12
61 Journal of Industrial Technology Ubon Ratchathani Rajabhat University Vol. 3 No. 6 July-December 2013 JJOURNAL OF INDUSTRIAL TECHNOLOGY UBON RATCHATHANI RAJABHAT UNIVERSITY การลดความสูญเปลาในกระบวนการผลิตกระถาง กรณีศึกษากลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดอุบลราชธานี The Waste Reduction of Vase Earthenware Manufacturing: A Case Study of Enterprise Community in Ubon Ratchathani Province ภีม พรประเสริฐ 1* และคณิศร ภูนิคม 2 1* สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 2 ถ.ราชธานี ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000 E-mail: [email protected] 2 ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 ต.เมืองศรีไค อ.วารินชําราบ จ.อุบลราชธานี 34190 E-mail: [email protected] บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อลดความสูญเปลาในกระบวนการผลิตกระถางในกลุมวิสาหกิจชุมชนจังหวัดอุบลราชธานี การ ดําเนินการวิจัยเริ่มจากการเก็บขอมูลจากใบตรวจสอบและการสนทนากลุมผูเกี่ยวของแลวทําการคัดเลือกผลิตภัณฑที่จะนํามา ปรับปรุงโดยกระบวนการวิเคราะหเชิงลําดับชั้น ทําการวิเคราะหขอขัดของและผลกระทบและใชแผนภูมิพาเรโตคนหา กระบวนการที่มีความเสี่ยงสูงเพื่อนํามาปรับปรุงคุณภาพ วิเคราะหหาสาเหตุของปญหาโดยใชแผนภาพ ทําไม ทําไม และหา มาตรการปรับปรุงคุณภาพโดยใชแผนภูมิตนไม หลังจากนั้นทําการวิเคราะหหาความสูญเปลาจากแผนภูมิกระบวนการไหลของ กระบวนการ แผนภูมิกิจกรรมพหุคูณ และแผนภูมิคน – เครื่องจักร แลวทําการลดความสูญเปลาโดยใชหลักการ ECRS ซึ่งผูวิจัย พบวาปญหาหลักในกระบวนการผลิตกระถางในกลุมวิสาหกิจชุมชนจังหวัดอุบลราชธานี คือ เครื่องตัดดินไมไดคุณภาพ และเกิด ความสูญเปลาจากการรอคอย จึงทําการกําจัดความแปรผันโดยใชวิธีการดําเนินงานตามกระบวนการ ซิกซ ซิกมาร ไดผลลัพธคือ คาสมรรถนะในกระบวนการตัดดินสูงขึ้น คาความเสี่ยง ระยะเวลา และ ระยะทางการเคลื่อนที่ในสายการผลิตลดลง คําสําคัญ : การลดความสูญเปลา กระบวนการผลิตกระถาง Abstract The objective of this research was to improve the efficiency of earthenware manufacturing a case study of Pakhuay community Muang district Ubon Ratchathani province. The research operation started from data collecting from check sheet, focus group activity and selected a product for improvement by analytic hierarchy process analysis. Used the Failure mode and effective analysis method and the Pareto chart for define the risk priority process must be improve the quality. Then to analyze the cause of the problem by used a Why - Why method and define countermeasures for quality improvement by used a tree diagram. And then to analyze the production wastes from the flow process chart, multiple activity chart and man–machine

jjournal of industrial technology ubon ratchathani rajabhat university

  • Upload
    lethu

  • View
    233

  • Download
    1

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: jjournal of industrial technology ubon ratchathani rajabhat university

61

Journal of Industrial Technology Ubon Ratchathani Rajabhat University Vol. 3 No. 6 July-December 2013

JJOURNAL OF INDUSTRIAL TECHNOLOGY UBON RATCHATHANI RAJABHAT UNIVERSITY

การลดความสูญเปลาในกระบวนการผลิตกระถาง

กรณศีึกษากลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดอบุลราชธาน ี

The Waste Reduction of Vase Earthenware Manufacturing:

A Case Study of Enterprise Community in Ubon Ratchathani Province

ภีม พรประเสริฐ1* และคณศิร ภูนคิม2

1*สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

2 ถ.ราชธานี ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000 E-mail: [email protected] 2ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวศิวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

85 ต.เมืองศรีไค อ.วารินชําราบ จ.อุบลราชธานี 34190 E-mail: [email protected]

บทคัดยอ

งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อลดความสูญเปลาในกระบวนการผลิตกระถางในกลุมวิสาหกิจชุมชนจังหวัดอุบลราชธานี การ

ดําเนินการวิจัยเริ่มจากการเก็บขอมูลจากใบตรวจสอบและการสนทนากลุมผูเก่ียวของแลวทําการคัดเลือกผลิตภัณฑที่จะนํามา

ปรับปรุงโดยกระบวนการวิเคราะหเชิงลําดับชั้น ทําการวิเคราะหขอขัดของและผลกระทบและใชแผนภูมิพาเรโตคนหา

กระบวนการที่มีความเส่ียงสูงเพื่อนํามาปรับปรุงคุณภาพ วิเคราะหหาสาเหตุของปญหาโดยใชแผนภาพ ทําไม ทําไม และหา

มาตรการปรับปรุงคุณภาพโดยใชแผนภูมิตนไม หลังจากน้ันทําการวิเคราะหหาความสูญเปลาจากแผนภูมิกระบวนการไหลของ

กระบวนการ แผนภูมิกิจกรรมพหุคูณ และแผนภูมิคน – เครื่องจักร แลวทําการลดความสูญเปลาโดยใชหลักการ ECRS ซ่ึงผูวิจัย

พบวาปญหาหลักในกระบวนการผลิตกระถางในกลุมวิสาหกิจชุมชนจังหวัดอุบลราชธานี คือ เครื่องตัดดินไมไดคุณภาพ และเกิด

ความสูญเปลาจากการรอคอย จึงทําการกําจัดความแปรผันโดยใชวิธีการดําเนินงานตามกระบวนการ ซิกซ ซิกมาร ไดผลลัพธคือ

คาสมรรถนะในกระบวนการตัดดินสูงขึ้น คาความเส่ียง ระยะเวลา และ ระยะทางการเคล่ือนที่ในสายการผลิตลดลง

คําสําคัญ : การลดความสูญเปลา กระบวนการผลิตกระถาง

Abstract

The objective of this research was to improve the efficiency of earthenware manufacturing a case study

of Pakhuay community Muang district Ubon Ratchathani province. The research operation started from data

collecting from check sheet, focus group activity and selected a product for improvement by analytic

hierarchy process analysis. Used the Failure mode and effective analysis method and the Pareto chart for

define the risk priority process must be improve the quality. Then to analyze the cause of the problem by

used a Why - Why method and define countermeasures for quality improvement by used a tree diagram. And

then to analyze the production wastes from the flow process chart, multiple activity chart and man–machine

Page 2: jjournal of industrial technology ubon ratchathani rajabhat university

62

วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ปที่ 3 ฉบับที่ 6 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556

JJOURNAL OF INDUSTRIAL TECHNOLOGY UBON RATCHATHANI RAJABHAT UNIVERSITY

chart and used the ECRS method for wastes reduction. We found that the cores of the problems were not

quality of clay cutting machine and waste time from delay activity. Therefore we eliminating the variable by

operate following the six sigma process. Those results were, the clay cutting process capability is progressive

the risk number the production line distance and cycle time were reducing.

Keywords: Efficiency Improvement, Earthenware Manufacturing

1. ท่ีมาและความสําคัญของปญหา

เปนเวลาหลายปมาแลวทีธุ่รกิจวิสาหกิจชุมชนไดเขามามี

บทบาทมากในแตละพื้นที่ ซ่ึงมีสวนในการทําใหชุมชนมีความ

เขมแข็ง เน่ืองจากธุรกิจชุมชนชวยสงเสริมหรือเปนรายไดหลัก

ใหกับคนในชุมชนทําใหแตละครอบครัวสามารถมีชี วิตที่

พอเพียง มีอาชีพที่ ม่ันคงและสามารถถายทอดอาชีพใหกับ

ลูกหลานสืบตอกันไป แตในระยะหลังธุรกิจวิสาหกิจชุมชน

กลับไดรับความนิยมนอยลง เน่ืองจากปญหาตนทุนการผลิตที่

สูงขึ้นและการออกแบบยังไมไดมาตรฐาน แตหากมีการพัฒนา

ไปในทางที่ถูกตองอาจทําใหคนในชุมชนหันกลับมาให

ความสําคัญเหลาน้ีมากขึ้น

เครื่องปนดินเผาเปนเครื่องใชที่มีมาตั้งแตสมัยโบราณ

และยังนิยมใชกันอยางแพรหลายในปจจุบัน แมวาในปจจุบันมี

การผลิตวัสดุที่สามารถใชทดแทน เชน คอนกรีต เซรามิกซ

และโพลิเมอร แตเครื่องปนดินเผายังไดรับความนิยมอยาง

กวางขวาง เน่ืองจากเปนวัสดุที่มีกรรมวิธีการผลิตที่ไมยุงยาก

ซับซอน วัตถุดิบที่นํามาผลิตสามารถหาไดในทองถิ่น ตนทุน

ในการผลิตต่ํ า สามารถผ ลิตได คราวละมาก ๆ จึง มี

ผูประกอบการจํานวนมากในแตละทองถิ่นยึดอาชีพการผลิต

เครื่องปนดินเผา การผลิตในอดีตใชการผลิตดวยมือในทุก

กระบวนการ จึงมีขนาดไมสมํ่าเสมอ ผลิตไดนอย เน้ือดินไม

แนน ผิวไมเรียบขาดความสวยงาม เกิดความเสียหายจากการ

เผาและการขนสงสูงมาก ตอมาไดมีการพัฒนาวิธีการผลิตโดย

ใชเครื่องผสมดิน ทําใหสามารถผลิตงานที่มีปริมาณมากยิ่งขึ้น

แตเน่ืองจากกรรมวิธีการผลิตของชุมชนยังขาดมาตรฐานการ

วัดผลกระบวนการ การขาดความรูดานการลดเวลาและการไม

เห็นความสําคัญของคุณภาพ ดังน้ันเม่ือนําเครื่องปนดินเผา

จากผลิตภัณฑชุมชนสวนใหญมาตรวจสอบดานมิติ จะพบวา

เครื่องปนดินเผาสวนใหญมีคาความผันแปรและมีความสูญ

เปลาเกิดขึ้นมากมาย

จังหวัดอุบลราชธานีเปนอีกจังหวัดหน่ึงซ่ึงมีการผลิต

เครื่องปนดินเผาในวิสาหกิจชุมชนอยางแพรหลาย กระถาง

เปนเครื่องปนดินเผาอีกผลิตภัณฑหน่ึงที่มียอดการผลิตสูงของ

กลุมวิสาหกิจชุมชน ซ่ึงในปจจุบันการผลิตแตละครั้ ง

จําเปนตองผลิตเปนจํานวนมาก [1] เพื่อที่ตองการสงใหลูกคา

ไดทันเวลา ประหยัดจํานวนเที่ยวขนสง และครบจํานวนที่

ลูกคาส่ัง โดยสวนใหญแลวพนักงานที่ทําการผลิตน้ันไมใสใจ

ในเวลามาตรฐานการผลิต และผลผลิตที่ออกมาแตละวันก็มี

ปญหาทีพ่บบอยคือ ความสูงของกระถางมีขนาดแตกตางกัน

มาก ซ่ึงทําใหลูกคาเกิดปญหาในการจัดเรียงขณะขนสงและ

ขาดความเชื่อถือดานมาตรฐานของผูผลิต

ดัง น้ันผู วิ จัย จึงมีแนวคิดที่จะลดความสูญเปลาใน

กระบวนการผลิตกระถางใหดีขึ้น มีตนทุนการทํางานที่ต่ําลง

ความผันแปรลดลงเพื่อกําไรที่ สูงขึ้น ซ่ึงการเลือก

ทําการศึกษาวิจัยที่กลุมวิสาหกิจชุมชนปากหวย อําเภอเมือง

จังหวัดอุบลราชธานี เน่ืองจากเปนสถานประกอบการที่ มี

ขนาดคอนขางใหญ มีการผลิตปริมาณมาก และ ประสบ

ปญหาดังที่กลาวมาขางตน

1.1 วัตถุประสงคการศึกษา

เพื่อลดความสูญเปลาในกระบวนการผลิตกระถางของ

กลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดอุบลราชธานี

1.2 ขอบเขตของการศึกษา

โครงงานน้ีมุงศึกษาและลดความสูญเปลา โดยใชคา

ความคลาดเคล่ือนที่ยอมรับไดของลูกคา เปนมาตรฐานใน

การปรับปรุงและประเมินผล โดยศึกษาเฉพาะกระบวนการ

ผลิตกระถางในกลุมชุมชนปากหวย อําเภอเมือง จังหวัด

อุบลราชธานี

Page 3: jjournal of industrial technology ubon ratchathani rajabhat university

63

Journal of Industrial Technology Ubon Ratchathani Rajabhat University Vol. 3 No. 6 July-December 2013

JJOURNAL OF INDUSTRIAL TECHNOLOGY UBON RATCHATHANI RAJABHAT UNIVERSITY

1.3 สมมติฐาน

1. การปรับปรุงองคประกอบ ในกระบวนการตัดดิน

เหนียวใหดีขึ้นจะทําใหคาสมรรถนะกระบวนการผลิตกระถาง

เพิ่มขึ้น

2. การใชเครื่องมือการศึกษาการทํางานในการวิเคราะห

กระบวนการ สามารถชวยลดความสูญเปลาในกระบวนการ

ผลิตกระถางได

1.4 ข้ันตอนการศึกษาวิจัย

การดําเนินงานศึกษาวิจัย ใชวิธีดําเนินการ โดยมีขั้นตอน

การดําเนินการหลัก ดังแสดงในรูปที่ 1

รูปที่ 1 ขั้นตอนหลักในการดําเนินการศึกษาวิจัย

1.5 ทฤษฎีที่ใชในการดําเนินการ

การวิจัยครั้งน้ีมีทฤษฎแีละที่มาดังตอไปน้ี

1. การวิเคราะหเชิงลําดับชั้น [2]

2. การวิเคราะหขอขัดของและผลกระทบ [3]

3. กระบวนการ Six Sigma หรือ DMAIC [4]

4. การวิเคราะหสมรรถนะกระบวนการผลิต (Process

Capability Study) [5,6]

5. แผนภูมิควบคุม (7 QC Tools) [5,6]

6. การตั้งคําถาม ทําไม – ทําไม เพื่อวิเคราะหสาเหตุ

(Why–Why Analysis) [5,6]

7. การศึกษาการทํางาน (Work Study) [7]

1.6 ขอมูลทั่วไปของวิสาหกิจชุมชนกรณีศึกษา

กลุมชุมชนปากหวย หรือ วิสาหกิจชุมชนบานปากหวย

วังนอง ตั้งอยู ถ.สมเด็จ ต.ปทุม อ.เมือง จ.อุบลราชธานี มี

เอกลักษณประจําถิ่นในดานงานหัตถกรรมเครื่องปนดินเผา ใน

อดีตชุมชนน้ีมีชื่อเสียงดานปนอิฐแดง ตอมามีทั้งการปน

เครื่องใชในครัวเรือน เชน ครก กระถาง หมอ ไห อางบัว

แจกัน ถวย ชาม และอ่ืนๆ โดยเฉพาะงานหัตถกรรมดานปน

กระถางดอกไมที่สรางเงินและสรางชื่อเสียงไปไกล [1] โดยมี

กระบวนการผลิตดังแสดงในรปูที่ 2 และตัวอยางผลิตภัณฑดัง

รูปที่ 3

รูปที่ 2 กระบวนการผลิตกระถางในวิสาหกิจชุมชน

รูปที่ 3 ตัวอยางผลิตภัณฑกรณีศึกษา

01 หมักดิน

02 บดดิน

04 ข้ึนรูปชิ้นงาน

03 ตัดดินใหเปนแทง

05 ตากชิ้นงานใหแหง

06 จัดเรียงชิ้นงานในเตาและเผา

01 คัดแยกชิ้นงานท่ีเสียออก

ออก

Page 4: jjournal of industrial technology ubon ratchathani rajabhat university

64

วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ปที่ 3 ฉบับที่ 6 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556

JJOURNAL OF INDUSTRIAL TECHNOLOGY UBON RATCHATHANI RAJABHAT UNIVERSITY

2. การวิเคราะหเชิงลําดับชั้นเพ่ือคัดเลือกผลิตภัณฑ

ท่ีจะ นํามาปรับปรุง ผูวิจัยนําเกณฑซ่ึงไดจากการคัดกรองจากแหลงตาง ๆ

มาคัดเลือกโดยการประชุมกลุมผูเชี่ยวชาญมา 4 เกณฑ คือ

(1) กําลังการผลิต (2) ยอดส่ังซ้ือ (3) การรองเรียนจากลูกคา

และ (4) กําไรตอหนวย ทําการจัดประชุมกลุมผูเชี่ยวชาญอีก

ครั้งหน่ึงเพื่อจัดลําดับนํ้าหนักความสําคัญของเกณฑ และ

คัดเลือกผลิตภัณฑที่จะนํามาลดความสูญเปลาในกระบวนการ

ผลิตโดยมีกระบวนการดังตอไปน้ี

2.1 การเปรียบเทียบความสําคัญของเกณฑ

ผูเชี่ยวชาญทําการเสวนาระดมสมองวิเคราะหทางเลือก

ของปจจัยทีละคู (Pair Wise Comparison) และทําการ

เปรียบเทียบเพื่อประเมินคานํ้าหนักความสําคัญของเกณฑ

โดยตอบแบบสอบถาม ดังตัวอยางแบบสอบถามในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ตัวอยางแบบสอบถามเปรียบเทียบนํ้าหนัก

ความสําคัญของเกณฑ

2.2 การประมวลผลหาความสอดคลองกันของเหตุผล

นําคาที่ไดไปประมวลผลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป

Expert Choice ดังรูปที่ 4

รูปท่ี 4 ตัวอยางผลโปรแกรม Expert Choice แสดงคา

Inconsistency 0.09 [8]

จากการประมวลผลในโปรแกรมสําเร็จรูป Expert

Choice ได ค าดั ช นีค วามไม สอด คลอ ง (Inconsistency

Index) นอยกวา 0.1 แสดงวาคาปจจัยมีความสอดคลองกัน

ซ่ึงหมายถึงการเปรียบเทียบเกิดความขัดแยงอยูในระดับที่

สามารถยอมรับได

2.3 การหาน้ําหนักความสําคัญของเกณฑในการคัดเลือก

ผลิตภัณฑที่จะนํามาลดความสูญเปลาในกระบวนการผลิต

จากการวิเคราะหเชิงลําดับชั้นโดยใชโปรแกรม Expert

Choice เรียงลําดับปจจัยที่เหมาะสมในการเลือกผลิตภัณฑที่

จะนํามาปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิต มีลําดับ

ความสําคัญ 4 ลําดับคือ

1) กําลังการผลิต

2) ยอดขาย

3) การรองเรียนจากลูกคา

4) กําไรตอหนวย

หลังจากน้ันนําแตละเกณฑมาตั้งเปนประเด็นในการ

เลือกผลิตภัณฑที่จะนํามาปรับปรุง โดยสามารถเขียนเปน

แบบจําลองลําดับชั้นของดังแสดงในรูปที่ 5

รูปที่ 5 แบบจําลองลําดบัชั้นนํ้าหนักความสําคัญของเกณฑใน

การคัดเลือกผลิตภัณฑกรณีศึกษา

2.4 การคัดเลือกผลิตภัณฑที่จะนํามาลดความสูญเปลา

ผูเชี่ยวชาญทําการเสวนาระดมสมอง วิเคราะหทางเลือก

ของปจจัยทีละคูอีกครั้งหน่ึง และทําการเปรียบเทียบเพื่อ

ประเมินคานํ้าหนักความสําคัญของผลิตภัณฑที่จะนํามา

ปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิตโดยตอบแบบสอบถาม

ดังตัวอยางแบบสอบถามในตารางที่ 2

ระดับ ระดับ

เกณฑ เกณฑ

กําลังการผลิต(A) 9 8 7 6 5 4 3 2 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ยอดส่ัง(B)

กําลังการผลิต(A) 9 8 7 6 5 4 3 2 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ลูกคารองเรียน©

กําลังการผลิต(A) 9 8 7 6 5 4 3 2 1 2 3 4 5 6 7 8 9 กําไรตอหนวย(D)

ยอดส่ัง(B) 9 8 7 6 5 4 3 2 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ลูกคารองเรียน(C)

ยอดส่ัง(B) 9 8 7 6 5 4 3 2 1 2 3 4 5 6 7 8 9 กําไรตอหนวย(D)

ลูกคารองเรียน© 9 8 7 6 5 4 3 2 1 2 3 4 5 6 7 8 9 กําไรตอหนวย(D)

=ปจจัยดานซายมือมี

ความสําคัญมากกวาดานขวามือในระดับ

ปจจัยดานขวามือมี

ความสําคัญมากกวาดานซายมือในระดับ

การคัดเลอืกผลติภัณฑที่จะนํามาปรบัปรุง

กําลังการผลิต

15.80 %

ยอดขาย

13.47 %

ขอรองเรียน

11.01 %

ผลกําไร

9.33%

ครก

21%

กระถางตนไม

57%

อางบัว

17%

ไห

5%

Page 5: jjournal of industrial technology ubon ratchathani rajabhat university

65

Journal of Industrial Technology Ubon Ratchathani Rajabhat University Vol. 3 No. 6 July-December 2013

JJOURNAL OF INDUSTRIAL TECHNOLOGY UBON RATCHATHANI RAJABHAT UNIVERSITY

ตารางที่ 2 ตัวอยางแบบสอบถามเปรียบเทียบความสําคัญของ

ผลิตภัณฑ

จากผลการวิเคราะหเชิงลําดับชั้นสามารถจัดลําดับ

ความสําคัญของผลิตภัณฑที่จะนํามาปรับปรุงประสิทธิภาพ

ไดแก กระถาง 57% ครก 21% อางบัว 17% และ ไห 5%

ดังน้ันจึงทําการเลือกผลิตภัณฑกระถางเพื่อนํามาลดความสูญ

เปลา

3.การปรับปรุงคุณภาพกระบวนการผลิต

การดําเ นินการปรับปรุงคุณภาพกระบวนการผลิต

ดําเนินการตามขั้นตอนของกระบวนการ Six Sigma ซ่ึง

ประกอบไปดวย Define, Measure, Analyze, Improve

และ Control ดังตอไปน้ี

3.1 การคนหาความเส่ียงดานคุณภาพ (Define)

จากการคนหาปญหาของแตละกระบวนการซ่ึงไดนํา

หลักการการวิเคราะหขอขัดของและผลกระทบ (FMEA) มา

ชวยเพื่อพิจารณาระบบหรือโอกาสในการเ กิดลักษณะ

ขอบกพรอง รวมถึงประสิทธิภาพในการตรวจจับขอบกพรอง

ใหพบกอนถูกสงเขาสูกระบวนการ ซ่ึงแบงเกณฑในการ

ประเมินหลักออกเปน 3 สวนคือ ความรุนแรง โอกาสในการ

เกิด และ โอกาสในการตรวจพบ ขอบกพรอง โดยมีเกณฑการ

ประเมินดังแสดงในตารางที่ 3 และผลการวิเคราะหและ

ประเมินคาความเส่ียง (Risk Priority Number : RPN) [3] ดัง

แสดงในตารางที่ 4 หลังจากน้ันสรุปผลการวิเคราะหขอขัดของ

และผลกระทบ ดังแสดงในตารางที่ 5 และนําขอมูลที่ไดจาก

ตารางที่ 5 ไปเขียนแผนภาพพาเรโต เพื่อหาความเสถียรของ

ขอมูล และเพื่อจัดลําดับความสําคัญของปญหา ดังแสดงใน

รูปที่ 6

ตารางที่ 3 เกณฑการประเมินขอขัดของและผลกระทบ

(FMEA) [3]

เกณฑ คะแนน ลักษณะขอบกพรอง

ดานความ

รุนแรง

Severity (S)

5 ผลิตภัณฑใชงานไมได

4 ผลิตภัณฑใชงานไดแตสมรรถนะ

ลดลงจนลูกคาไมพอใจ

3 ผลิตภัณฑมีสมรรถนะลดลง

2 ผลิตภัณฑไมเรียบรอยสังเกตเห็น

ได

1 ไมมีผลกระทบท่ีสังเกตเห็นได

ดานโอกาสใน

การเกิด

Occurrence

(O)

5 เกิดขอบกพรองเปนประจําทุก

ชั่วโมง

4 เกิดขอบกพรองบอย

3 เกิดขอบกพรองเปนคร้ังคราวทุก

2 วัน

2 เกิดขอบกพรองคอนขางนอย

1 เกือบไมเกิดเกิดขอบกพรองเลย

ดานโอกาสใน

การตรวจพบ

ขอบกพรอง

Detection

(D)

5 มีโอกาสนอยมากท่ีจะตรวจพบ

4 มีโอกาสนอยท่ีจะตรวจพบแตยัง

มีโอกาสสังเกตเห็น

3 มีระบบควบคุม แตการตรวจพบ

ตองสังเกตเห็น

2 มีระบบควบคุม และสังเกตเห็น

งาย

1 มีระบบควบคุม และสังเกตเห็น

ในระยะ 3 เมตร

ตารางที่ 4 ผลการวิเคราะหขอขัดของและผลกระทบ

(FMEA)

ระดับ ระดับ

ผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑ

ครก 9 8 7 6 5 4 3 2 1 2 3 4 5 6 7 8 9 กระถาง

ครก 9 8 7 6 5 4 3 2 1 2 3 4 5 6 7 8 9 อางบวั

ครก 9 8 7 6 5 4 3 2 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ไห

กระถาง 9 8 7 6 5 4 3 2 1 2 3 4 5 6 7 8 9 อางบวั

กระถาง 9 8 7 6 5 4 3 2 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ไห

อางบวั 9 8 7 6 5 4 3 2 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ไห

ปจจัยดานซายมือมี = ปจจัยดานขวามือมี

ความสําคัญมากกวา ความสําคัญมากกวา

ดานขวามือในระดับ ดานซายมือในระดับ

Page 6: jjournal of industrial technology ubon ratchathani rajabhat university

66

วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ปที่ 3 ฉบับที่ 6 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556

JJOURNAL OF INDUSTRIAL TECHNOLOGY UBON RATCHATHANI RAJABHAT UNIVERSITY

ตารางที่ 5 เปอรเซ็นตสะสมจากผลการวิเคราะหขอขัดของ

และผลกระทบ (FMEA)

กระบวนการ RPN เปอรเซ็นต เปอรเซ็นต

สะสม

ตัดดิน 100 71 71

คัดของเสีย 8 7 78

จัดเก็บ 8 7 85

ตาก 6 4 89

เผา 6 4 93

ขึ้นรูป 4 4 97

หมักดิน 4 2 99

บดดิน 2 1 100

รวม 100 100

รูปที่ 6 แผนภาพพาเรโต เพื่อหาความเสถียรของขอมูลและ

เพื่อจัดลําดับความสําคัญของปญหา

จากรูปที่ 6 จากการจัดลําดับความสําคัญจะเห็นไดวา

กระบวนการที่มีเส่ียงดานคุณภาพมากที่สุดคือกระบวนการตัด

ดินจึงนํามาปรับปรุงคุณภาพกระบวนการโดยลักษณะของการ

ตัดดินในสภาพปจจุบันเริ่มจากกระบวนการเครื่องบดดินอัด

ดินออกมาเปนแทงยาวและใชคันโยกซ่ึงมีลวดเปนใบตัด ตัด

ดินที่ละชิ้นหลังจากแทงดินไหลออกมาจากเครื่อง โดยความ

ยาวของดินเหนียวที่กําหนดไวคือ 260 มิลลิเมตร ดังแสดง

ในรูปที่ 7

รูปท่ี 7 ดินเหนียวซ่ึงถูกอัดเปนแทงยาวออกมาจากเครื่องบด

เพื่อเขาสูกระบวนการตัดดิน

3.2 ศึกษาสมรรถนะกระบวนการผลิต (Cpk) ของ

กระบวนการกอนปรับปรุง (Measure)

ทําการเก็บขอมูลตัวอยางโดยวิธีการสุมแบบงาย

โดยมีขอจํากัดคือระยะเวลาและปริมาณการผลิตไมคงที่จึง

กําหนดวิธีการเก็บตัวอยางแบบสะดวก โดยมีความถี่ในการ

เก็บ 5 วันตอ 1 ครั้ง ใชกลุมตัวอยางครั้งละ 5 ตัวอยาง

จํานวน 10 กลุม นํามาวิเคราะหแผนภูมิควบคุมและหาคา

สมรรถนะกระบวนการผลิต (Process Capability Study :

Cpk ) กอนการแกไขปญหาซ่ึงไดขอมูลดังตารางที่ 6

ตารางที่ 6 ขอมูลจากการเก็บตัวอยางความยาวดินเหนียวกอน

การปรับปรุง

กลุม

(K)

คาสังเกต (มิลลิเมตร) X R

X1 X2 X3 X4 X5

1 257 258 259 263 260 259.4 6

2 262 264 260 262 263 262.2 4

3 259 261 258 255 260 258.6 6

4 260 264 262 265 262 262.6 5

5 265 265 267 264 264 265.2* 3

6 254 258 262 265 257 259.2 11

7 264 266 267 265 264 265.2* 3

8 259 262 259 263 265 261.6 6

9 257 255 254 252 255 254.6* 5

10 265 267 269 262 267 266.4* 7

X 261.5

R

5.6

Page 7: jjournal of industrial technology ubon ratchathani rajabhat university

67

Journal of Industrial Technology Ubon Ratchathani Rajabhat University Vol. 3 No. 6 July-December 2013

JJOURNAL OF INDUSTRIAL TECHNOLOGY UBON RATCHATHANI RAJABHAT UNIVERSITY

หลังจากน้ันนําขอมูลที่ไดจากตารางที่ 6 มาหาคาเฉล่ีย

คาขีดจํากัดบน คาขีดจํากัดลาง และพิสัย ของขอมูลสถิติ เพื่อ

สรางแผนภูมิควบคุมคาเฉล่ีย และ แผนภูมิควบคุมคาพิสัย

กอนการปรับปรุงดังรูปที่ 8 และรูปที่ 9 ตามลําดับ

รูปที่ 8 แผนภูมิควบคุมคาเฉล่ียของความยาวดินเหนียวกอน

ปรับปรุง

รูปที่ 9 แผนภูมิควบคุมคาพิสัยของความยาวดินเหนียวกอน

ปรับปรุง

จากแผนภูมิแผนภูมิควบคุมคาเฉล่ีย ซ่ึงมีจุดที่อยูนอก

การควบคุมทั้งหมด 4 จุดจึงตองมีการปรับแกแผนภูมิ

ควบคุมโดยการคนหาสาเหตุของจุดซ่ึงอยูนอกขีดจํากัดบนและ

ขีดจํากัดลางโดยใช วิธีการสังเกตและใชประสบการณของ

ผูผลิต พบสาเหตุที่ทําใหจุดออกนอกการควบคุมและการ

แกปญหาเบื้องตน ดังแสดงในตารางที่ 7

ตารางท่ี 7 สาเหตุที่ทําใหจุดออกนอกการควบคุมและการ

แกปญหาเบื้องตน

จุดที ่ สาเหตุ การแกปญหา

1 ลวดหยอน ใชประแจปรับใหตึง

2 ลวดเอียง ใชไมบรรทัดปรับตั้ง

3 จุดหมุนคลอน พันผาจุดหมุนใชใหแนน

4 ลวดหยอน ใชประแจปรับใหตึง

ขอมูลจากตัวอยางขางตน ซ่ึงจะนําขอมูลไปคํานวณหา

คาอัตราสวนสมรรถนะกระบวนการ โดยตัดคาสถิติจากกลุม

ตัวอยางที่อยูนอกขีดจํากัดของแผนภูมิควบคุม (Out of

Control) ดังสมการที่ 1

Cpk = Min USL – X , X – LSL (1)

3 (S.D.) 3 (S.D.)

= Min 270 – 260.6 , 260.6 – 250

3(2.674) 3(2.674)

= Min 1.17 , 1.31

= 1.17

จากการคํานวณไดคาอัตราสวนสมรรถนะกระบวนการ

1.17 ซ่ึงมีคาต่ํายังตองปรับปรุง ดังน้ันจึงควรมีการหา

สาเหตุที่ทําใหสมรรถนะในกระบวนการตัดดินต่ํา และ

ปรับปรุงสมรรถนะใหดีขึ้นตอไป

3.3 การวิเคราะหหาสาเหตุของปญหา (Analysis)

ผูวิจัย ผูรวมวิจัย ผูประกอบการ และ พนักงาน ได

รวมกันวิเคราะหหาสาเหตุของปญหาจากกระบวนการตัดดิน

เหนียวซ่ึงมีขนาดไมสมํ่าเสมอ โดยการใชวิธีการตั้งคําถาม

ทําไม-ทําไม (Why-Why Analysis) ดังรูปที่ 10

Page 8: jjournal of industrial technology ubon ratchathani rajabhat university

68

วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ปที่ 3 ฉบับที่ 6 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556

JJOURNAL OF INDUSTRIAL TECHNOLOGY UBON RATCHATHANI RAJABHAT UNIVERSITY

รูปที่ 10 แผนภาพ Why-Why Analysis เพื่อวิเคราะหหา

สาเหตุของปญหา

จากการคนหาสาเหตุในวิสาหกิจชุมชนและหาวิธีการ

แกไขปญหา โดยใชหลักการของ Why-Why Analysis

สามารถสรุปสาเหตุของปญหาไดดังน้ี 1) อุปกรณจุดหมุนไม

เหมาะสม 2) สกรูปรับไมเหมาะสม 3) ไมมีเครื่องมือวัดที่

เหมาะสม 4) การออกแบบเครื่องตัดไมเหมาะสม

3.4 การปรับปรุงแกไขปญหา (Improve)

นําปญหาที่ได น้ันมาทําแผนภาพแขนงตนไม

โดยสามารถแสดงใหเห็นดังรูปที่ 11 ดังตอไปน้ี

รูปที่ 11 แผนภาพตนไม (Tree Diagram) เพื่อวิเคราะหหา

มาตรการการแกไขปญหา

3.5 การนํามาตรการไปแกไขและควบคุม (Control)

จากการวิเคราะหแผนภาพแขนงตนไม Tree Diagram

ไดมาตรการการแกไขปญหาสรุปไดดังตารางที่ 8

ตารางที่ 8 การหามาตรการแกไข

ลําดับ ปญหา มาตรการ

1 ลวดตัดดินเหนียว

หยอน

ทําสกรูมือหมุนปรับความตึง

ลวดและแผนบํารุงรักษา

2 จุดหมุนท่ีเพลาตัด

คลอน

ใสแบร่ิงท่ีเพลาจุดหมุนและ

แผนบํารุงรักษา

3 เคร่ืองมือวัดระยะ

ไมเหมาะสม

ทําจิ๊กวัดระยะและ

แผนบํารุงรักษา

4

แกนโยกตัด

เสื่อมสภาพและ

น้ําหนักมาก

ทําเคร่ืองตัดใหมใหมี

ลักษณะเหมาะสมและ

แผนบํารุงรักษา

4. การปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางาน

การดําเนินการประสิทธิภาพการทํางานดําเนินการตาม

ขั้นตอนของกระบวนการ Six Sigma (DMAIC) ดังตอไปน้ี

4.1 สภาพปจจุบันของสายการผลิต (Define)

ผูวิจัยทําการศึกษาเสนทางสายการผลิตกระถางกอนการ

ปรับปรุง ตามกระบวนการใน Operation Chart ดังรูปที่ 1

โดยเพิ่มกระบวนการเคล่ือนยายและรอคอย ไดผลดังแสดงใน

รูปที่ 12

รูปที่12 แผนภาพการเดินทางของสายการผลิตกระถาง

( O = Operation , =Transport, = Inspection,

D = Delay, = Storage)

การตัดดินเหนียวมีความผันแปร

เพลาเครือ่ง

ตัดเลือ่นได อุปกรณลอ็ค

เพลาหลวม อุปกรณจุดหมุน

ไมเหมาะสม

ลวดตัดไม

ตึง

ไมมีการตรวจสอบ

ระยะลวดตัด ไมมีเครื่องมือ

วัดที่เหมาะสม

สกรปูรบัไม

เหมาะสม

ลวดตัดเอียง

ระยะไมเทากัน

เครื่องตัด

ปรับตั้งยาก เครื่องตัดอยูติดกับ

เครื่องบดไมยืดหยุน

Why Why

Why Why

Why

Why

Why

ไมมีการออกแบบ

ที่เหมาะสม

Why

How

การตัดดินเหนียวใหเทากัน

สรางอุปกรณจุด

หมุนที่เหมาะสม ใสแบริ่งที่เพลา

เครื่องตัด

How

ทําใหลวดตึง เปลี่ยนสกรปูรบั

ใหเหมาะสม

ทําเครื่องมือวัด

ระยะที่เหมาะสม ทําจ๊ิกวดัระยะ

เครื่องตัดมีนํ้าหนัก

เบาและยืดหยุน แยกเครือ่งตัดออกจาก

เครื่องบดและ

ออกแบบใหเหมาะสม

How

How

How

Page 9: jjournal of industrial technology ubon ratchathani rajabhat university

69

Journal of Industrial Technology Ubon Ratchathani Rajabhat University Vol. 3 No. 6 July-December 2013

JJOURNAL OF INDUSTRIAL TECHNOLOGY UBON RATCHATHANI RAJABHAT UNIVERSITY

4.2 การศึกษาระยะทางและเวลาของกระบวนการผลิต

กระถาง (Measure)

ทําการศึกษาแผนภูมิการบวนการไหล Flow Process

Chart ของกระบวนการกอนปรับปรุง เพื่อหาระยะทางและ

เวลาในการทํางาน ซ่ึงจากผลการศึกษาพบวา ระยะทางที่ใชใน

กระบวนการผลิตกอนปรับปรุงคือ 70 เมตร และ เวลาที่ใชคือ

14,000 นาที ดังแสดงในตารางที่ 9

ตารางที่ 9 แผนภูมิกระบวนการไหลกอนปรับปรุง

4.3 การวิเคราะหหาความสูญเปลา (Analysis)

ทําการวิเคราะหหาความสูญเปลาโดยใชการระดมสมอง

วิเคราะหขั้นตอนที่เปลาประโยชนจากแผนภูมิกระบวนการ

ไหลของกระบวนการกอนการปรับปรุงโดยใชหลักการ ECRS

ซ่ึงเปนหลักการที่ประกอบดวย การกําจัด (Eliminate) การ

รวมกัน (Combine) การจัดใหม (Rearrange) และการ

ทําใหงาย (Simplify) เพื่อลดความสูญเปลาในกระบวนการ

ผลิต หลังจากน้ันทําการวิเคราะหการรอคอย โดยใชแผนภูมิ

กิจกรรมพหุคูณ (Multiple Activity Chart) และแผนภูมิ

คน–เครื่องจักร (Man–Machine Chart) เพื่อแสดง

ความสัมพันธของการทํางานของพนักงานหลายคนซ่ึงตอง

ทํางานเก่ียวของกันตั้งแตสองคนขึ้นไป หรือคนงานหลายคน

ซ่ึงทํางานรวมกันในบริเวณเดียวกัน หรือตองใชเครื่องจักร

รวมกัน นอกจากน้ียังสามารถใชศึกษาการทํางานของ

พนักงานคนเดียว ซ่ึงทํางานสัมพันธกับเครื่องจักรหรือตอง

ดูแลเครื่องจักรหลายเครื่องพรอมกัน โดยมีจุดมุงหมายในการ

วิเคราะหแผนภูมิน้ี เพื่อที่จะวิเคราะหกิจกรรมที่ทํารวมกัน

และแยกทํา เพื่อลดเวลาวางงานของพนักงานและเครื่องจักร

ลง หรือเพิ่มผลิตภาพในการทํางาน โดยการวิเคราะหจะใช

กราฟแทงแทนกิจกรรมแตละประเภท โดยใชการระบายสีหรือ

สัญลักษณแทนกิจกรรมที่เปนอิสระ กิจกรรมรวม หรือการ

วางงาน จากการวิเคราะหไดผลดังแสดงในรูปที่ 13 และรูปที่

14 หลังจากน้ันนําผลการศึกษาที่ไดไปทําการปรับปรุงเพื่อลด

ระยะทาง ระยะเวลา และความสูญเปลาอ่ืน ๆ เพื่อเพิ่ม

ประสิทธิภาพกระบวนการตอไป

รูปที่ 13 แผนภูมิคน – เครื่องจักร (Man–Machine

Chart) ของกระบวนการผลิตกอนปรับปรุง

รูปที่14 แผนภูมิแผนภูมิกิจกรรมพหุคูณ (Multiple Activity

Chart) ของกระบวนการผลิตกอนปรับปรุง

Page 10: jjournal of industrial technology ubon ratchathani rajabhat university

70

วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ปที่ 3 ฉบับที่ 6 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556

JJOURNAL OF INDUSTRIAL TECHNOLOGY UBON RATCHATHANI RAJABHAT UNIVERSITY

4.4 การปรับปรุงแกไขปญหา (Improve)

จากการวิเคราะหหาความสูญเปลาโดยใชการระดม

สมองวิ เคราะหขั้ นตอนที่ เปล าประ โยชน จากแผนภู มิ

กระบวนการไหลของกระบวนการกอนการปรับปรุง และ

วิเคราะหการรอคอยโดยใชแผนภูมิกิจกรรมพหุคูณ (Multiple

Activity Chart) และแผนภูมิคน–เครื่อง จักร (Man–

Machine Chart) จากน้ันทําการลดวามสูญเปลาโดยใช

หลักการ ECRS ไดผลการจัดกระบวนการใหม ดังแสดงใน

แผนภูมิกระบวนการไหลของกระบวนการหลังการปรับปรุงใน

ตารางที่ 10

ตารางท่ี 10 แผนภูมิกระบวนการไหลของกระบวนการหลัง

การปรับปรุง

นํากิจกรรมที่ทํารวมกันและแยกกันทําหลังจากปรับปรุง

มาวิเคราะห ไดผลดังแสดงในรูปที่ 15 และรูปที่ 16

รูปที่ 15 แผนภูมิคน–เครื่องจักร (Man–Machine Chart)

ของกระบวนการผลิตหลังการปรับปรุง

รูปที่ 16 แผนภูมิกิจกรรมพหุคูณ (Multiple Activity Chart)

ของกระบวนการผลิตหลังการปรับปรุงขั้นตอนการทํางาน

4.5 การนํามาตรการไปแกไขและควบคุม (Control)

นําวิธีการทํางานจากการจัดกระบวนการใหมดังแสดงใน

แผนภูมิกระบวนการไหลของกระบวนการหลังการปรับปรุง

จากตารางที่ 10 ไปใชโดยกําหนดเปนขั้นตอนการทํางานและ

จัดทําเปนเอกสารมาตรฐานการทํางาน

Page 11: jjournal of industrial technology ubon ratchathani rajabhat university

71

Journal of Industrial Technology Ubon Ratchathani Rajabhat University Vol. 3 No. 6 July-December 2013

JJOURNAL OF INDUSTRIAL TECHNOLOGY UBON RATCHATHANI RAJABHAT UNIVERSITY

5. สรุปผลการดําเนินงาน

5.1. ผลการปรับปรุงคุณภาพกระบวนการผลิต

จากผลการปรับปรุงคุณภาพกระบวนการตัดดินโดย

ออกแบบเครื่องตัดดินใหมีลักษณะเหมาะสมยิ่งขึ้น แลวทํา

การสุมตัวอยางการตัดดิน นํามาวิเคราะหแผนภูมิควบคุมและ

หาคาสมรรถภาพกระบวนการผลิต (Cpk) หลังการแกไขปญหา

ไดผลดังแสดงในรูปที่ 17 และ รูปที่ 18

รูปที่ 17 แผนภูมิควบคุมคาเฉล่ียของความยาวดินเหนียว

หลังการปรับปรุง

รูปที่ 18 แผนภูมิควบคุมคาพิสัยของความยาวดินเหนียว

หลังการปรับปรุง

จากแผนภูมิ X - R Chat จะเห็นไดวา เสนของ

กราฟที่ไดจะอยูในเขตการควบคุม และขอบเขตบนและลาง

แคบลง ซ่ึงจะทําใหกระบวนการตัดดินมีความแปรปรวนใน

กระบวนการนอยลง จากตัวอย างขา งตนนําข อมูลไป

คํานวณหาคาอัตราสวนสมรรถนะกระบวนการหลังการ

ปรับปรุงได 1.74 ซ่ึงสูงขึ้นกวาเดิมอยูในเกณฑที่ดี นอกจากน้ี

นํากระบวนการที่ปรับปรุงแลวมาประเมินความเส่ียงพบวาคา

Risk Priority Number (RPN) ลดลงจาก 100 เหลือเพียง 8

5.2 ผลการปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางาน

จากการวิเคราะหหาความสูญเปลาโดยใชการระดม

สมองวิ เคราะหขั้ นตอนที่ เปล าประ โยชน จากแผนภู มิ

กระบวนการไหลของกระบวนการกอนการปรับปรุง และ

วิเคราะหการรอคอยโดยใชแผนภูมิกิจกรรมพหุคูณ (Multiple

Activity Chart) และแผนภูมิคน – เครื่องจักร (Man–

Machine Chart) แลว ทําการลดวามสูญเปลาโดยใชหลักการ

ECRS พบวา ระยะทางที่ใชในสายการผลิตทั้งหมดลดลงจาก

70 เมตรเหลือ 56 เมตร และ เวลาที่ใชลดลงจาก 14000 นาที

เหลือ 8924 นาที

5.3 ขอเสนอแนะ

จากการวิจัยเรื่องการปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการ

ผลิตเครื่องปนดินเผา กรณีศึกษา กลุมชุมชนปากหวย จังหวัด

อุบลราชธานี พบวาปญหาสําคัญบางประการของธุรกิจชุมชน

คือ ไมมีการศึกษาความตองการของลูกคา ไมมีการเก็บขอมูล

ของลูกคา มองไมเห็นความสูญเปลาที่ เ กิดขึ้น และการ

แกปญหายังไมเปนระบบ ดัง น้ัน การใหความรูแก

ผูประกอบการใหเกิดกระบวนคิดในการพัฒนาและนํามา

ปฏิบัติ จึงควรกระทําเปนอยางยิ่งไดแก

- การมุงเนนที่ความตองการของลูกคาทั้งภายใน และ

ภายนอกชุมชน โดยจะตองวิเคราะหตลาดสํารวจหาความ

ตองการและความพึงพอใจของลูกคากอนทําการผลิต เพราะ

ลูกคาจะมีความตองการหลากหลาย ไมส้ินสุด เปล่ียนแปลง

ตลอดเวลา ผูขายจึงตองหากลยุทธเพื่อสนองความตองการน้ัน

- การสรางความตระหนักดานการลดตนทุนโดยการขจัด

ความสูญเปลา เพื่อยกระดับการแขงขันจากระบบการผลิต

จํานวนมาก (Mass Production) ในปจจุบันจะชวยเพิ่ม

ศักยภาพในการดําเนินธุรกิจไดเปนอยางดี นอกจากน้ี ควรมี

การปลูกฝงวิธีการแกปญหาอยางเปนระบบใหแกธุรกิจชุมชน

เพื่อการปรับปรุงพัฒนาอยางตอเน่ืองอีกดวย

Page 12: jjournal of industrial technology ubon ratchathani rajabhat university

72

วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ปที่ 3 ฉบับที่ 6 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556

JJOURNAL OF INDUSTRIAL TECHNOLOGY UBON RATCHATHANI RAJABHAT UNIVERSITY

6. เอกสารอางอิง

[1] กิตติภณ เรืองแสน. ขาวทั่วไป. หนังสือพิมพบานเมือง.

ฉบับวันเสารที่ 27 พฤศจิกายน 2553; 2553.

[2] วิฑูรย ตันศิริมงคล. AHP กระบวนการตัดสินใจที่ไดรับ

ความนิยมมากที่สุดในโลก. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ

กราฟฟคแอนดปรินติ้งเซ็นเตอร จํากัด; 2542.

[3] กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ. การวิเคราะหขอขัดของและ

ผลกระทบ FMEA. กรุง เทพฯ : สมาคมสง เสริม

เทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีปุน); 2551.

[4] กันยรัตน คมวัชระ. การนํา Six Sigma มาประยุกตใชใน

การปรับปรุงคุณภาพการศึกษา. วารสารประกันคุณภาพ

มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยขอนแกน; 2547.

[5] กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ. การวิเคราะหความสามารถ

ของกระบวนการ. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สมาคม

สงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีปุน); 2549.

[6] Yefim Fasser and Donald Brettner.

Management for Quality in High Technology

Enterprises Photogrammetry. 1992; Vol. 1. ISBN

0471209589. P 204.

[7] Benjamin W. Niebel and Andris Freivalds.

Methods Standards and Work Design. Germany

: McGrawHill WB-Druck; 2003.

[8] พรเทพ แกวเชื้อ และวรินทร เกียรตินุกูล. การปรับปรุง

ประสิทธิภาพระบบการจัดเก็บวัตถุดิบ กรณีศึกษา

วัตถุดิบคูลล่ิงทาวเวอร รุนบีซีรีส. วารสารเทคโนโลยี

อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 2554;

1: 43-53.