191
รายงานการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556 คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ฉบับปรับหลังจากการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน เมื่อวันจันทรที8 และวันอังคารที9 กันยายน 2557 (7 ธันวาคม 2557)

รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

ปการศกึษา 2556

คณะเศรษฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ฉบับปรับหลังจากการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน

เม่ือวันจันทรที่ 8 และวันอังคารที่ 9 กันยายน 2557

(7 ธันวาคม 2557)

Page 2: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

คํานํา

เอกสารรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report: SAR) ประจําปการศึกษา 2556 (ตั้งแต 1 มิถุนายน 2556

ถึง 31 กรกฎาคม 2557) ฉบับน้ี คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จัดทําข้ึนเพ่ือเสนอตอคณะกรรมการตรวจสอบคุณภาพ

การศึกษาภายในของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ซึ่งกําหนดตรวจประเมินคุณภาพคณะเศรษฐศาสตร ในวันจันทรท่ี 8 – วันอังคารท่ี 9

กันยายน 2557 ณ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต

คณะเศรษฐศาสตรไดแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาคณะเศรษฐศาสตร ตามคําสั่งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี

ร.133/2555 เพ่ือรับผิดชอบในแตละองคประกอบ และตัวบงช้ีคุณภาพ ซึ่งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาไดพิจารณาจัดทํา

รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2556 ตามองคประกอบคุณภาพ จํานวน 10 องคประกอบ ดังน้ี

องคประกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ

องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต

องคประกอบท่ี 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา

องคประกอบท่ี 4 การวิจัย

องคประกอบท่ี 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม

องคประกอบท่ี 6 การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ

องคประกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ

องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

องคประกอบท่ี 97 องคประกอบอัตลักษณ (สมศ.)

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาไดพิจารณากําหนดตัวบงช้ีคุณภาพท่ีเก่ียวของกับแตละองคประกอบตามตัวบงช้ี

คุณภาพของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ท่ีมีความสอดคลองกับตัวบงช้ีการประเมินคุณภาพภายในของสํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา (สกอ.) สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (มธ.)

นอกจากน้ี คณะเศรษฐศาสตรยังไดกําหนดตัวบงช้ีคุณภาพตามเอกลักษณของคณะเศรษฐศาสตร (ศ.) คือ วิเคราะหเปน เนนคุณภาพ

การจัดทํารายงานการประเมินตนเอง (SAR) น้ี ทําใหผูบริหารมองเห็นจุดแข็ง และจุดออนของคณะเศรษฐศาสตร ซึ่งจะชวยให

ผูบริหารสามารถนําไปปรับปรุงและพัฒนาเพ่ือเพ่ิมคุณภาพและประสิทธิภาพในการจัดการศึกษา การวิจัย การใหบริการทางวิชาการแก

สังคม ตลอดจนการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมของคณะตอไป

(ศาสตราจารย ดร.สกนธ วรัญูวัฒนา)

คณบดีคณะเศรษฐศาสตร

Page 3: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

สารบัญ หนา

บทสรุปผูบริหาร 1

บทท่ี 1 ขอมูลพ้ืนฐานเกี่ยวกับหนวยงาน

1.1 ช่ือหนวยงาน ท่ีตั้ง และประวัติความเปนมาโดยยอ 3

1.2 ปรัชญา ปณิธาน เปาหมายและวัตถุประสงค 4

1.3 โครงสรางองคกร และโครงสรางการบริหาร 5

1.4 รายช่ือผูบริหาร กรรมการบริหาร และกรรมการประจําคณะ 7

1.5 หลักสูตรและสาขาวิชาท่ีเปดสอน 9

1.6 จํานวนนักศึกษา 9

1.7 จํานวนอาจารยและบุคลากร 9

1.8 ขอมูลพ้ืนฐานโดยยอเก่ียวกับงบประมาณ และอาคารสถานท่ี 10

1.9 เอกลักษณหรือวัฒนธรรมของสถาบัน 10

1.10 ผลการปรับปรุงตามขอเสนอแนะของผลการประเมินปท่ีผานมา 11

บทท่ี 2 ผลการดําเนินงาน และผลการประเมินคุณภาพ

2.1 องคประกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ 15

2.2 องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต 23

2.3 องคประกอบท่ี 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 69

2.4 องคประกอบท่ี 4 การวิจัย 77

2.5 องคประกอบท่ี 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม 97

2.6 องคประกอบท่ี 6 การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 105

2.7 องคประกอบท่ี 7 การบริการและการจัดการ 113

2.8 องคประกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ 129

2.9 องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 133

2.10 องคประกอบท่ี 97 องคประกอบอัตลักษณ (สมศ.) 139

บทท่ี 3 สรุปผลการประเมินคุณภาพ และทิศทางการพัฒนา

3.1 รายงานผลการประเมินตนเอง ในตารางท่ี ส1 155

3.2 รายงานผลการประเมินตนเอง ในตารางท่ี ส2 158

3.3 รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางท่ี ป1 160

3.4 รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางท่ี ป2 163

3.5 จุดแข็ง/จุดท่ีควรพัฒนา/แนวทางการปรับปรุง ตามความเห็นของคณะกรรมการประเมิน 165

คุณภาพภายใน

Page 4: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

ภาคผนวก

1) ตารางขอมูลพ้ืนฐาน (Common Data Set) ก–1

2) ตารางพ้ืนฐาน และตารางแสดงรายละเอียดในแตละตัวบงช้ี (แบบฟอรมตัวบงช้ี) ข–1

3) คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาคณะเศรษฐศาสตร ค–1

4) กําหนดการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในคณะเศรษฐศาสตร ง–1

Page 5: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

สารบัญภาคผนวก หนา

ตารางขอมูลพ้ืนฐาน Common Data Set ก–1

ตารางพ้ืนฐาน 1 จํานวนหลักสูตรท่ีเปดสอนท้ังหมด ข–1

ตารางพ้ืนฐาน 2 จํานวนนักศึกษาท้ังหมด ข–2

ตารางพ้ืนฐาน 2.1 จํานวนนักศึกษาปจจุบันจําแนกตามช้ันป ข–2/1

ตารางพ้ืนฐาน 3 จํานวนบุคลากรทุกประเภทตามสายงาน (สายสนับสนุน) ข–3

แบบฟอรมตัวบงช้ี สกอ.1.1 กระบวนการพัฒนาแผน

แบบฟอรมท่ี 1.1–1 ตัวบงช้ีของแผนกลยุทธ ข–4

แบบฟอรมท่ี 1.1–2 ตัวบงช้ีของแผนปฏิบัติราชการประจําป ข–5

แบบฟอรมตัวบงช้ี สกอ.2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร

แบบฟอรมท่ี 2.1–1 การไดมาตรฐานตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรของสํานักงาน คณะกรรมการ- ข–6

การอุดมศึกษา พ.ศ. 2548

แบบฟอรมท่ี 2.1–2 การดําเนินงานเปนไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ ข–7

แบบฟอรมท่ี 2.1–3 การประเมินผลตามตัวบงช้ีของการดําเนินงานตามประกาศมาตรฐานคุณวุฒิ ข–8

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ (รายหลักสูตร)

แบบฟอรมตัวบงช้ี สกอ.2.2 อาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอก

แบบฟอรมตัวบงช้ี สกอ.2.3 อาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการ

แบบฟอรมท่ี 2.2 และ 2.3–1 จํานวนอาจารยจําแนกตามวุฒิการศึกษาและตําแหนงทางวิชาการ ข–9

แบบฟอรมตัวบงช้ี สมศ.14 การพัฒนาคณาจารย

แบบฟอรมท่ี 2.2 และ 2.3–2 รายช่ืออาจารยจําแนกตามวุฒิการศึกษาและตําแหนงทางวิชาการ ข–10

แบบฟอรมตัวบงช้ี สกอ.2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน

แบบฟอรมท่ี 2.4–1 อาจารยประจําท่ีเขารวมประชุมวิชาการ และ/หรือ นําเสนอผลงานวิชาการ ข–10/1

ท้ังในประเทศและตางประเทศ

แบบฟอรมท่ี 2.4–2 งบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยท้ังในประเทศและตางประเทศ ข–10/2

แบบฟอรมตัวบงช้ี สกอ.2.5 หองสมุด อุปกรณการศึกษา และสภาพแวดลอมการเรียนรู

แบบฟอรมท่ี 2.5–1 สัดสวนเครื่องคอมพิวเตอรตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา ข–11

แบบฟอรมท่ี 2.5–2 ผลประเมินคุณภาพของบริการ ข–12

แบบฟอรมท่ี 2.5–3 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (FTES) ข–12/1

แบบฟอรมตัวบงช้ี สกอ.2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน

แบบฟอรมท่ี 2.6–1 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอนรายหลักสูตร ข–13

แบบฟอรมท่ี 2.6–2 ความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของอาจารยและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู ข–14

แบบฟอรมตัวบงช้ี สกอ.2.8 ระดับความสําเร็จของการเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมท่ีจัดใหกับนักศึกษา ข–15

นักศึกษาท่ีไดรับการยกยองชมเชย ประกาศเกียรติคุณดานคุณธรรม จริยธรรม

โดยหนวยงานหรือองคกรระดับชาติ

Page 6: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

หนา

แบบฟอรมตัวบงช้ี สมศ.1 บัณฑิตระดับปริญญาตรีท่ีไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป ข–16

แบบฟอรมตัวบงช้ี สมศ.2 คุณสมภาพบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ข–17

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ และ

แบบฟอรมตัวบงช้ี สมศ.16.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ

แบบฟอรมท่ี 2.1 จํานวนนักศึกษาท่ีสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาท่ีหลักสูตรกําหนด ข–17/1

แบบฟอรมตัวบงช้ี สมศ.3 * ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร ข–18

แบบฟอรมตัวบงช้ี สมศ.4 ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร ข–19

แบบฟอรมตัวบงช้ี มธ.1 * รอยละของนักศึกษาตางขาติตอจํานวนนักศึกษาท้ังหมด ข–20

แบบฟอรมตัวบงช้ี มธ.2 รอยละของนักศึกษาแลกเปลี่ยนท่ีสงออกและรับเขาท้ังหมด

แบบฟอรมท่ี มธ.2–1 จํานวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนท่ีสงออก ข–21

แบบฟอรมท่ี มธ.2–2 จํานวนนักศึกษาแลกเลี่ยนท่ีรับเขา ข–22

แบบฟอรมตวบงช้ี มธ.3 * รอยละของอาจารยตางชาติตอจํานวนอาจารยท้ังหมด ข–23

แบบฟอรมตัวบงช้ี มธ.4 รอยละของอาจารยแลกเปลี่ยนและรับเขาท้ังหมด

แบบฟอรมท่ี 4–1 * จํานวนอาจารยแลกเปลี่ยนท่ีสงออก ข–24

แบบฟอรมท่ี 4–2 จํานวนอาจารยแลกเปลี่ยนท่ีรับเขา ข–25

แบบฟอรมตัวบงช้ี มธ.5 รอยละของวิทยานิพนธ และงานวิชาการของนักศึกษาท่ีไดรับรางวัลระดับชาติหรือ ข–26

นานาชาติ

แบบฟอรมตวบงช้ีท่ี ศ.1 รอยละของจํานวนบทความสัมมนาตอจํานวนนักศึกษาท่ีเรียนวิชาสัมมนาท้ังหมด ข–26/1

แบบฟอรมตวบงช้ีท่ี ศ.2 รอยละของจํานวนวิชาสัมมนาท่ีมีนักศึกษานําเสนอบทความสัมมนาในงานวิชาการ ข–26/2

“Best Seminar Papers” ตอจํานวนวิชาสัมมนาท้ังหมด

แบบฟอรมตวบงช้ีท่ี ศ.3 จํานวนผลงานของอาจารย นักศึกษา หรือผลงานของบุคลากรสายสนับสนุนท่ี

แสดงจุดเนน “วิเคราะหเปน” ท่ีไดรับการยกยองอยางนอยในระดับคณะหรือ

ไดรับการคัดกรองคุณภาพตามมาตรฐานผลงานวิชาการ ข–26/3

แบบฟอรมตัวบงช้ี สกอ.3.1 ผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการนักศึกษา ข–27

แบบฟอรมตัวบงช้ี สกอ.3.2 รายละเอียดกิจกรรมนักศึกษาและจํานวนนักศึกษาท่ีเขารวมกิจกรรม และ

แบบฟอรมตัวบงช้ี มธ.7 รอยละของกิจกรรมจิตอาสาตอจํานวนกิจกรรมท้ังหมด

รายละเอียดกิจกรรมนักศึกษาและจํานวนนักศึกษาท่ีเขารวมกิจกรรม ข–28

แบบฟอรมตัวบงช้ี สกอ.4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสรางสรรค

จํานวนอาจารยและนักวิจัยท่ีไดรับการพัฒนาศักยภาพดานงานวิจัยและงานสรางสรรค ข–29

แบบฟอรมตัวบงช้ี สกอ.4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจากงานวิจัยหรืองานสรางสรรค

จํานวนสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร ข–30

Page 7: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

หนา

แบบฟอรมตัวบงช้ี สกอ.4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา

แบบฟอรมท่ี 4.3–1 * จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคภายในสถาบัน ข–31

แบบฟอรมท่ี 4.3–2 * จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคภายนอกสถาบัน ข–32

แบบฟอรมตัวบงช้ี สมศ.5 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร ข–33

แบบฟอรมตัวบงช้ี สมศ.6 * งานวิจัยหรืองานสรางสรรคท่ีนําไปใชประโยชน ข–34

แบบฟอรมตัวบงช้ี สมศ.7 * ผลงานทางวิชาการท่ีไดรับการรับรองคุณภาพ ข–35

แบบฟอรมตัวบงช้ี มธ.8 รอยละของบทความวิจัยท่ีไดรับการอางอิง (Citation) ในฐานขอมูล Scopus หรือ

Web of Science ตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา ข–36

แบบฟอรมตัวบงช้ี มธ.9 รอยละของงานวิจัย บทความวิชาการ สิ่งประดิษฐของอาจารยและนักวิจัยท่ีไดรับ

รางวัลระดับชาติหรือนานาชาติตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา ข–37

แบบฟอรมตัวบงช้ี สมศ.8 * ผลการนําความรูและประสบการณจากการใหบริการวิชาการมาใชในการพัฒนา

การเรียนการสอนและการวิจัย

แบบฟอรมท่ี 8–1 รายช่ือโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการท่ีนํามาใชในการพัฒนาการเรียนการสอน

และ/หรือการวิจัย ข–38

แบบฟอรมท่ี 8–2 รายช่ือโครงการบริการวิชาการตามแผนท่ีสภามหาวิทยาลัยอนุมัติ ข–39

แบบฟอรมตัวบงช้ี สกอ.6.1 ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

รายช่ือกิจกรรมในการอนุรักษ พัฒนา และเสริมสรางเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรม ข–40

แบบฟอรมตัวบงช้ี สมศ.11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม

ผลประเมินความพึงพอใจของบุคลากรและนักศึกษา ข–41

แบบฟอรมท่ี สกอ.8.1–1 คาใชจายท้ังหมด ข–41/1

แบบฟอรมท่ี สกอ.8.1–2 รอยละของเงินเหลือจายสุทธิตองบดําเนินการ ข–41/2

แบบฟอรมตัวบงช้ี สมศ.16.1 ผลการบริหารสถาบันใหเกิดอัตลักษณ ข–42

ผลการประเมินของผูเรียนและบุคลากรเก่ียวกับการปฏิบัติงานของสถานศึกษา

ท่ีสอดคลองกับอัตลักษณ

แบบฟอรมตัวบงช้ี สมศ.17 ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนท่ีสงผลสะทอนเปนเอกลักษณของสถาบัน ข–43

ผลการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรท่ีเก่ียวกับการดําเนินการตามจุดเนน

และจุดเดน หรือความเช่ียวชาญเฉพาะของสถาบัน

คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาคณะเศรษฐศาสตร ค–1

กําหนดการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในคณะเศรษฐศาสตร ง–1

หมายเหตุ : * มีการปรับแกจากการประเมินคุณภาพภายใน เมื่อวันจันทรท่ี 8 และวันอังคารท่ี 9 พฤศจิกายน 2557

Page 8: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

1

บทสรุปผูบริหาร

คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร ใชปรัชญาและปณิธานของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คือ มีพันธกิจในการจัดการ

เรียนการสอน การวิจัย การบริการสังคม และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ซึ่งบุคลากรสวนใหญไดรับทราบและรูสึกถึงการมีสวน

รวม รวมท้ังไดกําหนดให “วิเคราะหเปน เนนคุณภาพ” เปนเอกลกัษณของคณะ

คณะเศรษฐศาสตรมีเปาหมายท่ีจะเปนสถาบันช้ันนําดานวิชาการเศรษฐศาสตร เปนศูนยกลางทางการศึกษาเพ่ือความเปนเลิศ

ทางวิชาการ และความหลากหลายทางวิชาการ โดยพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนท้ังในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท

และปริญญาเอก เพ่ือใหนักศึกษาและบัณฑิตมีความรูความสามารถท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ มีความเช่ียวชาญเฉพาะดาน และมี

กิจกรรมท่ีกระตุนใหนักศึกษาและบัณฑิตมีความรับผิดชอบตอสังคมมากข้ึน และสงเสริมใหมีโครงการแลกเปลี่ยนอาจารยและนักศึกษา

กับมหาวิทยาลัยในตางประเทศ อีกท้ังไดสงเสริมการผลิตงานวิชาการและงานวิจัย โดยสนับสนุนใหคณาจารยแตง แปล และเรียบเรียง

ตําราเศรษฐศาสตรภาษาไทยในระดับกลางและระดับสูง โดยใหมีความลุมลึกในเน้ือหาทางวิชาการ

คณะจัดทําแผนงานท่ีครอบคลุมภารกิจท้ัง 4 ดาน โดยมีจุดเนนในดานการเรียนการสอนท่ีจะผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพสูง มี

ความสามารถในสาขาวิชาเศรษฐศาสตร มีจิตสํานึกตอสังคม ดานการวิจัยท่ีสรางวิทยาการใหม ๆ ใหกาวหนา ขยายขอบเขตพรมแดน

แหงความรู และช้ีนําสังคมในดานการใชทรัพยากรของชาติใหแกสาธารณขน เพ่ือนําไปใชประโยชนในการประกอบอาชีพ และ

ประยุกตใชกับสังคมในปจจุบัน และดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมท่ีดีงามของชาติ

จากการประเมินคุณภาพตนเอง ประจําปการศึกษา 2556 ตามองคประกอบ และตัวบงช้ีคุณภาพท้ังหมด จํานวน 53 ตัวบงช้ี

ประกอบดวย ตัวบงช้ีของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) จํานวน 23 ตวับงช้ี ตัวบงช้ีของสํานักงานรับรองมาตรฐานและ

ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) จํานวน 19 ตัวบงช้ี ตัวบงช้ีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (มธ.) จํานวน 8 ตัวบ ง ช้ี และตั วบ ง ช้ี ท่ี

สะทอนถึงเอกลักษณของคณะเศรษฐศาสตร (ศ.) จํานวน 3 ตัวบงช้ี พบวา คณะมีผลการประเมินตนเองเทากับ 4.58 คะแนน ซึ่งอยูใน

ระดับดีมาก ดังน้ี

องคประกอบ ผลการประเมิน (คะแนนเต็ม 5.00)

คะแนน สกอ. คะแนน สมศ. คะแนนทุกตัวบงชี ้ ระดับ

1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ 5.00 - 5.00 ดีมาก

2. การผลิตบัณฑิต 4.74 3.59 4.36 ดี

3. กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา 5.00 - 4.39 ดี

4. การวิจัย 5.00 4.40 4.41 ดี

5. การบริการทางวิชาการแกสังคม 5.00 5.00 5.00 ดีมาก

6. การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00 5.00 5.00 ดีมาก

7. การบริหารและการจัดการ 5.00 3.59 4.72 ดีมาก

8. การเงินและงบประมาณ 5.00 - 5.00 ดีมาก

9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 5.00 - 5.00 ดีมาก

97. องคประกอบอัตลักษณ (สมศ.) - 4.88 4.88 ดีมาก

คะแนนการประเมิน 4.91 4.42 4.58 ดีมาก

Page 9: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

2

คณะเศรษฐศาสตรไดรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในโดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ประจําปการศึกษา

2556 เมื่อวันจันทรท่ี 8 และวันอังคารท่ี 9 กันยายน 2557 ซึ่งคณะไดคะแนนประเมินคุณภาพเทากับ 4.29 อยูในระดับดี โดยมีผลการ

ประเมินคุณภาพภายในตามองคประกอบ ดังน้ี

องคประกอบ ผลการประเมิน (คะแนนเต็ม 5.00)

คะแนน สกอ. คะแนน สมศ. คะแนนทุกตัวบงชี ้ ระดับ

1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ 5.00 - 5.00 ดีมาก

2. การผลิตบัณฑิต 4.24 3.10 4.47 ดี

3. กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา 4.00 - 3.72 ดี

4. การวิจัย 5.00 4.40 4.41 ดี

5. การบริการทางวิชาการแกสังคม 4.00 5.00 4.50 ดี

6. การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 2.00 5.00 4.00 ดี

7. การบริหารและการจัดการ 4.75 3.51 4.50 ดี

8. การเงินและงบประมาณ 5.00 - 5.00 ดีมาก

9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 5.00 4.39 5.00 ดีมาก

97. องคประกอบอัตลักษณ (สมศ.) - 4.68 4.68 ดีมาก

คะแนนการประเมิน 4.39 4.21 4.29 ดี

Page 10: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

3

บทที่ 1 ขอมูลพ้ืนฐานเกี่ยวกับหนวยงาน

1.1 ชื่อหนวยงาน ท่ีต้ัง และประวัติความเปนมาโดยยอ

ชื่อหนวยงาน คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ท่ีต้ัง - คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร

เลขท่ี 2 ถนนพระจันทร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

- คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต

เลขท่ี 99 หมู 18 ถนนพหลโยธิน ตําบลคลองหน่ึง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12121

ประวัติความเปนมาโดยยอ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและการเมือง กอตั้งข้ึนเมื่อวันท่ี 27 มิถุนายน พ.ศ. 2477 ระยะแรกเปดสอนระดับ ปริญญาตรีเพียง

สาขาเดียว คือ สาขานิติศาสตร โดยผูสําเร็จการศึกษาไดรับปริญญาธรรมศาสตรบัณฑิต ใชอักษรยอวา ธ.บ. เดิมหลักสูตรธรรมศาสตร

บัณฑิต มีวิชาเศรษฐศาสตรอยู 2 วิชา คือ เศรษฐศาสตร และลัทธิเศรษฐกิจ ซึ่งมี ศาสตราจารย ดร.เดือน บุนนาค เปนผูสอนวิชา

เศรษฐศาสตรเปนทานแรก

ตอมามหาวิทยาลัยธรรมศาสตรไดยกเลิกระบบการสอนแบบธรรมศาสตรบัณฑิต และเปลี่ยนโครงสรางเปนคณะตาง ๆ โดย

เมื่อวันท่ี 14 มิถุนายน พ.ศ. 2492 ไดประกาศจัดตั้งคณะ จํานวน 4 คณะ ประกอบดวย คณะนิติศาสตร คณะพาณิชยศาสตรและการ

บัญชี คณะรัฐศาสตร และคณะเศรษฐศาสตร

คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปนคณะเศรษฐศาสตรแหงแรกของประเทศไทย โดยมี ศาสตราจารย ดร.เดือน

บุนนาค เปนคณบดีทานแรก และตอมาในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรจึงไดแตงตั้งศาสตราจารยขุนประเสริฐ

ศุภมาตรา เปนคณบดีคณะเศรษฐศาสตรแทน

ป พ.ศ. 2507 ถือวาเปนปสําคัญของคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และวงการเศรษฐศาสตรของไทย เน่ือง

เพราะเปนปท่ีศาสตราจารย ดร.ปวย อ๊ึงภากรณ ผูวาการธนาคารแหงประเทศไทย เขารับตําแหนงคณบดีคณะเศรษฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ซึ่งเมื่ออาจารยปวยรับตําแหนงแลว ภารกิจสําคัญประการแรก คือ การสรางอาจารยประจํา โดยทานไดขอ

อัตราตําแหนงอาจารยประจําเพ่ิม มีการติดตอหาทุนศึกษาตอตางประเทศใหแกอาจารยรุนใหม รวมถึงหาอาจารยชาวตางประเทศมา

ชวยฟนฟูความรูใหแกอาจารยท่ีจะสงไปศึกษาตอตางประเทศ และชวยวางหลักสูตรใหทันสมัยตามแบบอยางมหาวิทยาลัยใน

สหรัฐอเมริกา โดยไดรับความชวยเหลือจากมูลนิธิร็อกก้ีเฟลเลอร จึงสงผลใหในระยะเวลาเพียง 6 ปคณะเศรษฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มีจํานวนอาจารยประจําเพ่ิมข้ึนจาก 6 คนเปน 59 คน

ป พ.ศ. 2508 คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ไดเปดหลักสูตรปริญญาตรี เศรษฐศาสตร ภาคค่ํา และในป พ.ศ.

2509 ไดมีการประกาศใชหลักสูตรปริญญาตรีเศรษฐศาสตรท่ีไดมาตรฐานหลักสูตรแรกของประเทศไทย ซึ่งประกอบดวย 4 สาขาวิชา

คือ ทฤษฏีเศรษฐศาสตร สถิติเศรษฐศาสตร การเงินการธนาคาร และเศรษฐศาสตรประยุกต รวมท้ังมีการสอนบางวิชาเปนภาษาอังกฤษ

สําหรับนักศึกษาช้ันปท่ี 2 ประมาณ 20 คนตอรุนท่ีไดรับการคัดเลือกจากนักศึกษาปกติ โดยอาจารยผูสอนเปน Visiting Professor จาก

ความชวยเหลือของมูลนิธิร็อกก้ีเฟลเลอร ซึ่งนักศึกษากลุมน้ีจะไดศึกษาเปนภาษาอังกฤษ และไดมีจํานวนวิชาท่ีศึกษาเปนภาษาอังกฤษ

เพ่ิมข้ึนทุกปจนถึงปท่ี 4 จะศึกษาเปนภาษาอังกฤษแทบทุกวิชา

ในป พ.ศ. 2515 คณะเศรษฐศาสตรไดเปดสอนหลักสูตรปริญญาโทเศรษฐศาสตร ภาษาอังกฤษ ซึ่งถือไดวาเปนหลักสูตร

นานาชาติหลักสูตรแรกในประเทศไทย มีการเรียนการสอนเปนภาษาอังกฤษ และเรียนเต็มเวลา โดยนักศึกษาไดรับทุนการศึกษาทุกคน

ตอมาในป พ.ศ. 2525 คณะเศรษฐศาสตรไดเปดสอนโครงการปริญญาตรี ภาคภาษาอังกฤษ รุนท่ี 1 โดยสอนวิชาหลัก

เศรษฐศาสตร จํานวน 8 วิชาเปนภาษาอังกฤษ และในป พ.ศ. 2536 คณะเศรษฐศาสตรไดเปดโครงการปริญญาตรี หลักสูตรนานาชาติ

โดยสอนเปนภาษาอังกฤษทุกวิชา และเปดสอนหลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชาเศรษฐศาสตรธุรกิจ ในป พ.ศ. 2540 รวมท้ังยังไดเปดสอน

Page 11: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

4

หลักสูตรปริญญาเอกเศรษฐศาสตร ภาษาอังกฤษดวย และในปการศึกษา 2554 คณะเศรษฐศาสตรรวมกับคณะนิติศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปดรับนักศึกษารุนแรกเขาศึกษาในหลักสตูรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติเศรษฐศาสตรการคาระหวาง

ประเทศ

1.2 ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค และกลยุทธ

คณะเศรษฐศาสตรไดนําปรัชญาการศึกษา วิสัยทัศน พันธกิจและแผนกลยุทธเพ่ือการพัฒนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตรมาจัดทํา

แผนกลยุทธ ท่ีสอดคลองกับนโยบายของมหาวิทยาลัย เปนแผนท่ีเ ช่ือมโยงกับปรัชญาหรือปณิธานและพระราชบัญญัติ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร โดยดําเนินการแปลงแผนกลยุทธเปนแผนปฏิบัติการประจําปครบ 4 พันธกิจ คือ ดานการเรียนการสอน การ

วิจัย การบริการทางวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒธรรม ซึ่งไดกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตร ดังน้ี

วิสัยทัศน

เปนสถาบันการศึกษาและวิจัยดานเศรษฐศาสตรช้ันนําในภูมิภาคเอเซีย ผลิตบัณฑิตท่ีมีความรูคูคุณธรรม สามารถช้ีนําสังคม

เพ่ือใหมีเศรษฐกิจท่ีมีประสิทธิภาพและความเปนธรรม

พันธกิจ

1. พัฒนาการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา

2. สงเสริมใหมีการนํางานวิจัยมาเช่ือมโยงกับงานสอนทุกระดับ

3. สรางความเช่ียวชาญเฉพาะดานเศรษฐกิจไทยและเอเซีย

4. เผยแพรงานวิจัยและมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายสาธารณะ

5. ใหบริการวิชาการดานเศรษฐศาสตร และสรางความรวมมือทางวิชาการกับสถาบันท้ังในและตางประเทศ

6. สรางความเปนเลิศในการบริการ โดยมุงเนนประสิทธิภาพของบุคลากร และการสรางเครือขายกับศิษยเกา

ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค และกลยุทธ

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 1 ผลิตบัณฑิตท่ีสอดคลองกับความตองการของประเทศและภูมิภาคเอเชีย กระจายโอกาสทาง

การศึกษาใหแกนักศึกษาอยางท่ัวถึง

เปาประสงค 1. ผลิตบัณฑิตท่ีเปนเลิศ มีคุณธรรมคุณภาพ สอดคลองกับความตองการของประเทศและภูมิภาคเอเซีย

กลยุทธ 1. ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรทุกระดับ

2. ปรับการเรียนการสอนใหมีการคนควาดวยตนเอง

3. พัฒนาตํารา / เน้ือหาวิชา

4. จัดการเรียนการสอนบางวิชาใหนักศึกษาระดับปริญญาตรีภาคภาษาไทยไดเรียนเปนภาษาอังกฤษ

5. สนับสนุนใหมีการเผยแพรผลงานวิทยานิพนธ สาระนิพนธ และงานวิจัยนักศึกษา

6. พัฒนา / ปรับปรุงปจจัยสนับสนุนการเรียนการสอนใหไดมาตรฐาน ไดแก อาคาร หองเรียน อุปกรณ

การเรียนการสอน ครุภัณฑหองเรียน ทุนการศึกษาบุคลากร สนับสนุนระดับ IT และหองสมุด

7. พัฒนาผูสอน

8. สงเสริมกิจกรรมนอกหลักสูตร การฝกงาน และประสบการณการมีจิตอาสา

9. สนับสนุน/สเสริมการแลกเปลี่ยน การอบรมการสัมมนา สําหรับนักศึกษา

10. การจัดหาทุนการศึกษาสําหรับนักศึกษาเรียนดีและขาดแคน

11. พัฒนาระบบการรับเขาและการคัดเลือกนักศึกษารวมกับอาจารย

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 2 มุงสรางงานวิจัยและงานสรางสรรคท่ีไดมาตรฐานสากล สามารถเช่ือมโยงและสรางความรวมมือ

กับตางประเทศท่ีนํามาสูการแกไขปญหาและช้ีนําสังคม

Page 12: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

5

เปาประสงค 1. มุงสรางงานวิจัยคุณภาาพท่ีนํามาสูการเผยแพรอันเปนประโยชนและการแกปญหาสามารถช้ีนําสังคม

กลยุทธ 1. จัดตั้งกองทุนวิจัยเพ่ือเพ่ิมคุณภาพและผลงานวิจัย

2. สงเสริมและเผยแพรผลงานวิจัย บทความ วารสาร

3. การจัดสัมมนาเพ่ือเผยแพรผลงานวิจัย (Symposium)

4. พัฒนาองคความรูจากงานวิจัยไปสูการเรียนการสอน

5. สรางศูนยขอมูลเพ่ือการวิจัย

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 3 การบริการสังคมท่ีใหบริการวิชาการจากความรูและความเช่ียวชาญของคณะเศรษฐศาสตรท่ี

นําไปสูการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชน

เปาประสงค 1. การใหบริการทางดานวิชาการ ความรูแกสังคม

2. สามารถเรียนรูไดตลอดชีวิตของประชาชน

กลยุทธ 1. การจัดอบรมใหกลุมเปาหมายเดิม และเปาหมายใหม

2. พัฒนาหลักสูตรอบรมท่ีทันสมัย และบูรณาการกับสาขาอ่ืนไดตามความสนใจของสังคมไดตามความ

สนใจของสังคมไดตามความสนใจของสังคม

3. การสรางเครือขายทางวิชาการกับหนวยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

4. การสนับสนุนการนําเสนอผลงาน รวมถึงการจัดสัมมนาเปนประจําทุกเดือน

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 4 สงเสริมและพัฒนาการใหบริการเทคโนโลยีและสารสนเทศในดานการเรียนการสอน การวิจัย

การบริการสังคม และสนับสนุนการบริหารองคกรใหเปนเลิศ

และ

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 5 มุงพัฒนาองคกรใหเปนเลิศในการบริหารโดยยึดหลักธรรมภิบาลในการจัดการ

เปาประสงค 1. สงเสริม พัฒนาบุคลากรและการบริหารภายในและการสรางเครือขาย ภายในและภายนอก

มหาวิทยาลัย

กลยุทธ 1. สงเสริมและพัฒนาบุคลากรสายวิชาการ สายสนับสนุนวิชาการ

2. พัฒนาระบบ/กลไกการบริหารจัดการท่ีดีโดยเนนการจัดสรรงบประมาณตามผลงาน นําศักยภาพและ

ทรัพยากรท่ีมีอยูมาใชประโยชนอยางเต็มท่ีเพ่ือพัฒนากระบวนการทํางานใหมีประสิทธิภาพ

3. ผลักดันการเปนองคกรท่ีมีความผาสุขในการปฏิบัติงานอยางมืออาชีพ พรอมกับมีผลงานท่ีมี

คุณภาพสูง

4. พัฒนาระบบฐานขอมูลและโครงสรางพ้ืนฐานดานสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการ

1.3 โครงสรางองคกร และโครงสรางการบริหาร

ในปการศึกษา 2556 คณะเศรษฐศาสตรมีโครงสรางการบริหารท่ีมีคณบดี รองคณบดี 2 ตําแหนง ซึ่งประกอบดวย รองคณบดี

ฝายวิชาการ และรองคณบดีฝายการนักศึกษา ซึ่งรองคณบดีอาจทําหนาท่ีเปนผูอํานวยการคณะทํางาน หรือประธานคณะกรรมการ 1

ชุดโดยตําแหนง

คณะทํางานแบงเปนสองกลุม ดังน้ี

กลุมท่ีหนึ่ง ดําเนินการโดยอยูภายใตการกํากับ ดูแล และประสานงานของคณบดี และรองคณบดีฝายตาง ๆ ดังน้ี

คณบดี

(1) คณะทํางานสัมมนาและเผยแพร

(2) คณะทํางานวิเทศสัมพันธ

Page 13: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

6

(3) คณะกรรมการวารสาร

(3.1) คณะกรรมการวารสารเศรษฐศาสตรธรรมศาสตร

(3.2) คณะกรรมการวารสารเศรษฐสาร

(4) คณะทํางานศูนยบริการวิชาการ

รองคณบดีฝายบริหาร โดยรองคณบดีฝายวิชาการไดรับมอบหมายทําหนาท่ีแทน

(1) คณะทํางานดานการเงินและทรัพยสิน

รองคณบดีฝายวิชาการ

(1) คณะทํางานฝายวิชาการ

(2) คณะทํางานโครงการบัณฑิตศึกษา

(3) คณะทํางานโครงการปริญญาตรี ภาคภาษาไทย

(4) คณะทํางานโครงการปริญญาตรี ภาคภาษาอังกฤษ

(5) คณะทํางานโครงการเศรษฐศาสตรธุรกิจ

(6) คณะทํางานโครงการนิติเศรษฐศาสตรการคาระหวางประเทศ

(7) คณะทํางานประกันคุณภาพการศึกษา (รวม)

หมายเหตุ คณะทํางานชุดท่ี (4) (5) และ (6) เปนโครงการเลี้ยงตัวเองอยูในกํากับของคณะกรรมการ

อํานวยการโครงการบริการสังคม แตจะประสานงานกับรองคณบดีฝายวิชาการเฉพาะเรื่องวิชาการเทาน้ัน

สําหรับคณะทํางานชุดท่ี (6) คณะกรรมการบริหารโครงการนิติเศรษฐศาสตรการคาระหวางประเทศ ซึ่ง

เปนคณะกรรมการบริหารรวมระหวางคณะนิติศาสตร และคณะเศรษฐศาสตร

รองคณบดีฝายวางแผนและพัฒนา โดยรองคณบดีฝายวิชาการไดรับมอบหมายทําหนาท่ีแทน

(1) คณะทํางานฝายวางแผนและพัฒนา

(2) คณะทํางานฝายงบประมาณ

(3) คณะทํางานคอมพิวเตอร

(4) คณะทํางานประกันคุณภาพการศึกษา (รวม)

รองคณบดีฝายการนักศึกษา

(1) คณะทํางานฝายการนักศึกษา

กลุมท่ีสอง เปนโครงการเลี้ยงตัวเองท่ีอยูภายใตการกํากับ ดูแลของคณะกรรมการอํานวยการโครงการบริการสังคม ไดแก

โครงการปริญญาตรี ภาคภาษาอังกฤษ โครงการเศรษฐศาสตรธุรกิจ โครงการนิติเศรษฐศาสตรการคาระหวางประเทศ และศูนยบริการ

วิชาการเศรษฐศาสตร

นอกจากน้ี ยังมีคณะกรรมการเฉพาะกิจตาง ๆ เชน คณะกรรมการพิจารณาความดีความชอบอาจารย คณะกรรมการพิจารณา

กลั่นกรองรับบุคคลเขาทํางานเปนอาจารย คณะกรรมการปรับปรุงโครงสรางการบริหารงานของคณะเศรษฐศาสตร คณะกรรมการ

ปรับปรุงระเบียบวาดวยหลักเกณฑและอัตราการจายคาตอบแทนตาง ๆ ของคณะเศรษฐศาสตร คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุง

หลักเกณฑความดีความชอบอาจารย คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงหลักสูตรปริญญา คณะกรรมการประเมินผลการทดลองปฏิบัติ

หนาท่ีราชการของอาจารย เปนตน ซึ่งคณะกรรมการเหลาน้ี อยูภายใตการกํากับ ดูแลของคณบดีโดยตรง

ในการบริหารงานของคณะเศรษฐศาสตร จะมีคณะกรรมการประจําคณะ ตาม พ.ร.บ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มาตรา 34 มี

อํานาจหนาท่ีโดยสรุป ดังน้ี วางนโยบาย และแผนงานใหสอดคลองกับนโยบายของมหาวิทยาลัย วางระเบียบ และออกขอบังคับทางการ

ศึกษาของคณะเศรษฐศาสตร ใหคําปรึกษา และใหความเห็นแกคณบดี พิจารณางบประมาณของคณะเศรษฐศาสตร เพ่ือเสนอตอสภา

มหาวิทยาลัย โครงสรางกรรมการประจําคณะเศรษฐศาสตร ประกอบดวย กรรมการโดยตําแหนง จํานวน 5 ทาน กรรมการท่ีไดจากการ

เลือกตั้งจากคณาจารยประจํา จํานวน 4 ทาน และกรรมการท่ีไดจากการเลือกตั้งจากผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 6 ทาน

Page 14: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

7

คณะเศรษฐศาสตรไดดําเนินการแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาคณะเพ่ือกําหนดผูรับผิดชอบ ท้ังระดับบริหาร

และระดับปฏิบัติการ และมีการกําหนดหนวย/โครงการผูใหขอมูลของแตละตัวบงช้ีคุณภาพ เพ่ือใหการดําเนินการประกันคุณภาพ

การศึกษาคณะเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

1.4 รายชื่อผูบริหาร กรรมการบริหาร

ผูบริหาร

1. รศ.ดร.ภาณุพงศ นิธิประภา คณบดีคณะเศรษฐศาสตร (1 เม.ย. 54 – 31 มี.ค. 57)

ศ.ดร.สกนธ วรัญูวัฒนา คณบดีคณะเศรษฐศาสตร (1 เม.ย. 57 – ปจจุบัน)

2. อ.ดร.ศุภชัย ศรีสุชาติ รองคณบดีฝายบริหาร (1 เม.ย. 57 – ปจจุบัน)

3. ผศ.ดร.สายพิณ ชินตระกูลชัย รองคณบดีฝายวิชาการ (1 เม.ย. 54 – 31 มี.ค. 57)

ผศ.ดร.ดวงมณี เลาวกุล รองคณบดีฝายวิชาการ (1 เม.ย. 57 – ปจจุบัน)

4. อ.ดร.พรเทพ เบญญาอภิกุล รองคณบดีฝายวางแผนและพัฒนา (1 เม.ย. 57 – ปจจุบัน)

5. อ.ณพล สุกใส รองคณบดีฝายการนักศึกษา (1 ต.ค. 55 – 31 มี.ค. 57)

ผศ.ดร.กิริยา กุลกลการ รองคณบดีฝายการนักศึกษา (1 เม.ย. 57 – ปจจุบัน)

กรรมการบริหาร

วันท่ี 1 เมษายน 2554 – 31 มนีาคม 2557

1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สายพิณ ชินตระกูลชัย ผูอํานวยการคณะทํางานฝายวิชาการ

รักษาการผูอํานวยการคณะทํางานวิเทศสัมพันธ

2. อาจารยณพล สุกใส ผูอํานวยการคณะทํางานฝายการนักศึกษา

3. อาจารย ดร.พิสุทธ์ิ กุลธนวิทย ผูอํานวยการคณะทํางานโครงการบัณฑิตศึกษา

4. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประชา คุณธรรมดี ผูอํานวยการคณะทํางานโครงการปริญญาตรี ภาคภาษาไทย

5. อาจารย ดร.พงษธร วราศัย ผูอํานวยการคณะทํางานโครงการเศรษฐศาสตรบัณฑิต

ภาคภาษาอังกฤษ

6. อาจารย ดร.ศุภชัย ศรีสุชาติ ผูอํานวยการคณะทํางานโครงการเศรษฐศาสตรธุรกิจ

7. รองศาสตราจารย ดร.ปราการ อาภาศิลป รองผูอํานวยการโครงการนิติเศรษฐศาสตรการคา

ระหวางประเทศ (1 ตุลาคม 2556 – 31 มีนาคม 2557)

8. ผูชวยศาสตราจารย ดร.นงนุช สุนทรชวกานต ผูอํานวยการคณะทํางานศูนยบริการวิชาการเศรษฐศาสตร

9. อาจารย ดร.ธีรวุฒิ ศรีพินิจ ผูอํานวยการคณะทํางานสัมมนาและเผยแพร

10. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อาชนัน เกาะไพบูลย บรรณาธิการวารสารเศรษฐศาสตรธรรมศาสตร

11. รองศาสตราจารยภราดร ปรีดาศักดิ์ บรรณาธิการเศรษฐสาร

12. อาจารย ดร.เฉลิมพงษ คงเจริญ ผูแทนอาจารย

13. นายสมชัย โชติมาโนช รักษาการในตําแหนงเลขานุการคณะเศรษฐศาสตร

14. นางกนกวรรณ เจริญผาสขุ ผูชวยเลขานุการคณะ

15. นางสาวศรีวรรณ ศรีสวัสดิ์ รักษาการในตําแหนงหัวหนางานบริหารและธุรการ

16. นางวันเพ็ญ เนตรรุง รักษาการในตําแหนงหัวหนางานบริการการศึกษาและ

กิจการนักศึกษา

Page 15: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

8

17. นางพรรณพิไล ดิษฐคําเริง รักษาการผูทําหนาท่ีหัวหนางานวางแผนและงบประมาณ

18. นางดาราวรรณ รักษสันติกุล รักษาการในตําแหนงหัวหนางานบริการวิชาการและวิเทศสัมพันธ

19. นางจันทรเพ็ญ จรัสพนาวสาน รักษาการในตําแหนงหัวหนางานการเงินและบัญชี

วันท่ี 1 เมษายน 2557 – ปจจุบัน

1. อาจารย ดร.ศุภชัย ศรีสุชาติ ผูอํานวยการคณะทํางานดานการเงินและทรัพยสิน

2. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ดวงมณี เลาวกุล ผูอํานวยการคณะทํางานฝายวิชาการ

3. ผูชวยศาสตราจารย ดร.กิริยา กุลกลการ ผูอํานวยการคณะทํางานฝายการนักศึกษา

4. อาจารย ดร.พรเทพ เบญญาอภิกุล ผูอํานวยการคณะทํางานฝายวางแผนและพัฒนาและฝายงบประมาณ

ผูอํานวยการคณะทํางานประกันคุณภาพการศึกษา

5. อาจารย ดร.อนิณ อรุณเรืองสวัสดิ์ ผูอํานวยการคณะทํางานโครงการบัณฑิตศึกษา

6. อาจารย ดร.เฉลิมพงษ คงเจริญ ผูอํานวยการคณะทํางานโครงการปริญญาตรี ภาคภาษาไทย

7. อาจารย ดร.ภาวิน ศิริประภานุกูล ผูอํานวยการคณะทํางานโครงการเศรษฐศาสตรบัณฑิต ภาคภาษาอังกฤษ

8. ผูชวยศาสตราจารย ดร.พีระ เจริญพร ผูอํานวยการคณะทํางานโครงการเศรษฐศาสตรธุรกิจ

9. รองศาสตราจารย ดร.ปราการ อาภาศิลป ผูอํานวยการโครงการนิติเศรษฐศาสตรการคาระหวางประเทศ

10. รองศาสตราจารย ดร.ชนินทร มีโภคี ผูอํานวยการคณะทํางานศูนยบริการวิชาการเศรษฐศาสตร

11. อาจารย ดร.ธร ปติดล ผูอํานวยการคณะทํางานสัมมนา เผยแพร จัดการองคความรู

และสื่อสารสาธารณะ

12. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อาชนัน เกาะไพบูลย บรรณาธิการวารสารเศรษฐศาสตรธรรมศาสตร

13. รองศาสตราจารยภราดร ปรีดาศักดิ์ บรรณาธิการเศรษฐสาร

14. ผูชวยศาสตราจารยสิทธิกร นิพภยะ ผูแทนอาจารย

15. นายสมชัย โชติมาโนช รักษาการในตําแหนงเลขานุการคณะเศรษฐศาสตร

16. นางกนกวรรณ เจริญผาสขุ ผูชวยเลขานุการคณะ

17. นางสาวศรีวรรณ ศรีสวัสดิ์ รักษาการในตําแหนงหัวหนางานบริหารและธุรการ

18. นางวันเพ็ญ เนตรรุง รักษาการในตําแหนงหัวหนางานบริการการศึกษาและ

กิจการนักศึกษา

19. นางพรรณพิไล ดิษฐคําเริง รักษาการผูทําหนาท่ีหัวหนางานวางแผนและงบประมาณ

20. นางดาราวรรณ รักษสันติกุล รักษาการในตําแหนงหัวหนางานบริการวิชาการและวิเทศสัมพันธ

21. นางจันทรเพ็ญ จรัสพนาวสาน รักษาการในตําแหนงหัวหนางานการเงินและบัญชี

Page 16: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

9

1.5 หลักสูตรและสาขาวิชาท่ีเปดสอน

ชื่อหลักสูตร ปท่ีประกาศใช ภาษาท่ีใชสอน

1. หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต 2556 ไทย

2. หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) 2556 อังกฤษ

3. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรภาษาไทย) 2556 ไทย

4. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) 2556 อังกฤษ

5. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตรธุรกิจ 2554 ไทย

6. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติเศรษฐศาสตรการคาระหวางประเทศ 2553 ไทย

7. หลักสูตรเศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) 2556 อังกฤษ

1.6 จํานวนนักศึกษา

ประเภทของนักศึกษา จํานวน (คน) รอยละ

1. หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต 1,246 58.53

2. หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) 509 23.91

3. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรภาษาไทย) 51 2.40

4. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) 45 2.11

5. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตรธุรกิจ 152 7.14

6. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติเศรษฐศาสตรการคาระหวางประเทศ 120 5.64

7. หลักสูตรเศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) 6 0.28

รวมท้ังหมด 2,129 100.00

1.7 จํานวนอาจารยและบุคลากร

อาจารยประจํา จํานวน 75 คน

อาจารยประจํา จํานวน (คน) รอยละ

1. จําแนกตามคณุวุฒิการศึกษา

- ปริญญาเอก

- ปริญญาโท

- ปริญญาตร ี

55

18

2

73.33

24.00

2.67

2. จําแนกตามตําแหนงทางวิชาการ

- ศาสตราจารย

- รองศาสตราจารย

- ผูชวยศาสตราจารย

- อาจารย

2

20

14

39

2.67

26.66

18.67

52.00

Page 17: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

10

บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ จํานวน 77 คน

บุคลากรสายสนบัสนนุ จํานวน (คน) รอยละ

1. ขาราชการ 20 25.97

2. พนักงานมหาวิทยาลัย 12 15.59

3. พนักงานเงินรายไดคณะ 31 40.26

4. ลูกจางประจําหรือเทียบเทา 14 18.18

1.8 ขอมูลพ้ืนฐานโดยยอเกี่ยวกับงบประมาณ และอาคารสถานท่ี

งบประมาณท่ีไดรับ

ประเภทงบประมาณ ไดรับจัดสรร (บาท) รอยละ

1. งบประมาณแผนดิน 52,683,600.00 32.00

2. งบประมาณรายจายจากรายไดคณะเศรษฐศาสตร 45,730,300.00 27.78

3. งบประมาณกองทุนคาธรรมเนียมนักศึกษา 9,451,710.00 5.74

4. งบประมาณโครงการบริการสังคม

- โครงการเศรษฐศาสตรบัณฑิต ภาคภาษาอังกฤษ

- โครงการเศรษฐศาสตรธุรกิจ

- ศูนยบริการวิชาการเศรษฐศาสตร

- โครงการนิติเศรษฐศาสตรการคาระหวางประเทศ

34,514,649.00

9,687,446.00

3,716,310.90

8,859,352.00

20.96

5.88

2.26

5.38

รวมท้ังหมด 164,643,367.90 100.00

อาคารสถานท่ี

หองเรียนและหองประชุม จํานวนหอง ความจุรวม (คน)

1. ทาพระจันทร

- หองเรียน

- หองประชุม

9

5

600

130

2. ศูนยรังสิต

- หองเรียน

- หองประชุม

10

6

664

125

รวมท้ังหมด 30 1,519

1.9 เอกลักษณหรือวัฒนธรรมของหนวยงาน

เอกลักษณของคณะเศรษฐศาสตร คือ “วิเคราะหเปน เนนคุณภาพ”

“วิเคราะหเปน” หมายถึง (คณะเศรษฐศาสตร)จัดการเรยีนการสอนท่ีสงเสริมใหนักศึกษาแสวงหาความรู โดยการคิด วิเคราะห

สังเคราะห และสามารถพัฒนาความรูเพ่ือประยุกตใชกับสภาพท่ีเกิดข้ึนจริงได รวมท้ังการสงเสริมใหบุคลากรมีการวิเคราะหในการ

ปฏิบัติงาน

“เนนคุณภาพ” หมายถึง (คณะเศรษฐศาสตร)สนับสนุนและสงเสริมการจัดโครงการหรือกิจกรรมพัฒนานักศึกษา เพ่ือพัฒนา

ศักยภาพของนักศึกษา และนําทักษะความรูไปใชงานไดอยางมีคุณภาพ รวมท้ังการเผยแพรงานวิชาการและงานวิจัยสูสังคม

Page 18: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

11

1.10 ผลการปรับปรุงตามขอเสนอแนะของผลการประเมินปท่ีผานมา

องคประกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ

จุดท่ีควรพัฒนา/ขอเสนอแนะ การปรับปรุง

จุดท่ีควรพัฒนา

1. ควรมีการจัดทําแผนอยางมีระบบและใหเปนไปตามรอบ

ปงบประมาณ

2. ควรมีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ีของแผน

กลยุทธและรายงานตอกรรมการประจําคณะตามกรอบเวลาท่ีกําหนด

1. คณะไดจัดทําแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการ

ประจําปตามรอบปงบประมาณ ครบ 4 พันธกิจ

2. ประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ีของแผน

กลยุทธ และรายงานตอคณะกรรมการประจําคณะ

ขอเสนอแนะ

1. ควรจัดระบบและกลไกเพ่ือเพ่ิมการมีสวนรวมของ

บุคลากรในสถาบันทุกระดับในการจัดทําแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติ

ราชการประจําปของสถาบัน

2. ควรจัดระบบและกลไกในการถายทอดแผนฯ ท่ีทําให

บุคลากรทุกสายงานและทุกระดับเกิดความเขาใจในแผนฯ ของคณะ

อยางแทจริง

1. คณะไดประชุมผูบริหารและบุคลากรสาย

สนับสนุนเพ่ือใหขอมูลการจัดทําแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติ

การ เพ่ือถายทอดขอมูลและทําความเขาใจในการดําเนินการ

ตามแผน

องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต

จุดท่ีควรพัฒนา/ขอเสนอแนะ การปรับปรุง

จุดท่ีควรพัฒนา

1. ควรมีการสรางความเขาใจเรื่องการดําเนินงานตามเกณฑ

มาตรฐานหลักสูตรและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

แหงชาติ เน่ืองจากในปการศึกษา 2556 จะตองมีการประเมินผลตาม

ตัวบงช้ีผลการดําเนินงานฯ

2. ควรมีการจัดทําแผนบริหารและพัฒนาอาจารย/บุคลากร

สายสนับสนุนใหเปนรูปธรรมสามารถประเมินผลได

3. ควรสรางระบบการติดตามใหนําความรูและทักษะท่ีได

จากการพัฒนามาใชในการเรียนการสอน และการวัดผลการเรียนรูของ

นักศึกษาตลอดจนการปฏิบัติงานท่ีเก่ียวของ

4. การจัดโครงการหรือกิจกรรมเพ่ือสงเสริมการพัฒนา

พฤติกรรมดานคุณธรรมจริยธรรม ควรระบุตัวบงช้ีและเปาหมายวัด

ความสําเร็จท่ีชัดเจน

5. ควรเชิญผูมีประสบการณทางวิชาการและวิชาชีพจาก

ภายนอกเขามามีสวนรวมในกระบวนการเรียนการสอนใหมากข้ึน

6. ควรนําผลงานวิจัยมาประยุกตสอนในช้ันเรียนใหมากข้ึน

1. คณะไดนําเขาท่ีประชุมคณาจารยโดยจัดเปน

วาระการประชุมการรายงานและผลการดําเนินการ

2. คณะไดจัดทําแผนพัฒนาบุคลากร ป 2556 มี

การประเมิน เพ่ือนําผลมาปรับปรุงในป 2557

3. คณะไดใชระบบประเมินฐานขอมูลแบบOnline

และมีการพัฒนาระบบการเรียนการสอนในรูปแบบ excel

ในการจัดทํา มคอ.

4. คณะมีแผนพัฒนากิจกรรมนักศึกษา ประจําป

การศึกษา 2556 กําหนดกรอบบรรลุเปาหมายในการผลิต

บัณฑิตของคณะเศรษฐศาสตร

5. การบริหารการจัดการเรียนการสอนวิชาสัมมนา

กําหนดใหมีการนําเสนอบทความ (BSP) กําหนดใหมี

บุคคลภายนอกเขารวมฟงและมีการอภิปรายบทความและมี

การวิเคราะหใหคําแนะนําท้ังในระดับปริญญาตรีและระดับ

บัณฑิตศึกษา

6. คณะกําหนดใหคณาจารยสงเคาโครงการสอน

ในรูปแบบ มคอ.3 ประกอบดวย 7 หมวด ซึ่งจะมีแผนการ

สอนและการประเมินผล การใชเอกสารและหรืองานวิจัย

Page 19: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

12

ประกอบการสอน เปนตน

องคประกอบท่ี 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา

จุดท่ีควรพัฒนา/ขอเสนอแนะ การปรับปรุง

จุดท่ีควรพัฒนา

1. การเขียนรายงานการประเมินผลความสําเร็จตามแผนการ

จัดกิจกรรม ควรเขียนเปนสรุปเปนรายวัตถุประสงคตามแผนท่ีไดวางไว

1. ฝายการนักศึกษาของคณะไดกําหนดแนวทางให

นักศึกษานําผลการดําเนินงานตามแผน ไปใชเปนแนวทางใน

การนําเสนอโครงการครั้งตอไป

องคประกอบท่ี 4 การวิจัย

จุดท่ีควรพัฒนา/ขอเสนอแนะ การปรับปรุง

จุดท่ีควรพัฒนา

1. วิธีการเขียนผลการดําเนินการกับการจัดเอกสารอางอิงไม

สอดคลองกัน

2. ควรมีการประชุมวิชาการระดับชาติ ระดับนานาชาติ

1. คณะไดปรับวิธีการเขียนผลการดําเนินงานและ

เอกสารอางอิงใหมีความสอดคลองแลว

2. คณะเขารวมเปนเจาภาพการประชุมวิชาการ

ระดับชาติของนักเศรษฐศาสตร 6 สถาบัน ซึ่งจัดตอเน่ืองเปน

ครั้งท่ี 8 และในป 2557 จะเปนการจัดครั้งท่ี 9 และคณะได

จัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติ Asia Pacific

Economics Association ในปการศึกษา 2556

ขอเสนอแนะ

1. ควรมีการพัฒนานักวิจัยรุนใหม เชน การจัดโครงการ

อบรม ทุนวิจัย เปนตน

2. หลักฐานในการประเมินคุณภาพควรจะนําเสนอใหตรง

ประเด็น

1. คณาจารยของคณะเขารวมการอบรมโครงการ

พัฒนานักวิจัยรุนใหม ซึ่งจัดโดยสํานักงานบริหารการวิจัย

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2. ปรับหลักฐานในการประเมินคุณภาพใหตรง

ประเด็นกับการนําเสนอแลว

องคประกอบท่ี 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม

จุดท่ีควรพัฒนา/ขอเสนอแนะ การปรับปรุง

จุดท่ีควรพัฒนา

1. ควรมีการสํารวจความตองการของภาครัฐหรือเอกชนใน

การกําหนดแผนบริการวิชาการ

2. ควรมีการบูรณาการบริการวิชาการกับการเรียนการสอน

ใหชัดเจน และมีการประเมินการบูรณาการ (การรายงานในเรื่องมี

การบูรณาการบริการวิชาการแกสังคมกับการเรียนการสอนหลักฐานไม

ชัดเจน รวมถึงหลักฐานการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณา

การงานบริการวิชาการแกสังคม

1. คณะพิจารณาคําวา “ชุมชน” และ “องคการ

ภายนอก” ในความหมายกวางท่ีสอดคลองกับเปาหมายการ

ผลิตบัณฑิตของคณะ และของมหาวิทยาลัย ดังน้ัน โครงการ

บริการวิชาการตามแผนของคณะจึงมีกลุมเปาหมายท่ีชัดเจน

ท้ังน้ีขอมูลท่ีไดจากผูรับบริการไดนํามากําหนดเปนหัวขอการ

วิจัย ซึ่งมีความสัมพันธกับการวิจัยและการเรียนการสอนของ

คณะ

Page 20: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

13

ขอเสนอแนะ

1. ควรมีการสรางความรวมมือ MOU กับหนวยงานอ่ืน

2. การอางอิงหลักฐานควรจะใหตรงประเด็นท่ีอางอิง

3. ควรมีการจัดทําแผนการบูรณาการการบริการวิชาการกับ

การเรียนการสอนและการวิจัย

1. คณะไดดํา เ นินการสรางความรวมมือกับ

หนวยงานอ่ืนแลว

2. คณะไดปรับเอกสารอางอิงใหตรงประเด็นกับ

การเสนอแลว

3. คณะนําผลการวิจัยท่ีดําเนินการแลวเสร็จไป

ปรับรายละเอียด/เพ่ิมเติมเน้ือหาในเอกสารประกอบการ

สอน

องคประกอบท่ี 6 การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

จุดท่ีควรพัฒนา/ขอเสนอแนะ การปรับปรุง

จุดท่ีควรพัฒนา

1. เอกสารอางอิงไมตรงกับผลการดําเนินงานควรปรับให

สอดคลองกัน

1. ปรับเอกสารอางอิงใหตรงกับผลการดําเนินงาน

ขอเสนอแนะ

1. ควรนําผลการประเมินแผนไปปรับปรุงการดําเนินงานดาน

ทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

1 . คณะดํ า เ นิ นการประ เมิ น กิ จกรรมตาม

แผนปฏิบัติการเพ่ือนําผลการประเมินมาปรับปรุงการ

ดําเนินการแลว

องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ

จุดท่ีควรพัฒนา/ขอเสนอแนะ การปรับปรุง

จุดท่ีควรพัฒนา

1. ควรมีการนําความรูท่ีไดจากการจัดการความรูไปปรับใช

ในการปฏิบัติงานจริง

2. ควรมีการประเมินความพึงพอใจในระบบสารสนเทศเปน

รายระบบ เพราะหากประเมินในภาพรวมจะทําใหไมทราบวาระบบใด

ควรปรับปรุง

3. ควรเพ่ิมระบบสารสนเทศดานการวิจัย

4. การเขียนรายงานการประชุมควรมีวาระท่ีชัดเจน และมี

มติในการพิจารณาในประเด็นตาง ๆ ไมใชรายงาน/สรุปมติการประชุม

แบบสรุปรวม ทําใหไมเห็นรายละเอียดของการมีสวนรวมของบุคลากร

ท่ีเขาประชุม

5. ควรวิเคราะหและระบุความเสี่ยงใหครบทุกดานแลวจึง

เลือกความเสี่ยงสูงสุดมาดําเนินการเขียนแผน

6. ควรนําผลการดํ า เ นินการตามแผนความเสี่ ยงใน

ปงบประมาณท่ีผานมาเขาไปรายงานตอกรรมการประจําคณะ เพ่ือเปน

ขอคิดเห็นสําหรับการวางแผนความเสี่ยงในปงบประมาณตอไป

1. การจัดการความรูตามพันธกิจดานการเรียนการ

สอนและการวิจัย คณาจารยไดนําความรูไปใชประโยชนได

จริงแลวตามรายงานตัวบงช้ี สกอ.7.2

2. คณะดําเนินการประเมินความพึงพอใจในระบบ

สารสนเทศเปนรายระบบแลว

3. คณะมีระบบสารสนเทศดานการวิจัยภายใต

ความรับผิดชอบของศูนยบริการวิชาการเศรษฐศาสตร

4. คณะไดจัดอบรม หัวขอการจัดรายงานการ

ประชุม เพ่ือแกปญหาการเขียนรายงานการประชุมแลว

5. คณะจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงตามพันธกิจ

ของคณะดานการเรียนการสอน และการวิจัยท่ีมีความเสี่ยง

สูง

6. รายงานผลการดําเนินการตามแผนความเสี่ยง

เสนอตอท่ีประชุมคณะกรรมการประจําคณะเพ่ือพิจารณา

Page 21: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

14

องคประกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ

จุดท่ีควรพัฒนา/ขอเสนอแนะ การปรับปรุง

จุดท่ีควรพัฒนา

1. ควรดําเนินการจัดทําแผนกลยุทธทางการเงินของคณะฯ

ใหสอดคลองกับแผนกลยุทธท่ีคณะไดจัดทําข้ึน

1. คณะไดจัดทําแผนกลยุทธทางการเงินของคณะ

แลว

องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

จุดท่ีควรพัฒนา/ขอเสนอแนะ การปรับปรุง

จุดท่ีควรพัฒนา

1. ควรมีการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพใน

ระดับภาควิชาหรือเทียบเทา และดําเนินการใหบุคลากรทุกระดับและ

ทุกสายงานเขาใจตัวบงช้ีและกระบวนการพัฒนาคุณภาพอยางตอเน่ือง

2. ควรมีการพัฒนาระบบสารสนเทศในการประกันคุณภาพ

อยางตอเน่ือง และใหเปนสารสนเทศท่ีไมใชเพียงการรวบรวมขอมูล

1. คณะใหความสําคัญกับการประกันคุณภาพ โดย

มีการจัดทําแผน และกําหนดผูรับผิดชอบแตองคประกอบ

และตัวบงช้ี ซึ่งครอบคลุมทุกพันธกิจของคณะ

2. คณะไดปรับปรุงระบบสานสนเทศในการ

ประกันคุณภาพ เพ่ือใหบุคลากรสามารถเขาถึงและนําขอมูล

ไปใชในการดําเนินงานไดสะดวกข้ึน

องคประกอบท่ี 97 องคประกอบอัตลักษณ (สมศ.)

จุดท่ีควรพัฒนา/ขอเสนอแนะ การปรับปรุง

จุดท่ีควรพัฒนา

1. นักศึกษายังขาดความเขาใจ เขาถึง และมีสวนรวมในอัต

ลักษณของมหาวิทยาลัย และเอกลักษณของคณะอยางแทจริง

2. ควรจะมีการสรางระบบใหนักศึกษาเขามามีสวนรวม และ

จัดประเมินผล

1. คณะจัดกิจกรรมใหนักศึกษานําเสนอผลงาน

วิชาการในโครงการ Best Seminar Papers เพ่ือสะทอน

เอกลักษณของคณะ สวนอัตลักษณของมหาวิทยาลัยน้ัน

คณะสงเสริมใหนักศึกษาจัดกิจกรรมจิตอาสา และบําเพ็ญ

ประโยชนเปนกิจกรรมพัฒนานักศึกษาอยูแลว

2. การประเมินความพึงพอใจและความคิดเห็น

ของนักศึกษาโดยวิธีการใชแบบสอบถามออนไลน

Page 22: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

15

ผลการดําเนนิงาน

และผลการประเมินคุณภาพรายองคประกอบ

Page 23: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

16

Page 24: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

17

บทที่ 2 ผลการดําเนินงาน และผลการประเมินคุณภาพ

2.1 องคประกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนการดําเนินการ

1. ตัวบงชี้ สกอ.1.1 : กระบวนการพัฒนาแผน

2. ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 หรือ 7 ขอ

มีการดําเนินการ

8 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 8 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีการจัดทําแผนกลยุทธท่ีสอดคลองกับนโยบายของสภาสถาบัน โดยการมีสวนรวมของบุคลากรในสถาบัน และไดรับ

ความเห็นชอบจากสภาสถาบัน โดยเปนแผนท่ีเชื่อมโยงกับปรัชญาหรือปณิธานและพระราชบัญญัติสถาบัน ตลอดจนสอดคลอง

กับจุดเนนของกลุมสถาบัน กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2551 – 2565) และแผนพัฒนาการศึกษา

ระดับอุดมศึกษา ฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2551 – 2554)

คณะเศรษฐศาสตรไดดําเนินงานตามแผนกลยุทธ โดยนําปรัชญา

ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจ ท่ีกําหนดข้ึนตั้งแตป 2550 ซึ่งผูบริหารไดพิจารณา

ทบทวนปรับพันธกิจ ในการจัดทําแผนกลยุทธฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555–2559) ให

มีความสอดคลองกับสภาวการณปจจุบัน สอดคลองกับนโยบายและสถาบัน ซึ่ง

ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจําคณะแลวจึงนําแผนกลยุทธมา

จัดทําเปนแผนปฏิบัติราชการพรอมตัวบงช้ี ซึ่งแผนท้ังสองฉบับมีความเช่ือมโยง

กับปรัชญา ปณิธาน พระราชบัญญัติสถาบัน ท้ังน้ี คณะไดนําแผนกลยุทธ และ

แผนปฏิบัติราชการ ท่ีไดทบทวนแลวพรอมตัวบง ช้ี ท่ี กําหนดข้ึนเสนอให

คณะกรรมการประจําคณะพิจารณาใหความเห็นชอบและขอเสนอแนะ เปน

ประจําทุกป (เอกสารอางอิง 1.1 ถึงเอกสารอางอิง 1.4)

อน่ึง สํานักงานเลขานุการคณะในฐานะบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ

ไดจัดเตรียมและจัดทําขอมูลตามตัวบงช้ี และประชุมบุคลากรสายสนับสนุน

วิชาการเพ่ือทําความเขาใจเก่ียวกับแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติราชการประจําป

พรอมกับใหทุกหนวยรายงานขอมูลในแบบฟอรม QA เพ่ือใหผูเก่ียวของนําไป

วิเคราะหได (เอกสารอางอิง 1.5)

1.1 การกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจของ

คณะเศรษฐศาสตร และเอกสารการจัดทํา

แผนปฏิบัติงานการจัดการศึกษาในอนาคตของ

คณะเศรษฐศาสตร (Action Plan) และ

แผนพัฒนาคณะเศรษฐศาสตร 5 ป (พ.ศ. 2552–

2556) (Master Plan)

1.2 รายงานการประชุมคณาจารย ครั้ง

ท่ี 1/2557 (นัดพิเศษ) วาระท่ี 3.2 เปาหมายและ

แผนปฏิบัติงานของผูบริหารชุดใหม (หนา 4)

1.3 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 4/2554 วันท่ี

4 กรกฎาคม 2554 วาระท่ี 3.2 แผนปฏิบัติ

ราชการคณะ 5 ป มีมติใหความเห็นชอบกับแผน

กลยุทธ ฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555–2559)

แผนปฏิบัติราชการประจําป (หนา 8)

1.4 แ ผ น ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ค ณ ะ

เศรษฐศาสตร มธ. ประจําปงบประมาณ พ.ศ.

2556 (หนา 22–25)

1.5 สําเนา e–mail เรื่อง เชิญสาย

สนับสนุนวิชาการประชุม QA ประชุมสํานักงาน

เลขานุการคณะเศรษฐศาสตร

[/] 2. มีการถายทอดแผนกลยุทธระดับสถาบันไปสูทุกหนวยงานภายใน

Page 25: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

18

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

คณบดีคณะเศรษฐศาสตรไดมอบอํานาจการดําเนินงานตามแผนกล

ยุทธ (เอกสารอางอิง 2.1 และเอกสารอางอิง 2.2) รวมถึงภาระงานอ่ืนท่ีเก่ียวของ

กับแผนกลยุทธใหแกรองคณบดีฝายตาง ๆ เพ่ือกําหนดแผนงานใหสอดคลองกับ

แผนกลยุทธ และมีการถายทอดแผนกลยุทธโดยการแจงใหอาจารยและเจาหนาท่ี

ทราบ (เอกสารอางอิง 2.3 และเอกสารอางอิง 2.4)

2.1 คําสั่ งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ร

38/2555 โครงสรางงานบริหารและหนาท่ีรอง

คณบดี ผูชวย คณะทํางาน และผูแทนอาจารย

ของคณะเศรษฐศาสตร และคําสั่งอ่ืนท่ีมีการ

เปลี่ยนแปลง

2.2 คําสั่ งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ร.

133/2555 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการประกัน

คุณภาพการศึกษาคณะเศรษฐศาสตร

2.3 รายงานการประชุมคณาจารย ครั้ง

ท่ี 1/2557 (นัดพิเศษ) วาระท่ี 3.2 เปาหมายและ

แผนปฏิบัติงานของผูบริหารชุดใหม (หนา 4)

2.4 บันทึกคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ศธ

0516.15/– วันท่ี 11 ธันวาคม 2556 เรื่อง แนว

ปฏิบัติการจัดทําและสงคูมือปฏิบัติงาน/ปฏิทิน

การปฏิบัติงานประจําป/รายงานประจําเดือน

[/] 3. มีกระบวนการแปลงแผนกลยุทธเปนแผนปฏิบัติการประจําปครบ 4 พันธกิจ คือ ดานการเรียนการสอน การวิจัย การ

บริการทางวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

คณะเศรษฐศาสตรไดนําแผนกลยุทธมาจัดทําเปนแผนปฏิบัติราชการ

กําหนดกิจกรรม/โครงการ ตามแผนและกําหนดตัวช้ีวัดท่ีกระจายตรงตามความ

ตองการในแตละพันธกิจและองคประกอบท่ีสอดคลองกับแผนกลยุทธและ

แผนปฏิบัติราชการ โดยผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจําคณะแลว

ท้ังน้ี แผนปฏิบัติราชการไดนําจัดสรรเปนงบประมาณรองรับการบริหารงานของ

คณะ (เอกสารอางอิง 3.1 และเอกสารอางอิง 3.2)

3.1 แผนปฏิ บัติราชการคณะ

เศรษฐศาสตร ประจําปงบประมาณ 2556 และ

Template (หนา 11–15)

3.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 1/2557 วันท่ี

6 มกราคม 2557 วาระท่ี 2.1 ผลการดําเนินงาน

ตามตัวบงช้ีของแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติ

ราชการประจําป (หนา 2)

[/] 4. มีตัวบงชี้ของแผนกลยุทธ แผนปฏิบัติการประจําป และคาเปาหมายของแตละตัวบงชี้ เพ่ือวัดความสําเร็จของการ

ดําเนินงานตามแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการประจําป

คณะเศรษฐศาสตรกําหนดตัวบงช้ี กําหนดเปาหมายของตัวบงช้ีใน

แผนปฏิบัติราชการประจําป และโครงการตาง ๆ เพ่ือวัดผลสําเร็จของงานตาม

แผนกลยุทธและแผนปฏิบัติราชการ (ภาคผนวก ข–4 และภาคผนวก ข–5)

ภาคผนวก ข–4 : แบบฟอรมท่ี 1.1–1

ตัวบงช้ีของแผนกลยุทธ

ภาคผนวก ข–5 : แบบฟอรมท่ี 1.1–2

ตัวบงช้ีของแผนปฏิบัติราชการประจําป

[/] 5. มีการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจําปครบ 4 พันธกิจ

คณะเศรษฐศาสตรมีกิจกรรมและโครงการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติ

ราชการประจําป 2556 ท่ีครบถวนตาม 4 พันธกิจ คือ ดานการเรียนการสอน

การวิจัย การบริการทางวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม มีการ

ติดตามการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการครบ 4 พันธกิจ ท้ังน้ี คณะติดตาม

5.1 Template แผนปฏิบัติราชการ

คณะเศรษฐศาสตร ปงบประมาณ 2556 (หนา

11–15)

5.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

Page 26: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

19

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

การดําเนินงานโดยสรุปจากงบประมาณรายจายจริงรายไตรมาส (เอกสารอางอิง

5.1 ถึงเอกสารอางอิง 5.5)

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 1/2556 วาระท่ี

4.2 รายงานรายรับจริงและรายจายจริงของ

งบประมาณรายจายจากรายไดพิเศษคณะฯ

ประจําปงบประมาณ 2556 ไตรมาสท่ี 1 (หนา

2)

5.3 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 3/2556 วาระท่ี

3.2 รายงานรายรับจริงและรายจายจริงของ

งบประมาณจากเงินรายไดพิเศษคณะฯ ประจําป

งบประมาณ 2556 ไตรมาสท่ี 2 (หนา 3)

5.4 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 4/2556 วาระท่ี

2.1 รายงานรายรับจริงและรายจายจริงของ

งบประมาณรายจายจากเงินรายไดพิเศษคณะฯ

ประจําปงบประมาณ 2556 ไตรมาสท่ี 3 (1

เมษายน – 30 มิถุนายน 2556) (หนา 2)

5.5 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 5/2556 วันท่ี

28 ตุลาคม 2556 วาระท่ี 2.1 รายงานรายรับ

จริงและรายจายจริงของงบประมาณรายจายจาก

เงินรายไดพิเศษของคณะฯ ประจําปงบประมาณ

2556 ไตรมาสท่ี 4 (1 ก.ค. – 30 ก.ย. 2556)

(หนา 2)

[/] 6. มีการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ของแผนปฏิบัติการประจําป อยางนอยปละ 2 คร้ัง และรายงานผลตอผูบริหาร

เพ่ือพิจารณา

คณะเศรษฐศาสตรมีการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ีของ

แผนปฏิบัติราชการประจําป ปละ 2 ครั้ง และรายงานผลตอผูบริหารเพ่ือ

พิจารณา นอกจากน้ีไดมีการติดตามการใชงบประมาณ และรายงานตอผูบริหาร

และคณะกรรมการประจําคณะ (โดยใช web mail ในการติดตามทวงถาม

ขอมูล รายงานใหประธานคณะกรรมการแกปญหา และผูบริหารรับทราบ และ

การนํางบการเงินและงบประมาณมาใชติดตามการรายงานผลการดําเนินงานโดย

ออม เปนตน) (ภาคผนวก ข–5 และเอกสารอางอิง 6.1 ถึงเอกสารอางอิง 6.5)

ภาคผนวก ข–5 : แบบฟอรมท่ี 1.1–2

ตัวบงช้ีของแผนปฏิบัติราชการประจําป

และ

6.1 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 3/2556 วาระท่ี

4.3 รายงานผลการปฏิบัติราชการตามตัวช้ีวัด

ก.พ.ร. ปงบประมาณ 2556 (รอบ 6 เดือน)

(หนา 10) และวาระท่ี 4.4 แผนปฏิบัติราชการ

และตัวบงช้ีประจําปงบประมาณ 2556 (หนา

11)

6.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

Page 27: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

20

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

ประจําคณะ ครั้งท่ี 1/2557 วันท่ี 6 มกราคม

2557 วาระท่ี 2.1 ผลการดําเนินงานตามตัวช้ีวัด

ของแผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ

2556 (หนา 2)

[/] 7. มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ของแผนกลยุทธ อยางนอยปละ 1 คร้ัง และรายงานผลตอผูบริหารและสภา

สถาบันเพ่ือพิจารณา

คณะเศรษฐศาสตรไดมีการประเมินผลการดําเนินงาน และนําเสนอ

คณะกรรมการประจําคณะพิจารณา และนอกจากน้ันไดนํารายงานสรุปผลการ

ปฏิบัติราชการของผูดํารงตําแหนงบริหารเสนอมหาวิทยาลัยเพ่ือพิจารณาแลว

(ภาคผนวก ข–4 และเอกสารอางอิง 7.1 ถึงเอกสารอางอิง 7.3)

ภาคผนวก ข–4 : แบบฟอรมท่ี 1.1–1

ตัวบงช้ีของแผนกลยุทธ

และ

7.1 บันทึกคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ศธ

0516.15/0233 วันท่ี 29 มีนาคม 2556 เรื่อง

ขอสงรายงานผลการปฏิบัติงาน

7.2 บันทึกสํานักงานอธิการบดี วันท่ี 2

กรกฎาคม 2556 เรื่อง แจงมติสภามหาวิทยาลัย

ครั้งท่ี 7/2556 (ระเบียบวาระท่ี 6.3)

7.3 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 1/2557 วันท่ี

6 มกราคม 2557 วาระท่ี 2.1 ผลการดําเนินงาน

ตามตัวบงช้ีของแผนปฏิบัติราชการประจําป

งบประมาณ ป 2556 (หนา 2)

[/] 8. มีการนําผลการพิจารณา ขอคิดเห็น และขอเสนอแนะของสภาสถาบันไปปรับปรุงแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการ

ประจําป

คณะเศรษฐศาสตรนําผลการพิจารณา ขอคิดเห็น และขอเสนอแนะ

จากคณะกรรมการประจําคณะไปทบทวนและปรับปรุง แลวนําเสนอท่ีประชุม

คณะกรรมการประจําคณะ และไปปรับปรุงแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติราชการ

ประจําป 2557 (ภาคผนวก ข–4 และภาคผนวก ข–5 และเอกสารอางอิง 8.1

และเอกสารอางอิง 8.2)

ภาคผนวก ข–4 : แบบฟอรมท่ี 1.1–1

ตัวบงช้ีของแผนกลยุทธ

ภาคผนวก ข–5 : แบบฟอรมท่ี 1.1–2

ตัวบงช้ีของแผนปฏิบัติราชการประจําป

และ

8.1 ตารางเปรียบเทียบตัวบงช้ีแผนกล

ยุทธและแผนปฏิบัติการ ประจําปงบประมาณ

2556 และ 2557

8.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 1/2557 วันท่ี

6 มกราคม 2557 วาระท่ี 2.1 ผลการดําเนินงาน

ตามตัวบงช้ีของแผนปฏิบัติราชการประจําป

งบประมาณ ป 2556 (หนา 2)

Page 28: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

21

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

2 ขอ 6 ขอ 4.00 คะแนน บรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

6 ขอ 8 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

6 ขอ 8 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 29: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

22

Page 30: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

23

2.2 องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต

1. ตัวบงชี้ สกอ.2.1 : ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร

2. ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดาํเนินการครบ 5 ขอตามเกณฑ และ

ครบถวนตามเกณฑมาตรฐานเพ่ิมเตมิเฉพาะกลุม

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 6 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีระบบและกลไกการเปดหลักสูตรใหมและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติท่ีกําหนดโดยคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา และดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด

คณะเศรษฐศาสตรมีระบบและกลไกการเปดหลักสูตรและปรับปรุง

หลักสูตรตามแนวทางท่ีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และสํานักงานคณะกรรมการ

การอุดมศึกษากําหนด คือ การปรับปรุงหลักสูตรทุก 5 ป แตละหลักสูตรมี

อาจารยผูรับผิดชอบ กรรมการประจําหลักสูตร และคณะกรรมการปรับปรุง

หลักสูตรจะมีผูทรงคุณวุฒิภายนอก และนําเสนอหลักสูตรผานการกลั่นกรองของ

ท่ีประชุมคณาจารย และไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจําคณะ ซึ่ง

ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจากบุคคลภายนอกดวย เอกสารอางอิง 1.1 ถึง

เอกสารอางอิง 1.7)

ในปการศึกษา 2556 คณะเศรษฐศาสตรไดปรับปรุงหลักสูตรใหมใน

ระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา จํานวน 5 หลักสูตร ไดแก

1. หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556)

2. หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) (หลักสูตร

ปรับปรุง 2556)

3. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง 2556)

4. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) (หลักสูตร

ปรับปรุง 2556)

5. หลักสูตรเศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ (หลักสูตร

ปรับปรุง 2556)

สวนหลักสูตรใหมและไดปรับปรุงหลักสูตรแลว จํานวน 2 หลักสูตร

ไดแก

1. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตรธุรกิจ

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554)

2. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติเศรษฐศาสตรการคา

ระหวางประเทศ (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2553)

1.1 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการ

ปรับปรุงหลักสูตร พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2555

(ท่ี ร.103/2552, ท่ี 178/2552, ท่ี 007/2553,

ท่ี ร.58/2554 และ ท่ี ร.88/2555)

1.2 รายงานการประชุมกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 1/2555 วันท่ี

13 กุมภาพันธ 2555 วาระท่ี 4.1 การขอแกไข

หลักสูตรปริญญาตรี พ.ศ. 2552 และเสนอ

หลักสูตรปริญญาตรี พ.ศ. 2555 (หนา 8) และ

วาระท่ี 4.2 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต

(ศึกษาเปนภาษาอังกฤษ) หลักสูตรเศรษฐศาสตร

มหาบัณฑิต (ศึกษาเปนภาษาไทย) และหลักสูตร

เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ฉบับ มคอ.) (หนา

11)

1.3 รายงานการประชุมกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 5/2555 วันท่ี

15 ตุลาคม 2555 วาระท่ี 4.1 สรุปการเวียนขอ

ความเห็นชอบการแกไขหลักสูตรปริญญาตรี

พ.ศ. 2552 กลุมเศรษฐศาสตรธุรกิจ (หนา 3)

และวาระท่ี 5.2 การปรับปรุงหลักสูตรระดับ

บัณฑิตศึกษา (หนา 15)

1.4 แผนการเปดหลักสูตรของคณะ

เศรษฐศาสตร

1.5 แบบรายงานขอมูลการพิจารณา

รายละเอียดของหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน

คุณวุฒิระดับปริญญาตรี (มคอ.2)

Page 31: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

24

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

1.6 หลักสูตรไดรับการอนุมัติจากสภา

มหาวิทยาลัยกอนเปดสอน

1.7 การปรั บปรุ งแก ไ ขหลั กสู ต ร

เศรษฐศาสตรบัณฑิต ฉบับป พ.ศ. 2552 เพ่ือใช

กั บหลั กสู ต รปรั บปรุ ง พ . ศ . 2552 คณะ

เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

[/] 2. มีระบบและกลไกการปดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติท่ีกําหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดําเนินการตามระบบ

ท่ีกําหนด

คณะเศรษฐศาสตรใชแนวปฏิบัติการแจงปดหลักสูตรสาขาวิชาของ

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เปนแนวทางการปดหลักสูตร

สาขาวิชา ซึ่งในปการศึกษา 2556 คณะเศรษฐศาสตรไมมีการดําเนินการแจงปด

หลักสูตรสาขาวิชา (ภาคผนวก ข–6 และภาคผนวก ข–7 และเอกสารอางอิง

2.1)

ภาคผนวก ข–6 : แบบฟอรมท่ี 2.1–1

การไดมาตรฐานตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร

ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา พ.ศ.

2548

ภาคผนวก ข–7 : แบบฟอรมท่ี 2.1–2

การประเมินผลตามตัวบงช้ีของการดําเนินงาน

ตามประกาศมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

แหงชาติ (รายหลักสูตร)

และ

2.1 แนวปฏิบัติการแจงปดหลักสูตร

สาขาวิชาของสํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา (สกอ.) ลงวันท่ี 31 มีนาคม 2551

[/] 3. ทุกหลักสูตรมีการดําเนินงานใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ (การดําเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ หมายถึง ตองมีการประเมินผล

ตาม “ตัวบงชี้ผลการดําเนินงานตามประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชา เพ่ือการประกันคุณภาพหลักสูตรและการ

เรียนการสอน” กรณีท่ีหลักสูตรใดยังไมมีประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชา ใหประเมินตามตัวบงชี้กลางท่ีกําหนดใน

ภาคผนวก ก) สําหรับหลักสูตรสาขาวิชาชีพตองไดรับการรับรองหลักสูตรจากสภาหรือองคกรวิชาชีพท่ีเกี่ยวของดวย

ในปการศึกษา 2556 คณะเศรษฐศาสตรไดดําเนินงานตามกรอบ

มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ ซึ่งเปนหลักสุตรท่ีปรับปรุงใน

แบบฟอรม มคอ.2 จํานวน 7 หลักสูตร ดังน้ี

1. ระดับปริญญาตรี จํานวน 2 หลักสูตร ไดแก

1.1 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556)

1.2 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรภาษาอังกฤษ)

(หลักสูตรปรับปรุง 2556)

2. ระดับบัณฑิตศึกษา จํานวน 5 หลักสูตร ไดแก

2.1 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรภาษาไทย)

(หลักสูตรปรับปรุง 2556)

2.2 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ)

ภาคผนวก ข–6 : แบบฟอรมท่ี 2.1–1

การไดมาตรฐานตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร

ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา พ.ศ.

2548

ภาคผนวก ข–7 : แบบฟอรมท่ี 2.1–2

การดําเนินงานเปนไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

และ

3.1 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ

เรื่อง แนวทางและเกณฑมาตรฐานการจัดทํา

หลักสูตรการศึกษา รับบัณฑิตศึกษา ระดับ

Page 32: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

25

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

(หลักสูตรปรับปรุง 2556)

2.3 หลักสูตรเศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ)

(หลักสูตรปรับปรุง 2556)

2.4 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร

ธุรกิจ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554)

2.5 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติเศรษฐศาสตร

การคาระหวางประเทศ (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2553)

ซึ่งไดมีการกําหนดตัวบงช้ีการดําเนินงานตามแบบ มคอ.2 หมวด 7

การประกันคุณภาพการศึกษาไวในแตละหลักสูตร (ภาคผนวก ข–6 และ

ภาคผนวก ข–7 และเอกสารอางอิง 3.1 ถึงเอกสารอางอิง 3.6)

ปริญญาตรี ร า ช กิ จจ า นุ เบกษา เมื่ อ 2 5

พฤษภาคม 2548

3.2 รายงานการประชุมคณาจารย ครั้ง

ท่ี 5/2556 วันท่ี 23 ธันวาคม 2556 วาระท่ี 3.1

การประเมินคุณภาพภายใน (QA) ในสวนการ

เรียนการสอนและการดําเนินการตาม มคอ.3–7

(หนา 8)

3.3 หนังสือคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ศธ

0516.15/ร.477 วันท่ี 14 พฤษภาคม 2557

เรื่อง ขอเปลี่ยนแปลงอาจารยประจําหลักสูตร

และรับผิดชอบหลักสูตร คณะเศรษฐศาสตร

3.4 ตารางตัวบงช้ีผลการดําเนินงาน

KPI ทุกหลักสูตร

3.5 ปฏิทินกําหนดการในการจัดทํา

รายงานและสํารวจ KPI คณะเศรษฐศาสตร

3.6 หนังสือการรายงานและแบบ

สํารวจการดํ า เ นินงาน มคอ .3–6 ของทุก

โครงการ

[/] 4. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับใหมีการดําเนินการไดครบถวนท้ังขอ 1 ขอ 2 และขอ 3 ขางตนตลอดเวลาท่ีจัด

การศึกษา และมีการประเมินหลักสูตรทุกหลักสูตรอยางนอยตามกรอบเวลาท่ีกําหนดในเกณฑมาตรฐานหลักสูตรฯ กรณี

หลักสูตรท่ีดําเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ จะตองควบคุมกํากับใหการดําเนินงานตามตัวบงชี้ใน

ขอ 3 ผานเกณฑการประเมิน 5 ขอแรกและอยางนอยรอยละ 80 ของตัวบงชี้ท่ีกําหนดในแตละป ทุกหลักสูตร

คณะเศรษฐศาสตรไดมอบหมายใหคณะกรรมการรับผิดชอบทุก

หลักสูตรเปนผูรับผิดชอบควบคุมกํากับใหดําเนินการใหหลักสูตรดําเนินการตาม

เกณฑมาตรฐานหลักสูตรท้ังในหลักสูตรระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา

ตามโครงสรางบริหารและหนาท่ีของผูบริหาร ระบุความรับผิดชอบ โดยมีรอง

คณบดีฝายวิชาการ ผู อํานวยการโครงการจัดการเรียนการสอน รวมดวย

คณะทํางานทุกลักสูตร เปนคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมการประเมิน

หลักสูตรใหเปนไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ควบคุมกํากับการดําเนินงานตาม

ตัวบงช้ีในขอ 3 ผานเกณฑการประเมิน 5 ขอแรก (ภาคผนวก ข–6 และ

ภาคผนวก ข–7 และเอกสารอางอิง 4.1 และเอกสารอางอิง 4.2)

ภาคผนวก ข–6 : แบบฟอรมท่ี 2.1–1

การไดมาตรฐานตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร

ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา พ.ศ.

2548

ภาคผนวก ข–7 : แบบฟอรมท่ี 2.1–2

การดําเนินงานเปนไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

และ

4.1 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการ

ปรับปรุงหลักสูตร พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2555

(ท่ี ร.103/2552, ท่ี 178/2552, ท่ี 007/2553,

ท่ี ร.58/2554 และ ท่ี ร.88/2555)

4.2 ปฏิทินกําหนดการดําเนินงานและ

ติดตามผลการจัดทํา มคอ.3–6

Page 33: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

26

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

4.3 เอกสารรายงานผลการดําเนินงาน

ตามราย วิชาหลั งสิ้ นสุ ดภาคการศึ กษาให

มหาวิทยาลัยทราบ

[/] 5. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับใหมีการดําเนินการไดครบถวนท้ังขอ 1 ขอ 2 และขอ 3 ขางตนตลอดเวลาท่ีจัด

การศึกษา และมีการพัฒนาหลักสูตรทุกหลักสูตรตามผลการประเมินในขอ 4 กรณีหลักสูตรท่ีดําเนินงานตามกรอบมาตรฐาน

คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ จะตองควบคุมกํากับใหการดําเนินงานตามตัวบงชี้ในขอ 3 ผานเกณฑการประเมินครบ ทุกตัว

บงชี้และทุกหลักสูตร

คณะเศรษฐศาสตรไดมอบหมายใหคณะกรรมการรับผิดชอบทุก

หลักสูตรเปนผูรับผดิชอบควบคุมกํากับใหดําเนินการใหหลักสูตรตามกรอบเวลาท่ี

กําหนดในเกณฑมาตรฐานหลักสูตรท้ังในหลักสูตระดับปริญญาตรีและระดับ

บัณฑิตศึกษา และมีการพัฒนาหลักสูตรตามผลการประเมินหลักสูตร (ภาคผนวก

ข–8 และเอกสารอางอิง 5.1 และเอกสารอางอิง 5.2)

ภาคผนวก ข–8 : แบบฟอรมท่ี 2.1–3

การประเมินผลตามตัวบงช้ีของการดําเนินงาน

ตามประกาศมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

แหงชาติ (รายหลักสูตร)

และ

5.1 รายงานการประชุมกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 1/2555 วันท่ี

13 กุมภาพันธ 2555 วาระท่ี 4.1 การขอแกไข

หลักสูตรปริญญาตรี พ.ศ. 2552 และเสนอ

หลักสูตรปริญญาตรี พ.ศ. 2555 (หนา 8)

5.2 หนังสือใหความเห็นชอบผลการ

นําเสนอปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรี และ

ป ริ ญ ญ า โ ท ผ า น ก า ร อ นุ มั ติ จ า ก ส ภ า

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

[–] 6. มีความรวมมือในการพัฒนาและบริหารหลักสูตรระหวางสถาบันกับภาครัฐหรือภาคเอกชนท่ีเกี่ยวของกับวิชาชีพของ

หลักสูตร มากกวารอยละ 30 ของจํานวนหลักสูตรวิชาชีพท้ังหมดทุกระดับการศึกษา (เฉพาะกลุม ค1 และ ค2)

ไมประเมิน เน่ืองจากคณะเศรษฐศาสตรอยูในสถาบัน กลุม ง (สถาบัน

ท่ีเนนการวิจัยข้ันสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญา

เอก)

ไมม ี

[/] 7. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเนนการวิจัยท่ีเปดสอน (ปริญญาโท เฉพาะแผน ก และปริญญาเอก) มีจํานวนมากกวารอย

ละ 50 ของจํานวนหลักสูตรท้ังหมดทุกระดับการศึกษา

คณะเศรษฐศาสตรจัดการเรียนการสอน จํานวน 7 หลักสูตร ดังน้ี

(ภาคผนวก ข–1)

1. ระดับปริญญาตรี จํานวน 2 หลักสูตร ไดแก

1.1 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต

1.2 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต หลักสูตรนานาชาติ

2. ระดับบัณฑิตศึกษา จํานวน 5 หลักสูตร ไดแก

2.1 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต

2.2 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ)

ภาคผนวก ข–1 : ตารางพ้ืนฐาน 1

จํานวนหลักสูตรท่ีเปดสอนท้ังหมด ปการศึกษา

2556

และ

7.1 คูมือรายละเอียดหลักสูตรทุก

หลักสูตร

7.2 ตารางโครงสรางหลักสูตรทุก

หลักสูตรท่ีเปดสอน

Page 34: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

27

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

2.3 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร

ธุรกิจ

2.4 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติเศรษฐศาสตร

การคาระหวางประเทศ

2.5 หลักสูตรเศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ)

ดังน้ัน จํานวนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเนนการวิจัยท่ีเปดสอน

เทากับ 5 หลักสูตรตอจํานวนหลักสูตรท้ังหมดทุกระดับการศึกษา เทากับ 7

หลักสูตร ซึ่งคิดเปนรอยละ 71.43 (เอกสารอางอิง 7.1 และเอกสารอางอิง 7.2)

[X] 8. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเนนการวิจัยท่ีเปดสอน (ปริญญาโท เฉพาะแผน ก และปริญญาเอก) มีจํานวนนักศึกษาท่ี

ศึกษาอยูในหลักสูตรมากกวารอยละ 30 ของจํานวนนักศึกษาท้ังหมดทุกระดับการศึกษา

ในปการศึกษา 2556 คณะเศรษฐศาสตรมีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา

ท่ีมีการจัดการเรียนการสอนในแผน ก ท้ังหมด 4 หลักสูตร โดยมีจํานวน

นักศึกษาท่ีศึกษาอยูในหลักสูตร 222 คนจากจํานวนนักศึกษาท้ังหมดทุกระดับ

การศึกษา 2,129 คน ซึ่งคิดเปนรอยละ 10.43 (ภาคผนวก ข–2) ดังน้ัน คณะจึง

มีผลการดําเนินงานไมเปนไปตามเกณฑการประเมินท่ีกําหนดใหหลักสูตรระดับ

บัณฑิตศึกษาท่ีเนนการวิจัยท่ีเปดสอนมีจํานวนนักศึกษาท่ีศึกษาอยูในหลักสูตร

มากกวารอยละ 30 ของจํานวนนักศึกษาท้ังหมดทุกระดับการศึกษา

ภาคผนวก ข–2 : ตารางพ้ืนฐาน 2

จํานวนนักศึกษาท้ังหมด ปการศึกษา 2556

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

6 ขอ 3 ขอ 3.00 คะแนน ไมบรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

3 ขอ 6 ขอ 4.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

3 ขอ 3 ขอ 3.00 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ตัดขอ 3, 4, 5 เน่ืองจากหลักสูตรมีการดําเนินการตามเกณฑไมครบทุกหลักสูตร

Page 35: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

28

1. ตัวบงชี้ สกอ.2.2 : อาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอก

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา

3. เกณฑการประเมิน :

คารอยละของอาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 60 ข้ึนไป

4 แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคารอยละของอาจารยประจําท่ีมีวุฒิปริญญาเอก

55 X 100 = 73.33

75

4.2 แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 5.00

73.33 X 5 = 6.11

60

5. ผลการดําเนินงาน :

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2556 ดังน้ี

1. อาจารยประจํา ท่ีมีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก จํานวน 54 คน

(ภาคผนวก ข–9)

2. อาจารยประจําท้ังหมด จํานวน 75 คน (ภาคผนวก ข–10)

ดังน้ัน คณะจึงมีคารอยละของอาจารยประจําท่ีมีวุฒิปริญญาเอกเทากับ

รอยละ 73.33 และเมื่อเทียบกับคะแนนเต็ม 5 ซึ่งกําหนดใหเทากับรอยละ 60 ข้ึนไป

แลวคณะไดคะแนนเทากับ 5.00

ภาคผนวก ข–9 : แบบฟอรมท่ี 2.2

และ 2.3–1 จํานวนอาจารยจําแนกตามวุฒิ

การศึกษาและตําแหนงทางวิชาการ

ภาคผนวก ข–10 : แบบฟอรมท่ี

2.2 และ 2.3–2 รายช่ืออาจารยจําแนกตาม

วุฒิการศึกษาและตําแหนงทางวิชาการ

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 74.32 รอยละ 72.19 5.00 คะแนน ไมบรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 72.19 รอยละ 73.33 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 72.19 รอยละ 73.33 5.00 คะแนน บรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 36: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

29

1. ตัวบงชี้ สกอ.2.3 : อาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการ

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา

3. เกณฑการประเมิน :

คารอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงรองศาสตราจารยและศาสตราจารยรวมกันท่ีกําหนดใหเปนคะแนน เต็ม 5 = รอย

ละ 30 ข้ึนไป

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคารอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการ

22 X 100 = 29.33

75

4.2 แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 4.89

29.33 X 5 = 4.89

30

5. ผลการดําเนินงาน :

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2556 ดังน้ี

1. อาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการ จํานวน 22 คน ประกอบดวย

(ภาคผนวก ข–9)

1.1 รองศาสตราจารย จํานวน 20 คน

1.2 ศาสตราจารย จํานวน 2 คน

2. อาจารยประจําท้ังหมด จํานวน 75 คน (ภาคผนวก ข–10)

ดังน้ัน คณะจึงมีคารอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการ

เทากับรอยละ 29.33 และเมื่อเทียบกับคะแนนเต็ม 5 ซึ่งกําหนดใหเทากับรอยละ 30

ข้ึนไปแลวคณะไดคะแนนเทากับ 4.89

ภาคผนวก ข–9 : แบบฟอรมท่ี

2.2 และ 2.3–1 จํานวนอาจารยจําแนก

ตาม วุฒิการศึ กษาและตํ าแหน งทาง

วิชาการ

ภาคผนวก ข–10 : แบบฟอรมท่ี

2.2 และ 2.3–2 รายช่ืออาจารยจําแนก

ตาม วุฒิการศึ กษาและตํ าแหน งทาง

วิชาการ

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 33.11 รอยละ 31.13 5.00 คะแนน ไมบรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 31.13 รอยละ 29.33 4.89 คะแนน ไมบรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 31.13 รอยละ 29.33 4.89 คะแนน ไมบรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 37: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

30

1. ตัวบงชี้ สกอ.2.4 : ระบบการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนบัสนุน

2. ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 หรือ 4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 หรือ 6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 7 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารยท้ังดานวิชาการ เทคนิคการสอนและการวัดผลและมีแผนการบริหารและ

พัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนท่ีมีการวิเคราะหขอมูลเชิงประจักษ

คณะเศรษฐศาสตรมีแผนกลยุทธการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการ

เปนแผนกลยุทธระยะสั้น และแผนกลยุทธระยะปานกลางและระยะยาว โดย

มีวัตถุประสงค ดังน้ี (ภาคผนวก ข–11/1 และเอกสารอางอิง 1.1)

ระยะปานกลาง ไดแก

1. สงเสริมใหอาจารยสอนวิชาบังคับของคณะไดอยางนอย 3 วิชา

2. สนับสนุนใหอาจารยสอนวิชาใหมมากข้ึน

3. สงเสริมใหอาจารยปรับปรุงเทคนิคการสอน และเขารวมการ

อบรมเพ่ือพัฒนาความรูใหทันสมัย

4. สงเสริมใหอาจารยสอนวิชาขาดแคลน

5. สงเสริมใหมีการใหรางวัลแกผูสอนท่ีมีความสามารถและจัดใหมี

การอบรมเพ่ือถายทอดเทคนิคการสอน หลากหลาย

ระยะยาว ไดแก

1. จัดทําแผนอัตรากําลังแบบระบุสาขาและสงเสริมใหอาจารยท่ีขอ

ลาศึกษาตอไปศึกษาใหสอดคลองกับความตองการของคณะ

2. จัดทําแผนการอบรมใหอาจารยเพ่ือปรับปรุงเทคนิคและวิธีการ

สอนใหทันสมัย

3. จัดทําแผนสนับสนุนใหอาจารยเขียนตํารา และงานวิจัย

สวนแผนพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนท่ีมีวัตถุประสงคเพ่ือให

บุคลากรสายสนับสนุนมีคุณสมบัติ ดังน้ี (เอกสารภาคผนวก ข–11/4 และ

เอกสารอางอิง 1.2)

1. มีจิตสํานึกในการปฏิบัติหนาท่ี

2. มีศักยภาพในการทํางานตอบสนองวิสัยทัศน และพันธกิจ

3. มีความพึงพอใจและความสุขในการทํางาน

4. มีการจัดการความรูในการปฏิบัติงาน

ภาคผนวก ข–11/1 : แบบฟอรมท่ี 2.4–1

อาจารยประจําท่ีเขารวมระชุมวิชาการ และ/หรือ

นํ า เ สนอผลงาน วิชาการ ท้ั ง ในประ เทศและ

ตางประเทศ

ภาคผนวก ข–11/4 : แบบฟอรมท่ี 2.4–4

จํานวนบุคลากรประจําสายสนับสนุนท่ีไดรับการ

พัฒนาความรูและทักษะในวิชาชีพท้ังในประเทศและ

ตางประเทศ

และ

1.1 รายงานการประชุมกรรมการประจํา

คณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 4/2556 วันท่ี 5 สิงหาคม

2556 วาระท่ี 3.1 แผนกลยุทธการพัฒนาบุคคลากร

สายวิชาการ (หนา 7) และรายงานการประชุม

คณาจารย ครั้งท่ี 3/2556 วันท่ี 15 กรกฎาคม

2556 วาระท่ี 4.1 แผนพัฒนาบุคลากรสายวิชาการ

(หนา 9)

1.2 แผนพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน

[/] 2. มีการบริหารและการพัฒนาคณาจารย และบุคลากรสายสนับสนุนใหเปนไปตามแผนท่ีกําหนด

ในปการศึกษา 2556 คณะเศรษฐศาสตรมีคณาจารยท่ีผานการ

อนุมัติใหลาเพ่ิมพูนความรูทางวิชาการ จํานวน 4 คน โดยวิธีการดําเนินการใน

ภาคผนวก ข–11/1 : แบบฟอรมท่ี 2.4–1

อาจารยประจําท่ีเขารวมระชุมวิชาการ และ/หรือ

Page 38: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

31

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

การพิจารณาเปนไปตามระเบียบทบวงมหาวิทยาลัย วาดวยการใหขาราชการ

ไปปฏิบัติงานเพ่ือเพ่ิมพูนความรูทางวิชาการ พ.ศ. 2523 (ฉบับแกไขเพ่ิมเติม)

ขอ 6.4 จํานวนผูขอลาเพ่ิมพูนตองอยูในจํานวนไมเกินรอยละ 10 ของจํานวน

อาจารยประจําปฏิบัติหนาท่ีอยูในขณะท่ีพิจารณา และตองไมมีผลเสียตอ

ราชการ และมีการนําเขาท่ีประชุมกรรมการประจําคณะ ครั้งท่ี 1/2556 วาระ

ท่ี 5.7 (ภาคผนวก ข–10/1 และภาคผนวก ข–10/4 และเอกสารอางอิง 2.1

ถึงเอกสารอางอิง 2.5)

นํ า เ สนอผลงาน วิชาการ ท้ั ง ในประ เทศและ

ตางประเทศ

ภาคผนวก ข–11/4 : แบบฟอรมท่ี 2.4–4

จํานวนบุคลากรประจําสายสนับสนุนท่ีไดรับการ

พัฒนาความรูและทักษะในวิชาชีพท้ังในประเทศและ

ตางประเทศ

และ

2.1 ประกาศคณะเศรษฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เรื่อง รับสมัครบุคคลเพ่ือ

คัดเลือกเปนพนักงานมหาวิทยาลัย สายวิชาการ

ตําแหนงอาจารย คณะเศรษฐศาสตร

2.2 ประกาศคณะเศรษฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เรื่อง รับสมัครพนักงาน

เงินรายไดของคณะเศรษฐศาสตร สายสนับสนุน

วิชาการ ประเภทประจํา ศูนยบริการวิชาการ

ตําแหนงเจาหนาทบริหารงานท่ัวไป

2.3 ประกาศคณะเศรษฐศาสตร เรื่อง

หลักเกณฑการพิจารณาความดีความชอบประจําป

ของอาจารยคณะเศรษฐศาสตร พ.ศ. 2552

2.4 ประกาศคณะเศรษฐศาสตร เรื่อง

หลักเกณฑการพิจารณาความดีความชอบของ

ขาราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานเงิน

รายไดและลูกจางประจํา คณะเศรษฐศาสตร พ.ศ.

2554

2.5 ระเบียบทบวงมหาวิทยาลัย วาดวย

การใหขาราชการไปปฏิบัติงานเพ่ือเพ่ิมพูนความรู

ทางวิชาการ

[/] 3. มีสวัสดิการเสริมสรางสุขภาพท่ีดี และสรางขวัญและกําลังใจใหคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนสามารถทํางานได

อยางมีประสิทธิภาพ

คณะเศรษฐศาสตรมีงบประมาณรายจายจากเงินรายไดพิเศษคณะ

ประจําป 2556 สําหรับเสริมสรางสุขภาพและสรางขวัญและกําลังใจใหแก

คณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนของคณะ และมีงบประมาณสนับสนุน

การพัฒนาใหคณาจารยและบุคลากรสรางศักยภาพใหสามารถทํางานไดอยาง

มีประสิทธิภาพ (ภาคผนวก ข–10/3 และเอกสารอางอิง 3.1 ถึง

เอกสารอางอิง 3.3) จากงบประมาณเงินรายไดพิเศษคณะเศรษฐศาสตร โดย

แยกตามงบ ดังน้ี

ภาคผนวก ข–11/3 : แบบฟอรมท่ี 2.4–3

งบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารย ท้ังใน

ประเทศและตางประเทศ

และ

3.1 งบประมาณสวัสดิการคารักษา

พยาบาลใหแกคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน

3.2 งบประมาณเงินอุดหนุนพัฒนา

Page 39: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

32

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

1. งบสวัสดิการ ประกอบดวย

1.1 คารักษาพยาบาล

1.2 เงินสวัสดิการคาครองชีพพนักงานและลูกจาง

1.3 คาเครื่องแบบบุคลากร

1.4 คาประกันสุขภาพกลุม

2. งบเงินอุดหนุน ประกอบดวย

2.1 ทุนการศึกษาตอระดับปริญญาเอกตางประเทศของอาจารย

2.2 ทุนการศึกษาตอในประเทศของบุคลากร

2.3 โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการทํางานอาจารย

2.4 โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการทํางานของบุคลากรสาย

สนับสนุน

บุคลากร

3.3 งบประมาณคาครองชีพใหแกบุคลากร

สายสนับสนุน

[/] 4. มีระบบการติดตามใหคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนนําความรูและทักษะท่ีไดจากการพัฒนามาใชในการจัดการ

เรียนการสอนและการวัดผลการเรียนรูของนักศึกษา ตลอดจนการปฏิบัติงานท่ีเกี่ยวของ

คณะเศรษฐศาสตรมีระบบการติดตามใหคณาจารยและบุคลากร

สายสนับสนุน โดยมีสัญญาใหบุคลากรท่ีไดรับการพิจารณาเงินอุดหนุน

ดังกลาวรายงานผลการศึกษาทุกภาคเพ่ือประกอบการพิจารณาในปการศึกษา

ตอไป (เอกสารอางอิง 4.1 และเอกสารอางอิง 4.2)

คณะมีระบบในการประเมินผลงานจากคณาจารยท่ีลาเพ่ิมพูน

ความรูทางวิชาการ ดวยการแตงตั้งกรรมการประเมินผลงาน ซึ่งนําไปสูการ

จัดทําตํารา เพ่ือใชในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบเอกสารประกอบการ

บรรยาย

4.1 แบบฟอรมรายงานตัวปฏิบัติงานของ

บุคลากรคณะเศรษฐศาสตร

4.2 รายงานการศึกษา ฝกอบรม ดูงาน

ประชุม/สัมมนา ปฏิ บัติ งานวิจัย และการไป

ปฏิบัติงานในองคการระหวางประเทศ

[/] 5. มีการใหความรูดานจรรยาบรรณอาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน และดูแลควบคุมใหคณาจารยและบุคลากรสาย

สนับสนุนถือปฏิบัติ

คณะเศรษฐศาสตรไดดําเนินการประชาสัมพันธคูมือเก่ียวกับ

จรรยาบรรณของมหาวิทยาลยัโดยผานทางเว็บไซตของคณะ เพ่ือใหคณาจารย

ไดศึ กษา และถือเปนแนวปฏิ บัติ ให ถูกต องตามหลักจรรยาบรรณ

(เอกสารอางอิง 5.1 และเอกสารอางอิง 5.2)

5.1 เ ว็บไซตคณะเศรษฐศาสตร

(www.econ.tu.ac.th) หัวขอ “บุคลากร” หัวขอ

ยอย “ Intranet” รายการหลัก “ระเบียบ/

หลักเกณฑ/ประกาศ” รายการรอง “งานบริหาร

บุคคล” รายการยอย “สายวิชาการ_(อาจารย)”

5.2 เอกสารคูมือปฐมนิเทศอาจารยใหม

การจัดเขารวมประชุม

[/] 6. มีการประเมินผลความสําเร็จของแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน

คณะเศรษฐศาสตรมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานในสาย

คณาจารย และบุคลากรสายสนับสนุนท้ังคณะมีหลักเกณฑ ระเบียบ แผนงาน

ในการดําเนินงาน มีองคประกอบตัวประเมิน และมีคณะกรรมการในการ

พิจารณาดําเนินการ และไดเก็บรวมรวมขอมูลบุคลากรสายวิชาการและสาย

สนับสนุนท่ีไดรับการพัฒนา (เอกสารอางอิง 6.1 ถึงเอกสารอางอิง 6.3)

6.1 แผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล IDP

และแบบประเมินสมรรถนะเฉพาะตําแหนงงานเพ่ือ

การพัฒนา

6.2 แบบประเมินบุคลาการสายสนับสนุน

คณะเศรษฐศาสตร

Page 40: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

33

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

6.3 ประกาศคณะเศรษฐศาสตร รายช่ือผู

ท่ีมีผลประเมนิระดับดีเดนและดีมาก

[/] 7. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการบริหารและการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน

คณะเศรษฐศาสตรมีแผนกลยุทธการพัฒนาบุคลากร สายวิชาการ

โดยกําหนดเปาหมายในการแกปญหาการขาดแคลนอาจารยในบางสาขา บาง

หมวด จึงมีแนวทางการพัฒนาและสงเสริมองคความรูเพ่ือใหอาจารยมีความ

เช่ียวชาญในสาขาท่ีตนถนัดประกอบกับมีความรูกวางและถายทอดความรู

ใหแกนักศึกษาและบุคคลท่ัวไปโดยใชเทคนิคท่ีเหมาะสมได โดยนําผลงานทาง

วิชาการของอาจารยท่ีลาเพ่ิมพูนความรูทางวิชาการเขาท่ีประชุมกรรมการ

ประจําคณะ เพ่ือขอแตงตั้งกรรมการประเมินผลงาน เมื่อผานการประเมินก็

จะเปนตําราในการใชประโยชนในการเผยแพรและเปนสื่อการสอนตอไป

(เอกสารอางอิง 7.1 ถึงเอกสารอางอิง 7.5)

7.1 สรุปผลการประเมินการสอนของ

คณาจารย (แฟมแยกเฉพาะสวนประเมิน)

7.2 เอกสารแนวการบรรยายประกอบการ

เรียนการสอนมีการปรับปรุงใหไดมาตรฐาน มคอ.3

(แฟมแยกเฉพาะสวนตามโครงการ)

7.3 วิชาท่ีผูสอนนําผลงานวิจัยมาตอยอด

หรือประกอบการเรียนการสอน

7.4 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 1/2556 วันท่ี 4

กุมภาพันธ 2556 วาระท่ี 5.7 พิจารณาเรื่องการลา

เพ่ิมพูนความรูปการศึกษา 2556 (หนา 14) และ

ราย ง านกา รประ ชุมกร รมกา รประจํ า คณะ

เศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 4/2556 วันท่ี 5 สิงหาคม

2556 วาระท่ี 3.2 แผนกลยุทธการพัฒนาบุคคลากร

สายวิชาการ (หนา 7)

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

6 ขอ 2 ขอ 2.00 คะแนน ไมบรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

2 ขอ 7 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

2 ขอ 5 ขอ 4.00 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ตัดขอ 6 ไมมีการประเมินความสําเร็จของแผนการพัฒนาบุคลากร จึงทําใหไมไดขอ 7 การนําผลประเมินมาปรับปรุง

Page 41: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

34

1. ตัวบงชี้ สกอ.2.5 : หองสมุด อุปกรณการศึกษา และสภาพแวดลอมการเรียนรู

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 7 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีการจัดการหรือจัดบริการเพ่ือใหนักศึกษามีเคร่ืองคอมพิวเตอรในอัตรา ไมสูงกวา 8 FTES ตอเคร่ือง

ในปการศึกษา 2556 คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงาน ดังน้ี

(ภาคผนวก ข–11)

1. จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (FTES) เทากับ 2,368.11

2. เครื่องคอมพิวเตอรท่ีจัดบริการใหนักศึกษา จํานวน 4,079

เครื่อง (โดยนับรวม Notebook และ Mobile device ตาง ๆ ของนักศึกษาท่ี

ลงทะเบียนการใช WIFI กับคณะดวย)

ดังน้ัน คณะจึงมีการจัดบริการเครื่องคอมพิวเตอรเพ่ือใหนักศึกษาใช

งานในอัตรา 0.58 FTES ตอเครื่อง ซึ่งเปนไปตามเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนดไว

ไมสูงกวา 8 FTES ตอเครื่อง

ภาคผนวก ข–11 : แบบฟอรมท่ี 2.5–1

สัดสวนเครื่องคอมพิวเตอรตอจํานวนนักศึกษาเต็ม

เวลาเทียบเทา

[/] 2. มีบริการหองสมุดและแหลงเรียนรูอ่ืน ๆ ผานระบบเครือขายคอมพิวเตอร และมีการฝกอบรมการใชงานแกนักศึกษาทุกป

การศึกษา

คณะเศรษฐศาสตรมีหองสมุดปวย อ๊ึงภากรณ ซึ่งเปนหองสมุด

ทางดานเศรษฐศาสตรสังกัดสํานักหอสมุด จัดตั้งข้ึนเพ่ือใหบริการอาจารย

นักศึกษา และบุคลากรของคณะเศรษฐศาสตรเปนสําคัญ ทรัพยากร

สารสนเทศตาง ๆ ท่ีจัดหาเขาหองสมุดและการจัดบริการจะเนนทางดาน

เศรษฐศาสตรเปนหลัก ปจจุบันหองสมุดจัดบริการตาง ๆ ซึ่งผูใชสามารถ

เขาถึงไดโดยผานระบบเครือขายคอมพิวเตอร ไมจําเปนตองเดินทางมาท่ี

หองสมุดหรือมหาวิทยาลัย ไดแก การคนหาหนังสือและวัสดุสารสนเทศท่ีมีใน

หองสมุดจากฐานขอมูล TUDB ซึ่งมีจํานวนหลายรายการ และเกือบ 2 หมื่น

รายการสามารถเขาถึงเอกสารฉบับเต็มผานทางหนาจอไดทันที การคนหา

บทความวารสารและหนังสือพิมพท่ีมีในหองสมุดจากฐานขอมูล TUIDX ซึ่งมี

จํานวนหลายรายการ และเกือบ 5 หมื่นรายการ ท่ีสามารถเขาถึงเอกสารฉบับ

เต็มผานทางหนาจอไดทันทีเชนกัน การตรวจสอบการยืมหนังสือและวัสดุ

สารสนเทศตลอดจนการมีหน้ีสินกับหองสมุดดวยตนเอง (Borrower

Information) การยืมหนังสือและวัสดุสารสนเทศตอ (Renew) การยืม

หนังสือและวัสดุสารสนเทศระหวางทาพระจันทร–ศูนยรังสิต–ศูนยพัทยา–

ศูนยลําปาง (Book Delivery) บริการแนะนําหนังสือใหจัดหาเขาหองสมุด

(Book Suggestion) การจองหนังสือและวัสดุสารสนเทศท่ีมีผูอ่ืนขอยืมไป

2.1 ภาพหนาจอสืบคนระบบหองสมุด

อัตโนมัติ Koha (www.//koha.library.tu.ac.th)

2.2 ขอมูลอิเล็กทรอนิกสและฐานขอมูล

ออนไลน (http://koha.library.tu.ac.th)

2.3 โปรแกรม K–Econ Analysis ของ

ศูนยวิจัยกสิกรไทย

(http://kasikornresearch.com)

2.4 การดาวนโหลดโปรแกรท EndNote

(http://koha.library.tu.ac.th)

2.5 ภาพหนาจอท่ีสามารถดาวนโหลด

โปรแกรม EndNote ท้ังระบบ Windows และ

Mcintosh

(http://203.131.219.245/tulib/index.php/end

note)

Page 42: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

35

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

(Request) บริการหนาสารบาญวารสารฉบับใหม (Current Contents) ท้ัง

ภาษาไทยและภาษาอังกฤษบนเว็บไซตของหองสมุดปวย และบริการอีเมล

รายช่ือหนังสือใหมภาษาอังกฤษท่ีรานคานํามาเสนอใหอาจารยชวยคัดเลือก

และแนะนําใหหองสมุดจัดซื้อ (เอกสารอางอิง 2.1) บริการตาง ๆ ดังกลาว

ผูใชสามารถใชงานผานหนาจอคอมพิวเตอรท่ีบานโดยไมตองเดินทางไปใชท่ี

หองสมุดปวย คณะเศรษฐศาสตร หรือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ในสวนของ

แหลงเรียนรูอ่ืน ๆ ท่ีสามารถใชผานระบบเครือขายคอมพิวเตอร โดยไมตอง

เดินทางมายังหองสมุด คณะ หรือมหาวิทยาลัยก็มีมากมาย ไดแก ฐานขอมูล

ออนไลนตางประเทศกวา 40 ฐานท่ีสํานักหอสมุดบอกรับเปนสมาชิก

ฐานขอมูลออนไลนตางประเทศท่ีคณะตาง ๆ ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บอกรับเปนสมาชิก ฐานขอมูลออนไลนตางประเทศท่ีสาํนักงานคณะกรรมการ

การอุดมศึกษาบอกรับเปนสมาชิก ใหสถาบันอุดมศึกษาของรัฐทุกแหงไดใช

รวมกัน ฐานขอมูลตาง ๆ ดังกลาว นักศึกษา อาจารย และบุคลากรใน

ประชาคมธรรมศาสตรสามารถเขาใชไดท้ังท่ีบาน ในหองสมุด และหนวยงาน

อ่ืน ๆ ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (เอกสารอางอิง 2.2) บริการขอมูล K–

Econ Analysis ของศูนยวิจัยกสิกรไทย ซึ่งหองสมุดปวยบอกรับเปนสมาชิก

เปนบริการท่ีรวบรวมรายงานวิเคราะหวิจัย ท้ังในภาคเศรษฐกิจระดับจุลภาค

มหภาค ภาคการเงิน และภาคเศรษฐกิจตางประเทศ โดยเนนกระแสของ

ขาวสารขอมูลท่ีกําลังเปนท่ีจับตามองในขณะน้ัน นอกจากน้ียังประกอบดวย

ดัชนีเศรษฐกิจ รายงานภาวะตลาดเงินและตลาดทุน ตลอดจนภาวะเงินตรา

ตางประเทศ ใหขอมูลเปนภาษาไทย (เอกสารอางอิง 2.3) E–Books และ E–

Theses/Dissertations ภาษาตางประเทศ เชน ฐานขอมูล NetLibrary,

SpringerLink E–books, ProQuest Dissertations & Theses (PQDT),

Dissertation Full Text ซึ่งไดรับการจัดซื้อโดยสํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษาใหสถาบันอุดมศึกษาของรัฐทุกแหงไดใชรวมกัน (เอกสารอางอิง

2.2) ฐานขอมูลวิทยานิพนธภาษาไทยและภาษาตางประเทศของ

สถาบันอุดมศึกษาของรัฐพรอมเอกสารฉบับเต็ม (TDC) (เอกสารอางอิง 2.4)

นอกจากน้ัน หองสมุดยังมีแหลงเรียนรูอ่ืน ๆ ท่ีสามารถสืบคนผาน

ระบบเครือขายคอมพิวเตอรโดยไมมีคาใชจาย ไดแก หนังสือ ขอมูลสถิติ และ

งานวิจัยของหนวยราชการในประเทศไทย เชน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

สังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 1 ถึงปจจุบัน ขอมูลงบประมาณของสํานักงบประมาณ

สถิติรายปประเทศไทยของสํานักงานสถิติแหงชาติ งานวิจัยท่ีไดรับทุนของ

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย เปนตน นอกจากบริการตาง ๆ ดังกลาว

หองสมุดยังจัดหาโปรแกรมท่ีชวยในการจัดทําอางอิง เชิงอรรถ รายการ

อางอิง/บรรณานุกรม รวมท้ังสามารถเก็บเอกสารฉบับเต็มจัดทําเปน

คลังขอมูลของผูใช ไดแก โปรแกรม EndNote ซึ่งจะชวยอํานวยความสะดวก

Page 43: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

36

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

ในการทํารายงาน วิทยานิพนธ และงานวิจัยใหแกอาจารยและนักศึกษา

(เอกสารอางอิง 2.5) อาจารยและนักศึกษาสามารถดาวนโหลดโปรแกรมน้ีได

ไมวาจะเปนระบบ Windows หรือ Macintosh จากเว็บไซตของหองสมุด

โดยไมมีคาใชจายใด ๆ ท้ังน้ี หองสมุดไดมีการจัดอบรมแนะนําการใชบริการ

หองสมุดและแหลงเรียนรูตาง ๆ ดังกลาว รวมท้ังโปรแกรม EndNote ใหแก

นักศึกษาเปนประจําทุกปการศึกษาท้ังเปนกลุมและรายบุคคล ตามท่ีอาจารย

และนักศึกษาติดตอมา โดยมีการจัดอบรมท้ังในหองเรียน หองคอมพิวเตอร

และในหองสมุด

[/] 3. มีบริการดานกายภาพท่ีเหมาะสมตอการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนานักศึกษาอยางนอยในดานหองเรียน หอง

ปฏิบัติการ อุปกรณการศึกษา และจุดเชื่อมตออินเตอรเน็ตในระบบไรสาย

คณะเศรษฐศาสตรมีหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรท้ังทาพระจันทร

และศูนยรังสิต ไวบริการแกนักศึกษาของคณะ และมีเครื่องคอมพิวเตอรใน

หองเรียนสําหรับการเรียนการสอน และศูนยรังสิตมีเคาวเตอรตั้งเครื่อง

คอมพิวเตอรไวนอกหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร เพ่ือใหบริการแกนักศึกษาท่ี

ตองการใชนอกเหนือเวลาหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรเปดบริการ และมี

จุดเช่ือมตออินเตอรเน็ตท้ังระบบ LAN และระบบไรสายของคณะ ท้ังท่ีทา

พระจันทรและศูนยรังสิต เพ่ือเปนการสนับสนุนใหนักศึกษาไดใชงาน

คอมพิวเตอรไดอยางท่ัวถึง โดยสามารถสืบคนขอมูลทางอินเตอรเน็ต และ

สามารถใชคอมพิวเตอรในหองเรียนเพ่ือนําเสนองานได (เอกสารอางอิง 3.1

และเอกสารอางอิง 3.2)

3.1 ตาราง 3.1 จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร

และ เวลาการ ให บริ ก า รของห อ งปฏิ บัติ ก า ร

คอมพิวเตอร หองเรียน

3.2 ตาราง 3.2 จุดติดตั้งบริการ Wireless

LAN

[/] 4. มีบริการสิ่งอํานวยความสะดวกท่ีจําเปนอ่ืนๆ อยางนอยในดานงานทะเบียนนักศึกษาผานระบบเครือขายคอมพิวเตอร

การบริการอนามัยและการรักษาพยาบาล การจัดการหรือจัดบริการดานอาหาร และสนามกีฬา

คณะเศรษฐศาสตรมีระบบลงทะเบียนเขาระบบเครือขายไรสายของ

คณะ เพ่ือใหสามารถไดทราบจํานวนผูใชผานระบบเครือขายไรสาย และ

สามารถใชเปนขอมูลในการพัฒนาระบบใหครอบคลุมเพ่ิมข้ึน (เอกสารอางอิง

4.1 และเอกสารอางอิง 4.2)

4.1 รายงานสถิติ การใชงาน Wireless

LAN ของนักศึกษา ปการศึกษา 2556

4.2 สถิติการใหบริการคอมพิวเตอร ป

การศึกษา 2556

[/] 5. มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคารตลอดจนบริเวณโดยรอบอยางนอยในเร่ืองประปา ไฟฟา ระบบ

กําจัดของเสีย การจัดการขยะ รวมท้ังมีระบบและอุปกรณปองกันอัคคีภัย ในบริเวณอาคารตาง ๆ โดยเปนไปตามกฎหมายท่ี

เกี่ยวของ

คณะเศรษฐศาสตรมีระบบสาธารณูปโภค และรักษาความปลอดภัย

ไดแก ระบบไฟฟาและประปา การจางแมบานทําความสะอาด มีพนักงาน

รักษาความปลอดภัย และการใชงานกลองวงจรปด รวมท้ังมีถังดับเพลิง และ

ทางหนีไฟ (เอกสารอางอิง 5.1)

5.1 ภาพถายหองกิจกรรมนักศึกษา/

แมบาน/รักษาความปลอดภัย/กลองวงจรปด/ถัง

ดับเพลิง/ทางหนีไฟ อาคารคณะเศรษฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร และศูนย

รังสิต

[/] 6. มีผลการประเมินคุณภาพของบริการในขอ 2–5 ทุกตัวไมตํ่ากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

คณะเศรษฐศาสตรมีผลการประเมินคุณภาพการใหบริการในขอ 2– ภาคผนวก ข–12 : แบบฟอรมท่ี 2.5–2

Page 44: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

37

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

5 ในภาพรวม เทากับ 3.87 จากคะแนนเต็ม 5 และทุกขอมีคะแนนสูงกวา

3.51 (ภาคผนวก ข–12 และเอกสารอางอิง 6.1) ดังน้ี

1. การบริการหองสมุดและแหลงเรียนรูอ่ืน ๆ ผานระบบเครือขาย

คอมพิวเตอร และการฝกอบรมการใชงานแกนักศึกษา เทากับ 3.81 คะแนน

2. การบริการดานกายภาพท่ีเหมาะสมตอการจัดการเรียนการสอน

และการพัฒนานักศึกษา (ดานหองเรียน หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร อุปกรณ

การศึกษา และจุดเช่ือมตออินเตอรเน็ตในระบบไรสาย เทากับ 3.93 คะแนน

3. การบริการสิ่งอํานวยความสะดวกท่ีจําเปนอ่ืน ๆ (ดานงาน

ทะเบียนนักศึกษาผานระบบเครือขายคอมพิวเตอร การบริการอนามัยและ

การรักษาพยาบาล การจัดบริการดานอาหาร และสนามกีฬา) เทากับ 3.81

คะแนน

4. ระบบสาธารณูปโภคและการรักษาความปลอดภัยอาคารและ

บริเวณโดยรวม (ประปา ไฟฟา การจัดการขยะ ระบบและอุปกรณปองกัน

อัคคีภัย) เทากับ 3.93 คะแนน

ผลการประเมินคุณภาพของบริการ

และ

6.1 แบบประเมินผลโครงการสงเสริมการ

รูสารสนเทศ สํานักหอสมุด เรื่อง การสืบคนขอมูล

ทางดานเศรษฐศาสตร และสาขาท่ีเก่ียวของ การ

อางอิงการสืบคนและการเขียนบรรณานุกรม จัดโดย

โครงการปริญญาตรี หลักสูตรภาษาไทย คณะ

เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

[/] 7. มีการนําผลการประเมินคุณภาพในขอ 6 มาใชเปนขอมูลในการพัฒนาการจัดบริการดานกายภาพท่ีสนองความตองการ

ของผูรับบริการ

มีการอีเมลสงผลการประเมินในขอ 6 ท่ีเก่ียวกับการฝกอบรมการใช

งานบริการหองสมุด และแหลงเรียนรูใหอาจารยผูรับผิดชอบพิจารณาใชเปน

ขอมูลในการพัฒนาการจัดบริการดานกายภาพท่ีสนองความตองการของ

ผูรับบริการ (เอกสารอางอิง 7.1)

7.1 ตัวอยางอีเมลสงผลการประเมินการ

ฝกอบรมการใชงานบริการหองสมุดและแหลงเรียนรู

ใหอาจารยผูรับผิดชอบ

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

7 ขอ 7 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

7 ขอ 7 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

7 ขอ 7 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 45: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

38

1. ตัวบงชี้ สกอ.2.6 : ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน

2. ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 6 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญทุกหลักสูตร

ทุกหลักสูตรของคณะเศรษฐศาสตรมีคณะกรรมการบรหิารหลักสตูร

เพ่ือทําหนาท่ีดูแลกํากับใหการจัดการเรียนการสอนเปนไปตามวัตถุประสงค

ของหลักสูตร การบริหารและการจัดการศึกษาถือวาผูเรียนสําคัญท่ีสุด เนน

กระบวนการจัดการศึกษาท่ีตองใหผูเรียนรูจักแสวงหาความรู และพัฒนา

ความรูดวยตัวเอง และการศึกษาฝกอบรม ปฏิบัติงานลงพ้ืนท่ีจริงของการ

ทํางาน หลักสูตรมีรายวิชาท่ีเช่ือมโยงสิ่งท่ีเรยีนกับสังคมและใหผูเรียนสามารถ

นําไปประยุกตใชในชีวิต มีการจัดกิจกรรมเปนรูปแบบสัมมนายอยเพ่ือให

ผูเรียนสามารถไดคิด วิเคราะห สังเคราะห ประเมินและสรางสรรคสิ่งตาง ๆ

มุงเนนการพัฒนาความรู ทักษะทางวิชาชีพ ทักษะชีวิต ทักษะทางสังคม และ

นําศักยภาพท่ีมีอยูแสดงตอสาธารณชนได

นอกจากน้ี คณะยังไดสนับสนุนใหนักศึกษาสามารถศึกษาวิชาโท

หรือวิชาเลือกนอกสาขาหรือนอกคณะได และสนับสนุนใหอาจารยจัด

กิจกรรมเรียนรูนอกหองเรียน อาทิเชน การศึกษาดูงานรายวิชานอกสถานท่ี

การสงตัวนักศึกษาฝกภาคปฏิบัตินอกสถานท่ี ซึ่งมีท้ังการฝกภาคปฏิบัติ

ภายในประเทศและนอกประเทศ รวมถึงการเชิญวิทยากรจากหนวยงาน

ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ท่ีมีความรู ความสามารถ ตลอดจน

ประสบการณ เพ่ือใหนักศึกษาไดศึกษาและเรียนรูจากวิทยากรนอกเหนือจาก

การเรียนกับอาจารยและจากตําราเพียงอยางเดียว สนับสนุนใหนักศึกษาได

แสดงผลงานดานวิชาการ และความรูนอกเหนือจากตํารา ในวารสารคณะ

เศรษฐศาสตร ในกิจกรรมคณะเศรษฐศาสตรวิชาการ ซึ่งกลุมนักศึกษาจะจัด

ทีมบริหารและดําเนินการนําเสนอโครงการโดยมีอาจารยท่ีปรึกษากิจกรรมให

คําปรึกษา ขออนุมัติโครงการ และมีการจัดการดําเนินงาน (ภาคผนวก ข–13

และเอกสารอางอิง 1.1 ถึงเอกสารอางอิง 1.5)

ภาคผนวก ข–13 : แบบฟอรมท่ี 2.6–1

ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอนราย

หลักสูตร

และ

1.1 พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ

(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545

1.2 ตัวอยางเอกสารประกอบการเรียน

การสอนวิชาสัมมนา EC/EE409, EC/EE439,

EC/EE449, EC/EE459, EC/EE469, EC/EE479,

EC/EE489, EC/EE499 และวิชาท่ีอาจารยผูสอนนํา

นักศึกษาไปศึกษางานนอกหองเรียน อาทิเชนวิชา

EC375 และ EC476 (ดูจากแฟม มคอ.3)

1.3 เอกสารตารางบรรยายลักษณะวิชา

1.4 ตัวอยางแบบประเมินการสอน

1.5 สรุปผลประเมินรายวิชา (ดูจากแฟม

สรุปผลการประเมินรายวิชา)

[/] 2. ทุกรายวิชาของทุกหลักสูตร มีรายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณภาคสนาม (ถามี) กอนการเปดสอนในแตละ

ภาคการศึกษา ตามท่ีกําหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

ปการศึกษา 2556 ทุกหลักสูตรของคณะเศรษฐศาสตรมี course

outline ทุกวิชาท่ีเปดสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

แหงชาติ ท่ีมีลักษณะเปนของตนเอง ขณะเดียวกันคณะกําหนดใหอาจารย

2.1 แนวการบรรยายรายวิชาท่ีเปดสอน

แตละหลักสูตร (ดูจากแฟม มคอ.3)

2.2 กําหนดการจัดทํา มคอ.3–มคอ.7

Page 46: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

39

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

ผูสอนตองจัดสง course outline ใหงานบริการการศึกษาฯ เพ่ือเก็บเปน

ฐานขอมูล (มีหนังสือแจงลวงหนากอนเปดภาคเรียน 30–45 วัน) เพ่ือให

ผูสอนแจก course outline ใหกับผูเรียนในคาบแรกของการเปดภาค

การศึกษา แนะนําและเนนย้ําใหนักศึกษาไดทราบขอมูลรายละเอียด เน้ือหา

ของรายวิชา รวมถึงเอกสารประกอบการเรียนการสอนดวย งานบริการ

การศึกษาและกิจการนักศึกษามีปฏิทินกําหนดการดําเนินงานเพ่ือใหผูสอน

ดําเนินการใหเปนไปตามกรอบมาตรฐาน และมีการติดตามเปนระยะ ๆ ดัง

เวลาท่ีกําหนด (เอกสารอางอิง 2.1 ถึงเอกสารอางอิง 2.3 และเอกสารอางอิง

1.5)

2.3 หนังสือหนวยปริญญาตรี ภาค

ภาษาไทย ท่ี ศธ 0516.15/– วันท่ี – เมษายน 2556

เรื่อง ขอความอนุเคราะหสงไฟล เคาโครงการ

บรรยาย ภาค 1/2556 และรายละเอียดท่ีเก่ียวของ

1.5 สรุปผลประเมินรายวิชา (ดูจากแฟม

สรุปผลการประเมินรายวิชา)

[/] 3. ทุกหลักสูตรมีรายวิชาท่ีสงเสริมทักษะการเรียนรูดวยตนเอง และการใหผูเรียนไดเรียนรูจากการปฏิบัติท้ังในและนอก

หองเรียนหรือจากการทําวิจัย

ทุกหลักสูตรของคณะเศรษฐศาสตรมีวิชาท่ีสงเสริมทักษะการเรียนรู

ดวยตนเองจากกรณีปญหา หรือจากกรณีศึกษาจากสถานการณท่ีเกิดข้ึนจริง

เชน

ระดับปริญญาตรี มีวิชา EC459 สัมมนาเศรษฐศาสตรระหวาง

ประเทศ หัวขอ “บทบาทเงินเฟอตางประเทศท่ีมีตอเงินเฟอไทย” ผูสอนมี

วัตถุประสงคใหนักศึกษาศึกษาบทบาทของเงินเฟอตางประเทศท่ีมีตอเงินเฟอ

ไทย รวมท้ังบทบาทของตัวแปรปจจัยท่ีกําหนดเงินเฟอไทยทางดาน

เศรษฐศาสตรระหวางประเทศอ่ืน ๆ และหัวขอ “ปจจัยกําหนดการ

เคลื่อนยายเงินทุนไหลเขาของประเทศไทยในชวงกอนและหลังวิกฤตการณ

การเงินโลก” เนนการศึกษาปจจัยกําหนดการเคลื่อนยายเงินทุนไหลเขาของ

ประเทศไทย โดยคณะจัดใหมีโครงการ Best Seminar Paper (BSP) เปน

การจัดโครงการสัมมนานําเสนอบทความท่ีผานการคัดเลือก เพ่ือคนหาสุด

ยอดบทความ และมีเงินรางวัลเปนขวัญและกําลังใจใหผูชนะ

ระดับปริญญาโท มีรายวิชาท่ีสงเสริมทักษะการเรียนรูโดยผูเรียน

ศึกษารายวิชา EE 613 Contemporary Economic Issues และรายวิชา

EC613 เศรษฐศาสตรรวมสมยั ซึ่งในการจัดการเรียนการสอน อาจารยประจํา

วิชาไดเชิญอาจารยผูทรงคุณวุฒิจากภายนอกมาใหความรู และวิเคราะห

ช้ินงานใหแกผูเรียน ทําใหผูเรียนไดรับประสบการณเพ่ิมข้ึน และตอยอดไปสู

การทําผลงานวิจัย และมีการนําเสนอบทความจากผลงานของนักศึกษาโดย

ผานระบบการคัดเลือกจากอาจารยผูสอน ตามแนวทางการสอนใหผูเรียนได

เรียนรู จากการปฏิ บัติ ท้ังในและนอกหองเรียนหรือจากการทําวิจัย

(เอกสารอางอิง 3.1 ถึงเอกสารอางอิง 3.5)

3.1 แนวการบรรยายวิชาสัมมนา/วิชา

บูรณาการ (ดูจากแฟม มคอ.3)

3.2 รายละเอียดการปรับปรุงแกไข

อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรและอาจารยประจํา

หลักสูตร

3.3 สรุปงานสัมมนา “Best Seminar

Papers”

3.4 วิชาท่ีผูสอนนําผลงานวิจัยมาตอยอด

หรือประกอบการเรียนการสอน

3.5 รายช่ือนักศึกษาท่ีนําเสนอบทความ ป

การศึกษา 2556

[/] 4. มีการใหผูมีประสบการณทางวิชาการหรือวิชาชีพจากหนวยงานหรือชุมชนภายนอกเขามามีสวนรวมในกระบวนการเรียน

การสอนทุกหลักสูตร

Page 47: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

40

เพ่ือใหนักศึกษาทุกระดับการศึกษาไดมีความรูนอกเหนือจากใน

ตําราและจากอาจารยผูสอน ทุกหลักสูตรของคณะเศรษฐศาสตรไดเชิญ

ผูเช่ียวชาญและผูมีประสบการณทางวิชาการและวิชาชีพจากหนวยงานท้ัง

ภาครัฐและเอกชน ภายนอกท้ังในประเทศและตางประเทศเขามามีสวนรวม

ในการจัดการเรียนการสอนทุกหลักสูตร โดยเฉพาะอยางยิ่งหลักสูตรระดับ

ปริญญาตรีมีวิชาท่ีไดเชิญผูทรงคุณวุฒิมาใหความรูแกนักศึกษาเปนการ

เพ่ิมเติมจํานวนมาก และอาจารยผูสอนไดนํานักศึกษาไปเขารวมฟงการ

บรรยาย ไปศึกษาหาความรูจากสถานท่ีจริงดวย

ปการศึกษา 2556 งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา

จัดการเรียนการสอนในรายวิชาตาง ๆ มีอาจารยประจําวิชาท่ีมีการเชิญ

บุคคลภายนอกมามีสวนรวมในการใหคําแนะนํา ความรู และประสบการณท่ี

เปนประโยชนแกนักศึกษามากมาย อาทิเชน วิชา EC492 การวิเคราะห

การตลาดสินคาเกษตร และนโยบาย ไดมีการเชิญผูทรงคุณวุฒิจาก

สถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย มาใหความรูในเรื่องการจํานําขาว

และวิชา EC468 บูรณาการเศรษฐศาสตรสาธารณะ การพัฒนาและการเมือง

ไดมีการเชิญผูทรงคุณวุฒิจากกลุมขบวนการประชาชนเพ่ือสังคมท่ีเปนธรรม

(P–MOVE) เปนตน

นอกจากน้ี โครงการท่ีสงเสริมและพัฒนานักศึกษานําเสนอบทความ

จากรายงานผลการทําวิจัยในหองท่ีจัดเปนโครงการนําเสนอบทความดีเดน

(BSP) นอกจากอาจารยภายในคณะแลวไดเชิญบุคคลภายนอกผูทรงคุณวุฒิ

และมีความรอบรูในหัวขอผลงานท่ีผานการคัดเลือกมาเปนผูวิจารณ และรวม

เปนคณะกรรมการตัดสินรางวัลดวย เพ่ือใหเปนประสบการณ และใหมุมมอง

ท่ีกวางขวางสําหรับนักศึกษาในการนําไปตอยอดผลงานตอไปได (เอกสาร

ภาคผนวก ข–14 และเอกสารอางอิง 4.1 ถึงเอกสารอางอิง 4.3 และ

เอกสารอางอิง 3.3)

ภาคผนวก ข–14 : แบบฟอรมท่ี 2.6–1

ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอนราย

หลักสูตร

และ

4.1 สรุปการเชิญอาจารยบรรยายพิเศษ

4.2 ตารางการปรับภาระงานสอน ป

การศึกษา 2556 ตามรายช่ือ (ในสวนอาจารย

บรรยายพิเศษ)

4 . 3 คํ า สั่ ง ค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร ท่ี

058/2557 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการวิจารณ

ผลงานการคนคว า อิสระของนักศึกษาระดับ

บัณฑิตศึกษา สาขาเศรษฐศาสตรธุรกิจ (MBE) และ

ผูปฏิบัติงาน ประจําปการศึกษา 2556

3.3 สรุปงานสัมมนา “Best Seminar

Papers”

[/] 5. มีการจัดการเรียนรูท่ีพัฒนาจากการวิจัย หรือจากกระบวนการจัดการความรูเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน

หลักสูตรของคณะเศรษฐศาสตรมีวิชาสัมมนาเปนวิชาบังคับใน

ระดับปริญญาตรี และวิชาระเบียบวิธีวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษา ในระดับ

ปริญญาตรี เปนวิชาสัมมนา (รหัสลงทายดวยเลข 9) เชน วิชา ศ. 409

สัมมนาเศรษฐศาสตรการเมืองและประวัติศาสตรเศรษฐกิจ, วิชา ศ.459

สัมมนาเศรษฐศาสตรระหวางประเทศ และวิชา ศ.489 สัมมนาเศรษฐศาสตร

อุตสาหกรรม เปนตน วิชาบูรณาการ เชน วิชา ศ.468 บูรณาการ

เศรษฐศาสตรสาธารณะ การพัฒนาและการเมือง เปนตน และวิชาระเบียบวิธี

วิจัยเปนวิชาการศึกษาคนควาเฉพาะเรื่อง เชน วิชา EC710 ระเบียบวิธีวิจัย

ทางเศรษฐศาสตร เปนตน โดยวิชาเหลาน้ี อาจารยผูสอนจะสอนถึงหลักการ

ทําวิจัยและใหนักศึกษานําความรูท่ีไดจากการศึกษาวิชาเหลาน้ีไปพัฒนา

กระบวนการเรียนรูและกระบวนการจัดการความรู ดวยการศึกษาคนควาดวย

ภาคผนวก ข–13 : แบบฟอรมท่ี 2.6–1

ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอนราย

หลักสูตร

และ

5.1 แนวบรรยายรายวิชา ศ.409, ศ.459,

ศ.489 และ ศ.468 บูรณาการเศรษฐศาสตร

สาธารณะ การพัฒนา และการเมือง (ดูจากแฟม

มคอ.3)

3.3 สรุปงานสัมมนา “Best Seminar

Papers”

Page 48: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

41

ตนเองจากหัวขอท่ีนักศึกษากําหนดหรือเลือกไว ซึ่งอาจารยผูสอนยังไดนํา

ผลงานวิจัยในดานตาง ๆ ท่ีเ ก่ียวของกับเ น้ือหาวิชาท่ีสอนมาแนะนํา

ประกอบการสอนใหนักศึกษาไดเขาใจถึงปญหาตาง ๆ วามีท่ีมาอยางไร

จะตองแกไขดวยวิธีใด (ภาคผนวก ข–13 และเอกสารอางอิง 5.1 และ

เอกสารอางอิง 3.3)

[X] 6. มีการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนท่ีมีตอคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรูทุกรายวิชา ทุก

ภาคการศึกษา โดยการประเมินความพึงพอใจแตละรายวิชาตองไมตํ่ากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

คณะเศรษฐศาสตรจัดใหมีการประเมินการสอนทุกรายวิชา ทุก

โครงการ กําหนดการประเมินการสอนมีสวนสําคัญท่ีประกอบดวยความพึง

พอใจท่ีนักศึกษามีตอการสอนของผูสอน ความพึงพอใจตอการใชสื่อการสอน

และผลท่ีไดจากการสอนซึ่งมีการประเมินชวงปลายภาคการศึกษาท่ี 1 และ 2

กอนมีการจัดสอบปลายภาคทุกช้ันป และทุกหลักสูตร ทุกรายวิชา ป

การศึกษา 2556 ผลการประเมินภาคท่ี 1 มีขอมูล ดังน้ี (ภาคผนวก ข–14

และเอกสารอางอิง 1.4 และเอกสารอางอิง 1.5)

ระดับปริญญาตรี ไดแก

1. โครงการปริญญาตรี ภาคภาษาไทย จํานวน 151 วิชา มีผล

ประเมินต่ํากวา 3.51 จํานวน 6 วิชา

2. โครงการเศรษฐศาสตรบัณฑิต ภาคภาษาอังกฤษ จํานวน 136

วิชา มีผลประเมินต่ํากวา 3.51 จํานวน 4 วิชา

ระดับบัณฑิตศึกษา ไดแก

1. โครงการบัณฑิตศึกษา ภาคภาษาไทย จํานวน 11 วิชา และภาค

ภาษาอังกฤษ จํานวน 13 วิชา และทุกวิชามีผลประเมินสูงกวา 3.51

2. โครงการเศรษฐศาสตรธุรกิจ จํานวน 11 วิชา และทุกวิชามีผล

ประเมินสูงกวา 3.51

3. โครงการนิติเศรษฐศาสตรการคาระหวางประเทศ จํานวน 17

วิชา และทุกวิชามีผลประเมินสูงกวา 3.51

ดังน้ัน คณะจึงมีผลการดําเนินงานไมเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน

เน่ืองจากผลการประเมินบางรายวิชาต่ํากวา 3.51 ท้ังน้ี ไดมีการนําปญหา

รายงานตอท่ีประชุมคณาจารยเพ่ือหาระบบและกลไกแกไขปรับปรุงตอไป

(เอกสารอางอิง 6.1)

ภาคผนวก ข–14 : แบบฟอรมท่ี 2.6–2

ความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของ

อาจารยและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู

และ

6.1 รายงานการประชุมคณาจารย ครั้งท่ี

2/2556 วันท่ี 10 พฤษภาคม 2556 วาระท่ี 3.1

มาตรฐานและคุณภาพการเรียนการสอนคณะ

เศรษฐศาสตร (หนา 9)

1.4 ตัวอยางแบบประเมินการสอน

1.5 สรุปผลประเมินรายวิชา (ดูจากแฟม

สรุปผลการประเมินรายวิชา)

[/] 7. มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธการสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู ทุกรายวิชา ตามผล

การประเมินรายวิชา

ปการศึกษา 2556 ทุกหลักสูตรของคณะเศรษฐศาสตรไดนําผลการ

ประเมินมอบใหแกอาจารยทุกทาน เพ่ือพิจารณา/พัฒนา/ปรับปรุงการเรียน

การสอนในปถัดไป ซึ่งมีวิชาท่ีอาจารยผูสอนไดปรับกลยุทธการเรียนการสอน

โดยการปรับลักษณะและวิธีการเรียนการสอน เปนการเนนการบรรยายแบบ

ตั้งคําถาม (Problem–Based Learning: PBL) ผสมกับการบรรยายดวยสื่อ

7.1 รายงานผลการดําเนินการของ

รายวิชา (มคอ.5)

7.2 รายงานการประชุมคณาจารย ครั้งท่ี

3/2556 วันท่ี 15 กรกฎาคม 2556 วาระท่ี 4.1

แผนพัฒนาบุคลากรสายวิชาการ (หนา 9)

Page 49: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

42

ตาง ๆ และการเรียนรู (ดวยตนเอง) ศึกษาจากประสบการณของผูอ่ืน รวมท้ัง

การศึกษาคนควาดวยตนเองภายใตการควบคุมและแนะนําจากอาจารยผูสอน

(เอกสารอางอิง 7.1 ถึงเอกสารอางอิง 7.2 และเอกสารอางอิง 1.5)

1.5 สรุปผลประเมินรายวิชา (ดูจากแฟม

สรุปผลการประเมินรายวิชา)

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

6 ขอ 3 ขอ 2.00 คะแนน ไมบรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

3 ขอ 6 ขอ 4.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

3 ขอ 6 ขอ 4.00 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 50: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

43

1. ตัวบงชี้ สกอ.2.7 : ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลกัษณะของบัณฑิต

2. ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการครบ 5 ขอตามเกณฑและ

ครบถวนตามเกณฑมาตรฐานเพ่ิมเติมเฉพาะกลุม

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 6 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงคตามความตองการของผูใชบัณฑิตอยางนอยสําหรับทุกหลักสูตรระดับ

ปริญญาตรี ทุกรอบระยะเวลาตามแผนกําหนดการศึกษาของหลักสูตร

คณะเศรษฐศาสตรใชขอมูลผลการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึง

ประสงคตามความตองการของผูใชบัณฑิตทุกหลักสูตรระดับปริญญาตรี โดยใช

วิธีการสอบถามจากแบบประเมินผลการฝกงานของนักศึกษา โดยใหหนวยงาน/

องคกรระบุขอเสนอ ขอคิดเห็นของบัณฑิตท่ีตองการ เพ่ือนํามาเปนขอมูล

ประกอบการบริหารดําเนินการในสวนของการปรับหลักสูตรและการจัดการ

บริหารการเรียนการสอน (ภาคผนวก ข–17) และผลการประเมินนักศึกษาจาก

หนวยงานภายนอกท่ีรับนักศึกษาเขาฝกงานในขออ่ืน ๆ ก็ไดนําผลมากําหนดเปน

แนวทางในการกําหนดคุณสมบัติท่ีพึงประสงคประกอบการคัดเลือกนักศึกษา

โดยยึดหลักคุณสมบัติ 5 ดาน คือ ดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความรู ดานทักษะ

ทางปญญา ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ และดาน

ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

ดังน้ัน คณะจะจัดใหมีการสํารวจความตองการของตลาดแรงงาน และ

ความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิต และมุงใหบัณฑิต

สามารถประกอบอาชีพไดตรงสาขาท่ีสําเร็จการศึกษา

จากกระบวนการดังกลาวไดมีการสรปุผลและดําเนินการทบทวน และมี

การดํา เนินงานตามแผนการปรับปรุงหลักสูตรท่ีสอดคลองกับประกาศ

กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ.

2552 (TQF) (เอกสารอางอิง 1.1 ถึงเอกสารอางอิง 1.3)

ภาคผนวก ข–17 : แบบฟอรมตัวบงช้ี

สมศ.2 คุณภาพบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอก

ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

แหงชาติ ปการศึกษา 2556

และ

1.1 เ อ ก ส า ร ค ว า ม ต อ ง ก า ร ข อ ง

หนวยงานตอบัณฑิตท่ีพึงประสงค

1.2 แบบสอบถาม/แบบรายงานผล

การฝกงานของนักศึกษา

1.3 เอกสาร มคอ.2 กรอบมาตรฐาน

คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

[/] 2. มีการนําผลจากขอ 1 มาใชในการปรับปรุงหลกัสูตร การจัดการเรียนการสอน การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการ

เรียนท่ีสงเสริมทักษะอาชีพและคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงคตามความตองการของผูใชบัณฑิต

คณะเศรษฐศาสตรไดใชขอมูลจากการดําเนินการในขอ 1 มาใชในการ

ปรับปรุงหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง 2556 โดยมีผูบริหาร

โครงการกํากับดูแลการดําเนินการใหเปนไปตามขอกําหนด (ภาคผนวก ข–17

และเอกสารอางอิง 2.1) และมีการรายงานผลการดําเนินงานตอท่ีประชุม

คณาจารยเพ่ือเปนการใหคณาจารยรับทราบแนวทางการประเมินประสิทธิผล

ของการสอน (เอกสารอางอิง 2.2)

คณะดําเนินการตามตัวบงช้ีผลการดําเนินงานของหลักสูตร (มคอ.2)

ภาคผนวก ข–17 : แบบฟอรมตัวบงช้ี

สมศ.2 คุณภาพบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอก

ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

แหงชาติ ปการศึกษา 2556

และ

2.1 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต

ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556 หมวดท่ี 4–หมวดท่ี 8

Page 51: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

44

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

ขอท่ี 7 อยางนอยขอ 1–5 (เอกสารอางอิง 2.3)

นอกจากน้ี คณะยังไดสงเสริมการจัดกิจกรรมวิชาการท่ีสงเสริม

คุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงคทุกหลักสูตร (เอกสารอางอิง 2.4)

2.2 รายงานการประชุมคณาจารยโดย

ผูบริหารโครงการเปนผูรายงานผล อางอิงการ

ประชุมครั้งท่ี 1/2556 วาระท่ี 4.6 (หนา 7)

2.3 เอกสารการดําเนินงานตามตัวบงช้ี

ผลการดําเนินงานของหลักสูตร มคอ.3 – มคอ.6

และปฏิทินกําหนดการดําเนินงาน

2.4 รายละเอียดโครงการกิจกรรม

วิชาการสงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค

โครงการ BSP ระดับปริญญาตรี

[/] 3. มีการสงเสริมสนับสนุนทรัพยากรท้ังดานบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ และงบประมาณท่ีเอ้ือตอการพัฒนาคุณลักษณะ

ของบัณฑิต

คณะเศรษฐศาสตรมีโครงการสนับสนุนใหนักศึกษาทําหนาท่ีติวเตอร

และชวยงานอ่ืน ๆ เก่ียวกับการเรียนการสอนของคณะในทุกระดับช้ัน ทุก

หลักสูตร และสนับสนุนใหนักศึกษาเปนผูชวยสอนใหกับอาจารยประจําวิชา โดย

มีการตั้งงบประมาณคาตอบแทนในการทําหนาท่ีเปนติวเตอร และผูชวยงานสอน

(เอกสารอางอิง 3.1) เปาหมายท่ีคณะใหนักศึกษาเปนติวเตอร และชวยเตรียม

งานสอนเ พ่ือเปนการสนับสนุนให นักศึกษามีรายได และไดรับความรู

ความสามารถในการพัฒนาศักยภาพของตนเอง นอกจากการเรียนรูแลวยัง

สามารถเปนผูถายทอดความรูแกผู อ่ืนไดดวย คณะจัดเครื่องมือทางดาน

เทคโนโลยีสารสนเทศเปนหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรในสัดสวนท่ีเทียบกับความ

ตองการของนักศึกษาท่ีมีความตองการใชในปจจุบันประจําอยู 3 อาคารของการ

เรียนการสอนและทุกหองบรรยายจะมีอุปกรณสื่อการสอนท่ีใชเทคโนโลยีประจํา

อยู และมีการตรวจสอบการใชงานอยางตอเน่ือง (เอกสารอางอิง 3.2)

3.1 คูมืองบประมาณการเงินคณะ

เศรษฐศาสตร

3.2 ภาพหองเรียนท่ีไดมาตรฐานมีสื่อ

การสอน

[/] 4. มีระบบและกลไกการสงเสริมใหนักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาเขารวมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรือ

นําเสนอผลงานทางวิชาการในท่ีประชุมระหวางสถาบัน หรือท่ีประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ

คณะเศรษฐศาสตรจัดกิจกรรมเพ่ือสงเสริมนักศึกษาใหมีความสนใจ

คนควาหาความรูเพ่ิมเติมและรูจักวิธีวิเคราะหวิจัยในดานเศรษฐศาสตร และ

เศรษฐกิจการเงิน เพ่ือเผยแพรผลงานทางวิชาการ ซึ่งมีหนวยงานรวมโครงการ

ประกอบดวย

1. ธนาคารแหงประเทศไทย

2. สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

3. สถาบันการศึกษาดานเศรษฐศาสตร 6 แหง ประกอบดวย

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร และมหาวิทยาลัย

รามคําแหง (เอกสารอางอิง 4.1 ถึงเอกสารอางอิง 4.3)

4.1 เว็บไซตคณะเศรษฐศาสตร

(www.econ.tu.ac.th) หนา “ขาวกิจกรรม”

หัวขอ “ขอเชิญผูสนใจสงผลงานเขาประกวด

โครงการเศรษฐศาสตรเศรษฐทัศน ประจําป

2556”

4.2 เอกสาร "โครงการเศรษฐทัศน"

ประจําป 2556

4.3 งบประมาณสนับสนุนใหนักศึกษา

เขารวมกิจกรรมวิชาการในและตางประเทศ

[/] 5. มีกิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมใหแกนักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาท่ีจัดโดยสถาบัน

Page 52: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

45

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

คณะเศรษฐศาสตรมีการรณรงคการลดการทุจริตในการสอบดวยการ

ติดโปสเตอรประชาสัมพันธถึงโทษจากการทําทุจริตในการสอบ (เอกสารอางอิง

5.1) และย้ําเตือนโดยอาจารยผูสอนอยางสม่ําเสมอ เชน การจัดทําขอสอบท่ีมี

ขอความเตือนปรากฏในหนาแรกของขอสอบทุกรายวิชา เปนตน (เอกสารอางอิง

5.2)

นอกจากน้ี คณะยังมีการสนับสนุนงบประมาณในการจัดกิจกรรม

เสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม เพ่ือใหนักศึกษารูจักรับผิดชอบตอตนเองและ

สังคม (เอกสารอางอิง 5.3)

5.1 ภาพแสดงโปสเตอรประชาสัมพันธ

เสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมใหแกนักศึกษา

5.2 หนาแรกของขอสอบ วิชา ศ.402

เศรษฐศาสตรสถาบัน

5.3 กิจกรรม/โครงการคุณธรรมและ

จริยธรรมของนักศึกษา ปการศึกษา 2556

[–] 6. มีระบบและกลไกสนับสนุนการประยุกตใชผลงานจากวิทยานิพนธของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และมีการรับรองการ

ใชประโยชนจริงจากหนวยงานภาครัฐ หรือเอกชน หรือหนวยงานวิชาชีพ (เฉพาะกลุม ค 1)

ไมประเมิน เน่ืองจากคณะอยูในสถาบัน กลุม ง (สถาบันท่ีเนนการวิจัย

ข้ันสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก)

ไมม ี

[/] 7. มีการพัฒนาทักษะนักศึกษาในการจัดทําบทความจากวิทยานิพนธและมีการนําไปตีพิมพเผยแพรในวารสารระดับ

นานาชาติ

ในปการศึกษา 2556 คณะเศรษฐศาสตรไดจัดกิจกรรมการนําเสนอ

ผลงานของนักศึกษาโครงการปริญญาโท โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเผยแพรองค

ความรูท่ีเกิดจากการวิจัย/การคนควาอิสระของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และ

เพ่ือพัฒนาทักษะนักศึกษาใหมีการแลกเปลี่ยนความรู ประสบการณระหวาง

นักศึกษา คณาจารย นักวิชาการ และผูสนใจ อีกท้ังยังเปนการสนับสนุนใหเกิด

การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานงานวิจัย และการคนควาอิสระ ใหสอดคลองกับ

เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา (เอกสารอางอิง 7.1)

สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะไดจัดกิจกรรมโครงการ Best

Seminar Papers (BSP) เพ่ือพัฒนาทักษะในการนําเสนอบทความใหกับ

นักศึกษา (เอกสารอางอิง 2.4)

7.1 เอกสารบทความของนักศึกษา

ระดับปริญญาโทผานการนําเสนอ โครงการ

แลกเปลี่ยนเรียนรูในระดับนานาชาต ิ

2.4 รายละเอียดโครงการกิจกรรม

วิชาการสงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค

โครงการ BSP ระดับปริญญาตรี

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

6 ขอ 2 ขอ 2.00 คะแนน ไมบรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

2 ขอ 6 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

2 ขอ 3 ขอ 3.00 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ตัดขอ 1, 2 ไมมีผลสํารวจคุณลักษณะบัณฑิต และตัดขอ 7 เน่ืองจากไมมีการนําบทความจากวิทยานิพนธไปตีพิมพ

เผยแพรในวารสารระดับชาติ

Page 53: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

46

1. ตัวบงชี้ สกอ.2.8 : ระดับความสําเร็จของการเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมท่ีจัดใหกับนักศึกษา

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 5 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีการกําหนดพฤติกรรมดานคุณธรรมจริยธรรมสําหรับนักศึกษาท่ีตองการสงเสริมไวเปนลายลักษณอักษร

คณะเศรษฐศาสตรกําหนดพฤติกรรมดานคุณธรรมจริยธรรมสําหรับ

นักศึกษา (เอกสารอางอิง 1.1) ซึ่งเปนไปตามท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด เพ่ือ

สงเสริมใหนักศึกษาตองเปนพลเมืองท่ีมีความรับผดิชอบตอตนเอง ผูอ่ืน สังคม

และสิง่แวดลอม โดยตองรูจักเคารพสิทธิผูอ่ืน ใชสิทธิเสรีภาพควบคูกับการมี

หนาท่ี เคารพกติกา มีความซื่อสัตย และมีสวนรวมในการแกปญหาท่ีเกิดข้ึน

ในสังคมในระดับตาง ๆ โดยเริ่มตนท่ีตนเอง อันนําไปสูการเปนบัณฑิตท่ีมี

จริยธรรมในการประกอบอาชีพ (เอกสารอางอิง 1.2)

1.1 ประกาศมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

พฤติกรรมดานคุณธรรมจริยธรรมสําหรับนักศึกษา

1.2 สื่อประชาสัมพันธและประกาศคณะ

เศรษฐศาสตรเก่ียวกับการทุจริตการสอบในตัว

ขอสอบ เอกสารปฐมนิเทศนักศึกษา

[/] 2. มีการถายทอดหรือเผยแพรพฤติกรรมดานคุณธรรมจริยธรรมสําหรับนักศึกษาท่ีตองการสงเสริมตามขอ 1 ไปยังผูบริหาร

คณาจารย นักศึกษาและผูเกี่ยวของทราบอยางท่ัวถึงท้ังสถาบัน

คณะเศรษฐศาสตรไดเผยแพรพฤติกรรมดานคุณธรรมจริยธรรมท่ี

ตองการสงเสริมผานสื่อประชาสัมพันธ และกิจกรรมตาง ๆ เพ่ือใหผูบริหาร

คณาจารย นักศึกษา และผูเก่ียวของทราบโดยท่ัวกัน (เอกสารอางอิง 2.1

และเอกสารอางอิง 2.2)

2.1 เ ว็บไซตคณะเศรษฐศาสตร

(www.econ.tu.ac.th) หัวขอ “กิจการนักศึกษา”

หัวขอยอย “พฤติกรรมดานคุณธรรมจริยธรรม

สําหรับนักศึกษา”

2.2 ประกาศบอรดช้ัน 1 คณะ

เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร อ า ค า ร ก ลุ ม สั ง ค ม ศ า ส ต ร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต

[/] 3. มีโครงการหรือกิจกรรมสงเสริมการพัฒนาพฤติกรรมดานคุณธรรมจริยธรรมท่ีกําหนดในขอ 1 โดยระบุตัวบงชี้และ

เปาหมายวัดความสําเร็จท่ีชัดเจน

คณะเศรษฐศาสตรมีโครงการและกิจกรรมสงเสริมการพัฒนา

พฤติกรรมดานคุณธรรมจริยธรรมสําหรับนักศึกษาท้ังท่ีจัดโดยคณะ เชน

โครงการคายตามรอยอาจารยปวย เปนตน (เอกสารอางอิง 3.1) และท่ีจัดโดย

นักศึกษา เชน โครงการคายอาสาพัฒนาชนบท ระดับปริญญาตรี ภาค

ภาษาไทย และโครงการสนับสนุนกิจกรรมทางวิชาการและการบําเพ็ญ

ประโยชนของนักศึกษากลุมอิสระ เปนตน (เอกสารอางอิง 3.2 และ

เอกสารอางอิง 3.3) ซึ่งมีการกําหนดตัวบงช้ีและเปาหมายวัดความสําเร็จของ

การจัดโครงการไวในโครงการ โดยคณะสนับสนุนใหนักศึกษาเขารวมกิจกรรม

ดานตาง ๆ เพ่ือใหนักศึกษาไดรับความรูนอกเหนือจากตําราเรียน และ

สงเสริมการมีคุณธรรมจริยธรรม การเสียสละเพ่ือสังคม อีกท้ังสราง

3.1 เอกสารโครงการคายตามรอยอาจารย

ปวย

3.2 เอกสารโครงการคายอาสาพัฒนา

ชนบท

3.3 เอกสารโครงการสนับสนุนกิจกรรม

ทางวิชาการและการบําเพ็ญประโยชนของนักศึกษา

กลุมอิสระ

Page 54: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

47

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

ความสัมพันธท่ีดีกับบุคคลท่ีเขารวมกิจกรรม

[/] 4. มีการประเมินผลโครงการหรือกิจกรรมสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาตามตัวบงชี้และเปาหมายท่ีกําหนดในขอ 3

โดยมีผลการประเมินบรรลุเปาหมายอยางนอยรอยละ 90 ของตัวบงชี ้

โครงการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาท้ังท่ีจัดโดยคณะ

เศรษฐศาสตร และจัดโดยนักศึกษา ซึ่งกอใหเกิดประโยชนตอตัวนักศึกษา ตอ

ผูอ่ืน และสังคม มีการประเมินผลการจัดกิจกรรมโดยบรรลุเปาหมายตาม

วัตถุประสงค (เอกสารอางอิง 4.1 และเอกสารอางอิง 4.2)

4.1 เอกสารการประเมินโครงการคาย

อาสาพัฒนาชนบท ต.แมสรวย อ.แมสรวย จ.

เชียงราย

4.2 เอกสารการประเมินโครงการ

สนับสนุนกิจกรรมทางวิชาการและการบําเพ็ญ

ประโยชนของนักศึกษากลุมอิสระ

[/] 5. มีนักศึกษาหรือกิจกรรมท่ีเกี่ยวกับนักศึกษาไดรับการยกยองชมเชย ประกาศเกียรติคุณดานคุณธรรมจริยธรรม โดย

หนวยงานหรือองคกรระดับชาติ

นักศึกษาระดับปริญญาตรีคณะเศรษฐศาสตรไดรับรางวัลชมเชย

โครงการ RD Camp Season 6 ตามแนวความคิด “เปลี่ยนคนคิดได ให

กลายเปนคนคิดดี” จัดโดย กรมสรรพากร (ภาคผนวก ข–15 และ

เอกสารอางอิง 5.1)

ภาคผนวก ข–15 : แบบฟอรมตัวบงช้ี

สกอ.2.8 ระดับความสําเร็จของการเสริมสราง

คุณธรรมจริยธรรมท่ีจัดใหกับนักศึกษา ปการศึกษา

2556

และ

5.1 เอกสารกรมสรรพากร วันท่ี 20

พฤศจิกายน 2556 เรื่อง การประกวดแขงขันผลงาน

โครงการ RD Camp Season 6

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

5 ขอ 4 ขอ 4.00 คะแนน ไมบรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 55: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

48

1. ตัวบงชี้ สมศ.1 : บัณฑิตปริญญาตรีท่ีไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

โดยการแปลงบัณฑิตปริญญาตรีท่ีไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป เปนคะแนนระหวาง 0 – 5

คารอยละของบัณฑิตปริญญาตรีท่ีไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ

100

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคารอยละของบัณฑิตปริญญาตรีท่ีไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป

307 X 100 = 96.54

318

4.2 แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 4.83

96.54 X 5 = 4.83

100

5. ผลการดําเนินงาน :

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2556 ดังน้ี (ภาคผนวก ข–16)

1. ผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี รุนปการศึกษา 2556 จํานวน 436 คน

2. ผูตอบแบบสํารวจ จํานวน 376 คน คิดเปนรอยละ 86.24 ของจํานวนผูสําเร็จ

การศึกษาท้ังหมด ซึ่งประกอบดวย

2.1 ผูศึกษาตอ จํานวน 58 คน

2.2 ผูประสงคทํางานและไมประสงคทํางาน จํานวน 318 คน

2.2.1 บัณฑิตปริญญาตรีท่ีไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1

ป จํานวน 307 คน

2.2.2 ผูท่ียังไมไดทํางาน จํานวน 11 คน

ดังน้ัน คณะจึงมีคารอยละของบัณฑิตท่ีไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน

1 ป เทากับรอยละ 96.54 ของผูตอบแบบสํารวจท่ีไมนับรวมผูท่ีศึกษาตอ และเมื่อเทียบกับ

คะแนนเต็ม 5 ซึ่งกําหนดใหเทากับรอยละ 100 แลวคณะไดคะแนนเทากับ 4.83

ภ า ค ผ น ว ก ข –1 6 :

แบบฟอรมตัวบง ช้ี สมศ.1 บัณฑิต

ปริญญาตรีท่ีไดงานทําหรือประกอบ

อาชีพอิสระภายใน 1 ป

และ

1 . ห นั งสื อ กอ งส ง เ ส ริ ม

มาตรฐานและประกันคุณภาพ ท่ี ศธ.

0516.58/ว468 วันท่ี 18 สิงหาคม

2557 เรื่อง ขอสงขอมูลจากหนวยงาน

สวนกลางเ พ่ือจั ด ทํารายงานการ

ประเมินตนเองของคณะ ปการศึกษา

2556

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 95.47 รอยละ 97.56 4.88 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 97.56 รอยละ 96.54 4.83 คะแนน ไมบรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 97.56 รอยละ 96.54 4.83 คะแนน ไมบรรล ุ

Page 56: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

49

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 57: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

50

1. ตัวบงชี้ สมศ.2 : คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

ใชคาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5)

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

489.70 = 4.33

113

5. ผลการดําเนินงาน :

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2556 ดังน้ี (ภาคผนวก

ข–17)

1. ผลการประเมินคุณภาพของบัณฑิต

1.1 ระดับปริญญาตรี เทากับ 383.87

1.2 ระดับปริญญาโท เทากับ 105.83

2. บัณฑิตท่ีไดรับการประเมินท้ังหมด จํานวน 113 คน คิดเปนรอยละ

21.00 ของบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2556 จํานวน 538 คน

ดังน้ัน คณะจึงมีคาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต เทากับ 4.33

คะแนน (คะแนนเต็ม 5)

ภาคผนวก ข–17 : แบบฟอรมตัวบงช้ี

สมศ.2 คุณภาพบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก

ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

แหงชาติ ปการศึกษา 2556

และ

1. หนังสือกองสงเสริมมาตรฐานและ

ประกันคุณภาพ ท่ีศธ.0516.58/ว468 วันท่ี 18

สิงหาคม 2557 เรื่อง ขอสงขอมูลจากหนวยงาน

สวนกลางเพ่ือจัดทํารายงานการประเมินตนเอง

ของคณะ ปการศึกษา 2556

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

4.36 4.16 4.16 คะแนน ไมบรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

4.16 4.33 4.33 คะแนน บรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

4.16 4.33 4.33 คะแนน บรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 58: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

51

1. ตัวบงชี้ สมศ.3 : ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

โดยการแปลงรอยละของผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพรเปนคะแนนระหวาง 0 –

5

คารอยละของผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพรท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 =

รอยละ 25

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคารอยละของผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร

23.75 X 100 = 21.99

108

4.2 แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 3.51

21.99 X 5 = 4.40

25

5. ผลการดําเนินงาน:

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงาน ดังน้ี

1. ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทท่ีตีพิมพหรือเผยแพรในป

พ.ศ. 2556 จํานวน 83 เรื่อง มีผลรวมถวงนํ้าหนักท้ังหมดเทากับ 23.75 จําแนกตาม

ระดับคุณภาพงานวิจัยท่ีตีพิมพ ดังน้ี (ภาคผนวก ข–18)

1.1 มีการเผยแพรสูสาธารณะในลักษณะใดลักษณะหน่ึง (คานํ้าหนัก

0.25) จํานวน 76 เรื่อง ผลรวมถวงนํ้าหนักเทากับ 19.00

1.2 มีการตีพิมพในรายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับชาติ

(proceedings) (คานํ้าหนัก 0.50) จํานวน 2 เรื่อง ผลรวมถวงนํ้าหนักเทากับ 1.00

1.3 มีการตีพิมพในรายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับ

นานาชาติ (proceedings) หรือมีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติ (คานํ้าหนัก

0.75) จํานวน 5 เรื่อง ผลรวมถวงนํ้าหนักเทากับ 3.75

1.4 มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ (คานํ้าหนัก 1.00)

จํานวน 0 เรื่อง

2. ผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทในปการศึกษา 2556 จํานวน 108 คน

ประกอบดวย

2.1 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรภาษาไทย) จํานวน 5

คน

2.2 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) จํานวน

22 คน

2.3 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตรธุรกิจ

ภาคผนวก ข–18 : แบบฟอรม

ตั วบ ง ช้ี สมศ.3 ผลงานของผู สํ า เร็ จ

การศึกษาระดับปริญญาโทท่ีไดรับการ

ตีพิมพหรือเผยแพร ป พ.ศ. 2556

Page 59: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

52

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

จํานวน 57 คน

2.4 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติเศรษฐศาสตรการคา

ระหวางประเทศ จํานวน 24 คน

ดังน้ัน คณะจึงมีคารอยละของผลงานของผูสาํเรจ็การศึกษาระดบัปริญญาโทท่ี

ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพรเทากับรอยละ 21.99 และเมื่อเทียบกับคะแนนเต็ม 5 ซึ่ง

กําหนดใหเทากับรอยละ 25 แลวคณะไดคะแนนเทากับ 4.40

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 2.08 รอยละ 39.68 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 39.68 รอยละ 21.99 4.40 คะแนน ไมบรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 39.68 รอยละ 9.80 1.96 คะแนน ไมบรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

1. ปรับจํานวนผูสําเร็จการศึกษาตามเลมสูจิบัตรพิธีพระราชทานปริญญาบัตร คือ 102 คน

2. บทความท่ีนับไดมี 16 ผลงาน ไดแก ลําดับท่ี 7, 8, 63-65 ลําดับท่ี 78 และ 83 สําหรับรายการอ่ืน ๆ ตัด เน่ืองจาก

เปนผลงานท่ียังไมไดตีพิมพในวารสารสืบเน่ืองจากการประชุม มีเพียงบทคัดยอท่ีเปนหลักฐานจึงนับไมได

3. ปรับคานํ้าหนักลําดับท่ี 66-70, 72-73, 76-77 จาก 0.25 เปน 0.75 เน่ืองจากเปนงานประชุมวิชาการระดับ

นานาชาติ

Page 60: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

53

1. ตัวบงชี้ สมศ.4 : ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

โดยการแปลงรอยละของผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพรเปนคะแนนระหวาง 0

– 5

คารอยละของผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพรท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 =

รอยละ 50

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคารอยละของผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร

0.00 X 100 = 0.00

1

4.2 แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 0.00

0.00 X 5 = 0.00

50

5. ผลการดําเนินงาน :

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงาน ดังน้ี

1. ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกท่ีตีพิมพหรือเผยแพรในป พ.ศ.

2556 จํานวน 0 เรื่อง มีผลรวมถวงนํ้าหนักท้ังหมดเทากับ 0.00 จําแนกตามระดับคุณภาพ

งานวิจัยท่ีตีพิมพ ดังน้ี (ภาคผนวก ข–19)

1.1 มีการตีพิมพในรายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับชาติ/ระดับ

นานาชาติ หรือมีการตีพิมพในวารสารวิชาการท่ีปรากฏในฐานขอมูล TCI (คานํ้าหนัก 0.25)

จํานวน 0 เรื่อง

1.2 มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติท่ีมีช่ือปรากฏอยูในประกาศของ

สมศ. (คานํ้าหนัก 0.50) จํานวน 0 เรื่อง

1.3 มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีมี ช่ือปรากฏอยูใน

ประกาศของ สมศ. (คานํ้าหนัก 0.75) จํานวน 0 เรื่อง

1.4 มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีปรากฏในฐานขอมูลการ

จัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank : www.scimagojr.com) หรือ ISI หรือ

Scopus (คานํ้าหนัก 1.00) จํานวน 0 เรื่อง

2. ผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกในปการศึกษา 2556 จํานวน 1 คน จาก

หลักสูตรเศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรภาษาอังกฤษ)

ดังน้ัน คณะจึงมีคารอยละของผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกท่ี

ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพรเทากับรอยละ 0.00 และเมื่อเทียบกับคะแนนเต็ม 5 ซึ่ง

กําหนดใหเทากับรอยละ 25 แลวคณะไดคะแนนเทากับ 0.00

ภ า ค ผ น ว ก ข –1 9 :

แบบฟอรมตัวบงช้ี สมศ.4 ผลงานของ

ผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกท่ี

ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร ป พ.ศ.

2556

Page 61: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

54

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 12.50 ไมประเมิน ไมประเมิน ไมประเมิน

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 12.50 รอยละ 0.00 0.00 คะแนน ไมบรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 12.50 รอยละ 0.00 0.00 คะแนน ไมบรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 62: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

55

1. ตัวบงชี้ สมศ.14 : การพัฒนาคณาจารย

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

โดยการแปลงคาดัชนีคุณภาพอาจารยเปนคะแนนระหวาง 0 – 5

คาดัชนีคุณภาพอาจารยท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = 6

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคาดัชนีคุณภาพอาจารย

395.0 = 5.27

75

4.2 แปลงคาดัชนีท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 4.39

5.27 X 5 = 4.39

6

5. ผลการดําเนินงาน :

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2556 ดังน้ี (ภาคผนวก ข–10)

1. ผลรวมถวงนํ้าหนักท้ังหมดของอาจารยประจําเทากับ 395.0

2. อาจารยประจําท้ังหมด จํานวน 75 คน

ดังน้ัน คณะจึงมีคาดัชนีคุณภาพอาจารย เท า กับ 5.27 และเมื่ อ เ ทียบกับ

คะแนนเต็ม 5 ซึ่งกําหนดใหเทากับ 6 แลวคณะไดคะแนนเทากับ 4.39

ภาคผนวก ข–10 : แบบฟอรม

ตัวบงช้ี สมศ.14 การพัฒนาคณาจารย

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

5.47 5.31 4.43 คะแนน ไมบรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

5.31 5.27 4.39 คะแนน ไมบรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

5.31 5.27 4.39 คะแนน ไมบรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 63: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

56

1. ตัวบงชี้ มธ.1 : รอยละของนักศึกษาตางชาติตอจํานวนนักศึกษาท้ังหมด

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

โดยการแปลงรอยละของนักศึกษาตางชาติตอจํานวนนักศึกษาท้ังหมด เปนคะแนนระหวาง 0 – 5

คารอยละของนักศึกษาตางชาติตอจํานวนนักศึกษาท้ังหมด ท่ีกําหนดใหเปนเกณฑ 5 คะแนน = รอยละ 1.60

คณะ/หนวยงานจัดการเรียนการสอน 5 คะแนน

มีหลักสูตรภาษาอังกฤษ 1.60

ไมมีหลักสูตรภาษาอังกฤษ 0.15

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคารอยละของนักศึกษาตางชาติตอจํานวนนักศึกษาท้ังหมด

13 X 100 = 0.61

2129

4.2 แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 1.91

0.61 X 5 = 1.91

1.60

5. ผลการดําเนินงาน:

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2556 ดังน้ี

1. นักศึกษาตางชาติท้ังหมด จํานวน 13 คน ไดแก (ภาคผนวก ข–20)

1.1 นักศึกษาตางชาติระดับปริญญาตรี จํานวน 5 คน

1.2 นักศึกษาตางชาติระดับปริญญาโท จํานวน 8 คน

2. นักศึกษาท้ังหมด จํานวน 2,129 คน ไดแก (ภาคผนวก ข–2)

2.1 นักศึกษาระดับปริญญาตรีท้ังหมด จํานวน 1,755 คน

2.2 นักศึกษาระดับปริญญาโทท้ังหมด จํานวน 368 คน

2.3 นักศึกษาระดับปริญญาเอกท้ังหมด จํานวน 6 คน

ดังน้ัน คณะจึงมีคารอยละของนักศึกษาตางชาติตอจํานวนนักศึกษา

ท้ังหมดเทากับรอยละ 0.61 และคณะมีหลักสูตรภาษาอังกฤษซึ่งเมื่อเทียบกับ

คะแนนเต็ม 5 ท่ีกําหนดใหเทากับรอยละ 1.60 แลวคณะไดคะแนนเทากับ 1.91

ภาคผนวก ข–20 : แบบฟอรมตัวบงช้ี

มธ.1 รอยละของนักศึกษาตางชาติตอจํานวน

นักศึกษาท้ังหมด ปการศึกษา 2556

ภาคผนวก ข–2 : ตารางพ้ืนฐาน 2

จํานวนนักศึกษาท้ังหมด ปการศึกษา 2556

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 0.56 รอยละ 0.62 n.a. บรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 0.62 รอยละ 0.61 1.91 คะแนน ไมบรรล ุ

Page 64: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

57

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 0.62 รอยละ 0.75 2.35 คะแนน บรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เพ่ิมจํานวนนักศึกษาตางชาติจากขอมูลสํานักทะเบียน จํานวน 3 คน

Page 65: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

58

1. ตัวบงชี้ มธ.2 : รอยละของนักศึกษาแลกเปลี่ยนท่ีสงออกและรับเขาตอจํานวนนักศึกษาท้ังหมด

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

โดยการแปลงรอยละของนักศึกษาแลกเปลี่ยนท่ีสงออกและรับเขาตอนักศึกษาท้ังหมดเปนคะแนนระหวาง 0 – 5 รอยละของ

นักศึกษาแลกเปลี่ยนท่ีสงออกและรับเขาตอนักศึกษาท้ังหมด ท่ีกําหนดใหเปนเกณฑ 5 คะแนน = รอยละ 3.20

คณะ/หนวยงานจัดการเรียนการสอน 5 คะแนน

มีหลักสูตรภาษาอังกฤษ 3.20

ไมมีหลักสูตรภาษาอังกฤษ 0.80

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคารอยละของ

137.75 X 100 = 6.47

2129

4.2 แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 5.00

2.95 X 5 = 10.11

3.20

5. ผลการดําเนินงาน:

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2556 ดังน้ี

1. นักศึกษาแลกเปลี่ยนท้ังหมด จํานวน 138 คน มีผลรวมถวงนํ้าหนักท้ังหมดเทากับ

137.75 ประกอบดวย

1.1 นักศึกษาแลกเปลี่ยนท่ีสงออก (Exchange Student Outbound) จํานวน 99

คน ผลรวมถวงนํ้าหนักเทากับ 98.75 จําแนกตามระยะเวลาแลกเปลี่ยน ดังน้ี (ภาคผนวก ข–21)

1.1.1 ตั่งแต 1 วัน – 7 วัน (คานํ้าหนัก 0.25) จํานวน 0 คน

1.1.2 ตั้งแต 8 วัน – นอยกวา 1 เดือน (คานํ้าหนัก 0.50) จํานวน 0 คน

1.1.3 ตั้งแต 1 เดือน – นอยกวา 3 เดือน (คานํ้าหนัก 0.75) จํานวน 1 คน

ผลรวมถวงนํ้าหนักเทากับ 0.75

1.1.4 ตั้งแต 3 เดือนข้ึนไป (คานํ้าหนัก 1.00) จํานวน 98 คน ผลรวมถวง

นํ้าหนักเทากับ 98.00

1.2 นักศึกษาแลกเปลี่ยนท่ีรับเขา (Exchange Student Inbound) จํานวน 39 คน

ผลรวมถวงนํ้าหนักเทากับ 39.00 จําแนกตามระยะเวลาแลกเปลี่ยน ดังน้ี (ภาคผนวก ข–22)

1.2.1 ตั้งแต 1 วัน – 7 วัน (คานํ้าหนัก 0.25) จํานวน 0 คน

1.2.2 ตั้งแต 8 วัน – นอยกวา 1 เดือน (คานํ้าหนัก 0.50) จํานวน 0 คน

1.2.3 ตั้งแต 1 เดือน – นอยกวา 3 เดือน (คานํ้าหนัก 0.75) จํานวน 0 คน

1.2.4 ตั้งแต 3 เดือนข้ึนไป (คานํ้าหนัก 1.00) จํานวน 39 คน ผลรวมถวง

นํ้าหนักเทากับ 39.00

2. นักศึกษาท้ังหมด จํานวน 2,129 คน ไดแก (ภาคผนวก ข–2)

ภาคผนวก ข–21 :

แบบฟอรมท่ี 2–1 จํานวน

นักศึกษาแลกเปลี่ยนท่ีสงออก

ภาคผนวก ข–22 :

แบบฟอร ม ท่ี 2–2 จํ า น วน

นักศึกษาแลกเปลี่ยนท่ีรับเขา

ภ า ค ผ น ว ก ข –2 :

ต า ร า ง พ้ื น ฐ า น 2 จํ า น ว น

นักศึกษาท้ังหมด ปการศึกษา

2556

Page 66: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

59

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

2.1 นักศึกษาระดับปริญญาตรีท้ังหมด จํานวน 1,755 คน

2.2 นักศึกษาระดับปริญญาโทท้ังหมด จํานวน 368 คน

2.3 นักศึกษาระดับปริญญาเอกท้ังหมด จํานวน 6 คน

ดังน้ัน คณะจึงมีคารอยละของนักศึกษาแลกเปลี่ยนท่ีสงออกและรับเขาท้ังหมด (ไม

จํากัดเวลาการแลกเปลี่ยน) เทากับรอยละ 6.47 และคณะมีหลักสูตรภาษาอังกฤษซึ่งเมื่อเทียบกับ

คะแนนเต็ม 5 ท่ีกําหนดใหเทากับ 3.20 แลวคณะไดคะแนนเทากับ 5.00

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 2.80 รอยละ 3.51 n.a. บรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 3.51 รอยละ 6.47 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 3.51 รอยละ 7.70 5.00 คะแนน บรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ตรวจสอบจํานวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนจากแบบฟอรมจํานวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนถวงนํ้าหนักได 164

Page 67: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

60

1. ตัวบงชี้ มธ.3 : รอยละของอาจารยตางชาติตอจํานวนอาจารยท้ังหมด

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

โดยการแปลงรอยละของอาจารยตางชาติตอจํานวนอาจารยท้ังหมดเปนคะแนนระหวาง 0 – 5

รอยละของอาจารยตางชาติตอจํานวนอาจารยท้ังหมด ท่ีกําหนดใหเปนเกณฑ 5 คะแนน = รอยละ 9.50

คณะ/หนวยงานจัดการเรียนการสอน 5 คะแนน

มีหลักสูตรภาษาอังกฤษ 9.50

ไมมีหลักสูตรภาษาอังกฤษ 1.00

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคารอยละของ

9 X 100 = 12.00

75

4.2 แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 5.00

12.00 X 5 = 6.32

9.50

5. ผลการดําเนินงาน:

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2556 ดังน้ี

1. อาจารยตางชาติ จํานวน 9 คน (ภาคผนวก ข–23)

2. อาจารยท้ังหมด จํานวน 75 คน (ภาคผนวก ข–9)

ดังน้ัน คณะมีคารอยละของอาจารยตางชาติตอจํานวนอาจารยท้ังหมด

เทากับรอยละ 12.00 และคณะมีหลักสูตรภาษาอังกฤษซึ่งเมื่อเทียบกับคะแนน

เต็ม 5 ท่ีกําหนดใหเทากับรอยละ 9.50 แลวคณะไดคะแนนเทากับ 5.00

ภาคผนวก ข–23 : แบบฟอรมตัวบงช้ี

มธ.3 รอยละของอาจารยตางชาติตอจํานวน

อาจารยท้ังหมด ปการศึกษา 2556

ภาคผนวก ข–9 : แบบฟอรมท่ี 2.2

และ 2.3–1 จํานวนอาจารยจําแนกตามวุฒิ

การศึกษาและตําแหนงทางวิชาการ

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 10.00 รอยละ 2.65 ไมประเมิน ไมบรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 2.65 รอยละ 12.00 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 2.65 รอยละ 12.00 5.00 คะแนน บรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เพ่ิมจํานวนอาจารยชาวตางชาติท่ีเปนอาจารยประจํา จํานวน 1 คน

Page 68: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

61

1. ตัวบงชี้ มธ.4 : รอยละของอาจารยแลกเปลี่ยนท่ีสงออกและรับเขาตออาจารยท้ังหมด

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

โดยการแปลงรอยละของอาจารยแลกเปลี่ยนท่ีสงออกและรับเขาตออาจารยท้ังหมดเปนคะแนนระหวาง 0 – 5

คารอยละของอาจารยแลกเปลี่ยนท่ีสงออกและรับเขาตออาจารยท้ังหมด ท่ีกําหนดใหเปนเกณฑ 5 คะแนน = รอยละ 4.70

คณะ/หนวยงานจัดการเรียนการสอน 5 คะแนน

มีหลักสูตรภาษาอังกฤษ 4.70

ไมมีหลักสูตรภาษาอังกฤษ 2.25

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคารอยละของ

3.50 X 100 = 4.67

75

4.2 แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 4.67

4.67 X 5 = 4.96

4.70

5. ผลการดําเนินงาน:

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2556 ดังน้ี

1. อาจารยแลกเปลี่ยนท่ีสงออกและรับเขาท้ังหมด จํานวน 9 คน มีผลรวม

ถวงนํ้าหนักท้ังหมดเทากับ 3.50 ประกอบดวย

1.1 อาจารยแลกเปลี่ยนท่ีสงออก จํานวน 8 คน มีผลรวมถวงนํ้าหนัก

เทากับ 2.50 แบงตามระยะเวลาแลกเปลี่ยน ดังน้ี (ภาคผนวก ข–24)

1.1.1 ตั้งแต 1 วัน – 7 วัน (คานํ้าหนัก 0.25) จํานวน 6 คน

ผลรวมถวงนํ้าหนักเทากับ 1.50

1.1.2 ตั้งแต 8 วัน – นอยกวา 1 เดือน (คานํ้าหนัก 0.50)

จํานวน 2 คน ผลรวมถวงนํ้าหนักเทากับ 1.00

1.1.3 ตั้งแต 1 เดือน – นอยกวา 3 เดือน (คานํ้าหนัก 0.75)

จํานวน 0 คน

1.1.4 ตั้งแต 3 เดือนข้ึนไป (คานํ้าหนัก 1.00) จํานวน 0 คน

1.2 อาจารยแลกเปลี่ยนท่ีรับเขา จํานวน 1 คน มีผลรวมถวงนํ้าหนัก

เทากับ 1.00 แบงตามระยะเวลาแลกเปลี่ยน ดังน้ี (ภาคผนวก ข–25)

1.2.1 ตั้งแต 1 วัน – 7 วัน (คานํ้าหนัก 0.25) จํานวน 0 คน

1.2.2 ตั้งแต 8 วัน – นอยกวา 1 เดือน (คานํ้าหนัก 0.50)

จํานวน 0 คน

1.2.3 ตั้งแต 1 เดือน – นอยกวา 3 เดือน (คานํ้าหนัก 0.75)

จํานวน 0 คน

ภาคผนวก ข–24 : แบบฟอรมท่ี 4–1

จํานวนอาจารยแลกเปลี่ยนท่ีสงออก

ภาคผนวก ข–25 : แบบฟอรมท่ี 4–2

จํานวนอาจารยแลกเปลี่ยนท่ีรับเขา

ภาคผนวก ข–9 : แบบฟอรมท่ี 2.2

และ 2.3–1 จํานวนอาจารยจําแนกตามวุฒิ

การศึกษาและตําแหนงทางวิชาการ

Page 69: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

62

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

1.2.4 ตั้งแต 3 เดือนข้ึนไป (คานํ้าหนัก 1.00) จํานวน 1 คน

ผลรวมถวงนํ้าหนักเทากับ 1.00

2. อาจารยท้ังหมด จํานวน 75 คน (ภาคผนวก ข–9)

ดังน้ัน คณะจึงมีคารอยละของอาจารยแลกเปลี่ยนท่ีสงออกและรับเขาตอ

จํานวนอาจารยประจํา เทากับรอยละ 4.67 และคณะมีหลักสูตรภาษาอังกฤษซึ่งเมื่อ

เทียบกับคะแนนเต็ม 5 ท่ีกําหนดใหเทากับรอยละ 4.70 แลวคณะไดคะแนนเทากับ

4.96

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 1.35 รอยละ 2.65 ไมประเมิน บรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 1.35 รอยละ 4.67 4.96 คะแนน บรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 2.65 รอยละ 5.00 5.00 คะแนน บรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

คาเปาหมายท่ีเสนอมหาวิทยาลัย คือ 2.65 ปรับคานํ้าหนักลําดับท่ี 3 จาก 0.25 เปน 0.75 เน่ืองจากอาจารยไป

แลกเปลี่ยนเพ่ิมอีก 19 วัน (ขอมูลจากฝายวิเทศสัมพันธ)

Page 70: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

63

1. ตัวบงชี้ มธ.5 : รอยละของวิทยานิพนธ และงานวิชาการของนักศึกษาท่ีไดรับรางวัลระดับชาติหรือนานาชาติ

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

โดยการแปลงรอยละของวิทยานิพนธ และงานวิชาการของนักศึกษาท่ีไดรับรางวัลระดับชาติหรือนานาชาติเปนคะแนนระหวาง

0 – 5

คารอยละของวิทยานิพนธ และงานวิชาการของนักศึกษาท่ีไดรับรางวัลระดับชาติหรือนานาชาติท่ีกําหนดใหเปนเกณฑ 5

คะแนน = รอยละ 0.08

กลุมสาขาวิชา 5 คะแนน

วิทยาศาสตรสุขภาพ 0.60

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 0.04

มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 0.08

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคารอยละของ

5.50 X 100 = 0.26

2129

4.2 แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 5.00

0.26 X 5 = 16.15

0.08

5. ผลการดําเนินงาน:

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2556 ดังน้ี

1. วิทยานิพนธ และงานวิชาการของนักศึกษาท่ีไดรับรางวัล จํานวน 9 เรื่อง มีผลรวม

ถวงนํ้าหนักท้ังหมดเทากับ 5.50 แบงตามระดับคุณภาพรางวัล ดังน้ี (ภาคผนวก ข–26)

1.1 ผลงานท่ีไดรับรางวัลระดับชาติ (คานํ้าหนัก 0.50) จํานวน 7 เรื่อง ผลรวมถวง

นํ้าหนักเทากับ 3.50

1.2 ผลงานท่ีไดรับรางวัลระดับนานาชาติ (คานํ้าหนัก 1.00) จํานวน 2 เรื่อง ผลรวม

ถวงนํ้าหนักเทากับ 2.00

2. นักศึกษาท้ังหมด จํานวน 2,129 คน ประกอบดวย (ภาคผนวก ข–2)

2.1 นักศึกษาระดับปริญญาตรีท้ังหมด จํานวน 1,755 คน

2.2 นักศึกษาระดับปริญญาโทท้ังหมด จํานวน 368 คน

2.3 นักศึกษาระดับปริญญาเอกท้ังหมด จํานวน 6 คน

ดังน้ัน คณะจึงมีคารอยละของวิทยานิพนธ และงานวิชาการของนักศึกษาท่ีไดรับรางวัล

ระดับชาติหรือนานาชาติตอจํานวนนักศึกษาท้ังหมดเทากับรอยละ 0.26 และคณะอยูในกลุม

สาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตรซึ่งเมื่อเทียบกับคะแนนเต็ม 5 ท่ีกําหนดใหเทากับรอยละ

0.08 แลวคณะไดคะแนนเทากับ 5.00

ภาคผนวก ข–26 :

แบบฟอรมตัวบงช้ี มธ.5 รอยละ

ของ วิทย า นิพนธ แ ล ะ ง าน

วิชาการของนักศึกษาท่ีไดรับ

รางวัลระดับชาติหรือนานาชาติ

ปการศึกษา 2556

ภ า ค ผ น ว ก ข –2 :

ต า ร า ง พ้ื น ฐ า น 2 จํ า น ว น

นักศึกษาท้ังหมด ปการศึกษา

2556

Page 71: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

64

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

ไมประเมิน ไมประเมิน ไมประเมิน ไมประเมิน

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 0.06 รอยละ 0.26 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 0.06 รอยละ 0.26 5.00 คะแนน บรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 72: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

65

1. ตัวบงชี้ ศ.1 : รอยละของจํานวนบทความสัมมนาตอจํานวนนักศึกษาท่ีเรียนวิชาสัมมนาท้ังหมด

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

โดยการแปลงรอยละของจํานวนบทความสัมมนาตอจํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีท่ีเรียนวิชาสัมมนาท้ังหมด เปนคะแนน

ระหวาง 0 – 5

คารอยละของจํานวนบทความสัมมนาตอจํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีท่ีเรียนวิชาสัมมนาท้ังหมด ท่ีกําหนดใหเปนคะแนน

เต็ม 5 = รอยละ 80

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคารอยละของ

343 X 100 = 90.03

381

4.2 แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 5.00

90.03 X 5 = 5.63

80

5. ผลการดําเนินงาน:

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2556 ดังน้ี (ภาคผนวก ข–

26/1 และภาคผนวก ข–26/2)

1. จํานวนบทความสัมมนา 343 เรื่อง

2. จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีท่ีเรียนวิชาสัมมนาท้ังหมด 381 คน

ดังน้ัน คณะจึงมีคารอยละของจํานวนบทความสัมมนาตอจํานวนนักศึกษา

ระดับปริญญาตรีท่ีเรียนวิชาสัมมนาท้ังหมด เทากับรอยละ 90.03 และเมื่อเทียบกับ

คะแนนเต็ม 5 ซึ่งกําหนดใหเทากับรอยละ 80 แลวคณะไดคะแนนเทากับ 5.00

ภาคผนวก ข–26/1 : แบบฟอรมท่ี

ศ.1 รอยละของจํานวนบทความสัมมนาตอ

จํานวนนักศึกษาท่ีเรียนวิชาสัมมนาท้ังหมด

ภาคผนวก ข–26/2 : แบบฟอรมท่ี

ศ.2 รอยละของจํ านวนวิชาสัมมนา ท่ีมี

นักศึกษานําเสนอบทความสัมมนาในงาน

สัมมนาวิชาการ “Best Seminar Papers”

ตอจํานวนวิชาสัมมนาท้ังหมด

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 56.16 รอยละ 78.73 4.92 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 78.73 รอยละ 90.03 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 78.73 รอยละ 72.18 4.51 คะแนน ไมบรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ตรวจสอบผลการดําเนินงานตามแบบฟอรมมี 275 บทความ

Page 73: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

66

1. ตัวบงชี้ ศ.2 : รอยละของจํานวนวิชาสัมมนาท่ีมีนักศึกษานําเสนอบทความสัมมนาในงานสัมมนาวิชาการ “Best Seminar

Papers” ตอจํานวนวิชาสัมมนาท้ังหมด

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

โดยการแปลงรอยละของจํานวนวิชาสัมมนาท่ีมีนักศึกษานําเสนอบทความสัมมนาในงานสัมมนาวิชาการ “Best Seminar

Papers” ตอจํานวนวิชาสัมมนาท้ังหมด เปนคะแนนระหวาง 0 – 5

คารอยละของจํานวนวิชาสัมมนาท่ีมีนักศึกษานําเสนอบทความสัมมนาในงานสัมมนาวิชาการ “Best Seminar Papers” ตอ

จํานวนวิชาสัมมนาท้ังหมด ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 80

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคารอยละของ

14 X 100 = 60.87

23

4.2 แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 3.80

60.87 X 5 = 3.80

80.00

5. ผลการดําเนินงาน:

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2556 ดังน้ี (ภาคผนวก ข–

26/1 และภาคผนวก ข–26/2)

1. จํานวนวิชาสัมมนาท่ีมีนักศึกษานําเสนอบทความสัมมนาในงานสัมมนา

วิชาการ “Best Seminar Papers” เทากับ 14 วิชา

2. จํานวนวิชาสัมมนาท้ังหมดเทากับ 23 วิชา

ดังน้ัน คณะจึงมีคารอยละของจํานวนวิชาสัมมนาท่ีมีนักศึกษานําเสนอ

บทความสัมมนาในงานสัมมนาวิชาการ “Best Seminar Papers” ตอจํานวนวิชา

สัมมนาท้ังหมดเทากับรอยละ 60.87 และเมื่อเทียบกับคะแนนเต็ม 5 ซึ่งกําหนดให

เทากับรอยละ 80 แลวคณะไดคะแนนเทากับ 3.80

ภาคผนวก ข–26/1 : แบบฟอรมท่ี

ศ.1 รอยละของจํานวนบทความสัมมนาตอ

จํานวนนักศึกษาท่ีเรียนวิชาสัมมนาท้ังหมด

ภาคผนวก ข–26/2 : แบบฟอรมท่ี

ศ.2 รอยละของจํ านวนวิชาสัมมนา ท่ีมี

นักศึกษานําเสนอบทความสัมมนาในงาน

สัมมนาวิชาการ “Best Seminar Papers”

ตอจํานวนวิชาสัมมนาท้ังหมด

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 56.16 รอยละ 90.48 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 90.48 รอยละ 60.87 3.80 คะแนน ไมบรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 90.48 รอยละ 75.00 4.69 คะแนน ไมบรรล ุ

Page 74: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

67

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ปรับการนับจํานวนวิชาสัมมนาและการนับจํานวนนักศึกษาท่ีนําเสนอผลงานใหถูกตองตามเกณฑ

Page 75: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

68

1. ตัวบงชี้ ศ.3 : จํานวนผลงานของอาจารย นักศึกษา หรือผลงานของบุคลากรสายสนับสนุนท่ีแสดงถึงจุดเนน “วิเคราะหเปน” ท่ี

ไดรับการยกยองอยางนอยในระดับคณะ หรือระดับมหาวิทยาลัย หรือไดรับการคัดกรองคุณภาพตามมาตรฐานผลงานวิชาการ

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

โดยการแปลงจํานวนผลงานของอาจารย นักศึกษา หรือผลงานของบุคลากรสายสนับสนุนท่ีแสดงถึงจุดเนน “วิเคราะหเปน” ท่ี

ไดรับการยกยองอยางนอยในระดับคณะ หรือระดับมหาวิทยาลัย หรือไดรับการคัดกรองคุณภาพตามมาตรฐานผลงานวิชาการ เปน

คะแนนระหวาง 0 – 5

คาจํานวนผลงานของอาจารย นักศึกษา หรือผลงานของบุคลากรสายสนับสนุนท่ีแสดงถึงจุดเนน “วิเคราะหเปน” ท่ีไดรับการ

ยกยองอยางนอยในระดับคณะ หรือระดับมหาวิทยาลัย หรือไดรับการคัดกรองคุณภาพตามมาตรฐานผลงานวิชาการ ท่ีกําหนดใหเปน

คะแนนเต็ม 5 = 30 เรื่อง

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 แปลงคาจํานวนผลงาน เทียบกบัคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 5.00

31 X 5 = 5.17

30

5. ผลการดําเนินงาน:

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] ในปการศึกษา 2556 คณะเศรษฐศาสตรมีจํานวนผลงานของอาจารย

นักศึกษา หรือผลงานของบุคลากรสายสนับสนุนท่ีแสดงถึงจุดเนน “วิเคราะห

เปน” ท่ีไดรับการยกยองอยางนอยในระดับคณะ หรือระดับมหาวิทยาลัย

หรือไดรับการคัดกรองคุณภาพตามมาตรฐานผลงานวิชาการ 31 เรื่อง

(ภาคผนวก ข–26/3) และเมื่อเทียบกับคะแนนเต็ม 5 ซึ่งกําหนดใหเทากับ 30

เรื่องแลวคณะไดคะแนนเทากับ 5.00

ภาคผนวก ข–26/3 : แบบฟอรมท่ี ศ.3

จํานวนผลงานของอาจารย นักศึกษา หรือผลงาน

ของบุคลากรสายสนับสนุน ท่ีแสดงถึงจุด เนน

“วิเคราะหเปน” ท่ีไดรับการยกยองอยางนอยใน

ระดับคณะ หรือระดับมหาวิทยาลัย หรือไดรับการ

คัดกรองคุณภาพตามมาตรฐานผลงานวิชาการ

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

21 เรื่อง 29 เรื่อง 4.83 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

29 เรื่อง 31 เรื่อง 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

29 เรื่อง 31 เรื่อง 5.00 คะแนน บรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 76: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

69

2.3 องคประกอบท่ี 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา

1. ตัวบงชี้ สกอ.3.1 : ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและบริการดานขอมูลขาวสาร

2. ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

5. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 7 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีการจัดบริการใหคําปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวการใชชีวิตแกนักศึกษา

คณะเศรษฐศาสตรมีระบบการใหคําปรึกษา ดังน้ี

1. อาจารยท่ีปรึกษาแบบปกติ คือ นักศึกษาจะมีอาจารยท่ีปรึกษา

ประจําตัว 1 ทานท่ีจะไดรับการ assign ใหตั้งแตแรกเขาจนถึงสําเร็จ

การศึกษา ซึ่งนักศึกษาสามารถท่ีจะมาขอคําปรึกษาไดในเรื่องตาง ๆ เชน การ

จัดตารางเรียน การขอเพ่ิม ถอนวิชา และแนะนําทางวิชาการ เปนตน

(เอกสารอางอิง 1.1 ถึงเอกสารอางอิง 1.3)

2. อาจารยท่ีปรึกษาทางวิชาการ เพ่ือแนะนําใหนักศึกษารวม

กิจกรรมดานวิชาการท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ตลอดจนให

คําปรึกษาดานการวางแผนอาชีพและหางานเมื่ อสํา เร็จการศึกษา

(เอกสารอางอิง 1.4 และเอกสารอางอิง 1.5)

1.1 คําสั่งคณะเศรษฐศาสตร เรื่อง แตงตั้ง

อาจารยท่ีปรึกษาทุกโครงการ

1.2 เอกสารสรุปอาจารย ท่ีปรึกษาพบ

นักศึกษาในท่ีปรึกษา (วันท่ี 9, 21 สิงหาคม 2556

และวันท่ี 11, 17, 19 กันยายน 2556)

1.3 งานมัชฌิมนิเทศนักศึกษา ช้ันปท่ี 2

และ 3 (วันท่ี 10 กรกฎาคม 2556) และช้ันปท่ี 1

(วันท่ี 12 กุมภาพันธ 2557)

1.4 คําสั่งคณะเศรษฐศาสตร เรื่อง แตงตั้ง

คณะทํางานฝายการนักศึกษา

1.5 คําสั่งคณะเศรษฐศาสตร เรื่อง แตงตั้ง

สอบวิทยานิพนธ

[/] 2. มีการจัดบริการขอมูลขาวสารท่ีเปนประโยชนตอนักศึกษา

คณะเศรษฐศาสตรมีการประชาสัมพันธขาวสาร เชน ขาวสารดาน

การเรียนการสอน สวัสดิการนักศึกษา วินัยนักศึกษา ทุนการศึกษา และ

กิจกรรมท่ีนาสนใจตาง ๆ ท่ีเปนประโยชนตอนักศึกษาผานสื่อสิ่งพิมพ และสื่อ

อิเล็กทรอนิกส เพ่ือใหนักศึกษาไดรับทราบขอมูลขาวสารท่ีถูกตองและรวดเร็ว

ทันตอเหตุการณ (เอกสารอางอิง 2.1 ถึง เอกสารอางอิง 2.11)

2.1 ศูนยคอมพิวเตอรคณะเศรษฐศาสตร

และสารสนเทศ

2.2 ระบบ Wi–Fi คณะเศรษฐศาสตร

2.3 หองสมุดปวย อ๊ึงภากรณ

2.4 ตัวอยางการประชาสัมพันธขาวสาร

บนเว็บไซตคณะเศรษฐศาสตร

2.5 www.facebook.com/BA–Econ

Thammasat

2.6 ตัวอยางการประชาสัมพันธขาวสารท่ี

บอรดประชาสัมพันธ

2.7

www.facebook.com/mbethammasat

2.8 จุลสารคณะเศรษฐศาสตรจัดทําโดย

คณะกรรมการนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร ฉบับ

Page 77: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

70

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

เดือนธันวาคม 2556 ฉบับเดือนกุมภาพันธ 2557

2.9 เอกสาร ท่ีแจกให นักศึกษาในวัน

ปฐมนิเทศ และมัชฌิมนิเทศ

2.10 การเผยแพรขาวขอมูล เ ก่ียวกับ

ประกันอุบัติเหตุของนักศึกษา

2.11 เ ว็บไซตคณะเศรษฐศาสตร

(www.econ.tu.ac.th) หัวขอ ทุนการศึกษา

“ทุนสําหรับนักศึกษา / ทุนสําหรับอาจารย /

ทุนการศึกษาคณะเศรษฐศาสตร”

[/] 3. มีการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาประสบการณทางวิชาการและวิชาชพีแกนักศึกษา

คณะเศรษฐศาสตรสงเสริมใหนักศึกษาเขารวมกิจกรรมทางวิชาการ

และวิชาชีพ ท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และเชิญศิษยเกามา

ถายทอดประสบการณการทํางานจากหลากหลายหนวยงาน (เอกสารอางอิง

3.1 ถึงเอกสารอางอิง 3.7)

3.1 โครงการแขงขันตอบปญหาภายใน

คณะเศรษฐศาสตรเพ่ือคัดเลือกตัวแทนเขาแขงขันใน

ระดับอุดมศึกษา

3 . 2 ก า ร แ ข ง ขั น ต อ บ ป ญ ห า ท า ง

เศรษฐศาสตรระหวางสถาบันและนําเสนอบทความ

วิจัยทางเศรษฐศาสตร ระดับปริญญาตร ีปการศึกษา

2556

3.3 โครงการฝกงานนอกสถานท่ี ป

การศึกษา 2555

3.4 เอกสารงานบทความดีเดน “Best

Seminar Papers” วันท่ี 24 กุมภาพันธ 2557

3.5 การสัมมนา “เลาประสบการณการ

ทํางานจากศิษยเกาคณะเศรษฐศาสตร”

3.6 การเสวนา “ทางเลือกการศึกษาตอ

หลังจบปริญญาตรี”

3.7 กิจกรรม “Let's explore on Tour:

คนหาศักยภาพในตัวคุณ”

[/] 4. มีการจัดบริการขอมูลขาวสารท่ีเปนประโยชนตอศิษยเกา

คณะเศรษฐศาสตรมีการเผยแพรขอมูลขาวสารตาง ๆ ท้ังทางสื่อ

สิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส เพ่ือใหศิษยเกาไดรับทราบขอมูลขาวสารตาง

ๆ ของคณะท่ีถูกตองและรวดเร็วทันตอเหตุการณ (เอกสารอางอิง 4.1

เอกสารอางอิง 2.3 เอกสารอางอิง 4.2 ถึง เอกสารอางอิง 4.4) รวมท้ังการ

เช่ือมโยงหนาเว็บไซตสมาคมเศรษฐศาสตรธรรมศาสตรบนหนาเว็บไซตคณะ

เพ่ือประชาสัมพันธขอมูลขาวสาร และกิจกรรมตาง ๆ ท่ีเปนประโยชนใหศิษย

เกาไดทราบ (เอกสารอางอิง 4.5)

นอกจากน้ี คณะไดมอบหนังสือรายงานประจําปใหแกศิษยเกา

4 . 1 โ บ ว ชั ว ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ ค ณ ะ

เศรษฐศาสตร

2.3 หองสมุดปวย อ๊ึงภากรณ

4 . 2 เ ว็ บ ไ ซ ต ค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร

(www.econ.tu.ac.th) หัวขอ “ประชาสัมพันธ”

4 . 3 เ ว็ บ ไ ซ ต ค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร

(www.econ.tu.ac.th) หัวขอ “สัมมนา”

4.4 เ ว็บไซตคณะเศรษฐศาสตร

Page 78: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

71

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

เพ่ือใหศิษยเกาไดทราบขาวสารของคณะ (เอกสารอางอิง 4.6) (www.econ.tu.ac.th) หัวขอ “สิ่งพิมพและงาน

พิมพ” หัวขอยอย “ECON TU Archive”

4 .5 เ ว็ บ ไซต สม าคม เศรษฐศาสตร

ธรรมศาสตร (www.alumni–ec–tu.com)

4.6 หนังสือคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ศธ

0516.15/ วันท่ี 12 กันยายน 2556 เรื่อง ขออนุมัติ

จัดพิมพรายงานประจําป 2555 และรายละเอียดท่ี

สงมอบรายงานประจําป

[/] 5. มีการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรูและประสบการณใหศิษยเกา

คณะเศรษฐศาสตรจัดการสัมมนาเสริมศักยภาพและพัฒนาคุณภาพ

การศึกษาผานการศึกษานอกวิชาเรียนและเปนการถายทอดความรูและการ

สรางความสัมพันธอันดีระหวางคณาจารย นักศึกษา และผูทรงคุณวุฒิจาก

ภายนอก การประชาสัมพันธโครงการโดยใชสื่อท่ีเหมาะสม ท่ีแสดงถึงการ

ยกระดับคุณภาพการศึกษาของโครงการ อีกท้ังเปนการเปดโอกาสใหศิษยเกา

และศิษยปจจุบันไดมีโอกาสพบปะและทํากิจกรรมรวมกัน ซึ่งเปนแนวทางการ

สรางเครือขายของโครงการอีกชองทางหน่ึง (เอกสารอางอิง 5.1 ถึง

เอกสารอางอิง 5.3)

5.1 การสัมมนาทางวิชาการ ประจําป

2556 ครั้งท่ี 36 เรื่อง “2 ป รัฐบาลยิ่งลักษณ :

ความหวังหรือความฝน?” วันท่ี 10 ตุลาคม 2556

5.2 การปาฐกถาพิเศษเน่ืองในวันสถาปนา

คณะเศรษฐศาสตรครบรอบปท่ี 65 เรื่อง “คณะ

เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร: มอง

ผานอดึต เ พ่ือปจจถุบันและอนาคต” วันท่ี 13

มิถุนายน 2557

5.3 งาน Econ TU Alumni Spirit Day

วันท่ี 9 มกราคม 2557

[/] 6. มีผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการในขอ 1 – 3 ทุกขอไมตํ่ากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

คณะเศรษฐศาสตรมีผลการประเมินคุณภาพการใหบริการในขอ 1

– 3 เทากับ 3.81 จากคะแนนเต็ม 5 ซึ่งทุกขอมีคะแนนสูงกวา 3.51

(ภาคผนวก ข–27 และเอกสารอางอิง 6.1 และเอกสารอางอิง 6.2) ดังน้ี

1. การจัดบริการใหคําปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวการใชชีวิต

แกนักศึกษา เทากับ 3.84 คะแนน

2. การจัดบริการขอมูลขาวสารท่ีเปนประโยชนตอนักศึกษา เทากับ

3.85 คะแนน

3. การจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาประสบการณทางวิชาการและวิชาชีพ

แกนักศึกษา เทากับ 3.75 คะแนน

ภาคผนวก ข–27 : แบบฟอรมตัวบงช้ี

สกอ.3.1 ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและ

บริการดานขอมูลขาวสาร ปการศึกษา 2556 ผลการ

ประเมินคุณภาพของการใหบริการนักศึกษา

และ

6.1 แบบสอบถามความพึงพอใจและ

คว าม คิ ด เ ห็ น นั ก ศึ กษ าค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐศ าส ต ร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปการศึกษา 2556

6.2 สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจและ

คว าม คิ ด เ ห็ น นั ก ศึ กษ าค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐศ าส ต ร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปการศึกษา 2556

[/] 7. มีการนําผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการมาใชเปนขอมูลในการพัฒนาการจัดบริการท่ีสนองความตองการของ

นักศึกษา

คณะเศรษฐศาสตรไดจัดโครงการฝกงานนอกสถานท่ีชวงปดภาค

เรียนทุกปอยางตอเน่ือง โดยดําเนินการติดตอหนวยงาน ปฐมนิเทศนักศึกษา

กอนไปฝกงาน สงนักศึกษาเขาฝกงาน และสัมมนาหลังฝกงานและมอบใบ

7.1 รายงานการประเมินผลความสําเร็จ

ตามแผนการจัดกิจกรรม คณะเศรษฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปงบประมาณ 2556

Page 79: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

72

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

ประกาศนียบัตร ประมาณ 100 คน ซึ่งเปนการสงเสริมใหนักศึกษาเรียนรูการ

ปฏิบัติงานจริงกอนจบการศึกษา และเปนโครงการท่ีมิใชอยูในหลักสูตร

(เอกสารอางอิง 7.1)

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 7 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

7 ขอ 7 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

7 ขอ 6 ขอ 4.00 คะแนน ไมบรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ตัดขอ 7 ไมมีหลักฐานการพัฒนาการบริการตามผลการประเมิน

Page 80: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

73

1. ตัวบงชี้ สกอ.3.2 : ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา

2. ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 หรือ 4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 6 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. สถาบันจัดทําแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาท่ีสงเสริมผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

แหงชาติทุกดาน

คณะเศรษฐศาสตรมีการจัดทําแผนการสงเสริมการจัดกิจกรรมของ

นักศึกษาท่ีชัดเจน นอกเหนือจากการพัฒนานักศึกษาผานการจัดกิจกรรมการ

เรียนการสอนตามรายวิชาในหลักสูตร ท้ังน้ี กิจกรรมพัฒนานักศึกษาจะมีท้ังท่ี

จัดโดยคณะ และจัดโดยคณะกรรมการนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร (กนศ.ศ.)

เพ่ือพัฒนานักศึกษาใหมีคุณลักษณะตามท่ีคณะกําหนด และสอดคลองตาม

กรอบคุณวุฒิ 5 ดาน ไดแก (เอกสารอางอิง 1.1 ถึงเอกสารอางอิง 1.4)

1. กิจกรรมวิชาการท่ีสงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค

2. กิจกรรมกีฬาหรือการสงเสริมสุขภาพ

3. กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนหรือรักษาสิ่งแวดลอม

4. กิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม

5. กิจกรรมสงเสริมศิลปะและวัฒนธรรม

1.1 แผนพัฒนากิจกรรมนักศึกษาฝายการ

นักศึกษา คณะเศรษฐศาสตร

มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร ประจําปการศึกษา 2556

1.2 คําสั่งแตงตั้งคณะทํางานฝายการ

นักศึกษา คณะเศรษฐศาสตร

1.3 คูมือการจัดกิจกรรมของนักศึกษา

แนวทางการปฏิบัติการจัดซื้อ–จัดจางตามระเบียบ

พัสดุ และแนวปฏัติท่ีดีในการเบิกจาย

1.4 โครงการตาง ๆ ตามหลักเกณฑท่ี

กําหนดไวในระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วา

ดวยเงินกองทุนคาธรรมเนียมการศึกษาเพ่ือการ

พัฒนามหาวิทยาลัย พ.ศ. 2539 ขอ 12

[/] 2. มีกิจกรรมใหความรูและทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแกนักศึกษา

คณะเศรษฐศาสตรจัดประชุมการพัฒนาความรูความเขาใจแก

นักศึกษาดานการประกันคุณภาพ เก่ียวกับการจัดกิจกรรมตาง ๆ ตามวงจร

PDCA (เอกสารอางอิง 2.1) และมอบแผนพับนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรกับการประกันคุณภาพการศึกษา

2 . 1 เ อกส ารก า รประ ชุม วั น ท่ี 2 1

พฤษภาคม 2557

2 . 2 เ อ ก ส า ร ข อ มู ล นั ก ศึ ก ษ า ค ณ ะ

เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรกับการ

ประกันคุณภาพการศึกษา

[/] 3. มีการสงเสริมใหนักศึกษานําความรูดานการประกันคุณภาพไปใชในการจัดกิจกรรมท่ีดําเนินการโดยนักศึกษาอยางนอย 5

ประเภทสําหรับระดับปริญญาตรี และอยางนอย 2 ประเภทสําหรับระดับบัณฑิตศึกษา จากกิจกรรมตอไปนี้

- กิจกรรมวิชาการท่ีสงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค

- กิจกรรมกีฬาหรือการสงเสริมสุขภาพ

- กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนหรือรักษาสิ่งแวดลอม

- กิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม

- กิจกรรมสงเสริมศิลปะและวัฒนธรรม

คณะเศรษฐศาสตรมีการสงเสริมใหนักศึกษานําความรูเก่ียวกับวงจร

คุณภาพ PDCA ไปใชในการจัดกิจกรรมท้ัง 5 ดานสําหรับปริญญาตรี และ

ภาคผนวก ข–28 : แบบฟอรมตัวบงช้ี

สกอ.3.2 ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรม

Page 81: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

74

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

อยางนอย 2 ดานสําหรับระดับบัณฑิตศึกษา โดยนักศึกษาจะตองมีการ

วางแผนโครงการและเขียนขอเสนอโครงการ มีการกําหนดแผนปฏิบัติงาน

และจะตองทําการประเมินผล ระบุปญหาและอุปสรรคในการทํางาน และ

จะตองนําผลการประเมินแตละกิจกรรมไปปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพ่ือใหเกิด

การพัฒนาอยางตอเ น่ือง โดยมีรายละเอียด (ภาคผนวก ข–28 และ

เอกสารอางอิง 3.1 ถึงเอกสารอางอิง 3.3) ดังน้ี

1. กิจกรรมระดับปริญญาตรี ไดแก

1.1 กิจกรรมวิชาการท่ีสงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค

เตรียมความพรอมกอนการฝกงานและการเตรียมตัวเพ่ือเขาสูโลกการทํางาน

ในอนาคต เชน งานสัมมนา “Best Seminar Papers " (2 ภาค) เปนตน

1.2 กิจกรรมกีฬาหรือการสงเสริมสุขภาพ เชน การแขงขันกีฬา

ภายในคณะ และกีฬาเช่ือมความสัมพันธเศรษฐศาสตร ธรรมศาสตร–จุฬาฯ

เปนตน

1.3 กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนหรือรักษาสิ่งแวดลอม เชน

โครงการ “อีคอนคิดส ปลูกจิตรักษทะเล” โครงการ “Econ Kids for Kids”

และโครงการคายอาสาพัฒนาชนบท (จัด 2 ภาค) เปนตน

1.4 กิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม เชน คายตาม

รอยอาจารยปวย เปนตน

1.5 กิจกรรมสงเสริมศิลปะและวัฒนธรรม เชน โครงการละคร

กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและเรียนรูศิลปะการตอสู (Conclusion for

Turtle Pound and Kick–Boxing) และโครงการคายพัฒนาจิต เปนตน

2. กิจกรรมระดับบัณฑิตศึกษา ไดแก

2.1 กิจกรรมวิชาการท่ีสงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค

เชน การนําเสนองานวิทยานิพนธของนักศึกษาท่ีเขารวมนําเสนอผลงานในท่ี

ประชุมวิชาการนานาชาติ ประจําปการศึกษา 2555 และโครงการศึกษาดูงาน

นอกสถานท่ี ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ณ โครงการสวนพระองคสวน

จิตรลดาพระราชวังดุสิต กรุงเทพ เปนตน

2.2 กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนหรือรักษาสิ่งแวดลอม เชน

กิจกรรม CSR ของโครงการปริญญาโทเศรษฐศาสตรธุรกิจ ณ ศูนยอนุรักษ

พันธุเตาทะเล อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เปนตน

นักศึกษา ปการศึกษา 2556

และ

3.1 เอกสารโครงการ

3.2 รายงานผลการประเมินโครงการ

3.3 คํ าขอตั้ ง งบประมาณ ประจํ าป

ง บป ระ ม า ณ 2557 พร อม ส รุ ป ปญ หา แล ะ

ขอเสนอแนะ

[/] 4. มีการสนับสนุนใหนักศึกษาสรางเครือขายพัฒนาคุณภาพภายในสถาบันและระหวางสถาบัน และมีกิจกรรมรวมกัน

นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตรไดมีการทํากิจกรรมเพ่ือเกิดการ

แลกเปลี่ยนเรียนรูในเชิงของการพัฒนาวิธีการจัดกิจกรรมอยางมีคุณภาพโดย

ใชวงจรคุณภาพ PDCA ในการจัดกิจกรรมในมหาวิทยาลัย เชน กิจกรรม

ระหวางมหาวิทยาลัย การแขงขันกีฬาเช่ือมความสัมพันธ “เศรษฐศาสตร

ธรรมศาสตร–จุฬาฯ” เปนประจําตอเน่ืองทุกป เปนตน (เอกสารอางอิง 4.1)

4.1 เอกสารโครงการกีฬาเ ช่ือม

ความสัมพันธ “เศรษฐศาสตร ธรรมศาสตร–จุฬาฯ”

Page 82: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

75

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 5. มีการประเมินความสําเร็จตามวัตถุประสงคของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา

คณะเศรษฐศาสตรไดสงเสริมใหนักศึกษาทุกช้ันป โดยเฉพาะช้ันปท่ี

3 เขารวมโครงการฝกงานนอกสถานท่ีชวงปดภาคการศึกษา เพ่ือนําความรู

ทักษะ และประสบการณท่ีไดรับไปประยุกตใชกับการเรียน และไปใชในชีวิต

จริง ( เอกสารอางอิง 5.1) มีการประเมินความสําเร็จให เปนไปตาม

วัตถุประสงคตามแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาโดยวงจรคุณภาพ

PDCA การควบคุมและติดตามแผนงานโดยคณาจารย หรือผูอํานวยการ

โครงการเปนผูติดตามและรายงานผลความสําเร็จ (เอกสารอางอิง 5.2)

5.1 รายงานการปฏิ บัติ งานและการ

ประเมินผล แบบท่ี 1 สําหรับนักศึกษา และแบบท่ี 2

สําหรับหนวยงาน

5.2 รายงานการประเมินผลความสําเร็จ

ตามแผนการจัดกิจกรรม คณะเศรษฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปงบประมาณ 2556

[/] 6. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนานักศึกษา

คณะเศรษฐศาสตรโดยฝายการนักศึกษากําหนดแนวทางให

นักศึกษานําผลสําเร็จจากการรายงานในผลการดําเนินงานขอ 5 ไปใชเปน

แนวทางในการนําเสนอขออนุมัติการดําเนินโครงการครั้งตอไป ระบุเปน

แนวทางและแผนงาน (เอกสารอางอิง 5.2) สรุปรายงานการประเมินผล

ความสําเร็จตามแผน

5.2 รายงานการประเมินผลความสําเร็จตาม

แ ผ น ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปงบประมาณ 2556

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

2 ขอ 6 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

6 ขอ 6 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

6 ขอ 5 ขอ 4.00 คะแนน ไมบรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ตัดขอ 4 ไมมีหลักฐานการสรางเครือขายพัฒนาคุณภาพ

Page 83: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

76

1. ตัวบงชี้ มธ.7 : รอยละของกิจกรรมจิตอาสาตอจํานวนกิจกรรมนักศึกษาท้ังหมด

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

โดยการแปลงรอยละของกิจกรรมจิตอาสาตอจํานวนกิจกรรมนักศึกษาท้ังหมดเปนคะแนนระหวาง 0 – 5

คารอยละของกิจกรรมจิตอาสาตอจํานวนกิจกรรมนักศึกษาท้ังหมด ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 33

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคารอยละของกิจกรรมจิตอาสาตอจํานวนกิจกรรมนักศึกษาท้ังหมด

19 X 100 = 20.88

91

4.2 แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนทีได = 3.20

20.88 X 5 = 3.16

33

5. ผลการดําเนินงาน :

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2556 ดังน้ี (ภาคผนวก ข–28)

1. กิจกรรมจิตอาสา จํานวน 19 กิจกรรม

2. กิจกรรมนักศึกษาท้ังหมด จํานวน 91 กิจกรรม

ดังน้ัน คณะจึงมีคารอยละของกิจกรรมจิตอาสาตอจํานวนกิจกรรมนักศึกษา

ท้ังหมดเทากับรอยละ 20.88 และเมื่อเทียบกับคะแนนเต็ม 5 ซึ่งกําหนดใหเทากับรอย

ละ 33 แลวคณะไดคะแนนเทากับ 3.16

ภาคผนวก ข–28 : แบบฟอรม

ตัวบงช้ี มธ.7 รอยละของกิจกรรมจิตอาสา

ตอจํานวนกิจกรรมท้ังหมด ปการศึกษา

2556

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 21.74 รอยละ 21.33 5.00 คะแนน ไมบรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 21.33 รอยละ 20.88 3.16 คะแนน ไมบรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 21.33 รอยละ 20.88 3.16 คะแนน ไมบรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 84: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

77

2.4 องคประกอบท่ี 4 การวิจัย

1. ตัวบงชี้ สกอ.4.1 : ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสรางสรรค

2. ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 7 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีระบบและกลไกบริหารงานวิจัยหรืองานสรางสรรค เพ่ือใหบรรลุเปาหมายตามแผนดานการวิจัยของสถาบัน และ

ดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด

คณะเศรษฐศาสตรมีระบบและกลไกบริหารงานวิจัย เพ่ือใหบรรลุ

เปาหมายตามแผนดานการวิจัยของคณะ โดยการกําหนดหลักเกณฑ

(เอกสารอางอิง 1.1 ถึงเอกสารอางอิง 1.4) คณะกรรมการท่ีรับผิดชอบ

(เอกสารอางอิง 1.5 ถึงเอกสารอางอิง 1.7) และมีงบประมาณสนับสนุนการ

บริหารงานดานการวิจัยอยางเพียงพอ (เอกสารอางอิง 1.8)

1.1 ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วา

ดวยหลักเกณฑและอัตราการจายเงินเพ่ือการเขียน

หนังสือวิชาการของคณะเศรษฐศาสตร พ.ศ. 2549

1.2 ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วา

ดวยหลักเกณฑและอัตราการจายเงินทุนวิจัยของ

คณะเศรษฐศาสตร พ.ศ. 2552

1.3 ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วา

ดวยหลักเกณฑและอัตราการจายเงินของคณะ

เศรษฐศาสตร พ.ศ. 2552

1.4 ประกาศคณะเศรษฐศาสตร เรื่อง

เปดรับสมัครขอรับทุนสนับสนุนเ พ่ือไปเสนอ

ผลงานวิจัยในตางประเทศ ประจําปงบประมาณ

2556

1.5 คําสั่ งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี

030/2554 เรื่อง แตงตั้งคณะทํางานบริหารและ

คณะกรรมการของคณะเศรษฐศาสตร

1.6 คําสั่ งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี

043/2554 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการอํานวยการ

โครงการบริการสังคม

1.7 คําสั่ งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี

ร.63/2555 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการสงเสริม

งานวิจัยระดับคณะเศรษฐศาสตร

1.8 งบประมาณรายจายจากรายไดพิเศษ

คณะเศรษฐศาสตร ประจําปงบประมาณ 2556

หมวดเงินอุดหนุน รายการโครงการวิจัย โครงการ

หนังสือวิชาการเศรษฐศาสตร

Page 85: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

78

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 2. มีการบูรณาการกระบวนการวิจัยหรืองานสรางสรรคกับการจัดการเรียนการสอน

ในการสอนวิชา ศ.312 ทฤษฎีเศรษฐศาสตรมหภาค และวิชา

MB615 เศรษฐศาสตรเพ่ือการจัดการทางธุรกิจ อาจารยผูสอนซึ่งมีความ

เช่ียวชาญไดนํากระบวนการทําวิจัยของตนเองมาบูรณาการกับการเรียนการ

สอน กําหนดใหนักศึกษาไปศึกษาเปนเอกสารประกอบการสอน

(เอกสารอางอิง 2.1 และเอกสารอางอิง 2.2)

2.1 แนวบรรยายวิชา ศ.312 ทฤษฎี

เศรษฐศาสตรมหภาค

2.2 แนวบรรยาย วิชา MB615

เศรษฐศาสตรเพ่ือการจัดการทางธุรกิจ

[/] 3. มีการพัฒนาศักยภาพดานการวิจัยหรืองานสรางสรรคและใหความรูดานจรรยาบรรณการวิจัยแกอาจารยประจําและ

นักวิจัยประจํา

ในการพัฒนาศักยภาพดานการวิจัย คณะเศรษฐศาสตรมีระเบียบ

เงินอุดหนุนการพัฒนาบุคลากร (เอกสารอางอิง 3.1) ซึ่งบุคลากรของคณะ

สามารถขออนุมัติเบิกจายเงินอุดหนุนพัฒนา (เอกสารอางอิง 3.2) นอกจากน้ี

คณาจารยของคณะยังเขารวมโครงการอบรมเพ่ือพัฒนาศักยภาพในการเขียน

ขอเสนอโครงการวิจัยเพ่ือใหมีประสิทธิภาพ (เอกสารอางอิง 3.3) สําหรับการ

ใหความรูดานจรรยาบรรณการวิจัยน้ัน บุคลากรของคณะสามารถหาความรู

ไดจากเว็บไซตคณะ (เอกสารอางอิง 3.4) และไดติดประกาศจรรยาบรรณ

อาจารยภายในคณะ (เอกสารอางอิง 3.5)

ภาคผนวก ข–29 : แบบฟอรมตัวบงช้ี

สกอ.4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรือ

งานสรางสรรค ปการศึกษา 2556

และ

3.1 ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วา

ดวยเ งินอุดหนุนการพัฒนาบุคลากรของคณะ

เศรษฐศาสตร พ.ศ. 2544

3.2 บันทึกขอความ เรื่อง ขออนุมัติเบิก

จายเงินอุดหนุนพัฒนาบุคลากรคณะเศรษฐศาสตร

3.3 อาจารย ท่ี เขารวมโครงการอบรม

“เทคนิคการเขียนขอเสนอโครงการวิจัยเพ่ือเสนอขอ

ทุนวิจัย”

3.4 เ ว็บไซตคณะเศรษฐศาสตร

(www.econ.tu.ac.th) เรื่อง จรรยาบรรณของ

บุคลากรและอาจารย

3.5 ภาพถายประกาศจรรยาบรรณ

อาจารย

[/] 4. มีการจัดสรรงบประมาณของสถาบัน เพ่ือเปนทุนวิจัยหรืองานสรางสรรค

คณะเศรษฐศาสตรมีการจัดสรรงบประมาณเพ่ือใหทุนวิจัยแก

อาจารย (เอกสารอางอิง 4.1)

4.1 งบประมาณรายจายจากรายไดพิเศษ

คณะเศรษฐศาสตร ประจําปงบประมาณ 2556

หมวดเงินอุดหนุน รายการโครงการวิจัย โครงการ

หนังสอืวิชาการเศรษฐศาสตร โครงการสัมมนา การ

ประชุมและคาลงทะเบียน

[/] 5. มีการสนับสนุนพันธกิจดานการวิจัยหรืองานสรางสรรคตามอัตลักษณของสถาบันอยางนอยในประเด็นตอไปนี้

- หองปฏิบัติการวิจัยฯ หรือหนวยวิจัยฯ หรือศูนยเคร่ืองมือ หรือศูนยใหคําปรึกษาและสนับสนุนการวิจัยฯ

- หองสมุดหรือแหลงคนควาขอมูลสนับสนุนการวิจัยฯ

- สิ่งอํานวยความสะดวกหรือการรักษาความปลอดภัยในการวิจัยฯ เชน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบรักษาความ

ปลอดภัยในหองปฏิบัติการวิจัย

Page 86: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

79

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

- กิจกรรมวิชาการท่ีสงเสริมงานวิจัยฯ เชน การจัดประชุมวิชาการ การจัดแสดงงานสรางสรรค การจัดใหมี

ศาสตราจารยอาคันตุกะหรือศาสตราจารยรับเชิญ (visiting professor)

คณะเศรษฐศาสตรมีการติดตามประเมินผลการดําเนินงานตาม

แผนปฏิบัติงานวิจัย รายไตรมาส และความสําเร็จของการสนับสนุนพันธกิจ

ดานการวิจัย ประกอบดวย หองปฏิบัติการวิจัยท่ีศูนยบริการวิชาการ

เศรษฐศาสตร (ERTC) เพ่ืออํานวยความสะดวกแกนักวิจัยมีหองปฏิบัติการ

คอมพิวเตอรพรอมอินเทอรเน็ตความเร็วสูงไวอํานวยความสะดวกสําหรับ

ผูชวยวิจัย รวมท้ังมีหองสมุดปวย อ๊ีงภากรณ ไวเปนแหลงคนควาทางวิชาการ

โดยคณะมีการจัดสรรงบประมาณเ พ่ือจัดซื้ อหนังสื อ เข าห องสมุด

(เอกสารอางอิง 5.1) นอกจากน้ี คณะยังจัดกิจกรรมวิชาการเพ่ือสงเสริม

งานวิจัยท้ังในระดับชาติและนานาชาติ เชน การจัดประชุมวิชาการระดับชาติ

ของนักเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 8 การจัดสัมมนาทางวิชาการ (Symposium)

ครั้งท่ี 36 และการจัดสัมมนา Asia–Pacific Economics Association

(APEA) เปนตน (เอกสารอางอิง 5.2 ถึงเอกสารอางอิง 5.4)

5.1 งบประมาณรายจายจากรายไดพิเศษ

คณะเศรษฐศาสตร ประจําปงบประมาณ 2556

หมวดเงินอุดหนุนท่ัวไป รายการโครงการหองสมุด

ปวย อ๊ึงภากรณ

5.2 การจัดประชุมวิชาการระดับชาติของ

นักเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 8

5.3 การจัดสัมมนาทางวิชาการประจําป

2556 (Symposium) ครั้งท่ี 36

5 . 4 ก า ร จั ด สั ม ม น า Asia–Pacific

Economics Association (APEA)

[/] 6. มีการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนในขอ 4 และขอ 5 อยางครบถวนทุกประเด็น

คณะเศรษฐศาสตรมีการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตาม

แผนปฏิบัติงานวิจัย รายไตรมาส และความสําเร็จของการสนับสนุนพันธกิจ

ดานการวิจัย (เอกสารแนบ 6.1 และเอกสารอางอิง 6.2)

6.1 หนังสือคณะเศรษฐศาสตร ท่ี

ศธ 0516.15/ร.1267 ลงวันท่ี 31 ตุลาคม 2556

เรื่อง การดําเนินงานกองทุนวิจัยของคณะ ครั้งท่ี

1/2556 วาระท่ี 4.2 (หนา 2) และ ครั้งท่ี 2/2556

วาระท่ี 5.1 (หนา 6)

6.2 สรุปแบบประเมิน การจัดสัมมนาทาง

วิชาการประจําป 2556 (Symposium) ครั้งท่ี 36

[/] 7. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการสนับสนุนพันธกิจดานการวิจัยหรืองานสรางสรรคของสถาบัน

คณะเศรษฐศาสตรมีการนําผลการประเมินมาวิเคราะหผลการ

ดําเนินงานในการสนับสนุนทุนวิจัยและพันธกิจดานการวิจัยไปใชเปนแนวทาง

ในการพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงาน (เอกสารอางอิง 7.1)

7.1 การวิเคราะหการดําเนินงาน

ปงบประมาณ 2555–2556 และแผนการดําเนินงาน

ในปงบประมาณ 2557

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

7 ขอ 6 ขอ 4.00 คะแนน ไมบรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

6 ขอ 7 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

6 ขอ 7 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

Page 87: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

80

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 88: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

81

1. ตัวบงชี้ สกอ.4.2 : ระบบและกลไกการจัดการความรูจากงานวิจัยหรืองานสรางสรรค

2. ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการครบ 5 ขอตามเกณฑและครบถวน

ตามเกณฑมาตรฐานเพ่ิมเติมเฉพาะกลุม

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 6 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพในวารสาร

ระดับชาติหรือนานาชาติ และมีการเผยแพรผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพในวารสาร

ระดับชาติหรือนานาชาติ

คณะเศรษฐศาสตรมีระบบและกลไกสนับสนุนอาจารยประจําท่ีมี

ผลงานวิชาการตีพิมพในวารสารวิชาการนานาชาติ การเผยแพรผลงานวิจัยใน

การประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ (เอกสารอางอิง 1.1) การตีพิมพ

ผลงานวิจัยในการสัมมนาทางวิชาการ ประจําป 2556 (เอกสารอางอิง 1.2) และ

มีการกําหนดเง่ือนไขในการขอรับทุนวิจัยเงินรายไดคณะ โดยใหผูรับทุนตีพิมพ

หรือนําเสนอผลงานงานวิจัยตามประกาศหลักเกณฑการพิจารณาบทความวิจัย

(เอกสารอางอิง 1.3) มีการจัดสรรงบประมาณเงินรายไดพิเศษคณะในการ

สนับสนุนการไปเผยแพรผลงานวิจัยในตางประเทศ (เอกสารอางอิง 1.4) รวมท้ัง

เผยแพรผลงานในรูปแบบของการตีพิมพลงในวารสารเศรษฐศาสตรธรรมศาสตร

(เอกสารอางอิง 1.5)

1.1 ประกาศคณะเศรษฐศาสตร วา

ดวยการจัดแบงลําดับช้ันคุณภาพ (Tier) ของ

วารสารวิชาการนานาชาติ

1.2 หนังสือการสัมมนาทางวิชาการ

ประจําป 2556 ครั้งท่ี 36 “2 ปนโยบาย

เศรษฐกิจยิ่งลักษณ: ความฝนหรือความจริง?”

1.3 ประกาศคณะเศรษฐศาสตร เรื่อง

หลักเกณฑการพิจารณาบทความ/บทความวิจัย

Discussion Paper Series

1.4 ประกาศคณะเศรษฐศาสตร เรื่อง

เปดรับสมัครผูขอรับทุนสนับสนุนเพ่ือไปเสนอ

ผลงานวิจัยในตางประเทศ ประจําปงบประมาณ

2556

1.5 วารสารเศรษฐศาสตรธรรมศาสตร

[/] 2. มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะหและสังเคราะหความรูจากงานวิจัยหรืองานสรางสรรค เพ่ือใหเปนองค

ความรูท่ีคนท่ัวไปเขาใจได และดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด

คณะเศรษฐศาสตรแตงตั้งคณะทํางานบริหาร และคณะกรรมการของ

คณะ (เอกสารอางอิง 2.1) เปนผูดําเนินการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห และ

สังเคราะหความรูจากงานวิจัย และงานสรางสรรคท่ีเช่ือถือได นํามาจัดพิมพเปน

รูปเลมหนังสือเ พ่ือสงไปยังหนวยงานภาครัฐ องคกรเอกชน และ

สถาบันการศึกษา (เอกสารอางอิง 2.2) ตลอดจนมีการแปลงงานวิจัยใหเปน

Discussion Papers Series และนําเผยแพรบนเว็บไซตของคณะ ท้ังน้ี เพ่ือความ

สะดวกและรวดเร็วในการนําไปใชประโยชน (เอกสารอางอิง 2.3)

2.1 คําสั่งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี

030/2554 เรื่อง แตงตั้งคณะทํางานบริหารและ

คณะกรรมการของคณะเศรษฐศาสตร

2.2 หนังสือการสัมมนาทางวิชาการ

ประจําป 2556 ครั้งท่ี 36 “2 ปนโยบาย

เศรษฐกิจยิ่งลักษณ ความผันกับความจริง”

2.3 เว็บไซตคณะเศรษฐศาสตร

(www.econ.tu.ac.th) หัวขอ “สิ่งพิมพและ

งานวิจัย” หัวขอยอย “Discussion Papers”

[/] 3. มีการประชาสัมพันธและเผยแพรองคความรูจากงานวิจัยหรืองานสรางสรรคท่ีไดจากขอ 2 สูสาธารณชนและผูเกี่ยวของ

Page 89: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

82

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

คณะเศรษฐศาสตรนําองคความรูท่ีไดจากการวิเคราะหสังเคราะห

ผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรค เผยแพรสูสาธารณชนผานสื่อตาง ๆ อยางเปน

ระบบ มีการสรางเครือขายเผยแพรผลงานโดยเช่ือมโยงกับศิษยเกา องคกร

ภายนอกท้ังภาครัฐและเอกชน ท่ีจะสามารถนําผลงานไปใชประโยชน โดยการ

จัดทําสิ่งพิมพ สื่อสาธารณะ และสื่ออิเล็กทรอนิกสในรูปแบบไฟล PDF และการ

จัดทําเว็บไซตคลังขอมูลวิชาการดานเศรษฐศาสตร (เอกสารอางอิง 3.1 และ

เอกสารอางอิง 3.2)

3.1 เว็บไซตคณะเศรษฐศาสตร

(www.econ.tu.ac.th) หัวขอ “Econ TU

Archive คลังเอกสารดิจิตอล งานวิชาการดาน

เศรษฐศาสตร”

3.2 เว็บไซตคณะเศรษฐศาสตร

(www.econ.tu.ac.th) หัวขอ “สัมมนา” หัวขอ

ยอย “สัมมนาท่ีผานมา”

[/] 4. มีการนําผลงานงานวิจัยหรืองานสรางสรรคไปใชใหเกิดประโยชน และมีการรับรองการใชประโยชนจริงจากหนวยงาน

ภายนอกหรือชุมชน

คณะเศรษฐศาสตรมีการนําผลการศึกษาวิจัยไปใชใหเกิดประโยชนตอ

สาธารณะ โดยมกีารรบัรองการใชประโยชนจรงิจากหนวยงานผูวาจางหรือแหลง

ทุน เชน โครงการการศึกษาประเด็นการบริหารเศรษฐกิจมหภาคในระยะปาน

กลางภายใตโครงการเพ่ิมขีดความสามารถในการวิเคราะห การปรับปรุง

ฐานขอมูลและการพัฒนาเครื่องมือในการบริหารเศรษฐกิจมหภาคและการ

ศึกษาวิจัยเพ่ือการบริหารเศรษฐกิจมหภาคในระยะปานกลาง และโครงการ

ติดตามและประเมินผลการกระจายอํานาจการปกครองไปสูองคกรปกครองสวน

ทองถ่ินเพ่ือการจัดทําแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 11 ภายใตโครงการพัฒนาขีด

ความสามารถการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน และการมีสวนรวม

ในการกระจายอํานาจของส วนราชการและภาคประชาชน เปนตน

(เอกสารอางอิง 4.1)

4.1 หนังสอืรับรองการนํางานวิจัยหรือ

งานสรางสรรคมาใชประโยชน

[/] 5. มีระบบและกลไกเพ่ือชวยในการคุมครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรืองานสรางสรรคท่ีนําไปใชประโยชน และดําเนินการตาม

ระบบท่ีกําหนด

คณะเศรษฐศาสตรมีระบบและกลไกเพ่ือชวยในการคุมครองสิทธ์ิของ

งานวิจัย (เอกสารอางอิง 5.1) ท่ีนําไปใชประโยชน (เอกสารอางอิง 5.2) และ

ดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด โดยมีเจาหนาท่ีดําเนินการจัดทําเอกสารสงให

หนวยงานผูวาจางกรอกแบบฟอรมและสงกลับมายังคณะ

5.1 แบบฟอรมหนังสือยินยอมการให

นํ าผล งาน วิจั ย เผยแพร ณ ห องสมุ ดป วย

อ๊ึงภากรณ

5.2 แบบฟอรมหนังสือรับรองการนํา

งานวิจัยหรืองานสรางสรรคมาใชประโยชนใน

ปงบประมาณ

[/] 6. มีระบบและกลไกสงเสริมการจดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร และมีการย่ืนจดสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร

คณะเศรษฐศาสตรมีระบบและกลไกเพ่ือสงเสริมการจดลิขสิทธ์ิ

ผลงานของอาจารย โดยมีเจาหนาท่ีดําเนินการจัดทําเอกสาร และคําขอจดแจง

ขอมูลลิขสิทธ์ิ (ภาคผนวก ข–30 และเอกสารอางอิง 6.1)

ภาคผนวก ข–30 : แบบฟอรมตัวบงช้ี

สกอ.4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจาก

งานวิจัยหรืองานสรางสรรค ปการศึกษา 2556

และ

6.1 หนังสือเรื่องเปนผูรับผิดชอบใน

การดําเนินงานจดลิขสิทธ์ิผลงานของอาจารย

Page 90: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

83

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

5 ขอ 6 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

6 ขอ 6 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

6 ขอ 6 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 91: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

84

1. ตัวบงชี้ สกอ.4.3 : เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา

3. เกณฑการประเมิน :

โดยการแปลงจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจําเปนคะแนนระหวาง

0 – 5

เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย ท่ีกําหนดใหเปน

คะแนนเต็ม 5 = 75,000 บาทตอคน

กลุมสาขาวิชา 5 คะแนน วิทยาศาสตรสุขภาพ 150,000 บาทข้ึนไปตอคน

วิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี 180,000 บาทข้ึนไปตอคน

มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 75,000 บาทข้ึนไปตอคน 4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา

และนักวิจัยประจํา

63,697,226.52 = 936,723.92

68

4.2 แปลงคาจํานวนเงินท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 5.00

936,723.92 X 5 = 62.45

75,000

5. ผลการดําเนินงาน

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงาน ดังน้ี

1. เงินสนับสนุนงานวิจัยจากภายใน และภายนอกสถาบัน ท่ีอาจารยประจํามี

การเซ็นสัญญารับทุนวิจัยในปงบประมาณ 2556 จํานวน 63,697,226.52 บาท

ประกอบดวย

1.1 เงินสนับสนุนงานวิจัยจากภายใน จํานวน 812,200.00 บาท

(ภาคผนวก ข–30)

1.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยจากภายนอก จํานวน 62,885,026.52 บาท

(ภาคผนวก ข–31)

2. อาจารยประจําและนักวิจัยท่ีปฏิบัติงานจริงในปการศึกษา 2556 จํานวน

68 คน ประกอบดวย

2.1 อาจารยประจําท่ีปฏิบัติงานจริง จํานวน 65 คน (ภาคผนวก ข–9)

2.2 นักวิจัยประจําท่ีปฏิบัติงานจริง จํานวน 3 คน (ภาคผนวก ข–3)

ดังน้ัน คณะจึงมีจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยจากภายในและภายนอกสถาบัน

ตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจําเทากับ 936,723.92 บาทตอคน และคณะ

อยูในกลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตรซึ่งเมื่อเทียบกับคะแนนเต็ม 5 ท่ี

ภาคผนวก ข–30 : แบบฟอรมท่ี

4.3–1 จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรือ

งานสรางสรรคภายในสถาบัน

ภาคผนวก ข–31 : แบบฟอรมท่ี

4.3–2 จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรือ

งานสรางสรรคภายนอกสถาบัน

ภาคผนวก ข–9 : แบบฟอรมท่ี

2.2 และ 2.3–1 จํานวนอาจารยจําแนก

ตาม วุฒิการศึ กษาและตํ าแหน งทาง

วิชาการ

ภาคผนวก ข–3 : ตารางพ้ืนฐาน

3 จํานวนบุคลากรทุกประเภทจําแนกตาม

สายงาน ปการศึกษา 2556

Page 92: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

85

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

กําหนดใหเทากับ 75,000 บาทข้ึนไปตอคนแลวคณะไดคะแนนเทากับ 5.00

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

1,225,647.94 บาทตอคน 372,649.09 บาทตอคน 5.00 คะแนน ไมบรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

372,649.09 บาทตอคน 936,723.92 บาทตอคน 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

372,649.09 บาทตอคน 939,508.58 บาทตอคน 5.00 คะแนน บรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ปรับยอดเงินสนับสนุนเงินภายในลําดับท่ี 6 จาก 99,000 บาทเปน 33,000 บาท เน่ืองจากเปนงานวิจัย 3 ปตอเน่ือง

ใชการหารเฉลี่ย ปรับยอดเงินสนับสนุนภายนอกลําดับท่ี 3 เน่ืองจากเปนงานวิจัย 2 ปตอเน่ือง นับเงินวิจัยท่ีไดรับจริงใน

ปงบประมาณ 2556 และปรับตัวเลขเงินวิจัยลําดับท่ี 8 ใหถูกตองตามหลักฐาน เงินภายใน 746,200 บาท เงินภายนอก

63,140,383.66

Page 93: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

86

1. ตัวบงชี้ สมศ.5 : งานวิจัยหรืองานสรางสรรคท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

โดยการแปลงรอยละของงานวิจัยหรืองานสรางสรรคท่ีไดรับการตีพิมพเผยแพรเปนคะแนนระหวาง 0 – 5

คารอยละของงานวิจัยหรืองานสรางสรรคท่ีไดรับการตีพิมพเผยแพร ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 10

กลุมสาขาวิชา 5 คะแนน

วิทยาศาสตรสุขภาพ 20

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 20

มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 10

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคารอยละของงานวิจัยหรืองานสรางสรรคท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร

11.75 X 100 = 15.06

78

4.2 แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 5.00

15.06 X 5 = 7.53

10

5. ผลการดําเนินงาน :

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงาน ดังน้ี

1. งานวิจัยท่ีตีพิมพหรือเผยแพรในป พ.ศ. 2556 จํานวน 16 เรื่อง มี

ผลรวมถวงนํ้าหนักท้ังหมดเทากับ 11.75 จําแนกตามระดับคุณภาพงานวิจัย ดังน้ี

(ภาคผนวก ข–32)

1.1 มีการตีพิมพในรายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการ

ระดับชาติ / ระดับนานาชาติ หรือมีการตีพิมพในวารสารวิชาการท่ีปรากฏใน

ฐานขอมูล TCI (คานํ้าหนัก 0.25) จํานวน 3 เรื่อง ผลรวมถวงนํ้าหนักเทากับ

0.75

1.2 มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติท่ีมีช่ือปรากฏอยูใน

ประกาศของ สมศ. (คานํ้าหนัก 0.50) จํานวน 4 เรื่อง ผลรวมถวงนํ้าหนักเทากับ

2.00

1.3 มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดบันานาชาติท่ีมีช่ือปรากฏอยู

ในประกาศของ สมศ. (คานํ้าหนัก 0.75) จํานวน 0 เรื่อง

1.4 มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีปรากฏใน

ฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank :

www.scimagojr.com) หรือ ISI หรือ Scopus (คานํ้าหนัก 1.00) จํานวน 9

เรื่อง ผลรวมถวงนํ้าหนักเทากับ 9.00

2. อาจารยประจําและนักวิจัยประจําท้ังหมดในปการศึกษา 2556

จํานวน 78 คน ประกอบดวย

ภาคผนวก ข–32 : แบบฟอรมตัวบงช้ี

สมศ.5 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคท่ีไดรับการ

ตีพิมพหรือเผยแพร ป พ.ศ. 2556

ภาคผนวก ข–9 : แบบฟอรมท่ี 2.2

และ 2.3–1 จํานวนอาจารยจําแนกตามวุฒิ

การศึกษาและตําแหนงทางวิชาการ

ภาคผนวก ข–3 : ตารางพ้ืนฐาน 3

จํานวนบุคลากรทุกประเภทจําแนกตามสายงาน

Page 94: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

87

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

2.1 อาจารยประจําท้ังหมด จํานวน 75 คน (ภาคผนวก ข–9)

2.2 นักวิจัยประจําท้ังหมด จํานวน 3 คน (ภาคผนวก ข–3)

ดังน้ัน คณะจึงมีคารอยละของงานวิจัยท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร

ตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจําท้ังหมดเทากับรอยละ 15.06 และ

คณะอยูในกลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตรซึ่งเมื่อเทียบกับคะแนน

เต็ม 5 ท่ีกําหนดใหเทากับรอยละ 10 แลวคณะไดคะแนนเทากับ 5.00

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 13.51 รอยละ 12.74 5.00 คะแนน ไมบรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 12.74 รอยละ 15.06 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 12.74 รอยละ 15.06 5.00 คะแนน บรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 95: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

88

1. ตัวบงชี้ สมศ.6 : งานวิจัยหรืองานสรางสรรคท่ีนําไปใชประโยชน

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

โดยการแปลงรอยละของงานวิจัยหรืองานสรางสรรคท่ีนําไปใชประโยชนเปนคะแนนระหวาง 0 – 5

คารอยละของงานวิจัยหรืองานสรางสรรคท่ีนําไปใชประโยชนท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 20

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคารอยละของงานวิจัยหรืองานสรางสรรคท่ีนําไปใชประโยชน

10.00 X 100 = 12.82

78

4.2 แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนทีได = 3.21

12.82 X 5 = 3.21

20

5. ผลงานดําเนินงาน :

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงาน ดังน้ี

1. งานวิจัยท่ีนําไปใชประโยชนในป พ.ศ. 2556 จํานวน 10 เรื่อง จําแนกตาม

ประเภทของการใชประโยชน ดังน้ี (ภาคผนวก ข–34)

1.1 การใชประโยชนในเชิงสาธารณะ จํานวน 0 เรื่อง

1.2 การใชประโยชนในเชิงนโยบาย จํานวน 10 เรื่อง

1.3 การใชประโยชนในเชิงพาณิชย จํานวน 0 เรื่อง

2. อาจารยประจําและนักวิจัยประจําท้ังหมดในปการศึกษา 2556 จํานวน 78 คน

ประกอบดวย

2.1 อาจารยประจําท้ังหมด จํานวน 75 คน (ภาคผนวก ข–9)

2.2 นักวิจัยประจําท้ังหมด จํานวน 3 คน (ภาคผนวก ข–3)

ดังน้ัน คณะจึงมีคารอยละของงานวิจัยท่ีนําไปใชประโยชนเทากับรอยละ 12.82

และเมื่อเทียบกับคะแนนเต็ม 5 ซึ่งกําหนดใหเทากับรอยละ 20 แลวคณะไดคะแนนเทากับ

3.21

ภ า ค ผ น ว ก ข –3 4 :

แบบฟอรมตัวบงช้ี สมศ.6 งานวิจัย

หรื องานสร า งสรรค ท่ี นํ า ไปใช

ประโยชน ป พ.ศ. 2556

ภาคผนวก ข–9 :

แบบฟอรม ท่ี 2 .2 และ 2 .3–1

จํานวนอาจารยจํ าแนกตามวุฒิ

การศึกษาและตําแหนงทางวิชาการ

ภาคผนวก ข–3 : ตาราง

พ้ืนฐาน 3 จํานวนบุคลากรทุก

ประเภทจําแนกตามสายงาน

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 47.30 รอยละ 26.75 5.00 คะแนน ไมบรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 26.75 รอยละ 12.82 3.21 คะแนน ไมบรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 26.75 รอยละ 12.82 3.21 คะแนน ไมบรรล ุ

Page 96: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

89

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 97: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

90

1. ตัวบงชี้ สมศ.7 : ผลงานทางวิชาการท่ีไดรับการรับรองคุณภาพ

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

โดยการแปลงรอยละของผลงานวิชาการท่ีไดรับรองคุณภาพเปนคะแนนระหวาง 0 – 5

คารอยละของผลงานวิชาการท่ีไดรับรองคุณภาพท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 10

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคารอยละของผลงานวิชาการท่ีไดรับการรับรองคุณภาพ

11.25 X 100 = 14.42

78

4.2 แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 5.00

14.42 X 5 = 7.21

10

5. ผลการประเมิน :

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงาน ดังน้ี

1. ผลงานวิชาการท่ีไดรับการรับรองคุณภาพในรอบป พ.ศ. 2556 จํานวน 14

ช้ิน มีผลรวมถวงนํ้าหนักท้ังหมดเทากับ 11.25 จําแนกตามระดับคุณภาพผลงาน

วิชาการ ดังน้ี (ภาคผนวก ข–35)

1.1 บทความวิชาการท่ีไดรับการตีพิมพในวารสารระดับชาติ (คานํ้าหนัก

0.25) จํานวน 1 เรื่อง ผลรวมถวงนํ้าหนักเทากับ 0.25

1.2 บทความวิชาการท่ีไดรับการตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติ (คา

นํ้าหนัก 0.50) จํานวน 0 เรื่อง

1.3 ตําราหรือหนังสือท่ีมีการตรวจอานโดยผูทรงคุณวุฒิท่ีสถานศึกษา

กําหนด (คานํ้าหนัก 0.75) จํานวน 8 เลม ผลรวมถวงนํ้าหนักเทากับ 6.00

1.4 ตําราหรือหนังสือท่ีใชในการขอผลงานทางวิชาการและผานการ

พิจารณาตามเกณฑการขอตําแหนงทางวิชาการแลว หรือตําราหรือหนังสือท่ีมี

คณุภาพสูงมีผูทรงคุณวุฒิตรวจอานตามเกณฑการขอตําแหนงทางวิชาการ (คานํ้าหนัก

1.00) จํานวน 5 เลม ผลรวมถวงนํ้าหนักเทากับ 5.00

2. อาจารยประจําและนักวิจัยประจําท้ังหมดในปการศึกษา 2556 จํานวน 78

คน ประกอบดวย

2.1 อาจารยประจําท้ังหมด จํานวน 75 คน (ภาคผนวก ข–9)

2.2 นักวิจัยประจําท้ังหมด จํานวน 3 คน (ภาคผนวก ข–3)

ดังน้ัน คณะจึงมีคารอยละของผลงานวิชาการท่ีไดรับการรับรองคุณภาพตอ

จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจําท้ังหมดเทากับรอยละ 14.42 และเมื่อเทียบ

กับคะแนนเต็ม 5 ซึ่งกําหนดใหเทากับรอยละ 10 แลวคณะไดคะแนนเทากับ 5.00

ภาคผนวก ข–35 : แบบฟอรม

ตัวบงช้ี สมศ.7 ผลงานทางวิชาการท่ีไดรับ

การรับรองคุณภาพ ป พ.ศ. 2556

ภาคผนวก ข–9 : แบบฟอรมท่ี

2.2 และ 2.3–1 จํานวนอาจารยจําแนก

ตาม วุฒิการศึ กษาและตํ าแหน งทาง

วิชาการ

ภาคผนวก ข–3 : ตารางพ้ืนฐาน

3 จํานวนบุคลากรทุกประเภทจําแนกตาม

สายงาน ปการศึกษา 2556

Page 98: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

91

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 14.19 รอยละ 5.73 2.89 คะแนน ไมบรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 5.73 รอยละ 14.42 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 5.73 รอยละ 13.46 5.00 บรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ตัดผลงานลําดับท่ี 6 เน่ืองจากไมมีหลักฐานเปนตัวเลมหนังสือ ไมมีรายละเอียดกองบรรณาธิการหรือผูทรงคุณวุฒิ

ตรวจอาน

Page 99: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

92

1. ตัวบงชี้ มธ.8 : รอยละของบทความวิจัยท่ีไดรับการอางอิง (Citation) ในฐานขอมูล Scopus หรือ Web of Science ตอ

จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

โดยการแปลงรอยละของบทความวิจัยท่ีไดรับการอางอิง (Citation) ในฐานขอมูล Scopus หรือ Web of Science ตอจํานวน

อาจารยประจําและนักวิจัยประจําเปนคะแนนระหวาง 0 – 5

คารอยละของบทความวิจัยท่ีไดรับการอางอิง (Citation) ในฐานขอมูล Scopus หรือ Web of Science ตอจํานวนอาจารย

ประจําและนักวิจัยประจํา ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 88

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคารอยละของบทความวิจัยท่ีไดรับการอางอิง (Citation) ในฐานขอมูล Scopus หรือ Web of Science

ตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา

28 X 100 = 35.90

78

4.2 แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 2.04

35.90 X 5 = 2.04

88

5. ผลการประเมิน :

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงาน ดังน้ี

1. บทความวิจัยท่ีไดรับการอางอิง (Citation) ในฐานขอมูล Scopus หรือ

Web of Science ในป พ.ศ. 2556 จํานวน 28 เรื่อง จําแนกตามฐานขอมูลท่ีอางอิง

ดังน้ี (ภาคผนวก ข–36)

1.1 ไดรับการอางอิงในฐานขอมูล Scopus จํานวน 15 เรื่อง

1.2 ไดรับการอางอิงในฐานขอมูล Web of Science จํานวน 0 เรื่อง

1.3 ไดรับการอางอิงในฐานขอมูล Scopus และ Web of Science

จํานวน 13 เรื่อง

2. อาจารยประจําและนักวิจัยประจําท้ังหมดในรอบปการศึกษา 2556

จํานวน 78 คน ประกอบดวย

2.1 อาจารยประจําท้ังหมด จํานวน 75 คน (ภาคผนวก ข–9)

2.2 นักวิจัยประจําท้ังหมด จํานวน 3 คน (ภาคผนวก ข–3)

ดงัน้ัน คณะจึงมีคารอยละของบทความวิจัยท่ีไดรับการอางอิง (Citation) ใน

ฐานขอมูล Scopus หรือ Web of Science ตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย

ประจําท้ังหมดเทากับรอยละ 35.90 และเมื่อเทียบกับคะแนนเต็ม 5 ซึ่งกําหนดให

เทากับรอยละ 88 แลวคณะไดคะแนนเทากับ 2.04

ภาคผนวก ข–36 : แบบฟอรม

ตัวบงช้ี มธ.8 รอยละของบทความวิจัยท่ี

ไดรับการอางอิง (Citation) ในฐานขอมูล

Scopus หรือ Web of Science ตอ

จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา

ป พ.ศ. 2556

ภาคผนวก ข–9 : แบบฟอรมท่ี

2.2 และ 2.3–1 จํานวนอาจารยจําแนก

ตาม วุฒิการศึ กษาและตํ าแหน งทาง

วิชาการ

ภาคผนวก ข–3 : ตารางพ้ืนฐาน

3 จํานวนบุคลากรทุกประเภทจําแนกตาม

สายงาน

Page 100: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

93

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 62.16 รอยละ 73.89 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 73.89 รอยละ 35.90 2.04 คะแนน ไมบรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 73.89 รอยละ 35.90 2.04 คะแนน ไมบรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 101: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

94

1. ตัวบงชี้ มธ.9 : รอยละของงานวิจัย บทความวิชาการ สิ่งประดิษฐของอาจารยและนักวิจัยท่ีไดรับรางวัลระดับชาติหรือ

นานาชาติตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

โดยการแปลงรอยละของงานวิจัย บทความ สิ่งประดิษฐของอาจารยและนักวิจัยท่ีไดรับรางวัลระดับชาติหรือนานาชาติตอจํานวน

อาจารยประจําและนักวิจัยประจําเปนคะแนนระหวาง 0 – 5

คารอยละของงานวิจัย บทความ สิ่งประดิษฐของอาจารยและนักวิจัยท่ีไดรับรางวัลระดับชาติหรือนานาชาติตอจํานวนอาจารย

ประจําและนักวิจยัประจํา ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 0.95

กลุมสาขาวิชา 5 คะแนน วิทยาศาสตรสุขภาพ 2.20

วิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี 3.00

มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 0.95 4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคารอยละของงานวิจัย บทความวิชาการ สิ่งประดิษฐของอาจารยและนักวิจัยท่ีไดรับรางวัลระดับชาติหรือ

นานาชาติตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา

2.0 X 100 = 2.56

78

4.2 แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 5.00

2.56 X 5 = 13.49

0.95

5. ผลการประเมิน :

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2556 ดังน้ี

1. งานวิจัย บทความวิชาการ สิ่งประดิษฐของอาจารยท่ีไดรับรางวัลระดับชาติ

หรือนานาชาติ จํานวน 3 ช้ิน มีผลรวมถวงนํ้าหนักท้ังหมดเทากับ 2.00 จําแนกตามระดับ

คุณภาพรางวัล ดังน้ี (ภาคผนวก ข–37)

1.1 ผลงานท่ีไดรับรางวัลระดับชาติ (คานํ้าหนัก 0.50) จํานวน 2 ช้ิน ผลรวม

ถวงนํ้าหนักเทากับ 1.00

1.2 ผลงานท่ีไดรับรางวัลระดับนานาชาติ (คานํ้าหนัก 1.00) จํานวน 1 ช้ิน

ผลรวมถวงนํ้าหนักเทากับ 1.00

2. อาจารยประจําและนักวิจัยประจําท้ังหมด จํานวน 78 คน ดังน้ี

2.1 อาจารยประจําท้ังหมด จํานวน 75 คน (ภาคผนวก ข–9)

2.2 นักวิจัยประจําท้ังหมด จํานวน 3 คน (ภาคผนวก ข–3)

ดังน้ัน คณะจึงมีคารอยละของงานวิจัย บทความวิชาการ สิ่งประดิษฐของอาจารย

และนักวิจัยท่ีไดรับรางวัลระดับชาติหรือนานาชาติตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย

ประจําท้ังหมดเทากับรอยละ 2.56 และคณะอยูในกลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและ

ภ า ค ผ น ว ก ข –3 7 :

แบบฟอรมตัวบงช้ี มธ.9 รอยละของ

งานวิจัย บทความวิชาการ สิ่งประดิษฐ

ของอาจารยและนักวิจัยท่ีไดรับรางวัล

ระดับชาติหรือนานาชาติตอจํานวน

อาจารยประจําและนักวิจัยประจํา ป

การศึกษา 2556

ภาคผนวก ข–9 : แบบฟอรม

ท่ี 2.2 และ 2.3–1 จํานวนอาจารย

จําแนกตามวุฒิการศึกษาและตําแหนง

ทางวิชาการ

ภาคผนวก ข–3 : ตาราง

พ้ืนฐาน 3 จํานวนบุคลากรทุกประเภท

จําแนกตามสายงาน ปการศึกษา 2556

Page 102: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

95

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

สังคมศาสตรซึ่งเมื่อเทียบกับคะแนนเต็ม 5 ท่ีกําหนดใหเทากับรอยละ 0.95 แลวคณะได

คะแนนเทากับ 5.00

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

n.a. n.a. n.a. n.a.

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 0.67 รอยละ 2.56 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 0.67 รอยละ 2.56 5.00 คะแนน บรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 103: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

96

Page 104: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

97

2.5 องคประกอบท่ี 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม

1. ตัวบงชี้ สกอ.5.1 : ระบบและกลไกในการบริการวิชาการแกสังคม

2. ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 5 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคม และดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด

คณะเศรษฐศาสตรมีแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการ การบริการ

วิชาการแกสังคม ท่ีสอดคลองกับพันธกิจของคณะ มีนโยบายสงเสริมและ

สนับสนุนการใหบริการวิชาการแกหนวยงานท้ังภายในและภายนอก โดยในการ

ใหบริการทางวิชาการมีการวางแผน ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล นําไปสู

การปรับปรุงคุณภาพการใหบริการอยางสม่ําเสมอ เพ่ือใหบรรลุเปาหมายท่ี

กําหนดไว (เอกสารอางอิง 1.1 และเอกสารอางอิง 1.2) รวมถึงมีการจัดสรร

งบประมาณสนับสนุน (เอกสารอางอิง 1.3 และเอกสารอางอิง 1.4)

1.1 แผนกลยุทธการบริการวิชาการแก

สั งคม คณะเศรษฐศาสตร มหา วิทยาลั ย

ธรรมศาสตร ปการศึกษา 2555–2559 และ

แผนปฏิบัติการการบริการวิชาการแกสังคม คณะ

เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร ป

การศึกษา 2555–2559

1.2 คําสั่งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี

030/2554 เรื่อง แตงตั้งคณะทํางานบริหารและ

คณะกรรมการของคณะเศรษฐศาสตร

1.3 งบประมาณศูนยบริการวิชาการ

เศรษฐศาสตร ปการศึกษา 2556

1.4 งบประมาณโครงการสัมมนาและ

เผยแพร ปการศึกษา 2556

[/] 2. มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแกสังคมกับการเรียนการสอน

คณะเศรษฐศาสตรมีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการกับ

กระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยนําองคความรูท่ีไดไปเปนสวนหน่ึงของ

รายวิชา ศ.312 ทฤษฎีเศรษฐศาสตรมหภาค และวิชา MB615 เศรษฐศาสตรเพ่ือ

การจัดการทางธุรกิจ และอาจารยประจําคณะไดสอนวิชาเศรษฐศาสตรจุลภาค

และเศรษฐศาสตรมหภาคใหแกนักเรียนช้ันมธัยมศึกษาตอนปลายในกิจกรรมคาย

เยาวชนเศรษฐศาสตรกับสังคม ครั้งท่ี 10 (TUYEC10) (เอกสารอางอิง 2.1 ถึง

เอกสารอางอิง 2.4)

2.1 แนวบรรยายวิชา ศ.312 ทฤษฎี

เศรษฐศาสตรมหภาค

2.2 แนวบรรยายวิชา MB615

เศรษฐศาสตรเพ่ือการจัดการทางธุรกิจ

2.3 คายเยาวชนเศรษฐศาสตรกับ

สังคม ครั้งท่ี 10 (TUYEC10) วันท่ี 24 ตุลาคม

2556 ณ หองประชุมปวย อ๊ึงภากรณ คณะ

เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนย

รังสิต

2.4 TU Open House 2013

[/] 3. มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแกสังคมกับการวิจัย

คณะเศรษฐศาสตรมีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการกับการ

วิจัยอยางเปนระบบ เชน รองศาสตราจารย ดร.นิรมล สุธรรมกิจ ผูเปนวิทยากร

3.1 ขอเสนอโครงการใหความรูแก

สังคม

Page 105: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

98

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

โครงการอบรมครู รุนท่ี 28 ไดทําวิจยัตอยอดจากงานบริการวิชาการแกสังคมกับ

ศูนยบริการวิชาการเศรษฐศาสตร (โครงการการเปรียบเทียบมาตรการดาน

สิ่งแวดลอมของสมาชิกประชาคมอาเซียน) เปนตน (เอกสารอางอิง 3.1 และ

เอกสารอางอิง 3.2)

3.2 โครงการการเปรียบเทียบ

มาตรการดานสิ่งแวดลอมของสมาชิกประชาคม

อาเซียน

[/] 4. มีการประเมินผลความสําเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแกสังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย

คณะเศรษฐศาสตรมีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการกับการวิจัย

อยางเปนระบบ โดยมีการสํารวจวาวิทยากรมีการนําองคความรูจากการอบรมครู

ไปใชในการเรียนการสอนหรือไม ผานการทําแบบสอบถามและการติดตามจาก

รายละเอียดของรายวิชา ศ.482 นโยบายสาธารณะและการพัฒนาอุตสาหกรรม

และวิชา ศ.441 เศรษฐศาสตรสาธารณะวาดวยรายจายภาครัฐ (เอกสารอางอิง

4.1 ถึงเอกสารอางอิง 4.3)

4.1 แบบสํารวจการนําองคความรูจาก

การอบรมครูไปใชประโยชนในการเรียนการสอน

4.2 รายละเอียดของรายวิชา ศ.482

นโยบายสาธารณะและการพัฒนาอุตสาหกรรม

4.3 รายละเอียดของรายวิชา ศ.441

เศรษฐศาสตรสาธารณะวาดวยรายจายภาครัฐ

[/] 5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแกสังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย

ศูนยบริการวิชาการเศรษฐศาสตรไดสรุปผลการประเมินในขอ 4 เพ่ือ

มาจัดทําแผนปรับปรุงการบริการวิชาการครั้งตอไป รวมถึงอาจารยผูสอนท้ังสอง

ทาน คือ ผูชวยศาสตราจารย ดร.พีระ เจริญพร และศาสตราจารย ดร.สกนธ

วรัญูวัฒนา ไดนําผลประเมินการสอนไปใชในการปรับปรุงการเรียนการสอน

ตอไป (เอกสารอางอิง 5.1)

5.1 สรุปผลการสํารวจการนําองค

ความรูจากการอบรมครูไปใชประโยชนในการ

เรียนการสอน

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

2 ขอ 3 ขอ 3.00 คะแนน บรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

3 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

3 ขอ 3 ขอ 3.00 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ตัดขอ 4 เน่ืองจากไมมีการประเมินผลความสําเร็จของการบูรณาการ จึงทําใหไมไดขอ 5 การนําผลประเมินมา

ปรับปรุงการบูรณาการ

Page 106: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

99

1. ตัวบงชี้ สกอ.5.2 : กระบวนการบริการทางวิชาการใหเกิดประโยชนตอสังคม

2. ชนิดของตัวบงชี้: กระบวนการ

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 5 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีการสํารวจความตองการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหนวยงานวิชาชีพเพ่ือประกอบการกําหนดทิศทาง

และการจัดทําแผนการบริการทางวิชาการตามจุดเนนของสถาบัน

การดําเนินการโครงการบริการวิชาการของคณะเศรษฐศาสตรไดมีการ

สํารวจในการรับบริการวิชาการผานความตองการจากการประเมินของ

ผูรับบริการ (เอกสารอางอิง 1.1 ถึงเอกสารอางอิง 1.2) และนํามาสรุปรวมเพ่ือ

จัดทําแผนการบริการวิชาการในครั้งตอไป

1.1 รายงานสรุปความตองการในการ

รับบริการวิชาการจากทายแบบประเมินผลความ

พึงพอใจของโครงการอบรมเศรษฐศาสตรสําหรับ

ครูผูสอนวิชาสังคมศึกษา และการจัดสัมมนาทาง

วิชาการประจําป

1.2 แบบประเมินผลผูเขาอบรม

โครงการอบรมเศรษฐศาสตรสาํหรบัครูผูสอนวิชา

สังคมศึกษา รุนท่ี 27

[/] 2. มีความรวมมือดานบริการทางวิชาการเพ่ือการเรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน หรือภาคเอกชน หรือภาครัฐ หรือ

หนวยงานวิชาชีพ

คณะเศรษฐศาสตรมีการดําเนินงานโครงการบริการทางวิชาการเปน

ประจําอยางตอเน่ืองและยั่งยืน โดยหัวขอท่ีจัดสัมมนา เสวนา อภิปราย ไดมาจาก

ความรวมมือกับวิทยากรท้ังภายในและภายนอกในการเผยแพรความรูระหวาง

องคกร เพ่ือประโยชนสาธารณะ (เอกสารอางอิง 2.1)

2.1 รายช่ือกิจกรรมโครงการบริการ

ทางวิชาการ

[/] 3. มีการประเมินประโยชนหรือผลกระทบของการใหบริการทางวิชาการตอสังคม

คณะเศรษฐศาสตรมีการประเมินประโยชนและผลกระทบของการ

ใหบริการทางวิชาการตอสังคม เชน ในการจัดอบรมครูผูสอนสังคมศึกษารุนท่ี 27

ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญไดใหความเห็นเรื่องหัวขอท่ีตองการใหจัดอบรมดาน

ทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจไทยกับการเขารวมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เปน

ตน (เอกสารอางอิง 1.2)

1.2 แบบประเมินผลผูเขาอบรม

โครงการอบรมเศรษฐศาสตรสาํหรบัครูผูสอนวิชา

สังคมศึกษา รุนท่ี 27

[/] 4. มีการนําผลการประเมินในขอ 3 ไปพัฒนาระบบและกลไก หรือกิจกรรมการใหบริการทางวิชาการ

คณะเศรษฐศาสตรโดยศูนยบริการวิชาการเศรษฐศาสตรไดนําผลการ

ประเมินการใหบริการทางวิชาการในขอ 3 ไปพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานของการ

ใหบริการ ขอบเขตการใหบริการ ระยะเวลาการใหบริการ และการกําหนดหัวขอ

โดยเขียนเปนขอเสนอแนะสําหรับการจัดอบรมครั้งตอไป (เอกสารอางอิง 4.1)

4.1 แบบประเมินผลผูเขาอบรม

โครงการอบรมเศรษฐศาสตรสาํหรบัครูผูสอนวิชา

สังคมศึกษา รุนท่ี 27

[/] 5. มีการพัฒนาความรูท่ีไดจากการใหบริการทางวิชาการและถายทอดความรูสูบุคลากรภายในสถาบันและเผยแพรสู

สาธารณชน

Page 107: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

100

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

คณะเศรษฐศาสตรนําความรู ท่ีไดจากการใหบริการทางวิชาการ

เผยแพรและถายทอดความรูตอสาธารณชนบนเว็บไซตคณะ (เอกสารอางอิง 5.1)

5.1 เว็บไซตคณะเศรษฐศาสตร หนา

“ศนูยบริการวิชาการเศรษฐศาสตร (Economic

Research and Training Center)”

(www.econ.tu.ac.th/erct)

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 2 ขอ 2.00 คะแนน ไมบรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

2 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

2 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 108: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

101

1. ตัวบงชี้ สมศ.8 : ผลการนําความรูและประสบการณจากการใหบริการวิชาการมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนและ/หรือการ

วิจัย

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

โดยแปลงรอยละของผลการนําความรูและประสบการณจากการใหบริการวิชาการมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนและ/

หรือการวิจัยเปนคะแนนระหวาง 0 – 5

คารอยละของผลการนําความรูและประสบการณจากการใหบริการวิชาการมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนและ/หรือการ

วิจัยท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 30

4. แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

4.1 คํานวณคารอยละของผลการนําความรูและประสบการณจากการใหบริการวิชาการมาใชในการพัฒนาการเรียนการ

สอนและ/หรือการวิจัย

2 X 100 = 100

2

4.2 แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = 5.00

100 X 5 = 16.67

30

5. ผลการดําเนินงาน :

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2556 ดังน้ี

1. ผลการนําความรูและประสบการณจากการใหบริการวิชาการมาใชในการ

พัฒนาการเรียนการสอนและ/หรือการวิจัย จํานวน 2 โครงการ แบงตามประเภทของการบูร

ณาการ ไดแก (ภาคผนวก ข–38)

1.1 โครงการท่ีนํามาใชในการพัฒนาการเรียนการสอน จํานวน 0

โครงการ

1.2 โครงการท่ีนํามาใชในการพัฒนาการวิจัย จํานวน 0 โครงการ

1.3 โครงการท่ีนํามาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย

จํานวน 2 โครงการ

2. โครงการบริการวิชาการท่ีไดรับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยท้ังหมด จํานวน 2

โครงการ ไดแก (ภาคผนวก ข–39 และเอกสารอางอิง 1)

2.1 โครงการอบรมเศรษฐศาสตรสําหรับครูผูสอนวิชาสังคมศึกษาระดับ

มัธยมศึกษา

2.2 โครงการสัมมนาทางวิชาการประจําป

ดังน้ัน คณะจึงมีคารอยละของผลการนําความรูและประสบการณจากการใหบริการ

วิชาการมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนและ/หรือการวิจัยตอจํานวนโครงการบริการ

วิชาการท่ีไดรับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยท้ังหมดเทากับรอยละ 100 และเมื่อเทียบกับ

คะแนนเต็ม 5 ซึ่งกําหนดใหเทากับรอยละ 30 แลวคณะไดคะแนนเทากับ 5.00

ภ า ค ผ น ว ก ข –3 8 :

แบบฟอรมท่ี 8.1 รายช่ือโครงการ/

กิจกรรมบริการวิชาการท่ีนํามาใช

ในการพัฒนาการเรียนการสอน

และ/หรือการวิจัย

ภาคผนวก ข–39 :

แบบฟอรมท่ี 8.2 รายช่ือโครงการ

บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ต า ม แ ผ น ท่ี

มหาวิทยาลัยอนุมัติ

และ

1. บันทึกขอความงาน

บริหารศูนยสุขศาสตร กองงานศูนย

รังสิต ท่ี ศธ 0516.54/108 วันท่ี 3

เมษายน 2557 เรื่อง ขอเพ่ิมตัว

บงช้ีในโครงการท่ีไดรับอนุมัติจาก

สภามหาวิทยาลัย

Page 109: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

102

6. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 21.21 รอยละ 100.00 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 100.00 รอยละ 100.00 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

รอยละ 100.00 รอยละ 100.00 5.00 คะแนน บรรล ุ

9. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

คณะขอปรับแผนท่ีอนุมัติสภาจาก 1 โครงการเปน 2 โครงการโดยเสนอตอรองอธิการบดีฝายบริหารศูนยสุขศาสตร

Page 110: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

103

1. ตัวบงชี้ สมศ.9 : ผลการเรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนหรือองคกรภายนอก

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

ปฏิบัติได

1 ขอ

ปฏิบัติได

2 ขอ

ปฏิบัติได

3 ขอ

ปฏิบัติได

4 ขอ

ปฏิบัติได

5 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 5 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีการดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) โดยการมีสวนรวมของชุมชนหรือองคกร

คณะเศรษฐศาสตรมีแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการการบริการ

วิชาการแกสังคม ซึ่ งดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) ดัง น้ี

(เอกสารอางอิง 1.1 ถึงเอกสารอางอิง 1.5)

Plan (P) : คณะจัดทําโครงการบริการวิชาการตามท่ีสภา

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อนุมัติโดยมีคณะทํางาน คณะกรรมการเปนสัมมนา

ผูรับผิดชอบ

Do (D) : คณะมีการดําเนินงานตามแผนท่ีกําหนดไว จํานวน 2

โครงการ ไดแก โครงการอบรมเศรษฐศาสตรสําหรับครูผูสอนวิชาสังคมศึกษา

ระดับมัธยมศึกษา และโครงการสัมมนาทางวิชาการ

Check (C) : คณะมกีารประเมินผลการจัดโครงการบริการวิชาการ

เพ่ือนําไปสูการใชประโยชน

Act (A) : คณะนําผลประเมินการจัดโครงการบริการวิชาการมาใช

เปนแนวทางเพ่ือการดําเนินงานการบริการวิชาการครั้งตอไป

1.1 แผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการการ

บริการวิชาการแกสังคม ปการศึกษา 2555 – 2559

1.2 ขอเสนอโครงการใหความรูแกสังคม

โครงการอบรมเศรษฐศาสตรสําหรับครูผูสอนวิชา

สังคมศึกษาระดับมัธยมศึกษา และโครงการสัมมนา

ทางวิชาการประจําป

1.3 คําสั่ งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี

030/2554 เรื่อง แตงตั้งคณะทํางานบริหารและ

คณะกรรมการของคณะเศรษฐศาสตร และคําสั่ง

คณะเศรษฐศาสตร ท่ี 0106/2556 เรื่อง แตงตั้ง

คณะกรรมการจัดสัมมนาทางวิชาการประจําปการ

2556 ครั้งท่ี 36

1.4 แบบประเมินการบริการวิชาการ

1.5 สรุปแบบประเมินการสัมมนาทาง

วิชาการประจําป 2556 ครั้งท่ี 36 และสรุปแบบ

ประเมินภาพรวม โครงการอบรมเศรษฐศาสตร

ครูผูสอนวิชาสังคมศึกษา รุนท่ี 28

[/] 2. บรรลุเปาหมายตามแผนประจําปไมตํ่ากวารอยละ 80

จากการดําเนินงานตามแผนโครงการบริการวิชาการ จํานวน 2

โครงการ คณะเศรษฐศาสตรบรรลุ เปาหมาย คิด เปนรอยละ 100

(เอกสารอางอิง 2.1)

2.1 รายงานสรุปผลการดําเนินงานตาม

ขอเสนอโครงการใหความรูแกสังคม โครงการอบรม

เศรษฐศาสตรสําหรับครูผูสอนวิชาสังคมศึกษาระดับ

มัธยมศึกษา รุนท่ี 28 และรายงานสรุปผลการจัด

สัมมนาทางวิชาการ ประจําป 2556 ครั้งท่ี 36

[/] 3. ชุมชนหรือองคกรมีผูนําหรือสมาชิกท่ีมีการเรียนรูและดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง

การดําเนินกิจกรรมใหบริการวิชาการดานวิชาการจากความรูความ

เช่ียวชาญท่ีคณะเศรษฐศาสตรจัดเปนไปอยางตอเน่ือง โดยคณะไดเชิญ

ผูทรงคุณวุฒิท่ีเก่ียวของกับประเด็นปญหามารวมอภิปรายแบบคณะเพ่ือ

แลกเปลี่ยนองคความรู (เอกสารอางอิง 3.1) ซึ่งมีชุมชนหรืองคกรมีผูนําหรือ

3.1 หนังสือเชิญแสดงปาฐกนําการสัมมนา

วิชาการ หนังสือเชิญเปนผู วิจารณ และผูรวม

อภิปราย

3.2 รายช่ือลงทะเบียนผูเขารวมสัมมนา

Page 111: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

104

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

สมาชิก ตลอดจนผูสนใจท่ัวไปเขารวมกิจกรรม (เอกสารอางอิง 3.2) วิชาการประจําป 2556 ครั้งท่ี 36 และรายช่ือ

ผูเขารวมอบรม โครงการอบรมครูเศรษฐศาสตรฯ

[/] 4. ชุมชนหรือองคกรสรางกลไกท่ีมีการพัฒนาตนเอง โดยคงอัตลักษณของคนในชุมชนและเอกลักษณของทองถิ่นอยาง

ตอเนื่องหรือย่ังยืน

การจัดกิจกรรมบริการวิชาการแกสังคมของคณะ ผูเขารวมจะไดรับ

ความและทัศนะในการสรางกลไกท่ีมีการพัฒนาตนเอง พัฒนาองคความรูอัน

จะเปนประโยชนสําคัญตอการสรสรางจิตสํานักท่ีดีในการสรางสรรคและ

พัฒนาสังคมของคนในชุมชนหรือองคกร (เอกสารอางอิง 4.1 และ

เอกสารอางอิง 4.2)

4 . 1 ร าย ช่ือก ารจั ด โ คร งกา รอบรม

เศรษฐศาสตรสําหรับครูผูสอนวิชาสังคมศึกษาระดับ

มัธยมศึกษา ระหวางป 2539–2557

4.2 รายช่ือการจัดโครงการสัมมนาทาง

วิชาการ (Symposium) ครั้งท่ี 1–36 ระหวางป

2521–2556

[/] 5. มีผลกระทบท่ีเกิดประโยชนสรางคุณคาตอสังคม หรือชุมชน/องคกรมีความเขมแข็ง

โครงการบริการวิชาการดานเศรษฐศาสตรท่ีคณะเศรษฐศาสตรจัด

กอใหเกิดผลกระทบท่ีเกิดประโยชนตอสังคม เชน การจัดสัมมนาวิชาการเรื่อง

“2 ปนโยบายเศรษฐกิจยิ่งลักษณ: ความฝนหรือความจริง” จะมีขอมูลท่ีเปน

ประโยชน มีผลการช้ีนํา ปองกัน หรือการแกปญหาของสังคม ซึ่งชวยสราง

ความเช่ือมั่นใหกับชุมชน/องคกรใหมีความเขมแข็ง (เอกสารอางอิง 5.1 และ

เอกสารอางอิง 5.2)

5.1 หนังสือการสัมมนาทางวิชาการ

ประจําป 2556 ครั้งท่ี 36 “2 ปนโยบายเศรษฐกิจยิ่ง

ลักษณ: ความฝนหรือความจริง?”

5.2 ไฟลบันทึกเสียงงานสัมมนาวิชาการ

ประจําป 2556 เรื่อง “2 ปนโยบายเศรษฐกิจยิ่ง

ลักษณ: ความฝนหรือความจริง” ชวงการอภิปราย

เรื่อง “อนาคตประเทศไทยภายใตนโยบายเศรษฐกิจ

รัฐบาลยิ่งลักษณ”

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

3 ขอ 2 ขอ 2.00 คะแนน ไมบรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

2 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

2 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 112: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

105

2.6 องคประกอบท่ี 6 การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

1. ตัวบงชี้ สกอ.6.1 : ระบบและกลไกในการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

2. ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 หรือ 6 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 5 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด

คณะเศรษฐศาสตรมีกําหนดนโยบายดานการทํานุบํารุงศิลปะและ

วัฒนธรรม มีแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการประจําป มีการกําหนดตัวช้ีวัด

ดานศิลปะและวัฒนธรรม มีการกําหนดผูรับผิดชอบในระดับผูบริหารและ

ระดับสถาบัน โดยมีการตั้งคณะกรรมการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และ

คณะทํางานฝายการนักศึกษา รวมถึงมีการจัดทําแผนงบประมาณและมีการ

ดําเนินการตามแผน (ภาคผนวก ข–40 และเอกสารอางอิง 1.1 ถึง

เอกสารอางอิง 1.3)

ภาคผนวก ข–40 : แบบฟอรมตัวบงช้ี

สกอ.6.1 ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะและ

วัฒนธรรม ปการศึกษา 2556

และ

1.1 แผนกลยุทธ/แผนปฏิบัติการสงเสริม

แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ค ณ ะ

เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ประจําป

การศึกษา 2556–2559

1.2 คําสั่งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ร

25/2556 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการทํานุบํารุง

ศิ ล ป ะ แ ละ วั ฒ น ธร ร ม ค ณะ เ ศ ร ษฐ ศ า ส ต ร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

1.3 โครงการกิจกรรมเงินกองทุน

คาธรรมเนียมการศึกษาเพ่ือพัฒนามหาวิทยาลัย

ประจําปงบประมาณ 2556–2557

[/] 2. มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา

คณะเศรษฐศาสตรใหความสําคัญกับกิจกรรมดานทํานุบํารุงศิลปะ

และวัฒนธรรม เพ่ือใหเกิดการพัฒนาท้ังทางดานการจัดการเรียนการสอนและ

กิจกรรมนักศึกษา ซึ่งการจัดการเรียนการสอนในแตละวิชาไดเช่ือมโยงการ

เรียนการสอนกับการทําบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมไปดวย เชน วิชา ศ.460

เศรษฐกิจประเทศไทย, วิชา ศ.375 เศรษฐศาสตรทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอมเบ้ืองตน, วิชา ศ.476 เศรษฐศาสตรสิ่งแวดลอม และวิชา ศ.390

เศรษฐศาสตรการพัฒนาการเกษตรและชนบท เปนตน และมีการจัดกิจกรรม

พานักศึกษาไปทัศนศึกษานอกสถานท่ี และยังมีกิจกรรมสงเสริมใหนักศึกษา

เรียนรูดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมดวยตนเอง (เอกสารอางอิง 2.1 ถึง

เอกสารอางอิง 2.3)

นอกจากน้ี คณะไดจัดกิจรรมดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมให

2.1 รายละเอียดของรายวิชา ศ.460

เศรษฐกิจประเทศไทย, วิชา ศ.375 เศรษฐศาสตร

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน, วิชา

ศ.476 เศรษฐศาสตรสิ่งแวดลอม และวิชา ศ.390

เศรษฐศาสตรการพัฒนาการเกษตรและชนบท

2.2 โครงการเชียร

2.3 โครงการละคร

2.4 โครงการสืบสานประเพณีไทยในวัน

สงกรานต

Page 113: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

106

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

นักศึกษาไดเขารวมกิจกรรมดวย (เอกสารอางอิง 2.4)

[/] 3. มีการเผยแพรกิจกรรมหรือการบริการดานทํานบํุารุงศิลปะและวัฒนธรรมตอสาธารณชน

คณะเศรษฐศาสตรมีการเผยแพรกิจกรรมหรือการบริการดานทํานุ

บํารุงศิลปะและวัฒนธรรมตอสาธารณชนผานทางการแสดง และเว็บไซตของ

คณะ (ภาคผนวก ข–40 และเอกสารอางอิง 3.1 และเอกสารอางอิง 3.2)

ภาคผนวก ข–40 : แบบฟอรมตัวบงช้ี

สกอ.6.1 ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะและ

วัฒนธรรม ปการศึกษา 2556

และ

3.1 เ ว็บไซตคณะเศรษฐศาสตร

(www.econ.tu.ac.th) หัวขอ “ประชาสัมพันธ”

หัวขอยอย “ขาวและกิจกรรม”

3.2 ภาพถายนักศึกษาเขารวมกิจกรรม

การทํา นุบํารุ งศิลปะและวัฒนธรรมของคณะ

เศรษฐศาสตร

[/] 4. มีการประเมินผลความสําเร็จของการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและ

กิจกรรมนักศึกษา

คณะกรรมการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม คณะเศรษฐศาสตร

ไดจัดทํารายงานสรุปผลความสําเร็จของการบูรณาการงานดานทํานุบํารุง

ศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา

(เอกสารอางอิง 4.1)

4.1 รายงานการประเมินผลความสําเร็จ

ตามแผนปฏิบัติการการสงเสริมและสนับสนุนศิลปะ

แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปการศึกษา 2556

[/] 5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและ

กิจกรรมนักศึกษา

คณะกรรมการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม คณะเศรษฐศาสตร

ไดพิจารณารายงานผลความสําเร็จของการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปะ

และวัฒนธรรมกับการเรียนการอสนและกิจกรรมนักศึกษาเพ่ือนําผลการ

ประเมินมาจัดทําแผนปรับปรุงดานศิลปะและวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน

และกิจกรรมนักศึกษา (เอกสารอางอิง 4.1 และเอกสารอางอิง 5.1)

4.1 รายงานการประเมินผลความสําเร็จ

ตามแผนปฏิบัติการการสงเสริมและสนับสนุนศิลปะ

และวัฒนธรรม คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัย

ธรรมศาสตร ปการศึกษา 2556

5.1 หนังสือเชิญประชุมคณะกรรมการการ

ทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม วันท่ี 15 มกราคม

2557

[X] 6. มีการกําหนดหรือสรางมาตรฐานคุณภาพดานศิลปะและวัฒนธรรมและมีผลงานเปนท่ียอมรับในระดับชาติ

ไมม ี ไมม ี

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 2 ขอ 2.00 คะแนน ไมบรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

2 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

Page 114: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

107

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

2 ขอ 2 ขอ 2.00 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ตัดขอ 2 เน่ืองจากไมมีหลักฐานการบูรณาการการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนและกิจกรรม

นักศึกษา ตัดขอ 4, 5 เน่ืองจากเปนผลตอเน่ืองจากขอ 2

Page 115: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

108

1. ตัวบงชี้ สมศ.10 : การสงเสริมและสนับสนนุดานศิลปะและวัฒนธรรม

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

ปฏิบัติได

1 ขอ

ปฏิบัติได

2 ขอ

ปฏิบัติได

3 ขอ

ปฏิบัติได

4 ขอ

ปฏิบัติได

5 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 5 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีการดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA)

คณะเศรษฐศาสตรดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) ดังน้ี

Plan (P) : คณะมีการจัดทําแผนกลยุทธ/แผนปฏิบัติการสงเสริม

แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ประจําปการศึกษา 2556–2559 โดยมีเปาประสงค

ใหบุคลากรและนักศึกษามีบทบาทในการสงเสริม ทํานุบํารุงศิลปะและ

วัฒนธรรมและรวมพัฒนาชุมชน สรางวัฒนธรรมความเปนธรรมศาสตรท่ี

สอดคลองกับคานิยมหลักใหแกนักศึกษา บุคลากร และถายทอดสูสังคม

(เอกสารอางอิง 1.1 ถึงเอกสารอางอิง 1.4)

Do (D) : คณะมีการจัดกิจกรรม เชน โครงการสืบสานประเพณีวัน

สงกรานต มีพิธีสรงนํ้าพระพุทธรูป รดนํ้าดําหัว ขอพรจากอาจารย และ

เจาหนาท่ีอาวุโสของคณะ และโครงการคายพัฒนาจิต เปนตน

Check (C) : คณะไดมีการจัดทําแบบประเมินการจัดกิจกรรม

Act (A) : คณะนําผลการประเมินมาแกไขปญหาในการดําเนินงาน

และปรับปรุงแผนงานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมในปตอ ๆ ไป

1.1 กลยุทธ/แผนปฏิบัติการสงเสริมและ

สนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม คณะเศรษฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ประจําปการศึกษา

2556–2559

1.2 คํ า สั่ ง คณ ะ เ ศ รษ ฐ ศ า สต ร ท่ี ร

25/2556 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการทํานุบํารุง

ศิ ล ป ะ แ ละ วั ฒ น ธร ร ม ค ณะ เ ศ ร ษฐ ศ า ส ต ร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

1.3 คํ า สั่ ง คณะ เ ศรษฐศาสต ร ท่ี ร .

32/2555 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการนักศึกษาคณะ

เศรษฐศาสตร ประจําปการศึกษา 2556

1.4 งบประมาณกองทุนคาธรรมเนียมป

การศึกษา 2556 และ 2557

[/] 2. บรรลุเปาหมายตามแผนประจําปไมตํ่ากวารอยละ 80

เปาหมายของแผนงานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมของคณะ

เศรษฐศาสตร มีกิจกรรม/โครงการ รวม 8 โครงการ และคณะไดจัดกิจกรรม

ตามแผนจํานวน 8 กิจกรรม

ดังน้ันจํานวนการจัดกิจกรรมตามแผนมีจํานวนเทากับ 8x100/8

เทากับรอยละ 100 (เอกสารอางอิง 2.1 ถึงเอกสารอางอิง 2.7)

2.1 เปดสอนวิชา CS296 Art and

Design Foundations ภาค 2/2556 (1. กิจกรรม

การเรียนการสอนวิชาท่ีสงเสริมการทํานุบํารุงศิลปะ

และวัฒนธรรม)

2.2 โครงการ Art Project by Tu2You

(สอนศิลปะ) โครงการศึกษางานนอกสถานท่ี วิชา ศ.

311 ทฤษฎี เศรษฐศาสตรจุ ลภาค วิชา 476

เศรษฐศาสตรสิ่งแวดลอม วิชา ศ.477 เศรษฐศาสตร

พลังงาน และโครงการศึกษางานนอกสถานท่ี วิชา

ศ.375 เศรษฐศาสตรทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม (2. กิจกรรมใหนักศึกษาศึกษางานนอก

สถานท่ีในวิชาท่ีเปดสอนท่ีสงเสริมการทํานุบํารุง

ศิลปะและวัฒนธรรม)

Page 116: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

109

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

2.3 กิจกรรมทําอาหาร และเรียนรูชีวิต

ความเปนอยูไทย (3. การสงเสริมใหนักศึกษาจัด

กิจกรรมนอกหลักสูตรท่ีสงเสริมการทํานุบํารุงศิลปะ

และวัฒนธรรม)

2.4 จํานวนนักศึกษาตางชาติเขารวม

โครงการแลกเปลี่ยน และจํานวนวิชาท่ีมีนักศึกษา

ตางชาติลงทะเบียนเรียนรวมกับนักศึกษาชาวไทย

(4. โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาประเภทรับเขา

และ 5. การสงเสริมใหนักศึกษาแลกเปลี่ยนความรู

ดานศิลปะแลวัฒนธรรมกับนักศึกษาชาวตางชาติ)

2.5 โครงการสืบสานประเพณีสงกรานต

คณะเศรษฐศาสตร ปการศึกษา 2556 (6. โครงการ

สืบสานประเพณีวัฒนธรรมไทยฯ)

2 . 6 วั น ค ร บ ร อ บ วั น ส ถ า ป น า ค ณ ะ

เศรษฐศาสตร (การแสดงมุทิตาจิตตออาจารย

อาวุโส) (7. วันครบรอบสถาปนาคณะเศรษฐศาสตร)

2.7 รายละเอียดโครงการบริจาคโลหิต

และโครงการแบงปน นํ้าใจสูผู ดอยโอกาส (8.

โครงการจิตอาสา/ชวยเหลือสังคม/แบงปนนํ้าใจฯ)

[/] 3. มีการดําเนินงานสม่ําเสมออยางตอเนื่อง

คณะเศรษฐศาสตรดําเนินงานโครงการสงเสริมและสนับสนุนดาน

ศิลปะและวัฒนธรรมสม่ําเสมอ ดังน้ี

1. การจัดโครงการสืบสานประเพณีวันสงกรานตเปนประจําทุกป

(เอกสารอางอิง 2.5)

2. การสงเสริมใหนักศึกษาจัดกิจกรรมคายอาสาพัฒนาชนบทอยาง

ตอเน่ืองทุกปการศึกษา (เอกสารอางอิง 3.1)

2.5 โครงการสืบสานประเพณีสงกรานต

คณะเศรษฐศาสตร ปการศึกษา 2556 (6. โครงการ

สืบสานประเพณีวัฒนธรรมไทยฯ)

3.1 รายงานผลประเมนิโครงการคายอาสา

พัฒนาชนบท

[/] 4. เกิดประโยชนและสรางคุณคาตอชุมชนภายใน/ภายนอก

คณะเศรษฐศาสตรสงเสริมใหนักศึกษาสรางจิตอาสา ทํานุบํารุง

ศิลปะและวัฒนธรรม มีความรับผิดชอบตอผูอ่ืน สังคม และสิ่งแวดลอม ซึ่ง

เ กิดประโยชนตอนักศึกษาเอง และสังคม (เอกสารอางอิง 3.1 และ

เอกสารอางอิง 4.1)

3.1 รายงานผลประเมนิโครงการคายอาสา

พัฒนาชนบท

4.1 รายงานผลการประเมินคายตามรอย

อาจารยปวย

[/] 5. ไดรับการยกยองระดับชาติและ/หรือนานาชาติ

นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตรไดรับการคัดเลือกเขารวมการประชุม

สมัชชาสหประชาชาติ สมัยสามัญ สมัยท่ี 68 และไดรับคําชมเชยจากคณะ

ผูแทนถาวรประจําสหประชาชาติ ณ นครนิวยอรก ซึ่งเปนแบบอยางของ

เยาวชนไทยท่ีมีสวนชวยสงเสริมวัฒนธรรมและภาพลักษณท่ีดีของประเทศ

5.1 หนังสือกระทรวงการตางประเทศ ท่ี

กต 1004/ว.137 วันท่ี 10 กุมภาพันธ 2557 เรื่อง

ขอช่ืนชมผูแทนเยาวชนท่ีเขารวมการประชุมสมัชชา

สหประชาชาติ สมัยสามัญ สมัยท่ี 68

Page 117: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

110

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

ไทยในสายตาของนักการทูตประเทศตาง ๆ (เอกสารอางอิง 5.1)

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

3 ขอ 4 ขอ 4.00 คะแนน บรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 118: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

111

1. ตัวบงชี้ สมศ.11 : การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

ปฏิบัติได

1 ขอ

ปฏิบัติได

2 ขอ

ปฏิบัติได

3 ขอ

ปฏิบัติได

4 ขอ

ปฏิบัติได

5 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 5 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. การมีสวนรวมของบุคลากรในสถาบันท่ีกอใหเกิดวัฒนธรรมท่ีดี

คณะเศรษฐศาสตรแตงตั้งบุคลากร และนักศึกษา เพ่ือจัดกิจกรรม

ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยใหเกิดประโยชนสูงสุด (เอกสารอางอิง 1.1

ถึงเอกสารอางอิง 1.3)

1.1 คําสั่งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ร

25/2556 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการทํานุบํารุง

ศิ ล ป ะ แ ละ วั ฒ น ธร ร ม ค ณะ เ ศ ร ษฐ ศ า ส ต ร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

1.2 คําสั่งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ร.32

เ รื่ อ ง แต งตั้ ง คณะกร รมกา ร นักศึ กษาคณะ

เศรษฐศาสตร ประจําปการศึกษา 2556

1.3 คํ าสั่ งคณะเศรษฐศสตร ท่ี

0170/2556 เรื่อง แต งตั้ งคณะอนุกรรมการ

นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร โครงการเศรษฐศาสตร

บัณฑิต ภาคภาษาอังกฤษ

[/] 2. สิ่งแวดลอมดานความปลอดภัยของอาคารสถานท่ี สะอาดถูกสุขลักษณะ และตกแตงอยางมีความสุนทรีย

คณะเศรษฐศาสตรไดดําเนินการปรับปรุงหองเรียน หองประชุม

หองกิจกรรมของนักศึกษา และบริเวณโดยรอบคณะ ท้ังท่ีทาพระจันทร และ

ศูนยรังสิต เพ่ือใหเกิดความสะอาด ถูกสุขลักษณะ และตกแตงอยางมีความ

สุนทรีย เพ่ือใหเกิดบรรยากาศการทํากิจกรรมรวมกันอยางมีความสุข และ

คํานึงถึงประโยชนใชสอยใหมีพ้ืนท่ีเพียงพอสําหรับใหนักศึกษาจัดกิจกรรม

(เอกสารอางอิง 2.1)

2.1 ภาพถายบริเวณโดยรอบคณะ

เศรษฐศาสตรท่ีเอ้ือตอการทํากิจกรรม

[/] 3. ปรับแตงและรักษาภูมิทัศนใหสวยงาม สอดคลองกับธรรมชาติ และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

คณะเศรษฐศาสตรไดปลูก ดูแล และบํารุงรักษาตนไม เพ่ือใหเกิด

ความรมรื่น สบายตาสบายใจ เหมาะตอการจัดกิจกรรม พรอมท้ังมีโตะและ

เกาอ้ีเพียงพอตอการใชสอย (เอกสารอางอิง 2.1)

2.1 ภาพถายบริเวณโดยรอบคณะ

เศรษฐศาสตรท่ีเอ้ือตอการทํากิจกรรม

[/] 4. การจัดการใหมีพ้ืนท่ีและกิจกรรมทางวัฒนธรรมท่ีเอ้ือและสงเสริมใหนักศึกษาและบุคลากรมีสวนรวมอยางสม่ําเสมอ

คณะเศรษฐศาสตรมีพ้ืนท่ีในการจัดกิจกรรมสงเสริมวัฒนธรรม และ

มีการจัดกิจกรรมเน่ืองในโอกาสตาง ๆ อยางสม่ําเสมอ (เอกสารอางอิง 2.1)

2.1 ภาพถายบริเวณโดยรอบคณะ

เศรษฐศาสตรท่ีเอ้ือตอการทํากิจกรรม

[/] 5. ระดับความพึงพอใจของบุคลากรและนักศึกษาท่ีเกี่ยวกับประเด็น 1 – 4 ไมตํ่ากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

คณะเศรษฐศาสตรมีระดับความพึงพอใจของบุคลากรและนักศึกษา

ท่ีเก่ียวกับประเด็น 1 – 4 เทากับ 3.74 จากคะแนนเต็ม 5 จากผูตอบแบบ

ภาคผนวก ข–41 : แบบฟอรมตัวบงช้ี

สมศ.11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและ

Page 119: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

112

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

ประเมินท้ังหมดจํานวน 541 คน (ภาคผนวก ข–41) ประกอบดวยบุคลากร

จํานวน 48 คน (เอกสารอางอิง 5.1 และเอกสารอางอิง 5.2) และนักศึกษา

จํานวน 493 คน (เอกสารอางอิง 5.3 และเอกสารอางอิง 5.4)

วัฒนธรรม ปการศึกษา 2556

และ

5.1 แบบประเมินความคิดเห็นบุคลากร

คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เ ก่ียวกับอัตลักษณ เอกลักษณ และการพัฒนา

สุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม ป

การศึกษา 2556

5.2 สรุปผลการประเมินความคิดเห็น

บุ ค ล า ก ร ค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เก่ียวกับความพึงพอใจ

ดานการพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและ

วัฒนธรรม ปการศึกษา 2556

5.3 แบบสอบถามความพึงพอใจและ

คว าม คิ ด เ ห็ น นั ก ศึ กษ าค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐศ าส ต ร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปการศึกษา 2556

5.4 สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจและ

คว าม คิ ด เ ห็ น นั ก ศึ กษ าค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐศ าส ต ร

มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร ปการศึกษา 2556 (หนา

4)

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 4 ขอ 4.00 คะแนน บรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 120: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

113

2.7 องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ

1. ตัวบงชี้ สกอ.7.1 : ภาวะผูนําของสภาสถาบันและผูบริหารทุกระดับของสถาบัน

2. ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 7 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. สภาสถาบันปฏิบัติหนาท่ีตามท่ีกฎหมายกําหนดครบถวนและมีการประเมินตนเองตามหลักเกณฑท่ีกําหนดลวงหนา

คณะเศรษฐศาสตรไดมีการดําเนินการสรรหากรรมการประจําคณะ

เศรษฐศาสตร ตามขอบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วาดวยการแตงตั้ง

กรรมการและคุณสมบัติของกรรมการประจําคณะ พ.ศ. 2532 โดยมีการ

ดําเนินการสรรหาจากคณาจารยประจํา ศาสตราจารยพิเศษ อาจารยพิเศษ

หรือผูทรงคุณวุฒิ เพ่ือใหสภามหาวิทยาลัยแตงตั้ง (เอกสารอางอิง 1.1) และ

คณะยังมีการประเมินผลการปฏิ บัติงานคณะกรรมการประจําคณะ

(เอกสารอางอิง 1.2) ซึ่งคณะกรรมการประจําคณะไดปฏิบัติหนาท่ีตาม

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. 2531 มาตรา 34 วาดวย

อํานาจและหนาท่ีคณะกรรมการประจําคณะ วิทยาลัย หรือแผนกอิสระ

ประจําป 2555 อยางครบถวน ดังน้ี

1. วางนโยบายและแผนงานของคณะใหสอดคลองกับนโยบายของ

มหาวิทยาลัย วางระเบียบและออกขอบังคับทางการศึกษาของคณะ ท้ังน้ีโดย

ไมขัดตอระเบียบและขอบังคับของมหาวิทยาลัย

1.1 การลาไปปฏิบัติงานเพ่ือเ พ่ิมพูนความรูทางวิชาการ

(เอกสารอางอิง 1.3)

1.2 ขออนุมัติเปลี่ยนช่ือโครงการเศรษฐศาสตรบัณฑิต ภาค

ภาษาอังกฤษ (เอกสารอางอิง 1.4)

2. พิจารณางบประมาณของคณะเพ่ือเสนอสภามหาวิทยาลัย

2.1 พิจารณาคําขอตั้งคําขอตั้งงบประมาณแผนดิน ประจําป

งบประมาณ 2558 (เอกสารอางอิง 1.5)

คณะไดมีการดําเนินการสรรหาคณบดีตามขอบังคับมหาวิทยาลัย

วาดวยการสรรหาคณบดี โดยมีการเลือกตั้งผูแทนประชาคมรวมเปน

คณะกรรมการการสรรหา (เอกสารอางอิง 1.6)

1.1 ขอบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

วาดวยการแตงตั้งกรรมการและคุณสมบัติของ

กรรมการประจําคณะ วิทยาลัย หรือแผนกอิสระ

พ.ศ. 2532 ขอ 5 (หนา 1)

1.2 แบบประเมินและผลการประเมิน

กรรมการประจําคณะเศรษฐศาสตร

1.3 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 2/2557 วาระท่ี

4.1 การลาไปปฏิบัติงานเพ่ือเพ่ิมพูนความรูทาง

วิชาการ (หนา 13)

1.4 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 2/2557 วาระท่ี

4.2 ขออนุมัติเปลี่ยนช่ือโครงการเศรษฐศาสตร

บัณฑิต ภาคภาษาอังกฤษ (หนา 14)

1.5 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 1/2557 วาระท่ี

3.2 พิจารณาคําขอตั้งงบประมานแผนดิน ประจําป

งบประมาณ 2558 (หนา 5)

1.6 ขอบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

วาดวยการสรรหาคณบดีหริอหัวหนาแผนกอิสระ

พ.ศ. 2546

[/] 2. ผูบริหารมีวิสัยทัศน กําหนดทิศทางการดําเนินงาน และสามารถถายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับมีความสามารถในการ

วางแผนกลยุทธ มีการนําขอมูลสารสนเทศเปนฐานในการปฏิบัติงานและพัฒนาสถาบัน

ผูบริหารคณะเศรษฐศาสตรไดกําหนด วิสัยทัศน พันธกิจ และจัดทํา

แผนยุทธศาสตร แผนปฏิบัติงานประจําป โดยมีการกําหนดตัวบงช้ี (KPI) และ

2.1 ภาพถ ายสื่ อประชาสัม พันธ และ

เอกสาร วิสัยทัศน พันธกิจ แผนยุทธศาสตร

Page 121: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

114

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

ไดถายทอดนโยบาย วิสัยทัศน และแผนยุทธศาสตร และแผนปฏิบัติงาน

(เอกสารอางอิง 2.1) ใหหนวยงานภายในใหดําเนินการตามพันธกิจท่ีไดรับ

มอบหมาย มีการติดตามตัวบงช้ีเปนระยะ ท้ังตัวบงช้ีแผนยุทธศาสตรและ

แผนปฏิบัติงาน และรายงานผลการปฏิบัติงานใหท่ีประชุมกรรมการประจํา

คณะพิจารณาเพ่ือหาแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงานตอไป

รวมท้ังคณะไดนําขอมูลรายรับ–รายจาย และงบการเงินเสนอ

ผูบริหาร รับทราบเปนประจําตามรายไตรมาส และใหหนวยงานตาง ๆ จัดทํา

งบประมาณโดยมีการวิเคราะหจากขอเสนอโครงการและแผนงานเปนหลัก

เพ่ือใหสอดคลองกับแผนปฏิบัติการประจําปของคณะ (เอกสารอางอิง 2.2

และเอกสารอางอิง 2.3)

2.2 รายงานผลการปฏิบัติราชการตาม

ตัวช้ีวัด ก.พ.ร ปงบประมาณ พ.ศ. 2556

2.3 รายงานรายรับจริงและรายจายจริง

ของงบประมาณจากรายไดพิเศษคณะเศรษฐศาสตร

ประจําปงบประมาณ 2556 ไตรมาสท่ี 4

[/] 3. ผูบริหารมีการกํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามท่ีมอบหมาย รวมท้ังสามารถสื่อสารแผนและผลการ

ดําเนินงานของสถาบันไปยังบุคลากรในสถาบัน

คณะเศรษฐศาสตรไดมีการจัดประชุมคณะกรรมการประจําคณะ

และประชุมคณาจารย เพ่ือรายงานการดําเนินงานของคณะ และขอความ

เห็นชอบในการดําเนินงานตามภารกิจหลักของคณะ ขอคําปรึกษาและ

ขอเสนอแนะแกผูบริหารคณะในดานตาง ๆ เชน (เอกสารอางอิง 3.1 ถึง

เอกสารอางอิง 3.5)

1. แผนกลยุทธเอกลักษณคณะเศรษฐศาสตร

2. แผนกลยุทธการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการ

3. แผนกลยุทธการพัฒนาบุคลากร สายสนับสนุนวิชาการ

4. การปรับโครงสรางการบริหารงานของสํานักงานเลขานุการคณะ

5. พิจารณาคําขอตั้งงบประมาณแผนดิน ประจําปงบประมาณ

2558 เปนตน

3.1 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 4/2556 วาระท่ี

2.1 รายงานรายรับจริงและจายจริงของงบประมาณ

จากรายได พิเศษคณะเศรษฐศาสตร ประจําป

งบประมาณ 2556 ไตรมาสท่ี 3 (หนา 2), วาระท่ี

3.1 แผนยุทธเอกลักษณคณะเศรษฐศาสตร (หนา

7), วาระท่ี 3.2 แผนกลยุทธการพัฒนาบุคลากร สาย

วิชาการ (หนา 7), วาระท่ี 3.3 แผนกลยุทธการ

พัฒนาบุคลากร สายสนับสนุนวิชาการ (หนา 9)

และวาระท่ี 3.4 รายงานผลการลาไปปฏิบัติงานเพ่ือ

เพ่ิมพูนความรูทางวิชาการ (หนา 10)

3.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 5/2556 วาระท่ี

3.1 รายงานงบการเงิน งบประมาณรายจายจาก

รายไดพิเศษคณะเศรษฐศาสตร และรายงานการเงิน

ของคณะเศรษฐศาสตร ประจําปงบประมาณ 2556

(หนา 10) และวาระท่ี 4 การปรับโครงสรางการ

บริ ห า ร ง านของสํ า นั ก ง าน เ ลข า นุ ก า รคณ ะ

เศรษฐศาสตร (หนา 16)

3.3 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 1/2557 วาระท่ี

3.1 แผนปฏิบัติราชการคณะเศรษฐศาสตร ประจําป

งบประมาณ 2557 (หน า 4 ) และวาระ ท่ี 3.2

พิจารณาคําขอตั้งงบประมาณแผนดิน ประจําป

Page 122: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

115

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

งบประมาณ 2558 (หนา 5)

3.4 รายงานการประชุมคณาจารย ครั้งท่ี

3/2556 วาระ ท่ี 4.1 แผนพัฒนาบุคลการสาย

วิชาการ (หนา 9)

3.5 รายงานการประชุมคณาจารย ครั้งท่ี

4/2556 วาระท่ี 3.1 การนําความรูจากหองเรียนเขา

สูภาคปฏิบัติ (หนา 5) และวาระท่ี 3.2 การจัด

ระเบียบหองเรียน (หนา 6)

[/] 4. ผูบริหารสนับสนุนใหบุคลากรในสถาบันมีสวนรวมในการบริหารจัดการ ใหอํานาจในการตัดสินใจแกบุคลากรตามความ

เหมาะสม

คณะเศรษฐศาสตรไดกําหนดผูรับผิดชอบการจัดทํารายงานการ

ประเมินตนเองแตละองคประกอบ และแตละตัวบงช้ีคุณภาพ ซึ่งไดกําหนด

ผูรับผิดชอบท้ังในระดับผูบริหารและระดับปฏิบัติการ (เอกสารอางอิง 4.1)

เพ่ือรายงานผลการดําเนินงานตามหลักเกณฑของ สมศ. และ ก.พ.ร และ

ผูบริหารไดสงเสริมบุคลากรท่ีมีความรู ความสามารถ มารวมทํางานบริหาร

ตามความสามารถ ความสนใจของบุคลากร ในตําแหนงตาง ๆ เชน รอง

คณบดี ผูอํานวยการโครงการ เลขานุการคณะ ผูชวยเลขานุการคณะ หัวหนา

งาน กรรมการตาง ๆ เปนตน โดยมีการมอบหมายภาระงาน มีการมอบ

อํานาจหนาท่ีในการลงนามและปฏิ บัติงาน ( เอกสารอางอิง 4.2 ถึง

เอกสารอางอิง 4.6)

คณะไดมีการจัดประชุมคณาจารย โดยใหบุคลากรของคณะมีสวน

รวมในการเสนอความเห็น และมีสวนรวมในการตัดสินใจ (เอกสารอางอิง

4.7)

4.1 คํ า สั่ ง ค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร ท่ี

ร.14/2556 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการประกัน

คุณภาพการศึกษา

4.2 คําสั่งคณะเศรษฐศาสตรท่ี 030/2554

เรื่อง แตงตั้งคณะทํางานบริหารและคณะกรรมการ

ของคณะเศรษฐศาสตร

4.3 คําสั่ งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ร .38

/2555 เรื่อง โครงสรางงานบริหารและหนาท่ีของ

ร อ ง ค ณ บ ดี ผู ช ว ย ค ณ บ ดี ค ณ ะ ทํ า ง า น

คณะกรรมการ และผูแทนอาจารยของคณะ

เศรษฐศาสตร

4.4 คํ า สั่ ง คณะ เ ศรษฐศาสต ร ท่ี ร .

55/2554 เรื่ อง แตงตั้ งผูมี อํานาจลงลายมือช่ือ

จายเงินคณะเศรษฐศาสตร

4.5 คํ า สั่ ง คณะ เ ศรษฐศาสตร ท่ี ร .

39/2554 เ รื่ อ ง มอบหมาย งาน ให เ จ า หน า ท่ี

ป ฏิ บั ติ ง า น ใ น สํ า นั ก ง า น เ ล ข า นุ ก า ร ค ณ ะ

เศรษฐศาสตร

4.6 คํ า สั่ ง คณะ เ ศรษฐศาสตร ท่ี ร .

44/2556 เรื่อง แตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษาช้ันปท่ี 1

ประจําปการศึกษา 2556

4.7 รายงานการประชุมคณาจารย ครั้งท่ี

3/2556 วาระท่ี 4.2 ปญหาในการพิจารณาคะแนน

ความดีความชอบของคณาจารย (หนา 11)

[/] 5. ผูบริหารถายทอดความรูและสงเสริมพัฒนาผูรวมงาน เพ่ือใหสามารถทํางานบรรลุวัตถุประสงคของสถาบันเต็มตาม

ศักยภาพ

Page 123: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

116

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

ผูบริหารคณะเศรษฐศาสตรไดมกีารถายทอดความรูแกผูรวมงาน ให

คําปรึกษา เสนอแนะวิธีการดําเนินงาน ในการเพ่ิมทักษะในการปฏิบัติงาน

และศักยภาพในการทํางานใหบรรลุวัตถุประสงค และสงเสริมใหบุคลากร

พัฒนาตนเองตามความสามารถและลักษณะงานท่ีปฏิบัติอยู โดยนําการ

จัดการความรู (KM) มาแลกเปลี่ยนความรู และถายทอดประสบการณในการ

ทํางาน (เอกสารอางอิง 5.1 และเอกสารอางอิง 5.2)

5.1 บันทึกอนุมัติโครงการจัดการความรู

คณะเศรษฐศาสตร ปการศึกษา 2556

5.2 การจัดทําคูมือปฏิบัติงานเจาหนาท่ี

สายสนับสนุนวิชาการ

[/] 6. ผูบริหารบริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาล โดยคํานึงถึงประโยชนของสถาบันและผูมีสวนไดสวนเสีย

คณะเศรษฐศาสตรไดนําหลักธรรมาภิบาลกิจการบานเมืองท่ีดี

(Good Governance) ท้ัง 10 องคประกอบมาปรับใชกับกิจกรรมและการ

บริหารงาน ของคณะ ดังตอไปน้ี

1. หลักประสิทธิผล (Effectiveness) ไดแก ผูบริหารคณะกําหนด

นโยบายและแผนกลยุทธ ตัวบงช้ีคุณภาพท่ีนําไปสูการปฏิบัติอยางเปนระบบ

โดยจัดทําเปนแผนปฏิบัติราชการประจําป และติดตามผลการดําเนินงาน

ประจําป 2554 ในการประชุมคณะกรรมการประจําคณะ (เอกสารอางอิง

6.1)

2. หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) ไดแก ผูบริหารคณะกําหนดใหมี

การดําเนินงานของคณะเพ่ือใหมีการบริหารจัดการทรัพยากรท่ีมีอยูอยาง

จํากัดใหมีความคุมคามากท่ีสุดท้ังการใชหองเรียนและอุปกรณสื่อการเรียน

การสอน (เอกสารอางอิง 6.2)

3. หลักการตอบสนอง (Responsiveness) ไดแก ผูบริหารคณะได

จัดใหมีการใหบริการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนท่ีดี โดยเนนพัฒนา

ปรับปรุงหองเรียน อุปกรณการเรียนการสอน และหองปฏิ บัติการ

คอมพิวเตอร เพ่ือสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน (เอกสารอางอิง 6.3)

4. หลักความรับผิดชอบ (Accountability) ไดแก ผูบริหารคณะได

เนนใหบุคลากรมีความรับผิดชอบในหนาท่ีโดยไดจัดทําคําสั่งมอบหมายหนาท่ี

ความรับผิดชอบใหรองคณบดีฝายตาง ๆ และการมอบอํานาจลงลายมือช่ือ

จายเงินคณะ เพ่ือใหมีหนาท่ีรับผิดชอบตอผลการปฏิบัติงานและเปาหมาย

ขององคกรตามภารกิจท่ีไดรับมอบหมาย (เอกสารอางอิง 6.4 และ

เอกสารอางอิง 6.5) และไดมีการติดตามผลการดําเนินงานตามเปาหมายตัวช้ื

วัดทุก ๆ 3 เดือน ในท่ีประชุมคณะกรรมการประจําคณะ (เอกสารอางอิง 6.6)

5. หลักความโปรงใส (Transparency) ไดแก ผูบริหารมีนโยบาย

ใหเปดเผยขอมูลรายงานประจําปตอสาธารณะชนบนเว็บไซตของคณะ

(เอกสารอางอิง 6.7) และมีการรายงานงบการเงิน งบประมาณรายจายจาก

รายไดพิเศษคณะ งบกองทุนคาธรรมเนียม และรายงานรายรับจริงและจาย

จริงของงบประมาณจากรายไดพิเศษคณะ ประจําปงบประมาณ 2556 ราย

ไตรมาส ในท่ีประชุมกรรมการประจําคณะ (เอกสารอางอิง 6.8)

6.1 รายการการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 4/2556 วาระท่ี

3.1 แผนกลยุทธเอกลักษณคณะเศรษฐศาสตร (หนา

7) วาระท่ี 3.2 แผนกลยุทธการพัฒนาบุคลากร สาย

วิชาการ (หนา 7) และวาระท่ี 3.3 แผนกลยุทการ

พัฒนาบุคลากร สายสนับสนุนวิชาการ (หนา 9)

6.2 ตารางการใชหองบรรยายประจําป

การศึกษา 1/2556 และ 2/2556

6.3 ขออนุมัติงบประมาณเพ่ือปรับปรุง

หองบรรยาย ศ.302 ทาพระจันทร

6.4 คําสั่งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ร.38

/2555 เรื่อง โครงสรางงานบริหารและหนาท่ีของ

ร อ ง ค ณ บ ดี ผู ช ว ย ค ณ บ ดี ค ณ ะ ทํ า ง า น

คณะกรรมการ และผูแทนอาจารยของคณะ

เศรษฐศาสตร

6.5 คําสั่งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ร.

55/2554 เรื่อง แตงตั้งผูมีอํานาจลงลายมือช่ือ

จายเงินคณะเศรษฐศาสตร

6.6 รายงานงานผลการปฏิบัติราชการตาม

ตัวช้ีวัด ก.พ.ร. ปงบประมาณ พ.ศ. 2556

6.7 เ ว็บไซตคณะเศรษฐศาสตร

(www.econ.tu.ac.th) หัวขอ “งานประกัน

คุณภาพ” หัวขอยอย “รายงานประจําป”

6.8 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 4/2556 วาระท่ี

2.1 รายงานรายรับจริงและรายจายจริงของ

งบประมาณจากรายไดพิเศษคณะเศรษฐศาสตร

ประจําปงบประมาณ 2556 ไตรมาสที 3 (หนา 2)

และครั้งท่ี 5/2556 วาระท่ี 3.1 งบการเงิน

Page 124: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

117

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

6. หลักการมีสวนรวม (Participation) ไดแก คณะไดมีการจัด

ประชุมคณาจารย และประชุมประชาคมสายสนับสนุน ใหบุคลากรทุกกลุมได

มีสวนรวมในการรับรู เรียนรู ทําความเขาใจ ในการใหขอเสนอแนะแนว

ทางการดําเนินงานของคณะ (เอกสารอางอิง 6.9 และเอกสารอางอิง 6.10)

7. หลักการกระจายอํานาจ (Decentralization) ไดแก ผูบริหาร

คณะมีการกระจายอํานาจรวมท้ังมอบอํานาจและความรับผิดชอบในการ

ตัดสินใจ และการดําเนินงานใหแกรองคณบดี เลขานุการคณะ และ

ผูชวยเลขานุการคณะ (เอกสารอางอิง 6.11) และไดแตงตั้งคณะทํางานในฝาย

ตาง ๆ ของคณะ เชน คณะทํางานดานการเงินและทรัพยสิน คณะทํางาน

วางแผนและงบประมาณ คณะทํางานฝายวิชาการ เปนตน (เอกสารอางอิง

6.12)

8. หลักนิติธรรม (Rule of Law) ไดแก ผูบริหารมีการปฏิบัติตาม

กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศตาง ๆ ตามท่ีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เปนผูกําหนด และประกาศ ระเบียบท่ีคณะไดจัดทําเพ่ิมเติม เพ่ือใหสอดคลอง

กับการบริหารงานของคณะ เชน ระเบียบการเงิน ประกาศวาดวยหลักเกณฑ

และวิธีการของพนักงานเงินรายได หลักเกณฑการพิจารณาความดีความชอบ

อาจารย หลักเกณฑการพิจารณาความดีความชอบขาราชการ พนักงาน

มหาวิทยาลัย และพนักงานเงินรายได และลูกจางประจํา ซึ่งจะอยูในรูปของ

กรรมการท่ีดําเนินการตามระเบียบ (เอกสารอางอิง 6.13 ถึงเอกสารอางอิง

6.15)

9. หลักความเสมอภาค (Equity) ไดแก คณะไดมีการปฏิบัติตอ

บุคลากรของคณะในการพิจารณาผลการปฏิบัติงานเพ่ือการเลื่อนเงินเดือน

บุคลากร คณะมีหลักเกณฑการพิจารณาความดีความชอบท้ังสายวิชาการ

และ สายสนับสนุนวิชาการ (เอกสารอางอิง 6.14 และเอกสารอางอิง 6.15)

และในการสรรหาคณบดี คณะจะใหอาจารย ขาราชการ พนักงาน

มหาวิทยาลัย พนักงานเงินรายไดพิเศษคณะ ลูกจางประจํา และนักศึกษา ทุก

กลุมมีสิทธิในการออกเสียงได (เอกสารอางอิง 6.16)

10. หลักมุงเนนฉันทามติ (Consensus Oriented) ไดแก ผูบริหาร

คณะมุงเนนใหมีกระบวนการพิจารณาวาระสําคัญ ๆ ของคณะผานการ

ประชุมคณาจารย โดยเปนเรื่องเสนอเพ่ือพิจารณาท่ีสําคัญ ๆ เชน ภาระงาน

และความรับผิดชอบของอาจารย เปนตน (เอกสารอางอิง 6.17)

งบประมาณรายจ า ยจากราย ได พิ เ ศษคณะ

เศรษฐศาสตร และรายงานการเงิน(ภาพรวม) ของ

คณะเศรษฐศาสตร ประจําปงบประมาณ 2556

(หนา 10)

6.9 รายงานการประชุมคณาจารย ครั้งท่ี

3/2556 และครั้งท่ี 4/2556

6.10 รายงานการประชุมประชาคมคณะ

เศรษฐศาสตร (สายสนับสนุนวิชาการ)

6.11 คําสั่งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ร.

55/2554 เรื่อง แตงตั้งผูมีอํานาจลงลายมือช่ือ

จายเงินคณะเศรษฐศาสตร

6.12 คําสั่งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี

030/2554 เรื่อง แตงตั้งคณะทํางานบริหารและ

คณะกรรมการของคณะเศรษฐศาสตร

6.13 ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

วาดวยหลักเกณฑและอัตราการจายเงินของคณะ

เศรษฐศาสตร พ.ศ. 2552

6.14 หลักเกณฑพิจารณาความดี

ความชอบอาจารย คณะเศรษฐศาสตร พ.ศ. 2552

6.15 หลักเกณฑพิจารณาความดี

ความชอบ ขาราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย

พนักงานเงินรายได และลูกจางประจํา พ.ศ. 2554

6.16 ขอบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

วาดวยการสรรหาคณบดีหรือหัวหนาแผนกอิสระ

พ.ศ. 2546

6.17 รายงานการประชุมคณาจารย ครั้งท่ี

4/2556 วาระท่ี 3.3 ภาระงานและความรับผิดชอบ

ของอาจารย (หนา 7)

[/] 7. สภาสถาบันประเมินผลการบริหารงานของสถาบันและผูบริหารนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริหารงานอยางเปน

รูปธรรม

คณะเศรษฐศาสตรมีรายงานผลการประเมินตนเองของคณบดีสง

มหาวิทยาลัย และรายงานผลการประเมินตนเองของคณะโดยงานประกัน

คุณภาพการศึกษาเสนอกรรมการประจําคณะ เพ่ือพิจารณาและเสนอแนะใน

7.1 รายงานผลการประเมินตนเองของ

คณบดี

7.2 รายงานการประเมินตนเอง คณะ

Page 125: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

118

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

การปรับปรุงการบริหารงานของคณะตอไป (เอกสารอางอิง 7.1 และ

เอกสารอางอิง 7.2) และคณะไดดําเนินการรายงานผลการปฏิบัติงานของ

คณะกรรมการประจําคณะ (เอกสารอางอิง 1.2.)

เศรษฐศาสตร

1.2 การประเมินคณะโดยคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

5 ขอ 7 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

7 ขอ 7 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

7 ขอ 6 ขอ 4.00 คะแนน ไมบรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ตัดขอ 7 ไมมีการนําผลการประเมินผูบริหารไปปรับปรุงการบริหารงาน

Page 126: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

119

1. ตัวบงชี้ สกอ.7.2 : การพัฒนาสถาบันสูสถาบันเรียนรู

2. ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 5 ขอโดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีการกําหนดประเด็นความรูและเปาหมายของการจัดการความรูท่ีสอดคลองกับแผนกลยุทธของสถาบันอยางนอย

ครอบคลุมพันธกิจดานการผลิตบัณฑิตและดานการวิจัย

คณะกรรมการจัดการความรู คณะเศรษฐศาสตร ไดกําหนดประเดน็

ความรู ไดแก แผนการจัดการความรูเพ่ือสนับสนุนการเรียนการสอน และมี

เปาหมายในการจัดการความรูเพ่ือใหเกิดการพัฒนาภายในองคกร ท่ีคณะได

ดําเนินการเปนปกติหากแตมิไดจัดระบบในรูปแบบการจัดการความรู ซึ่ง

สอดคลองกับแผนกลยุทธของคณะและของมหาวิทยาลัย ครอบคลุมพันธกิจ

ดานการผลิตบัณฑิตและดานการวิจัย (เอกสารอางอิง 1.1 ถึงเอกสารอางอิง

1.4)

1.1 คําสั่งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ร.

142/2555 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการจัดการ

คว า ม รู คณ ะ เ ศ รษ ฐศา สต ร ม ห า วิทย าลั ย

ธรรมศาสตร

1.2 แผนจัดการความรูคณะเศรษฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ป พ.ศ. 2555 ถึง พ.ศ.

2556

1.3 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

จัดการความรูคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 1/2557

วันท่ี 13 กุมภาพันธ 2557

1.4 แผนจัดการความรูคณะเศรษฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ป พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ.

2558

[/] 2. กําหนดบุคลากรกลุมเปาหมายท่ีจะพัฒนาความรูและทักษะดานการผลิตบัณฑิตและดานการวิจัยอยางชัดเจนตามประเด็น

ความรูท่ีกําหนดในขอ 1

ตามแผนปฏิบัติการการจัดการความรูคณะเศรษฐศาสตร ประจําป

พ.ศ. 2555 ถึง พ.ศ. 2556 คณะไดกําหนดบุคลากรกลุมเปาหมายท่ีจะพัฒนา

ความรูและทักษะ ดังน้ี (เอกสารอางอิง 1.2 และเอกสารอางอิง 1.4.)

1. พันธกิจดานการผลิตบัณฑิต กําหนดกลุมเปาหมาย คือ

คณาจารยคณะ โดยมีการจัดกิจกรรมการประชุมอาจารยผูสอนวิชาหมวด 3

เศรษฐศาสตรการเงิน, หมวด 5 เศรษฐศาสตรระหวางประเทศ และหมวด 8

เศรษฐศาสตรอุตสาหกรรม และการจัดทําแนวบรรยายวิชาหลักสูตรปริญญา

ตรี ฉบับป พ.ศ. 2552 และฉบับปรับปรุง ป พ.ศ. 2556

2. พันธกิจดานการวิจัย กําหนดกลุมเปาหมาย คือ คณาจารยคณะ

และผูประสงคขอตําแหนงทางวิชาการ โดยมีการจัดการพัฒนาศักยภาพของ

ตนเพ่ือขอปรับเลื่อนตําแหนงทางวิชาการเปนผูชวยศาสตราจารย

3. พันธกิจดานการบริการวิชาการ กําหนดกลุมเปาหมาย คือ

1.2 แผนจดัการความรูคณะเศรษฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ป พ.ศ. 2555 ถึง พ.ศ.

2556 (หนา 4)

1.4 แผนจัดการความรูคณะเศรษฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ป พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ.

2558 (หนา 4)

Page 127: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

120

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

คณาจารยและนักศึกษาคณะ โดยมีกิจกรรมการเผยแพรความรูผานทาง

ECON TU Archive คลังเอกสารดิจิตอล งานวิชาการดานเศรษฐศาสตร

[/] 3. มีการแบงปนและแลกเปลี่ยนเรียนรูจากความรู ทักษะของผูมีประสบการณตรง (tacit knowledge) เพ่ือคนหาแนว

ปฏิบัติท่ีดีตามประเด็นความรูท่ีกําหนดในขอ 1 และเผยแพรไปสูบุคลากรกลุมเปาหมายท่ีกําหนด

ปการศึกษา 2556 คณะเศรษฐศาสตร มีการจัดกิจกรรมแบงปน

ความรูใหกับบุคลากรกลุมเปาหมาย ดังน้ี

1. ดานการผลิตบัณฑิต ไดแก การประชุมอาจารยผูสอน หมวด 3

เศรษฐศาสตรการเงิน หมวด 5 เศรษฐศาสตรระหวางประเทศ และหมวด 8

เศรษฐศาสตรอุตสาหกรรม (เอกสารอางอิง 3.1)

2. ดานการวิจัย ไดแก การพัฒนาศักยภาพของตนเพ่ือขอปรับเลื่อน

ตําแหนงทางวิชาการเปนผูชวยศาสตราจารย โดยมีผูชวยศาสตราจารย ดร.

ประชาคุณธรรมดี และผูชวยศาสตราจารยสิทธิกร นิพภยะ เปนผูมี

ประสบการณมาเผยแพรความรูสูกลุมเปาหมาย (เอกสารอางอิง 3.2)

3.1 รายงานการประชุมอาจารยผูสอน

หมวด 3, 5, 8 เมื่อวันท่ี 21 ตุลาคม 2556

3.2 สัมมนาโครงการจัดการความรู คณะ

เศรษฐศาสตร มหา วิทยาลัยธรรมศาสตร ป

การศึกษา 2556 (การพัฒนาสถาบันสูสถาบัน

เรียนรู) และสรุปองคความรูจากการจัดสัมมนาและ

เผยแพร โครงการจัดการความรู ดานการพัฒนา

ศักยภาพของตนเพ่ือขอปรับเลื่อนตําแหนงทาง

วิชาการเปนผู ช วยศาสตราจารย เมื่อ วันท่ี 3

กรกฎาคม 2556

[/] 4. มีการรวบรวมความรูตามประเด็นความรูท่ีกําหนดในขอ 1 ท้ังท่ีมีอยูในตัวบุคคลและแหลงเรียนรูอ่ืนๆ ท่ีเปนแนวปฏิบัติท่ี

ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอยางเปนระบบโดยเผยแพรออกมาเปนลายลักษณอักษร (explicit knowledge)

คณะเศรษฐศาสตรไดรวบรวมความรูโดยมีการจัดทํารายงานสรุป

โครงการจัดการความรู ดานการผลิตบัณฑิต และดานการวิจัยเปนลายลักษณ

อักษร และเผยแพรความรูบนเว็บไซตของคณะ เพ่ือเปนแนวปฏิบัติท่ีดีในการ

ดําเนินงานตามพันธกิจดานการผลิตบัณฑิตและการวิจัยใหแกคณาจารยคณะ

(เอกสารอางอิง 4.1)

4 . 1 เ ว็ บ ไ ซ ต ค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร

(www.econ.tu.ac.th) หัวขอ “งานประกัน

คุณภาพ” หัวขอยอย “การจัดการความรู”

[/] 5. มีการนําความรูท่ีไดจากการจัดการความรูในปการศึกษาปจจุบันหรือปการศึกษาท่ีผานมาท่ีเปนลายลักษณอักษร

(explicit knowledge) และจากความรู ทักษะของผูมีประสบการณตรง (tacit knowledge) ท่ีเปนแนวปฏิบัติท่ีดีมาปรับใชใน

การปฏิบัติงานจริง

คณะเศรษฐศาสตรไดนําองคความรูดานการเรียนการสอน ไดแก

แนวบรรยายรายวิชาท่ีเปดสอนในปการศึกษาท่ีผาน ๆ มาข้ึนเผยแพรบน

เว็บไซตคณะ (เอกสารอางอิง 5.1) เพ่ือใหอาจารยผูสอนนําไดความรูไปใช

ประโยชนในการจัดทําแนวบรรยายรายวิชาท่ีจะใชในภาคการศึกษาถัดไป

(เอกสารอางอิง 5.2) และอาจารยผูเขารวมสัมมนาโครงการจัดความรูไดนํา

ความรู ท่ี ได ไปปรับใช ในการยื่ นขอปรับเลื่ อนตําแหน งทางวิชาการ

(เอกสารอางอิง 5.2 และเอกสารอางอิง 5.3)

5 . 1 เ ว็ บ ไ ซ ต ค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร

(www.econ.tu.ac.th) หนา “โครงการปริญญาตรี

หลักสูตรภาษาไทย” หัวขอ “คําอธิบายรายวิชาและ

เอกสาร หลักสูตร 2552”

5.2 อีเมล เรื่อง ขอความอนุเคราะหเพ่ือ

ตอบเกณฑมาตรฐานการประเมินคุณภาพ

5.3 บันทึกคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ศธ

0516.15/045 วันท่ี 20 มกราคม 2557 เรื่อง การ

พิจารณาตําแหนงทางวิชาการ และบันทึกคณะ

เศรษฐศาสตร ท่ี ศธ0516.15/0167 วันท่ี 20

มีนาคม 2557 เรื่อง การพิจารณาตําแหนงทาง

วิชาการ

Page 128: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

121

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

2 ขอ 4 ขอ 4.00 คะแนน บรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 129: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

122

1. ตัวบงชี้ สกอ.7.3 : ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการตัดสินใจ

2. ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 5 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีแผนระบบสารสนเทศ (Information System Plan)

คณะเศรษฐศาสตรไดจัดทําแผนพัฒนาระบบสารสนเทศ เพ่ือการ

บริหาร การเรียนการสอน และงานวิจัย (เอกสารอางอิง 1.1) เพ่ือใหการ

ทํางานมีประสิทธิภาพ สามารถรองรับการขยายตัวการดําเนินงานคณะได

ท้ังน้ีคณะไดเล็งเห็นความสําคัญของการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุน

ชวยในการวิเคราะหขอมูลการเรียนการสอน งานวิชาการงานวิจัย และการ

บริหารจัดการ

1.1 แผนพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการ

บริหาร การเรียนการสอน และงานวิจัย

[/] 2. มีระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการตัดสินใจตามพันธกิจของสถาบัน โดยอยางนอยตองครอบคลุมการจัดการเรียน

การสอน การวิจัย การบริหารจัดการ และการเงิน และสามารถนําไปใชในการดําเนินงานประกันคุณภาพ

คณะเศรษฐศาสตรมีระบบสาสนเทศเพ่ือการบริหารและการ

ตัดสินใจตามพันธกิจ ดังน้ี

1. ดานการจัดการเรียนการสอน ไดแก ระบบการประเมินผลการ

สอน Online และระบบ Intranet (เอกสารอางอิง 2.1 และเอกสารอางอิง

2.2) และอยูระหวางการจัดทําระบบฐานขอมูลบุคลากรสายวิชาการ

2. ดานการวิจัย ไดแก ระบบสารสนเทศดานการวิจัยจาก

ศูนยบริการวิชาการเศรษฐศาสตร (ERTC@TU) (เอกสารอางอิง 2.3)

3. ดานการบริหารจัดการ ประกอบดวย ระบบ E–office ระบบ

บัญชีทะเบียนครุภัณฑ ระบบสแกนลงเวลาปฏิบัติงาน และระบบวันลา

(เอกสารอางอิง 2.4 ถึงเอกสารอางอิง 2.9)

4. ดานการเงิน ไดแก ระบบการเงินและบัญชี (เอกสารอางอิง

2.10)

นอกจากน้ี คณะยังไดจัดทําฐานขอมูลดานการประกันคุณภาพ

ไดแก ระบบการ Share ขอมูลรวมกันดานประกันคุณภาพ เพ่ือใหผูเก่ียวของ

สามารถกรอกขอมูลและใชงานรวมกันได (เอกสารอางอิง 2.11)

การจัดการเรียนการสอน

2.1 ระบบการประเมินผลการสอน

Online

2.2 ระบบ Intranet

การวิจัย

2.3 www: econ.tu.ac.th: ERTC@TU

(ศู น ย บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร )

การบริหารจัดการ

2.4 ระบบ E–Office

2.5 ระบบ Email

2.6 คูมือการใชงานโปรแกรมคุมทะเบียน

ครุภัณฑ: ระบบบัญชีทะเบียนครุภัณฑ

2.7 โปรแกรม Microsoft Access :

ระบบทะเบียบรับสงหนังสือ

2.8 ระบบสแกนลงเวลาปฏิบัติงาน

2.9 ระบบวันลา

การเงิน

2.10 คูมือบัญชีแยกประเภท Easy Acc :

ระบบการเงินและบัญชี

ดานการประกันคุณภาพ

Page 130: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

123

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

2.11 การเขาใชงานการจัดเก็บขอมูล QA

: บนระบบ LAN

[/] 3. มีการประเมินความพึงพอใจของผูใชระบบสารสนเทศ

คณะเศรษฐศาสตรมีระบบประเมินแบบสอบถามความพึงพอใจของ

ผูใชระบบสารสนเทศ สําหรับผูใชบริการ กลุมอาจารย กลุมเจาหนาท่ี และ

กลุมนักศึกษา ผานทางหนาเว็บไซต เพ่ือลดการใชเอกสาร ซึ่งสามารถ

ประมวลและแสดงผลการประเมินไดทันที (เอกสารอางอิง 3.1 และ

เอกสารอางอิง 3.2)

3.1 แบบสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับ

ความพึงพอใจใชบริการระบบสารสนเทศและ

คอมพิวเตอร

3.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจตอ

การใชงานระบบสารสนเทศและคอมพิวเตอรของ

บุคลากรและนักศึกษา

[/] 4. มีการนําผลการประเมินความพึงพอใจของผูใชระบบสารสนเทศมาปรับปรุงระบบสารสนเทศ

คณะเศรษฐศาสตรไดนําผลการประเมินมาปรับปรุงระบบ Intranet

เพ่ือแกไขขอบกพรองอันเน่ืองมาจากโปรแกรมเดิมไมสามารถดูขอมูลตาง ๆ

ของคณะจากภายนอกไดโดยใหสามารถใชงานจากภายนอกไดโดยผาน

browser เมื่อตอ Internet (เอกสารอางอิง 3.2 และเอกสารอางอิง4.1)

3.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ

ตอการใชงานระบบสารสนเทศและคอมพิวเตอรของ

บุคลากรและนักศึกษา

4.1 คูมือการใชระบบ Intranet

[/] 5. มีการสงขอมูลผานระบบเครือขายของหนวยงานภายนอกท่ีเกี่ยวของตามท่ีกําหนด

คณะเศรษฐศาสตรมีระบบฐานขอมูลกลางเพ่ือเช่ือมโยงการ

ดําเนินการสงขอมูลเขาสูระบบเครือขายของสํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษาตามท่ีสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนด ไดแก ระบบ

ฐานขอมูลดานการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยตอง

ดําเนินการผานมหาวิทยาลัย (เอกสารอางอิง 5.1)

5.1 ภาพหนาจอการสงผลการประเมิน

ประกันคุณภาพคณะเศรษฐศาสตร ปการศึกษา

2556

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

3 ขอ 4 ขอ 4.00 คะแนน บรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 131: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

124

1. ตัวบงชี้ สกอ.7.4 : ระบบบริหารความเสี่ยง

2. ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

3. เกณฑการใหคะแนน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 หรือ 4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 6 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีการแตงต้ังคณะกรรมการหรือคณะทํางานบริหารความเสี่ยง โดยมีผูบริหารระดับสูงและตัวแทนท่ีรับผิดชอบพันธกิจหลัก

ของสถาบันรวมเปนคณะกรรมการหรือคณะทํางาน

คณะเศรษฐศาสตรมีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะ ประกอบดวย คณบดี รองคณบดี เลขานุการคณะ ผูชวยเลขานุการคณะ

และหัวหน างาน ดํ า เ นินการตอ เ น่ืองมาตั้ งแตป 2550 ถึงปจจุ บัน

(เอกสารอางอิง 1.1) โดยมีแนวทางการปฏิบัติงานข้ันตนจากหัวหนางาน แลว

นําเขาประชุมรวมกับเลขานุการคณะจัดทําสรุปเสนอรองคณบดีฝายวางแผน

รองคณบดีฝายวิชาการ และรองคณบดีฝายบริหารพิจารณาภาพรวมกอน

เสนอคณบดี และคณะกรรมการประจําคณะ

นอกจากคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงแลวคณะไดแตงตั้ง

คณะกรรมการติดตามผลการจัดวางระบบควบคุมภายใน ตั้งแตป 2547

จนถึงปจจุบัน โดยมีคณบดีเปนท่ีปรึกษา และมีรองคณบดีฝายบริหารเปน

ประธาน ซึ่งกรรมการประกอบดวยเลขานุการคณะ และหัวหนางาน ทําหนาท่ี

วิเคราะหขอมูลนําเขา ประชุมพิจารณาปรึกษาหารือ หาแนวทางแกไข เพ่ือ

ปรับปรุงใหดีข้ึน (เอกสารอางอิง 1.2)

1.1 คํ า สั่ ง ค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร ท่ี

336/2550 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการบริหารความ

เสี่ยงในกระบวนการบริหารการศึกษา

1.2 คําสั่ งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี

285/2547 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการติดตามผล

กา ร จั ด ว า ง ร ะ บ บ ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น ข อ งค ณ ะ

เศรษฐศาสตร

[/] 2. มีการวิเคราะหและระบุความเสี่ยง และปจจัยท่ีกอใหเกิดความเสี่ยงอยางนอย 3 ดาน ตามบริบทของสถาบัน ตัวอยางเชน

- ความเสี่ยงดานทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานท่ี)

- ความเสี่ยงดานยุทธศาสตร หรือกลยุทธของสถาบัน

- ความเสี่ยงดานนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ

- ความเสี่ยงดานการปฏิบัติงาน เชน ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย ระบบงาน

ระบบประกันคุณภาพ

- ความเสี่ยงดานบุคลากรและความเสี่ยงดานธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของอาจารยและบุคลากร

- ความเสี่ยงจากเหตุการณภายนอก

- อ่ืน ๆ ตามบริบทของสถาบัน

คณะเศรษฐศาสตรไดประชุมผูเก่ียวของ (เอกสารอางอิง 1.1) เพ่ือ

รวมกันวิเคราะห ระบุความเสี่ยง ปจจัยท่ีกอใหเกิดความเสี่ยง แนวทางการ

ประเมินโอกาส และผลกระทบ ซึ่งพบวา มีความเสี่ยงท่ีไดรับการประเมินแลว

8 ปจจัยเสี่ยง จึงนําปจจัยท่ีกอใหเกิดความเสี่ยงอยางนอย 3 ดานตามบริบท

ของคณะมาจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง (เอกสารอางอิง 2.1 และ

1.1 คํ า สั่ ง ค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร ท่ี

336/2550 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการบริหารความ

เสี่ยงในกระบวนการบริหารการศึกษา

2.1 อีเมล การประชุมการจัดทําแผน

บริหารความเสี่ยง และบันทึกการประชุม

Page 132: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

125

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

เอกสารอางอิง 2.2) 2.2 รายงานแผนบริหารความเสี่ ย ง

ประจําปงบประมาณ 2556 รวมถึงรายงานผลการ

ควบคุมภายในประจําป 2555

[/] 3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลําดับความเสี่ยงท่ีไดจากการวิเคราะหในขอ 2

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะเศรษฐศาสตรไดนําผลการ

วิเคราะห ประเมินความเสี่ยง จัดระดับความเสียหายและผลกระทบของความ

เสี่ยงโดยพิจารณาตามพันธกิจหลักของคณะ (เอกสารอางอิง 3.1)

3.1 Template แผนบริหารความเสี่ยง ท่ี

ประเมินพรอมระบุปจจัยและระดับความเสี่ยง แผน

บริหารความเสี่ยงประจําปงบประมาณ 2556

[/] 4. มีการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงท่ีมีระดับความเสี่ยงสูง และดําเนินการตามแผน

คณะเศรษฐศาสตรจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงท่ีมีระดับความเสี่ยง

สูงครอบคลุมแตละประเด็นยุทธศาสตร ตามกรอบประเด็นยุทธศาสตรของ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และไดมีการดําเนินการตามแผน คือ การกําหนด

ความเสี่ยง การปรับปรุงการควบคุม กิจกรรมการดําเนินงาน และผูรับผิดชอบ

(เอกสารอางอิง 4.1 ถึงเอกสารอางอิง 4.3)

4.1 แผนบริหารความเสี่ยงคณะ

เศรษฐศาสตร ประจําปการศึกษา 2556

4.2 การกําหนดตัวช้ีวัดตามแผนบริหาร

ความเสี่ยง

4.3 การรายงานผลการดําเนินงานตาม

แผนบริหารความเสี่ยง งวด 6 เดือน งวด 9 เดือน

และงวด 12 เดือน

[/] 5. มีการติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานตามแผน และรายงานตอสภาสถาบันเพ่ือพิจารณาอยางนอยปละ 1 คร้ัง

คณะเศรษฐศาสตร ไดจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงประจําป 2556

และจัดทํารายงานผลการดําเนินงานตามแผนเสนอคณะกรรมการประจําคณะ

พิจารณาใหความเห็นชอบแลว (เอกสารอางอิง 5.1)

5.1 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 2/2556 วันท่ี 1

เมษายน 2556 วาระท่ี 5.3 แผนบริหารความเสี่ยง

ประจําปงบประมาณ 2556 และการควบคุมภายใน

ประจําปงบประมาณ 2555 (หนา 10)

[/] 6. มีการนําผลการประเมิน และขอเสนอแนะจากสภาสถาบันไปใชในการปรับแผนหรือวิเคราะหความเสี่ยงในรอบปถัดไป

คณะเศรษฐศาสตรไดนําผลการะประเมินงวด 6 เดือน พรอมแผน

บริหารความเสี่ยงเสนอท่ีประชุมคณะกรรมการประจําคณะพิจารณาเพ่ือขอ

ความคิดเห็นและขอเสนอแนะแลวจึงนําไปปรับแผนและวิเคราะหในรายงาน

ผลการดําเนินงาน งวด 9 เดือน และงวด 12 เดือน เพ่ือเปนแนวทางการ

จัดทําแผนบริหารความเสี่ยงในปตอไป

6.1 รายงานผลการดําเนินงานตามแผน

บริหารความเสี่ยง งวด 9 เดือน และงวด 12 เดือน

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

3 ขอ 4 ขอ 3.00 คะแนน บรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 6 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 6 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

Page 133: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

126

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 134: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

127

1. ตัวบงชี้ สมศ.13 : การปฏิบัติตามบทบาทหนาท่ีของผูบริหารสถาบัน

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

ใชคาคะแนนการประเมินผลผูบริหาร โดยคณะกรรมการท่ีสภาสถาบันแตงตั้ง (คะแนนเต็ม 5)

4. ผลการดําเนินงาน :

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] ผลการประเมินผูบริหารหนวยงาน ตามเกณฑตัวบงช้ีท่ี สมศ.13 สภามหาวิทยาลัย

ในการประชุม ครั้งท่ี 7/2556 วันท่ี 1 กรกฎาคม 2556 โดยผลการประเมินผลการ

บริหารงานของผูบริหารคณะเศรษฐศาสตรเทากับรอยละ 84.00 เทากับ 3.59 คะแนน

1. หนังสือสํานักงานอธิการบดี

ลงวันท่ี 14 สิงหาคม 2557 เรื่อง ผลการ

ประเมินผูบริหารหนวยงานฯ ตามเกณฑ

ตัวบงช้ีท่ี 13 (สมศ.13)

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

3.51 คะแนน 4.65 คะแนน 4.65 คะแนน บรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

4.65 คะแนน 3.59 คะแนน 3.59 คะแนน ไมบรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

4.65 คะแนน 3.51 คะแนน 3.51 คะแนน ไมบรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ปรับคะแนนประเมินคณบดีจาก 3.59 เปน 3.51 ตามขอมูลจากงานประชุมท่ีสงใหฝาย QA

Page 135: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

128

Page 136: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ปีการศกึษา 2556

129

2.8 องคประกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ

1. ตัวบงชี้ สกอ.8.1 : ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ

2. ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 7 ขอโดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีแผนกลยุทธทางการเงินท่ีสอดคลองกับแผนกลยุทธของสถาบัน

คณะ เศรษฐศาสตรมี ก ารจั ด ทํ าแผนกลยุ ทธ ทางการ เ งิน

ปงบประมาณ พ.ศ. 2555–2559 (เอกสารอางอิง 1.1 และเอกสารอางอิง

1.2)

1.1 แ ผ น ก ล ยุ ท ธ ท า ง ก า ร เ งิ น ค ณ ะ

เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ป 2555–

2559

1.2 คําสั่ งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี

036/2557 เรื่อง แตงตั้งคณะทํางานบริหารและ

คณะทํางานของคณะเศรษฐศาสตร

[/] 2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางดานการเงิน หลักเกณฑการจัดสรร และการวางแผนการใชเงินอยางมีประสิทธิภาพ

โปรงใส ตรวจสอบได

คณะเศรษฐศาสตรมีแนวทางการจัดการหาทรัพยากรทางดาน

การเงิน ดังน้ี (ภาคผนวก ข–41/1 และภาคผนวก ข–41/2)

1. งบประมาณแผนดิน (เอกสารอางอิง 2.1)

2. งบประมาณรายจายจากเงินรายไดพิเศษคณะ (เอกสารอางอิง

2.2)

3. งบกองทุนคาธรรมเนียมการศึกษาเ พ่ือการพัฒนา

(เอกสารอางอิง 2.3)

4. งบกองทุนตาง ๆ (เอกสารอางอิง 2.4)

5. งบโครงการบริการสังคม (เอกสารอางอิง 2.5)

ท้ังน้ี คณะมีระเบียบการบริหารการเงินงบประมาณและโครงการ

บริการสังคม รวมถึงระเบียบหลักเกณฑการเบิกจายเงินท่ีสามารถตรวจสอบ

ได (เอกสารอางอิง 2.6)

ภาคผนวก ข–41/1 : แบบฟอรมท่ี สกอ.

8.1–1 คาใชจายท้ังหมด

ภาคผนวก ข–41/2 : แบบฟอรมท่ี สกอ.

8 . 1 –2 ร อ ย ล ะ ข อ ง เ งิ น เ ห ลื อ จ า ย สุ ท ธิ ต อ

งบดําเนินการ

และ

2.1 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 6/2554 วาระท่ี

4.2 เรื่องพิจารณาคําขอตั้งงบประมาณแผนดิน

ปงบประมาณ 2556 (หนา 12)

2.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 3/2555 วาระท่ี

5.1 เรื่องการขอตั้งงบประมาณรายจายจากเงิน

รายได พิ เศษคณะฯ และงบประมาณกองทุน

คาธรรมเนียมการศึกษาฯ ประจําปงบประมาณ

2556 ขอ 1 เรื่อง อนุมัติคําขอตั้ งงบประมาณ

รายจายจากเ งินรายได พิ เศษคณะฯประจํ าป

งบประมาณ 2556 (ครั้งท่ี2) (หนา 5)

2.3 งบประมาณกองทุนคาธรรมเนียม

Page 137: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

130

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

การศึกษาเพ่ือการพัฒนา ประจําปงบประมาณ

2556

2.4 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 3/2555 วาระท่ี

5.1 เรื่องการขอตั้งงบประมาณรายจายจากเงิน

รายได พิ เศษคณะฯ และงบประมาณกองทุน

คาธรรมเนียมการศึกษาฯ ประจําปงบประมาณ

2556 ข อ 2 เรื่ อง ขออนุมั ติ งบกองทุนคณะ

เศรษฐศาสตร ประเภท ข ประจําปงบประมาณ

2556 (หนา 5)

2.5 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 3/2555 วาระท่ี

4.1 เรื่องการขอตั้งงบประมาณโครงการบริการ

สังคม ประจําปงบประมาณ 2556 (หนา 4)

2.6 ประกาศมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เ รื่ อ ง หลั ก เกณฑการปฏิ บัติ เ ก่ี ยว กับบริหาร

งบประมาณรายจายจากเงินรายไดของมหาวิทยาลัย

พ.ศ. 2554

[/] 3. มีงบประมาณประจําปท่ีสอดคลองกับแผนปฏิบัติการในแตละพันธกิจและการพัฒนาสถาบันและบุคลากร

คณะเศรษฐศาสตรมีการจัดทําคําขอตั้งงบประมาณประจําป

(เอกสารอางอิง 3.1) ท้ังสวนของเงินงบประมาณแผนดิน งบรายไดพิเศษคณะ

งบกองทุนคาธรรมเนียมการศึกษา และงบกองทุนท่ีสอดคลองกับแบบปฏิบัติ

ราชการในแตละพันธกิจ ซึ่งสามารถพัฒนาคณะ และบุคลากรของคณะให

เปนไปตามแผนการใชจายงบประมาณ

3.1 แผนปฏิบัติราชการประจําป

งบประมาณ 2556

[/] 4. มีการจัดทํารายงานทางการเงินอยางเปนระบบ และรายงานตอสภาสถาบันอยางนอยปละ 2 คร้ัง

คณะเศรษฐศาสตรมีการจัดทํารายงานทางการเงิน (เอกสารอางอิง

4.1 ถึงเอกสารอางอิง 4.6) ตามระเบียบของมหาวิทยาลัย โดยรายงานให

คณะกรรมการประจําคณะไดทราบ และรายงานใหมหาวิทยาลัยตอไป

4.1 งบการเงิน เงินรายจายจากเงินรายได

พิเศษ ประจําปงบประมาณ 2556 (1 ตุลาคม 2555

– 31 ธั น ว าคม 2555 ) ไ ต ร ม าส ท่ี 1 คณ ะ

เศรษฐศาสตร

4.2 งบการเงิน เงินรายจายจากเงินรายได

พิเศษ ประจําปงบประมาณ 2556 (1 ตุลาคม 2555

– 30 กันยายน 2556) คณะเศรษฐศาสตร

4.3 งบการเงิน โครงการเศรษฐศาสตร

บัณฑิตภาคภาษาอังกฤษ คณะเศรษฐศาสตร

ประจําปงบประมาณ 2556 (ระหวางวันท่ี 1 ตุลาคม

2555 ถึง 31 ธันวาคม 2555)

Page 138: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ปีการศกึษา 2556

131

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

4.4 งบการเงิน โครงการเศรษฐศาสตร

บัณฑิตภาคภาษาอังกฤษ คณะเศรษฐศาสตร

ประจําปงบประมาณ 2556 (ระหวางวันท่ี 1 ตุลาคม

2555 ถึง 30 กันยายน 2556)

4.5 เอกสาร ขอสงรายงานรายรับจริงและ

การใชจายงบประมาณ ประจําป 2556 ไตรมาสท่ี 1

ถึงไตรมาสท่ี 4

4.6 เอกสาร ขอสงรายงานฐานะการลงทุน

ของคณะเศรษฐศาสตร ไตรมาสท่ี 1/2556 ถึงไตร

มาสท่ี 4/2556

[/] 5. มีการนําขอมูลทางการเงินไปใชในการวิเคราะหคาใชจาย และวิเคราะหสถานะทางการเงินและความมั่นคงของสถาบัน

อยางตอเนื่อง

คณะเศรษฐศาสตรไดมีการประชุมคณะทํางานดานการเงินและ

ทรัพยสินรายไตรมาสของปงบประมาณ เพ่ือตรวจสอบวิเคราะหฐานะทาง

การเงินและการใชทรัพยสิน การลงทุนของคณะ ซึ่งนําไปสูการวางแผนการใช

จายให เปนไปตามงบประมาณและให เหมาะกับสภาวการณปจจุ บัน

(เอกสารอางอิง 5.1 ถึงเอกสารอางอิง 5.2 และเอกสารอางอิง 4.6)

5.1 รายงานการประชุมคณะทํางาน

การเงินและทรัพยสิน ครั้งท่ี 1/2556 วาระท่ี 4.1

รายงานรายรับจริงและรายจายจริงฯ (หนา 7) ครั้งท่ี

2/2556 วาระท่ี 4.1 รายงานรายรับจริงและรายจาย

จริงฯ (หนา 5), ครั้งท่ี 3/2556 วาระท่ี 3.1 รายงาน

รายรับจริงและรายจายจริงฯ (หนา 4) และครั้งท่ี

4/2556 วาระท่ี 3.1 รายงานรับจริงและการใชจาย

งบประมาณคณะเศรษฐศาสตร มธ. ไตรมาสท่ี 1–

4/2556 (หนา 4)

5.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 1/2556 วาระท่ี

4.2 รายงานรายรับจริงและรายจายจริงฯ (หนา 3),

ครั้งท่ี 3/2556 วาระท่ี 3.2 รายงานรายรับจริงและ

รายจายจริงฯ (หนา 4), ครั้งท่ี 4/2556 วาระท่ี 2.1

(หนา 2) และครั้งท่ี 5/2556 วาระท่ี 2.1 (หนา 2)

4.6 เอกสาร ขอสงรายงานฐานะการลงทุน

ของคณะเศรษฐศาสตร ไตรมาสท่ี 1/2556 ถึงไตร

มาสท่ี 4/2556

[/] 6. มีหนวยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหนาท่ีตรวจ ติดตามการใชเงินใหเปนไปตามระเบียบและกฎเกณฑท่ีสถาบัน

กําหนด

คณะเศรษฐศาสตรมีการตั้งคณะทํางานดานการเงินและทรัพยสิน

เพ่ือรับผิดชอบ การตรวจสอบในการใชทรัพยสิน และการใชเงินลงทุนเพ่ือ

กอใหเกิดประโยชนสูงสุดแกคณะ และการแสดงฐานะการลงทุนของทุก

โครงการ โดยปงบประมาณ 2556 มีแผนการตรวจสอบจากสํานักงาน

6.1 บั น ทึ กข อแ จ ง กํ า หน ดก า ร แล ะ

จัดเตรียมเอกสารเพ่ือการตรวจสอบ

6.2 บันทึกคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ศธ

0516.15/ร.1260 วันท่ี 30 ตุลาคม 2556 เรื่อง ขอ

Page 139: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

132

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

ตรวจสอบภายใน เรื่องการควบคุมภายในดานการเงิน การบัญชี และ

ทรัพยสิน (เอกสารอางอิง 6.1) ใหเปนไปตามระเบียบ หลักเกณฑ และ

งบประมาณเปนประจําทุกป และคณะไดจัดสงรายงานงบการเงินทุกประเภท

ใหงานรายได สํานักงานอธิการบดี ผานสํานักงานตรวจสอบภายในของ

มหาวิทยาลัยตรวจสอบบัญชีอยางตอเน่ืองเปนประจําทุกป (เอกสารอางอิง

6.2 และเอกสารอางอิง 6.3)

สงงบการเงิน ประจําป 2556

6.3 บันทึกคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ศธ

0516.15/ร.1261–1262 วันท่ี 30 ตุลาคม 2556

เรื่อง ขอสงงบการเงินโครงการบริการสังคมคณะฯ

ประจําป 2556

[/] 7. ผูบริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย และนําขอมูลจากรายงานทางการเงินไปใชในการ

วางแผนและการตัดสินใจ

ผูบริหารคณะเศรษฐศาสตรไดรวมประชุมปรึกษาหารือใหแนวทาง

ขอเสนอแนะในการปรับปรุงแกไข (เอกสารอางอิง 5.1 และเอกสารอางอิง

5.2) เพ่ือใหนําไปใชในการเสนอของบประมาณในปถัดไป (เอกสารอางอิง 4.5

และเอกสารอางอิง 4.2)

5.1 รายงานการประชุมคณะทํางาน

การเงินและทรัพยสิน ครั้งท่ี 1/2556 (หนา 7), ครั้ง

ท่ี 2/2556 วาระท่ี 4.1 (หนา 5), ครั้งท่ี 3/2556

(หนา 4) และครั้งท่ี 4/2556 วาระท่ี 3.1 (หนา 4)

5.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 1/2556 วาระท่ี

4.2 (หนา 3), ครั้งท่ี 3/2556 วาระท่ี 3.2 (หนา 4),

ครั้งท่ี 4/2556 วาระท่ี 2.1 (หนา 2) และครั้งท่ี

5/2556 วาระท่ี 2.1 (หนา 2)

4.5 เอกสาร ขอสงรายงานรายรับจริงและ

การใชจายงบประมาณ ประจําป 2556 ไตรมาสท่ี 1

ถึงไตรมาสท่ี 4

4.2 งบการเงิน เงินรายจายจากเงินรายได

พิเศษ ประจําปงบประมาณ 2556 (1 ตุลาคม 2555

– 30 กันยายน 2556) คณะเศรษฐศาสตร

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

6 ขอ 6 ขอ 4.00 คะแนน บรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

6 ขอ 7 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

6 ขอ 7 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 140: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

133

2.9 องคประกอบท่ี 9 ระบบและและกลไกการประกันคุณภาพ

1. ตัวบงชี้ สกอ.9.1 : ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

2. ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 หรือ 6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 หรือ 8 ขอ

มีการดําเนินการ

9 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 9 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในท่ีเหมาะสมและสอดคลองกับพันธกิจและพัฒนาการของสถาบัน

ต้ังแตระดับภาควิชาหรือหนวยงานเทียบเทา และดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด

คณะเศรษฐศาสตรพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

การศึกษาภายในสําหรับใชภายในคณะ โดยยึดตามระบบและกลไกการ

ประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

(สกอ.) สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)

และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (เอกสารอางอิง 1.1) มีการจัดทําแผนการ

ประกันคุณภาพการศึกษา (เอกสารอางอิง 1.2) และแตงตั้งคณะกรรมการ

ประกันคุณภาพการศึกษาซึ่งประกอบดวยผูรับผิดชอบแตละองคประกอบ

(เอกสารอางอิง 1.3) ไดมีการดําเนินการตามระบบและกลไกการประกัน

คุณภาพการศึกษาตามท่ีกําหนด (เอกสารอางอิง 1.4 และเอกสารอางอิง 1.5)

1.1 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา ป

การศึกษา 2556 บทท่ี 3 ระบบการประกันคุณภาพ

การศึกษา (หนา 9–13)

1.2 ขอเสนอ โครงการประกันคุณภาพ

การศึกษา คณะเศรษฐศาสตร ประจําปงบประมาณ

2556

1.3 คําสั่งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ร.

133/2555 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการประกัน

คุณภาพการศึกษา

1.4 หนังสือเชิญประชุมฝายปฏิบัติการ

และเขียนรายงาน วันท่ี 18 กรกฎาคม 2556

1.5 เอกสารแจงฝายผลิตขอมูล QA2556

และฝายปฏิบัติการและเขียนรายงานกรอกขอมูลใน

ระบบ Intranet แตละองคประกอบ

[/] 2. มีการกําหนดนโยบายและใหความสําคัญเร่ืองการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยคณะกรรมการระดับนโยบายและ

ผูบริหารสูงสุดของสถาบัน

คณบดีคณะเศรษฐศาสตรใหความสาํคัญในเรื่องการประกันคุณภาพ

การศึกษา โดยมีการแตงตั้งคณะกรรมการแกไขปญหาผลการประเมิน

คุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2556 ซึ่งมีหนาท่ีพิจารณาแนวทางแกไข

ปญหาการดําเนินการใหมีผลการประเมินผานเกณฑมาตรฐาน (เอกสารอางอิง

2.1) และคณะกรรมการไดประชุมเพ่ือแกปญหาผลการประเมินเพ่ือวางแผน

แกไขการดําเนินการ (เอกสารอางอิง 2.2)

2.1 คําสั่งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ร.

54/2556 เรื่องแตงตั้งคณะกรรมการแกไขปญหาผล

การประเมิน ปการศึกษา 2556

2.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

แกไขปญหาผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ป

การศึกษา 2556 ครั้งท่ี 1/2556

[/] 3. มีการกําหนดตัวบงชี้เพ่ิมเติมตามอัตลักษณของสถาบัน

คณะเศรษฐศาสตรมีแผนกลยุทธเอกลักษณ ซึ่งคณะไดกําหนด

เอกลักษณ “วิเคราะหเปน เนนคุณภาพ” (เอกสารอางอิง 3.1 และ

เอกสารอางอิง 3.2) มีตัวบงช้ีท่ีสะทอนจุดเนน จํานวน 3 ตัวบงช้ี คือ

3.1 หนังสือคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ศธ

0516.15/– วันท่ี 17 กรกฎาคม 2556 เรื่อง เสนอ

วาระ เรื่อง เอกลักษณคณะเศรษฐศาสตร ประจําป

Page 141: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

134

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

1. ตัวบงช้ี ศ.1 รอยละของจํานวนบทความสัมมนาตอจํานวน

นักศึกษาท่ีเรียนวิชาสัมมนาท้ังหมด

2. ตัวบงช้ี ศ.2 รอยละของจํานวนวิชาสัมมนาท่ีมีนักศึกษานําเสนอ

บทความสัมมนาในงานสัมมนาวิชาการ “Best Seminar Papers” ตอ

จํานวนวิชาสัมมนาท้ังหมด

3. ตัวบงช้ี ศ.3 จํานวนผลงานของอาจารย นักศึกษา หรือผลงาน

ของบุคลากรสายสนับสนุนท่ีแสดงถึงจุดเนน "วิเคราะหเปน" ท่ีไดรับการยก

ยองอยางนอยในระดับคณะ หรือระดับมหาวิทยาลัย หรือไดรับการคัดกรอง

คุณภาพตามมาตรฐานผลงานวิชาการ

ท้ั ง น้ี ตั วบ ง ช้ี ท่ี สะทอนจุด เนน ท้ัง 3 ตั วบ ง ช้ี กํ าหนดอยู ใน

องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต

การศึกษา 2556 เขาท่ีประชุมคณะกรรมการประจํา

คณะ ครั้งท่ี 4/2556

3.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 4/2556 วาระท่ี

3.1 แผนกลยุทธเอกลักษณคณะเศรษฐศาสตร (หนา

7)

[/] 4. มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในท่ีครบถวน ประกอบดวย

1) การควบคุม ติดตามการดําเนินงาน และประเมินคุณภาพ

2) การจัดทํารายงานประจําปท่ีเปนรายงานประเมินคุณภาพเสนอตอสภาสถาบันและสํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษาตามกําหนดเวลา โดยเปนรายงานท่ีมีขอมลูครบถวนตามท่ีสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนดใน CHE

QA Online และ

3) การนําผลการประเมินคุณภาพไปทําแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาบัน

ในปการศึกษา 2556 คณะเศรษฐศาสตรไดดําเนินการดานการ

ประกันคุณภาพการศึกษาภายในครบถวน คือ

1. มีคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาผูรับผิดชอบฝาย

บริหาร ฝายปฏิบัติการและเขียนรายงาน และฝายผลิตขอมูล ทําหนาท่ี

พิจารณาแนวทางการดําเนินงาน ติดตามและรายงานผลการดําเนินงาน

ประกันคุณภาพการศึกษาตอคณะกรรมการประจําคณะ และมหาวิทยาลัย

(เอกสารอางอิง 1.3)

2. มีการจัดทํารายงานประจําปท่ีเปนรายงานประเมินคุณภาพท่ีมี

ขอมูลครบถวนตามท่ีสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนดใน CHE

QA online และการรายงานผลการดําเนินงานประจําปการศึกษา 2556

เสนอตอคณะกรรมการประจําคณะ (เอกสารอางอิง 4.1)

3. ประธานคณะกรรมการแกไขปญหาผลการประเมินคุณภาพ

การศึกษา คณะเศรษฐศาสตรไดจัดประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพ

การศึกษาฝายปฏิบัติการและเขียนรายงานการประกันคุณภาพการศึกษา เมื่อ

วันท่ี 17 กรกฎาคม 2556 และวันท่ี 6 กันยายน 2556 เพ่ือนําผลการ

ประเมินคุณภาพการศึกษาไปวางแผนแก ไขปญหาการดํ า เ นินงาน

(เอกสารอางอิง 4.2)

4. คณะไดจัดทําแผนปรับปรุงคุณภาพจากผลการประเมินตนเอง

(เอกสารอางอิง 4.3 และเอกสารอางอิง 4.4)

1.3 คําสั่งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ร .

133/2555 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการประกัน

คุณภาพการศึกษาคณะเศรษฐศาสตร

4.1 รายงาน CHE QA online และ

รายงานประจําปการศึกษา 2556

4.2 หนังสือเชิญประชุมฝายปฏิบัติการ

และเขียนรายงานการประกันคุณภาพการศึกษา

วันท่ี 17 กรกฎาคม 2556 และวันท่ี 6 กันยายน

2556

4.3 เอกสารการเสนอแผนปรับปรุง

คุณภาพจากผลการประเมินคุณภาพการศึกษา

4.4 เอกสารแจงคณะกรรมการประกัน

คุณภาพการศึกษาฝายปฏิบัติการและเขียนรายงาน

เพ่ือใหขอมูลขอเสนอแนะของผลการประเมินปท่ี

ผานมาไปปรับปรุงการดําเนินการ ปการศึกษา

2556

Page 142: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

135

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 5. มีการนําผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาปรับปรุงการทํางาน และสงผลใหมีการพัฒนาผลการดําเนินงานตาม

ตัวบงชี้ของแผนกลยุทธทุกตัวบงชี้

คณะเศรษฐศาสตรไดนําผลการประเมินคุณภาพภายในปการศึกษา

2553 ถึงปการศึกษา 2555 ท่ีมีคะแนนต่ํากวา 3.51 เสนอตอคณบดี และ

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือวางแผนแกไขการการทํางาน

(เอกสารอางอิง 5.1 และเอกสารอางอิง 5.2)

คณะไดแตงตั้งคณะกรรมการแกไขปญหาผลการประเมินคุณภาพ

การศึกษา ปการศึกษา 2556 ตามคําสั่งคณะเศรษฐศาสตรท่ี ร.54/2556 มี

หนาท่ีพิจารณาแนวทางแกปญหาการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา

เพ่ือใหมีผลการประเมินผานเกณฑมาตรฐาน (เอกสารอางอิง 2.1)

คณะกรรมการดังกลาวตามคําสั่งคณะเศรษฐศาสตรท่ี ร.54/2556

ไดประชุมนําผลการประเมินการดําเนินงานมาปรับปรุงการทํางานตามหนังสือ

เชิญประชุมและรายงานการประชุมคณะกรรมการแกไขปญหาผลการประเมนิ

คุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2556 (เอกสารอางอิง 5.3 และเอกสารอางอิง

5.4)

2.1 คําสั่งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ร.

54/2556 เรื่องแตงตั้งคณะกรรมการแกไขปญหาผล

การประเมิน ปการศึกษา 2556

5.1 เอกสารการรายงานผลการประเมินท่ี

มีคะแนนต่ํากวา 3.51 ปการศึกษา 2553 ถึงป

การศึกษา 2555 ตอคณบดีคณะเศรษฐศาสตร

5.2 เอกสารแจงผลการประเมินคุณภาพ

การศึกษา ปการศึกษา 2555 ณ วันท่ี 4 มิถุนายน

2556 ถึง คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

คณะเศรษฐศาสตรทุกทาน

5.3 เอกสารรายงานผลการประเมิน

คุณภาพการศึกษา 2555 รวมท้ังขอเสนอแนะจุดท่ี

ควรพัฒนาแตละองคประกอบตามขอเสนอแนะของ

คณะกรรมการประเมินตอประธานคณะกรรมการ

แกไขปญหาผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ณ

วันท่ี 5/9/2013

5.4 หนังสือคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ศธ

0516.15/– วันท่ี 9 กรกฎาคม 2556 เรื่อง ขอเชิญ

ประชุมคณะกรรมการแกไขปญหาผลการประเมิน

คุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2556

[/] 6. มีระบบสารสนเทศท่ีใหขอมูลสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษาภายในครบท้ัง 9 องคประกอบคุณภาพ

คณะเศรษฐศาสตรมีระบบสารสนเทศสนับสนุนการประกันคุณภาพ

การศึกษาภายในครบท้ัง 10 องคประกอบ ดวยระบบ Intranet QA LAN ซึ่ง

ผูรับผิดชอบในการผลิตขอมูลสามารถกรอกขอมูลในระบบ Intranet ได

(เอกสารอางอิง 6.1)

6.1 เอกสารระบบ Intranet QA LAN

[/] 7. มีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสียในการประกันคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะนักศึกษา ผูใชบัณฑิต และผูใชบริการตาม

พันธกิจของสถาบัน

นักศึกษา ผูใชบัณฑิต และผูใชบริการตามพันธกิจของคณะ

เศรษฐศาสตรมีสวนรวมในการประกันคุณภาพการศึกษาผานชองทางของการ

ใหขอมูลปอนกลับ เชน กรณีนักศึกษา คณะจัดกิจกรรมการแนะนําและให

ความความรูแกนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตรเก่ียวกับการประกันคุณภาพ

การศึกษา (เอกสารอางอิง 7.1) และคณะจัดใหนักศึกษาประเมินความพึง

พอใจตอคุณภาพการเรียนการสอนทุกวิชา ท่ี เปดสอนทุกหลักสูตร

(เอกสารอางอิง 7.2) สําหรับผูปกครองนักศึกษา คณะไดมอบรายงานประจาํป

7.1 เอกสารแนะนํานักศึกษาคณะ

เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรกับการ

ประกันคุณภาพการศึกษา และภาพถายกิจกรรม

การใหความรูการประกันคุณภาพการศึกษาแก

นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร

7.2 แบบประเมินการสอนคณะ

เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Page 143: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

136

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

คณะเศรษฐศาสตร เพ่ือเผยแพรผลการดําเนินงานใหแกผูปกครองนักศึกษา

ดวย และกรณีผูใชบัณฑิต คณะสงรายงานประจําป 2555 ของคณะ ฉบับ

เผยแพรผลการดําเนินงานของคณะใหแกหนวยงานภายนอกท่ีมีนักศึกษาไป

ฝกงาน และบัณฑิตไปทํางาน ตลอดจนการเผยแพรใหกับศิษยเกา และ

กรรมการสมาคมเศรษฐศาสตรธรรมศาสตร (เอกสารอางอิง 7.3) เปนตน

นอกจากน้ี ในการตรวจประเมินคุณภาพแตละปการศึกษา คณะได

เชิญนักศึกษาและผูใชบัณฑิตมารวมตอบขอซักถามของกรรมการประเมิน ซึ่ง

มีสวนรวมรับการประเมินในฐานะผูมีสวนไดสวนเสีย (เอกสารอางอิง 7.4)

7.3 เอกสารการขออนุมัติจัดพิมพรายงาน

ประจําปการศึกษา 2555 เพ่ือใชประโยชนเผยแพร

ผลการดําเนินงานของคณะ ใหกับบุคลากรภายนอก

7.4 กําหนดการประเมินคุณภาพ

การศึกษาภายในคณะเศรษฐศาสตร ประจําป

การศึกษา 2555

[/] 8. มีเครือขายการแลกเปลี่ยนเรียนรูดานการประกันคุณภาพการศึกษาระหวางสถาบัน และมีกิจกรรมรวมกัน

คณะเศรษฐศาสตรไดมีเครือขายแลกเปลี่ยนเรียนรูดานการประกัน

คุณภาพการศึกษา ในองคประกอบดานการผลิตบัณฑิต ดานการวิจัย และ

ดานการบริการวิชาการแกสังคม โดยจัดประชุมบริการวิชาการแกสังคม ใน

การนําเสนอผลการวิจัยของนักเศรษฐศาสตรรวมกับคณะเศรษฐศาสตร 6

สถาบัน ประกอบดวย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยรามคําแหง

และสถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร (เอกสารอางอิง 8.1 และ

เอกสารอางอิง 8.2) ซึ่งกิจกรรมดังกลาวไดจัดมาตั้งแตป 2550 ถึงปจจุบัน

นอกจากน้ี คณะมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูดานการประกันคุณภาพ

การศึกษากับคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (เอกสารอางอิง

8.3)

8.1 เอกสารการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยน

เรียนรูการประกันคุณภาพการศึกษาดวยการวิจัย

และการบริการวิชาการแกสังคมระหวางคณะ

เศรษฐศาสตร 6 สถา บัน ไดแก

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

มหาวิทยาลัยรามคําแหง และสถาบันบัณฑิตพัฒนา

บริหารศาสตร

8.2 ภาพกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูดาน

ประกันคุณภาพการศึกษา ดานการวิจัยและการ

บริการวิชาการสังคม ปการศึกษา 2556

8.3 เอกสารการแลกเปลี่ยนเรียนรูดาน

การประกันคุณภาพการศึกษากับคณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

[/] 9. มีแนวปฏิบัติท่ีดีหรืองานวิจัยดานการประกันคุณภาพการศึกษาท่ีหนวยงานพัฒนาขึ้น และเผยแพรใหหนวยงานอ่ืน

สามารถนําไปใชประโยชน

ในปการศึกษา 2556 คณะเศรษฐศาสตรไดจัดทําแนวปฏบัิติท่ีดีดาน

การประกันคุณภาพการศึกษา เผยแพรบนเว็บไซตของคณะ (เอกสารอางอิง

9.1 และเอกสารอางอิง 9.2) รวมท้ังบุคลากรของคณะไดเปนวิทยากรเผยแพร

แนวปฏิ บัติ ท่ีดี ของคณะใหหนวยงานอ่ืนสามารถนําไปใชประโยชน

(เอกสารอางอิง 9.3 และเอกสารอางอิง 9.4)

นอกจากน้ี คณะยังมีการจัดทําวิจัยสถาบัน เรื่อง “ความคิดเห็นของ

บุคลากรสายสนับสนุนในการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

คณะเศรษฐศาสตร” เพ่ือนําผลการวิจัยไปพัฒนางานประกันคุณภาพ

การศึกษาตอไป (เอกสารอางอิง 9.5)

9.1 เ ว็บไซตคณะเศรษฐศาสตร

( www.econ.tu.ac.th) หั ว ข อ “ ง า น ป ร ะ กั น

คุณภาพ” หัวขอยอย “แนวปฏิบัติ ท่ีดีดานการ

ประกันคุณภาพการศึกษา”

9.2 เอกสารแนวปฏิบัติท่ีดีดานการประกัน

คุณภาพการศึกษาคณะเศรษฐศาสตรเผยแพรบน

เว็บไซตคณะ

9.3 หนังสือสํานักงานสงเสริมมาตรฐาน

และประกันคุณภาพ ท่ี ศธ 0516.58/ ว569 วันท่ี

25 เมษายน 2556 เรื่อง ขอเรียนเชิญนําเสนอแนว

ปฏิ บัติ ท่ีดีด านการประกันคุณภาพการศึกษา

Page 144: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

137

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

ประจําปการศึกษา 2555

9.4 กําหนดการ โครงการแลกเปลี่ยน

เรียนรูแนวปฏิ บัติ ท่ีดีดานการประกันคุณภาพ

การศึกษา

9.5 งานวิจัยสถาบัน เรื่อง “ความคิดเห็น

ของบุคลากรสายสนับสนุนในการดําเนินการประกัน

คุณภาพการศึกษาภายใน คณะเศรษฐศาสตร”

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

3 ขอ 9 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2555

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

9 ขอ 9 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

9 ขอ 9 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 145: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

138

1. ตัวบงชี้ สมศ.15 : ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยตนสังกัด

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

ใชคาคะแนนผลการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน (เฉพาะตัวบงชี้

ของสกอ. คะแนนเต็ม 5 คะแนน)

4. ผลการดําเนินงาน :

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] ปการศึกษา 2556 คณะเศรษฐศาสตรมีคาคะแนนผลการประเมินการ

ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (เฉพาะตัวบงช้ีของ สกอ. คะแนนเต็ม 5

คะแนน) เทากับ 4.91 คะแนน ท้ังน้ี คณะจะทราบผลประเมินการประกัน

คุณภาพภายในรับรองโดยตนสังกัดหลังจากรับการประเมินคุณภาพภายใน

ซึ่งมีกําหนดในวันจันทรท่ี 8 – วันอังคารท่ี 9 กันยายน 2557 ตอไป

ไมม ี

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

3.57 คะแนน 3.83 คะแนน 3.83 คะแนน บรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

3.83 คะแนน 4.91 คะแนน 4.91 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

3.83 คะแนน 4.39 คะแนน 4.39 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 146: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

139

2.10 องคประกอบท่ี 97 องคประกอบอัตลักษณ (สมศ.)

1. ตัวบงชี้ สมศ.16 : ผลการพัฒนาตามอัตลักษณของสถาบัน

16.1 : ผลการบริหารสถาบันใหเกิดอัตลักษณ

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

ปฏิบัติได

1 ขอ

ปฏิบัติได

2 ขอ

ปฏิบัติได

3 ขอ

ปฏิบัติได

4 ขอ

ปฏิบัติได

5 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 5 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีการกําหนดกลยุทธและแผนการปฏิบัติงานท่ีสอดคลองกับอัตลักษณของสถานศึกษาโดยไดรับการเห็นชอบจากสภา

สถาบัน

จากท่ีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรกําหนดให “จิตสาธารณะและความ

รับผิดชอบตอสังคม” เปนอัตลักษณของมหาวิทยาลัย ดังน้ัน “จิตสาธารณะ

และความรับผิดชอบตอสังคม” จึงเปนอัตลักษณของคณะเศรษฐศาสตร

เชนเดียวกัน โดยคณะไดดําเนินการรวมกับมหาวิทยาลัยตามแผนกลยุทธและ

แผนปฏิบัติงานท่ีกําหนด

1.1 หนังสือฝายการนักศึกษา กองกิจการ

นักศึกษา ท่ี ศธ 0516.0422/– วันท่ี 27 พฤษภาคม

2557 เรื่อง ขอสงแจงมติสภามหาวิทยาลัย ครั้งท่ี

4/2557 (เรื่องกลยุทธ/แผนบริหารสถาบันใหเกิดอัต

ลักษณฯ ของมหาวิทยาลัย

1.2 แผนกลยุทธ/แผนการปฏบัิติงาน เรื่อง

การบริหารสถาบันใหเกิดอัตลักษณ “จิตสาธารณะ

และความรับผิดชอบตอสังคม” ปการศึกษา 2556

[/] 2. มีการสรางระบบการมีสวนรวมของผูเรียนและบุคลากรในการปฏิบัติตามกลยุทธท่ีกําหนดอยางครบถวนสมบูรณ

คณะเศรษฐศาสตรดําเนินการรวมกับมหาวิทยาลัย ไดแก การสราง

เครือขายจิตสาธารณะและความรับผิดชอบตอสังคม โดยการพัฒนาชุนชน

ผานการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา (เอกสารอางอิง 2.1 และ

เอกสารอางอิง 2.2) และการเขารวมโครงการบริจาคโลหิตของบุคลากรคณะ

เมื่อวันท่ี 13 กุมภาพันธ 2557 ณ โรงพยาบาลศิริราช และโรงพยาบาล

ธรรมศาสตรเฉลิมพระเกียรต ิ(เอกสารอางอิง 2.3) และโครงการแบงปนนํ้าใจ

สูผูดอยโอกาส ประจําป 2557 เมื่อวันท่ี 7 มีนาคม 2557 ณ สถานสงเคราะห

เด็กออนรังสิต (เอกสารอางอิง 2.4)

2.1 โครงการอีคอนคิดส ปลูกปาชายเลน

2.2 โครงการ “แมงโมจิตอาสา พานอง

เขาวัด”

2.3 โครงการบริจาคโลหิตของบุคลากร

คณะเศรษฐศาสตร

2.4 โครงการแบงปนนํ้าใจสูผูดอยโอกาส

ของคณะเศรษฐศาสตร ประจําป 2557

[/] 3. ผลการประเมินของผูเรียนและบุคลากรเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของสถานศึกษาท่ีสอดคลองกับอัตลักษณไมตํ่ากวา 3.51

จากคะแนนเต็ม 5

คณะเศรษฐศาสตรมีผลการประเมินของผู เรียนเก่ียวกับการ

ปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรท่ีสอดคลองกับอัตลักษณ คือ “จิต

สาธารณะและความรับผิดชอบตอสังคม” เทากับ 3.85 จากคะแนนเต็ม 5

(ภาคผนวก ข–42) จากจํานวนผูตอบแบบประเมินท้ังหมด 541 คน

ประกอบดวย นักศึกษาจํ านวน 493 คน ( เอกสารอ าง อิง 1 และ

เอกสารอางอิง 2) และบุคลากรจํานวน 48 คน (เอกสารอางอิง 3 และ

ภาคผนวก ข–42 : แบบฟอรมตัวบงช้ี สม

ศ.16.1 ผลการพัฒนาตามอัตลักษณของสถาบัน ป

การศึกษา 2556

และ

3.1 แบบสอบถามความพึงพอใจและ

คว าม คิ ด เ ห็ น นั ก ศึ กษ าค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐศ าส ต ร

Page 147: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

140

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

เอกสารอางอิง 4) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปการศึกษา 2556

3.2 สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจและ

คว าม คิ ด เ ห็ น นั ก ศึ กษ าค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐศ าส ต ร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปการศึกษา 2556 (หนา

5)

3.3 แบบประเมินความคิดเห็นบุคลากร

คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เ ก่ียวกับอัตลักษณ เอกลักษณ และการพัฒนา

สุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม ป

การศึกษา 2556

3.4 สรุปผลการประเมินความคิดเห็น

บุ ค ล า ก ร ค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เก่ียวกับอัตลักษณ “จิต

สาธารณะและความรับผิดชอบตอสั งคม” ป

การศึกษา 2556

[/] 4. ผลการดําเนินงานกอใหเกิดผลกระทบท่ีเปนประโยชนและ/หรือสรางคุณคาตอสังคม

การลงพ้ืนท่ีชุมชนของนักศึกษาตามโครงการ/กิจกรรมพัฒนา

นักศึกษา เชน โครงการคายอาสาพัฒนาชนบท ภาค 1/2556 ระดับปริญญา

ตรี ภาคภาษาไทย โครงการ “แมงโมจิตอาสา พานองเขาวัด” และโครงการอี

คอนคิดส ปลูกปาชายเลน เปนตน (เอกสารอางอิง 4.1 ถึงเอกสารอางอิง 4.3)

และการจัดกิจกรรมจิตอาสาของคณะเศรษฐศาสตร ไดแก โครงการบริจาค

โลหิตของบุคลากรคณะ และโครงการแบงปนนํ้าใจสูผูดอยโอกาส ประจําป

2557 เปนการชวยเหลือและพัฒนาชุมชน ซึ่งสงผลกระทบเชิงบวกและสราง

คุณคาใหแกสังคม รวมท้ังเปนการรักษาจิตวิญญาณความเปนธรรมศาสตร

4.1 รายงานสรุปผลโครงการคายอาสา

พัฒนาชนบท ภาค 1/2556 ระดับปริญญาตรี ภาค

ภาษาไทย

4.2 รายงานสรุปผลโครงการ "แมงโมจิต

อาสา พานองเขาวัด"

4.3 รายงานสรุปผลโครงการอีคอนคิดส

ปลูกปาชายเลน

[/] 5. ผูเรียน/บุคลากร/คณะ/สถาบัน ไดรับการยกยองหรือยอมรับในระดับชาติและ/หรือนานาชาติ ในประเด็นท่ีเกี่ยวกับอัต

ลักษณ

นักศึกษาระดับปริญญาตรีคณะเศรษฐศาสตรไดรับรางวัลชมเชย

จากโครงการ RD Camp Season 6 ตามแนวความคิด “เปลี่ยนคนคิดได ให

กลายเปนคนคิดดี” จัดโดย กรมสรรพากร เพ่ือคนหานิสิต/นักศึกษาท่ีมีความ

สนใจสรางสรรคผลงานดานโฆษณา พรอมท้ังปลูกฝงทัศนคติ สรางจิตสํานึก

และคานิยมท่ีดีในการเสียภาษีอากร ใหนิสิต/นักศึกษาและประชาชนท่ัวไป

รูจักหนาท่ีตนเอง และทราบถึงประโยชนของภาษีอากรท่ีกลับคืนสูประชาชน

ซึ่งวัตถุประสงคดังกลาวสะทอนใหเห็นถึงความรับผิดชอบตอสังคมเก่ียวกับ

การเสียภาษี (เอกสารอางอิง 5.1) และกลุมกลองเปลา คณะเศรษฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ไดรับการยกยองจากสถานสงเคราะหคนไรท่ีพ่ึง

ชายธัญญบุรีจากการจัดกิจกรรมบริจาคเครื่องบริโภคใหแกผูไรท่ีพึงชายเมื่อ

5.1 หนังสือกรมสรรพากร ท่ี กค0701/ว.

988 วันท่ี 20 พฤศจิกายน 2556 เรื่อง การประกวด

แขงขันผลงานโครงการ RD Camp Season 6

5.2 หนังสือสถานสงเคราะหคนไรท่ีพ่ึง

ชายธัญญบุรี ท่ี พม0302.14/1239 วันท่ี 25

มิถุนายน 2556 เรื่อง ขอบคุณการบริจาค

Page 148: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

141

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

วันท่ี 23 มิถุนายน 2556 ซึ่งแสดงใหเห็นถึงการมีจิตสาธารณะและความ

รับผิดชอบตอสังคม (เอกสารอางอิง 5.2)

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

5 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

5 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

5 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 149: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

142

1. ตัวบงชี้ สมศ.16 : ผลการพัฒนาตามอัตลักษณของสถาบัน

16.2 : ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

ใชคาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5)

4 แทนคาผลการดําเนินงานตามสูตรการคํานวณ :

496.50 = 4.39

113

5. ผลการดําเนินงาน :

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] ปการศึกษา 2556 คณะเศรษฐศาสตรมีผลการดําเนินงาน ดังน้ี

1. ผลรวมของคาคะแนนท่ีไดจากการประเมินบัณฑิตท่ีมีคุณลักษณะตามอัต

ลักษณ “จิตสาธารณะและความรับผิดชอบตอสังคม” เทากับ 496.50 ดังน้ี (ภาคผนวก ข–

17)

1.1 คาคะแนนท่ีไดจากการประเมินบัณฑิตระดับปริญญาตรี เทากับ 388.65

1.2 คาคะแนนท่ีไดจากการประเมินบัณฑิตระดับปริญญาโท เทากับ 107.86

2. บัณฑิตท่ีไดรับการประเมินท้ังหมด จํานวน 113 คน ประกอบดวย

2.1 บัณฑิตระดับปริญญาตรี จํานวน 89 คน

2.2 บัณฑิตระดับปริญญาโท จํานวน 24 คน

ดังน้ัน คณะจึงมีคาคะแนนท่ีไดจากการประเมินบัณฑิตท่ีมีคุณลักษณะตามอัต

ลักษณเทากับ 4.39 และเมื่อเทียบกับคะแนนเต็ม 5 ซึ่งกําหนดใหเทากับ 5.00 แลวคณะได

คะแนนเทากับ 4.39

ภ า ค ผ น ว ก ข –1 7 :

แบบฟอรมตัวบงช้ี สมศ.16.2 ผลการ

พั ฒ น า บั ณ ฑิ ต ต า ม อั ต ลั ก ษ ณ ป

การศึกษา 2556

และ

1 . ห นั งสื อ กอ งส ง เ ส ริ ม

มาตรฐานและประกันคุณภาพ ท่ี ศธ.

0516.58/ว.468 วันท่ี 18 สิงหาคม

2557 เรื่อง ขอสงขอมูลจากหนวยงาน

สวนกลางเ พ่ือจั ด ทํารายงานการ

ประเมินตนเองของคณะ ปการศึกษา

2556

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

4.42 4.32 4.32 คะแนน ไมบรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

4.32 4.39 4.39 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

4.32 4.39 4.39 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 150: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

143

1. ตัวบงชี้ สมศ.17 : ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนท่ีสงผลสะทอนเปนเอกลักษณของสถาบัน

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

ปฏิบัติได

1 ขอ

ปฏิบัติได

2 ขอ

ปฏิบัติได

3 ขอ

ปฏิบัติได

4 ขอ

ปฏิบัติได

5 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 5 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีการกําหนดกลยุทธการปฏิบัติงานท่ีสอดคลองกับจุดเนน จุดเดน หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของสถาบัน โดยไดรับการ

เห็นชอบจากสภาสถาบัน

ในปการศึกษา 2556 คณะเศรษฐศาสตรกําหนดให “วิเคราะหเปน

เนนคุณภาพ” เปนเอกลักษณของคณะเชนเดียวกับในปการศึกษาท่ีผานมา

ซึ่งแตกตางจากเอกลักษณของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คือ “ความเปน

ธรรม” และไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย (เอกสารอางอิง 1.1)

ท้ังน้ี คณะมีการจัดทําแผนกลยุทธ/แผนปฏิบัติงานท่ีสอดคลองกับจุดเนนของ

คณะ โดยมีการกําหนดเปาหมาย ตัวบงช้ี โครงการ/กิจกรรม และผูรับผิดชอบ

(เอกสารอางอิง 1.2) และไดรับการเห็นชอบจากคณะกรรมการประจําคณะ

(เอกสารอางอิง 1.3)

1.1 หนังสือฝายการนักศึกษา กองกิจการ

นักศึกษา ท่ี ศธ 0516.0422/– วันท่ี 27 พฤษภาคม

2557 เรื่อง ขอสงแจงมติสภามหาวิทยาลัย ครั้งท่ี

4/2557 (เรื่องกลยุทธ/แผนบริหารสถาบันใหเกิดอัต

ลักษณ ฯ ของมหาวิทยาลัย)

1.2 แผนกลยุทธ/แผนการปฏบัิติงาน เรื่อง

แผนงานการบริหารสถาบันให เ กิดเอกลักษณ

“วิเคราะหเปน เนนคุณภาพ” คณะเศรษฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปการศึกษา 2556

1.3 รายงานการประชุมคณะกรรมการ

ประจําคณะเศรษฐศาสตร ครั้งท่ี 4/2556 วาระท่ี

3.1 แผนกลยุทธเอกลักษณคณะเศรษฐศาสตร (หนา

7)

[/] 2. มีการสรางระบบการมีสวนรวมของผูเรียนและบุคลากรในการปฏิบัติตามกลยุทธท่ีกําหนดอยางครบถวนสมบูรณ

ในสวนของผูเรียน คณะเศรษฐศาสตรสงเสริมใหนักศึกษาไดคนควา

หาความรูโดยการคิดวิเคราะห สังเคราะห และสามารถพัฒนาความรูเพ่ือ

ประยุกตใชกับสภาพท่ีเกิดข้ึนจริงไดจากการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา

เฉพาะกลุม โดยเฉพาะราย วิชาสัมมนา ( เอกสารอางอิง 2.1 และ

เอกสารอางอิง 2.2)

ในสวนของบุคลากร คณะกําหนดใหบุคลากรสายสนับสนุนจัดทํา

คูมือการปฏิบัติงาน ปฏิทินการปฏิบัติงานรายเดือน (เอกสารอางอิง 2.3) เพ่ือ

สงเสริมใหมีการวิเคราะหจากงานท่ีปฏิบัติ

นอกจากน้ี คณะไดสรางความตระหนักถึงเอกลักษณ เพ่ือเปน

องคกรท่ีมีจุดเนนในการ “วิเคราะหเปน เนนคุณภาพ” ใหแกผูเรียนและ

บุคลากร โดยการเผยแพรเอกลักษณบนเว็บไซตคณะ (เอกสารอางอิง 2.4)

และการติดประกาศ

2.1 ตารางบรรยายลักษณะวิชาคณะ

เศรษฐศาสตร (ระดับปริญญาตรี ภาคภาษาไทย) ป

การศึกษา 2556

2.2 Course Offering Academic Year

2013 (BE Program)

2.3 หนัสือคณะเศรษฐศาสตร ท่ี ศธ

0516.15/– วันท่ี 11 ธันวาคม 2556 เรื่อง แนว

ปฏิบัติการจัดทําและสงคูมือปฏิบัติงาน/ปฏิทินการ

ปฏิบัติงานประจําป/รายงานประจําเดือน

2 . 4 เ ว็ บ ไ ซ ต ค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร

(www.econ.tu.ac.th)

[/] 3. ผลการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรเกี่ยวกบัการดําเนินการตามจุดเนน และจุดเดน หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของสถาบัน

Page 151: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

144

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

ไมตํ่ากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

คณะเศรษฐศาสตรมีผลการประเมินความคิดเห็นของบุคลากร

เก่ียวกับความพึงพอใจตอการดําเนินงานของคณะตามเอกลักษณ (จุดเนน)

“วิเคราะหเปน เนนคุณภาพ” เทากับ 3.59 จากคะแนนเต็ม 5 (ภาคผนวก

ข–43) จากบุคลากรผูตอบแบบประเมิน จํานวน 48 คน (เอกสารอางอิง 3.1

และเอกสารอางอิง 3.2)

ภาคผนวก ข–43 : แบบฟอรมตัวบงช้ี

สมศ.17 ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนท่ี

สงผลสะทอนเปนเอกลักษณของสถาบัน ปการศึกษา

2556

และ

3.1 แบบประเมินความคิดเห็นบุคลากร

คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เ ก่ียวกับอัตลักษณ เอกลักษณ และการพัฒนา

สุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม ป

การศึกษา 2556

3.2 สรุปผลการประเมินความคิดเห็น

บุ ค ล า ก ร ค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เก่ียวกับความพึงพอใจตอ

การดํ า เ นินงานของคณะ เศรษฐศาสตร ตาม

เอกลักษณ (จุดเนน) “วิเคราะหเปน เนนคุณภาพ”

ปการศึกษา 2556

[/] 4. ผลการดําเนินงานบรรลุตามจุดเนน จุดเดน หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของสถานศึกษาและเกิดผลกระทบท่ีเกิดประโยชน

และสรางคุณคาตอสังคม

คณะเศรษฐศาสตรไดดําเนินการบรรลุตามแผนกลยุทธ/แผนปฏิบัติ

งานท่ีกําหนดไว (เอกสารอางอิง 4.1) เชน มีการจัดการเรียนการสอนวิชา

สัมมนาเพ่ือใหนักศึกษาไดมีการศึกษา คนควา และวิเคราะหปญหา และวิชา

บูรณาการเพ่ือใหนักศึกษาไดเช่ือมโยงวิชาตาง ๆ และสามารถวิเคราะหปญหา

ท่ีเก่ียวของ ซึ่งจากการจัดการเรียนการสอนวิชาสัมมนา ไดมีการจัดกิจกรรม

นําเสนอบทความสัมมนาดีเดน (Best Seminar Papers) ของนักศึกษา

ปริญญาตรี (เอกสารอางอิง 4.2) และการจัดงานสัมมนาทางวิชาการประจําป

2556 ครั้งท่ี 36 เรื่อง “2 ปนโยบายเศรษฐกิจยิ่งลักษณ ความฝนกับความ

จริง” (เอกสารอางอิง 4.3) เพ่ือเผยแพรความรูท่ีไดจากการศึกษาวิเคราะห

ใหแกสาธารณะ เปนตน

4.1 ผลการดําเนินงานตามแผนกลยุทธ/

แผนปฏิบัติงาน เรื่อง การบริหารสถาบันใหเกิด

เอกลักษณ “วิเคราะหเปน เนนคุณภาพ” คณะ

เศรษฐศาสตร มหา วิทยาลัยธรรมศาสตร ป

การศึกษา 2556

4.2 การนําเสนอบทความสัมมนาดีเดน

“Best Seminar Paper” ของนักศึกษาปริญญาตรี

(โครงการภาษาไทย)

4.3 เ ว็บไซตคณะเศรษฐศาสตร

(www.econ.tu.ac.th) หัวขอ “สัมมนา” หัวขอ

ยอย “สัมมนาท่ีผานมา”

[/] 5. ผูเรียน/บุคลากร/คณะ/สถานศึกษา มีเอกลักษณตามจุดเนน จุดเดน หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะท่ีกําหนด และไดรับการ

ยอมรับในระดับชาติและ/หรือนานาชาติ

Page 152: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

145

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

สิ่งท่ีสะทอนถึงความสําเร็จของเอกลักษณตามจุดเนน “วิเคราะห

เปน เนนคุณภาพ” ของคณะเศรษฐศาสตร คือ การท่ีอาจารยและนักศึกษา

ไดรับการยกยองชมเชยหรือรางวัล ดังน้ี

อาจารย ไดแก

1. รองศาสตราจารย ดร.ศุภวัจน รุงสุริยะวิบูลย ไดรับรางวัลปวย

อ๊ึงภากรณ สําหรับนักเศรษฐศาสตรรุนใหมท่ีมีผลงานดีเดน ประจําป 2556

โครงการเศรษฐทัศน (เอกสารอางอิง 5.1)

นักศึกษา เชน

1. นางสาวกานตธีรา ทิพยกาญจนรัตน ไดรับคําชมเชยจากคณะ

ผูแทนถาวรประจําสหประชาชาติ ณ นครนิวยอรก ในการประชุมสมัชชา

สหประชาชาติ สมัยสามัญ สมัยท่ี 68 (เอกสารอางอิง 5.2)

2. นางสาวสุพิชชา จงพรประเสริฐ ไดรับรางวัลชนะเลิศ การ

นําเสนอบทความวิจัยทางเศรษฐศาสตร ระดับปริญญาตรี ประจําปการศึกษา

2556 จัดโดย มหาวิทยาลัยหอการคาไทย

3. นายภัทรกร ตันตราธนานุวัฒน ไดรับรางวัลชนะเลิศ การแขงขัน

“TFEX Derivatives Star Team” ท่ีสุดแหงผูเช่ียวชาญดานอนุพันธ ภายใต

โครงการ Young Financial Star Competition 2013 จัดโดย ตลาด

หลักทรัพยแหงประเทศไทย รวมกับ บมจ.ตลาดสัญญาซื้อขายลวงหนา

(ประเทศไทย) บมจ.เมืองไทยประกันชีวิต บมจ.ปตท. และ บมจ.ธนาคาร

กสิกรไทย พรอมดวยมูลนิธิกองทุนพัฒนาระบบตลาดทุน สมาคมนักวางแผน

การเงินไทย และสมาคมบริษัทหลักทรัพยไทย (เอกสารอางอิง 5.3)

4. นายชีวิน สันธิ ไดรับรางวัลชมเชย การประกวดบทความทาง

เศรษฐศาสตร ประเภทบทความระดับบัณฑิตศึกษา (ระดับปริญญาโท–เอก)

โครงการเศรษฐทัศน ประจําป 2556 จัดโดย ธนาคารแหงประเทศไทย

รวมกับสถาบันการศึกษาดานเศรษฐศาสตร 6 สถาบัน ประกอบดวย 2 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย ธ ร ร ม ศ า ส ต ร จ ุฬ า ล ง ก ร ณ ม ห า ว ิท ย า ล ัย

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม สถาบันบัณฑิตพัฒนบ

ริหารศาสตร และมหาวิทยาลัยรามคําแหง27 เปนตน (เอกสารอางอิง 5.4)

5.1 รางวัลปวย อ๊ึงภากรณ สําหรับนัก

เศรษฐศาสตรรุนใหม ท่ีมีผลงานดีเดน ประจําป

2556

5.2 หนังสือกระทรวงการตางประเทศ ท่ี

กต 1004/ว137 วันท่ี 10 กุมภาพันธ 2557 เรื่อง

ขอช่ืนชมผูแทนเยาวชนท่ีเขารวมการประชุมสมัชชา

สหประชาชาติ สมัยสามัญ สมัยท่ี 68

5.3 เว็บไซต บริษัท ตลาดสัญญาซื้อขาย

ลวงหนา (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) หนา

“TFEX Derivatives Star Team”

(http://www.tfex.co.th/th/education/star_te

am.html)

5.4 เว็บไซตธนาคารแหงประเทศไทย

หนา “โครงการเศรษฐทัศน ประจําป 2556”

( http://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/proje

ct/Pages/Econ_Article_Contest_2556.aspx)

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

2 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

5 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

Page 153: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

146

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

5 ขอ 5 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 154: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

147

1. ตัวบงชี้ สมศ.18 : ผลการชี้นํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคมในดานตาง ๆ

18.1 : ผลการชี้นํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคมในประเด็นท่ี 1 ภายในสถาบัน: พลังงานสิ่งแวดลอมท่ีมุงให

มหาวิทยาลัยพัฒนาไปสู Green Campus

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

– มีการปฏิบัติ 1 ขอ มีการปฏิบัติ 2 ขอ มีการปฏิบัติ 3 ขอ มีการปฏิบัติ 4 – 5 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 5 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีการดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA)

คณะเศรษฐศาสตรไดดําเนินงานตามกลยุทธ/แผนการปฏิบัติงาน

เรื่องผลการช้ีนํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคม ในประเด็นท่ี 1 ภายใน

สถาบัน “พลังงานสิ่งแวดลอมท่ีมุงใหมหาวิทยาลัยพัฒนาไปสู Green

campus” ตามท่ีสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตรใหความเห็นชอบ โดยมี

เปาหมายใหอาจารยและบุคลากรมีความตะหนักในเรื่องพลังงานและ

สิ่งแวดลอม เกิดผลกระทบท่ีเปนประโยชนและสรางคุณคาตอประชาคม และ

เพ่ือสุขภาวะท่ีดีของประชาคม ซึ่งมีการกําหนดกลยุทธและแผนงาน/กิจกรรม

ท่ีรับผิดชอบใหสอดคลองกับนโยบายและแผนกลยุทธของมหาวิทยาลัย (กล

ยุทธท่ี 1 “สงเสริมและเนนใหมีการใชทรัพยากรรวมกันเพ่ือลดคาใชจาย หรือ

ตนทุนในการดําเนินงานโดยเฉพาะการใชประโยชนอาคารสถานท่ี และ

ทรัพยสินอ่ืนใหมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด” (เอกสารอางอิง 1.1)

การดําเนินการของฝายบริหารของคณะตามนโยบาย Green

Campus มีการดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) กลาวคือ

Plan (P) : มีการจัดทําแผนการปฏิบัติงานดานพลังงานสิ่งแวดลอม

ท่ีมุงใหคณะพัฒนาไปสู Green Campus พรอมมหาวิทยาลัย นอกจากน้ี

คณะไดแตงตั้งคณะกรรมการประหยัดพลังงานเพ่ือติดตามผลการดําเนินงาน

ดวย (เอกสารอางอิง 1.2)

Do (D) : มีการดําเนินการตามแผนตามกลยุทธ/แผนการปฏิบัติงาน

ท่ีมีความสอดคลองกับแผนของมหาวิทยาลัย โดยดําเนินกิจกรรมเพ่ือสงเสริม

และเนนการใชทรัพยากรรวมกัน รณรงคใหประชาคมรวมกันดําเนินการตาม

กิจกรรมอนุรักษพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอมอยางตอเน่ือง เพ่ือลด

คาใชจายหรือตนทุนในการดําเนินงาน โดยเฉพาะการใชประโยชนอาคาร

สถานท่ี และทรัพยสินอ่ืนใหมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด รวมท้ังมี

การเผยแพรประชาสัมพันธใหประชาคมรวมกันดําเนินการตามมาตรการ

ประหยัดพลังงานของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ท้ังน้ี ในสวนของคณะ

(เอกสารอางอิง 1.3) เชน โครงการประหยัดนํ้า ประหยัดไฟฟา และการปรับ

ภูมิทัศนโดยรอบอาคาร เปนตน

1.1 แผนกลยุทธ/แผนการปฏิบัติงาน

1.2 คําสั่ งคณะเศรษฐศาสตร ท่ี

ร 27/2555 ลงวันท่ี 13 มีนาคม 2555 เรื่อง แตงตั้ง

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร จั ด ก า ร พ ลั ง ง า น ข อ ง ค ณ ะ

เศรษฐศาสตร

1.3 มาตรการประหยัดพลังงาน คณะ

เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

1.4 ตารางแสดงปริมาณการใช

สาธารณูปโภค (ไฟฟา, ประปา) และรายการการใช

ปริมาณไฟฟาของคณะเศรษฐศาสตร ท่ีมีการ

ดําเนินการจัดเก็บขอมูล

1.5 หนังสือแจงมติสภามหาวิทยาลัยเรื่อง

การอนุมัติกลยุทธ/แผนการปฏิบัติงาน ตัวบงช้ี

สมศ.18.1 และหนังสือรวมอบรมโครงการตามแผน

1.6 หนังสือขออนุมัติจางจัดสวนภูมิทัศน

คณะเศรษฐศาสตร ศูนยรังสิต

Page 155: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

148

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

Check (C) : มีการตรวจสอบผลการดําเนินงานตามแผนและ

มาตรการท่ีกําหนดไววาบรรลุเปาหมายมากนอยเพียงใด (เอกสารอางอิง 1.4)

Act (A): มีการนําผลการประเมินมาปรับปรุงแผนการพัฒนา หาก

ไมมีปญหาในการดําเนินการก็ยอมรับเปนแนวทางในการปฏิบัติรวมกัน

ท้ังน้ี คณะไดดําเนินการตามโครงการ Green Campus ในป

การศึกษา 2556 ดังน้ี (เอกสารอางอิง 1.5 และเอกสารอางอิง 1.6)

1. แผนการปฏิบัติงานดานพลังงานสิ่งแวดลอมท่ีมุงใหมหาวิทยาลัย

พัฒนาไปสู Green Campus

2. โครงการรณรงคและอบรมเพ่ือสรางความเขาใจ ในการอนุรักษ

พลังงานทรัพยากร และสิ่งแวดลอม

3. โครงการรณรงคและอบรมเรื่องมารยาทในการใชรถ การใชถนน

การขับข่ีจักรยาน และการใชทางจักรยาน ภายในศูนยรังสิต

4. โครงการอนุรักษพลังงานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม “การ

ประหยัดไฟฟาตามมาตรการประหยัดพลังงานมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร”

5. โครงการเพ่ือสนับสนุนการรีไซเคิลขยะ “โครงการราน 0 บาท”

6. โครงการเพ่ือสนับสนุนการรีไซเคิลขยะ “โครงการลดการใช

พลาสติก”

7. โครงการปรับปรุงภูมิทัศนและการเพ่ิมพ้ืนท่ีสีเขียว

[/] 2. บรรลุเปาหมายตามแผนประจําปไมตํ่ากวารอยละ 80

คณะเศรษฐศาสตรมีสวนรวมในการดําเนินการตามแผนการ

ดําเนินงานตามโครงการ Green Campus โดยวัดจากตัวบงช้ีความสําเร็จของ

แผนไมต่ํากวารอยละ 80 จากแผน จํานวน 7 โครงการ สามารถดําเนินการได

บรรลุเปาหมายตามแผน จํานวน 6 โครงการ คิดเปนรอยละ 85.71 และท่ีไม

เปนไปตามแผนงาน จํานวน 1 โครงการยอยในขอ 3.3 เทาน้ัน เน่ืองจากอยู

ระหวางดําเนินการประสานกับมหาวิทยาลัย จึงลาชาไมเปนไปตามแผนการ

ปฏิบัติงาน (เอกสารอางอิง 2.1 ถึงเอกสารอางอิง 2.3)

อยางไรก็ดี คณะไดมีการดําเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน

และแผนปฏิบัติงานท่ีกําหนดไวไมต่ํากวารอยละ 80

2.1 แผนการปฏิบัติงานดานพลังงาน

สิ่งแวดลอมท่ีมุงใหมหาวิทยาลัยพัฒนาไปสู Green

Campus ของคณะเศรษฐศาสตร

2.2 สรุปแผนงาน/กิจกรรมโครงการการ

ปฏิบัติงาน การดําเนินงานแตละโครงการ

2.3 เอกสารการจัดกิจกรรมโครงการ

ตาง ๆ

[/] 3. มีประโยชนและสรางคุณคาตอคนในสถาบัน

จากการดําเนินการตามแผนการปฏิบัติงานดานพลังงานสิ่งแวดลอม

ท่ีมุงใหมหาวิทยาลัยพัฒนาไปสู Green Campus โดยกิจกรรมทุกโครงการมี

ประโยชน และลวนสรางคุณคาตอคณาจารย บุคลากร และนักศึกษา ท่ีได

รับรูและมีสวนรวมกับการดําเนินการดานการอนุรักษพลังงานและทรัพยากร

และดานการรักษาสิ่งแวดลอม ซึ่งจากผลการดําเนินงานตามแผนดังกลาวทํา

ใหประชาคมเกิดสุขภาวะท่ีดี มีสิ่งอํานวยความสะดวก มีพ้ืนท่ีสีเขียวเพ่ิมข้ึน

มีทิวทัศนสวยงาม โดยเฉพาะอยางยิ่งการมีจิตสํานึกรับผิดชอบและมีสวนรวม

3.1 สรุปแผนงาน/กิจกรรมโครงการการ

ปฏิบัติงาน การดําเนินงานแตละโครงการ

3.2 มาตรการประหยัดพลังงาน

Page 156: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

149

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

ในการดําเนินการในการรักษาสภาพแวดลอมรวมกันอยางเห็นไดชัด

นอกจากน้ี ทางคณะไดตระหนึกถึงการใหนักศึกษาและบุคลากรมี

สวนรวมและมีจิตสํานึกในการประหยัดพลังงานและสิ่งแวดลอม ใชพลังงาน

อยางเหมาะสมและรูคุณคา รวมกันดําเนินกิจกรรมอนุรักษพลังงานอยาง

ตอเน่ือง และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีการดําเนินการตามมาตรการ

ประหยัดพลังงานและแผนปฏิบัติงานท่ีกําหนดไว (เอกสารอางอิง 3.1 และ

เอกสาร 3.2)

[/] 4. มีผลกระทบท่ีเกิดประโยชนและสรางคุณคาตอสถาบัน

การดําเนินการกิจกรรมประหยัดพลังงานไมเพียงแตเกิดประโยชน

แกคณะเศรษฐศาสตรท่ีดําเนินการตามกิจกรรม ยังเปนการสรางจิตสํานึกให

บุคลากรเห็นคุณคาของการกระทําโดยช้ีใหเห็นผลลัพธความสําเร็จท่ีเกิดข้ึน

จากความรวมมือของทุกคน ตอบสนองตอนโยบาย และสรางประโยชนและ

คุณคาตอคณะและมหาวิทยาลัย สรางคุณคาในภาพรวม กลาวคือ ชวยใหเกิด

การประหยัดพลังงานในระยะยาวจากการออกแบบและเลือกใชอุปกรณ

ประหยัดพลังงาน เชน เครื่องปรับอากาศ และหลอดไฟฟา เปนตน มีผลให

คาใชจายลดลง คณะและมหาวิทยาลัยมีพ้ืนท่ีสีเขียวเพ่ิมมากข้ึน

จากการท่ีโครงการธนาคารขยะรีไซเคิลไดรับการยอมรับจาก

หนวยงานตาง ๆ ภายในประเทศอยางกวางขวาง เห็นไดจากการท่ีหนวยงาน

ภายในและภายนอกเขามาศึกษาดูงานโครงการบริหารจัดการขยะ ธนาคาร

ขยะ (เอกสารอางอิง 4.1 ถึงเอกสารอางอิง 4.3)

นอกจากน้ี ทางคณะไดสงเสริมใหบุคลากรมีสวนรวมในการ

ประหยัดพลังงาน ทําใหปริมาณการใชไฟฟาลดลง สามารถลดรายจายใน

ภาพรวมใหกับมหาวิทยาลัยไดจากคาใชจายดานพลังงานท่ีลดนอยลง

(เอกสารอางอิง 4.4)

4.1 เว็บไซตโครงการบริหารจัดการขยะ

ธนาคารขยะรีไซเคิล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนย

รั ง สิ ต (http://www.tu.ac.th/org/

ofrector/bg–rs/htm/recicle.htm)

4.2 ภาพกิจกรรม

4.3 สมุดคูฝากธนาคารขยะรีไซเคิล

4.4 ตารางแสดงสรุปปริมาณการใช

สาธารณูปโภค (ไฟฟา, ประปา) และรายงานการใช

ปริมาณไฟฟาของคณะเศรษฐศาสตร ท่ีมีการ

ดําเนินการจัดเก็บขอมูล

[X] 5. ไดรับการยกยองระดับชาติและ/หรือนานาชาติ

ไมม ี ไมม ี

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 4 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 4 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 4 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

Page 157: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

150

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ไมม ี

Page 158: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

151

1. ตัวบงชี้ สมศ.18 : ผลการชี้นํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคมในดานตาง ๆ

18.2 : ผลการชี้นํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคมในประเด็นท่ี 2 ภายนอกสถาบัน: การบริการวิชาการดาน

เศรษฐศาสตรเพ่ือสังคม

2. ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

3. เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

– มีการปฏิบัติ 1 ขอ มีการปฏิบัติ 2 ขอ มีการปฏิบัติ 3 ขอ มีการปฏิบัติ 4 – 5 ขอ

4. ผลการดําเนินงาน : มีผลการดําเนินงาน 4 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

[/] 1. มีการดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA)

คณะเศรษฐศาสตรกําหนดให “การบริการวิชาการดาน

เศรษฐศาสตรเพ่ือสังคม” เปนประเด็นช้ีนํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคม

ในประเด็นท่ี 2 ภายนอกสถาบัน และมีการดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ

(PDCA) ดังน้ี

Plan (P) : คณะมีการกําหนดกลยุทธและแผนปฏิบัติการการ

บริการวิชาการแกสังคม (เอกสารอางอิง 1.1)

Do (D) : ในปการศึกษา 2556 คณะดําเนินการจัดโครงการบริการ

วิชาการดานเศรษฐศาสตรเพ่ือสังคม ดังน้ี

1. โครงการอบรมเศรษฐศาสตรสําหรับครูผูสอนวิชาสังคมศึกษา

ระดับมัธยมศึกษา รุนท่ี 28 เมื่อวันท่ี 15–18 ตุลาคม 2556 และรุนท่ี 29 เมื่อ

วันท่ี 25–28 มีนาคม 2557 (เอกสารอางอิง 1.2)

2. โครงการสัมมนาทางวิชาการประจําป 2556 ครั้งท่ี 36 เรื่อง “2

ปนโยบายเศรษฐกิจยิ่งลักษณ: ความฝนกับความจริง” เมื่อวันท่ี 10 ตุลาคม

2556 (เอกสารอางอิง 1.3)

3. โครงการสัมมนาแบบใหเปลาอ่ืน ๆ (เอกสารอางอิง 1.4) เชน

การสัมมนา เรื่อง “Backward Linkages ในภาคอุสาหกรรมไทย: การวัดและ

นัยตอการพัฒนาเศรษฐกิจ” และการสัมมนา เรื่อง “Judge Recruitment

and Institutional Distortions on Judicial and Economic Efficiency

in Thailand” เปนตน

Check (C) : คณะมีการประเมินผลการจัดโครงการบริการวิชาการ

ดานเศรษฐศาสตรเพ่ือสังคม (เอกสารอางอิง 1.5)

Act (A) : คณะนําผลประเมินการจัดโครงการบริการวิชาการดาน

เศรษฐศาสตรเพ่ือสังคมมาใชเปนแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาการ

ดําเนินงานโครงการบริการวิชาการแกสังคม (เอกสารอางอิง 1.6)

1.1 แผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการการ

บริการวิชาการแกสังคม ปการศึกษา 2555–2559

คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (ตาม

ตัวบงช้ี สมศ.8, สมศ.9 และ สมศ.18.2)

1.2 โครงการอบรมเศรษฐศาสตรสําหรับ

ครูผูสอนวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา รุนท่ี

28 และรุนท่ี 29

1.3 โครงการสัมมนาทางวิชาการประจําป

2556 ครั้งท่ี 36 เรื่อง “2 ปนโยบายเศรษฐกิจยิ่ง

ลักษณ: ความฝนกับความจริง”

1.4 เ ว็บไซตคณะเศรษฐศาสตร

(www.econ.tu.ac.th) หัวขอ “สัมมนา” หัวขอ

ยอย “สัมมนาท่ีผานมา”

1.5 แบบประเมินการสัมมนาวิชาการ

Symposium 2556

1.6 รายงานสรุปผลการจัดสัมมนาทาง

วิชาการประจําป 2556 ครั้งท่ี 36

[/] 2. บรรลุเปาหมายตามแผนประจําปไมตํ่ากวารอยละ 80

การดําเนินงานของคณะเศรษฐศาสตรบรรลุเปาหมายตามแผน

ประจําเทากับรอยละ 100 ดังน้ี

ภาคผนวก ข–38 : แบบฟอรมท่ี 8–1

รายช่ือโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการท่ีนํามาใช

Page 159: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

152

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง

1. มีการจัดโครงการบริการแกสังคมอยางตอเน่ืองและยั่งยืน

จํานวน 2 โครงการ ไดแก โครงการอบรมเศรษฐศาสตรสําหรับครูผูสอนวิชา

สังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา (เอกสารอางอิง 2.1) และโครงการสัมมนาทาง

วิชาการประจําป (เอกสารอางอิง 2.2)

2. มีการบูรณาการโครงการบริการวิชาการแกสังคมกับการเรียน

การสอนและการวิจัย จํานวน 2 โครงการ (ภาคผนวก ข–38)

3. รอยละของจํานวนกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการแบบให

เปลาตอจํานวนกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการท้ังหมด เทากับรอยละ

90 (เอกสารอางอิง ข–37/1)

ในการพัฒนาการเรียนการสอนและ/หรือการวิจัย

ภาคผนวก ข–37/1 : แบบฟอรมท่ี สกอ.

5.2–1 ร อยละของระดับความพึงพอใจของ

ผูรับบริการ ปการศึกษา 2556

และ

2.1 เ ว็บไซตคณะเศรษฐศาสตร

(www.econ.tu.ac.th) หัวขอ “สิ่งพิมพและ

งาน วิจัย” หั วขอยอย “ศูนยบริการ วิชาการ

เศรษฐศาสตร (ERTC)”

2.2 เ ว็บไซตคณะเศรษฐศาสตร

(www.econ.tu.ac.th) หัวขอ “สัมมนา” หัวขอ

ยอย “สัมมนาท่ีผานมา”

[/] 3. มีประโยชนและสรางคุณคาตอคนในชุมชน

โครงการบริการวิชาการแกสังคมท่ีคณะเศรษฐศาสตรจัดข้ึน

กอใหเกิดประโยชนและสรางคุณคาตอคนในชุมชม เชน โครงการอบรม

เศรษฐศาสตรสําหรับครูผูสอนวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ทําให

ผูเขารวมโครงการซึ่งไดแกครูผูสอนวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ไดรับ

ความรูท่ีเปนประโยชนตอการทํางาน เปนตน (เอกสารอางอิง 1 และ

เอกสารอางอิง 2)

3.1 แบบประเมินผลภาพรวม โครงการ

อบรม: โครงการอบรมเศรษฐศาสตรสําหรับ

ครูผูสอนวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา รุนท่ี

29

3.2 สรุปแบบประเมินผลภาพรวม

โครงการอบรมเศรษฐศาสตรสําหรับครูผูสอนวิชา

สังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา รุนท่ี 29

[/] 4. มีผลกระทบท่ีเกิดประโยชนและสรางคุณคาตอชุมชนหรือสังคม

การนําความรูท่ีไดจากการเขารวมโครงการอบรมเศรษฐศาสตร

สําหรับครูผูสอนวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ไปถายทอดใหแกนักเรียน

ในโรงเรียนท่ีครูสังกัดอยูท้ังในกรุงเทพและตางจังหวัด และการเผยแพร

ความรูท่ีไดจากการศึกษาวิจัยเก่ียวกับการบริหารงานดานเศรษฐกิจของ

นายกรัฐมนตรีใหแกประชาชนท่ีเขารวมโครงการสัมมนาวิชาการประจําป

2556 ครั้งท่ี 36 เรื่อง “2 ปนโยบายเศรษฐกิจยิ่งลักษณ: ความฝนกับความ

จริง” ไดสะทอนใหเห็นถึงการมีผลกระทบท่ีเกิดประโยชนและสรางคุณคาตอ

สังคมจากการจัดโครงการบริการวิชาการดานเศรษฐศาสตรเพ่ือสังคมของ

คณะเศรษฐศาสตร (เอกสารอางอิง 4.1)

4.1 เ ว็บไซตคณะเศรษฐศาสตร

(www.econ.tu.ac.th) หัวขอ "สัมมนา" หัวขอยอย

"สัมมนาท่ีผานมา" เรื่อง สัมมนาทางวิชาการ

ประจําป 2556 ครั้งท่ี 36 เรื่อง "2 ปนโยบาย

เศรษฐกิจยิ่งลักษณ ความฝนกับความจริง"

[X] 5. ไดรับการยกยองระดับชาติและ/หรือนานาชาติ

ไมม ี ไมม ี

5. ผลการประเมินของคณะกรรมการปท่ีผานมา

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

2 ขอ 4 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

Page 160: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

153

6. ผลการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิตนเอง บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 4 ขอ 5.00 คะแนน บรรล ุ

7. ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิจากกรรมการ บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 3 ขอ 4.00 คะแนน ไมบรรล ุ

8. หมายเหตุเพ่ิมของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ปการศึกษา 2556

ตัดขอ 4 ไมมีหลักฐานสะทอนผลกระทบท่ีเกิดประโยชนและสรางคุณคาตอสังคมหรือชุมชน

Page 161: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

154

Page 162: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

155

บทที่ 3 สรุปผลการประเมินคุณภาพ

3.1 รายงานผลการประเมินตนเอง ในตารางท่ี ส1

องคประกอบคุณภาพ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน คะแนน

การประเมิน 2555 2556

องคประกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ

สกอ.1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ขอ 6 8 5.00

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 1 สกอ. 4.00 5.00 5.00

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 1 ท้ังหมด 4.00 5.00 5.00

องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต

สกอ.2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ขอ 3 6 4.00

สกอ.2.2 อาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก รอยละ 72.19 73.33 5.00

สกอ.2.3 อาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ รอยละ 31.13 29.33 4.89

สกอ.2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน ขอ 2 7 5.00

สกอ.2.5 หองสมุด อุปกรณการศึกษา และสภาพแวดลอมการเรียนรู ขอ 7 7 5.00

สกอ.2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ขอ 3 6 4.00

สกอ.2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ขอ 2 6 5.00

สกอ.2.8 ระดับความสําเร็จของการเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมที่จัดใหกับนักศึกษา ขอ 4 5 5.00

สมศ.1 บัณฑิตปริญญาตรีที่ไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป รอยละ 97.56 96.54 4.83

สมศ.2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

คาเฉล่ีย 4.16 4.33 4.33

สมศ.3 ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร รอยละ 39.68 21.99 4.40

สมศ.4 ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร รอยละ ไมประเมนิ 0.00 0.00

สมศ.14 การพัฒนาคณาจารย คาเฉล่ีย 5.31 5.27 4.39

มธ.1 รอยละของนักศึกษาตางชาติตอจํานวนนักศึกษาทั้งหมด รอยละ 0.62 0.61 1.91

มธ.2 รอยละของนักศึกษาแลกเปล่ียนที่สงออกและรับเขาตอนักศึกษาทั้งหมด รอยละ 3.51 6.47 5.00

มธ.3 รอยละของอาจารยตางชาติตอจํานวนอาจารยทั้งหมด รอยละ 2.65 20.00 5.00

มธ.4 รอยละของอาจารยแลกเปล่ียนที่สงออกและรับเขาตออาจารยทั้งหมด รอยละ 2.65 4.67 4.96

มธ.5 รอยละของวิทยานิพนธ และงานวิชาการของนักศึกษาที่ไดรับรางวัลระดับชาติหรือ

นานาชาติ

รอยละ

ไมมีตัวบงชี้นี ้ 0.26 5.00

ศ.1 รอยละของจํานวนบทความสัมมนาตอจํานวนนักศึกษาที่เรียนวิชาสัมมนาทั้งหมด รอยละ 78.73 90.03 5.00

ศ.2 รอยละของจํานวนวิชาสัมมนาที่มีนักศึกษานําเสนอบทความสัมมนาในงานสัมมนา

วิชาการ “Best Seminar Papers” ตอจํานวนวิชาสัมมนาทั้งหมด

รอยละ 90.48

60.87 3.80

ศ.3 จํานวนผลงานของอาจารย นักศึกษา หรือผลงานของบุคลากรสายสนับสนนุทีแ่สดงถึง

จุดเนน "วิเคราะหเปน" ที่ไดรับการยกยองอยางนอยในระดับคณะ หรือระดับมหาวิทยาลัย

หรือไดรับการคัดกรองคุณภาพตามมาตรฐานผลงานวิชาการ

ชิ้นงาน 29 31 5.00

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 2 สกอ. 3.50 4.73 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 2 สมศ. 4.62 3.59 ดี

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 2 มธ. 4.37 ดี

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 2 คณะ 4.92 4.60 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 2 ท้ังหมด 4.08 4.36 ดี

Page 163: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ปีการศกึษา 2556

156

องคประกอบคุณภาพ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน คะแนน

การประเมิน 2555 2556

องคประกอบท่ี 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา

สกอ.3.1 ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและบริการขอมูลขาวสาร ขอ 7 7 5.00

สกอ.3.2 ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา ขอ 6 6 5.00

มธ.7 รอยละของกิจกรรมจิตอาสาตอจํานวนกิจกรรมนักศึกษาทั้งหมด รอยละ 21.33 20.88 3.16

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 3 สกอ. 5.00 5.00 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 3 มธ. 5.00 3.16 พอใช

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 3 ท้ังหมด 5.00 4.39 ดี

องคประกอบท่ี 4 การวิจัย

สกอ.4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยและงานสรางสรรค ขอ 6 7 5.00

สกอ.4.2 มีระบบและกลไกการจัดการความรูจากงานวิจัยและงานสรางสรรค ขอ 6 6 5.00

สกอ.4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจํา บาทตอคน 372,469.09 936,723.92 5.00

สมศ.5 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่ตีพิมพหรือเผยแพร รอยละ 12.74 15.06 5.00

สมศ.6 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน รอยละ 26.75 12.82 3.21

สมศ.7 ผลงานวิชาการที่ไดรับรองคุณภาพ รอยละ 5.73 14.42 5.00

มธ.8 รอยละของบทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (Citation) ในฐานขอมูล Scopus และ

Web of Science ตออาจารยประจําและนักวิจัยประจํา

รอยละ 73.89 35.90 2.04

มธ.9 รอยละของงานวิจัย บทความวิชาการ ส่ิงประดิษฐของอาจารยและนักวิจัยที่ไดรับ

รางวัลระดับชาติหรือนานาชาติตอจํานวนอาจารยและนักวิจัยประจํา

รอยละ ไมมีตัวบงชี้นี ้ 2.56 5.00

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 4 สกอ. 4.67 5.00 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 4 สมศ. 4.29 4.40 ดี

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 4 มธ. 5.00 3.52 ดี

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 4 ท้ังหมด 4.55 4.41 ดี

องคประกอบท่ี 5 การบริการวิชาการแกสังคม

สกอ.5.1 ระบบและกลไกในการบริการวิชาการแกสังคม ขอ 3 5 5.00

สกอ.5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการใหเกิดประโยชนตอสังคม ขอ 2 5 5.00

สมศ.8 การนําความรูและประสบการณจากการใหบริการวิชาการมาใชในการเรียนการ

สอนหรือการวิจัย

รอยละ 100.00 100.00 5.00

สมศ.9 ผลการเรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนหรือองคกรภายนอก ขอ 2 5 5.00

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 5 สกอ. 2.50 5.00 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 5 สมศ. 3.50 5.00 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 5 ท้ังหมด 3.00 5.00 ดีมาก

องคประกอบท่ี 6 การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

สกอ.6.1 ระบบและกลไกในการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ขอ 2 5 5.00

สมศ.10 การสงเสริมและสนับสนุนดานศิลปะและวัฒนธรรม ขอ 4 5 5.00

สมศ.11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม ขอ 4 5 5.00

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 6 สกอ. 2.00 5.00 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 6 สมศ. 4.00 5.00 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 6 ท้ังหมด 3.33 5.00 ดีมาก

Page 164: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

157

องคประกอบคุณภาพ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน คะแนน

การประเมิน 2555 2556

องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ

สกอ.7.1 ภาวะผูนําของสภาสถาบันและผูบริหารทุกระดับของสถาบัน ขอ 7 7 5.00

สกอ.7.2 การพัฒนาสถาบันสูสถาบันเรียนรู ขอ 4 5 5.00

สกอ.7.3 ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการตัดสินใจ ขอ 4 5 5.00

สกอ.7.4 ระบบบริหารความเส่ียง ขอ 4 6 5.00

สมศ.13 การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของผูบริหารสถาบัน คาเฉล่ีย 4.65 3.59 3.59

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 7 สกอ. 4.00 5.00 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 7 สมศ. 4.65 3.59 ดี

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 7 ท้ังหมด 4.13 4.72 ดีมาก

องคประกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ

สกอ.8.1 ระบบและกลไกการเงิน และงบประมาณ ขอ 6 7 5.00

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 8 สกอ. 4.00 5.00 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 8 ท้ังหมด 4.00 5.00 ดีมาก

องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

สกอ.9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน ขอ 9 9 5.00

สมศ.15 ผลการประเมินคุณภาพภายในรับรองโดยตนสังกัด คาเฉล่ีย 3.83 4.91 4.91

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 9 สกอ. 5.00 5.00 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 9 สมศ. 3.83 n.a. n.a.

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 9 ท้ังหมด 5.00 5.00 ดีมาก

องคประกอบท่ี 97 องคประกอบอัตลักษณ (สมศ.)

สมศ.16.1 ผลการบริหารใหเกิดอัตลักษณ ขอ 5 5 5.00

สมศ.16.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ คาเฉล่ีย 4.33 4.39 4.39

สมศ.17 ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนที่สงผลสะทอนเปนเอกลักษณของสถาบัน ขอ 5 5 5.00

สมศ.18.1 ผลการชี้นํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคมในประเด็นที่ 1 ภายในสถาบัน ขอ 4 4 5.00

สมศ.18.2 ผลการชี้นํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคมในประเด็นที่ 2 ภายนอกสถาบัน ขอ 4 4 5.00

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 97 สมศ. 4.86 4.88 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 97 ท้ังหมด 4.86 4.88 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบงช้ีของทุกองคประกอบ สกอ. 3.83 4.91 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบงช้ีของทุกองคประกอบ สมศ.1-11 ตัวบงช้ี 4.19 4.25 ดี

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบงช้ีของทุกองคประกอบ สมศ. 4.40 4.42 ดี

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบงช้ีของทุกองคประกอบ มธ. 5.00 4.01 ดี

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบงช้ีของทุกองคประกอบ หนวยงาน 4.92 4.60 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบงช้ีของทุกองคประกอบ 4.18 4.58 ดีมาก

Page 165: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ปีการศกึษา 2556

158

3.2 รายงานผลการประเมินตนเอง ในตารางท่ี ส2

องคประกอบ คะแนนการประเมินตัวบงช้ี สกอ. (คะแนนเต็ม 5) ผลการ

ประเมิน

คะแนนการประเมินตัวบงช้ีท้ังหมด (คะแนนเต็ม 5) ผลการ

ประเมิน ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต รวม ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต รวม

1. ปรัชญาปณิธาน วัตถุประสงค และแผนการดําเนินงาน

สกอ.1.1 5.00 5.00 5.00

คะแนนท้ังหมด 0.00 5.00 0.00 5.00 5.00

0.00 5.00 0.00 5.00 5.00

จํานวนตัวบงช้ี 0 1 0 1 0 1 0 1

2. การผลิตบัณฑิต

สกอ.2.1 4.00 4.00 4.00 4.00

สกอ.2.2 5.00 5.00 5.00 5.00

สกอ.2.3 4.89 4.89 4.89 4.89

สกอ.2.4 5.00 5.00 5.00 5.00

สกอ.2.5 5.00 5.00 5.00 5.00

สกอ.2.6 4.00 4.00 4.00 4.00

สกอ.2.7 5.00 5.00 5.00 5.00

สกอ.2.8 5.00 5.00 5.00 5.00

สมศ.1 4.83 4.83

สมศ.2 4.33 4.33

สมศ.3 4.40 4.40

สมศ.4 0.00 0.00

สมศ.14 4.39 4.39

มธ.1 1.91 1.91

มธ.2 5.00 5.00

มธ.3 5.00 5.00

มธ.4 4.96 4.96

มธ.5 5.00 5.00

ศ.1 5.00 5.00

ศ.2 3.80 3.80

ศ.3 5.00 5.00

คะแนนท้ังหมด 14.89 18.00 5.00 37.89 4.74

31.76 18.00 41.75 91.51 4.36

จํานวนตัวบงช้ี 3 4 1 8 7 4 10 21

3. กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา

สกอ.3.1 5.00 5.00 5.00 5.00

สกอ.3.2 5.00 5.00 5.00 5.00

มธ.7 3.16 3.16

คะแนนท้ังหมด 0.00 10.00 0.00 10.00 5.00

0.00 10.00 3.16 13.16 4.39

จํานวนตัวบงช้ี 0 2 0 2 0 2 1 3

4. การวิจัย

สกอ.4.1 5.00 5.00 5.00 5.00

สกอ.4.2 5.00 5.00 5.00 5.00

สกอ.4.3 5.00 5.00 5.00 5.00

สมศ.5 5.00 5.00

สมศ.6 3.21 3.21

สมศ.7 5.00 5.00

มธ.8 2.04 2.04

มธ.9 5.00 5.00

คะแนนท้ังหมด 5.00 10.00 0.00 15.00 5.00

5.00 10.00 20.25 35.25 4.41

จํานวนตัวบงช้ี 1 2 0 3 1 2 5 8

Page 166: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

159

องคประกอบ คะแนนการประเมินตัวบงช้ี สกอ. (คะแนนเต็ม 5) ผลการ

ประเมิน

คะแนนการประเมินตัวบงช้ีท้ังหมด (คะแนนเต็ม 5) ผลการ

ประเมิน ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต รวม ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต รวม

5. การบริการวิชาการแกสังคม

สกอ.5.1 5.00 5.00 5.00 5.00

สกอ.5.2 5.00 5.00 5.00 5.00

สมศ.8 5.00 5.00

สมศ.9 5.00 5.00

คะแนนท้ังหมด 0.00 10.00 0.00 10.00 5.00

0.00 10.00 10.00 20.00 5.00

จํานวนตัวบงช้ี 0 2 0 2 0 2 2 4

6. การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

สกอ.6.1 5.00 5.00 5.00 5.00

สมศ.10 5.00 5.00

สมศ.11 5.00 5.00

คะแนนท้ังหมด 0.00 5.00 0.00 5.00 5.00

0.00 5.00 10.00 15.00 5.00

จํานวนตัวบงช้ี 0 1 0 1 0 1 2 3

7. การบริหารและการจัดการ

สกอ.7.1 5.00 5.00 5.00 5.00

สกอ.7.2 5.00 5.00 5.00 5.00

สกอ.7.3 5.00 5.00 5.00 5.00

สกอ.7.4 5.00 5.00 5.00 5.00

สมศ.13 3.59 3.59

คะแนนท้ังหมด 0.00 20.00 0.00 20.00 5.00

0.00 20.00 3.59 23.59 4.72

จํานวนตัวบงช้ี 0 4 0 4 0 4 1 5

8. การเงินและงบประมาณ

สกอ.8.1 5.00 5.00 5.00 5.00

คะแนนท้ังหมด 0.00 5.00 0.00 5.00 5.00

0.00 5.00 0.00 5.00 5.00

จํานวนตัวบงช้ี 0 1 0 1 0 1 0 1

9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

สกอ.9.1 5.00 5.00 5.00 5.00

สมศ.15

คะแนนท้ังหมด 0.00 5.00 0.00 5.00 5.00

0.00 5.00 0.00 5.00 5.00

จํานวนตัวบงช้ี 0 1 0 1 0 1 0 1

97. องคประกอบอัตลักษณ (สมศ.)

สมศ.16.1 5.00

สมศ.16.2 4.39

สมศ.17 5.00

สมศ.18.1 5.00

สมศ.18.2 5.00

คะแนนท้ังหมด 0.00 0.00 0.00 0.00 n.a.

0.00 0.00 24.39 24.39 4.88

จํานวนตัวบงช้ี 0 0 0 0 0 0 5 5

เฉล่ียรวมทุกตัวบงช้ีของทุกองคประกอบ

คะแนนท้ังหมด 19.89 88.00 5.00 112.89 4.91

36.76 88.00 113.14 237.90 4.58

จํานวนตัวบงช้ี 4 18 1 23 8 18 26 52

ผลการประเมิน

อยูในระดับ ดีมาก ดีมาก

Page 167: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ปีการศกึษา 2556

160

3.3 รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางท่ี ป1

องคประกอบคุณภาพ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน คะแนน

การประเมิน 2555 2556

องคประกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ

สกอ.1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ขอ 6 8 5.00

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 1 สกอ. 4.00 5.00 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 1 ท้ังหมด 4.00 5.00 ดีมาก

องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต

สกอ.2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ขอ 3 3 3.00

สกอ.2.2 อาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก รอยละ 72.19 73.33 5.00

สกอ.2.3 อาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ รอยละ 31.13 29.33 4.89

สกอ.2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน ขอ 2 5 4.00

สกอ.2.5 หองสมุด อุปกรณการศึกษา และสภาพแวดลอมการเรียนรู ขอ 7 7 5.00

สกอ.2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ขอ 3 6 4.00

สกอ.2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ขอ 2 3 3.00

สกอ.2.8 ระดับความสําเร็จของการเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมที่จัดใหกับนักศึกษา ขอ 4 5 5.00

สมศ.1 บัณฑิตปริญญาตรีที่ไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป รอยละ 97.56 96.54 4.83

สมศ.2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

คาเฉล่ีย 4.16 4.33 4.33

สมศ.3 ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร รอยละ 39.68 9.80 1.96

สมศ.4 ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร รอยละ ไมประเมนิ 0.00 0.00

สมศ.14 การพัฒนาคณาจารย คาเฉล่ีย 5.31 5.27 4.39

มธ.1 รอยละของนักศึกษาตางชาติตอจํานวนนักศึกษาทั้งหมด รอยละ 0.62 0.75 2.35

มธ.2 รอยละของนักศึกษาแลกเปล่ียนที่สงออกและรับเขาตอนักศึกษาทั้งหมด รอยละ 3.51 7.70 5.00

มธ.3 รอยละของอาจารยตางชาติตอจํานวนอาจารยทั้งหมด รอยละ 2.65 12.00 5.00

มธ.4 รอยละของอาจารยแลกเปล่ียนที่สงออกและรับเขาตออาจารยทั้งหมด รอยละ 2.65 5.00 5.00

มธ.5 รอยละของวิทยานิพนธ และงานวิชาการของนักศึกษาที่ไดรับรางวัลระดับชาติหรือ

นานาชาติ

รอยละ

ไมมีตัวบงชี้นี ้ 0.26 5.00

ศ.1 รอยละของจํานวนบทความสัมมนาตอจํานวนนักศึกษาที่เรียนวิชาสัมมนาทั้งหมด รอยละ 78.73 72.18 4.51

ศ.2 รอยละของจํานวนวิชาสัมมนาที่มีนักศึกษานําเสนอบทความสัมมนาในงานสัมมนา

วิชาการ “Best Seminar Papers” ตอจํานวนวิชาสัมมนาทั้งหมด

รอยละ 90.48

75.00 4.69

ศ.3 จํานวนผลงานของอาจารย นักศึกษา หรือผลงานของบุคลากรสายสนับสนนุทีแ่สดงถึง

จุดเนน "วิเคราะหเปน" ที่ไดรับการยกยองอยางนอยในระดับคณะ หรือระดับมหาวิทยาลัย

หรือไดรับการคัดกรองคุณภาพตามมาตรฐานผลงานวิชาการ

ชิ้นงาน 29 31 5.00

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 2 สกอ. 3.50 4.24 ดี

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 2 สมศ. 4.62 3.10 พอใช

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 2 มธ. n.a. 4.47 ดี

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 2 คณะ 4.92 4.73 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 2 ท้ังหมด 4.08 4.09 ดี

Page 168: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

161

องคประกอบคุณภาพ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน คะแนน

การประเมิน 2555 2556

องคประกอบท่ี 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา

สกอ.3.1 ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและบริการขอมูลขาวสาร ขอ 7 6 4.00

สกอ.3.2 ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา ขอ 6 5 4.00

มธ.7 รอยละของกิจกรรมจิตอาสาตอจํานวนกิจกรรมนักศึกษาทั้งหมด รอยละ 21.33 20.88 3.16

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 3 สกอ. 5.00 4.00 ดี

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 3 มธ. 5.00 3.16 พอใช

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 3 ท้ังหมด 5.00 3.72 ดี

องคประกอบท่ี 4 การวิจัย

สกอ.4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยและงานสรางสรรค ขอ 6 7 5.00

สกอ.4.2 มีระบบและกลไกการจัดการความรูจากงานวิจัยและงานสรางสรรค ขอ 6 6 5.00

สกอ.4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจํา บาทตอคน 372,469.09 939,508.58 5.00

สมศ.5 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่ตีพิมพหรือเผยแพร รอยละ 12.74 15.06 5.00

สมศ.6 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน รอยละ 26.75 12.82 3.21

สมศ.7 ผลงานวิชาการที่ไดรับรองคุณภาพ รอยละ 5.73 13.46 5.00

มธ.8 รอยละของบทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (Citation) ในฐานขอมูล Scopus และ

Web of Science ตออาจารยประจําและนักวิจัยประจํา

รอยละ 73.89 35.90 2.04

มธ.9 รอยละของงานวิจัย บทความวิชาการ ส่ิงประดิษฐของอาจารยและนักวิจัยที่ไดรับ

รางวัลระดับชาติหรือนานาชาติตอจํานวนอาจารยและนักวิจัยประจํา

รอยละ ไมมีตัวบงชี้นี ้ 2.56 5.00

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 4 สกอ. 4.67 5.00 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 4 สมศ. 4.29 4.40 ดี

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 4 มธ. 5.00 3.52 ดี

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 4 ท้ังหมด 4.55 4.41 ดี

องคประกอบท่ี 5 การบริการวิชาการแกสังคม

สกอ.5.1 ระบบและกลไกในการบริการวิชาการแกสังคม ขอ 3 3 3.00

สกอ.5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการใหเกิดประโยชนตอสังคม ขอ 2 5 5.00

สมศ.8 การนําความรูและประสบการณจากการใหบริการวิชาการมาใชในการเรียนการ

สอนหรือการวิจัย

รอยละ 100.00 100.00 5.00

สมศ.9 ผลการเรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนหรือองคกรภายนอก ขอ 2 5 5.00

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 5 สกอ. 2.50 4.00 ดี

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 5 สมศ. 3.50 5.00 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 5 ท้ังหมด 3.00 4.50 ดี

องคประกอบท่ี 6 การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

สกอ.6.1 ระบบและกลไกในการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ขอ 2 2 2.00

สมศ.10 การสงเสริมและสนับสนุนดานศิลปะและวัฒนธรรม ขอ 4 5 5.00

สมศ.11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม ขอ 4 5 5.00

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 6 สกอ. 2.00 2.00 ตองปรับปรุง

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 6 สมศ. 4.00 5.00 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 6 ท้ังหมด 3.33 4.00 ดี

Page 169: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ปีการศกึษา 2556

162

องคประกอบคุณภาพ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน คะแนน

การประเมิน 2555 2556

องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ

สกอ.7.1 ภาวะผูนําของสภาสถาบันและผูบริหารทุกระดับของสถาบัน ขอ 7 6 4.00

สกอ.7.2 การพัฒนาสถาบันสูสถาบันเรียนรู ขอ 4 5 5.00

สกอ.7.3 ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการตัดสินใจ ขอ 4 5 5.00

สกอ.7.4 ระบบบริหารความเส่ียง ขอ 4 6 5.00

สมศ.13 การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของผูบริหารสถาบัน คาเฉล่ีย 4.65 3.51 3.51

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 7 สกอ. 4.00 4.75 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 7 สมศ. 4.65 3.51 ดี

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 7 ท้ังหมด 4.13 4.50 ดี

องคประกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ

สกอ.8.1 ระบบและกลไกการเงิน และงบประมาณ ขอ 6 7 5.00

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 8 สกอ. 4.00 5.00 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 8 ท้ังหมด 4.00 5.00 ดีมาก

องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

สกอ.9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน ขอ 9 9 5.00

สมศ.15 ผลการประเมินคุณภาพภายในรับรองโดยตนสังกัด คาเฉล่ีย 3.83 4.39 4.39

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 9 สกอ. 5.00 5.00 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 9 สมศ. 3.83 4.39 ดี

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 9 ท้ังหมด 5.00 5.00 ดีมาก

องคประกอบท่ี 97 องคประกอบอัตลักษณ (สมศ.)

สมศ.16.1 ผลการบริหารใหเกิดอัตลักษณ ขอ 5 5 5.00

สมศ.16.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ คาเฉล่ีย 4.33 4.39 4.39

สมศ.17 ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนที่สงผลสะทอนเปนเอกลักษณของสถาบัน ขอ 5 5 5.00

สมศ.18.1 ผลการชี้นํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคมในประเด็นที่ 1 ภายในสถาบัน ขอ 4 4 5.00

สมศ.18.2 ผลการชี้นํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคมในประเด็นที่ 2 ภายนอกสถาบัน ขอ 4 3 4.00

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 97 สมศ. 4.86 4.68 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนองคประกอบท่ี 97 ท้ังหมด 4.86 4.68 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบงช้ีของทุกองคประกอบ สกอ. 3.83 4.39 ดี

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบงช้ีของทุกองคประกอบ สมศ.1-11 ตัวบงช้ี 4.19 4.03 ดี

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบงช้ีของทุกองคประกอบ สมศ. 4.40 4.21 ดี

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบงช้ีของทุกองคประกอบ มธ. 5.00 4.07 ดี

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบงช้ีของทุกองคประกอบ หนวยงาน 4.92 4.73 ดีมาก

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบงช้ีของทุกองคประกอบ 4.18 4.29 ดี

Page 170: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

163

3.4 รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางท่ี ป2

องคประกอบ คะแนนการประเมินตัวบงช้ี สกอ. (คะแนนเต็ม 5) ผลการ

ประเมิน

คะแนนการประเมินตัวบงช้ีท้ังหมด (คะแนนเต็ม 5) ผลการ

ประเมิน ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต รวม ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต รวม

1. ปรัชญาปณิธาน วัตถุประสงค และแผนการดําเนินงาน

สกอ.1.1 5.00 5.00

คะแนนท้ังหมด 0.00 5.00 0.00 5.00 5.00

ดีมาก

0.00 5.00 0.00 5.00 5.00

ดีมาก จํานวนตัวบงช้ี 0 1 0 1 0 1 0 1

สกอ.2.1 3.00 3.00 3.00 3.00

สกอ.2.2 5.00 5.00 5.00 5.00

สกอ.2.3 4.89 4.89 4.89 4.89

สกอ.2.4 4.00 4.00 4.00 4.00

สกอ.2.5 5.00 5.00 5.00 5.00

สกอ.2.6 4.00 4.00 4.00 4.00

สกอ.2.7 3.00 3.00 3.00 3.00

สกอ.2.8 5.00 5.00 5.00 5.00

สมศ.1 4.83 4.83

สมศ.2 4.33 4.33

สมศ.3 1.96 1.96

สมศ.4 0.00 0.00

สมศ.14 4.39 4.39

มธ.1 2.35 2.35

มธ.2 5.00 5.00

มธ.3 5.00 5.00

มธ.4 5.00 5.00

มธ.5 5.00 5.00

ศ.1 4.51 4.51

ศ.2 4.69 4.69

ศ.3 5.00 5.00

คะแนนท้ังหมด 14.89 14.00 5.00 33.89 4.24

ดี

32.24 14.00 39.71 85.95 4.09

ดี จํานวนตัวบงช้ี 3 4 1 8 7 4 10 21

3. กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา

สกอ.3.1 4.00 4.00 4.00 4.00

สกอ.3.2 4.00 4.00 4.00 4.00

มธ.7 3.16 3.16

คะแนนท้ังหมด 0.00 8.00 0.00 8.00 4.00

ดี

0.00 8.00 3.16 11.61 3.87

ดี จํานวนตัวบงช้ี 0 2 0 2 0 2 1 3

4. การวิจัย

สกอ.4.1 5.00 5.00 5.00 5.00

สกอ.4.2 5.00 5.00 5.00 5.00

สกอ.4.3 5.00 5.00 5.00 5.00

สมศ.5 5.00 5.00

สมศ.6 3.21 3.21

สมศ.7 5.00 5.00

มธ.8 2.04 2.04

มธ.9 5.00 5.00

คะแนนท้ังหมด 5.00 10.00 0.00 15.00 5.00

ดีมาก

5.00 10.00 20.25 35.25 4.41

ด ีจํานวนตัวบงช้ี 1 2 0 3 1 2 5 8

Page 171: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ปีการศกึษา 2556

164

องคประกอบ คะแนนการประเมินตัวบงช้ี สกอ. (คะแนนเต็ม 5) ผลการ

ประเมิน

คะแนนการประเมินตัวบงช้ีท้ังหมด (คะแนนเต็ม 5) ผลการ

ประเมิน ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต รวม ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต รวม

5. การบริการวิชาการแกสังคม

สกอ.5.1 3.00 3.00 3.00 3.00

สกอ.5.2 5.00 5.00 5.00 5.00

สมศ.8 5.00 5.00

สมศ.9 5.00 5.00

คะแนนท้ังหมด 0.00 8.00 0.00 8.00 4.00

ด ี

0.00 8.00 10.00 18.00 4.50

ด ีจํานวนตัวบงช้ี 0 2 0 2 0 2 2 4

6. การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

สกอ.6.1 2.00 2.00 2.00 2.00

สมศ.10 5.00 5.00

สมศ.11 5.00 5.00

คะแนนท้ังหมด 0.00 2.00 0.00 2.00 2.00

ตองปรับปรุง

0.00 2.00 10.00 12.00 4.00

ด ีจํานวนตัวบงช้ี 0 1 0 1 0 1 2 3

7. การบริหารและการจัดการ

สกอ.7.1 4.00 4.00 4.00 4.00

สกอ.7.2 5.00 5.00 5.00 5.00

สกอ.7.3 5.00 5.00 5.00 5.00

สกอ.7.4 5.00 5.00 5.00 5.00

สมศ.13 3.51 3.51

คะแนนท้ังหมด 0.00 19.00 0.00 19.00 4.75

ดีมาก

0.00 19.00 3.51 22.51 4.50

ดี จํานวนตัวบงช้ี 0 4 0 4 0 4 1 5

8. การเงินและงบประมาณ

สกอ.8.1 5.00 5.00 5.00 5.00

คะแนนท้ังหมด 0.00 5.00 0.00 5.00 5.00

ดีมาก

0.00 5.00 0.00 5.00 5.00

ดีมาก จํานวนตัวบงช้ี 0 1 0 1 0 1 0 1

9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

สกอ.9.1 5.00 5.00 5.00 5.00

สมศ.15 4.39

คะแนนท้ังหมด 0.00 5.00 0.00 5.00 5.00

ดีมาก

0.00 5.00 4.39 5.00 5.00

ดีมาก จํานวนตัวบงช้ี 0 1 0 1 0 1 1 1

97. องคประกอบอัตลักษณ (สมศ.)

สมศ.16.1 5.00

สมศ.16.2 4.39

สมศ.17 5.00

สมศ.18.1 5.00

สมศ.18.2 4.00

คะแนนท้ังหมด 0.00 0.00 0.00 0.00 -

-

0.00 0.00 23.39 23.39 4.68

ดีมาก จํานวนตัวบงช้ี 0 0 0 0 0 0 5 5

เฉล่ียรวมทุกตัวบงช้ีของทุกองคประกอบ

คะแนนท้ังหมด 19.89 76.00 5.00 100.89 4.39

37.24 76.00 114.41 227.65 4.29

จํานวนตัวบงช้ี 4 18 1 23 8 18 27 53

ผลการประเมิน

อยูในระดับ ดี ดี

Page 172: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

165

3.5 จุดแข็ง/จุดท่ีควรพัฒนา/แนวทางการปรับปรุง ตามความเห็นของคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน

องคประกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงคและแผนการดําเนินการ

จุดเดน

มีการติดตามการดําเนินงานตามตัวบงช้ีแผนกลยุทธเปนระยะ อยางตอเน่ือง

จุดท่ีควรพัฒนา

การรายงานผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ีของแผนกลยุทธ

ขอเสนอแนะ

ควรรายงานผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ีของแผนกลยุทธตอสภามหาวิทยาลัย เพ่ือพิจารณาใหขอคิดและ

ขอเสนอแนะ และคณะนํามาใชปรับปรุงแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการประจําปตอไป

องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต

สรุปผลการดําเนินงานในองคประกอบท่ีพบในการตรวจเย่ียม

1. มีการปรับปรุงหลักสูตรตามเกณฑมาตรฐานใหม (มคอ.) แตยังไมมีแนวทางใหคณะกรรมการหลักสูตรติดตาม

ประเมิน และปรับปรุงหลักสูตรตามเกณฑมาตรฐาน แตหากใชเกณฑมาตรฐานหลักสูตรป 2548 (ซึ่งยังมีหลักสูตรท่ีดําเนินการจัดการ

เรียนการสอนอยู) พบวา ประเมินผานในตัวบงช้ี สกอ.2.1 ขอ 3 และ 4

2. มีแผนการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนท่ีเปนรูปธรรมชัดเจน แตไมพบแผนการพัฒนาอาจารยท่ีชัดเจน (พบอยูใน

รายงานการประชุม) ทําใหยากตอการติดตามและแสดงการติดตามการประเมินผล และไมพบการติดตามประเมินผลท่ีนําไปสูการ

ปรับปรุงการบริหารและพัฒนาอาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน (สกอ.2.4)

3. ยังไมเห็นหลักฐานการสํารวจคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงคจากผูใชบัณฑิต แตจากการสอบถามทีมบริหาร

พบวา มีการสื่อสารแลกเปลีย่นความเห็นกับผูใชบัณฑิตอยูสม่ําเสมอ และรับทราบความตองการของผูใชบัณฑติซึ่งตรงกับท่ีสัมภาษณจาก

ผูใชบัณฑิต (สกอ.2.7)

จุดเดน

มีกลไกท่ีชวยพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะหสําหรับนักศึกษาอยูในหลักสูตร

จุดท่ีควรพัฒนา

1. ควรมีแนวทางใหคณะกรรมการหลักสูตรติดตามประเมินและปรับปรุงหลักสูตรตามเกณฑมาตรฐาน

2. ควรมีการวิเคราะหสาเหตุท่ีคะแนนความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนท่ียังไมสูง

3. ควรจัดทําแผนการบริหารและพัฒนาอาจารย และมีแนวทางในการติดตามประเมินผลรวมท้ังติดตามประเมินผล

และพัฒนา (สกอ.2.4)

4. ควรมีแนวทางการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงคจากผูใชบัณฑิต (สกอ.2.7)

ขอเสนอแนะ

การเตรียมเอกสารอางอิงหรือหลักฐานยังมีสวนไมตรงกับเกณฑมาตรฐานหลายอยาง

องคประกอบท่ี 3 กิจกรรมพัฒนานักศึกษา

สรุปผลการดําเนินงานในองคประกอบท่ีพบในการตรวจเย่ียม

มีการดําเนินงานตามตัวบงช้ีตาง ๆ เกือบครบถวน มีกิจกรรมนักศึกษาหลากหลายครอบคลุมตามเกณฑท่ีระบุในตัวบงช้ี

Page 173: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ปีการศกึษา 2556

166

จุดเดน

1. ระบบการเก็บขอมูลดีมาก

2. ชองทางเผยแพรขาวสารสามารถเขาถึงนักศึกษาและศิษย

3. สามารถใชประโยชนจากเวทีสัมมนา–ปาฐกถาตาง ๆ อยางนาสนใจ

วิธีปฏิบัติและผลการดําเนินงานท่ีเปนแบบอยางท่ีดี

1. ระบบการสับเปลี่ยนหมุนเวียนตําแหนงในคณะกรรมการนักศึกษาคณะ (กนศ.ศ.) ทําไดดี การสานตอกิจกรรมตาง ๆ

มีความตอเน่ือง

2. เอกสารขอมูลท่ีชวยพัฒนาความเขาใจเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา (QA) ท่ีแจกใหนักศึกษาทําไดดีมาก

จุดท่ีควรพัฒนา

เจาหนาท่ีและกรรมการท่ีรับผิดชอบตัวบงช้ีควรมีโอกาสทําความเขาใจวัตถุประสงคของตัวบงช้ีมากข้ึน เพ่ือให

รายงานผลไดตรงกับวัตถุประสงค

ขอเสนอแนะ

1. ตัวบงช้ี สกอ.3.1 ขอ 7 ตองนําผลการประเมินบริการมาพัฒนาการจัดบริการดวย และมีผูบริหารชวยติดตามผล

ดําเนินงาน

2. ตัวบงช้ี สกอ.3.2 ขอ 4 ตองสรางเครือขายนักศึกษาท่ีเปนเวทีแลกเปลี่ยนในเชิงการประกันคุณภาพการศึกษา

องคประกอบท่ี 4 การวิจัย

จุดเดน

ไดรับงบประมาณการวิจัยมาก

วิธีปฏิบัติและผลการดําเนินงานท่ีเปนแบบอยางท่ีดี

มีผูรับผิดชอบแตละองคประกอบท่ีจะตอบคําถามไดเดนชัดเพ่ือประกอบการตัดสินใจของผูประเมิน

จุดท่ีควรพัฒนา

ควรมีการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติใหมากข้ึน

ขอเสนอแนะ

ควรพัฒนานักวิจัยรุนใหมใหมีศักยภาพมากยิ่งข้ึนเพ่ือทดแทน

องคประกอบท่ี 5 การบริการวิชาการแกสังคม

วิธีปฏิบัติและผลการดําเนินงานท่ีเปนแบบอยางท่ีดี

มีผูรับผิดชอบแตละองคประกอบท่ีตอบคําถามไดเดนชัด เพ่ือประกอบการตัดสินใจของผูประเมิน

จุดท่ีควรพัฒนา

ควรมีการจัดทําแผนบูรณาการการบริการวิชาการกับการเรียนการสอนและการวิจัยใหเปนรูปธรรมมากข้ึน เชน

เพ่ิมเติมในเน้ือหาเอกสารประกอบการสอน และอางอิงใหตรงกับโครงการของผูวิจัย หรือผูบริการทางวิชาการ

ขอเสนอแนะ

ควรใหเกิดการนําไปใชประโยชนมากข้ึน โดยเมื่อสิ้นสุดการประเมินใหแนบแบบฟอรมการใชประโยชนใหผูใช

ประโยชนลงนามเพ่ือใชอางอิงในเชิงประจักษ

องคประกอบท่ี 6 การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

จุดเดน

มีการตั้งคณะกรรมการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมแลว แตผลการดําเนินงานตาง ๆ ยังขาดทิศทางท่ีชัดเจน

Page 174: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศกึษา 2556

167

จุดท่ีควรพัฒนา

ผูดูแลตัวบงช้ีตองมีโอกาสทําความเขาใจการบูรณาการในตัวบงช้ี สกอ.6.1 ขอ 2 จึงจะสามารถอธิบายผลการ

ดําเนินงานและประเมินความสําเร็จในการบูรณาการตามขอ 4 และ 5 ไดดวย

ขอเสนอแนะ

การคัดเลือกรายวิชาและกิจกรรมนักศึกษาท่ีนํามาบูรณาการกับการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ควรดําเนินการ

ในลักษณะกรรมการท่ีปรึกษาหารือกันมากกวาอนุมานจากช่ือวิชา

ขอสังเกตอ่ืน ๆ

ยังมีความสับสนระหวางการรายงานผลสําเร็จตามแผนปฏิบัติการกับผลสําเร็จในการบูรณาการ

องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ

จุดเดน

มีการประชุมคณาจารยท้ังหมดของคณะเปนประจําทุก 2 เดือน ทําใหคณาจารยสามารถติดตาม/กระบวนการ

ทํางาน สถานะทางการเงิน และใหขอคิดเห็นไดอยางสม่ําเสมอ พรอมท้ังผูบริหารสามารถช้ีแจงทําความเขาใจ การปรับปรุง ปรับเปลี่ยน

การดําเนินงานไดอยางรวดเร็ว

วิธีปฏิบัติและผลการดําเนินงานท่ีเปนแบบอยางท่ีดี

การประชุมคณาจารยท้ังหมดของคณะเปนประจําทุก 2 เดือน

จุดท่ีควรพัฒนา

ควรมีการติดตามการดําเนินงาน

ขอเสนอแนะ

ควรใชแผนปฏิบัติราชการประจําปเปนเครื่องมือในการติดตาม ท้ังน้ีในแผนฯ ควรกําหนดกิจกรรม เปาหมาย และ

กําหนดเวลาในการดําเนินการของกิจกรรมใหชัดเจน

องคประกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ

จุดเดน

มีการรายงาน ติดตาม วิเคราะห รายรับ รายจายเงินของคณะอยางสม่ําเสมอ ท้ังในการประชุมคณะกรรมการประจํา

คณะ และการประชุมคณาจารยท้ังหมด

จุดท่ีควรพัฒนา

การปรับปรุงแผนยุทธศาสตรการเงิน

ขอเสนอแนะ

ควรผนวกแผนกลยุทธทางการเงิน เขากับแผนยุทธศาสตรและแผนปฏิบัติราชการประจําป และในชองแผนงาน/

กิจกรรม/รายงาน ควรระบุเปนกิจกรรมท่ีจะจัดทําในแตละกลยุทธ แนบประเภทงบประมาณรายจายท่ีทําอยูในปจจุบัน พรอมท้ังระบุ

เปาหมาย กําหนดเวลาของการทํากิจกรรมใหชัดเจน

องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

สรุปผลการดําเนินงานในองคประกอบท่ีพบในการตรวจเย่ียม

การดําเนินการในภาพรวมทําไดครบถวนตามรายละเอียดในเกณฑขอตาง ๆ

วิธีปฏิบัติและผลการดําเนินงานท่ีเปนแบบอยางท่ีดี

1. มีระบบสารสนเทศท่ีรองรับงานประกันคุณภาพ

2. มีการจัดทําแนวปฏิบัติท่ีดีเปนเอกสารท่ีเผยแพรไดและมีการทําวิจัยท่ีเก่ียวของกับการประกันคุณภาพ

Page 175: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

รายงานการประเมินตนเอง

คณะเศรษฐศาสตร์ปีการศกึษา 2556

168

จุดท่ีควรพัฒนา

1. ควรมีข้ันตอนติดตามใหเจาหนาท่ีปอนขอมูลเขาระบบสารสนเทศการประกันคุณภาพการศึกษา

2. ตัวบงช้ี สกอ.9.1 ขอ 7 ควรสรางการมีสวนรวมจากการแลกเปลี่ยนความเห็นกับผูมีสวนไดสวนเสียเพ่ือเสริมกับ

การเผยแพรขอมูลท่ีดําเนินการอยูแลว

ขอเสนอแนะ

1. การใหความสําคัญกับการประกันคณุภาพภายในระดับนโยบายควรมีบันทึกวาเปนวาระในการหารือของกรรมการ

ประจําคณะ

2. ตัวบงช้ี สกอ.9.1 ขอ 5 เนนการปรับปรุงและสงผลใหมีการพัฒนา คณะกรรมการชุดท่ีเก่ียวของจึงตองท้ังประชุม

เพ่ือมอบหมายงานและติดตามงานในรอบปหน่ึง ๆ

3. ตัวบงช้ี สกอ.9.1 ขอ 8 ควรขยายเครือขายเพ่ิมเติมจากท่ีปรากฏในเอกสารท่ี 8.3

ขอสังเกตอ่ืน ๆ

เครือขายซึ่งรวมจัดการประชุมเชิงวิชาการไมสอดคลองกับการรายงานผลตามองคประกอบน้ี

องคประกอบท่ี 97 องคประกอบอัตลักษณ (สมศ.)

สรุปผลการดําเนินงานในองคประกอบท่ีพบในการตรวจเย่ียม

1. มีการดําเนินการตามอัตลักษณของมหาวิทยาลัย โดยมีสวนรวมจากคณาจารย นักศึกษา และบุคลากรเปนอยางดี

(สมศ.16.1)

2. มีการโยงองคความรูดานเศรษฐศาสตรในกิจกรรมบริการวิชาการสูสังคมเปนการช้ีนําสังคมในดานเศรษฐศาสตร

(สมศ.18.2)

จุดเดน

1. มีโครงการและกิจกรรมท่ีสื่อถึงจิตสาธารณะและความรับผิดชอบตอสังคมดี (สมศ.16.1)

2. มีกิจกรรมท่ีปฏิบัติมาอยางตอเน่ือง (สมศ.18.2)

วิธีปฏิบัติและผลการดําเนินงานท่ีเปนแบบอยางท่ีดี

การสงเสริมกิจกรรมท่ีนักศึกษาสามารถแสดงศักยภาพดานเศรษฐศาสตรอยางชัดเจนในการแขงขันเวทีตาง ๆ (สมศ.16.1)

จุดท่ีควรพัฒนา

1. การเขียนรายงานผลการดําเนินงานยังไมละเอียด (สมศ.16.1 เกณฑขอ 3)

2. การประเมินผลจากกลุมเปาหมายยังไมสะทอนคุณคาตอสังคม (สมศ.18.2)

ขอเสนอแนะ

1. ควรมีการประเมินผลกระทบท่ีเปนประโยชนหรือคุมคาตอสังคมท่ีมิใชเพียงวัตถุหรือจํานวน แตเปนการวัดการ

เปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตของกลุมเปาหมายในแตละโครงการ (เกณฑ สมศ.16.1)

2. ควรมีการสํารวจความตองการของสังคมในเชิงเศรษฐศาสตร (สมศ.18.2)

3. การประเมินผลกระทบท่ีเปนประโยชนและสรางคุณคามักไมเกิดในทันทีหลังการเขาอบรมตองท้ิงระยะเวลาแลว

กลับไปประเมินการนําความรูน้ันไปใชเปนการประเมินนักเรียนท่ีไดเรียนวิชาเศรษฐศาสตรจากครูท่ีเขาอบรม (สมศ.18.2)

Page 176: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

ก-1 (หน้า 1)

(วันที� 8/6/2016)ตารางข้อมูลพื�นฐาน(Common Data Set)

ลําดับ ชื่อขอมูลพื้นฐาน ผลการดําเนินงาน

องคประกอบที่ 2

1 (สกอ.2.1) จํานวนหลักสูตรที่เปดสอนทั้งหมด 7

2 - -ระดับอนุปริญญา 0

3 - -ระดับปริญญาตรี 2

4 - -ระดับ ป.บัณฑิต 0

5 - -ระดับปริญญาโทที่มีเฉพาะแผน ก 0

6 - -ระดับปริญญาโทที่มีเฉพาะแผน ข 0

7 - -ระดับปริญญาโท ที่มีทั้งแผน ก และ แผน ข อยูในเอกสารหลักสูตรฉบับเดียวกัน 4

8 (สกอ.2.1) จํานวนหลักสูตรระดับปริญญาโท แผน ก ที่มีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนในแผน ก 3

9 - -ระดับปริญญาเอก 1

10 (สกอ.2.1) จํานวนหลักสูตรระดับปริญญาเอก ทีมีนักศึกษาลงทะเบียนเรียน 1

11 (สกอ.2.1) จํานวนศูนยจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งทั้งหมด 0

12 (สกอ.2.1) จํานวนหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนนอกสถานที่ตั้ง 0

13 - -ระดับอนุปริญญา 0

14 - -ระดับปริญญาตรี 0

15 - -ระดับ ป.บัณฑิต 0

16 - -ระดับปริญญาโท 0

17 - -ระดับปริญญาเอก 0

18 (สกอ.2.1) จํานวนหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนนอกสถานที่ตั้ง และแจงใหคณะกรรมการการ

อุดมศึกษาทราบ

0

19 - -ระดับอนุปริญญา 0

20 - -ระดับปริญญาตรี 0

21 - -ระดับ ป.บัณฑิต 0

22 - -ระดับปริญญาโท 0

23 - -ระดับปริญญาเอก 0

24 (สกอ.2.1) จํานวนหลักสูตรทั้งหมดที่ไดรับอนุมัติตามกรอบ TQF 7

25 - -ระดับอนุปริญญา 0

26 - -ระดับปริญญาตรี 2

ตารางขอมูลพื้นฐาน (Common Data Set)

คณะเศรษฐศาสตร ปการศึกษา 2556

Page 177: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

ก-1 (หน้า 2)

(วันที� 8/6/2016)ตารางข้อมูลพื�นฐาน(Common Data Set)

ลําดับ ชื่อขอมูลพื้นฐาน ผลการดําเนินงาน

27 - -ระดับ ป.บัณฑิต 0

28 - -ระดับปริญญาโท 4

29 - -ระดับปริญญาเอก 1

30 (สกอ.2.1) จํานวนหลักสูตรทั้งหมดที่ไดรับอนุมัติตามกรอบ TQF และมีการประเมินผลตามตัว

บงชี้ผลการดําเนินงานฯ ครบถวน

7

31 - -ระดับอนุปริญญา 0

32 - -ระดับปริญญาตรี 2

33 - -ระดับ ป.บัณฑิต 0

34 - -ระดับปริญญาโท 4

35 - -ระดับปริญญาเอก 1

36 (สกอ.2.1) จํานวนหลักสูตรวิชาชีพที่เปดสอนทั้งหมด 0

37 - -ระดับอนุปริญญา 0

38 - -ระดับปริญญาตรี 0

39 - -ระดับ ป.บัณฑิต 0

40 - -ระดับปริญญาโท 0

41 - -ระดับปริญญาเอก 0

42 (สกอ.2.1) จํานวนหลักสูตรวิชาชีพที่เปดสอนและไดรับการรับรองหลักสูตรจากองคกรวิชาชีพ

ทั้งหมด

0

43 - -ระดับอนุปริญญา 0

44 - -ระดับปริญญาตรี 0

45 - -ระดับ ป.บัณฑิต 0

46 - -ระดับปริญญาโท 0

47 - -ระดับปริญญาเอก 0

48 (สกอ.2.1) จํานวนหลักสูตรทั้งหมดที่ยังไมไดรับอนุมัติตามกรอบ TQF แตเปนไปตามเกณฑ

มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 ครบถวน

0

49 - -ระดับอนุปริญญา 0

50 - -ระดับปริญญาตรี 0

51 - -ระดับ ป.บัณฑิต 0

52 - -ระดับปริญญาโท 0

53 - -ระดับปริญญาเอก 0

Page 178: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

ก-1 (หน้า 3)

(วันที� 8/6/2016)ตารางข้อมูลพื�นฐาน(Common Data Set)

ลําดับ ชื่อขอมูลพื้นฐาน ผลการดําเนินงาน

54 (สกอ.2.1) จํานวนหลักสูตรทั้งหมดที่ไดรับอนุมัติตามกรอบ TQF ที่มีผลการประเมินตามตัวบงชี้

ผลการดําเนินงานฯ ผานเกณฑการประเมิน 5 ขอแรก และอยางนอยรอยละ 80 ของตัวบงชี้ที่

กําหนดในแตละป

7

55 - -ระดับอนุปริญญา 0

56 - -ระดับปริญญาตรี 2

57 - -ระดับ ป.บัณฑิต 0

58 - -ระดับปริญญาโท 4

59 - -ระดับปริญญาเอก 1

60 (สกอ.2.1) จํานวนหลักสูตรทั้งหมดที่ไดรับอนุมัติตามกรอบ TQF ที่มีผลการประเมินตามตัวบงชี้

ผลการดําเนินงานฯ ผานเกณฑการประเมินครบทุกตัวบงชี้

7

61 - -ระดับอนุปริญญา 0

62 - -ระดับปริญญาตรี 2

63 - -ระดับ ป.บัณฑิต 0

64 - -ระดับปริญญาโท 4

65 - -ระดับปริญญาเอก 1

66 (สกอ.2.1) จํานวนหลักสูตรสาขาวิชาชีพที่มีความรวมมือในการพัฒนาและบริหารหลักสูตรกับ

ภาครัฐหรือภาคเอกชนที่เกี่ยวของกับวิชาชีพของหลักสูตร

0

67 - -ระดับอนุปริญญา 0

68 - -ระดับปริญญาตรี 0

69 - -ระดับ ป.บัณฑิต 0

70 - -ระดับปริญญาโท 0

71 - -ระดับปริญญาเอก 0

72 (สกอ.2.1) จํานวนนักศึกษาปจจุบันทั้งหมดทุกระดับการศึกษา 2129

73 - -จํานวนนักศึกษาปจจุบันทั้งหมด - ระดับอนุปริญญา 0

74 - -จํานวนนักศึกษาปจจุบันทั้งหมด - ระดับปริญญาตรี 1755

75 - -จํานวนนักศึกษาปจจุบันทั้งหมด - ระดับ ป.บัณฑิต 0

76 - -จํานวนนักศึกษาปจจุบันทั้งหมด - ระดับปริญญาโท 368

77 - -จํานวนนักศึกษาปจจุบันทั้งหมด - ระดับปริญญาโท (แผน ก) 216

78 - -จํานวนนักศึกษาปจจุบันทั้งหมด - ระดับปริญญาโท (แผน ข) 152

79 - -จํานวนนักศึกษาปจจุบันทั้งหมด - ระดับปริญญาเอก 6

80 (สกอ.2.1) จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ 75

Page 179: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

ก-1 (หน้า 4)

(วันที� 8/6/2016)ตารางข้อมูลพื�นฐาน(Common Data Set)

ลําดับ ชื่อขอมูลพื้นฐาน ผลการดําเนินงาน

81 (สกอ.2.1) จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ แยกตามวุฒิปริญญา

หรือเทียบเทา

75

82 - -จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ วุฒิปริญญาตรีหรือเทียบเทา 2

83 - -จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ วุฒิปริญญาโทหรือเทียบเทา 18

84 - -จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ วุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา 55

85 (สกอ.2.2) รอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกปการศึกษาที่ผานมา (กรณีที่เลือกใช

เกณฑประเมินเปนคาการเพิ่มขึ้นของรอยละฯ)

0

86 (สกอ.2.3) จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดที่ดํารงตําแหนงอาจารย 39

87 - -จํานวนอาจารยประจํา (ที่ไมมีตําแหนงทางวิชาการ) ที่มีวุฒิปริญญาตรี หรือเทียบเทา 2

88 - -จํานวนอาจารยประจํา (ที่ไมมีตําแหนงทางวิชาการ) ที่มีวุฒิปริญญาโท หรือเทียบเทา 14

89 - -จํานวนอาจารยประจํา (ที่ไมมีตําแหนงทางวิชาการ) ที่มีวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเทา 23

90 (สกอ.2.3) จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดที่ดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารย 14

91 - -จํานวนอาจารยประจําตําแหนงผูชวยศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาตรี หรือเทียบเทา 0

92 - -จํานวนอาจารยประจําตําแหนงผูชวยศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาโท หรือเทียบเทา 2

93 - -จํานวนอาจารยประจําตําแหนงผูชวยศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเทา 12

94 (สกอ.2.3) จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดที่ดํารงตําแหนงรองศาสตราจารย 14

95 - -จํานวนอาจารยประจําตําแหนงรองศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาตรี หรือเทียบเทา 0

96 - -จํานวนอาจารยประจําตําแหนงรองศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาโท หรือเทียบเทา 2

97 - -จํานวนอาจารยประจําตําแหนงรองศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเทา 12

98 (สกอ.2.3) จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดที่ดํารงตําแหนงศาสตราจารย 2

99 - -จํานวนอาจารยประจําตําแหนงศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาตรี หรือเทียบเทา 0

100 - -จํานวนอาจารยประจําตําแหนงศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาโท หรือเทียบเทา 0

101 - -จํานวนอาจารยประจําตําแหนงศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเทา 2

102 (สกอ.2.3) รอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการของปที่ผานมา (กรณีที่เลือก

เกณฑประเมินเปนคาการเพิ่มขึ้นของรอยละฯ)

0

Page 180: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

ก-1 (หน้า 5)

(วันที� 8/6/2016)ตารางข้อมูลพื�นฐาน(Common Data Set)

ลําดับ ชื่อขอมูลพื้นฐาน ผลการดําเนินงาน

103 (สกอ.2.5 เกณฑขอที่ 1) จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (FTES) รวมทุกหลักสูตร 2368.11

104 - -ระดับอนุปริญญา 0

105 - -ระดับปริญญาตรี 2099.61

106 - -ระดับ ป.บัณฑิต 0

107 - -ระดับปริญญาโท 267.75

108 - -ระดับปริญญาเอก 0.75

109 (สกอ.2.5 เกณฑขอที่ 1) จํานวนเครื่องคอมพิวเตอรที่จัดบริการใหนักศึกษา 143

110 (สกอ.2.5 เกณฑขอที่ 1) จํานวน Notebook และ Mobile Device ตาง ๆ ของนักศึกษาที่มี

การลงทะเบียนการใช Wi-Fi กับสถาบัน

3936

111 (สกอ.2.5 เกณฑขอที่ 2) ผลการประเมินคุณภาพการใหบริการหองสมุดและแหลงเรียนรูอื่น ๆ

ผานระบบเครือขายคอมพิวเตอร และมีการฝกอบรมการใชงานแกนักศึกษา (คะแนนเต็ม 5)

3.83

112 (สกอ.2.5 เกณฑขอที่ 3) ผลการประเมินคุณภาพการใหบริการดานกายภาพที่เหมาะสมตอการ

จัดการเรียนการสอนและการพัฒนานักศึกษา อาทิ หองเรียน หองปฏิบัติการ อุปกรณการศึกษา

และจุดเชื่อมตออินเตอรเน็ตในระบบไรสาย (คะแนนเต็ม 5)

3.92

113 (สกอ.2.5 เกณฑขอที่ 4) ผลการประเมินคุณภาพในการใหบริการสิ่งอํานวยความสะดวกที่จําเปน

อื่น ๆ อาทิ งานทะเบียนนักศึกษาผานระบบเครือขายคอมพิวเตอร การบริการอนามัยและการ

รักษาพยาบาล การจัดการหรือจัดบริการดานอาหารและสนามกีฬา (คะแนนเต็ม 5)

3.79

114 (สกอ.2.5 เกณฑขอที่ 5) ผลการประเมินคุณภาพในการใหบริการสาธารณูปโภคและรักษาความ

ปลอดภัยของอาคารตลอดจนบริเวณโดยรอบ อาทิ ประปา ไฟฟา ระบบกําจัดของเสีย การ

จัดการขยะ รวมทั้งมีระบบและอุปกรณปองกันอัคคีภัยในบริเวณอาคารตาง ๆ โดยเปนไปตาม

กฎหมายที่เกี่ยวของ (คะแนนเต็ม 5)

3.88

115 (สกอ.2.6 เกณฑขอที่ 6) ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอคุณภาพการจัดการ

เรียนการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู (คะแนนเต็ม 5)

4.19

116 - -ระดับอนุปริญญา 0.00

117 - -ระดับปริญญาตรี 4.17

118 - -ระดับ ป.บัณฑิต 0.00

119 - -ระดับปริญญาโท 4.23

120 - -ระดับปริญญาเอก 4.56

121 (สมศ.1) จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีทั้งหมด 436

Page 181: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

ก-1 (หน้า 6)

(วันที� 8/6/2016)ตารางข้อมูลพื�นฐาน(Common Data Set)

ลําดับ ชื่อขอมูลพื้นฐาน ผลการดําเนินงาน

122 (สมศ.1) จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ตอบแบบสํารวจเรื่องการมีงานทํา 376

123 (สมศ.1) จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําหลังสําเร็จการศึกษา (ไมนับรวมผูที่ประกอบ

อาชีพอิสระ)

304

124 (สมศ.1) จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ประกอบอาชีพอิสระ 3

125 (สมศ.1) จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีงานทํากอนเขาศึกษา 0

126 (สมศ.1) จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่มีกิจการของตนเองที่มีรายไดประจําอยูแลว 0

127 (สมศ.1) จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ศึกษาตอระดับบัณฑิตศึกษา 0

128 (สมศ.1) จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่อุปสมบท 0

129 (สมศ.1) จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่เกณฑทหาร 0

130 (สมศ.1) เงินเดือนหรือรายไดตอเดือน ของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําหรือ

ประกอบอาชีพอิสระ (คาเฉลี่ย)

22276.92

131 (สมศ.2 และ สมศ.16.2) จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีทั้งหมด 436

132 (สมศ.2 และ สมศ.16.2) จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาโททั้งหมด 102

133 (สมศ.2 และ สมศ.16.2) จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาเอกทั้งหมด 0

134 (สมศ.2) จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดรับการประเมินคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

89

135 (สมศ.2) ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจางที่มีตอผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

ตรีตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5)

4.31

136 (สมศ.2) จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาโทที่ไดรับการประเมินคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

24

137 (สมศ.2) ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจางที่มีตอผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท

ตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5)

4.41

138 (สมศ.2) จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาเอกที่ไดรับการประเมินคุณภาพตามกรอบมาตรฐาน

คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

0

139 (สมศ.2) ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจางที่มีตอผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

เอกตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5)

n.a.

140 (สมศ.2) ผลรวมของคาคะแนนที่ไดจากการประเมินบัณฑิต ตามกรอบ TQF 489.70

141 (สมศ.2) จํานวนบัณฑิตที่ไดรับการประเมิน ตามกรอบ TQF ทั้งหมด 113

142 (สมศ.2) ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจางที่มีตอบัณฑิตระดับปริญญาตรี โท เอก

ตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5)

4.33

Page 182: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

ก-1 (หน้า 7)

(วันที� 8/6/2016)ตารางข้อมูลพื�นฐาน(Common Data Set)

ลําดับ ชื่อขอมูลพื้นฐาน ผลการดําเนินงาน

143 (สมศ.3) จํานวนรวมของบทความวิจัยที่เปนผลจากวิทยานิพนธ หรือบทความจากสารนิพนธ

หรือบทความจากศิลปนิพนธ [ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ที่ผานการ

กลั่นกรอง (peer review) โดยมีบุคคลภายนอกสถาบันรวมเปนกรรมการพิจารณาดวย]

83

144 (สมศ.3) - -จํานวนบทความวิจัยฯ (ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท) ที่มีการตีพิมพ

เผยแพรสูสาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง (คาน้ําหนัก 0.25)

76

145 (สมศ.3) - -จํานวนบทความวิจัยฯ (ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท) ที่ตีพิมพใน

รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ (proceedings) (คาน้ําหนัก 0.50)

2

146 (สมศ.3) - -จํานวนบทความวิจัยฯ (ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท) ที่ตีพิมพใน

รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (proceedings) หรือมีการตีพิมพใน

วารสารวิชาการระดับชาติ (คาน้ําหนัก 0.75)

5

147 (สมศ.3) - -จํานวนบทความวิจัยฯ (ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท) ที่ตีพิมพใน

วารสารวิชาการระดับนานาชาติ (คาน้ําหนัก 1.00)

0

148 (สมศ.3) จํานวนรวมของผลงานสรางสรรคจากศิลปนิพนธที่เผยแพร (ผลงานของผูสําเร็จ

การศึกษาระดับปริญญาโท)

0

149 (สมศ.3) - -จํานวนผลงานสรางสรรคจากศิลปนิพนธ (ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

โท) ที่ไดรับการเผยแพรระดับสถาบันหรือจังหวัด (คาน้ําหนัก 0.125)

0

150 (สมศ.3) - -จํานวนผลงานสรางสรรคจากศิลปนิพนธ (ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

โท) ที่ไดรับการเผยแพรระดับชาติ (คาน้ําหนัก 0.25)

0

151 (สมศ.3) - -จํานวนผลงานสรางสรรคจากศิลปนิพนธ (ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

โท) ที่ไดรับการเผยแพรระดับความรวมมือระหวางประเทศ (คาน้ําหนัก 0.50)

0

152 (สมศ.3) - -จํานวนผลงานสรางสรรคจากศิลปนิพนธ (ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

โท) ที่ไดรับการเผยแพรระดับภูมิภาคอาเซียน (คาน้ําหนัก 0.75)

0

153 (สมศ.3) - -จํานวนผลงานสรางสรรคจากศิลปนิพนธ (ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

โท) ที่ไดรับการเผยแพรระดับนานาชาติ (คาน้ําหนัก 1.00)

0

154 (สมศ.3) จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททั้งหมด (ปการศึกษาที่เปนวงรอบประเมิน) 108

155 (สมศ.4) จํานวนรวมของบทความวิจัยจากวิทยานิพนธ ที่ตีพิมพเผยแพร (ผลงานของผูสําเร็จ

การศึกษาระดับปริญญาเอก)

0

Page 183: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

ก-1 (หน้า 8)

(วันที� 8/6/2016)ตารางข้อมูลพื�นฐาน(Common Data Set)

ลําดับ ชื่อขอมูลพื้นฐาน ผลการดําเนินงาน

156 (สมศ.4) - -จํานวนบทความวิจัยฯ (ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก) ที่ตีพิมพใน

รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ/ระดับนานาชาติ หรือตีพิมพใน

วารสารวิชาการที่ปรากฎในฐานขอมูล TCI (คาน้ําหนัก 0.25)

0

157 (สมศ.4) - -จํานวนบทความวิจัยฯ (ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก) ที่ตีพิมพใน

วารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฎในประกาศของ สมศ. (คาน้ําหนัก 0.50)

0

158 (สมศ.4) - -จํานวนบทความวิจัยฯ (ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก) ที่ตีพิมพใน

วารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฎในประกาศของ สมศ. (คาน้ําหนัก 0.75)

0

159 (สมศ.4) - -จํานวนบทความวิจัยฯ (ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก) ที่ตีพิมพใน

วารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฎในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank:

www.scimagojr.com) หรือ ISI หรือ Scopus (คาน้ําหนัก 1.00)

0

160 (สมศ.4) จํานวนรวมของผลงานสรางสรรคจากศิลปนิพนธที่เผยแพร (ผลงานของผูสําเร็จ

การศึกษาระดับปริญญาเอก)

0

161 (สมศ.4) - -จํานวนผลงานสรางสรรคจากศิลปนิพน (ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

เอก) ที่ไดรับการเผยแพรระดับสถาบันหรือจังหวัด (คาน้ําหนัก 0.125)

0

162 (สมศ.4) - -จํานวนผลงานสรางสรรคจากศิลปนิพน (ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

เอก) ที่ไดรับการเผยแพรระดับชาติ (คาน้ําหนัก 0.25)

0

163 (สมศ.4) - -จํานวนผลงานสรางสรรคจากศิลปนิพน (ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

เอก) ที่ไดรับการเผยแพรระดับความรวมมือระหวางประเทศ (คาน้ําหนัก 0.50)

0

164 (สมศ.4) - -จํานวนผลงานสรางสรรคจากศิลปนิพน (ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

เอก) ที่ไดรับการเผยแพรระดับภูมิภาคอาเซียน (คาน้ําหนัก 0.75)

0

165 (สมศ.4) - -จํานวนผลงานสรางสรรคจากศิลปนิพน (ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

เอก) ที่ไดรับการเผยแพรระดับนานาชาติ (คาน้ําหนัก 1.00)

0

166 (สมศ.4) - -จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทั้งหมด (ปการศึกษาที่เปนวงรอบประเมิน) 1

167 (มธ.1) จํานวนนักศึกษาตางชาติ 13

168 - -ระดับอนุปริญญา 0

169 - -ระดับปริญญาตรี 5

170 - -ระดับ ป.บัณฑิต 0

Page 184: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

ก-1 (หน้า 9)

(วันที� 8/6/2016)ตารางข้อมูลพื�นฐาน(Common Data Set)

ลําดับ ชื่อขอมูลพื้นฐาน ผลการดําเนินงาน

171 - -ระดับปริญญาโท 6

172 - -ระดับปริญญาเอก 2

173 (มธ.1) จํานวนนักศึกษาทั้งหมด 2129

174 - -ระดับอนุปริญญา 0

175 - -ระดับปริญญาตรี 1755

176 - -ระดับ ป.บัณฑิต 0

177 - -ระดับปริญญาโท 368

178 - -ระดับปริญญาเอก 6

179 (มธ.2) ผลรวมจํานวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนที่สงออก 99

180 (มธ.2) - -จํานวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนที่สงออก ตั้งแต 1 วัน - 7 วัน (คาน้ําหนัก 0.25) 0

181 (มธ.2) - -จํานวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนที่สงออก ตั้งแต 8 วัน - นอยกวา 1 เดือน (คาน้ําหนัก 0.50) 0

182 (มธ.2) - -จํานวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนที่สงออก ตั้งแต 1 เดือน - นอกวา 3 เดือน (คาน้ําหนัก

0.75)

1

183 (มธ.2) - -จํานวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนที่สงออก ตั้งแต 3 เดือนขึ้นไป (คาน้ําหนัก 1.00) 98

184 (มธ.2) ผลรวมจํานวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนที่รับเขา 39

185 (มธ.2) - -จํานวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนที่รับเขา ตั้งแต 1 วัน - 7 วัน (คาน้ําหนัก 0.25) 0

186 (มธ.2) - -จํานวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนที่รับเขา ตั้งแต 8 วัน - นอยกวา 1 เดือน (คาน้ําหนัก 0.50) 0

187 (มธ.2) - -จํานวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนที่รับเขา ตั้งแต 1 เดือน - นอกวา 3 เดือน (คาน้ําหนัก

0.75)

0

188 (มธ.2) - -จํานวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนที่รับเขา ตั้งแต 3 เดือนขึ้นไป (คาน้ําหนัก 1.00) 39

189 (มธ.3) จํานวนอาจารยชาวตางชาติ 13

190 (มธ.4) ผลรวมจํานวนอาจารยแลกเปลี่ยนที่สงออก 9

191 (มธ.4) - -จํานวนอาจารยแลกเปลี่ยนที่สงออก ตั้งแต 1 วัน - 7 วัน (คาน้ําหนัก 0.25) 8

192 (มธ.4) - -จํานวนอาจารยแลกเปลี่ยนที่สงออก ตั้งแต 8 วัน - นอยกวา 1 เดือน (คาน้ําหนัก 0.50) 1

193 (มธ.4) - -จํานวนอาจารยแลกเปลี่ยนที่สงออก ตั้งแต 1 เดือน - นอยกวา 3 เดือน (คาน้ําหนัก

0.75)

0

194 (มธ.4) - -จํานวนอาจารยแลกเปลี่ยนที่สงออก ตั้งแต 3 เดือนขึ้นไป (คาน้ําหนัก 1.00) 0

195 (มธ.4) ผลรวมจํานวนอาจารยแลกเปลี่ยนที่รับเขา 1

196 (มธ.4) - -จํานวนอาจารยแลกเปลี่ยนที่รับเขา ตั้งแต 1 วัน - 7 วัน (คาน้ําหนัก 0.25) 0

Page 185: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

ก-1 (หน้า 10)

(วันที� 8/6/2016)ตารางข้อมูลพื�นฐาน(Common Data Set)

ลําดับ ชื่อขอมูลพื้นฐาน ผลการดําเนินงาน

197 (มธ.4) - -จํานวนอาจารยแลกเปลี่ยนที่รับเขา ตั้งแต 8 วัน - นอยกวา 1 เดือน (คาน้ําหนัก 0.50) 0

198 (มธ.4) - -จํานวนอาจารยแลกเปลี่ยนที่รับเขา ตั้งแต 1 เดือน - นอยกวา 3 เดือน (คาน้ําหนัก

0.75)

0

199 (มธ.4) - -จํานวนอาจารยแลกเปลี่ยนที่รับเขา ตั้งแต 3 เดือนขึ้นไป (คาน้ําหนัก 1.00) 1

200 (มธ.5) จํานวนวิทยานิพนธและงานวิชาการของนักศึกษาที่ไดรับรางวัลระดับชาติ (คาน้ําหนัก

0.50)

7

201 (มธ.5) จํานวนวิทยานิพนธและงานวิชาการของนักศึกษาที่ไดรับรางวัลระดับนานาชาติ (คา

น้ําหนัก 1.00)

2

องคประกอบที่ 3

202 (สกอ.3.1 เกณฑขอที่ 1) ผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการใหคําปรึกษาทางวิชาการและ

แนะแนวการใชชีวิตแกนักศึกษา (คะแนนเต็ม 5)

3.85

203 (สกอ.3.1 เกณฑขอที่ 2) ผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการขอมูลขาวสารที่เปน

ประโยชนตอนักศึกษา (คะแนนเต็ม 5)

3.86

204 (สกอ.3.1 เกณฑขอที่ 3) ผลการประเมินคุณภาพของการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณ

ทางวิชาการและวิชาชีพแกนักศึกษา (คะแนนเต็ม 5)

3.76

205 (มธ.7) จํานวนกิจกรรมจิตอาสา

206 (มธ.7) จํานวนกิจกรรมนักศึกษาทั้งหมด

องคประกอบที่ 4

207 (สกอ.4.1 เกณฑขอที่ 3) จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจําที่ไดรับการพัฒนาศักยภาพ

ดานงานวิจัยหรืองานสรางสรรค

24

208 (สกอ.4.1 เกณฑขอที่ 3) จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจําที่ไดรับการพัฒนาศักยภาพ

ดานจรรยาบรรณการวิจัย

0

209 (สกอ.4.2 เกณฑขอที่ 6) จํานวนผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่มีการยื่นการจดทะเบียน

สิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร

0

210 (สกอ.4.3) จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในสถาบัน 812200

211 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 0

212 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ 0

213 - -กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 812200

214 (สกอ.4.3) จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายนอกสถาบัน 62885026.52

215 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 0

216 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ 0

Page 186: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

ก-1 (หน้า 11)

(วันที� 8/6/2016)ตารางข้อมูลพื�นฐาน(Common Data Set)

ลําดับ ชื่อขอมูลพื้นฐาน ผลการดําเนินงาน

217 - -กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 62885026.52

218 (สกอ.4.3) จํานวนอาจารยประจําที่ปฏิบัติงานจริง (ไมนับรวมผูลาศึกษาตอ) 65

219 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 0

220 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ 0

221 - -กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 65

222 (สกอ.4.3) จํานวนนักวิจัยประจําที่ปฏิบัติงานจริง (ไมนับรวมผูลาศึกษาตอ) 3

223 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 0

224 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ 0

225 - -กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 3

226 (สกอ.4.3) จํานวนอาจารยประจําที่ลาศึกษาตอ 10

227 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 0

228 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ 0

229 - -กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 10

230 (สกอ.4.3) จํานวนนักวิจัยประจําที่ลาศึกษาตอ 0

231 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 0

232 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ 0

233 - -กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 0

234 (สมศ.5) จํานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาต/ิ

ระดับนานาชาติ หรือตีพิมพในวารสารวิชาการที่ปรากฎในฐานขอมูล TCI (คาน้ําหนัก 0.25)

2

235 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 0

236 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ 0

237 - -กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 2

238 (สมศ.5) จํานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฎอยูใน

ประกาศของ สมศ. (คาน้ําหนัก 0.50)

4

239 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 0

240 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ 0

241 - -กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 4

242 (สมศ.5) จํานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฎอยูใน

ประกาศของ สมศ. (คาน้ําหนัก 0.75)

0

243 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 0

244 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ 0

Page 187: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

ก-1 (หน้า 12)

(วันที� 8/6/2016)ตารางข้อมูลพื�นฐาน(Common Data Set)

ลําดับ ชื่อขอมูลพื้นฐาน ผลการดําเนินงาน

245 - -กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 0

246 (สมศ.5) จํานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฎในฐานขอมูลการจัด

อันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank: www.scimagojr.com) หรือ ISI หรือ Scopus

(คาน้ําหนัก 1.00)

9

247 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 0

248 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ 0

249 - -กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 9

250 (สมศ.5) จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับสถาบันหรือจังหวัด (ผลงานของ

อาจารยประจําและนักวิจัยประจํา) (คาน้ําหนัก 0.125)

0

251 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 0

252 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ 0

253 - -กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 0

254 (สมศ.5) จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับชาติ (ผลงานของอาจารยประจํา

และนักวิจัยประจํา) (คาน้ําหนัก 0.25)

0

255 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 0

256 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ 0

257 - -กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 0

258 (สมศ.5) จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ

(ผลงานของอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา) (คาน้ําหนัก 0.50)

0

259 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 0

260 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ 0

261 - -กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 0

262 (สมศ.5) จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน (ผลงานของ

อาจารยประจําและนักวิจัยประจํา) (คาน้ําหนัก 0.75)

0

263 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 0

264 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ 0

265 - -กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 0

266 (สมศ.5) จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับนานาชาติ (ผลงานของอาจารย

ประจําและนักวิจัยประจํา) (คาน้ําหนัก 1.00)

0

267 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 0

268 - -กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ 0

269 - -กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 0

Page 188: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

ก-1 (หน้า 13)

(วันที� 8/6/2016)ตารางข้อมูลพื�นฐาน(Common Data Set)

ลําดับ ชื่อขอมูลพื้นฐาน ผลการดําเนินงาน

270 (สมศ.6) จํานวนรวมของผลงานวิจัยที่นําไปใชประโยชน 8

271 (สมศ.6) จํานวนรวมของผลงานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน 0

272 (สมศ.7) จํานวนของผลงานวิชาการที่ไดรับการรับรองคุณภาพ 12

273 (สมศ.7) - -บทความวิชาการที่ไดรับการตีพิมพในวารสารระดับชาติ (คาน้ําหนัก 0.25) 2

274 (สมศ.7) - -บทความวิชาการที่ไดรับการตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติ (คาน้ําหนัก 0.50) 0

275 (สมศ.7) - -ตําราหรือหนังสือที่มีการประเมินผานตามเกณฑโดยผูทรงคุณวุฒิที่สถาศึกษากําหนด

(ผลงานจะตองเกินรอยละ 50 ของชิ้นงาน) (คาน้ําหนัก 0.75)

5

276 (สมศ.7) - -ตําราหรือหนังสือที่ใชในการขอผลงานทางวิชาการและผานการพิจารณาตามเกณฑ

การขอตําแหนงทางวิชาการแลว หรือตําราหรือหนังสือที่มีคุณภาพสูงมีผูทรงคุณวุฒิตรวจอาน

ตามเกณฑขอตําแหนงทางวิชาการ (ผลงานจะตองเกินรอยละ 50 ของชิ้นงาน (คาน้ําหนัก 1.00)

5

277 (มธ.8) บทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (Citation) ในฐานขอมูล Scopus 15

278 (มธ.8) บทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (Citation) ในฐานขอมูล Web of Science 0

279 (มธ.8) บทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (Citation) ในฐานขอมูล Scopus และ Web of Science 13

280 (มธ.9) จํานวนงานวิจัย บทความวิชาการ สิ่งประดิษฐของอาจารยและนักวิจัยที่ไดรับรางวัล

ระดับชาติ (คาน้ําหนัก 0.50)

2

281 (มธ.9) จํานวนงานวิจัย บทความวิชาการ สิ่งประดิษฐของอาจารยและนักวิจัยที่ไดรับรางวัล

ระดับนานาชาติ (คาน้ําหนัก 1.00)

1

องคประกอบที่ 5

282 (สมศ.8) จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการตามแผนที่สภาสถาบันอนุมัติ 2

283 (สมศ.8) จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการ ที่นํามาใชในการพัฒนาเฉพาะการเรียนการ

สอน

0

284 (สมศ.8) จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการ ที่นํามาใชในการพัฒนาเฉพาะการวิจัย 0

285 (สมศ.8) จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการ ที่นํามาใชในการพัฒนา ทั้งการเรียนการสอน

และการวิจัย

2

องคประกอบที่ 6

286 (สมศ.11 เกณฑขอที่ 5) ระดับความพึงพอใจของบุคลากรและนักศึกษาที่เกี่ยวกับประเด็น 1-4

ไมต่ํากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

3.76

องคประกอบที่ 7

Page 189: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

ก-1 (หน้า 14)

(วันที� 8/6/2016)ตารางข้อมูลพื�นฐาน(Common Data Set)

ลําดับ ชื่อขอมูลพื้นฐาน ผลการดําเนินงาน

287 (สมศ.13) คะแนนการประเมินผลผูบริหารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแตงตั้ง (คะแนนเต็ม 5) 4.65

องคประกอบที่ 97

288 (สมศ.16.1 เกณฑขอที่ 3) ผลการประเมินความเห็นของบุคลากร เกี่ยวกับการปฏิบัติงานของ

สถาบันที่สอดคลองกับอัตลักษณ (คะแนนเต็ม 5)

3.67

289 (สมศ.16.2) จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดรับการประเมินคุณลักษณะตามอัตลักษณ 89

290 (สมศ.16.2) คาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ

(คะแนนเต็ม 5)

4.37

291 (สมศ.16.2) จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาโทที่ไดรับการประเมินคุณลักษณะตามอัตลักษณ 24

292 (สมศ.16.2) จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาโทที่ไดรับการประเมินคุณลักษณะตามอัตลักษณ

(คะแนนเต็ม 5)

4.49

293 (สมศ.16.2) จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาเอกที่ไดรับการประเมินคุณลักษณะตามอัตลักษณ 0

294 (สมศ.16.2) คาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตระดับปริญญาเอกที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ

(คะแนนเต็ม 5)

n.a.

295 (สมศ.16.2) ผลรวมของคาคะแนนที่ไดจากการประเมินบัณฑิตที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ 496.50

296 (สมศ.16.2) จํานวนบัณฑิตที่ไดรับการประเมินคุณลักษณะตามอัตลักษณทั้งหมด 113

297 (สมศ.16.2) คาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ (คะแนนเต็ม 5) 4.39

298 (สมศ.17 เกณฑขอที่ 3) ผลการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรที่เกี่ยวกับการดําเนินการตาม

จุดเนน และจุดเดน หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของสถานศึกษา (คะแนนเต็ม 5)

3.59

Page 190: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

ง–1

กําหนดการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน คณะเศรษฐศาสตร ประจําปการศึกษา 2556

วันจันทรท่ี 8 – วันอังคารท่ี 9 กันยายน 2557

ณ หองประชุม ศ.424Y (หองประชุมปวย อ๊ึงภากรณ) คณะเศรษฐศาสตร ช้ัน 4

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต

วันจันทรท่ี 8 กันยายน 2557

08.00–08.30 น. ผูบริหารคณะรวมตอนรับคณะกรรมการประเมินคุณภาพ

08.30–09.00 น. - คณะกรรมการประเมินคุณภาพประชุมเพ่ือทําความเขาใจรวมกันในวิธีการประเมิน และการแบงหนาท่ี

รวมท้ังการวิเคราะห SAR เพ่ือสรุปประเด็น ขอสังเกต กําหนดคําถามเบื้องตน

1. รองศาสตราจารย ดร.สาโรช อังสุมาลิน ประธานกรรมการ

(ภาควิชาการสหกรณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร)

2. อาจารยศุภวิทย ถาวรบุตร กรรมการ

(คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร)

3. รองศาสตราจารย ดร.ไพโชค ปญจะ กรรมการ

(คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร)

4. รองศาสตราจารย แพทยหญิง นงลักษณ คณิตทรัพย กรรมการ

(ผูชวยรองคณบดีฝายวิชาการ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร)

5. อาจารย ดร.สันทณี เครือขอน กรรมการ

(คณะสหเวชศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร)

6. นายปกรณ จรัสพนาวสาน เลขานุการ

(เจาหนาท่ีบริหารงานท่ัวไป คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร)

7. นางสาวอัญชสา แกวเกา ผูชวยเลขานุการ

(นักวิชาการศึกษา กองสงเสริมมาตรฐานและประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร)

9.00–10.30 น. คณะกรรมการฯ ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน

10.30–11.00 น. คณะกรรมการฯ พบผูบริหารคณะเศรษฐศาสตร

- ประธานคณะกรรมการฯ แนะนําคณะกรรมการฯ และชี้แจงวัตถุประสงค หลักการ แนวทาง

และวิธีการประเมินคุณภาพ/ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

- ผูบริหารสรุปผลดําเนินงาน ปการศึกษา 2556

(ภาพรวม จุดเดน วิธีปฏิบัติท่ีดี จุดท่ีควรพัฒนา แผนและเปาหมายการพัฒนาในปตอไป)

11.00–12.00 น. สัมภาษณผูบริหารคณะ ณ หอง ศ.424Y

12.00–13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน ณ หองรับรองชั้น 4

Page 191: รายงานการประเมินตนเอง ป ... · 2016-06-22 · รายงานผลการประเมินคุณภาพ ในตารางที่

13.00–13.30 น. 1. สัมภาษณอาจารย หอง ศ.429Y

- ผูชวยศาสตาจารยสิทธิกร นิพภยะ

- อาจารย ดร.ธีรวุฒิ ศรีพินิจ

2. สัมภาษณนักศึกษา หอง ศ.430Y

- นายวิจิร ผสมทรัพย (มารค) ชั้นปท่ี 4 (ประธาน กนศ.ศ. ป 2556)

- นางสาวชุลี กอบวิทยาวงศ (เชอรี่) ชั้นปท่ี 3 (ประธาน กนศ.ศ. ป 2557)

- นายโยธิน กิตติธร (โย) ชัน้ปท่ี 2 (รองประธาน กนศ.ศ. ป 2557)

13.30–14.00 น. 1. สัมภาษณบุคลากร ณ หอง ศ.429Y

- นางสาวจริยา สตาเจริญ เจาหนาท่ีบริหารงานท่ัวไป

- นางภัชรินทร ตะวัน เจาหนาท่ีบริหารงานท่ัวไป

2. สัมภาษณผูใชบัณฑิต (สัมภาษณทางโทรศัพท 02 6868332) ณ หอง ศ.430Y

- ดร.กิริฎา เภาพิจิตร

นักเศรษฐศาสตรอาวุโสประจําประเทศไทย ธนาคารโลก

14.00–16.00 น. - คณะกรรมการฯ ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน (เพ่ิมเติม)

- คณะกรรมการฯ ประชุมสรุปผลท่ีไดจาการตรวจเยี่ยมวันแรก

วันอังคารท่ี 9 กันยายน 2557

08.30–09.30 น. คณะกรรมการฯ เยี่ยมชมสถานท่ี / ปจจัยเก้ือหนุน / สังเกตการณการเรียนการสอน

- หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร คณะเศรษฐศาสตร ชั้น 2

- พ้ืนท่ีคอมมอนรูม คณะเศรษฐศาสตร ชั้น 1

09.30–11.00 น. คณะกรรมการฯ ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน เพ่ิมเติม

11.00–12.00 น. คณะกรรมการฯ ประชุมพิจารณาผลการประเมินคุณภาพการศึกษา (ป.1-ป.5)

12.00–13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

13.00–15.30 น. - คณะกรรมการฯ ประชุมพิจารณาผลการประเมินคุณภาพการศึกษา

(จุดแข็ง จุดออน และแนวทางการพัฒนา)

- คณะกรรมการฯ จัดทํารางรายงานการประเมินคุณภาพการศึกษา

15.30–16.30 น. รายงานผลการประเมินการศึกษาการศึกษาข้ันตนดวยวาจา

หมายเหตุ: - พักรับประทานอาหารวางชวงเชา เวลา 09.15 น. และชวงบายเวลา 15.00 น.

- หองทํางานของคณะกรรมการประเมิน หอง ศ.431Y