3
บทสรุปผู้บริหาร โครงการการส่งเสริมการตลาดและช่องทางการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหม หลักการและเหตุผล ตามที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ได้เข้าร่วมในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจาก พระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) และคณะดาเนินงานได้จัดทาแผนแม่บท โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ระยะ 5ปีท่ห้า(ตุลาคม พ.. 2554 กันยายน พ.. 2559) ซึ่งแผนแม่บทอพ.สธ ระยะ 5 ปี ปีท5 นี้ มีลักษณะเป็นแผนยุทธศาสตร์ชี้นาการดาเนินงานอนุรักษ์พันธุกรรมพืชระยะ 5 ปี โดยมีกรอบ แนวคิดทิศทางการดาเนินงานเพื่อสนองพระราชดาริในการอนุรักษ์ทรัพยากรของประเทศไม่เฉพาะทรัพยากร พันธุกรรมพืชอย่างเดียวแต่หมายถึงทรัพยากร 3ฐานทรัพยากร ได้แก่ ทรัพยากรชีวภาพ ทรัพยากรกายภาพ และ ทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ด้วยจังหวัดสุรินทร์เป็นจังหวัดหนึ่งที่มีวัฒนธรรมการทอผ้าไหม และได้สืบทอดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมมา นาน จนเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง แหล่งผลิตผ้าไหมของจังหวัดสุรินทร์จึงมีเกือบทุกหมู่บ้าน โดย ปัจจุบันได้มีการ ส่งเสริมการผลิตผ้าไหม และผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหม เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ผู้ผลิตนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้นของประชากรในจังหวัดสุรินทร์ แต่ยังคงมีปัญหาในเรื่องการส่งเสริมทางการตลาด และช่องทางในการจัด จาหน่ายผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหมดังนั้นสาขาวิชาการตลาด คณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ จึงได้นาเสนอโครงการ การส่งเสริมการตลาดและช่องทางการจัดจาน่ายผลิตภัณฑ์จาก หม่อนไหม ซึ่งเป็นหนึ่งในทรัพยากร 3 ฐาน ทางด้านทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญาเพื่อส่งเสริมการจัดจาหน่าย ผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหม และการส่งเสริมการตลาดในผ้าไหมสุรินทร์ เป็นที่รู้จักกันกว้างขวางมากขึ้น และจะ นาไปสู่การเพิ่มรายได้สาหรับผู้ผลิตต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นช่องทางในการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหม 2. เพื่อส่งเสริมให้ผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหมของจังหวัดสุรินทร์เป็นที่รู้จักแพร่หลาย 3. เพื่อเพิ่มรายได้และนาไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหม การดาเนินงานและผลการดาเนินงาน ผลการดาเนินงานในปีงบประมาณ 255 9การดาเนินงานโครงการ การส่งเสริมการตลาดและช่องทางการ จัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหมเป็นการอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยวิทยากรและระดมความคิดจากกลุ่มผู้ผลิตผ้า ไหมและผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหม เกี่ยวกับการดาเนินงานทางกาตลาดของกลุ่ม เพื่อร่วมกันพัฒนากาหนดกลยุทธ์ การส่งเสริมการตลาดให้ตรงกับกลุ่มเป่าหมาย พัฒนาช่องทางในการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ และส่งเสริมให้ใช้ระบบ ออนไลน์ เว็บไซต์และโซเซียลเน็ตเวิร์กเพื่อการตลาด และศึกษา ดูงานที่หมู่บ้านท่องเที่ยวไหม บ้านหนองตาไก้ ต. หนองกง อ.นางรอง จ.บุรีรัมย์ และหมู่บ้านท่องเที่ยววัฒนธรรมไหม รับอาเซียนแห่งแรกของประเทศไทย บ้าน สนวนนอก ต.สนวน อ.ห้วยราช จ.บุรีรัมย์ซึ่งได้รับความสนใจจากกลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหมในเขตจังหวัด สุรินทร์ 40คนและจากแบบประเมินผลโครงการฯจานวน 40 ฉบับพบว่าผู้เข้ารับ การอบรมมีความพึงพอใจโครงการ ในภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 85.2 ซึ่งจัดอยู่ในเกณฑ์มากที่สุดเมื่อแยกแต่ละด้านพบว่าส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ ด้าน การถ่ายทอดของวิทยากรมีความชัดเจน และแสดงความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.63, S. D. = 0.49) รองลงมาความสามารถในการอธิบายเนื้อหาอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.55, S. D. = 0.59) และสถานที่มีความ เหมาะสมยู่ในระดับมากที่สุด(X = 4.50, S. D. = 0.51) สรุปผลการดาเนินงานตามเป้าหมาย

บทสรุปผู้บริหาร โครงการการส่งเสริมการตลาดและช่องทางการจัดจ ...af.surin.rmuti.ac.th/pgcp/pdf/2559

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทสรุปผู้บริหาร โครงการการส่งเสริมการตลาดและช่องทางการจัดจ ...af.surin.rmuti.ac.th/pgcp/pdf/2559

บทสรุปผู้บริหาร โครงการการส่งเสริมการตลาดและช่องทางการจัดจ าหน่ายผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหม

หลักการและเหตุผล

ตามท่ีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ได้เข้าร่วมในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชด าริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) และคณะด าเนินงานได้จัดท าแผนแม่บทโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ระยะ 5ปีที่ห้า(ตุลาคม พ.ศ. 2554 – กันยายน พ.ศ. 2559) ซึ่งแผนแม่บทอพ.สธ ระยะ 5 ปี ปีที่5 นี้ มีลักษณะเป็นแผนยุทธศาสตร์ชี้น าการด าเนินงานอนุรักษ์พันธุกรรมพืชระยะ 5 ปี โดยมีกรอบแนวคิดทิศทางการด าเนินงานเพ่ือสนองพระราชด าริในการอนุรักษ์ทรัพยากรของประเทศไม่เฉพาะทรัพยากรพันธุกรรมพืชอย่างเดียวแต่หมายถึงทรัพยากร 3ฐานทรัพยากร ได้แก่ ทรัพยากรชีวภาพ ทรัพยากรกายภาพ และ ทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา

ด้วยจังหวัดสุรินทร์เป็นจังหวัดหนึ่งที่มีวัฒนธรรมการทอผ้าไหม และได้สืบทอดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมมานาน จนเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง แหล่งผลิตผ้าไหมของจังหวัดสุรินทร์จึงมีเกือบทุกหมู่บ้าน โดย ปัจจุบันได้มีการส่งเสริมการผลิตผ้าไหม และผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหม เพ่ือเพ่ิมรายได้ให้แก่ผู้ผลิตน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชากรในจังหวัดสุรินทร์ แต่ยังคงมีปัญหาในเรื่องการส่งเสริมทางการตลาด และช่องทางในการจัดจ าหน่ายผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหมดังนั้นสาขาวิชาการตลาด คณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ จึงได้น าเสนอโครงการ การส่งเสริมการตลาดและช่องทางการจัดจ าน่ายผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหม ซึ่งเป็นหนึ่งในทรัพยากร 3 ฐาน ทางด้านทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา เพื่อส่งเสริมการจัดจ าหน่ายผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหม และการส่งเสริมการตลาดในผ้าไหมสุรินทร์ เป็นที่รู้จักกันกว้างขวางมากขึ้น และจะน าไปสู่การเพ่ิมรายได้ส าหรับผู้ผลิตต่อไป

วัตถุประสงค ์1. เพ่ือเป็นช่องทางในการจัดจ าหน่ายผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหม

2. เพ่ือส่งเสริมให้ผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหมของจังหวัดสุรินทร์เป็นที่รู้จักแพร่หลาย 3. เพ่ือเพ่ิมรายได้และน าไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีข้ึนของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหม

การด าเนินงานและผลการด าเนินงาน ผลการด าเนินงานในปีงบประมาณ 255 9การด าเนินงานโครงการ การส่งเสริมการตลาดและช่องทางการ

จัดจ าหน่ายผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหมเป็นการอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยวิทยากรและระดมความคิดจากกลุ่มผู้ผลิตผ้าไหมและผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหม เกี่ยวกับการด าเนินงานทางกาตลาดของกลุ่ม เพ่ือร่วมกันพัฒนาก าหนดกลยุทธ์การส่งเสริมการตลาดให้ตรงกับกลุ่มเป่าหมาย พัฒนาช่องทางในการจัดจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ และส่งเสริมให้ใช้ระบบออนไลน์ เว็บไซต์และโซเซียลเน็ตเวิร์กเพ่ือการตลาด และศึกษา ดูงานที่หมู่บ้านท่องเที่ยวไหม บ้านหนองตาไก้ ต.หนองกง อ.นางรอง จ.บุรีรัมย์ และหมู่บ้านท่องเที่ยววัฒนธรรมไหม รับอาเซียนแห่งแรกของประเทศไทย บ้านสนวนนอก ต.สนวน อ.ห้วยราช จ.บุรีรัมย์ซึ่งได้รับความสนใจจากกลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหมในเขตจังหวัดสุรินทร์40คนและจากแบบประเมินผลโครงการฯจ านวน 40 ฉบับพบว่าผู้เข้ารับ การอบรมมีความพึงพอใจโครงการในภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 85.2 ซึ่งจัดอยู่ในเกณฑ์มากที่สุดเมื่อแยกแต่ละด้านพบว่าส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ ด้านการถ่ายทอดของวิทยากรมีความชัดเจน และแสดงความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (X = 4.63, S. D. = 0.49)

รองลงมาความสามารถในการอธิบายเนื้อหาอยู่ในระดับมากที่สุด (X = 4.55, S. D.= 0.59) และสถานที่มีความเหมาะสมยู่ในระดับมากที่สุด(X = 4.50, S. D. = 0.51) สรุปผลการด าเนินงานตามเป้าหมาย

Page 2: บทสรุปผู้บริหาร โครงการการส่งเสริมการตลาดและช่องทางการจัดจ ...af.surin.rmuti.ac.th/pgcp/pdf/2559

ตัวช้ีวัด หน่วยนับ แผน ผล ค าชี้แจงเหตุผล กรณี แผน

กับผลต่างกัน เชิงปริมาณ: -จ านวนผู้เข้าร่วมโครงการ คน 40 40 เชิงคุณภาพ: -ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 75 85.2 เชิงเวลา: -โครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่ก าหนด ร้อยละ 75 100 เชิงต้นทุน: -ค่าใช้จ่ายการผลิตตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร

บาท 155,300 132,720 คืนเงินตามสัญญายืมเงินเลขที่ 55/59 จ านวน 13,580 บาท และสัญญายืมเงินเลขที่ 552/59 จ านวนเงิน 9,000 บาท

Page 3: บทสรุปผู้บริหาร โครงการการส่งเสริมการตลาดและช่องทางการจัดจ ...af.surin.rmuti.ac.th/pgcp/pdf/2559

ภาพกิจกรรม