459
แผนติดตามและประเมินผลโครงการสาคัญ ตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.. ๒๕๕๖ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข

แผนติดตามและประเมินผลโครงกา ...bps.moph.go.th/.../files/Monitoring_and_Evaluation2556.pdf · 2016-02-08 · แผนติดตามและประเมินผลโครงการส

  • Upload
    others

  • View
    16

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • แผนติดตามและประเมินผลโครงการส าคัญ ตามนโยบายและยุทธศาสตรข์องกระทรวงสาธารณสุข

    ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖

    ส านักนโยบายและยุทธศาสตร ์กระทรวงสาธารณสุข

  • If you do not measure results, You cannot tell success from failure. If you cannot see success, You cannot reward it.

    If you cannot reward success, You are probably rewarding failure. If you cannot see success, You cannot learn from it.

    If you cannot recognize failure, You cannot correct it. If you can demonstrate results, You can win public support.

  • แผนติดตามและประเมินผลโครงการส าคัญ ตามนโยบายและยุทธศาสตรข์องกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖

    ที่ปรึกษา นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพัฒน์...............ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์โสภณ เมฆธน.........................รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์สุวัฒน์ กิตติดิลกกุล..................ผู้อ านวยการส านักนโยบายและยุทธศาสตร์ บรรณาธิการ นางสาวสุกัลยา คงสวัสดิ์.............................ผู้อ านวยการกลุ่มภารกิจด้านประเมินผล

    นางร าไพ แก้ววิเชียร...................................นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการ นางสาวอรปรียา สุดสวาท...........................นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ นางสาวกรรณิกา ด่านประสิทธิ์พร...............นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ นางสาวตรีทิพ กลั่นแก้ว..............................นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นายคมเดช ชัยศร........................................นักวิเคราะห์นโยบายและแผน

    หน่วยงานจัดท ารายละเอียดโครงการส าคัญ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข หน่วยงานในก ากับของกระทรวงสาธารณสุข รัฐวิสาหกิจ (องค์การเภสัชกรรม) ออกแบบปก นายไตรโชค ธรรมเสน่ห์

  • ค าน า

    ระบบติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน ตามนโยบายและยุทธศาสตร์ ด้านสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ในปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ได้ก าหนดกรอบการติดตามและประเมินผลภายใต้กรอบนโยบายหลักของกระทรวงสาธารณสุข ๙ ข้อ และแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุขซึ่งประกอบด้วย ๖ เป้าหมายการให้บริการกระทรวง ๘ ยุทธศาสตร์กระทรวง โดยกรอบแนวคิดการติดตามและประเมินผลของกระทรวงสาธารณสุข ยึดหลักการส าคัญ ๓ ประเด็น ประกอบด้วย

    ๑. หลักการกระจายอ านาจ สนับสนุนให้ใช้กลไกการบริหารงาน ซึ่งมีหัวหน้ากลุ่มภารกิจ (รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข) และอธิบดี เป็นผู้มีอ านาจและ บทบาทอย่างเต็มที่ในการบริหารกลยุทธ์และรับผิดชอบติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน ตามกลยุทธ์ที่ตนรับผิดชอบ

    ๒. หลักการบูรณาการ ตามภาระความรับผิดชอบของหน่วยงาน ตั้งแต่ระดับกรม ระดับกระทรวงและระดับชาติ

    ๓. หลักการน าส่งผลผลิต ให้เชื่อมโยงทุกระดับและสามารถสะท้อนผลส าเร็จตั้งแต่ระดับผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ

    กระทรวงสาธารณสุขได้จัดท าแผนติดตามและประเมินผลการด าเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๕ ๖ ให้สอดคล้องและเชื่อมโยงกับกรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติ อันได้แก่ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ นโยบายรัฐบาล และแผนยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณตามแผนบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งถือว่าเป็นเครื่องมือหนึ่งของ ระบบติดตามและประเมินผล เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการติดตามและประเมินผลการด าเนินงานในระดับหน่วยงานและระดับกระทรวง และแสดงถึง ภาระรับผิดชอบของหน่วยงาน ตลอดจนเป็นกลไกผลักดันให้การด าเนินงานของกระทรวงสาธารณสุขบรรลุตามเป้าหมายที่ก าหนด

    กระทรวงสาธารณสุข

  • สารบัญ หน้า ค าน า สารบัญ ส่วนที่ ๑ กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผลการด าเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของ กระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖

    ส่วนที่ ๒ สาระส าคัญและความเชื่อมโยงของนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาต ิและกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖

    ๑๑

    ส่วนที่ ๓ กรอบความเชื่อมโยงโครงการส าคัญตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของ กระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๕๖

    ๓๒

    ส่วนที่ ๔ รายละเอียดโครงการส าคัญตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๕๖

    ๑๑๓

    - กรมการแพทย์ ๑๑๔ - กรมควบคุมโรค ๑๕๐ - กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ๑๗๙ - กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ๒๐๑ - กรมสุขภาพจิต ๒๑๓ - กรมอนามัย ๒๓๑ - ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา ๒๔๘ - กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ๒๖๓ - ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ๒๗๖ - ส านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ๓๓๑ - สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ๓๔๑ - สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ๓๔๓ - สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ๓๔๕

    เอกสารอ้างอิง ๓๔๖ ภาคผนวก

    - รายชื่อผู้ประสานงานการติดตามและประเมินผลการด าเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๖

    ๓๔๘

    - ความหมายของรหัสโครงการประกอบตาราง ๓. โครงการส าคัญตามนโยบายและยุทธศาสตร์ ของกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๕๖

    ๓๕๓

  • สารบัญ (ต่อ)

    หน้า

    - แบบฟอร์มการรายงาน (Project format)ผลการด าเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข

    ๓๕๙

    - ค าสั่งกระทรวงสาธารณสุขที่ ๒๓๓/๒๕๕๖ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการก ากับดูแลการติดตามประเมินผลนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข และคณะท างานติดตามประเมินผลนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข

    ๓๖๐

  • สารบัญตาราง

    หน้า

    ตารางที ่๑ ความเชื่อมโยงนโยบายรัฐบาล และนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข

    ๓๒

    ตารางที่ ๒ ความเชื่อมโยงนโยบายรัฐบาล และนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวง สาธารณสุข ตารางที่ ๓ จ านวนโครงการส าคัญตามนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข

    ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ตามหน่วยงาน

    ๘๒

    ๙๗

    สารบัญแผนภูม ิ

    หน้า แผนภูมิที่ ๑ กรอบการติดตามและประเมินผลของกระทรวงสาธารณสุข ๔

  • ส่วนที่ ๑ กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน ตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข

    ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖

  • กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน ตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข

    ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑. หลักการและเหตุผล

    แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ หมวดที่ ๕ มาตรา ๗๕ ก าหนดให้ คณะรัฐมนตรีที่จะเข้าบริหารราชการแผ่นดินต้องชี้แจงต่อรัฐสภาให้ชัดแจ้งว่าจะด าเนินการใด ในระยะเวลาใด เพื่อบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ และต้องจัดท ารายงานแสดงผลการด าเนินการ รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคเสนอต่อรัฐสภาปีละหนึ่งครั้ง และมาตรา ๗๖ ก าหนดให้คณะรัฐมนตรี ต้องจัดท าแผนบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อแสดงมาตรการและรายละเอียดของแนวทางในการปฏิบัติราชการในแต่ละปีของการบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดการปฏิรูประบบราชการที่ผ่านมา อันได้แก่

    พระราชกฤษฏีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ หมวด ๓ การบริหารราชการเพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มาตรา ๑๓ ถึงมาตรา ๑๕ ได้บัญญัติให้คณะรัฐมนตรีต้องจัดให้มีแผนการบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อเป็นกรอบและแนวทางในการจัดท าแผนนิติบัญญัติและแผนปฏิบัติราชการส าหรับใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินตลอดระยะเวลาสี่ปี โดยน าค าแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภามาพิจารณาด าเนินการให้สอดคล้องกับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและแผนพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยก าหนดนโยบายและวางยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมให้ตอบสนองความต้องการของประชาชนและสามารถรองรับต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงในบริบทโลกและในช่วงระยะของการก้าวเปลี่ยนผ่านของประเทศ รวมทั้งการวางกลไกในการถ่ายทอดและด าเนินนโยบายและยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ซึ่งแสดงสาระส าคัญของเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน ประมาณการรายได้ รายจ่ายและทรัพยากรต่าง ๆ ที่จะต้องใช้ ระยะเวลาด าเนินการ และการติดตามประเมินผล และมาตรา ๑๖ ได้บัญญัติให้ทุกส่วนราชการจัดท าแผนปฏิบัติราชการสี่ปีและแผนปฏิบัติราชการประจ าปีให้สอดคล้องกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน รวมทั้งการจัดท ารายงานแสดงผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติราชการประจ าปีเสนอต่อคณะรัฐมนตรี

    ประกอบกับแนวคิดการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ( Strategic Perfomance Based Budgeting : SPBB) ที่ให้ความส าคัญกับการก าหนดพันธกิจ จุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ แผนงาน งาน/โครงการ และวัดผลส าเร็จของงานตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ในทุกระดับ ตั้งแต่เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติจนถึงเป้าหมายการให้บริการของกระทรวงและหน่วยงาน ตามภาระความรับผิดชอบของหน่วยงานต่อผลการด าเนินงาน

    กระทรวงสาธารณสุขในฐานะส่วนราชการที่จะต้องด าเนินการตามกรอบแนวทางและแนวคิดดังกล่าวข้างต้น จ าเป็นต้องจัดวางและพัฒนาระบบและกลไกการบริหารนโยบายและยุทธศาสตร์ของหน่วยงานให้ตอบสนองต่อนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติ ทั้งนี้ในปีงบประมาณ ๒๕๕ ๖ กระทรวงสาธารณสุขได้

  • ก าหนดกรอบนโยบายและยุทธศาสตร์การด าเนินงานด้านสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ที่เชื่อมโยงและสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลและยุทธศาสตร์ภายใต้แผนบริหารราชการแผ่นดิน (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘) และก าหนดกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติผ่านกระบวนการจัดท าแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงสาธารณสุข เพ่ือใช้เป็นกรอบแนวทางการด าเนินงานขององค์กรให้เป็นไปตามเป้าหมายและวิสัยทัศน์ที่ก าหนด ตลอดจนก าหนดให้มีการก ากับติดตามและประเมินผล เพ่ือแสดงผลส าเร็จของการด าเนินงานตามภาระรับผิดชอบของหน่วยงาน และน าเสนอข้อมูลสารสนเทศด้านการติดตามและประเมินผล ป้อนกลับเข้าสู่กระบวนการจัดท านโยบายและยุทธศาสตร์รอบต่อไป

    ระบบติดตามและประเมินผลการด าเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ ด้านสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ในปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ได้ก าหนดกรอบการติดตาม และประเมินผลภายใต้กรอบนโยบายหลักของกระทรวงสาธารณสุข ๙ ข้อ และแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุขซึ่งประกอบด้วย ๖ เป้าหมายการให้บริการกระทรวง ๘ ยุทธศาสตร์กระทรวง โดยบูรณาการงานติดตามประเมินผลในระดับกระทรวงให้สะท้อนผลส าเร็จทั้งในระดับผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบที่ส่งผลถึงประชาชนได้อย่างเป็นรูปธรรม ตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับกระทรวงและระดับชาติ เพ่ือให้ได้ข้อมูลสารสนเทศด้านประเมินผล ที่สามารถน าไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคการด าเนินงาน หรือการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดและเป้าหมาย กลยุทธหลัก รวมถึงการปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานให้มีความเหมาะสม ตลอดจนเพื่อให้สอดรับกับกระบวนการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ในการที่จะต้องมีการทบทวนและก าหนดเป้าหมายการให้บริการ ผลผลิตของหน่วยงาน โดยการพิจารณาผลการด าเนินงานที่ผ่านมาของหน่วยงาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ที่ส าคัญส าหรับเป็นทิศทางให้หน่วยงานน าไปจัดท าแผนปฏิบัติราชการประจ าปีให้สอดคล้องกับแผนบริหารราชการแผ่นดินต่อไป

    ๒. วัตถุประสงค์

    เพ่ือพัฒนาระบบและกลไกการติดตาม และประเมินผลตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข ให้มีฐานข้อมูลสารสนเทศเชิงยุทธศาสตร์ที่สะท้อนผลส าเร็จทุกระดับ ส าหรับใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกระทรวงต่อการปรับเปลี่ยนนโยบายและยุทธศาสตร์การด าเนินงานให้เหมาะสมในระยะต่อไป และเป็นทิศทางให้หน่วยงานน าไปเป็นข้อมูลประกอบการจัดท าค าของบประมาณ และจัดท าแผนปฏิบัติราชการประจ าปีให้สอดคล้องกับแผนบริหารราชการแผ่นดิน ตลอดจนน าเสนอข้อมูลต่อหน่วยงานกลางเพ่ือประมวลผลการประเมินในระดับประเทศต่อไป

    ๓. แนวคิดการติดตามและประเมินผล

    ๓.๑ ระบบและกลไกการติดตามและประเมินผล ยึดหลักการกระจายอ านาจ โดยสนับสนุนให้ใช้กลไกการบริหารงาน ซึ่งมีหัวหน้ากลุ่มภารกิจ (รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข) และอธิบดี เป็นผู้มีอ านาจและบทบาทอย่างเต็มที่ในการบริหารกลยุทธ์และรับผิดชอบติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน ตามกลยุทธ์ที่ตนรับผิดชอบ โดยส านักนโยบายและยุทธศาสตร์ เป็นผู้วิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปในภาพรวมของกระทรวง

  • สาธารณสุขเพ่ือให้ข้อเสนอต่อผู้บริหารในการปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์การด าเนินงาน และน าเสนอรายงานต่อหน่วยงานกลางเพ่ือประมวลผลการประเมินในระดับประเทศต่อไป

    ๓.๒ ขอบเขตการบูรณาการงานติดตามและประเมินผลในระดับกระทรวง ก าหนดระดับความส าเร็จเป็น ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบที่ส่งผลถึงประชาชน ตามภาระความรับผิดชอบของหน่วยงาน ตั้งแต่ระดับกรม ระดับกระทรวงและระดับชาติ โดยเชื่อมโยงระดับความส าเร็จและภาระรับผิดชอบ ดังนี้

    ๑) ระดับผลผลิต เป็นการประเมินผลส าเร็จของโครงการส าคัญที่เป็นเงื่อนไขความส าเร็จของเป้าหมายนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง ซึ่งเป็นการบูรณาการผลส าเร็จของหน่วยงานตั้งแต่ระดับจังหวัด/ศูนย์เขตในสังกัด กอง จนถึงระดับกรม /ส านักงาน/สถาบัน

    ๒) ระดับผลลัพธ์ เป็นการประเมินผลส าเร็จตามเป้าหมายยุทธศาสตร์และนโยบาย ระดับกระทรวง ซึ่งเป็นการบูรณาการผลส าเร็จของหน่วยงานตั้งแต่ระดับกรม /ส านักงาน/สถาบัน จนถึงระดับกระทรวง

    ๓) ระดับผลกระทบ เป็นการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ ของนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวง ซึ่งเป็นการบูรณาการผลส าเร็จของหน่วยงานตั้งแต่ระดับกระทรวง จนถึงระดับชาติ

    ๓.๓ กระบวนการน าส่งผลผลิตตามภาระความรับผิดชอบของหน่วยงาน มีความเชื่อมโยงกันในแต่ละระดับ ดังนี้

    ๑) ความส าเร็จของแผนงาน / โครงการ / เป้าหมายผลผลิตในระดับโครงการ เป็นภาระรับผิดชอบของหน่วยงานระดับส านัก/กอง ในการบูรณาการผลส าเร็จของการด าเนินงานในระดับจังหวัด /ศูนย์เขตในสังกัด

    ๒) ความส าเร็จของเป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน/กลยุทธ์หน่วยงาน เป็น ภาระรับผิดชอบของหน่วยงานระดับกรม /ส านักงาน/สถาบัน ในการบูรณาการผลส าเร็จของการด าเนินงานในระดับส านัก/กอง

    ๓) ความส าเร็จของเป้าหมายการให้บริการกระทรวง/ยุทธศาสตร์กระทรวง เป็นภาระรับผิดชอบของหน่วยงานระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ ในการบูรณาการผลส าเร็จของการด าเนินงานในระดับกรม /ส านักงาน/สถาบัน โดยมีส านักนโยบายและยุทธศาสตร์ เป็นหน่วยติดตามประเมินผลระดับกระทรวง

    ๔) ความส าเร็จของเป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับชาติ เป็นภาระรับผิดชอบของหน่วยงานระดับ ได้แก่ ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ส านักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ส านักงบประมาณ ในการบูรณาการผลส าเร็จของการด าเนินงานในระดับกระทรวง

    โดยระบบและกลไกการติดตามประเมินผล ขอบเขตและความเชื่อมโยงของระดับความส าเร็จและกระบวนการน าส่งผลผลิต แสดงดังแผนภูมิที่ ๑ กรอบแนวคิดการติดตามและประเมินผลของกระทรวงสาธารณสุข

  • ติดตามประเมินผล ระดับกระทรวง

    ระดับ กลุ่มภารกิจ / กรม

    ระดับ กอง/ ส านัก

    จังหวัด/ภูมิภาค

    รม ว ./ ปลัดกระทรวง

    เลขาธิการ/ อธิบด ีกรม

    ผอ. กอง/ ส านัก

    ศูนย์เขต/ สสจ.

    ส านักโยบายและ ยุทธศาสตร์

    หน่วยติดตามประเมินผล ของกระทรวง สธ

    กองแผนงานและกอง วิชาการของกรม

    กลุ่มแผนงานของ กอง/ ส านัก

    หน่วยแผนงาน ศูนย์เขต/สสจ.

    โครงการส าคัญ - ส่งผลส าเรจ็ต่อเป้า

    หมายยุทธศาสตร์/

    นโยบาย กระทรวง -

    นวัตกรรมใหม ่-

    โครงการต่อเนื่อง

    ผลกระทบ

    ผลลัพธ ์

    สถานะสุขภาพ

    ผลผลิต

    นโยบายรัฐบาล/แผน การบริหารราชการแผ่นดิน

    เป้าหมายนโยบาย/ ยุทธศาสตร ์

    ระดับกระทรวง

    / หน่ วยงานใน

    ก ากับ กระทรวง

    รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐

    แผนบริหารราชการ/ ปฏิบัติราชการกระทรวง

    พรบ.สุขภาพแห่งชาต ิ

    แผนปฏิบัติราชการ กระทรวง

    ส านักงาน ปลัดกระทรวง

    เป้าหมาย/ยุทธศาสตร์การพัฒนา ระดับชาติ

    (หมวด ๕ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ)

    แผนพัฒนาสุขภาพ แห่งชาต ิ

    แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ

    นโยบาย/ยุทธศาสตร์ ระดับกระทรวง

    การน านโยบาย/ยุทธศาสตร ์สู่การปฏิบัต ิ

    กรอบการประเมินผล ระบบติดตามประเมินผล

    ระดับกระทรวง

    ติดตามประเมินผล เร่งด่วน : รายเดือน ปกติ : รายไตรมาส

    คณะรัฐมนตรี

    องค์กรการประเมินระดับชาติ สศช. สลค. สลน. สงป.

    เร่งรัด แก้ไขปัญหา ปรับปรุง ทบทวนนโยบายและยุทธศาสตร ์ ข้อมูลประกอบการพิจารณาจัดสรรงบประมาณ

    ผลการประเมิน ภาพรวมกระทรวง

    แผนภูมิที่ ๑ กรอบการติดตามและประเมินผลของกระทรวงสาธารณสุข

    ที่มา: กลุ่มภารกิจด้านประเมินผล ส านักนโยบายและยุทธศาสตร ์

  • ๔. แนวทางการจัดท าระบบรายงานการติดตามและประเมินผล

    ๔.๑ การจัดท าแผนติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน โครงการ ส าคัญตามนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖

    แนวทางการจัดท าแผนติดตามประเมินผลการด าเนินงานโครงการส าคัญตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ก าหนดไว้ ดังนี ้

    ๑. ก าหนดประเด็นหลักของการติดตามและประเมินผลให้ตอบสนองและเชื่อมโยงกับนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับกระทรวงและระดับชาติ ดังนี้

    ๑) แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ ๒) นโยบายรัฐบาลที่แถลงต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๔ ประกอบด้วย นโยบาย

    เร่งด่วนที่เริ่มด าเนินการในปีแรกต่อเนื่องมาเป็นปีที่สอง และนโยบายด้านอื่น ๆ ๓) แผนบริหารราชการแผ่นดิน (พ.ศ ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘) ๔) นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ๙ ข้อ ภายใต้การบริหารงานของรัฐมนตรีว่าการ

    กระทรวงสาธารณสุข (นายประดิษฐ์ สินธวณรงค์) และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข (นายชลน่าน ศรีแก้ว)

    ๕) แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๙) ของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งรายละเอียดของข้อ ๑) – ๕) ปรากฏในส่วนที่ ๒ สาระส าคัญของนโยบายและยุทธศาสตร์ ฯ

    ๒. ก าหนดโครงการส าคัญของหน่วยงานเพื่อบรรจุเป็นแผนติดตาม และประเมินผลของกระทรวงสาธารณสุข โดยหน่วยงานในระดับกรม / ส านักงาน / ส านักต่าง ๆ ในส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานในก ากับของกระทรวงสาธารณสุขที่เป็นเจ้าของแผนงาน/โครงการ วิเคราะห์ความสอดคล้องและเชื่อมโยง ตามประเด็นหลักของการติดตามและประเมินผล ข้อ ๑ ข้างต้นที่กล่าวมา โดยด าเนินการคัดเลือกร่วมกับส านักนโยบายและยุทธศาสตร์ ตามหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกโครงการที่จะติดตามประเมินผล ดังนี้

    ๑) โครงการส าคัญท่ีตอบสนองต่อนโยบายและยุทธศาสตร์การด าเนินง านระดับกระทรวงและระดับชาต ิ ตามประเด็นหลักของการติดตามและประเมินผล ข้อ ๑ ข้างต้นที่กล่าวมา

    ๒) โครงการเร่งด่วนหรือโครงการเฉพาะ กิจที่ด าเนินการตามนโยบายรัฐบาล นโยบายรัฐมนตรีว่าการ/ช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข หรือนโยบายที่หน่วยงานได้รับมอบหมาย ตามสถานการณ์ของปัญหา

    ๓) โครงการส าคัญท่ีเป็นนวัตกรรมใหม่ ที่ส่งผลต่อการบริหารและบริการด้านสุขภาพ ๔) โครงการส าคัญท่ี สะท้อนภารกิจหลักของหน่วยงาน และเป็นโครงการที่ ด าเนินการต่อเนื่อง

    จากปีงบประมาณก่อน และจะด าเนินการต่อเนื่องไปในปีงบประมาณถัดไป ๕) โครงการที่มีลักษณะเป็นโครงการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน

    ๓. ก าหนด รายละเอียดของโครงการส าคัญตามแผนติดตาม และ ประเมินผล ประกอบด้วย ชื่อโครงการ ความส าคัญและท่ีมาของโครงการ วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัด /ค่า เป้าหมายของผลผลิตและผลลัพธ์ ขั้นตอนการด าเนินงาน/กิจกรรม พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ หน่วยงานรับผิดชอบ ความสอดคล้องต่อนโยบายรัฐบาลและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข

  • ๔.๒ แนวทางการรายงานติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน

    ๑. รูปแบบการจัดท ารายงานติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน ก าหนดให้สอดคล้องกับกรอบแนวคิด ฯ โดยจ าแนกเป็น ๒ ระดับ ดังนี้

    ๑.๑ การติดตามผลการด าเนินงาน (Monitoring) ในที่นี้หมายถึง การ ก ากับติดตามความก้าวหน้าของการด าเนินงานโครงการส าคัญตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้แผนปฏิบัติราชการประจ าปี ให้เป็นไปตามเป้าหมายของแผนการด าเนินงานและระยะเวลาที่ก าหนด (Project Schedule) โดยวิเคราะห์ตั้งแต่การใช้ปัจจัยน าเข้า (Input) กิจกรรม/ขั้นตอนการด าเนินงาน (Process) และผลผลิตที่เกิดขึ้น (Output) ตลอดจนปัญหาอุปสรรค เพ่ือจัดท าข้อมูลรายงานผลการด าเนินงาน ฯ น าเสนอต่อหน่วยติดตามและประเมินผลระดับชาติ ได้แก่ ส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ส านักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตลอดจนน าเสนอผู้บริหาร ภายในหน่วยงาน เพ่ือประกอบการ ตัดสินใจแก้ไขปรับปรุงวิธีการปฏิบัติให้ผลงานเป็นไปตามแผนงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

    ๑.๒ การประเมินผลการด าเนินงาน (Evaluation) ในที่นี้หมายถึง การวิเคราะห์สรุปผลการด าเนินงาน เพ่ืออธิบายถึงระดับความ ส าเร็จของ การด าเนินงาน (result) ต่อการ บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าประสงค์ท่ีก าหนด ในระดับนโยบายและยุทธศาสตร์ของ กระทรวงสาธารณสุข ตลอดจนการวิเคราะห์ หาปัจจัย หรือ กระบวนการ ส าคัญ ที่ส่งผลหรือมีอิทธิพลต่อการบรรลุและไม่บรรลุเป้าหมาย เพ่ือน าไปสู่การจัดท าข้อเสนอแนวทางการพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ต่อไป

    ๒.แนวทางการวิเคราะห์และจัดท ารายงานการติดตามและประเมินผล

    ๒.๑ แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ หรือความสอดคล้องระหว่างกลยุทธ์ของกรมและนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวง โดยให้ความส าคัญกับ

    - ภารกิจที่สอดคล้องเชื่อมโยงกับนโยบายเร่งด่วน และนโยบายส าคัญของรัฐบาล ซึ่งเป็นเรื่องท่ีมีความส าคัญสูงและมีจุดเน้นทียุ่ทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ

    - ภารกิจที่สอดคล้องเชื่อมโยงกับวาระแห่งชาติ ซึ่งได้มีการพิจารณาให้เป็นเรื่องท่ีมีความส าคัญล าดับสูง และเป็นเรื่องเร่งด่วนของประเทศท่ีต้องด าเนินการ

    - ภารกิจที่สอดคล้องเชื่อมโยงกับแผนแม่บทเฉพาะเรื่อง ซึ่งมีลักษณะเป็นองค์รวมอย่างครบวงจร และเกิดจากการประสานความร่วมมือระหว่างหลายหน่วยงาน และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาร่วมด าเนินการอย่างมีบูรณาการ เช่น แผนแม่บทเพ่ือการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

    ๒.๒ แสดงให้เห็นถึงการน า นโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงไปพิจารณาให้มีการด าเนินการที่ส าคัญ ในรูปแบบของแผนงานโครงการ มาตรการและกิจกรรม โดยก าหนดตัวชี้วัดการด าเนินงานที่ชัดเจน และแสดงให้เห็นถึงล าดับขั้นของการส่งต่อของผลผลิต

  • ๒.๓ แสดงให้ทราบถึงความก้าวหน้าและความส าเร็จของงานอย่างเป็นรูปธรรม โดยหน่วยงานต้องด าเนินการติดตามความก้าวหน้า และประเมินความส าเร็จหรือความล้มเหลวของแผนงาน /โครงการ โดยการวัดผลการด าเนินงานที่เน้นผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบของงานเป็นหลัก

    ๒.๔ แสดงให้เห็นถึงปัจจัยเงื่อนไขความส าเร็จในการด าเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ ของกระทรวง ซึ่งครอบคลุมถึงปัญหาอุปสรรค จุดอ่อนและข้อจ ากัดของการด าเนินงาน โดยวิเคราะห์ตรวจสอบสาเหตุและปัจจัยที่มีผลต่อความส าเร็จและความล้มเหลวของการด าเนินงานตามแผนกลยุทธ์ ที่จะใช้เป็นข้อมูลย้อนกลับ น าไปสู่การปรับแผนและวางแนวทางการแก้ไขให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้สามารถด าเนินการบรรลุวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้

    ๒.๕ จัดส่งรายงาน ผลการด าเนินงานผ่านระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหาร ติดตามผลการด าเนินงาน (Monitoring & Management System : MMS) โดยส านักนโยบายและยุทธศาสตร์เป็นหน่วยงานประมวลผลและ บูรณาการผลการด าเนินงานของหน่วยงานระดับกรม /ส านักในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวง และหน่วยงานในก ากับกระทรวงสาธารณสุข เป็นภาพรวมของผลความส าเร็จของการด าเนินงานในระดับกระทรวง

    ๓. สาระส าคัญของรายงานการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุขจัดวางและพัฒนาระบบและกลไกการ ติดตามและประเมินผล เพื่อจัดท า

    ข้อมูลสารสนเทศด้านการติดตามและประเมินผล ทั้งใน มิติของเนื้อหาสาระ เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในภาพรวมของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อใช้ประโยชน์ในกระบวนการบริหารยุทธศาสตร์ การบริหารงบประมาณ การจัดท าข้อมูลให้ผู้บริหารน าเสนอผลการด าเนินงานต่อหน่วยงานภายในและภายนอกในวาระ ส าคัญ รวมทั้งจัดเก็บเป็นฐานข้อมูลส าหรับการประเมินผลของกระทรวงสาธารณสุข โดยสาระส าคัญของรายงานการติดตามและประเมินผลใน ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ มีดังนี ้

    ๑) รายงานผลการด าเนินงานตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ เสนอต่อรัฐสภา

    ๒) รายงานผลการด าเนินงานตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีประกอบด้วย นโยบายเร่งด่วนและนโยบายการพัฒนาสุขภาพของประชาชน เสนอต่อส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ส านักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ส านักคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และเผยแพร่ต่อสาธารณะทางเว็ปไซค์ของกระทรวงสาธารณสุข

    ๓) รายงานผลการด าเนินงานตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ๙ ข้อ ภายใต้การบริหารงานของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (นายประดิษฐ สินธวณรงค์) และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข (นายชลน่าน ศรีแก้ว) เสนอต่อผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุข

    ๔) รายงานผลการด าเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ เสนอต่อส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุข

    ๕) รายงานประเมินผลส าเร็จของการด าเนินงานด้านสุขภาพตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของ

  • กระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๕๖ เสนอต่อส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุข

    ๔. ระยะเวลาการติดตามและประเมินผล

    เพ่ือให้ผลการประเมินน าไปสู่การใช้ประโยชน์และสามารถรายงานผลงานได้ทันต่อสถานการณ์ ได้ก าหนดความถี่ของการรายงานผลการด าเนินงานตามแผนติดตามและประเมินผลฯ ดังต่อไปนี้ คือ

    ๑. กรณีนโยบายเร่งด่วน ให้รายงานผลการด าเนินงานรายเดือน ภายในวันที่ ๗ ของทุกเดือน ๒. กรณีปกติ ก าหนดการรายงาน เป็น ๔ ระยะ คือ การรายงานรอบ ๓ เดือน ๖ เดือน

    ๙ เดือน และรอบ ๑ ปีงบประมาณ โดยส านักนโยบายและยุทธศาสตร์ด าเนินการประมวลผลและวิเคราะห์ผลภาพรวมของกระทรวง ดังนี้

    รอบท่ี ๑ : ไตรมาส ๑ รอบ ๓ เดือนปีงบประมาณ ภายในวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๖ รอบที่ ๒ : ไตรมาส ๒ รอบ ๖ เดือนปีงบประมาณ ภายในวันที่ ๗ เมษายน ๒๕๕๖ รอบที่ ๓ : ไตรมาส ๓ รอบ ๙ เดือนปีงบประมาณ ภายในวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖ รอบที่ ๔ : ไตรมาส ๔ รอบ ๑ ปีงบประมาณ ภายในวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๖ ๕. หน่วยงานรับผิดชอบการติดตามและประเมินผล

    กระทรวงสาธารณสุขแต่งตั้งคณะกรรมการก ากับดูแลการติดตามประเมินผลนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข และคณะท างานติดตามประเมินผลนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ตามค าสั่งกระทรวงสาธารณสุข ที ่ ๒๓๓/๒๕๕๖ สั่ง ณ วันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ดังนี้

    ๕.๑ คณะกรรมการก ากับดูแลการติดตามประเมินผล นโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข มีปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็น ที่ปรึกษา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุขด้านบริหาร เป็นประธาน หัวหน้าผู้ ตรวจราชการกระทรวง เป็น รองประธาน กรรมการ ประกอบด้วย อธิบดีกรม/เลขาธิการ หรือผู้แทน ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และเลขาธิการ / ผู้อ านวยการ ของหน่วยงานในก ากับกระทรวงสาธารณสุข ผู้อ านวยการส านักนโยบายและยุทธศาสตร์ เป็น กรรมการและเลขานุการ ผู้อ านวยการกลุ่มภารกิจด้านประเมินผล และหัวหน้ากลุ่มประเมินผลกระทบนโยบายและยุทธศาสตร์ เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ โดยมีอ านาจหน้าที่ ดังนี้

    ๑) ก าหนดนโยบาย กรอบแนวทาง และทิศทาง ติดตามประเมินผลการด าเนิน การตามนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข

    ๒) พิจารณาและ ให้ความ เห็นชอบ แผนติดตามประเมินผลการด าเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ

    ๓) ก ากับ ติดตาม เร่งรัด ให้การด าเนินการติดตามประเมินผลการด าเนินการตามนโยบาย และยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข บังเกิดผลในทางปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุเป้าหมายของภารกิจหลัก

    ๔) ส่งเสริม สนับสนุน และให้ค าปรึกษาแนะน าในเรื่องต่างๆ แก่ คณะท างาน เพื่อให้การ

  • ด าเนินการติดตามประเมินผลตามนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข เป็นไปตามกรอบทิศทางและแนวทางท่ีก าหนด

    ๕) พิจารณาและให้ความเห็นชอบผลการติดตามและประเมินผลตามนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข

    ๖) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดตามประเมินผลการด าเนินการตามนโยบายและ ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข

    ๕.๒ คณะท างานติดตามประเมินผลนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข มีรองปลัดกระทรวงสาธารณสุขด้านบริหาร เป็น ที่ปรึกษา ผู้อ านวยการส านักนโยบายและยุทธศาสตร์ เป็นประธาน ผู้อ านวยการส านักยุทธศาสตร์/ กองแผนงานและวิชาการ หรือผู้แทนของทุกกรมผู้อ านวยการส านัก/สถาบัน/ศูนย/์กลุ่มในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขและผู้แทนจากหน่วยงานในก ากับกระทรวงสาธารณสุข เป็นคณะท างาน ผู้อ านวยกลุ่มภารกิจด้านประเมินผล เป็น คณะท างานและเลขานุการ หัวหน้ากลุ่มประเมินผลกระทบนโยบายและยุทธศาสตร์ เป็นคณะท างานและผู้ช่วยเลขานุการ โดยมี อ านาจหน้าที่ ดังนี้

    ๑) จัดท ากรอบแนวทาง และพัฒนาระบบการติดตามประเมินผลนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขประจ าปีงบประมาณ และพิจารณาทบทวนปรับปรุงเป็นประจ าทุกปี

    ๒) จัดท าแผนติดตามประเมินผลการด าเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ

    ๓) ติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการด าเนินงานตามแผนติดตามประเมินผลการด าเนินงานตามนโยบาย และยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข

    ๔) จัดท ารายงานการประเมิน ผลส าเร็จของการด าเนินการตามนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข

    ๕) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดตามประเมินผลการด าเนินงานตามนโยบายและ ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข

    ทั้งนี้ส านักนโยบายและยุทธศาสตร์เป็นหน่วย ประสานการ ติดตามและประเมินผลของกระทรวงสาธารณสุข และท าหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการก ากับดูแลการติดตามประเมินผลนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข และคณะท างานติดตามประเมินผลนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข โดยมีบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้

    ๑) จัดท ากรอบแนวทางการติดตามประเมินผลของกระทรวงสาธารณสุข และทบทวนกรอบแนวทาง ฯ เป็นประจ าทุกปี เพื่อใช้เป็นแนวทางในการติดตามและประเมินผลการด าเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข

    ๒) วิเคราะห์สาระส าคัญของนโยบายรัฐบาลและยุทธศาสตร์ระดับชาติภายใต้แผนบริหารราชการแผ่นดิน ที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับกรอบนโยบายและยุทธศาสตรข์องกระทรวงสาธารณสุข และก าหนดแผนงาน/ โครงการ ที่ส าคัญในภาพรวมของกระทรวง และจัดท าแผนติดตามและประเมินผลการด าเนินงานของกระทรวงสาธารณสุขประจ าปีงบประมาณ

  • ๑๐

    ๓) พัฒนาระบบและกลไกการติดตามและประเมินผล ให้ สอดคล้องกับกลไกการบริหารงานในระดับกระทรวงและเชื่อมโยงกับระดับชาติและ เหมาะสมกับสถานการณ์ โดยพัฒนาและปรับปรุง คู่มือ /แผนติดตามประเมินผลของกระทรวงสาธารณสุขประจ าปีงบประมาณ และระบบรายงานการติดตามประเมินผล การเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลเพื่อการติดตาม และประเมินผลการด าเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข รวมทั้งการจัดประชุมคณะกรรมการ ฯ และคณะท างาน ฯ เพ่ือปรึกษาหารือในการด าเนินงานติดตามและประเมินผล การติดต่อประสานงาน แจ้งข้อมูลข่าวสารส าคัญท้ังเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ตลอดจนการสนับสนุนองค์ความรู้และวิชาการ เพื่อพัฒนาสมรรถนะผู้รับผิดชอบการติดตามและประเมินผลของกระทรวงสาธารณสุข เช่น จัดให้มีเวทีการประชุมวิชาการ ๔) เร่งรัด ติดตาม รวบรวมและวิเคราะห์รายงานจากหน่วยงานที่รับผิดชอบ และ จัดท ารายงานความก้าวหน้าผลการด าเนินงานนโยบายเร่งด่วนอย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง และการด าเนินงานตามนโยบายปกติ ทุก ๓ เดือน ๖ เดือน และ ๙ เดือน และจัดท ารายงานติดตามและประเมินผลการด าเนินงานในรอบสิ้นสุดปีงบประมาณ น าเสนอผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานกลางระดับชาติ ได้แก่ ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ส านักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และส านักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน เพ่ือประมวลผลภาพรวมด้านสุขภาพในระดับประเทศต่อไป

  • ส่วนที่ ๒

    สาระส าคัญและความเชื่อมโยงของนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติ และกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖

  • สาระส าคัญและความเชื่อมโยงของนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติ และกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖

    ๑. แนวนโยบายพ้ืนฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐

    แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้บัญญัติไว้ใน หมวดที่ ๕ ประกอบด้วย มาตรา ๗๕ – ๘๗ บัญญัติไว้เพื่อให้รัฐด าเนินการตรากฎหมายและก าหนดนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดินในการแถลงนโยบายต่อรัฐสภา คณะรัฐมนตรีที่จะเข้าบริหารราชการแผ่นดินต้องชี้แจงต่อรัฐสภาให้ชัดแจ้งว่าจะด าเนินการใด ในระยะเวลาใด เพื่อบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ และต้องจัดท ารายงานแสดงผลการด าเนินการ รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคเสนอต่อรัฐสภาปีละหนึ่งครั้ง (มาตรา ๗๕) และต้องจัดท าแผนบริหารราชการแผ่นดิน เพ่ือแสดงมาตรการและรายละเอียดของแนวทางในการปฏิบัติราชการในแต่ละปีของการบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐในการบริหารราชการแผ่นดิน (มาตรา ๗๖) ส าหรับมาตรา ๗๗ – ๘๗ ได้แบ่งนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐออกเป็น ๙ ด้าน คือ

    ๑) ด้านความมั่นคงของรัฐ ๒) ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ๓) ด้านศาสนา สังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม ๔) ด้านกฎหมายและการยุติธรรม ๕) ด้านการต่างประเทศ ๖) ด้านเศรษฐกิจ ๗) ด้านที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๘) ด้านวิทยาศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญาและพลังงาน ๙) ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน

    แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ในส่วนที่กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบเป็นเจ้าภาพหลัก ได้แก่ นโยบายด้านศาสนา สังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม

    มาตรา ๘๐ (๒) ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบสุขภาพท่ีเน้นการสร้างเสริมสุขภาพอันน าไปสู่สุขสภาวะที่ยั่งยืนของประชาชน รวมทั้งจัดและส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้เอกชนและชุมชนที่ส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพและการบริการสาธารณสุข โดยผู้มีหน้าที่ให้บริการดังกล่าว ซึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรฐานวิชาชีพและจริยธรรม ย่อมได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย

    ประเด็นส าคัญที่กระทรวงสาธารณสุขจะต้องแสดงผลการด าเนินงานของคณะรัฐมนตรีตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ฯ ได้แก่

    ๑) พัฒนาระบบประกันสุขภาพ (นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลข้อ ๑.๑๔) ๒) พัฒนาคุณภาพการให้บริการสุขภาพทั้งระบบ (นโยบายรัฐบาลข้อ ๔.๓.๑) ๓) ผลิตบุคลากรทางด้านสาธารณสุขให้เพียงพอ (นโยบายรัฐบาลข้อ ๔.๓.๒) ๔) จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมีเปูาหมายเพื่อลดอัตราการปุวย ตายและผลกระทบ

  • ๑๒

    จากโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง (นโยบายรัฐบาลข้อ ๔.๓.๓) ๕) พัฒนาขีดความสามารถของอาสาสมัครสาธารณสุขทุกคนให้เป็นนักจัดการสุขภาพ

    (นโยบายรัฐบาลข้อ ๔.๓.๔) ๖) พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน พัฒนาศูนย์ส่งเสริมสุขภาพสตรี จัดตั้งศูนย์ส่งเสริม

    คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ให้มีระบบการฟ้ืนฟูสุขภาพในชุมชน (นโยบายรัฐบาลข้อ ๔.๓.๕) ๗) ส่งเสริมให้ประชาชนทุกระดับมีโอกาสออกก าลังกาย (นโยบายรัฐบาลข้อ ๔.๓.๖) ๘) ขับเคลื่อนให้ประเทศไทยเป็นเลิศในผลิตภัณฑ์และการบริการด้านสุขภาพและการ

    รักษาพยาบาลในภูมิภาคเอเชีย (นโยบายรัฐบาลข้อ ๔.๓.๗)

    และแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ด้านอื่น ๆ ในส่วนที่กระทรวงสาธารณสุขเกี่ยวข้อง มีดังนี้ นโยบายด้านศาสนา สังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม มาตรา ๘๐ (๑) คุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดูและให้

    การศึกษาปฐมวัย ส่งเสริมความเสมอภาคของหญิงและชาย เสริมสร้างและพัฒนาความเป็นปึกแผ่นของสถาบันครอบครัวและชุมชน รวมทั้งต้องสงเคราะห์และจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุ ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพและผู้อยู่ในสภาวะยากล าบาก ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึนและพ่ึงพาตนเองได้

    นโยบายด้านความม่ันคงของรัฐ มาตรา ๗๗ รัฐต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตย และบูรณภาพ

    แห่งเขตอ านาจรัฐ และต้องจัดให้มีก าลังทหาร อาวุธยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย จ าเป็นและเพียงพอ เพื่อพิทักษ์รักษาเอกราช อธิปไตย ความมั่นคงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย์ ผลประโยชน์แห่งชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และเพ่ือการพัฒนาประเทศ

    ประเด็นส าคัญที่กระทรวงสาธารณสุขจะต้องแสดงผลการด าเนินงานของคณะรัฐมนตรีตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ฯ ได้แก่

    ๑) ก าหนดให้การแก้ไขและปูองกันปัญหายาเสพติดเป็น “วาระแห่งชาติ ” (นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล ข้อ ๑.๒)

    ๒) เร่งน าสันติสุขและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชากลับมาสู่พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล ข้อ ๑.๕)

    นโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน มาตรา ๗๘ รัฐต้องด าเนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน แนวนโยบายด้านเศรษฐกิจ มาตรา ๘๓ รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการด าเนินการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ

    พอเพียง

  • ๑๓

    ๒. นโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงสาธารณสุข

    คณะรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภา ในวันอังคารที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๔ โดยก าหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินให้ด าเนินการเป็น ๒ ระยะ คือ เรื่องเร่งด่วนที่เริ่มด าเนินการในปีแรก และการบริหารราชการ ๔ ปีของรัฐบาล ซึ่งนโยบายรัฐบาลในส่วนที่กระทรวงสาธารณสุขเกี่ยวข้อง มีดังนี้

    นโยบายรัฐบาลข้อ ๑ นโยบายเร่งด่วนที่เริ่มด าเนินการในปีแรก

    ๑.๒ ก าหนดให้การแก้ไขและปูองกันปัญหายาเสพติดเป็น “วาระแห่งชาติ” โดยยึดหลักนิติ

    ธรรมในการปราบปรามลงโทษผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้มีอิทธิพล และผู้ประพฤติมิชอบ โดยบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ยึดหลักผู้เสพคือผู้ปุวยที่ต้องได้รับการบ าบัดรักษาให้กลับมาเป็นคนดีของสังคม พร้อมทั้งมีกลไกติดตามช่วยเหลืออย่างเป็นระบบด าเนินการอย่างจริงจังในการปูองกันปัญหาด้วยการแสวงหาความร่วมมือเชิงรุกกับต่างประเทศในการควบคุมและสกัดก้ันยาเสพติด สารเคมี และสารตั้งต้นในการผลิตยาเสพติดที่ลักลอบเข้าสู่ประเทศภายใต้การบริหารจัดการอย่างบูรณาการและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งด าเนินการปูองกันกลุ่มเสี่ยงและประชาชนทั่วไปไม่ให้เข้าไปเกี�