูของเจาของ-

ภาษาที่มีตอคําเราการรับรูการรับรู (stimuli) ซึ่งผลการประเมินของผูประเมินแตละคนอาจมีความ

แตกตางกันเพราะเจาของภาษาแตละคนอาจมีเกณฑที่แตกตางกันในการประเมินระดับสําเนียง แมผู-

ประเมินทุกคนจะไดยินเสียงคําเราการรับรูชุดเดียวกัน แตผูประเมินแตละคนอาจประเมินคําเราการ-

รับรูแตละไฟลเสียงแตกตางกัน ซึ่งเปนประเด็นที่เกี่ยวของกับอัตวิสัย ดังน้ัน แมสัทลักษณะของ

วรรณยุกตบางหนวยเสียงที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูจะมีความใกลเคียงกับสัท

ลักษณะของวรรณยุกตที่ออกเสียงโดยผูพูดภาษาไทย แตวรรณยุกตที่ไดรับการพิจารณาวา มีความ-

ใกลเคียงกับเสียงพูดของผูพูดภาษาไทยน้ันๆ อาจไดรับคะแนนจากการประเมินระดับสําเนียงในเกณฑ

ตํ่าก็ไดเพราะผูประเมินซึ่งเปนเจาของภาษาอาจพิจารณาวา คําเราการรับรูดังกลาวติดสําเนียง

ตางประเทศ

การอภิปรายในประเด็นน้ีสอดคลองกับคํากลาวของดาเวนพอรทและฮันนาฮส

(Davenport & Hannahs, 1998: 58) ที่วา คาความถี่ (frequency) และระดับเสียง (pitch) มีความ

แตกตางกัน กลาวคือ คาความถี่เปนการศึกษาที่ต้ังอยูบนพ้ืนฐานของวัตถุวิสัย (objective) เพราะมี

การวัดเพ่ือแสดงคาความถี่ใหเห็นเปนรูปธรรม สวนระดับเสียงเปนการศึกษาที่ต้ังอยูบนพ้ืนฐานของอัต

วิสัย (subjective) เพราะคาบเกี่ยวกับการรับรูของมนุษย (human perception) ดาเวนพอรท

และฮันนาฮสยกตัวอยางวา แมเสียงสองเสียงมีคาความถี่แตกตางกันและออกเสียงในสถานการณที่

แตกตางกันดวย ผูฟงอาจรับรูวา ทั้งสองเสียงมีระดับเสียงเดียวกัน

คํากลาวของดาเวนพอรทและฮันนาฮสแสดงใหเห็นเห็นวา ระดับเสียงอาจไดรับ

การรับรูไดหลากหลายจากผูฟง ซึ่งตางจากคาความถ่ีมูลฐานที่มีคาคงที่เพราะเปนคาที่นําเสนอเปนให

เห็นเปนรูปธรรมผานการวัดวิเคราะห ในงานวิจัยน้ี ผูประเมินระดับสําเนียงซึ่งเปนเจาของภาษาอาจ

รับรูคําเราการรับรูไดแตกตางกัน กระน้ัน มุนโร (Munro, 1993) ไดกลาววา เจาของภาษามีความรูวา

เสียงใดคือตัวอยางเสียงที่ดีของภาษาที่พวกเขาพูดเปนภาษาแม คํากลาวของมุนโรแสดงใหเห็นวา

เจาของภาษามีความแมนยําในการประเมินวา เสียงใดเปนเสียงของเจาของภาษาและเสียงใดที่ไมใช

เสียงของเจาของภาษา ดังน้ัน ถึงแมวาผลการวิเคราะหสัทลักษณะจะแสดงใหเห็นวา ผูพูดภาษาพมา

Page 143: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

125

และผูพูดภาษาอูรดูออกเสียงวรรณยุกตหลายหนวยเสียงไดใกลเคียงผูพูดภาษาไทย แตผูพูดประเมิน

ซึ่งเปนผูพูดภาษาไทยกรุงเทพโดยกําเนิดสามารถประเมินไดวา เสียงวรรณยุกตดังกลาวไมใชเสียงของ

เจาภาษา ผลคะแนนการประเมินระดับสําเนียงจึงมีแนวโนมที่จะไมสอดคลองกับผลการออกเสียง

วรรณยุกต

6.3 ขอเสนอแนะ

จากการศึกษาภายใตหัวขอวิจัยน้ี ผูวิจัยเห็นวา ควรมีการศึกษาเพ่ิมเติมดังน้ี

6.3.1. ความสัมพันธระหวางการรับรูและการออกเสียง

ในการศึกษารับภาษา (acquisition) การรับรู (perception) และการออกเสียง

(production) คือ กระบวนทางภาษาที่นักภาษาศาสตรใหความสนใจ งานวิจัยจํานวนมากมีขอโตแยง

เกี่ยวกับความสัมพันธระหวางผลการออกเสียงและการรับรูวา กระบวนการใดที่ผูเรียนมีพัฒนาการที่

ดีกวา โดยมีทั้งนักภาษาศาสตรที่สนับสนุนวา ผูเรียนสามารถออกเสียงไดถูกตองก็ตอเมื่อผูเรียนรับรู

เสียงในภาษาที่สองไดอยางถูกตอง ดังที่เฟลกี้ (1995) ไดเสนอวา อุปสรรคในการออกเสียงภาษาที่

สองสวนใหญเปนผลมาจากการรับรูเสียงในภาษาน้ันอยางไมถูกตอง (inaccurate perception)

นอกจากน้ี มีงานวิจัยบางเรื่องแสดงใหเห็นวา ผูพูดสามารถรับรูหรือแยกแยะคู-

เทียบเสียงในภาษาที่สองไดดี แตไมสามารถออกเสียงเหลาน้ันใหแตกตางจากกันได ดังที่ฮาเยส-ฮารบ

และมาซึดะ (Hayes-Harb & Masuda, 2008) ไดพบวา ผูเรียนภาษาญี่ปุนชาวอังกฤษสามารถ

แยกแยะคูเทียบเสียงพยัญชนะในภาษาญี่ปุนไดอยางถูกตอง แตพวกเขาไมสามารถออกเสียงพยัญชนะ

เหลาน้ีใหแตกตางจากกันได

อยางไรก็ตาม งานวิจัยบางเร่ืองกลับพบวา ผูเรียนสามารถออกเสียงไดดีกวารับรู

เสียง ดังเชนผลการวิจัยของ คีจัค (Kijak, 2009) ที่พบวา ผูเรียนที่พูดภาษาแมแตกตางกันสามารถ

ออกเสียงการลงเสียงหนัก (stress) ในภาษาโปลิชไดดีกวาการรับรูเสียง

ผูวิจัยเห็นวา การศึกษาทั้งการออกเสียงและการรับรูของกลุมตัวอยางมีความ

นาสนใจ ดังน้ัน งานวิจัยเกี่ยวกับการรับภาษาที่สองในอนาคตควรมีการศึกษาในกลุมตัวอยาง

ประชากรที่หลากหลายมากขึ้นเพ่ือตอบคําถามวา ระหวางการออกเสียงและการรับรูเสียง ผูเรียนจะมี

ความสามารถดานใดมากกวากัน

Page 144: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

126

6.3.2. การเก็บขอมูลจากกลุมประชากรที่มีความเปราะบาง

ในการศึกษาภายใตหัวขอวิจัยน้ี ผูวิจัยเก็บขอมูลโดยการสังเกตแบบมีสวนรวม

โดยการเขาไปทําความรูจักกับผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูในชุมชนที่ผูพูดทั้งสองหกลุมอาศัย

อยูเพ่ือสรางความสนิทสนมกับกลุมผูพูด จากน้ัน ผูวิจัยจึงสังเกตวา ผูพูดมีลักษณะการออกเสียงเชนไร

ในการเก็บขอมูล แมผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูที่ผูวิจัยตองการศึกษา

สามารถสื่อสารภาษาไทยไดอยางเขาใจ แตผูพูดกลุมน้ีก็ยังหวาดระแวงผูวิจัย ผูพูดบางรายบายเบ่ียง

การใหขอมูล บางคนต้ังคําถามตอผูวิจัยวา มีวัตถุประสงคอ่ืนหรือไม นอกเหนือจากขอเก็บขอมูลเสียง

เชน มาจากหนวยงานที่เกี่ยวกับการตรวจคนเขาเมืองหรือสายงานจากเจาหนาที่ตํารวจหรือไม

เน่ืองจากผูพูดบางรายเขามาพํานักในประเทศไทยโดยไมถูกตองตามกฎหมาย

ผูวิจัยเห็นวา การเก็บขอมูลกับประชากรกลุมน้ีมีความละเอียดออน การช้ีแจง

วัตถุประสงคและขอมูลตางๆ เปนภาษาแมของประชากรจึงมีความสําคัญ ดังน้ัน ผูวิจัยจึงแปลเอกสาร

ทุกอยางเปนภาษาพมาและภาษาอูรดู กระน้ัน ผูพูดบางคนก็ไมเขาใจเจตนาที่แทจริงและยังคง

หวาดระแวง ผูวิจัยจึงขอความชวยเหลือจากเพ่ือนชาวพมาและชาวปากีสถานทําความเขาใจและช้ีแจง

แกผูพูดภาษาพมาและผูพูดภาษาอูรดูวา งานวิจัยน้ีไมมีวัตถุประสงคอ่ืนแอบแฝง นอกจากกระทําไป

เพ่ือการศึกษาเทาน้ัน

การเก็บขอมูลจากกลุมประชากรเหลาน้ีมีความนาสนใจและทาทาย แตผูวิจัยตอง

เตรียมการใหรอบคอบเพราะประชากรกลุมน้ีมีความเปราะบาง แตเพ่ือแสดงใหเห็นวา พวกเขามี

ตัวตนในสังคมและมีศักด์ิศรีความเปนมนุษยเทาเทียมกับชาวตางประเทศที่มาจากประเทศที่มีสภาพ

ทางเศรษฐกิจที่ดี ผูวิจัยเห็นวา ควรมีงานวิชาการที่ศึกษาในประเด็นตางๆ เกี่ยวกับประชากรกลุมน้ี

มากขึ้น เพราะการพยายามทําความเขาใจและการใหความสําคัญ คือ ประตูบานแรกของการเปดใจ

และรับรูวา พวกเขาเขามาอยูในประเทศไทยในฐานะมิตรไมใชลูกจางหรือคนที่อยูในสถานะที่ตํ่ากวา

Page 145: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

127

รายการอางอิง หนังสือและบทความในหนงัสือ

กันตินันท เพียสุพรรณ. (2557). การศึกษาเปรียบเทียบเสียงวรรณยุกตภาษาไทยกรุงเทพ

ที่พูดโดยคนไทยและคนอินเดีย: กรณีศึกษาปจจัยเพศ. ภาษาและวัฒนธรรม, 33(2), 66-89.

ธานินทร ศิลปจารุ. (2557). การวิจัยและวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวย SPSS และ AMOS. กรุงเทพ:

เอส อาร. พริ้นต้ิง แมสโปรดักส.

“พระราชบัญญัติคนเขาเมือง พ.ศ. 2522.” ราชกิจจานุเบกษา เลมที ่96 ตอนที่ 28

(30 พฤษภาคม 2522): 45.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2553). พจนานุกรมศัพทภาษาศาสตร (ภาษาศาสตรประยุกต). กรุงเทพ:

รุงศิลปการพิมพ.

วริษา กมลนาวิน. (2555). การศึกษาระบบเสียงวรรณยุกตภาษาลาวครั่ง เปรียบเทียบกับภาษาลาว

หลวงพระบางและการตัดสินสําเนียงตางถิ่นโดยผูฟงชาวหลวงพระบาง. กรุงเทพ:

ภาควิชาภาษาศาสตร, คณะศิลปศาสตร, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ศุจิณัฐ จิตวิริยนนท. (2555). การปรับคาความถี่มูลฐานโดยการแปลงคาเฮิรตซเปนเซมิโทน:

แนวทางในการเสนอผลการวิเคราะหวรรณยุกต. อักษรศาสตร, 8(2), 19-45.

สุภางค จันทวานิช. (2549). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพ: สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สุรีเนตร จรัสจรุงเกียรติ. (2550). การแปรของหนวยเสียง /p/ /ph/ และ /b/ ในตําแหนงตนพยางค

ระหวางสระ และหนวยเสียง /p/ ในตําแหนงทายพยางคของคําภาษาไทย: กรณีศึกษาชาว

ญี่ปุนที่เรียนภาษาไทยเปนภาษาตางประเทศ. ลายไทย (ฉบับพิเศษวันภาษาไทยแหงชาติ

2 ก.ค. 2550). 2-13. วิทยานพินธ

ชนิกา คําพุฒ. (2545). การศึกษาการใชภาษาไทยของนักศึกษาชาวจีนวิชาเอกภาษาไทยช้ันปที่ 4

สถาบันชนชาติยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน. (วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต).

มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ดลชญา กิตติสรุโกศล. (2555). การแปรของเสียงพยัญชนะนาสิกในการออกเสียงภาษาไทยของ

คนเกาหลีในประเทศไทย. (วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

Page 146: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

128

ธนภัทร สินธวาชีวะ. (2552). วรรณยุกตภาษาไทยกรุงเทพที่ออกเสียงโดยคนญี่ปุน:

การศึกษาทางกลสัทศาสตรและการรับรู. (วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑติ).

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ธนิกาญจน ซิงค. (2550). การออกเสียงวรรณยุกตและสระในภาษาไทยของนักศึกษาที่พูด

ภาษาอังกฤษเปนภาษาแม โครงการไทยศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

(วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ปนิฏฐา ประธานเกียรติ. (2544). ระบบเสียงวรรณยุกตในภาษาไทยอีสานที่พูดโดยคนไทยอีสาน

เขมร และกูย ในชุมชนบานทาคอยนาง ตําบลสวาย อําเภอปรางคกู จังหวัดศรีษะเกษ.

(วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ปริชาติ สุทธิเจษฎาโรจน. (2555). การตัดสินการพูดภาษาอังกฤษของผูพูดชาวไทยที่มี

วัจนลีลาแตกตางกันโดยเจาของภาษา. (วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต).

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

วิไลลักษณ จูวราหวงศ. (2543). วรรณยุกตภาษาไทยกรุงเทพ ที่ออกเสียงโดยคนไทย คนแตจิ๋ว

และคนซกิซ. (วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

เหงียน ถี เวิน จี. (2549). การศึกษาเปรียบเทียบลักษณะทางกลสัทศาสตรของเสียงวรรณยุกตไทยที ่

ชาวเวียดนามออกเสียงตามประสบการณทางภาษา. (วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต).

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ศุรีพร นราสุวรรณ. (2547). ปญหาการออกเสียงพยัญชนะเด่ียวตนคําภาษาไทยของผูเรียนชาวญี่ปุน.

(วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

อารีวรรณ เลิศธนะ. (2548). การแปรของเสียงวรรณยุกตโทตามเพศของผูพูดภาษาไทยกรุงเทพ

และทัศนคติของผูฟง. (วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. Books and Book Articles

Abramson, A. S. (1962). The vowels and tones of standard Thai: Acoustical

measurements and experiments. Bloomington, IN: Indiana: University

Research Center in Anthropology, Folklore and Linguistics.

Archibald, J. (1997). Second Language Acquisition. In: W. O’grady, M. Dobrovolsky

and F. Katamba (Ed.). Contemporary Linguistics: An Introduction (pp. 503-539).

(3rd ed.). New York: Longman.

Page 147: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

129

Broselow, E. & Kang, Y. (2013). Phonology and speech. In J. Herschensohn &

M. Young-Scholten (Ed.). The Cambridge Handbook of Second Language

Acquisition. (pp. 529-553). (1st ed.). Cambridge: Cambridge University Press.

Burnham, D. & Francis, E. (1997). The role of linguistic experience in the perception of

Thai tones. In A. S. Abramson (Ed.). Southeast Asia Linguistics Studies in Honor

of Vichin Panupong (pp. 29-47). Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Burnham, D. & Mattock, K. (2007). The perception of tones and phones. In: Bohn,

Ocke–Schwen & M. J. Munro (Ed.). Language Experience in Second Language

Speech Learning In honor of James Emil Flege (pp. 264-266). Amsterdam:

John Benjamins.

Crystal, D. (2003). A Dictionary of Linguistics & Phonetics. (5th ed.). Oxford: Blackwell.

Davenport, M. & Hannahs, S. J. (1998). Introducing Phonetics and Phonology. Oxford:

Oxford University Press.

Field, J. (2004). Psycholinguistics: The Key Concepts. New York: Routledge.

Gandour, J. (1978). The Perception of Tone. In V. Fromkin. (Ed.).

Tone: A Linguistic Survey (pp. 41-76). New York: Academic Press.

Green, D. (2005). Word, foot and syllable structure in Burmese. In J. Watkins (Ed.).

Studies in Burmese Linguistics (pp. 1-25). Canberra: Pacific Linguistics.

Ioup, G. & Tnsomboon, A. (1987). The acquisition of tone: a maturational perspective.

In G. Ioup & S. Weinberger (Ed.). Interlanguage phonology: the acquisition of a

second language sound system (pp. 333-349). Cambridge,

MA: New Burry House.

Kachru, Y. (1990). Hindi – Urdu. In: B. Comrie (Ed.). The world’s major language

(pp. 470-489). New York: Oxford University Press.

Kijak, A. (2009). How stressful is L2 stress? A cross-linguistic study of L2 perception

and production of metrical systems. Utrecht: Landelijke Onderzoekshool

Taalwetenscap.

Krashen, S. (1981). Second Language Acquisition and Second Language Learning.

London: Pergamon.

Page 148: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

130

Munro, M. J. (2008). Foreign accent and speech intelligibility. In J. G. Edwards & M. L.

Zampini (Ed.). Phonology and Second Language Acquisition (pp. 193-218).

Philadelphia: John Benjamin.

Ohala, J. (1978). Production of Tone. In V. Fromkin. (Ed.). Tone: A Linguistic Survey

(pp. 6-39). New York: Academic Press.

Saville-Troike, M. (2006). Introducing Second Language Acquisition. Cambridge:

Cambridge University Press.

Strange, W. & Shafer, V L. (2008). Speech perception in second language learners: The

re-education of selective perception. In J. G. Edwards & M. L. Zampini (Ed.),

Phonology and Second Language Acquisition (pp. 153-191). Philadelphia:

John Benjamin.

Steinberg, D., Nagata, H. & Aline, D. (2001). Psycholinguistics: Language, Mind and

World. (2nd ed.). London: Longman.

Wheatley, J. K. (1990). Burmese. In: B. Comrie (Ed.). The world’s major language

(pp. 834-854). New York: Oxford University Press.

Yip, M. (2007). Tone. In: P. de lacy (Ed.). The Cambridge Handbook of Phonology

(pp. 229-252). Cambridge: Cambridge University Press.

Articles

Abramson, A. S. (1978). Static and dynamic acoustic cues in distinctive tones.

Language and Speech, 21, 319–325.

Asher, J. & Garcia, R. (1969). The optimal age to learn a second language.

The Modern Language Journal, 53, 334-341.

Bradley, C. B. (1911). Graphic Analysis of the Tone Accents of the Siamese Language.

Journal of the American Oriental Society, 31, 282-289.

Bradley, D. (1982). Register in Burmese. Studies in Southeast Asian Linguistics,

8, 117-132.

Page 149: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

131

Burnham, D., Kirkwood, K., Luksaneeyanawin, S., & Pansottee, S. (1992). Perception of

Central Thai tones and segments by Thai and Australian adults. In Pan-Asiatic

Linguistics: Proceedings of the Third International Symposium on Language

and Linguistics (546–560).Bangkok: Chulalongkorn University Printing House.

Chao, Y. R. (1930). A system of tone letters. Le Maitre Phonetique, 30, 24-27.

Derwing, T. M., Thomson, R. I., Munro, M. J. (2006). English pronunciation and fluency

development in Mandarin and Slavic speakers. System, 34, 183–193.

Fathman, A. (1975). The relation between age and second language productive

ability, Language Learning, 25, 245-253.

Flege, J. E., (1988). Factors affecting degree of perceived foreign accent in English

sentences. Journal of Acoustical Society of America, 84, 70-79.

Flege, J. E., Yeni-Komshian, G. & Liu, H. (1999). Age constraints on second language

acquisition, Journal of Memory & Language, 41, 78-104.

Flege, J. E., Birdsong, D., Bialystock, E., Mack, M., Sung, H. & Tsukada, K. (2006).

Degree of foreign accent in English sentences produced by Korean children

and adults. Journal of Phonetics, 34, 153–175.

Francis, A. L., Ciocca, V., Ma, L. & Fenn, K. (2008). Perceptual learning of Cantonese

lexical tones by tone and non–tone language speakers. Journal of Phonetics,

36, 268–294.

Gandour, J. T. (1983). Tone perception in far Eastern languages. Journal of Phonetics,

11, 149-175

Gooskens, C., Van Bezooijen & Nerbonne, J. (2013). Perception of geographically

conditioned linguistic variation. Language and space, 567-586.

Hallé, P. A., Chang, Yueh–Chin. & Best, C.T. (2004). Identification and discrimination of

Mandarin Chinese tones by Mandarin Chinese vs. French listeners. Journal of

Phonetics, 32, 395–421.

Hayes-Harb, R. & Masuda, K. (2008). Development of the ability to lexical encode

novel second language phonemic contrasts. Second Language Research,

24, 5-33.

Page 150: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

132

Jesney, K. (2004). The Use of Global Foreign Rating in Studies of L2 Acquisition.

Calgary, AB: University of Calgary Language Centre Reports, 31, 1-44.

Lee, Y-S., vakosh, D. A. & Wurn, L H. (1996). Tone perception in Cantonese and

Mandarin: a cross-linguistic comparison. Journal of Psycholinguistic Research,

25, 527-542.

Morén, B. & Zsiga, E. (2006). The Lexical and Post-lexical Phonology of Thai Tones.

Natural Language and Linguistics Theory, 24(1), 113-178.

Moyer, A. (1999). Ultimate attainment in L2 phonology, Studies in Second Language

Acquisition, 21, 81-108.

Munro, M. J. (1993). Production of English vowels by native speakers of Arabic

Acoustic measurement and accentedness rating. Language and Speech,

36(1), 39-66.

Nayyer, R. & Madni, F. G. (2002). Analysis of Intonation Patterns in Urdu.

CRULP Annual Student Report.

Nolan, F. (2007). Intonational equivalence: An experimental evaluation of pitch

scales. In Proceedings of the 15th Internatinal Congress of Phonetic Sciences,

(pp. 1506-1509), Barcelona, Spain.

Onsuwan, C., Duangmal, J. & Panpraneet, P. (2014). Production and Perception of

Thai Lexical Tone and Intonation in Children. Paper presented at the 12th

International Conference on Thai Studies. Sydney, Australia.

Oyama, S. (1976). A sensitive period for the acquisition of nonnative phonological

system, Journal of Psycholinguistics Research, 5, 261-283.

Patkowski, M. S. (1990). Age and accent in a second language: a reply to

James Emil Flege, Applied Linguistics, 11, 73-89.

Piske, T, Ian R. A., MacKay & Flege, J. E. (2001). Factors Affecting Degree of Foreign

Accent in an L2: A Review. Journal of Phonetics, 29, 191–215.

Preston, D. R. (2010). Language, people, salience, space: perceptual dialectology and

language regard. Dialectologia, 5, 87 – 131.

Page 151: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

133

Qin, Z. & Mok, P. (2011). Distribution of Cantonese Tones by Mandarin, English and

French Speakers. In Proceeding of the Psycholinguistic. Presentation of Tone

Conference (PLRT), (pp. 50-53), Hong Kong.

Qin, Z. & Mok, P. (2013). Discrimination of Cantonese Tones by Speakers of Tone and

Non-tone Languages. Kansas Working papers in Linguistics, 34, 1-25.

Saleem, A. M. et al. (2002). Urdu consonant and vocalic sounds.

CRULP Annual Student Report.

So, C. & Best, C. (2010). Cross-language perception of non-native tonal contrasts:

effective phonological and phonetic influence. Language and Speech,

53, 273-293.

Suter, R. (1976). Predictors of pronunciation accuracy in second language learning,

Language Learning, 26, 233-253.

Tahta, S., Wood, M. & Loewenthal, K. (1981). Foreign accents: factors relating to

transfer of accent from the first language to a second language, Language &

Speech, 24, 265-272.

Teeranon, P. & Rungrojsuwan, R. (2009). Chang in the standard Thai high tone:

An acoustic study. MANUSYA, 17, 34-44.

Thomson, I. (1991). Foreign accent revisited: the English pronunciation of Russian

immigrants, Language Learning, 41, 177-204.

Tingsabadh, K. & Abramson, A. (1993). Thai. Journal of the International Phonetic

Association, 23(1), 24-28)

Wang, Y., Behne, D. M., Jongman, A., & Sereno, J. (2004). The role of linguistic

experience in the hemispheric processing of lexical tone. Applied

Psycholinguistics, 25, 449-446.

Watkins, J.W. (2005). Slippery tones: Some data on Burmese tones in context.

In Making Sense of Prosody, SOAS. University of London.

Wayland, R. (1997). Non – native production of Thai: Acoustic measurements and

Accentedness rating. Applied Linguistics, 18, 345–373.

Wayland, R. & Guion, S. (2003). Perceptual discrimination of Thai tones by native and

experienced learners of Thai. Applied Psycholinguistics, 24, 113-129.

Page 152: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

134

Wayland, R. & Guion, S. (2004). Training English and Chinese Listeners to

Perceive Thai Tones: A Preliminary Report. Language Learning, 54, 681 – 712.

Yeni–Komshian, Grace H., Flege J. E. & Serena L. (2000). Pronunciation Proficiency in

the First and Second language of Korean - English Bilinguals. Bilingualism:

language and Cognition, 3(2), 131–149.

Electronic Media

UNHCR-The UN Refugee Agency. (2015). 2015 UNHCR country operations profile –

Thailand [Web Page]. Retrieved from http://www.unhcr.org/pages/49e489646.html

Rabia, A. (2014, July 15). Packing their bags: Christians moving to Thailand to escape

violence, insecurity [Web Page]. Retrieved from htt:p//tribune.com.pk/story/

735724/packing-their-bags-chtistians-moving-to-Thailand-to-escape-violence-/

Theses Kelly, N. E. (2012). An Acoustic Analysis of Burmese Tone. (Master Thesis).

University of Texas at Austin.

Tamtavitikul, A. (1992). Consonant Onsets and Tones in Thai. (Doctoral Dissertation).

University of Texas at Austin.

Page 153: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

ภาคผนวก

Page 154: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

135

ภาคผนวก ก

เอกสารอนมัุติจริยธรรมการวิจัยในคน

Page 155: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

136

ภาคผนวก ข แบบสอบถามประวัติของผูพูดภาษาพมา

Page 156: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

137

Page 157: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

138

Page 158: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

139

Page 159: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

140

Page 160: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

141

Page 161: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

142

Page 162: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

143

Page 163: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

144

ภาคผนวก ค

แบบสอบถามประวัติของผูพูดภาษาอูรดู

Questionnaire سوالنامہ

اس سوالنامے کا حصہ ميں ايک ماسڻر قضيہ لسانيات کے کهڑتل ارڻس فيکلڻی ميںThammasat يونيورسڻی ہے. اس موضوع پر مقالے پڑهيں بينکاک کے بارے ميں يہ تاثر ڻنبينکاک ضلع ہے. اس کا مقصد Bangkapi سے تهائی لينڈ ميں کام کرنے والے غير ملکيوں

حاصل کرنے کے ليے تحقيق کی تحقيقات کے لئے ذاتی معلومات اور تهائی لينڈ کے اگهاڑ .زبان ہے. سوال اپ کے محقق کے تعاون کے اپريشن ميں بهرپيٹ سوالنامے ميں ہے

This questionnaire is part of a Master thesis in linguistics, for the Faculty of Liberal Arts, at

Thammasat University. The topic of the thesis is about Bangkok Thai tones produced by foreigners

working in Bangkapi District, Bangkok. The objective of this research is to gain personal information

and to investigate their Thai language exposure. The researcher asks for your c -operation in order to

fill in the questionnaire.

Procedure رويہ

ہے. اس سوالنامے کو 2 حصوں, 1 ) ذاتی معلومات اور 2 ) اگهاڑ تهائی لينڈ کی زبان ہے. .1 براه کرم جواب دو اعشاريہ چه کی معلومات ميں ايکسرے يا فرق ہے

1. The questionnaire has 2 parts: 1) Personal information and 2) Thai language exposure.

Please answer by marking / or X in the gap.

ہے. اگر اپ کو جواب نہيں چاہتے ہيں ايک سوال کے جواب ميں سات اعشاريہ چه کی .2ڻهمکنا اپ کو ايکسرے کے نمبر پر بهی ہے. (اس سوالنامے استعمال کيا جائے گا. صرف ريسرچ مقاصد کے ليے ہے. اطالعات رکها جائے گا. بشواسی حاصل ہوگا, استعمال نہ کيا (جائے. کسی اور مقاصد

2. If you do not wish to answer a question, you can skip by marking X on the item”s number.

(This questionnaire will be used only for research purposes. The information obtained will be kept

confidential, and will not be used for any other objectives.)

Page 164: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

145

Part 1: Personal information questionnaire حصہ ذاتی معلومات سوالنامہ :1

__________________________ Last name اخری نام _____________________ Name نام

Nationality شہريت _____________________ Race نسل _____________________ Age عمر

____________________

State of birth رياست کی پيدائش _________________ City of birth شہر کی پيدائش

____________________

Education background تعليمی پس منظر

سے کم کنوارے کی ڈگری البتہ پی ڻی سی ( ) کنوارے کی ڈگری البتہ پی ڻی ( ) سی ( ) سے زائد کنوارے کی ڈگری

( ) lower than bachelor”s degree ( ) bachelor”s degree ( ) higher than bachelor”s degree

________________________________ Language background زبان پس منظر

_______________________ Mother tongue (s) کی مادری زبان

_________________________ Language (s) known/studied .زبان (ايس) کے معروف حقيقت ہے

?What is your occupation in Thailand کيا اپ کے قبضے ميں تهائی لينڈ

ديگر ( ) employee مالزم ( ) business owner تجارتی مالک ( ) others

?Can I contact you at a later date ميں اپ سے رابطہ ميں بعد ميں ايک تاريخ ہے

no کوئی ( ) yes جی ہاں ( )

Please provide the address of براه کرم فراہم کرنے کے خطاب ميں جہاں اپ سے مالقات

where I can meet you:

_________________________________________________________________________________

Page 165: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

146

Part 2: Thai language exposure questionnaire تهائی لينڈ کا حصہ اگهاڑ سوالنامہ زبان :2

اے پرکانا مارک يا ايکسرے ميں دڑاڑ ( ) اور بهرپيٹ ميں تهائی لينڈ کے بارے ميں معلومات اپ اگهاڑ زبان ميں رہتے ہوئے تهائی لينڈ ميں کهک (________). اگر اپ .نہيں چاہتے کہ جواب کچه سوال کے جواب ميں اپ کو تهرکنا

A. Please mark / or X in the gap ( ) and fill in your information about Thai language exposure while

living in Thailand in the blank (________). If you do not want to answer some question, you can

skip it.

:Period of time living in Bangkok :ہے. مدت ميں مقيم بينکاک .1

more than 5 years مزيد 5 سال سے زياده ( ) less than 5 years سال سے کم 5 ( )

?What Thai language skills do you have ہے. تهائی لينڈ ميں مہارت کی زبان ہيں .2

پشتک ( ) reading مطالعه ( ) speaking سے گفتگو کرتے ہوئے ( ) listening سن ( )writing

Have you ہے. کيا تم نے کبهی مدرسے تهائی لينڈ کی زبان سے اساتذه جنمی تهائی لينڈ .3

ever studied Thai language with native Thai teachers?

no کوئی ( ) yes جی ہاں ( )

Do you speak Thai with ہے. تهائی لينڈ سے بات کريں تو اپ کو اپنے پاکستانی دوستوں .4

your Pakistani friends? (5 اگر اپ کو نہيں بهولنا چاہئيے) (If you do not, skip to item 5)

no کوئی ( ) yes جی ہاں ( )

:You communicate with them by :پ کو لکهنا ان کے ساته 4.1

پشتک ( ) reading مطالعه ( ) speaking سے گفتگو کرتے ہوئے ( ) listening سن ( )writing

How long do you speak with them per اپ کتنا عرصہ تک فی دن ان سے بات کريں 4.2

day?

Page 166: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

147

minutes/day .منٹ دن ہے ___________ hours گهنڻے ____________ for کے لئے

What are کيا اپ کے موضوعات پر گفتگو کرتے ہوئے ان کے ساته 4.2.1

the topics of your conversation with them?

___________ hours گهنڻے ____________ for کے لئے :work related :کام سے متعلق ( )

minutes/day .منٹ دن ہے

hours گهنڻے ____________ for کے لئے :casual conversation : عارضی گفتگو ( )

minutes/day .منٹ دن ہے ___________

hours گهنڻے ____________ for کے لئے :personal affairs :ذاتی امور خارجہ ( )

minutes/day .منٹ دن ہے ___________

Do you have Thai friends or Thai کيا اپ نے تهائی لينڈ دوست يا تهائی لينڈ جان پہچان ہے .5

acquaintance? (6 ,اگر اپ کو نہيں بهولنا چاہئيے ) (If you do not, skip to item 6)

no کوئی ( ) yes جی ہاں ( )

?what language do you speak with them کيا اپ کی زبان ان سے بات کريں 5.1

اگر اپ کو ان کے ساته اردو سے بات کريں تهرکنا چيز ) Thai تهائی لينڈ ( ) Urdu اردو ( ) other ديگر ( ) (if you speak Urdu with them, skip to item 6 کو 6

:You communicate with them by :اپ کو لکهنا ان کے ساته 5.2

پشتک ( ) reading مطالعه ( ) speaking سے گفتگو کرتے ہوئے ( ) listening سن ( ) writing

How long do you speak with them per اپ کتنا عرصہ تک فی دن ان سے بات کريں 5.3

day?

minutes/day .منٹ دن ہے ___________ hours گهنڻے ____________ for کے لئے

What are کيا اپ کے موضوعات پر گفتگو کرتے ہوئے ان کے ساته 5.3.1

the topics of your conversation with them?

Page 167: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

148

___________ hours گهنڻے ____________ for کے لئے :work related :کام سے متعلق ( )

minutes/day .منٹ دن ہے

hours گهنڻے ____________ for کے لئے :casual conversation :عارضی گفتگو ( )

minutes/day .منٹ دن ہے ___________

hours گهنڻے ____________ for کے لئے :personal affairs :ذاتی امور خارجہ ( )

minutes/day .منٹ دن ہے ___________

Do you speak Thai with people کيا اپ کو تهائی لينڈ کے ساته بات دوسرے ملکوں سے ہے .6

from other countries? (اگر اپ کو نہيں7 بهولنا چاہئيے, If you do not, skip to item 7)

no کوئی ( ) yes جی ہاں ( )

:You communicate with them by :اپ کو لکهنا ان کے ساته 6.1

پشتک ( ) reading مطالعه ( ) speaking سے گفتگو کرتے ہوئے ( ) listening سن ( )writing

How long do you speak with them per اپ کتنا عرصہ تک فی دن ان سے بات کريں 6.2

day?

minutes/day .منٹ دن ہے ___________ hours گهنڻے ____________ for کے لئے

What are کيا اپ کے موضوعات پر گفتگو کرتے ہوئے ان کے ساته 6.2.1

the topics of your conversation with them?

___________ hours گهنڻے ____________ for کے لئے :work related :کام سے متعلق ( )

minutes/day .منٹ دن ہے

hours گهنڻے ____________ for کے لئے :casual conversation :عارضی گفتگو ( )

minutes/day .منٹ دن ہے ___________

hours گهنڻے ____________ for کے لئے :personal affairs :ذاتی امور خارجہ ( )

minutes/day .منٹ دن ہے ___________

Page 168: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

149

?Do you use Thai at work کيا اپ تهائی لينڈ ميں کام کيا ہے .7

no کوئی ( ) yes جی ہاں ( )

What Thai skills do کيا اپ مہارتوں تهائی لينڈ ميں استعمال اپنی مالزمت پسند ہے 7.1

you use in your job?

پشتک ( ) reading مطالعه ( ) speaking سے گفتگو کرتے ہوئے ( ) listening سن ( )writing

How long do you اپ کتنا عرصہ تک استعمال فی دن تهائی لينڈ ميں کام کيا ہے 7.2

use Thai at work per day?

minutes/day .منٹ دن ہے ___________ hours گهنڻے ____________ for کے لئے

بی محفوظ کرنا مارک يا ايکسرے ميں ايک سفيد ہے کہ ميچ اپ تجربہ تهائی لينڈ کی زبان ميں رہتے ہوئے تهائی لينڈ ہے. اس کا اندازه اپ اس وقت اپ کی رقم ہے کہ اپ فی دن .تهائی لينڈ کا استعمال ہے

Page 169: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

150

B. Please mark / or X in a blank that matches your Thai language experience while living in

Thailand. Then, please estimate your amount of time that you use Thai per day.

Situation صورتحال

Amount of time اس وقت رقم کی

سب سے Most زياده

ز���ي���اد���هMuch

ا����ع����تدا����ل پ����������������سندModerate

ب����ود����اLittle

کم از ک�����������مLeast

اس دن استعمال گهنڻےUsed

hours/day

اپ پاکستانی عوام سے بات کريں. .1 تهائی لينڈ ميں You speak with Pakistani people in Thai.

اپ کے ساته بات تهائی لينڈ تهائی .2 .لينڈ ميں ہےYou speak with Thai people in Thai.

اپ کے ساته بات سے دوسرے .3 ممالک ميں تهائی لينڈYou speak with people from other

countries in Thai

تهائی لينڈ کے اخبار پڑه سکتے .4 .ہيںYou read Thai newspapers.

.تهائی لينڈ ناول پڑه سکتے ہيں .5You read Thai novels.

You .تهائی لينڈ بات سنتے موسيقی .6

listen to Thai music.

.تهائی لينڈ بات سنتے ڻی وی ہے .7You listen to Thai TV.

.تهائی لينڈ کے ريڈيو سنتے ہيں .8You listen to Thai radio.

Page 170: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

151

ภาคผนวก ง

แบบสอบถามประวัติของผูประเมินระดับสําเนียง

เ น่ืองดวยขาพเจา นายกองวิช อักขระเสนา นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขา

ภาษาศาสตรเพ่ือการสื่อสาร ภาควิชาภาษาศาสตร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กําลัง

จัดทําวิทยานิพนธเกี่ยวกับการออกเสียงภาษาไทยของชาวตางประเทศ (ผูพูดภาษาพมาและผูพูด-

ภาษาอูรดู) ที่เขามาทํางานในประเทศไทย โดยมี รองศาสตราจารย ดร.วริษา กมลนาวิน เปนอาจารย

ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ การทําวิทยานิพนธภายใตหัวขอดังกลาวมีวัตถุประสงคประการหน่ึง คือ การ-

สํารวจขอมูลสวนบุคคลของผู ประเมินระดับสํา เ นียงของชาวตางประเทศที่ พํา นักอยู ใน

กรุงเทพมหานคร ผูวิจัยจึงใครขอความรวมมือในการตอบแบบสอบถามมายังทาน และ

ขอขอบพระคุณในความกรุณาของทานมา ณ โอกาสน้ี

ช่ือ _______________________ นามสกุล _______________________ อายุ _________ป

เช้ือชาติ___________________ สัญชาติ ______________ ทานเกิดที่จังหวัด ____________

เติบโตที่จังหวัด ___________________ อาชีพ ____________________

ระดับการศึกษา ( ) ตํ่ากวาปริญญาตรี ( ) ปรญิญาตร ี ( ) สูงกวาปริญญาตร ี

ทานเคยติดตอสื่อสารกับคนพมาและคนปากีสถานหรือไม ( ) ใช ( ) ไมใช

ทานประกอบอาชีพเกี่ยวกับการสอนภาษาหรือไม ( ) ใช ( ) ไมใช

ภูมิลําเนาเดิม (จังหวัดหรือประเทศ) ของบิดามารดา

บิดา ________________________ มารดา ____________________________

ผูวิจัยประสงคใหทานชวยงานเพ่ิมเติมไดหรือไม และหากได ผูวิจัยขออนุญาตติดตอทานทางโทรศัพท

หรือสถานที่ทีท่านสะดวกใหการติดตอ ( ) อนุญาต ( ) ไมอนุญาต

เบอรโทรศัพท _________________________________ อีเมลล _______________________

สถานที่ที่สามารถติดตอทานได

_________________________________________________________________________

_________________________________________________________________________

Page 171: การออกเสียงวรรณยุกต ภาษาไทยกรุงเทพโดยผู พูดภาษาพม าและ ผู ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

152

ประวตัิผูเขียน

ช่ือ นายกองวิช อักขระเสนา

วันเดือนปเกิด

วุฒิกาศึกษา (ระดับปริญญาตรี)

21 สิงหาคม พ.ศ. 2532

ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาศาสตร)

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร