13
ส่วนทีแนวทางการติดตามประเมินผล

ส่วนที่ ๔ แนวทางการติดตามประเมินผล · 74 4.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ส่วนที่ ๔ แนวทางการติดตามประเมินผล · 74 4.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล

ส่วนที ่ ๔

แนวทางการติดตามประเมินผล

Page 2: ส่วนที่ ๔ แนวทางการติดตามประเมินผล · 74 4.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล

73 ส่วนที่ 4

แนวทางการติดตามประเมินผล *************************************************************************************************************************

4.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง เป็นการติดตามประเมินผลแผนพัฒนาตามแผนการด าเนินงานขององค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง โดยคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง เป็นผู้ด าเนินการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง ซึ่งประกอบด้วยสาระส าคัญ 3 บท ได้แก่

บทที่ 1 กล่าวถึงความเป็นมาและความส าคัญ วัตถุประสงค์ ขอบเขต ระเบียบวิธีการกรอบแนวคิดและประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง เนื่องจากแผนพัฒนาฯ เป็นเครื่องมือส าคัญที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะใช้เป็นตัวก าหนดทิศทางในการพัฒนาภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ นโยบายของผู้บริหารที่แถลงไว้ต่อสภาฯ และอ านาจหน้าที่ตามที่กฎหมายก าหนด โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินความพึงพอใจของประชาชนในต าบลโพนทอง ที่มีผลต่อการด าเนินงานขององคก์ารบริหารส่วนต าบลโพนทอง และในประเด็นยุทธศาสตร์ ซึ่งคาดว่าจะได้รับประโยชน์ ดังนี้ 1. ใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินผลการด าเนินงานขององค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง 2. ใช้ผลจากการประเมินเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง 3. ได้รับทราบข้อมูลตลอดจนความพึงพอใจของประชาชนและของผู้ใช้บริการ เพ่ือน าเสนอฝ่ายบริหารในการพิจารณา ปรับปรุง แก้ไข หรือใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาท้องถิ่นให้เหมาะสมกับความต้องการของประชาชนในพื้นท่ีต่อไป 4. เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่น สร้างความเข้าใจให้กับผู้เกี่ยวข้องในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (องค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง) ภาคประชาชน อันจะน าไปสู่การพัฒนาประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม ที่ประชาชนสามารถตรวจสอบการด าเนินงานได้ อีกทั้งยังเป็นกระบวนการหนึ่งของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

บทที่ 2 กล่าวถึงเอกสารข้อมูลที่เก่ียวข้องกับการติดตามและประเมินผล ประกอบไปด้วย 1. วิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง 2. ภารกิจหลัก หรือพันธกิจการพัฒนาองค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง 3. จุดมุ่งหมายในการพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง 4. นโยบายของผู้บริหารท้องถิ่น 5. คู่มือการติดตามและประเมินผลการจัดท าและแผลงแผนไปสู่การปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Page 3: ส่วนที่ ๔ แนวทางการติดตามประเมินผล · 74 4.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล

74 4.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล

บทที่ 3 กล่าวถึงวิธีด าเนินการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง เป็นการติดตามประเมินผลการด าเนินงานขององค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง ในภาพรวมในประเด็นแต่ละยุทธศาสตร์ ตามแผนการด าเนินงานโดยใช้แบบประเมิน ดังนี้ แบบที่ 1 : เป็นแบบประเมินตนเองในการจัดท าแผนยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น โดยจะท าการประเมินและรายงานทุกครั้ง หลังจากท่ีองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นได้ประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์แล้ว แบบที่ 2 : เป็นแบบประเมินตนเอง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือติดตามผลการด าเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภายใต้แผน ยุทธศาสตร์ โดยมีก าหนดระยะเวลาในการติดตามและรายงานผลการ ด าเนินงาน แบบที่ 3/1 : เป็นแบบประเมินตนเอง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้ประเมินผลการ ด าเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามยุทธศาสตร์ที่ก าหนด ระยะเวลาในการรายงานปีละ 1 ครั้ง หลังจากสิ้นสุดปีงบประมาณ

********************************************************************************

Page 4: ส่วนที่ ๔ แนวทางการติดตามประเมินผล · 74 4.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล

75

แบบที่ 1 การก ากับการจัดท าแผนยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ค าชี้แจง : แบบ 1 เป็นแบบประเมินตนเองในการจัดท าแผนยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยจะท าการประเมินและรายงานทุกครั้ง หลังจากท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์แล้ว

ชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง อ าเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี

ประเด็นการประเมิน มีการ

ด าเนินงาน ไม่มีการ

ด าเนินงาน ส่วนที่ 1 คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น 1. มีการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นเพ่ือจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่น 2. มีการจัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นเพ่ือจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่น 3. มีการจัดประชุมอย่างต่อเนื่องสม่ าเสมอ 4. มีการจัดตั้งคณะกรรมการสนับสนุนการจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่น 5. มีการจัดประชุมคณะกรรมการสนับสนุนการจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่น 6. มีคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น และประชาคมท้องถิ่นพิจารณาร่างแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนา

ส่วนที่ 2 การจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่น 7. มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาส าคัญของท้องถิ่นมาจัดท าฐานข้อมูล 8. มีการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดท าแผน 9. มีการวิเคราะห์ศักยภาพของท้องถิ่น (SWOT) เพ่ือประเมินสถานภาพ การพัฒนาท้องถิ่น

10. มีการก าหนดวิสัยทัศน์และภารกิจหลักการพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้องกับ ศักยภาพของท้องถิ่น

11. มีการก าหนดวิสัยทัศน์และภารกิจหลักการพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์จังหวัด

12. มีการก าหนดจุดมุ่งหมายเพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน 13. มีการก าหนดเป้าหมายเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น 14. มีการก าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนา 15. มีการก าหนดยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัด 16. มีการอนุมัติและประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 17. มีการจัดท าบัญชีกลุ่มโครงการในแผนยุทธศาสตร์ 18. มีการก าหนดรูปแบบการติดตามประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ 19. มีการทบทวนแผนยุทธศาสตร์หรือไม่

Page 5: ส่วนที่ ๔ แนวทางการติดตามประเมินผล · 74 4.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล

76

แบบที่ 2 แบบติดตามผลการด าเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ค าชี้แจง : แบบที่ 2 เป็นแบบประเมินตนเอง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือติดตามผลการด าเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ โดยมีก าหนดระยะเวลาในการติดตามและรายงานผลการด าเนินงานทุก ๆ 3 เดือน เริ่มตั้งแต่สิ้นสุดการด าเนินงานในเดือนตุลาคม – ธันวาคม หรือ ไตรมาสที่ 1

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

1. ชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง อ าเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี 2. รายงานกลการด าเนินงานไตรมาสที่ (1) ไตรมาสที่ 1 (ตุลาคม – ธันวาคม) (2) ไตรมาสที่ 2 (มกราคม – มีนาคม) (3) ไตรมาสที่ 3 (เมษายน – มิถุนายน) (4) ไตรมาสที่ 4 (กรกฎาคม – กันยายน)

แบบที่ 3/1 แบบประเมินผลการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์

ค าชี้แจง : แบบที่ 3/1 เป็นแบบประเมินตนเอง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้ประเมินผลการด าเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามยุทธศาสตร์ที่ก าหนดไว้และมีการก าหนดระยะเวลาในการรางานปีละ 1 ครั้ง หลังจากสิ้นสุดปีงบประมาณ

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

1. ชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง อ าเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี 2. วัน/เดือน/ปี ที่รายงาน

Page 6: ส่วนที่ ๔ แนวทางการติดตามประเมินผล · 74 4.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล

77 ส่วนที่ 2 ยุทธศาสตร์และโครงการในปี 2558

3. ยุทธศาสตร์และจ านวนโครงการที่ปรากฏอยู่ในแผนและจ านวนโครงการที่ได้ปฏิบัติ

ยุทธศาสตร์ จ านวนโครงการ

จ านวนโครงการที่ปรากฏ อยู่ในแผน

จ านวนโครงการ ที่ได้ปฏิบัติ

1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน/ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ า

71

2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต 52 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการจัดระเบียบชุมชน/ สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย

18

4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรม และการท่องเที่ยว

7

5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหารจัดการ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อม

22

6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านศิลปะ วัฒนธรรมจารีต ประเพณี และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น

13

รวม 183

Page 7: ส่วนที่ ๔ แนวทางการติดตามประเมินผล · 74 4.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล

78

ส่วนที่ 3 ผลการด าเนินงาน 4. ความพึงพอใจต่อผลการด าเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาพรวม

ประเด็น พอใจมาก พอใจ ไม่พอใจ 1. มีการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในโครงการ/กิจกรรม 2. มีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้ข้อมูลของโครงการ/กิจกรรม 3. มีการเปิดโอกาสให้ประชาชนแสดงความคิดเห็นในโครงการ/กิจกรรม 4. มีการรายงานผลการด าเนินงานของโครงการ/กิจกรรมต่อสาธารณะ 5. การเปิดโอกาสให้ประชาชนตรวจสอบการด าเนินโครงการ/กิจกรรม 6. การด าเนินงานเป็นไปตามระยะเวลาที่ก าหนด 7. ผลการด าเนินโครงการ/กิจกรรมน าไปสู่การแก้ไขปัญหาของประชาชน 8. การแก้ไขปัญหาและการตอบสนองความต้องการของประชาชน 9. ประโยชน์ที่ประชาชนได้รับจากการด าเนินโครงการ/กิจกรรม

Page 8: ส่วนที่ ๔ แนวทางการติดตามประเมินผล · 74 4.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล

การติดตามและประเมินผลโครงการ เป็นหน้าที่ที่ส าคัญอย่างหนึ่ง ในการด าเนินงานพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบล ดังนั้น ในการการจัดน าแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2558 – 2560) เพ่ือให้ทราบถึงแนวทางและกลไกในการติดตามและประเมินผลการด าเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา และการจัดท างบประมาณประจ าปี ว่าสอดคล้องและสามารถตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ของการพัฒนา เพ่ือน าไปสู่การปฏิบัติได้อย่างแท้จริงและมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โดยมีปัจจัยสนับสนุนและแนวทางด าเนินการ ดังนี้ องค์กรรับผิดชอบ คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา 1. นางปราณี ปีแ่ก้ว สมาชิกสภา อบต. กรรมการ 2. นางแจ่ม ศรีสุพรรณ สมาชิกสภา อบต. กรรมการ 3. นางสุนันทา มินทบุญ สมาชิกสภา อบต. กรรมการ 4. นายบรรจง โคสุวรรณ ผู้แทนประชาคม กรรมการ 5. นายประชัยวัฒน์ พรหมบุตร ผู้แทนประชาคม กรรมการ 6. นางสาวภัทธิยา เชื้อเย็น ผู้แทนหน่วยงาน กรรมการ 7. นางณัฐนันท์ สุนประชา ผู้แทนหน่วยงาน กรรมการ 8. นายธงชัย แดงดีมาก หัวหน้าส่ านักปลัด กรรมการ 9. นางรกัชนก แจ้งแสงทอง หัวหน้าส่วนโยธา กรรมการ 10. นายชลอ ร่มพุฒตาล ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ 11. นางจันสี เป้าบ้านเซ่า ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ 12. นางเดือนเพ็ญ แดงดีมาก เจ้าหน้าที่วิเคราะห์ฯ กรรมการ มีอ านาจหน้าที่ 1. ก าหนดแนวทาง วิธีการในการติดตาม และประเมินผลการพัฒนา 2. ด าเนินการติดตาม และประเมินผลแผนพัฒนา 3. รายงานผลการ น าเสนอความเห็นที่ได้จากการติดตามและประเมินผล ให้ประชาชนในท้องถิ่น และ สภาองค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง ได้รับทราบ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ภายในเดือนธันวาคม และปิดประกาศโดยเปิดเผยภายใน 30 วัน หลังจากได้ติดตามและประเมินผล 4. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะท างาน เพ่ือช่วยปฏิบัติงานตามที่เห็นสมควร วิธีการติดตามและประเมินผล 1. ติดตามและประเมินผล ก่อนด าเนินการโครงการว่าคุ้มค่าการลงทุนหรือไม่ 2. ติดตามและประเมินผล ขณะด าเนินการโครงการ และ หลังสิ้นสุดโครงการเป็นประจ าปี เพ่ือประเมินผล ว่าโครงการประสบความส าเร็จตามยุทธศาสตร์ที่วางไว้หรือไม่ 3. ติดตามและประเมินผลทุกโครงการ ว่าได้บรรลุวัตถุประสงค์และคุ้มค่าของผลการด าเนินงาน

Page 9: ส่วนที่ ๔ แนวทางการติดตามประเมินผล · 74 4.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล

ที่วางไว้หรือเพ่ือตัดสินว่าควรจะขยายปรับปรุงหรือสิ้นสุดของโครงการ 4. จัดท าระบบฐานข้อมูลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ในแต่ละด้าน เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการวางแผน พัฒนาองค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง ทั้ง 6 ด้าน ตามล าดับความส าคัญก่อน/หลัง ดังนี้ 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน/การบริหารจัดการทรัพยากรน้ า 1.1 แนวทางการพัฒนา ก่อสร้าง ปรับปรุงสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เช่น ถนน สะพาน ฯลฯ 1.2 แนวทางการพัฒนา ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการต่าง ๆ เช่น แหล่งน้ า ไฟฟ้า ฯลฯ 1.3 แนวทางการพัฒนาด้านการผังเมือง 1.4 แนวทางการพัฒนาระบบจราจร 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต 2.1 แนวทางการพัฒนาด้านการส่งเสริมอาชีพต่าง ๆ 2.2 แนวทางการพัฒนาด้านสวัสดิการสังคม เช่น พัฒนาผู้สูงอายุให้ได้รับเบี้ยยังชีพ/ พัฒนาผู้พิการ/พัฒนาเด็กและเยาวชน พัฒนาที่พักอาศัยให้แก่ผู้ยากไร้/ ผู้ดอ้ยโอกาส ฯลฯ 2.3 แนวทางการพัฒนาด้านการศึกษา 2.4 แนวทางการพัฒนาสุขภาพอนามัยของประชาชน 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย 3.1 แนวทางการพัฒนาด้านส่งเสริมประชาธิปไตย/สิทธิหน้าที่ของปวงชนชาวไทย 3.2 แนวทางการพัฒนาด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 3.3 แนวทางการพัฒนาด้านการรักษาความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน 3.4 แนวทางการพัฒนาด้านการป้องกันการแพร่ระบาดยาเสพติด 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรม และการท่องเที่ยว 4.1 แนวทางการพัฒนาด้านการส่งเสริมการลงทุน/หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4.2 แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยว/ปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว/สวนสาธารณะต่าง ๆ 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหารจัดการ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 5.1 แนวทางการพัฒนาส่งเสริมบุคลากรท้องถิ่น 5.2 แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานท้องถิ่น และการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน 5.3 แนวทางการพัฒนาการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม/การคุ้มครอง และบ ารุงรักษาป่าและน้ า 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านศิลปะ วัฒนธรรมจารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น 6.1 แนวทางการพัฒนาแหล่งขอมูลข่าวสารและศักยภาพในการรักษาและอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมต่าง ๆ

Page 10: ส่วนที่ ๔ แนวทางการติดตามประเมินผล · 74 4.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล

5. การติดตามและประเมินผล การก าหนดตัวชี้วัด ผลการด าเนินงานในแต่ละเรื่อง โดยให้มีการวัดผล เพ่ือวัดคุณค่าของโครงการและผลการพัฒนาที่เกิดข้ึนใน 3 ระดับ คือ ผลงาน ได้แก่ สิ่งที่เกิดข้ึนจากการด าเนินงานในการแก้ไขปัญหาความต้องการ ตามเป้าหมาย ของงาน/โครงการ/กิจกรรม ผลลัพธ์ ได้แก่ ผลที่ตามมา ซึ่งเป็นเรื่องที่แสดงถึงการบรรลุความส าเร็จของงานที่เกิดขึ้น ผลกระทบ ได้แก่ การประเมินผลที่ได้จากโครงการ ทั้งทีค่าดหวังและไม่ได้คาดหวัง ซึ่งเป็นผล ทางบวกและลบเพ่ือน าไปประกอบการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการ เช่น ปรับปรุง แก้ไข ยกเลิก หรือด าเนินการต่อไป

Page 11: ส่วนที่ ๔ แนวทางการติดตามประเมินผล · 74 4.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล

ภาคผนวก

Page 12: ส่วนที่ ๔ แนวทางการติดตามประเมินผล · 74 4.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล
Page 13: ส่วนที่ ๔ แนวทางการติดตามประเมินผล · 74 4.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล

ประกาศองค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง เรื่อง ประกาศใช้แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.๒๕๕9 – ๒๕61)

*************************************** ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดท าแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ ก าหนดให้องค์การบริหารส่วนต าบลจัดท าแผนพัฒนาสามปี เพ่ือเป็นการก าหนดทิศทางในการพัฒนาท้องถิ่นในห้วงระยะเวลา ๓ ปี นั้น บัดนี้ สภาองค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง ได้พิจารณาให้ความเห็นชอบร่างแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.๒๕๕9 - ๒๕61) ในสมัยประชุมสภาสมัยวิสามัญ สมัยที่ 1 ประจ าปี ๒๕๕8 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน ๒๕๕8 และนายกองค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง ได้พิจารณาอนุมัติเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนั้น องค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง จึงประกาศใช้แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.๒๕๕9 – ๒๕61) เพ่ือเป็นแนวทางการพัฒนาและจัดท างบประมาณรายจ่ายขององค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง ต่อไป

จึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน

ประกาศ ณ วันที่ 30 เดือน มิถุนายน พ.ศ.๒๕58

(นายกฤช เมธาประดิษฐสกุล) นายกองค์การบริหารส่วนต าบลโพนทอง