31
1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ในปจจุบันนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนยการศึกษานอกที่ตั้ง ตรังและ บุคคลภายนอก สวนใหญมีโนตบุคกันทุกคน สงผลทําใหเกิดการขับเคลื่อนในการเรียนและการทํางาน โดยนักศึกษาและบุคคลภายนอกจะใชเทคโนโลยีเพื่อสืบคนขอมูลตางๆ ซึ่งการใชเทคโนโลยีสวนใหญ ของนักศึกษาและบุคคลภายนอกจะใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเปนตัวกลางสําคัญในการเขาถึง แหลงขอมูลตางๆ เนื่องจากนักศึกษาและบุคคลภายนอกตองการที่จะซอมเครื่องโนตบุคที่มีปญหาและเสียหาย ไม วาจะเปนในตัวของฮารดแวรหรือซอฟแวร เชน เครื่องคาง เครื่องติดไวรัส เปนตน เพื่อชวยเหลือนิสิต นักศึกษา หรือบุคลากรของมหาวิทยาลัย รวมถึงบุคคลภายนอกดวยในเรื่องของการแกปญหาเบื้องตน เกี่ยวกับคอมพิวเตอรในดานตางๆ ทั้งการซอมบํารุงคอมพิวเตอร การตรวจสอบการทํางานของ โปรแกรม การเพิ่มประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร รวมถึงการใหคําแนะนําปรึกษาตางๆ ที่เกี่ยวกับ เทคโนโลยีของระบบเครือขายและคอมพิวเตอร โดยไมคิดคาใชจาย โดยมีอาจารยในสาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเปนผูใหคําปรึกษาและแนะนําอีกทางหนึ่งดวย เพื่อไมใหเกิดปญหาในการจด บันทึกการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอที คลีนิก ซึ่งทางหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็น ปญหาดังกลาวจึงไดเปดโครงการไอทีคลีนิกขึ้น ดังนั้นจากปญหาดังกลาว นักศึกษาเล็งเห็นปญหานี้ จึงไดคิดที่จะทําระบบการรับซอม คอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอที คลีนิกขึ้น เพื่องายในการสรุปและคนหาประวัติการซอมของเครื่องหรือ สรางรายงานตางๆ หรือสรุปผลไดงายยิ่งขึ้น ตลอดจนสามารถตรวจสอบขอมูลยอนหลังได 1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย 1.2.1 เพื่อพัฒนาระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลีนิก มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต ศูนยการศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง 1.2.2 เพื่อศึกษาความพึงพอใจระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลีนิก

บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

1

บทที่ 1

บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคญัของปญหา

ในปจจุบันนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนยการศึกษานอกที่ ต้ั ง ตรังและ

บุคคลภายนอก สวนใหญมีโนตบุคกันทุกคน สงผลทําใหเกิดการขับเคลื่อนในการเรียนและการทํางาน

โดยนักศึกษาและบุคคลภายนอกจะใชเทคโนโลยีเพื่อสืบคนขอมูลตางๆ ซึ่งการใชเทคโนโลยีสวนใหญ

ของนักศึกษาและบุคคลภายนอกจะใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเปนตัวกลางสําคัญในการเขาถึง

แหลงขอมูลตางๆ

เน่ืองจากนักศึกษาและบุคคลภายนอกตองการที่จะซอมเครื่องโนตบุคที่มีปญหาและเสียหาย ไม

วาจะเปนในตัวของฮารดแวรหรือซอฟแวร เชน เครื่องคาง เครื่องติดไวรัส เปนตน เพื่อชวยเหลือนิสิต

นักศึกษา หรือบุคลากรของมหาวิทยาลัย รวมถึงบุคคลภายนอกดวยในเรื่องของการแกปญหาเบื้องตน

เกี่ยวกับคอมพิวเตอรในดานตางๆ ทั้งการซอมบํารุงคอมพิวเตอร การตรวจสอบการทํางานของ

โปรแกรม การเพิ่มประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร รวมถึงการใหคําแนะนําปรึกษาตางๆ ที่เกี่ยวกับ

เทคโนโลยีของระบบเครือขายและคอมพิวเตอร โดยไมคิดคาใชจาย โดยมีอาจารยในสาขาวิชา

เทคโนโลยีสารสนเทศเปนผูใหคําปรึกษาและแนะนําอีกทางหน่ึงดวย เพื่อไมใหเกิดปญหาในการจด

บันทึกการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอที คลีนิก ซึ่งทางหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็น

ปญหาดังกลาวจึงไดเปดโครงการไอทีคลนิีกข้ึน

ดังน้ันจากปญหาดังกลาว นักศึกษาเล็งเห็นปญหาน้ี จึงไดคิดที่จะทําระบบการรับซอม

คอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอที คลนิีกข้ึน เพื่องายในการสรุปและคนหาประวัติการซอมของเครื่องหรือ

สรางรายงานตางๆ หรือสรุปผลไดงายย่ิงข้ึน ตลอดจนสามารถตรวจสอบขอมูลยอนหลังได

1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย

1.2.1 เพื่อพัฒนาระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลีนิก มหาวิทยาลัยราชภัฏ

สวนดุสิต ศูนยการศึกษานอกที่ต้ัง ตรัง

1.2.2 เพื่อศึกษาความพึงพอใจระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลีนิก

Page 2: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

2

1.3 ขอบเขตในการวิจัย

1.3.1 กลุมประชากร

อาจารยหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและนักศึกษาที่เขารวมโครงการไอทีคลีนิก

1.3.2 ระยะเวลาในการวิจัย

ต้ังแตเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2556

1.3.3 ขอบเขตของระบบ

1.3.3.1 เจาหนาที ่

เจาหนาที่สามารถทําการ Login เขาสูเว็บไซต

เจาหนาที่สามารถกรอบขอมูลทั่วไปของูกคา

เจาหนาที่สามารถดูขอมลูยอนหลงัของลูกคา

เจาหนาที่สามารถแกไข Password ได

1.3.3.2 อาจารย

อาจารยสามารถทําการ Login เขาสูเว็บไซต

อาจารยสามารถกรอบขอมลูทั่วไปของลกูคา

อาจารยสามารถดูขอมูลยอนหลังของลูกคา

อาจารยสามารถแกไข Password ได

อาจารยสามารถยืนยันการสงคืนใหลูกคา

1.3.3.3 ลูกคา

ลูกคาสามารถดูรายละเอียดการสงคืน

Page 3: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

3

1.4 ประโยชนที่ไดรับ

1.5.1 ระบบสามารถสืบคนขอมูลถูกตองและแมนยํา

1.5.2 ระบบสามารถเพิ่มความสะดวกรวดเร็วใหกับเจาหนาที่และผูใชบริการ

1.5.3 ระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลีนิก มีการทํางานที่เปนระบบและมี

ประสิทธิผลมากข้ึน

1.5.4 เพื่อลดทรัพยากรที่ใชอยูใหนอยลง

1.5.5 เปนการนําเทคโนโลยีที่มีอยูในปจจุบันมาพัฒนาใหมีประสิทธิภาพสูงข้ึน

1.5 นิยามศัพท

ไอที คลินิก หมายถึง นัก ศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนยการศึกษานอกที่ต้ัง ตรัง ที่สมัครเขาโครงการไอทีคลินิก

นักศึกษา หมายถึง นัก ศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนยการศึกษานอกที่ต้ัง ตรัง ที่สมัครเขาโครงการไอทีคลินิก

อาจารย หมายถึง ผูที่ดูแลนักศึกษาที่เขารวมโครงการไอทีคลินิก และผูที่ตรวจเช็คเครื่องหลักจากนักศึกษาแกไขเรียบรอยแลว

ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกของผูใชงานระบบบันทึกฝกงานออนไลนขอ ง นั ก ศึ ก ษาส าข า เ ทค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนยการศึกษานอกที่ต้ัง ตรัง

PHP หมายถึง ภาษาคอมพิวเตอรในลักษณะเซิรฟเวอร-ไซด สคริปตใชสําหรับจัดทําเว็บไซต และแสดงผลออกมาในรูปแบบ HTML โดยมีรากฐานโครงสรางคําสั่งมาจากภาษา C ภาษาJava และ ภาษาPerl

MySQL หมายถึง เปนระบบจัดการฐานขอมูลเชิงสัมพันธ (Relational Database Management System) โดยใชภาษา SQL

Page 4: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

4

บทท่ี 2

วรรณกรรมทีเ่กี่ยวของ

วรรณกรรมที่เกี่ยวของในระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลินิก ซึ่งมีแนวคิดทฤษฎี

โปรแกรมในการพัฒนาระบบดังน้ี

2.1 ทฤษฎีและแนวคิดในการพัฒนาโปรแกรม

2.2 ทฤษฎีความพึงพอใจ

2.3 ทฤษฎีและแนวคิดในการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต

2.4 แนวคิดในการออกแบบฐานขอมูล

2.5 โปรแกรมที่เกี่ยวของ

2.5.1 PHP

2.5.2 My sql

2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

2.1 ทฤษฎีและแนวคดิในการพัฒนาโปรแกรม

วงจรการพัฒนาโปรแกรม (Program Development Life Cycle: PDLC) คือ ข้ันตอนการ

ทํางานที่โปรแกรมเมอรใชสําหรับสรางโปรแกรม ประกอบดวย 5 ข้ันตอน ดังน้ี

1.การวิเคราะหปญหา (Program Analysis)

2. การออกแบบโปรแกรม (Program Design)

3. การเขียนโปรแกรม (Program Coding)

4. การทดสอบโปรแกรม (Program Testing)

5.การบํารงุรกัษาโปรแกรม (Program Maintenance)

Page 5: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

5

1.การวิเคราะหปญหา (Problem Analysis)

เปนข้ันตอนแรกของวงจรการพัฒนาโปรแกรม ซึ่งเปนการศึกษาถึงปญหาที่เกิดข้ึน

และคนหาสิ่งที่ตองการ เพื่อพิจารณาสิ่งตอไปน้ี

1.1. ขอมูลทีจ่ะนําเขาสูคอมพิวเตอรมีอะไรบาง

1.2. วิธีการประมวลผลขอมลูที่นําเขาและผลลัพธทีต่องการ

1.3. การแสดงผลที่ได ตองการแสดงผลลัพธอะไรและมหีนาตาเปนอยางไร

2.การออกแบบโปรแกรม (Program Design)

เปนข้ันตอนที่ 2 ของวงจรการพัฒนาโปรแกรมซึ่งการออกแบบโปรแกรมเปนข้ันตอนที่ตองใช

เครื่องมือชวยในการออกแบบ เชน ผังงาน (Flowchart) รหัสจําลอง (Pseudo code) เปนตน ซึ่งจะ

ชวยใหเขาใจข้ันตอนการทํางานของโปรแกรมไดดีย่ิงข้ึน

ผังงาน (Flowchart) เปนเครื่องมือชนิดหน่ึงที่ใชรูปภาพแสดงถึงข้ันตอนการเขียนโปรแกรม

และมีลูกศรแสดงทิศทางการไหลของขอมูลจากจุดเริ่มตนถึงจุดเสนสุด

3.การเขียนโปรแกรม (Program Coding)

ซึ่งเปนข้ันตอนหลังจากที่ไดมีการออกแบบโปรแกรมแลว ข้ันตอนน้ีเปนการเขียนโปรแกรมดวย

ภาษาคอมพิวเตอร เชน ภาษา C ,ภาษา Pascal เปนตน ทั้งน้ีแตละภาษาจะมีความเหมาะสมในการ

ใชงานแตกตางกันออกไป

4. การทดสอบโปรแกรม (Program Testing)

เปนการนําโปรแกรมที่ลงรหัสแลวเขาคอมพิวเตอร เพื่อตรวจสอบรูปแบบกฎเกณฑของภาษา

และผลการทํางานของโปรแกรมน้ัน ถาพบวายังไมถูกก็แกไขใหถูกตอง ซึ่งการเกิด Error ของ

โปรแกรมมักมีมาจาก 2 สาเหตุ คือ

1. Syntax Error คือ ขอผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนโคดคําสั่ง (Source Code) ที่ไมตรงกับ

ไวยากรณ (Syntax) ของภาษาโปรแกรมมิ่งน้ันๆ

Page 6: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

6

2. Logic Error เปนขอผิดพลาดที่เกิดจากการออกแบบอัลกอริทึมใหทํางานผิดวัตถุประสงค

ขอผิดพลาดของโปรแกรม เรียกวา “Bug”

สวนการแกไขขอผิดพลาด เรียกวา “Degug”

โปรแกรมที่ทํางานไมไดตามวัตถุประสงค เรยีกวามี “Error”

5. การบํารุงรักษาโปรแกรม (Program Maintenance)

เมื่อโปรแกรมผานการตรวจสอบตามข้ันตอนเรียบรอยแลว และถูกนํามาใหผูใชไดใชงาน ในชวงแรก

ผูใชอาจจะยังไมคุนเคยก็อาจทําใหเกิดปญหาข้ึนมาบาง ดังน้ันจึงตองมีผูคอยควบคุมดูแลและคอย

ตรวจสอบการทํางาน การบํารุงรักษาโปรแกรมจึงเปนข้ันตอนที่ผูเขียนโปรแกรมตองคอยเฝาดูและหา

ขอผิดพลาดของโปรแกรมในระหวางที่ผูใชใชงานโปรแกรม และปรบัปรุงโปรแกรมเมือ่เกดิขอผิดพลาด

ข้ึน หรือในการใชงานโปรแกรมไปนานๆ ผูใชอาจตองการเปลี่ยนแปลงการทํางานของระบบงานเดิม

เพื่อใหเหมาะกับเหตุการณ นักเขียนโปรแกรมก็จะตองคอยปรับปรุงแกไขโปรแกรมตามความตองการ

ของผูใชที่เปลี่ยนแปลงไปน่ันเอง

2.2 ทฤษฎคีวามพึงพอใจ

2.2.1 ความหมายของความพึงพอใจ

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน (2542) ไดใหความหมายของความพึงพอใจไววา พึงพอใจ

หมายถึง รัก ชอบใจ และพึงใจ หมายถึง พอใจ ชอบใจ

ดิเรก (2528) กลาววา ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนคติทางบวกของบุคคลที่มีตอสิ่งใดสิ่งหน่ึง

เปนความรูสึกหรือทัศนคติที่ดีตองานที่ทําของบุคคลที่มีตองานในทางบวก ความสุขของบุคคลอันเกิด

จากการปฏิบัติงานและไดรับผลเปนที่พึงพอใจ ทําใหบุคคลเกิดความกระตือรือรน มีความสุข ความ

มุงมั่นที่จะทํางาน มีขวัญและมีกําลังใจ มีความผูกพันกับหนวยงาน มีความภาคภูมิใจในความสําเร็จ

ของงานที่ทํา และสิ่งเหลาน้ีจะสงผลตอประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทํางานสงผลตอถึง

ความกาวหนาและความสําเร็จขององคการอีกดวย

วิรุฬ (2542) กลาววา ความพึงพอใจเปนความรูสึกภายในจิตใจของมนุษยที่ไมเหมือนกัน ข้ึนอยู

กับแตละบุคคลวาจะมีความคาดหมายกับสิ่งหน่ึงสิ่งใดอยางไร ถาคาดหวังหรือมีความต้ังใจมากและ

ไดรับการตอบสนองดวยดีจะมีความพึงพอใจมากแตในทางตรงกันขามอาจผิดหวังหรือไมพึงพอใจเปน

Page 7: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

7

อยางย่ิง เมื่อไมไดรับการตอบสนองตามที่คาดหวังไวทั้งน้ีข้ึนอยูกับสิ่งที่ต้ังใจไววาจะมีมากหรือนอย

สอดคลองกับ

ฉัตรชัย (2535) กลาววา ความพึงพอใจหมายถึงความรูสึกหรอืทัศนคติของบคุคลที่มตีอสิ่งหน่ึง

หรือปจจัยตางๆที่เกีย่วของ ความรูสึกพอใจจะเกดิข้ึนเมื่อความตองการของบุคคลไดรับการตอบสนอง

หรือบรรลุจุดมุงหมายในระดับหน่ึง ความรูสึกดังกลาวจะลดลงหรือไมเกิดข้ึน หากความตองการหรือ

จุดมุงหมายน้ันไมไดรับการตอบสนอง

กาญจนา (2546) กลาววา ความพึงพอใจของมนุษยเปนการแสดงออกทางพฤติกรรมที่เปน

นามธรรม ไมสามารถมองเห็นเปนรูปรางได การที่เราจะทราบวาบุคคลมีความพึงพอใจหรือไม

สามารถสังเกตโดยการแสดงออกที่คอนขางสลับซับซอนและตองมีสิ่งเราที่ตรงตอความตองการของ

บุคคล จึงจะทําใหบุคคลเกิดความพึงพอใจ ดังน้ันการสิ่งเราจึงเปนแรงจูงใจของบุคคลน้ันใหเกิดความ

พึงพอใจในงานน้ัน

2.2.2 แนวคิดเก่ียวกับความพึงพอใจ

Shelly อางโดย ประกายดาว (2536) ไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ วาความพึงพอใจเปนความรูสึกสองแบบของมนุษย คือ ความรูสึกทางบวกและความรูสึกทางลบ ความรูสึกทางบวกเปนความรูสกึทีเ่กิดข้ึนแลวจะทําใหเกดิความสุข ความสุขน้ีเปนความรูสึกที่แตกตางจากความรูสึกทางบวกอื่นๆ กลาวคือ เปนความรูสึกที่มีระบบยอนกลับความสุขสามารถทําใหเกิดความรูสึกทางบวกเพิ่มข้ึนไดอีก ดังน้ันจะเห็นไดวาความสุขเปนความรูสึกทีส่ลบัซบัซอนและความสขุน้ีจะมีผลตอบุคคลมากกวาความรูสึกในทางบวกอื่นๆ ขณะที่วิชัย (2531) กลาววา แนวคิดความพึงพอใจ มีสวนเกี่ยวของกับความตองการของมนุษย กลาวคือ ความพึงพอใจจะเกิดข้ึนไดก็ตอเมื่อความตองการของมนุษยไดรับการตอบสนอง ซึ่งมนุษยไมวาอยูที่ใดยอมมีความตองการข้ันพื้นฐานไมตางกัน

สุเทพ (2541) ไดสรุปวา สิ่งจูงใจที่ใชเปนเครื่องมือกระตุนใหบุคคลเกิดความพึงพอใจ มีดวยกัน 4 ประการ คือ

1.) สิ่งจูงใจที่เปนวัตถุ (material inducement) ไดแก เงิน สิ่งของ หรือสภาวะทางกายที่ใหแกผูประกอบกิจกรรมตางๆ

2.) สภาพทางกายที่พึงปรารถนา (desirable physical condition ) คือสิ่งแวดลอมในการประกอบกิจกรรมตางๆ ซึ่งเปนสิ่งสําคัญอยางหน่ึงอันกอใหเกิดความสุขทางกาย

3.) ผลประโยชนทางอุดมคติ (ideal benefaction) หมายถึง สิ่งตางๆที่สนองความตองการของบุคคล

Page 8: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

8

4.) ผลประโยชนทางสังคม (association attractiveness) หมายถึง ความสัมพันธฉันทมิตรกับผูรวมกิจกรรม อันจะทําใหเกิดความผูกพัน ความพึงพอใจและสภาพการรวมกัน อันเปนความพึงพอใจของบุคคลในดานสังคมหรือความมั่นคงในสังคม ซึ่งจะทําใหรูสึกมีหลักประกันและมีความมั่นคงในการประกอบกิจกรรม

2.2.3 ทฤษฎีเก่ียวกับความพึงพอใจ

Kotler and Armstrong (2002) รายงานวา พฤติกรรมของมนุษยเกิดข้ึนตองมีสิ่งจูงใจ (motive) หรือแรงขับดัน (drive) เปนความตองการที่กดดันจนมากพอทีจ่ะจงูใจใหบุคคลเกิดพฤติกรรมเพื่อตอบสนองความตองการของตนเอง ซึ่งความตองการของแตละคนไมเหมือนกัน ความตองการบางอยางเปนความตองการทางชีววิทยา(biological) เกิดข้ึนจากสภาวะตึงเครียด เชน ความหิวกระหายหรือความลําบากบางอยาง เปนความตองการทางจิตวิทยา (psychological) เกิดจากความตองการการยอมรับ (recognition) การยกยอง (esteem) หรือการเปนเจาของทรัพยสิน (belonging) ความตองการสวนใหญอาจไมมากพอที่จะจูงใจใหบุคคลกระทําในชวงเวลาน้ัน ความตองการกลายเปนสิง่จงูใจ เมื่อไดรับการกระตุนอยางเพียงพอจนเกิดความตึงเครียด โดยทฤษฎีที่ไดรับความนิยมมากที่สุด มี 2 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีของอับราฮัม มาสโลว และทฤษฎีของซิกมันด ฟรอยด

2.3 ทฤษฎีและแนวคดิในการออกแบบและพฒันาเว็บไซต

2.3.1 ทฤษฎีการออกแบบเว็บเพจ

การออกแบบและพัฒนาเว็บเพจ สามารถทําไดหลายรูปแบบ ข้ึนอยูกับลักษณะของขอมูลที่จะนําเสนอของผูพัฒนา ตลอดจนใหตรงกลุมเปาหมาย ที่ตองการนําเสนอ ทฤษฎีกาออกแบบเว็บเพจ สามารถแบงได 3 ลักษณะ คือ 1. แบบลําดับขั้น (Hierarchy) เปนการจัดแสดงหนาเว็บ เรียงตามลําดับกิ่งกานแตกแขนงตอเน่ืองไปเหมือนตนไมกลับหัว 2. แบบเชิงเสน (Linear) เปนการจัดแสดงหนาเว็บเรียงตอเน่ืองไปในทิศทางเดียว 3. แบบผสม (Combination) เปนการจัดหนาเว็บชนิดผสมระหวางแบบลําดับข้ันและแบบเชิงเสน

2.3.1.1 ขั้นตอนการพัฒนาเว็บเพจ การพัฒนาเว็บเพจที่ดี ควรมีการวางแผนกอนเสมอ เพื่อใหการแสดงผลเว็บถูกตอง ตรงกับความตองการของผูใชบริการ เพราะกระบวนการพัฒนาเว็บเพจ จะตองเกี่ยวของกับระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) หลายระบบ ดังน้ัน ขณะที่สรางเอกสารเว็บ ผูพัฒนา อาจจะใชคอมพิวเตอรที่มีระบบปฏิบัติการดWindows XP แตหลังจากที่พัฒนาเสร็จแลวจะตองทําการโอนเอกสารเว็บไปเก็บไวในเครื่องแมขาย โดยสามารถที่จะเรียกดูจากคอมพิวเตอรระบบอื่นๆเชน

Page 9: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

9

Linux, ระบบปฏิบัติการSystem 7 ของเครื่อง Macintosh จะเห็นไดวาเอกสารเว็บจะตองเกี่ยวของกับระบบปฏิบัติการหลายระบบ การพัฒนาเว็บเพจตองคํานึงถึงสิ่งเหลาน้ีดวย จากความสัมพันธดังกลาว นักพัฒนาเว็บเพจ จึงควรจะศึกษาถึง ขอกําหนดพื้นฐานที่ควรทราบกอน อันไดแก การกําหนดช่ือโฟลเดอร, ไฟลเอกสารเว็บ,ไฟลภาพกราฟก ตลอดจนไฟลอื่นๆที่จะนํามาใชใน การทําเว็บเพจ เพราะระบบปฏิบัติการ UNIX มีลักษณะการต้ังช่ือแบบ Case-Sensitive หมายถึง ตัวอักษรตัวพิมพใหญ และตัวพิมพเล็ก (A และ a) จะถือวาเปนตัวอักษรคนละตัวกัน ไมเหมือนกับระบบปฏิบัติการ Windows XP จะถือวาเปนตัวอักษรตัวเดียวกัน ดังน้ันหากผูพัฒนาใชWindows XP เปนระบบปฏิบัติการของเครื่องที่ใชสรางเอกสารเว็บ และกําหนดช่ือไฟลIndex.htm แตขณะที่ปอนคําสั่ง เพื่อลิงกไฟลผานแปนพิมพเปน index.html เมื่อโอนถายเอกสารเว็บน้ันๆ ไปยังเครื่องแมขายที่ใช UNIX เปนระบบปฏิบัติการ จะเกดิปญหาในการเรียกดูได เพราะระบบปฏิบัติการที่เครื่องแมขาย จะเห็นเปนไฟลคนละไฟล เน่ืองจากช่ือไฟลไมเหมือนกัน

ข้ันตอนการพัฒนาเว็บเพจ เพื่อใหไดผลลัพธที่ถูกตอง และตรงกับความตองการของผูใชสามารถจําแนกเปนหัวขอไดดังน้ี 1.) วางแผนการพัฒนาเว็บเพจ ใหตรงกับกลุมเปาหมาย 2.) กําหนดไดเร็กทรอรี่ หรือโฟลเดอร(Directory/Folder) ที่ใชเก็บเอกสารเว็บ 3.) การจัดหาภาพที่เกี่ยวของกับเน้ือหา แลวจัดเก็บไวในไดเร็กทรอรี่ที่สรางไว 4.) สรางเอกสารเว็บ โดยกําหนดช่ือไฟลเอกสารเว็บ ตามขอกําหนดของผูดูแลระบบเครือขาย (Web System Administrator) และจัดเก็บไวในไดเร็กทรอรี่ที่สรางไว 5.) ตรวจสอบผลเอกสารเว็บผานเบราเซอร 6.) สงขอมูลข้ึนเครื่องแมขาย (Server) และทําการตรวจสอบผลการเรียกดูจากเครื่องแมขาย

7.) การออกแบบภาพกราฟกใหมีขนาดเล็ก รูปภาพกราฟกยังมีความจําเปนที่จะตองใชในการนําเสนอบนจอภาพคอมพิวเตอร ดังน้ันจึงมีความจําเปนอยางย่ิงที่จะตองคํานึงถึงขนาดรูปภาพ เพราะถารูปภาพขนาดใหญก็จะเปลืองเน้ือที่และเวลาใชงานในโปรแกรมจะชา

2.3.2 วงจรการพัฒนาระบบ (The Systems Development Lift Cycle : SDLC) 1. Problem Definition เปนข้ันตอนการระบุปญหา และจุดมุงหมายของการพัฒนาระบบงาน ซึ่งเปนข้ันตอนที่มีความสําคัญมาก เพราะใชในการกําหนดทิศทางในการพัฒนาระบบงานใหชัดเจน ในการระบุปญหามักไดมาจากพนักงาน ทํางานแลวพบวางานที่ทําอยูมีปญหาเกิดข้ึน หรือไมพอใจกับระบบงานเดิมที่เปนอยู ในการระบุปญหาสามารถทําไดโดยสังเกตวาลักษณะงานเดิมสามารถนําระบบสารสนเทศมาปรับปรุงใหการทํางานสะดวกรวดเร็วไดหรือไมสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการทํางาน หรือสูกับคูแขงในดานสารสนเทศไดอยางไร 2. Analysis เปนข้ันตอนการวิเคราะหระบบ ซึ่งเปนการนําสิ่งที่รวบรวมขอมูลจากข้ันตอนที1่ มาทบทวนอีกครั้ง และนํามาสรางเปนแบบจําลองเชิงตรรกะ (Logical Model) โดยนักวิเคราะหระบบจะออกแบบไปตามความตองการของผูใชวาควรมีลักษณะการทํางานของระบบ

Page 10: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

10

มีรูปแบบที่แสดงผลออกมาอยางไร มีการจัดเก็บขอมูลอะไรบาง วิเคราะหออกมาในรูปแบบของแผนภาพกระแสขอมูล (Data Flow Diagram) และพจนานุกรมขอมูล (Data Dictionary) 3. Design เปนข้ันตอนการออกแบบระบบงานโดยมีจุดมุงหมายเกี่ยวกับการแกไขปญหาน้ันจะตองทําอยางไร ซึ่งในข้ันตอนน้ีแบบจําลองเชิงตรรกะ (Logical Model) จะถูกสรางใหเปนแบบจําลองทางกายภาพ (Physical Model) คือการออกแบบใหระบบน้ันสามารถปฏิบัติงานไดจริง 4. Development ข้ันตอนน้ีเปนการทํางานรวมกันระหวางโปรแกรมเมอรและนักวิเคราะหระบบเพื่อพัฒนาระบบ ซึ่งตองนําสวนที่ไดจากการวิเคราะหระบบในข้ันตอนที่3 และการออกแบบระบบในข้ันตอนที่4 มาใช ซึ่งในข้ันตอนน้ีจะตองมีการจัดทําเอกสารและฝกอบรมผูใชงานควบคูไปดวย 5. Testing เปนข้ันตอนการทดสอบระบบ เพื่อใหแนใจวาระบบที่พัฒนาข้ึนมาสามารถใชไดจริงและถูกตองตามความตองการของผูใช โดยไมมีขอผิดพลาดใด ๆ ซึ่งในการทดสอบควรใชขอมูลที่ปฏิบัติงานจริงมาทดสอบ เมื่อมีความผิดพลาดไมถูกตองตามที่วิเคราะหและออกแบบตองทําการปรับแก โดยในการปรับแกน้ันเอกสารตาง ๆ ที่ไดจัดทํามาแลวน้ันตองนํามาปรับแกใหตรงกับสิ่งที่แกไขน้ันดวย 6. Implementation เปนข้ันตอนการดําเนินงาน ที่มีการนําระบบงานใหมเขามาใชแทนระบบงานเดิม โดยตองใหผูใชงานเซ็นรับรองการใชงานระบบงานใหม เพื่อใหมั่นใจวาระบบใหมเปนที่ยอมรับของผูใช 7. Maintenance เปนข้ันตอนการบํารุงรักษาระบบ เพื่อใหทํางานไดในระดับที่ยอมรับไดซึ่งมีความสําคัญตอระบบ เพราะอาจมีขอผิดพลาดที่ไมรูมากอนขณะทําการทดสอบ หรือผูใชมีความตองการที่เปลี่ยนแปลงไป เทคโนโลยีตาง ๆ เปลี่ยนแปลงไป ธุรกิจมีการขยายตัว หรือมีการปรับเปลี่ยนรปูแบบการบรหิารงาน ซึ่งถาตนทุนของการ Maintenance ระบบสูงข้ึน ควรจะตองนํามาเปรียบเทียบพิจารณาวาควรจะ Maintenance ตอหรือจะตองกลับมาเริ่มพัฒนาระบบกันใหมการวิเคราะหและออกแบบระบบ เปนวิธีการพัฒนาระบบงานจากระบบงานเดิมที่มีปญหาเปนระบบงานใหมที่ดีข้ึนโดยการนําเอาเทคโนโลยีมาใชเพื่อใหระบบเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ วัฏจักรการพัฒนาระบบมีข้ันตอนดังน้ี 1. ข้ันศึกษาเบื้องตน (Investigation Phase) 1.1 ศึกษาเบื้องตน (Initial Investigation) 1.2 ศึกษาความเหมาะสม (Feasibility Study) 2. ข้ันวิเคราะหและออกแบบ (Analysis and General Design Phase) 2.1 ทบทวนระบบปจจุบัน (Existing System Review) 2.2 กําหนดความตองการระบบใหม (New System Requirement) 2.3 ออกแบบระบบใหม (New System Design) 2.4 วางแผนนําระบบไปใชและติดต้ังระบบ (Implementation and installation Planning)

Page 11: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

11

3. ข้ันออกแบบระบบและนําไปใช (Detailed Design and Implementation Phase) 3.1 ออกแบบดานเทคนิค (Technical Design) 3.2 ทดสอบขอกําหนดและวางแผน (Test Specifications and Planning) 3.3 เขียนโปรแกรมและทดสอบ (Programming and testing) 3.4 ทดสอบระบบ (System Test) 4. ข้ันติดต้ังระบบ (Installation Phase) 4.1 การแปลงขอมูล (File Conversion) 4.2 ติดต้ังระบบ (Installation) 5. ข้ันทบทวน (Review) 5.1 บํารุงรักษา (System Development Recap) 5.2 ทบทวนหลังจากใชระบบ (Post Implementation) 1. ข้ันศึกษาเบื้องตน (Investigation Phase) ข้ันน้ีเปนข้ันตอนแรกที่นักวิเคราะหระบบตองทําการรวบรวมข้ันมูลตางๆ จากระบบปจจุบัน ทั้งขอมูลนําเขา รายงาน ลักษณะงานกระบวนการตางๆ แมกระทั้งระบบการดําเนินงานของระบบปจจุบัน เพื่อทําความเขาใจกับระบบปจจุบันวิเคราะหถึงปญหา เพื่อหาแนวทางในการแกปญหา นอกจากน้ัน นักวิเคราะหจะทําการศึกษาความเหมาะสมในดานตางๆ ขององคกร เชน ดานการเงิน ดานเวลา ดานบุคลากรเปนตน เปนการศึกษาปญหาและความตองการของผูใช เพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุดในการพัฒนาระบบ โดยจะศึกษาเพื่อใหทราบถึงความเหมาะสมโดยเนนดานงบประมาณและเวลา 2. ข้ันวิเคราะหและออกแบบ (Analysis and General Design Phase)นักวิเคราะหจะตองทําการทบทวนขอมูลที่ไดมาจากข้ันศึกษาเบื้องตน และทบทวนความเขาใจกับระบบปจจุบนั เพื่อใหแนใจวาไดรวบรวมขอมูลทกุอยางตามที่ตองการ หลังจากน้ัน ก็ตองกําหนดความตองการของระบบใหมวาควรมาในทิศทางใด แบบใด เมื่อนักวิเคราะหกําหนดความตองการของระบบใหม ก็สามารถออกแบบระบบใหม โดยตองคํานึงถึงความตองการของผูใชเปนหลักการและผลประโยชนที่จะไดรับอยางคุมคา ในการออกแบบระบบใหมจะตองออกแบบต้ังแตขอมูลนําเขา รายงานตางๆ ที่ตองการ กระบวนการ วิธีการดําเนินการ เพื่อใหสอดคลองกับระบบใหมและเปนไปตามความตองการของผูใช นักวิเคราะหตองมีการวางแผน การนําระบบไปใชเพื่อใหระบบใหมเปนไปตามระยะเวลา และงบประมาณที่กําหนด 3. ข้ันออกแบบระบบและนําไปใช (Detailed Design and Implementation Phase) ข้ันการออกแบบระบบและนําระบบไปใชน้ีเปนข้ันตอนที่สําคัญข้ันตอนหน่ึง น่ันคือ ตองทําความเขาใจกับความตองการของผูใช ความเหมาะสมตางๆ และกําหนดความตองการของระบบใหมเพื่อทําการออกแบบระบบใหมอยางระเอียด คือ ขอมูลนําเขา รายงานตางๆ ที่ตองใช และการประมวลผลแบบใดที่เหมาะสมกับระบบใหม โดยจะออกแบบทั้งทางดานเทคนิค คือ จะใชคอมพิวเตอรขนาดไหน แบบใด อุปกรณตางๆ ของระบบควรเปนอยางไร และมีการสื่อสารขอมูลแบบใด ที่ทําใหระบบใหมที่ไดทําการออกแบบไวน้ันเปนไปตามความตองการของผูใชหลักจากการ

Page 12: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

12

ออกแบบตางๆ แลว นักออกแบบจะทําการทดสอขอกําหนด และวางแผนการนําระบบไปใชในการวางแผนดังกลาวจะตองทําการศึกษาระยะเวลาในการเขียนโปรแกรม โดยมีการทดสอบการเขียนโปรแกรมใหเปนไปตามที่ออกแบบไว เมื่อเขียนโปรแกรมแลวก็จะทําการทดสอบโปรแกรมเพื่อใหแนใจวาโปแกรมที่เขียนน้ันเปนไปตามที่กําหนด การฝกอบรมผูใชก็เปนสิ่งสําคัญอยางหน่ึง คือ ตองใหผูใชทําความเขาใจกับระบบและสามารถใชระบบอยางมีประสิทธิภาพ เพราะถาระบบใหมจะเปนระบบที่ดีและมีประสิทธิภาพไดน้ันตองข้ึนอยูกับผูใช การทดสอบระบบเปนกระบวนการสุดทายของข้ันตอนน้ี เพื่อใหแนใจวาทั้งโปรแกรม อุปกรณระบบตางๆ เปนไปตามที่ออกแบบไว กอนที่จะทําการติดต้ังระบบ 4. ข้ันติดต้ังระบบ (Installation Phase) หลังจากทดสอบระบบเรียบรอยแลวข้ันตอนตอไป คือ ข้ันติดต้ังระบบโดย ทําการแปลงขอมูล การกําหนดแฟมขอมูล การUpdate ขอมูล ตรวจสอบความถูกตองของขอมูล จากน้ัน จะทําการติดต้ังระบบ ซึ่งจะตองทําการเลือกวิธีการติดต้ังระบบจากวิธีตางๆ เชน แบบขนาน แบบโดยตรง เปนตน นักออกแบบระบบจะตองทําการเลือกวิธีการติดต้ังที่เหมาะสม เพื่อไมใหมีผลกระทบการดําเนินงานขององคกร 6. ข้ันทบทวน (Review) การออกแบบจะตองทบทวนและบํารุงรักษาระบบใหมให

เปนไปตามที่ออกแบบและความตองการของผูใชใหมากที่สุด เพื่อใหไดระบบที่ดีที่สุดและมี

ประสิทธิภาพที่สุด

2.4 แนวคิดในการออกแบบฐานขอมูล

ฐานขอมูล (database) หมายถึง กลุมของขอมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว โดยมีความสัมพันธซึ่งกัน

และกัน โดยไมไดบังคับวาขอมูลทั้งหมดน้ีจะตองเก็บไวในแฟมขอมูลเดียวกันหรือแยกเก็บหลาย ๆ

แฟมขอมูล น่ันก็คือการเก็บขอมูลในฐานขอมูลน้ันเราอาจจะเก็บทั้งฐานขอมูล โดยใชแฟมขอมูลเพียง

แฟมขอมูลเดียวกันได หรือจะเก็บไวในหลาย ๆ แฟมขอมูล ที่สําคัญคือจะตองสรางความสัมพันธ

ระหวางระเบียนและเรียกใชความสัมพันธน้ันได มีการกําจัดความซ้ําซอนของขอมูลออกและเก็บ

แฟมขอมูลเหลาน้ีไวที่ศูนยกลาง เพื่อทีจ่ะนําขอมลูเหลาน้ีมาใชรวมกัน ควบคุมดูแลรักษาเมื่อผูตองการ

ใชงานและผูมีสิทธ์ิจะใชขอมูลน้ันสามารถดึงขอมูลที่ตองการออกไปใชได ขอมูลบางสวนอาจใชรวมกับ

ผูอื่นได แตบางสวนผูมีสิทธ์ิเทาน้ันจึงจะสามารถใชได โดยทั่วไปองคกรตาง ๆ จะสรางฐานขอมูลไว

เพื่อเก็บขอมูลตาง ๆ ของตัวองคกร โดยเฉพาะอยางย่ิงขอมูลในเชิงธุรกิจ เชน ขอมูลของลูกคา ขอมูล

ของสินคา ขอมลูลูกจาง และการจางงาน เปนตน การควบคุมดูแลการใชฐานขอมูล เปนเรื่องที่ยุงยาก

กวาการใชแฟมขอมูลมาก เพราะจะตองตัดสินใจวาโครงสรางในการจัดเก็บขอมูลควรจะเปนเชนไร

การเขียนโปรแกรมเพื่อสรางและเรียกใชขอมูลจากโครงสราง ถาโปรแกรมเหลาน้ีเกิดทํางานผิดพลาด

ข้ึนมาก็จะเกิดความเสียหายตอโครงสรางของขอมูลทั้งหมดได เพื่อเปนการลดภาวะการทํางานของ

ผูใชจึงมีสวนของฮารดแวรและโปรแกรมตางๆ ที่สามารถเขาถึงและจัดการขอมูลในฐานขอมูลน้ัน

Page 13: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

13

เรียกวา ระบบจัดการฐานขอมูลหรือ DBMS ระบบจัดการฐานขอมูล คือ ซอฟตแวรที่เปรียบเสมือน

สื่อกลางระหวางผูใชและโปรแกรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการใชฐานขอมูล ซึ่งมีหนาที่ชวยใหผูใชเขาถึง

ขอมูลไดงายสะดวกและมีประสิทธิภาพ การเขาถึงขอมูลของผูใชอาจเปนการสรางฐานขอมูล การ

แกไขฐานขอมูล หรือการต้ังคําถามเพื่อใหไดขอมูลมา โดยผูใชไมจําเปนตองรับรูเกี่ยวกับรายละเอียด

ภายในโครงสรางของฐานขอมูล เปรียบเสมือนเปนสื่อกลางระหวางผูใชและโปรแกรมตาง ๆ ที่

เกี่ยวของกับการใชฐานขอมูล

องคประกอบของระบบฐานขอมูล มีองคประกอบ 4 สวนดังน้ี

ขอมูล เปนขอมูลที่ไดรับการรวบรวมมาจัดเก็บไวในฐานขอมูลเพอนํามาประกอบผลใหไดผลลัพธ

ตามที่ตองการ

ฮารดแวร ในที่น้ีคือ เครื่องคอมพิวเตอร

ซอฟตแวร ซอฟตแวรที่ใชจัดเก็บฐานขอมูลมีดังน้ี Microsoft Access , SQL และOracle

2.5 โปรแกรมที่เกี่ยวของ

2.5.1 ภาษา PHP

ภาษาPHP ซึ่ งยอมาจากคําวา (Hypertext Preprocessor)หรือ ช่ือเ ดิม (Personal Home Page)PHPคือ ภาษาคอมพิวเตอรในลักษณะเซิรฟเวอร-ไซด สคริปต โดยลิขสิทธ์ิอยูในลักษณะโอเพนซอรส ภาษาPHP ใชสําหรับจัดทําเว็บไซต และแสดงผลออกมาในรูปแบบ HTML โดยมีรากฐานโครงสรางคําสั่งมาจากภาษา c ภาษา Java และ ภาษา Perl ซึ่ง ภาษา PHP น้ันงายตอการเรียนรู ซึ่งเปาหมายหลักของภาษาน้ี คือใหนักพัฒนาเว็บไซตสามารถเขียน เว็บเพจ ที่มีความตอบโตไดอยางรวดเร็ว

2.5.1.1 คุณสมบัติของ PHP

การแสดงผลของPHP จะปรากฏในลักษณะHTML ซึ่งจะไมแสดงคําสั่งที่ผูใชเขียน ซึ่งเปนลักษณะเดนที่PHPแตกตางจากภาษาในลักษณะไคลเอนต-ไซด สคริปต เชน ภาษาจาวาสคริปต ที่ผูชมเว็บไซตสามารถอาน ดูและคัดลอกคําสั่งไปใชเองได นอกจากน้ีPHPยังเปนภาษาที่เรียนรูและเริ่มตนไดไมยาก โดยมีเครื่องมือชวยเหลือและคูมือที่สามารถหาอานไดฟรีบนอินเทอรเน็ต ความสามารถการประมวลผลหลักของ PHP ไดแก การสรางเน้ือหาอัตโนมัติจัดการคําสั่ง การอาน

Page 14: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

14

ขอมูลจากผูใชและประมวลผล การอานขอมูลจากดาตาเบส คุณสมบัติอื่นเชน การประมวลผลตามบรรทัดคําสั่ง (command line scripting) ทําใหผูเขียนโปรแกรมสรางสครปิต PHP ทํางานผานพีเอชพี พารเซอร (PHP parser) โดยไมตองผานเซิรฟเวอรหรือเบราวเซอร ซึ่งมีลักษณะเหมือนกับ Cronใน ยูนิกซหรือลีนุกซ) หรือ Task Scheduler (ในวินโดวส) สคริปตเหลาน้ีสามารถนําไปใชในแบบ Simple text processing tasks ได

การแสดงผลของ PHP ถึงแมวาจุดประสงคหลักใชในการแสดงผล HTML แตยังสามารถสราง XHTML หรือ XML ได นอกจากน้ีสามารถทํางานรวมกับคําสั่งเสริมตางๆ ซึ่งสามารถแสดงผลขอมูลหลัก PDF แฟลช (โดยใช libswfและ Ming) PHPมีความสามารถอยางมากในการทํางานเปนประมวลผลขอความ จาก POSIX Extended หรือ รูปแบบ Perl ทั่วไป เพื่อแปลงเปนเอกสาร XML ในการแปลงและเขาสูเอกสาร XML เรารองรับมาตรฐาน SAX และ DOM สามารถใชรูปแบบ XSLT ของเราเพื่อแปลงเอกสาร XML

เมื่อใช PHP ในการทําอีคอมเมิรซ สามารถทํางานรวมกับโปรแกรมอื่น เชน Cybercash payment, CyberMUT, VeriSign Payflow Pro และ CCVS functions เพื่อใชในการPHPสรางโปรแกรมทําธุรกรรมทางการเงิน

2.5.1.2 โครงสรางของภาษา PHP

ภาษา PHP มีลักษณะเปน embedded script หมายความวาเราสามารถฝงคําสั่ง PHP ไวในเว็บเพจรวมกับคําสั่ง (Tag) ของ HTML ได และสรางไฟลที่มีนามสกุลเปน .php .php3 หรือ .php4 ซึ่งไวยากรณที่ใชใน PHP เปนการนํารูปแบบของภาษาตางๆ มารวมกันไดแก C, Perl และ Java ทําใหผูใชที่มีพื้นฐานของภาษาเหลาน้ีอยูแลวสามารถศึกษา และใชงานภาษาน้ีไดไมยาก

<html> <head> <title>Example 1 </title> </head> <body> <? echo"Hi, I'm a PHP script!"; ?> </body> </html>

บรรทัดที่ 6 - 8 เปนสวนของสคริปต PHP ซึ่งเริ่มตนดวย<? ตามดวยคําสั่งที่เรียกฟงกช่ันหรือขอความ และปดทายดวย ?>สําหรับตัวอยางน้ีเปนสคริปตที่แสดงขอความวา "Hi, I'm a PHP script" โดยใชคําสั่ง echo ซึ่งเปนคําสั่งที่ใชในการแสดงผลของภาษาสคริปต PHP

Page 15: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

15

2.6.1.3 การรองรับ PHP

คําสั่งของ PHPสามารถสรางผานทางโปรแกรมแกไขขอความทั่วไป เชน notepad หรือ vi ซึ่งทําใหการทํางาน PHP สามารถทํางานไดในระบบปฏิบัติการหลักเกือบทั้งหมด โดยเมื่อเขียนคําสั่งแลวนํามาประมวลผล Apache, Microsoft Internet Information Services (IIS) , Personal Web Server, Netscape และ iPlanet servers, Oreilly Website Pro server, Caudium, Xitami, OmniHTTPd และอื่นๆ อีกมากมาย สําหรับสวนหลักของ PHP ยังมี Module ในการรองรับ CGI มาตรฐาน ซึ่ง PHP สามารถทํางานเปนตัวประมวลผล CGI ดวย และ PHP มีอิสรภาพในการเลือก ระบบปฏิบัติการ และ เว็บเซิรฟเวอร นอกจากน้ี ยังสามารถใชสรางโปรแกรมโครงสราง สรางโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP) หรือสรางโปรแกรมที่รวมทั้งสองอยางเขาดวยกัน แมวาความสามารถของคําสั่ง OOP มาตรฐานในเวอรชันน้ียังไมสมบูรณ แตตัวไลบรารีทั้งหลายของโปรแกรม และตัวโปรแกรมประยุกต (รวมถึง PEAR library) ไดถูกเขียนข้ึนโดยใชรูปแบบการเขียนแบบ OOP เทาน้ัน

PHPสามารถทํางานรวมกับฐานขอมูลไดหลายชนิด ซึ่งฐานขอมูลสวนหน่ึงที่รองรับไดแกOracle dBase PostgreSQL IBM DB2 MySQL Informix ODBC โครงสรางของฐานขอมูลแบบ DBX ซึ่ งทํ าให PHP ใชกับฐานขอมูลอะไรก็ ไดที่รองรับรูปแบบน้ี และ PHP ยังรองรับ ODBC (Open Database Connection) ซึ่งเปนมาตรฐานการเช่ือมตอฐานขอมูลที่ใชกันแพรหลายอีกดวย สามารถเช่ือมตอกับฐานขอมูลตางๆ ที่รองรับมาตรฐานโลกน้ีได

PHP ยั งสามารถรองรั บการสื่ อส ารกับการบริ ก าร ใน โพร โทคอลต า งๆเชน LDAP IMAP SNMP NNTP POP3 HTTP COM (บนวินโดวส) และอื่นๆ อีกมากมาย สามารถเปด Socket บนเครือขายโดยตรง และ ตอบโตโดยใช โพรโทคอลใดๆ ก็ได PHP มีการรองรับสําหรับการแลกเปลี่ยนขอมูลแบบ WDDX Complex กับ Web Programming อื่นๆ ทั่วไปไดและมีการรองรับสําหรับ Java objects ใหเปลี่ยนเปน PHP Object แลวใชงาน ยังสามารถใชรูปแบบ CORBA เพื่อเขาสู Remote Object ได

2.6.1.4 ความสามารถของภาษา PHP

1. เปนภาษาที่มีลักษณะเปนแบบ Open source ผูใชสามารถ Download และนํา Source code ของ PHP ไปใชไดโดยไมเสียคาใชจาย

2. เปนสคริปตแบบ Server Side Script ดังน้ันจึงทํางานบนเว็บเซิรฟเวอร ไมสงผลกับการทํางานของเครื่อง Client โดย PHP จะอานโคด และทํางานที่เซิรฟเวอร จากน้ันจึงสงผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลมาที่เครื่องของผูใชในรูปแบบของ HTML ซึ่งโคดของ PHP น้ีผูใชจะไมสามารถมองเห็นได

3. PHP สามารถทํางานไดในระบบปฏิบัติการที่ตางชนิดกัน เชน Unix, Windows, Mac OS หรือ Risc OS อยางมีประสิทธิภาพ เน่ืองจาก PHP เปนสคริปตที่ตองทํางานบนเซิรฟเวอร ดังน้ันคอมพิวเตอรสําหรับเรียกใชคําสั่ง PHP จึงจําเปนตองติดต้ังโปรแกรมเว็บเซิรฟเวอรไวดวย เพื่อใหสามารถประมวลผล PHP ได

Page 16: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

16

4. PHP สามารถทํางานไดในเว็บเซิรฟเวอรหลายชนิด เชน Personal Web Server(PWS), Apache, OmniHttpd และ Internet Information Service(IIS) เปนตน

5. ภาษา PHP สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming)

6. PHP มีความสามารถในการทํางานรวมกับระบบจัดการฐานขอมูลที่หลากหลาย ซึ่งระบบจัดการฐานขอมูลที่สนับสนุนการทํางานของ PHP เชน Oracle, MySQL, FilePro, Solid, FrontBase, mSQLและ MS SQL เปนตน

7. PHP อนุญาตใหผูใชสรางเว็บไซตซึ่งทํางานผานโปรโตคอลชนิดตางๆ ได เชน LDAP, IMAP, SNMP, POP3 และ HTTP เปนตน

8. โคด PHP สามารถเขียน และอานในรูปแบบของ XML ได

2.5.1.5 ตัวอยางเว็บไซตท่ีเขียนดวย PHP

ภาพที่ 2.1 www.paragonact.com/ เปนเว็บเกี่ยวกบัการศึกษาตอ และแนะแนวการศึกษา

Page 17: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

17

ภาพที่ 2.2 member.webddcenter.com/ เปนระบบสื่อการเรียนดวยตนเองออนไลนของบริษัท ระยองเพียว จํากัดมหาชน

2.5.2 MySQL

MySQL เปนระบบจัดการฐานขอมูลเ ชิงสัมพันธ (Relational Database Management System) โดยใชภาษา SQL แมวา MySQL เปน Software Open Soft แตแตกตางจาก Software Open Soft ทั่วไป โดยมีการพัฒนาภายใตบริษัท MySQL AB ในประเทศสวีเดน โดยจัดการ MySQL ทั้งในแบบที่ใหใชฟรี และแบบที่ใชในเชิงธุรกิจ

MySQL สรางข้ึนโดยชาวสวีเดน 2 คน และชาวฟนแลนด ช่ือ David Axmark, Allan Larsson และ Michael "Monty" Widenius.

ปจจุบันบริษัทซันไมโครซิสเต็มส (Sun Microsystems, Inc.) เขาซื้อกิจการของ MySQL AB เรียบรอยแลว ฉะน้ันผลิตภัณฑภายใต MySQL AB ทั้งหมดจะตกเปนของซัน

ช่ือ "MySQL" อานออกเสียงวา "มายเอสคิวเอล" หรือ "มายเอสคิวแอล" (ในการอานอักษร L ในภาษาไทย) ซึ่งทางซอฟตแวรไมไดอาน มายซีเควล หรือ มายซีควล เหมือนกับซอฟตแวรจัดการฐานขอมูลตัวอื่น

Page 18: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

18

2.5.2.1 การใชงานของ MySQL

MySQL เปนที่นิยมใชกันมากสําหรับฐานขอมูลสําหรับเว็บไซต เชน Media Wiki และ phpBB และนิยมใชงานรวมกับภาษาโปรแกรม PHP ซึ่งมักจะไดช่ือวาเปนคู จะเห็นไดจากคูมือคอมพิวเตอรตางๆ ที่จะสอนการใชงาน MySQL และ PHP ควบคูกันไป นอกจากน้ี หลายภาษาโปรแกรมที่สามารถทํางานรวมกับฐานขอมูล MySQL ซึ่งรวมถึง ภาษา C, C++,Pascal, Java, Perl, PHP, Python และภาษาอื่น ใชงานผาน API สําหรับโปรแกรมที่ติดตอผาน ODBC หรือ สวนเช่ือมตอกับภาษาอื่น (database connector) เชน ASP สามารถเรียกใช MySQL ผานทาง MyODBC,ADO,ADO.NET เปนตน

2.5.2.2 ความสามารถและการทํางานของโปรแกรมMySQL มีดังตอไปน้ี

1. MySQL ถือเปนระบบจัดการฐานขอมูล( DataBase Management System(DBMS)) ฐานขอมูลมีลักษณะเปนโครงสรางของการเก็บรวบรวมขอมูล การที่จะเพิ่มเติม เขาถึงหรือประมวลผลขอมูลที่เก็บในฐานขอมูลจําเปนตองอาศัยระบบจัดการฐานขอมูล ซึ่งจะทําหนาที่เปนตัวกลางในการจัดการกับขอมูลในฐานขอมูลทั้งสําหรับการใชงานเฉพาะ และรองรับการทํางานของแอพลิแคชันอื่นๆที่ตองการใชงานขอมูลฐานขอมูล เพื่อใหไดรับความสะดวกในการจัดการกับขอมูลจํานวนมาก MySQL ทําหนาที่เปนทั้งตัวฐานขอมูลและระบบจัดการฐานขอมูล

2. MySQL เปนระบบจัดการฐานขอมูลแบบ relational ฐานขอมูลแบบ relational จะทําการเก็บขอมูลทังหมดในรูปแบบของตารางแทนการเก็บขอมูลทั้งหมดในไฟล เพียงไฟลเดียว ทําใหทํางานไดรวดเร็วและมีความยืดหยุน นอกจากน้ัน แตละตารางที่เก็บขอมูลสามารถเช่ือมโยงเขาหากันทําใหสามารถรวมหรือจัดกลุมขอมูลไดตามตองการโดยอาศัยภาษา SQL ที่เปนสวนหน่ึงของโปรแกรม MySQL ซึ่งเปนมาตรฐานในการเขาถึงฐานขอมูล 3. MySQL แจกจายใหใชงานแบบ Open Source น่ันคือ ผูใชงาน MySQL ทุกคนสามารถใชงานและหลังจากที่ติดต้ังปรับแตงการทํางานไดตามตองการ สามารถดาวนโหลดโปรแกรม MySQL ไดจากอินเตอรเน็ตและนํามาใชงานโดยไมมีคาใชจายใดๆ ในระบบปฏิบัติการ Red Hat Linux น้ันมีโปรแกรมที่สามารถใชงานเปนฐานขอมูลใหผูดูแลระบบสามารถเลือกใชงานไดหลายโปรแกรม เชน MySQL และ PostgreSQL ผูดูแลระบบสามารถเลือกติดต้ังไดทั้งทั้งในขณะที่ติดต้ังระบบปฏิบัติการ Red Hat Linux หรือจะติดต้ังภายหลังจากที่ติดต้ังระบบปฏิบติัการก็ได อยางไรก็ตาม สาเหตุที่ผูใชงานจํานวนมากนิยมใชโปรแกรม MySQL คือ MySQL สามารถทํางานไดอยางรวดเร็ว นาเช่ือถือและใชงานไดงาย เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการทํางานระหวางโปรแกรม MySQL และ PotgreSQL โดยพิจารณาจากการประมวลผลแตละคําสั่ง นอกจากน้ัน MySQL ถูกออกแบบและพัฒนาข้ึนมาเพื่อทําหนาที่เปนเครื่องใหบริการรองรับการจัดการกับฐานขอมูลขนาดใหญ ซึ่งการพัฒนายังคงดําเนินอยูอยางตอเน่ือง สงผลใหมีฟงกชันการทํางานใหมๆที่อํานวยวามสะดวกแกผูใชงานเพิ่มข้ึนอยูตลอกเวลา รวมไปถึงการปรับปรุงดานความตอเน่ือง ความเร็วในการทํางาน และความปลอดภัย ทําให MySQL เหมาะสมตอการนําไปใชงานเพื่อเขาถึงฐานขอมูลบนเครือขายอินเตอรเน็ต

Page 19: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

บทที่ 3

วิธีการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเพ่ือการศึกษาความคิดเห็นของระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลีนิก มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต ศูนยการศึกษานอกท่ีตั้ง ตรัง โดยผูวิจัยไดดําเนินการวิจัยตามข้ันตอนดังตอไปนี้

3.1 การกําหนดประชากรและกลุมตัวอยาง 3.2 แผนการดําเนินงาน 3.3 การวิเคราะหระบบ 3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล 3.5 การวิเคราะหขอมูล 3.6 เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย 3.7 สถิติท่ีใชในการวิจัย 3.1 การกําหนดประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากรและกลุมตัวอยาง คือ อาจารยประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ จํานวน 5 คน และนักศึกษาประจําศูนยไอทีคลีนิก ประจําปการศึกษา 2556 จํานวน 15 คน

3.2 แผนการดําเนนิงาน ตารางท่ี 3.1 แผนการดําเนินงาน

กิจกรรม ระยะเวลาการดําเนินงาน (เดือน)

ระยะ เวลา เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.

1. สํารวจรวบรวมขอมูลท่ีเก่ียวของ 2 เดือน

2.สํารวจและศึกษาความตองการของผูใช 1 เดือน

3.จัดทําการวางแผนงาน และทําการ

วิเคราะหขอมูล

2 เดือน

4.ทําการออกแบบ และพัฒนาระบบ 3 เดือน

5.ทดสอบและปรับปรุงแกไขขอผิดพลาด 2 เดือน

6.นําทดลองไปใชงานจริง 2 เดือน

7.จัดทําคูมือการใชงาน 1 เดือน

Page 20: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

3.3 การวิเคราะหระบบ วิเคราะหระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลีนิก ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดทําการวิเคราะหออกแบบและพัฒนาระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับ

ศูนยไอทีคลีนิก โดยมีขอมูลท่ีสําคัญดังตอไปนี้ 3.3.1. Flow Chart การทํางานของระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลินิก

ลูกคา

รหัสไมถูกตอง

รหัสถูกตอง

ภาพท่ี 3.1 แผนผัง Flow chart แสดงข้ันตอนการทํางานของระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลีนิก

เริ่มตน

ลงช่ือเขาใชงาน

ตรวจสอบ

รหัสผาน แจงเตือน Error

ดูขอมูลสถานะเครื่อง เจาหนาท่ี เปลี่ยนรหัสผาน อาจารย

ฐานขอมูล

สิ้นสุด

Page 21: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

3.3.2. . Data Flow Diagrams (DFD) แสดงการไหลของขอมูลท่ีเขา และออกของระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลินิก

ภาพท่ี3.2 แผนภาพกระแสขอมูล Level 0 ของระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลินิก

0

ระบบการรับซอม

คอมพิวเตอรสําหรับ

ศูนยไอทีคลินิก

เจาหนาท่ี

ลูกคา

เปลี่ยนรหัสผาน

อาจารย

รหัสผ

านให

รหัสผ

านเด

ิม

อนุมัติการสงคืน

รายงานขอมูลการซอม

ขอมูล

ปญหา

เครื่อ

รายง

านกา

รแกไ

ขเคร

ื่อง

รายงานการแกไข

ขอมูล

ปญหา

เครื่อ

ขอมูล

ลูกคา

Page 22: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

กรอบขอมูลลูกคา ขอมูลลูกคา

ขอมูลลูกคา

ขอมูลลูกคา

ขอมูลสถานะ

ลงทะเบียนการสงคืน ขอมูลลูกคา

ขอมูลลูกคา ขอมูลการสงคืน

ขอมูลอนุมัติการสงคืน

อนุมัติการสงคืน

ขอมูลลูกคา

ขอมูลสถานะท่ีแกไขแลว

ภาพท่ี3.3 แผนภาพกระแสขอมูล Level 1 ของระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลินิก

1.0

จัดการขอมลูลูกคา เจาหนาท่ี D1 ขอมูลลูกคา

อาจารย

ลูกคา

2.0

จัดการขอมลูการ

สงคืน เจาหนาท่ี

อาจารย

ลูกคา

D1 ขอมูลลูกคา

Page 23: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป
Page 24: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

3.3.4 Data Dictionary of ER-Diagram

ตารางท่ี 3.2 Customer: ตารางแสดงขอมูลลูกคา

No Name Description Null Data Type Key Reference

1 Tel เบอรติดตอ Unique Varchar (200) PK

2 status สถานะ Not Null Varchar (10)

3 Fname ช่ือ Not Null Varchar (50)

4 Lname นาวสกุล Not Null Varchar (50)

5 Address ท่ีอยู Not Null Varchar (200)

6 sex เพศ Varchar (10)

ตารางท่ี 3.3 Teacher: ตารางแสดงขอมูลอาจารย

No Name Description Null Data Type Key Reference

1 Teacher ID รหัสอาจารย Unique Varchar (20) PK

2 Tel เบอรติดตอ Not Null Varchar (200)

3 Fname ช่ือ Not Null Varchar (50)

4 Lname นาวสกุล Not Null Varchar (50)

5 Address ท่ีอยู Not Null Varchar (200)

6 sex เพศ Varchar (10)

Page 25: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

ตารางท่ี 3.4 Official: ตารางแสดงขอมูลเจาหนาท่ี

No Name Description Null Data Type Key Reference

1 Official ID รหัสเจาหนาท่ี Unique Varchar (20) PK

2 Tel เบอรติดตอ Not Null Varchar (200)

3 Fname ช่ือ Not Null Varchar (50)

4 Lname นาวสกุล Not Null Varchar (50)

5 Address ท่ีอยู Not Null Varchar (200)

6 Faculty คณะ Not Null Varchar (20)

ตารางท่ี 3.5 Change your password : ตารางแสดงขอมูลการเปล่ียนรหัสผาน

No Name Description Null Data Type Key Reference

1 New password รหัสผานใหม Unique Varchar (20) PK

2 User name ช่ือผูใช Not Null Varchar (20)

Page 26: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

3.3.5 หนาตาของระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลีนิก

1.Form การเขาใชงานของระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลีนิก 2.Form หนาตางสําหรับเจาหนาท่ีของระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลินิก

ระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลินิก

สวนท่ี 1 ลงทะเบียนลูกคา ชื่อ นามสกุล ท่ีอยู เบอรโทร วันท่ีสงซอม สวนท่ี 2 ลงทะเบียนการแจงซอม ปญหาของเครื่องคอมพิวเตอร ยี่หอ/รุน ของท่ีเอามาดวย

ระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลีนิก

ช่ือผูใช

รหัสผาน

ยกเลิก ตกลง

ภาพท่ี 3.5 หนาของการลงชื่อเขาเขาใชงานระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลินิก

กรอบขอมูลลูกคา

บอรดประชาสัมพันธ

รูปภาพกิจกรรม

ลงทะเบียนสงคืน

บันทึก ยกเลิก

ภาพท่ี 3.6 หนาตางสําหรับเจาหนาท่ีของระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลิ

Page 27: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

3.Form หนาตางสําหรับเจาหนาท่ีของระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลินิก

ระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลินิก

ลงทะเบียนสงคืน ขอมูลปญหาของเคร่ืองคอมพิวเตอรท่ีแกไขแลว

ชื่อ-นามสกุลผูซอม วันท่ีซอมเสร็จ

ภาพท่ี 3.7 หนาตางสําหรับเจาหนาท่ีของระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลินิก

กรอบขอมูลลูกคา

บันทึก ยกเลิก

บอรดประชาสัมพันธ

รูปภาพกิจกรรม

ลงทะเบียนสงคืน

Page 28: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

4.Form หนาตางสําหรับอาจารยของระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลินิก

ระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลินิก

อนุมัติการสงคืน

ลําดับท่ี ชื่อ-นามสกุล ยืนยันการสงคืน 1 2 3

นายฮาฟซ สาเมาะ นายภูรกรณ คาเร็ง นายเอก โทตรี

อนุมัติ อนุมัติ

ไมอนุมัติ

ภาพท่ี 3.8 หนาตางสําหรับอาจารยของระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลินิก

กรอบขอมูลลูกคา

บอรดประชาสัมพันธ

รูปภาพกิจกรรม

ลงทะเบียนสงคืน

บันทึก ยกเลิก

อนุมัติการสงคืน

Page 29: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

5.Form หนาตางสําหรับลูกคาของระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลินิก

ระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลินิก

สถานะเครื่อง

ลําดับท่ี ชื่อ-นามสกุล สถานะ 1 2 3

นายฮาฟซ สาเมาะ นายภูรกรณ คาเร็ง นายเอก โทตรี

เสร็จแลว เสร็จแลว

ระหวางซอม

ภาพท่ี 3.9 หนาตางสําหรับลูกคาของระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลินิก

3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ตามข้ันตอน ดังตอไปนี้ 3.4.1 ทําการออกแบบ แบบสอบถาม 3.4.2 ผูวิจัยนําแบบสอบถามใหกับกลุมตัวอยางดวยตัวเอง พรอมท้ังอธิบาย และให

คําแนะนําในการตอบแบบสอบถาม

3.4.3 ทําการเก็บรวบรวมขอมูลจนครบตามจํานวนของกลุมตัวอยาง

3.4.4 นําแบบสอบถามมาประมวลผล และนําเสนอผลการวิจัยในบทท่ี 4 ตอไป

ขอมูลสถานะเครื่อง

บันทึก ยกเลิก

บอรดประชาสัมพันธ

รูปภาพกิจกรรม

Page 30: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

3.5 การวิเคราะหขอมูล

ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดดําเนินการวิเคราะหขอมูล ดังนี้ 3.5.1 ตรวจสอบจํานวนและความสมบูรณของแบบสอบถามท่ีไดจากการเก็บรวบรวมขอมูล 3.5.2 นําแบบสอบถามไปวิเคราะหขอมูลตามตัวแปรท่ีศึกษา โดยใชวิธีการทางสถิติ ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร 3.5.3 ในการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามตอนท่ี 1 เปนการวิเคราะหขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถามในดานตางๆ เชน เพศ ระดับการศึกษา อายุ และทําการวิเคราะหขอมูลโดยการแจกแจงความถ่ี (Frequency) และสถิติรอยละ (Percentage) 3.5.4 ในการวิ เคราะหขอมูลจากแบบสอบถามตอนท่ี 2 เปนการวิ เคราะหขอมูล ความพึงพอใจของผูตอบแบบสอบถาม ตอระบบบันทึกฝกงานออนไลนของนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนยการศึกษานอกท่ีตั้ง ตรัง ไดแก ดานขอมูล ดานความสะดวก ซ่ึงทําการวิเคราะหขอมูลโดยหาคาเฉลี่ย (Mean) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เปนรายขอ ซ่ึงลักษณะของแบบสอบถามเปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ ดังนี้

5 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับดีมาก 4 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับดี 3 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง 2 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับพอใช 1 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับควรปรับปรุง สวนการแปลความหมายของคาเฉลี่ยระดับความพึงพอใจของผูตอบแบบสอบถามตอระบบบันทึกฝกงานออนไลนของนักศึกษา(กรณีศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนยการศึกษานอกท่ีตั้ง ตรัง) ท่ีไดจากการตอบแบบสอบถามในแตละรายการและในภาพรวม จะใชเกณฑ ดังนี้ กําหนดใหคะแนนเฉลี่ยระหวาง 4.01-5.00 แปลวา มีความพึงพอใจในระดับดีมาก

กําหนดใหคะแนนเฉลี่ยระหวาง 3.01-4.00 แปลวา มีความพึงพอใจในระดับดี

กําหนดใหคะแนนเฉลี่ยระหวาง 2.01-3.00 แปลวา มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง

กําหนดใหคะแนนเฉลี่ยระหวาง 1.51-2.00 แปลวา มีความพึงพอใจในระดับพอใช

กําหนดใหคะแนนเฉลี่ยระหวาง 1.00-1.50 แปลวา มีความพึงพอใจในระดับควรปรับปรุง

3.5.5 ในการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามตอนท่ี 3 ซ่ึงเปนขอมูลเสนอแนะ และความคิดเห็นอ่ืนๆ ของผูตอบแบบสอบถามตอระบบบันทึกฝกงานออนไลนของนักศึกษา(กรณีศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนยการศึกษานอกท่ีตั้ง ตรัง) จะใชการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) 3.6 เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

3.6.1 ระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลีนิก 3.6.2 แบบสอบถามความพึงพอใจของการพัฒนาระบบการรับซอมคอมพิวเตอรสําหรับศูนยไอทีคลีนิก

Page 31: บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป นมาและความสําคัญของป ญหา...1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป

3.7 สถิติท่ีใชในการวิจัย

ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดทําการวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติ ดังตอไปนี้ 3.6.1 คาเฉล่ีย

สูตร n

X X∑=

เม่ือ X แทน คาเฉลี่ยเลขคณิต ∑X แทน ผลรวมของขอมูลท้ังหมด

n แทน จํานวนของขอมูลท้ังหมด

3.6.2 คาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

สูตร

( )1n

XXS.D.

2

−= ∑

เม่ือ S.D. แทน คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน ขอมูลของแตละจํานวน

X แทน คาเฉลี่ยเลขคณิต n แทน จํานวนของขอมูลท้ังหมด

∑ แทน ผลรวมของขอมูลท้ังหมด

3.6.3 คารอยละ

สูตร 100 N

f P ×=

เม่ือ P แทน รอยละ

f แทน ความถ่ีท่ีตองการแปลงเปนคารอยละ N แทน จํานวนความถ่ีท้ังหมด