40
แม ขาวแกง และเมืองชั้นใน กรุงเทพมหานคร ฐิตินบ โกมลนิมิ นำเสนอในการประชุมวิชาการทาง มานุษยวิทยา ครั้งที9 “ปาก-ทอง และ ของกิน: จริยธรรมและการเมืองเรื่องอาหาร การกินเมื่อวันที27 มีนาคม 2553

แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

แม ขาวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพมหานคร

ฐิตินบ โกมลนิมิ

นำเสนอในการประชุมวิชาการทาง

มานุษยวิทยา ครั้งที่ 9 “ปาก-ทอง และของกิน: จริยธรรมและการเมืองเรื่องอาหาร

การกิน” เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2553

Page 2: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

“ขาวแกง” - “อาหาร” (food space) เปนพ้ืนที่ที่แสดงใหเห็นความขัดแยงและการปะทะกันของวาทกรรมที่ใชในการทำความเขาใจผูหญิงกับอาหารไปพรอมกัน

Page 3: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

“แม”-นางพนิดา (informant) ถายทอดเรื่องราวและเลาเรื่องของตนเอง

‘เรื่องเลา’ คือสิ่งที่นำเสนอเหตุการณตางๆ ซึ่งเชื่อมโยง อันถูกกำหนดขึ้นในหวงเวลาและพ้ืนที่

การเลาเรื่องจะทำใหปจเจกรำลึกถึงประสบการณ ความทรงจำหรืออดีตที่มีชีวิต ที่สัมพันธกับชวงเวลาในชีวิต ที่จะนำไปสูการทำความเขาใจตัวตนระหวางผูรวมสรางความรู คือระหวางผูศึกษาและผูถูกศึกษา

Page 4: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

• เมื่อแมเลาเรื่อง “อาหาร-ขาวแกง” เห็นชีพจรของ

“เมืองชั้นใน กรุงเทพมหานคร” และพ้ืนที่ดังกลาว ก็มีสวนกำหนดชีวิตความเปนอยูของผูคนที่สัมพันธ และเก่ียวของกัน

• เขตเมืองชั้นในกรุงเทพมหานคร  -­‐ศูนยกลางเมืองเดิมและเขตตางๆ  ที่มีการตั้งถ่ินฐานของชุมชนอยูอาศัยระยะแรก  (บริเวณกรุงรัตนโกสินทร)  และพ้ืนที่อนุรักษ  ทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรม  สถานที่ราชการ  สถานศึกษาและยานธุรกิจการคาหนาแนน

Page 5: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

อาหารเชื่อมรอยความสัมพันธระหวางบาน  วัด  และชุมชนในเมืองชั้นใน

Page 6: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ
Page 7: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ
Page 8: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ
Page 9: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

ตา คือ ขุนตำรวจเอก พระพิเรนทรเทพบดีศรีสมุห (เนียน เกตุทัต) เปนผูเขามาบุกเบิกปลูกเรือนอยูอาศัยในชุมชนวัดราชาธิวาสคนแรกๆ คอยตามถวายงานในรัชกาลที่ 7 จึงเริ่มหันหาที่ดินที่ใกลกับวังสุโขทัยที่ประทับของพระองคในสมัยนั้น ก็มาถูกใจที่ตรงชุมชนวัดราชาฯ นี่เอง

Page 10: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

ยายชื่อผาด นามสกุลเดิมคือ มาประเสริฐ เปนลูกชาวสวน อยูแถวฉางเกลือ คลองตนไทร ฝงธนบุรี ตารูจักกับยายไดก็เพราะบานพอของตา “ตาทวด” (คือมหาเสวกมนตรี พระยาเวียงในนฤบาล (เจก) ที่ถูกระบุวาเปนตนสกุล ‘เกตุทัต’) อยูตรงขามบานของยาย

ยายมีฝมือในทางกับขาวกับปลา รวมทั้งงานเย็บปกถักรอยตามแบบสาวชาววังสมัยกอน เนื่องเพราะยายถูกเจาจอมมารดาตลับ ซึ่งเปนพ่ีสาวของตาทวดขอไปเลี้ยงในวังเหมือนลูก ตั้งแตแมของยายคลอดยายได 3 วัน

Page 11: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

•  เกือบรอยปยอนหลังขึ้นไป  สังคมไทยยังไมมีโรงเรียนการเรือนหรือโรงเรียนการชางสตรี  วังจึงเปนศูนยกลางการศึกษาของสตรีโดยเฉพาะ  โดยจะตองเขาไปถวายตัวอยูกับเจานายฝายในพระองคใดพระองคหนึ่ง  

•  แตละตำหนักจะเปรียบไมตางจากสาขาวิชาปลีกยอยของคหกรรมศาสตร  และสาขาวิชาที่ไดรับความนิยมเปนอยางมากก็คือ  อาหารคาวหวาน  ตำหนักของพระวิมาดาเธอฯ  พระองคเจาสายสวลีภิรมย  กรมพระสุทธาสินีนาฎ  ปยมหาราชปดิวรัดา  ทรงเปนเอกดานการครัวจนถึงกับไดรับความไววางพระราชหฤทัยใหทรงดูแลกำกับราชการหองเครื่องตนทั้งในวังหลวงคือพระบรมมหาราชวังและใน

สวนดุสิตตลอดทั้งรัชกาล  ตำหนักนี้ก็ฝกลูกศิษยหัวกระทิออกมาอีกมากมาย  ซึ่งรวมทั้งคุณยายดวย

Page 12: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ
Page 13: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

อาหารชาววังสูชาวบาน:  ประวัติศาสตรบอกเลาของครัวเรือน

Page 14: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

รูปแบบการกินอาหารที่แพรหลายในปจจุบัน เกิดจากการแพรหลายของตำรับอาหารจากในวังของชนชั้นสูงที่ติดตัวพอครัว แมครัวที่ตองออกจากวังหลังความตกต่ำของระบบการชุบเลี้ยงในระบบศักดินาลมสลาย ชวงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 หรือคนที่เคยใชชีวิตในวังอันเปนแหลงฝกฝนวิชาการครัวสำหรับสตรีมากอน

คุณยายเองก็เปนสวนหนึ่งของประวัติศาสตรในยุคนั้นที่นำ “รูปแบบ” และ “รสชาติ” แบบชาววังมาสู “ครัว” ชาวบานผานบรรดาลูกสาว โดยเฉพาะลูกสาวคนสุดทองคือแมนั่นเอง

Page 15: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

• การที่แมเลาเรื่องอาหารชนิดตางๆ นอกจากจะทำใหแมและผูหญิงอีกจำนวนหนึ่ง

ไดมี “ตัวตน” ปรากฏอยูในปจจุบัน อาหารยังเปนสะพานเชื่อมประสบการณของคนรุนเกาใหดำรงอยูในสังคมสมัยใหม “อาหารจึงเปนเสมือนพ้ืนที่ความทรงจำ”

• รสชาติอาหารที่คุนลิ้นของฉันตั้งแตเกิด เปนรสชาติอาหารที่สังคมสรางขึ้นมา ไมวาวันวานรสชาติเปนอยางไร รสชาตินั้นยังถูกสงผานจากคนรุนแลวรุนเลาผานมือของผูหญิง ยอมนิยมไดวา “รสชาติอาหาร” ที่ถูกสงทอดจนถูกบอกวาเปน “อาหารไทย” นี้ คือการจารึกประวัติศาสตรอีกรูปแบบหนึ่งโดยผูหญิงที่ตางจากการ “บันทึกอดีต” ของนักประวัติศาสตรกระแสหลัก

Page 16: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

เรามักไมคอยสังเกตกันวา ตลอดเวลาที่ผานมาผูหญิงไดสรางประวัติศาสตรของเธอผาน “กิจกรรม” “รูป” “รส” “กลิ่น” ของอาหาร อันทำใหเรารูจักอาหารชนิดตางๆ จำนวนมาก อาหารจึงเปนแหลงบันทึกความทรงจำหรือที่ปแยร โนรา (Pierre Nora) เรียกวา “lieux de memoire”

อาหารจึงมีบทบาทสำคัญในการรื้อฟนอดีต นอกจากนี้ การนำเสนออดีตผานเรื่องอาหารยังเปดโอกาสใหผูเลาไดถายทอดเรื่องราวและวิถีชีวิตของผูหญิงภายในครัวเรือนที่มักถูกมองขามโดยการจดบันทึกประวัติศาสตรแบบทางการ ทั้งที่ อาหารเปนสิ่งท่ีเชื่อมโยงสายสัมพันธของผูเลากับบรรพบุรุษ โดยท่ีผูเลาไดรับถายทอดสูตรอาหารจากแมของเธอ..

Page 17: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

โรงเรียนการเรือน  การยกระดับเปนแมคามืออาชีพ

Page 18: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

โรงเรียนทั้งของราษฎรและรัฐบาลที่จัดตั้งขึ้นตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 5 ลวนเนนฝกใหนักเรียนหญิงมีจิตใจเปนแมบาน แมเรือน มีการสอนทำอาหารและดูแลครัวเรือนใหเปนแมบานสมัยใหมควบคูกับการเรียนเนื้อหาวิชาสามัญ

ตอมาสมัยรัชกาลที่ 6 มีพระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. 2464 บังคับใหราษฎรสงเด็กเขาศึกษาเลาเรียนในโรงเรียนไมวาราษฎรหรือรัฐก็ตามตั้งแตอายุ 7-14 ป

คตินิยม “แมบานทันสมัย” ถูกสงผานระบบโรงเรียนอันเปนกลไกของรัฐประชาชาติ เพ่ือกำหนดมาตรฐานความเปนหญิงที่พึงประสงคของสังคมไทยมาจนถึงปจจุบัน

Page 19: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

โรงเรียนการชางสตรีโชติเวชนี้  เปนหนึ่งในผลผลิตของนโยบายสรางชาติไทยและนโยบายเศรษฐกิจแบบ

ชาตินิยมของจอมพล  ป.  พิบูลสงคราม  ที่ประชาชนทุกคนตองพ่ึงตนเอง  ผูหญิงไทยตองทัดเทียมอารยะ

ประเทศ  มีสวนรวมทางเศรษฐกิจ  สังคม  และการปองกันประเทศ  จึงไดสงเสริมใหมีการสอนวิชาชีพขึ้นในโรงเรียนตางๆ  

มีการจัดตั้งโรงเรียนการชางสตรีพระนครใต  โรงเรียนการชางสตรีวัดเทวราชกุญชร  ฯ  ซึ่งก็คือโรงเรียนการชางสตรีโชติเวชนั่นเอง

และในสมัยเดียวกันนี้ก็เกิดโรงเรียนการชางสตรีประจำจังหวัดเกือบทั่วประเทศ

Page 20: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

การปรากฏขึ้นของ “ขาวแกง” สัมพันธกับความเปนหญิงในสังคมไทย

Page 21: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

“รูปแบบของการกินและการทำอาหาร” ยอมปรับเปลี่ยนไปตามสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การกินที่เคยเปนเรื่องเฉพาะครัวเรือนก็สามารถเคลื่อนยายและมีบทบาทในพ้ืนที่สาธารณะได ซึ่งสัมพันธกับพฤติกรรมการกินของคนในสังคมนั่นเอง

สำหรับหลายครอบครัว ‘รานขาวแกง’ ก็อาจกลายเปนศูนยกลางชีวิต เปนพ้ืนที่ที่ปรับเปลี่ยนความคิดระหวางการกินอาหารในพ้ืนที่สวนตัวและพ้ืนที่สาธารณะ มีการนำอาหารไปผูกโยงกับสังคม หนาที่ “ในบาน” ของผูหญิง ซึ่งมิติเรื่องเวลาและพ้ืนที่ก็มีสวนเก่ียวของกับการเติบโตของรานขาวแกงในเมืองชั้นในของกรุงเทพมหานครดวย

Page 22: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

• “รานขาวแกง” มีมาตั้งแตสมัยสุโขทัย ที่ตั้งขายในตลาดรอบเวียงเพ่ือใหคนเดิน

ทางและพอคาเรซื้อกิน และมีจดหมายเหตุบันทึกไวคนที่กินขาวนอกบานในสมัยกอนมีแตพวกเดินทางและพวกขาราชการ ในสมัยกรุงศรีอยุธยามี รานชำหุงขาวแกงขายคนราชการ เฉพาะบริเวณใกลๆพระราชวังเทานั้น ไมไดมีทั่วไป เพราะขาราชการที่ออกจากบานมาทำงานหลวงจะกลับไปกินขาวที่บานคงไกลหรือกลับไมไดนั่นเอง

• ชาติชาย มุกสง ระบุวามีรานขาวแกงในยานการคาทั้งชวงในพระนครและนอกพระนคร ตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 5 ทั้งหมด 57 ราน ตั้งอยูถนนเจริญกรุงฯ 19 ราน รอบพระนครชั้นในกำแพง ตั้งแตประตูสะพานหันไป 8 ราน ถนนเฟองนคร 6 ราน ถนนสำเพ็ง 3 ราน และถนนอื่นทั่วทั้งฝงพระนครและธนุรีมี 21 ราน ซึ่งคงมีลูกคาในยานนั้นพอสมควร

Page 23: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

“เวลากิน” หรือมื้ออาหารของสังคมไทย ซึ่งสัมพันธกับการกินขาวแกง หรือ “อาหารนอกบาน” ถูกกำหนดชัดเจนจาก “เวลาทำการของระบบราชการ”

ในสมัยรัชกาลที่ 5 การปฏิรูประบบบริหารราชการแผนดินที่เกิดขึ้น การมีสถานที่ทำการแนนอน สงผลใหตองมีเวลาทำการที่แนนอนเกิดขึ้นตามไปดวย จากการขยายระบบราชการของแตละกระทรวง รวมทั้งการมีคนทำงานประจำสำนักงานในตำแหนงหนาที่การงานที่เกิดขึ้นใหมจำนวนมาก นั่นก็คือ “ขาราชการ” กลายเปนชนชั้นใหมที่เกิดขึ้น

Page 24: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

การกำหนด “เวลาทำการ” ไมไดสงผลแคชนชั้นราชการเทานั้น สมัยรัชกาลที่ 6-7 เด็กนักเรียนเขาเรียนประมาณ 08.30-09.00 น. แลวแตโรง คนที่ทำราชการเขางาน 10.00 น. ถางานบริษัทหางรานของเอกชนอาจเริ่มกอนหลังไมเหมือนกันแตไมเกิน 09.00 น.ทำใหเวลากินอาหารของคนที่ตองทำงานอยูในเมืองมีความชัดเจนเปนเวลาที่แนนอนขึ้น เชน มื้อเชาตองกินกอนเขาทำงาน มื้อกลางวันกินตอนพักเที่ยง และมื้อเย็นตองกินหลังเลิกงาน

ดังนั้น เวลาที่เริ่มเขาทำงานเร็วเขาก็สงผลตอการกินอาหารของคนในเมืองอยางหลีกเลี่ยงไมได เพราะมีเวลาเตรียมอาหารเชานอยลงและเวลาในการเดินทางไปทำงานก็ตองกระชั้นลง เลยทำใหอาหารมื้อเชาถูกกระทบเปนมื้อแรกจากการเปลี่ยนแปลงเวลาทำการดังกลาว

Page 25: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

ชาติชาย มุกสง ระบุอีกวา “กับขาวถุง” หรือการใชพลาสติกมาหอหุมหรือบรรจุอาหารก็นับเปนประดิษฐกรรมที่รองรับเรื่องความสะดวกในการกินของคนไทยที่เพ่ิงเกิดขึ้นไดราวทศวรรษ 2500 เปนที่มาของ ”แมบานถุงพลาสติก” นั่นเอง

ดังนั้น ปลายทศวรรษ 2510 แมบานหลายคนที่ตองทำงานนอกบานไมเขาครัว “ไมอยากหนาเปนมัน ฟนเปนยางอยูหนาเตาไฟ เลยซื้ออาหารสำเร็จรูปใสถุงมากินท่ีบาน”และยังมีผูเรียกการกินอาหารสำเร็จรูปนี้วา “ภัตตาคารขางทาง” หรือครัวเคลื่อนที่ของแมบานสมัยใหมนั่นเอง

จนมีผูแสดงทัศนะไวในนิตยสารสตรีสารถึงชีวิตแมบานในชวงนี้วา ใกลสิ้นยุคเสนหปลายจวักแลว

Page 26: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

จุดเริ่มตน เม่ือ “แม”-คาขาวแกง

Page 27: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ
Page 28: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ
Page 29: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ
Page 30: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ
Page 31: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

• การเขาสูยุคเศรษฐกิจทุนนิยมและทำใหเกิดอุตสาหกรรมอาหาร การถนอมอาหาร ประชาชนโดยเฉพาะคนชนชั้นกลางตางตองประกอบอาชีพทั้งสามีภรรยา ทำใหมีเวลาหุงหาอาหารนอยลง และทุกสิ่งทุกอยางจะบีบตัวของมันเองใหทุกคนตองทำงานแขงกับเวลาเสมอ

• บางครอบครัวที่ใช “ขาวแกง” เปนเครื่องมือควบคุมการเงินของครอบครัว

• ป 2550 จากเอซีนีลเส็น วิจัยทางการตลาดเก่ียวกับอาหารปรุงสำเร็จพบวา ผูบริโภคชาวไทยติดลำดับแรกของโลกที่นิยมซื้ออาหารสำเร็จมากินในชีวิตประจำวัน เพราะนอกจากความสะดวกสบายแลว เหตุผลที่สำคัญเปนอันดับสองในการซื้ออาหารปรุงสำเร็จ (40%) ก็คือมีราคาที่ถูกกวาการซื้ออาหารมาปรุงเองในครัวเรือน

Page 32: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

เม่ือขาวแกงเลาเรื่อง  ปรุงความเปนหญิงในสังคมไทย

Page 33: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ
Page 34: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

• “คุณสมบัติความเปนหญิง” ที่สังคมพึงประสงคที่ถายทอดมาแตอดีต ไมวาจะเปนเรื่อง “เสนหปลายจวัก” หรือ “แมศรีเรือน” ก็ตาม เปนอุปสรรคตอการดำเนินชีวิตในยุคสมัยใหมอยางย่ิง

เพ่ือที่อยูใหได “ภายใต” กรอบคิดทางสังคมขางตนก็มีเพียง 2 ทางเลือกคือทางเลือกแรก รีบไปเรียนรูหาทางหัดทำอาหารจากแมใหเปนอยางนอยจะไดไวคุยอวดในหมูเพ่ือนหญิงสาวทันสมัยดวยกันวา “พอทำกับขาวเปน” บาง ยามที่มีครอบครัวจะไดเลือกใชการทำอาหารเปนกิจกรรมรวมกันของครอบครัว เพ่ือแสดงความรักแบบ “ขาวใหมปลามัน”

ทางเลือกหนึ่ง ก็จงเลือกผูชายคูชีวิตใหทำอาหารเปนบาง เพ่ือแบง “งานบาน” กันทำตามยุคสมัยหญิงชายเทาเทียมกัน เพราะแนวคิดสตรีนิยมไทยในสังคมไทย มิไดเขมแข็งพอจะตอสูกับระบบชายเปนใหญ ที่มาในนามการพัฒนาเศรษฐกิจ การเมือง และทุนนิยมอุตสาหกรรม โดยใหผูหญิงที่ทำงานนอกบานไมตองกลับมาทำงานในบานอีก และปฏิเสธการทำอาหารไดอยางสิ้นเชิง และใหผูชายเขามาทำหนาที่นั้นแทน กลาวใหถึงที่สุด วาทกรรมความเทาเทียมกันของหญิงชายไมสามารถสลับขั้วการแบงงานทางเพศไดทั้งหมดนั่นเอง

Page 35: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

“ขาวแกง” ไดเขามาทำหนาที่ปรับเปลี่ยนการกินในสังคมไทยระหวางพ้ืนที่ในครัวเรือนและการกินในที่สาธารณะ และยังมีความสัมพันธกับ “ความเปนหญิง”

ดานหนึ่ง “ขาวแกง” อาจทำใหผูหญิงรูสึกผิดวาตนเองขาดเสนหปลายจวัก บกพรองตอหนาที่แมศรีเรือน แตขาวแกงก็ไดเขามาประนีประนอมใหผูหญิงยุคใหมเปน “แมบานถุงปรุงสำเร็จ” เธอตองฉลาดทำงานนอกบาน และตองฉลาดเลือกซื้ออาหารสำเร็จรูปดวย อันเปนการซอมแซม ปะชุน “คุณสมบัติแมศรีเรือน” ของผูหญิงยุคใหมสามารถดำรงสถาบันครอบครัวไวไมใหเจือจางลง และครอบครัวอบอุนตอไป

Page 36: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

•  “ขาวแกง” ในรานแผงลอยซึ่งไมมีที่อยูที่ตั้งมั่นคงถาวรก็ถูกเบียดขับจากระบบเศรษฐกิจภาค

ทางการและพ้ืนที่อาหารอื่นๆ วาไมใชสิ่งซึ่งคนสังคมนึกถึงเปน “อาหารในชีวิตประจำวัน” ไมถูกใหคุณคาในระดับเดียวกันกับ “รานอาหาร” “รานฟาสตฟูดส” ที่มีพ้ืนที่โฆษณา การสงเสริมการขายชัดเจนในสื่อสาธารณะ สามารถสรางมูลคาทางการตลาดไดมากมาย

• “ราน-ขาวแกง” มักถูกเรียกรองโหยหา กลาวถึง และใหความสำคัญจนปรากฏออกสูพ้ืนที่สาธารณะได ก็ตอเมื่อสังคมไทยเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ เชน หลังเศรษฐกิจฟองสบูแต ป 2539-2540 การสรางกระแสประชานิยมในยุครัฐบาลทักษิณ ชินวัตร มีการนโยบาย “ขาวแกงธงฟา” ป พ.ศ. 2551 นโยบาย “ขาวแกง กทม.” ขายราคาถูกในทุกเขต เปดหลักสูตรสอนทำขาวแกงในโรงเรียนฝกอาชีพของกรุงเทพมหานคร

• รัฐก็จะมีการควบคุมราคาขาวแกงไมใหสูงมาก เพ่ือใหแรงงานในระดับตางๆ สามารถซื้อหามากินไดอยางไมเดือดรอน ดังนั้น อาหารก็เปนอีกพ้ืนที่แสดงใหเห็นถึงการขูดรีดทางชนชั้นดวย ที่เปนผลจากโครงสรางทางสังคม และระบบเศรษฐกิจทุนนิยมอุตสาหกรรมอยางถึงลูกถึงคน

Page 37: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ
Page 38: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

• “เรื่องเลาประสบการณชีวิต” เปนวิธีวิทยาในการศึกษาและเลือกใชการเขียนแบบอัตชาติพันธุวรรณาในฐานะเครื่องมือการถายทอดเรื่องเลาของผูหญิงที่มีตอ “วัฒนธรรมการกินอาหารถุง” อันเปนปรากฏการณทางสังคมที่มีความสัมพันธกับความเปนผูหญิงในสังคมไทย

• เปนการเปดพ้ืนที่ทางวิชาการใหนางพนิดาไดเลาถึงกระบวนการ “ปรุง” ขาวแกงในชีวิตประจำวันใหขาวแกงนั้นเชื่อมโยงกับบริบทตางๆ ของสังคม ชุมชนวาผูหญิงตองเผชิญกับสถานการณตางๆ อยางไร การเชื่อมโยงพรมแดนความรูระหวางผูหญิง ความเปนหญิง รัฐชาติ การพัฒนาการคาขายที่เรียกวาเศรษฐกิจขางถนนหรือเศรษฐกิจแบบยังชีพเขากับประวัติศาสตรสังคม จนมองเห็นสถานการณตอบโตและตอสูของผูหญิง

• ทำใหตัวตนของเธอและผูหญิงอีกจำนวนหนึ่งไดมี “ตัวตน” ปรากฏอยูในปจจุบัน อาหารยังเปนสะพานเชื่อมประสบการณของคนรุนเกาใหดำรงอยูในสังคมสมัยใหม และใหแนวทางเปด “พ้ืนที่” ประสบการณการตอสูของผูหญิงสามัญธรรมดาที่ตอสูแบบ “แม-คาขาวแกง” อีกจำนวนมากที่ไมเคยถูกบันทึกวาเปนองคความรู

Page 39: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

เรื่องเลาทั้งหมดนี้ ยังแสดงใหเห็นวา “ความเปนหญิง” ในสังคมไทยนั้น ประกอบดวยความหลากหลายของผูหญิงนั่นเอง และนำไปสูการเปดพ้ืนที่ เชื่อมโยงแลวรอยเรียงผูหญิงอื่นๆ เขาไวดวยกัน

ตั้งแตผูเขียนที่เปนผูหญิงโสด ทันสมัย ทำงานนอกบาน ลูกสาว ภรรยา แม แมคาขาวแกง แมบานอาหารถุง ฯ อันเปนการเขียนประวัติศาสตรของคนสามัญธรรมดา ที่เต็มไปดวยความสัมพันธของผูคนจำนวนมากทั้งผูหญิงและผูชายที่เก่ียวของกันในชีวิตประจำวัน

Page 40: แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ

เบล ฮุกส (bell hook) อธิบายวา ความเปนสวนตัว (personal) นำไปสูความเปนการเมืองนั้น ไมใชการทำใหความเปนสวนตัวเทากับความเปนการเมือง (politic) แตเปนการใหความหมายแกตัวตนในฐานะที่มีความสำคัญอันดับเริ่มแรกของการเปนพ้ืนที่ที่จะนำไปสูกระบวนการปลุกจิตสำนึกทางการเมือง ผานกระบวนการเชื่อมโยงตัวตนกับทางสังคมและวัฒนธรรม และการตระหนักถึงความเปนจริงที่เปนสวนรวม (corrective reality)

“การเมืองของความเปนสวนตัว” เริ่มตนขึ้นนับตั้งแตผูหญิงสามารถ “บอกเลาเรื่องราว” ของพวกเธอแกผูอื่น เพ่ือใหคุณคาแกประสบการณของพวกเธอในฐานะผูหญิงใหสังคมไดตระหนักและรับรูวาพวกเธอมีตัวตน และเปนผูสรางความรูทางสังคมอีกชุดหนึ่งขึ้นมานั่นเอง