8
PETROMAT CCC for R&D Partnerships วันอังคารที22 เมษายน 2557 เวลา 10.30-12.30 . หองประชุม 4 ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติงานเสวนา รายชื่อวิทยากร ดร.วีระภัทร ตันตยาคม เลขาธิการกลุมอุตสาหกรรมปโตรเคมี สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ดร.บุตรา บุญเลี้ยง Technology Intelligence Manager บริษัท เอสซีจี เคมิคอลส จํากัด ผศ. ดร.กานดิส สุดสาคร นักวิจัย PETROMAT จากภาควิชาวิศวกรรมเคมี .เกษตรฯ ผศ. ดร.ศิริพร จงผาติวุฒิ รองผูอํานวยการและนักวิจัย PETROMAT จากวิทยาลัยปโตรเลียมและปโตรเคมี จุฬาฯ ผศ. ดร.ศิริธันว เจียมศิริเลิศ หัวหนาโปรแกรมวิจัย HPSM, PETROMAT และหัวหนาภาควิชาวัสดุศาสตร จุฬาฯ (ผูดําเนินการเสวนา) ในป 2556 ที่ผานมา PETROMAT ไดจัดงานเสวนา “Step2 R&D Partnerships” โดยเชิญผูเสวนาทั้งจากภาค อุตสาหกรรมและภาคการศึกษามาแลกเปลี่ยนประสบการณ ความคิดเห็น ตลอดจนขอเสนอแนะตาง ในการทํางาน วิจัยรวมกัน ซึ่งในตอนทายของการเสวนาไดขอสรุปวา ไมวาจะทําเรื่องอะไร ตองเริ่มจาก Communication หรือการสื่อสารกอน ในป 2557 นีPETROMAT จึงจัดงานเสวนา “CCC for R&D Partnerships” ที่มีเนื้อหาตอเนื่องจากปที่แลว จะเรียกวาเปนภาค 2 ของงานปที่แลวก็ได แนนอน CCC ตัว C ตัวแรกตองเปน Communication เมื่อเรา สื่อสารกันรูเรื่อง เคมีตรงกัน ก็จะเกิดการประสานงานที่ดี Coordination และจะนําเราไปสูการ Collaboration ซึ่งก็คือ C ที3 นั่นเอง โดยทานผูอานสามารถติดตามรายละเอียดการเสวนาไดดังนี... ภาพบรรยากาศงาน Step 2 R&D Partnerships 2556 ”

Issue10 full ccc

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: Issue10 full ccc

PETROMAT CCC for R&D Partnershipsวันอังคารที่ 22 เมษายน 2557 เวลา 10.30-12.30 น. ณ หองประชุม 4 ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์

งานเสวนา

รายชื่อวิทยากร

ดร.วีระภัทร ตันตยาคม เลขาธิการกลุมอุตสาหกรรมปโตรเคมี สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

ดร.บุตรา บุญเลี้ยง Technology Intelligence Manager บริษัท เอสซีจี เคมิคอลส จํากัด

ผศ. ดร.กานดิส สุดสาคร นักวิจัย PETROMAT จากภาควิชาวิศวกรรมเคมี ม.เกษตรฯ

ผศ. ดร.ศิริพร จงผาติวุฒิ รองผูอํานวยการและนักวิจัย PETROMAT จากวิทยาลัยปโตรเลียมและปโตรเคมี จุฬาฯ

ผศ. ดร.ศิริธันว เจียมศิริเลิศ หัวหนาโปรแกรมวิจัย HPSM, PETROMAT และหัวหนาภาควิชาวัสดุศาสตร จุฬาฯ (ผูดําเนินการเสวนา)

ในป 2556 ที่ผานมา PETROMAT ไดจัดงานเสวนา “Step2 R&D Partnerships” โดยเชิญผูเสวนาทั้งจากภาค

อุตสาหกรรมและภาคการศึกษามาแลกเปลี่ยนประสบการณ ความคิดเห็น ตลอดจนขอเสนอแนะตาง ๆ ในการทํางาน

วจิยัรวมกนั ซึง่ในตอนทายของการเสวนาไดขอสรปุวา ไมวาจะทาํเรือ่งอะไร ตองเริม่จาก Communication หรอืการสือ่สารกอน

ในป 2557 นี้ PETROMAT จึงจัดงานเสวนา “CCC for R&D Partnerships” ที่มีเนื้อหาตอเนื่องจากปที่แลว

จะเรียกวาเปนภาค 2 ของงานปที่แลวก็ได แนนอน CCC ตัว C ตัวแรกตองเปน Communication เมื่อเรา

สื่อสารกันรูเรื่อง เคมีตรงกัน ก็จะเกิดการประสานงานที่ดี Coordination และจะนําเราไปสูการ Collaboration ซึ่งก็คือ

C ที่ 3 นั่นเอง โดยทานผูอานสามารถติดตามรายละเอียดการเสวนาไดดังนี้ ...

“ภาพบรรยากาศงาน Step 2 R&D Partnerships ป 2556 ”

Page 2: Issue10 full ccc

ผศ. ดร.ศิริธันว : งานเสวนาครั้งนี้ CCC ยอมาจาก Communication, Coordination, and Collaboration ตอเนื่องมาจากการเสวนาครั้งกอน Step 2 R&D Partnerships ท่ี ดร.วีระภัทร ไดท้ิงทายไววา “จะทําอยางไรใหเกิดความสําเร็จในการรวมมือระหวางภาคการศึกษากับภาคอุตสาหกรรม” เรามาเร่ิมที่คําถามแรกนะคะ อยากจะทราบวาคําวา CCC นี่มีความสําคัญอยางไรคะ

ดร.วีระภัทร : เคยพูดไววาเรื่อง Communication เปนเร่ืองสําคัญ คนภายนอกมักมองนักวิจัยวาสื่อสารดวยยาก แตมันมีหลายกระบวนการที่นักวิจัยตองสื่อสารกับสังคม เริ่มตั้งแตการส่ือสารแนวคิดมาสูการทดลอง การทํารายงาน หากนักวิจัยสามารถสื่อสารไดก็จะทําใหเกิดการพัฒนางานตอไปเรื่อย ๆ และความสําเร็จจะชัดเจนยิ่งขึ้นถายกระดับดวยการ Collaboration แตความซับซอนในการสื่อสารระหวางกันจะยากขึ้น ยิ่งกรณีที่จะทําใหเกิด Innovative หรือ Commercialization ความยากจะมากขึ้นไปอีก เพราะคนที่เกี่ยวของมาจากหลากหลายองคกร เราตองอธิบายถึงไอเดียที่เปน Intangible Products ออกมาเพ่ือใหคนอื่นชวยสานตอใหประสบความสําเร็จตอไป เทคนิคสําคัญ คือ การคุยกันแบบ Informal Communication มีงานศึกษาแลววาการพูดคุยแบบไมเปนทางการเปนวิธีหนึ่งที่ทําใหเกิดการ Collaboration อยางแทจริงในการทํางานวิจัย บางคนที่ไมถนัดอาจจะตองมีการปรับ หรืออาจมีหนวยงานอยาง PETROMAT มาชวยใหเกิดการ Communicate และ Collaborate

ผศ. ดร.ศิริธันว : ขอบคุณคะ อยากให อ.กานดิส ชวยเสริมในมุมมองของภาคการศึกษาผศ. ดร. กานดิส : เห็นดวยนะครับวาเร่ือง Communication สําคัญมากท่ีจะทําใหเห็นภาพรวมงานวิจัยตอการพัฒนาของประเทศ ต้ังแตมุมมองของผูบริหารระดับประเทศไปจนถึงประชาชน ประเทศไทยยังพบกับปญหาเร่ือง Middle Income Trap งบประมาณในการพัฒนาเทคโนโลยีของเราเองเปนเร่ืองสําคัญ แมวาทีผ่านมาเอกชนจะลงทนุวจิยัเพิม่ขึน้แตนโยบายและงานวจิยัจากภาครัฐยังสําคัญ นอกจากการทําใหเกิดการรวมตัวและสื่อสารระหวางนักวิจัย อยางที่ PETROMAT กําลังทําอยู ยังตองมีการจัดเตรียมส่ิงอํานวยความสะดวก ไดแก อุทยานวิทยาศาสตร Research Center ท่ีใหนักวิจัยมารวมกันและส่ือสารกันมากข้ึน จากแผนพัฒนาฯ ป 55-59 มีแผนที่จะเล่ือนศักยภาพในการแขงขันของไทยเปนลําดับที่ 16 ของโลก จากลําดับ 27-30 ซึ่งตอไปงานวิจัยจะมีบทบาทสําคัญ ผศ. ดร.ศิริธันว : อยากให อ.ศิริพร เสริมในมุมมองของ PETROMAT คะผศ. ดร.ศิริพร : ตอนนี้ทางภาครัฐและภาคอุตฯ เห็นความสําคัญในการนํางานวิจัยในหองทดลองไปใชจริง อยางที่ ดร.วีระภัทร พูดถึงไอเดียที่อาจไมไดมาจากนักวิจัยเทานั้นแตมาจาก Marketing หรือภาคอุตฯ จะทําอยางไรใหมาเปนโจทยในการวิจัยได ดังนั้น Communication จึงสําคัญ บางครั้งการนําแนวคิดที่ไดมาทําเปน Lab Scale และ Pilot Scale เลยอาจไมถูกตอง ตองมองภาพใหออกกอนวาเมื่อทําแลวจะนําไปขายใคร อยางไร ใครจะมากําหนดภาพจากทรัพยากรท่ีมี ดังนั้นจําเปนตองมีการระดมความคิดและคุยกัน ทั้งภาครัฐ เอกชน และนักวิจัย ดร.บุตรา: ขอเสริมจาก ดร.ศิริพร การจะพัฒนาเทคโนโลยีขึ้นมานั้น ตองมีอยางนอย 2 ภาพ คือ Technology Intelligence และ Market Intelligence อยางแรกตองมีภาพทางตลาดคราว ๆ มากอน คิดไปไกล ๆ วาเราจะทําอะไรกับเทคโนโลยีชิ้นนี้ เปนธุรกิจแบบไหน Business Model มีกี่แบบ ทําเงินกลับมาประมาณไหน จึงกลับมาถามวาแลวในเชิงของ Technology ตองทําอะไร จากนั้นตองมาคิดวา จะทําเองหรือจะ Collaborate กับใคร ถาภาพเหลานี้ชัดตั้งแตแรกจะทํางานงาย ประเด็นถัดมา คือ การ Communicate เรื ่อง IP ตองยอมรับวาเรายังลาหลังเรื ่องนี ้ เพราะยังมอง Invention เปน Invention ขาดการเชื ่อมโยงและมองภาพรวม ที่สําคัญ คือ เราจะ Communicate อยางไรใหรูวาแตละ Invention มีความเก่ียวของกันเพื่อใหเกิดภาพใหญ การตกลงกับ Partner ในเรื่องการแชร Invention และผลประโยชนที่จะไดรับรวมกัน ดาน Collaborationจากการทํางานรวมกับหนวยงานตางประเทศ ทําใหเห็นการ Communication ที่แตกตางตามโครงสรางองคกร ธรรมชาติของนักวิจัยและประเทศ การพูดคุยในต้ังแตนักวิจัย อาจารย ไปจนถึงผูบริหารระดับสูง ตองใชลักษณะการส่ือสารที่แตกตางกันหากคุยกันไมรูเรื่อง เรื่อง Collaboration และ Coordination คงไมเกิด ดังนั้นการ Communication สําคัญที่สุด

Page 3: Issue10 full ccc

ผศ. ดร.ศิริธันว : ในฐานะภาคการศึกษา ชวง 10 ปที่ผานมา เห็นวาการรวมมือของภาคอุตฯ กับมหาวิทยาลัยมีการเปลี่ยนแปลงและปรับการทํางานเขาหากันมากข้ึน อยากทราบความคิดเห็นของภาคอุตฯ คะดร.บุตรา : แนวโนมที่ผานมาจะเห็นเนนในเร่ือง Innovate มากขึ้น ทาง SCG เลือกท่ีจะทําตามบริษัทท่ีมีการลงทุนดาน R&D มาเปนเวลานาน เชน BASF, Dupont เราเชิญนักวิจัยจากประเทศญ่ีปุนมาสอน เชิญมหาวิทยาลัยที่โดงดังทั่วโลกมาบรรยาย ในอดีตจะใชวิธีอะไรท่ีใชเยอะก็จะทําเอง แตในชวง 10 ปที่ผานมาจะใชวิธีเรียนรูจากผูที่เชี่ยวชาญและมีประสบการณสูงแลวนํามาประยุกตใช เพราะวาโจทยที่เราคิดขึ้นมายอมมีคนท่ีสามารถตอบใหเราได ใน 2-3 ปที่ผานมา SCG จะเนนมองท้ังในประเทศและตางประเทศวาใครจะชวยตอบโจทยของเราได จากการไดพูดคุยกับ PETROMAT ซึ่งเปนหนวยงานที่ไมเหมือนใครในประเทศและยังไมเคยเจอหนวยงานแบบนี้ในแถบเอเชีย แตมีหนวยงานที่คลาย ๆ กันในเนเธอรแลนดที่รวมกลุมนักวิจัยจากหลาย ๆ มหาวิทยาลัยเขาดวยกันเพื่อตอบโจทยรวมกัน แมบริษัทชั้นนําดานงานวจิัยเองก็พบวาทรัพยากรยังไมเพียงพอและตองเนนเร่ืองการ Collaborate มากข้ึน ยกตัวอยาง BASF มีการตั้งศูนยวิจัยใหมที่เซี่ยงไฮ มี Centerof Excellence อยู 5 มหาวิทยาลัยทั่วโลก ที่ทําเรื่อง Fundamental Research และเปน Test Base ใหกับนักวิจัยกอนท่ีจะเขาทํางานในบริษัท ดังนั้นบริษัทเองก็รูวาไมสามารถทํางานคนเดียวได ซึ่งเรื่องความสัมพันธระหวางภาครัฐและเอกชนมีการเปล่ียนแปลงทั่วโลกไมใชแคประเทศไทยที่เดียว

ผศ. ดร.ศิริธันว : สมมติวา Communication สําเร็จแลว อยากทราบมุมมองในการเลือก Partners ของ SCG และ ปตท. เพ่ือ Collaboration ท้ังในประเทศและตางประเทศคะ

ดร.บุตรา : สิ่งแรก คือ เลือกนักวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญถูกตอง ตอมา คือ Casual Communication เพื่อดูแนวคิดในการทํางานเขากันหรือไม เชื่อใจกันและกันไดหรือไม เชน การออกไปทานขาวรวมกัน คุยวาสามารถแกปญหารวมกันไดอยางไร การทํางานรวมกันแบบ One on One ที่กําหนดขอบเขตในการดําเนินงานที่ชัดเจนเปนเรื่องงาย แตการทําใหเกิด Collaboration แบบ Long Term เปนเรื่องที่ทาทายและหลาย ๆ บริษัทชั้นนําทั่วโลกก็เริ่มใหความสําคัญ เห็นไดจากการจัดตั้ง Center of Excellence ของตัวเองในมหาวิทยาลัย หรือยกตัวอยางในเนเธอรแลนด มีการตั้ง Public Private Partnership ซึ่งตองอาศัยการ Communication อยางมากที่ทํางานรวมกันใหไดและมี Core Benefi ts รวมกันในอนาคต ผลสุดทายจะเปนยังไงก็ขึ้นกับองคกร Momentum และ Performance ของโปรเจคนั้น ๆ

ดร. วีระภัทร : ปตท. มีอยู 4 เกณฑ คือ 1) ขีดความสามารถวิจัย โดยดูจาก Research Background 2) มี Confl ict of Interest หรือไม 3) Accessibility คือ การเขาถึงตองมีคาใชจายและความพยายามเพ่ือใหเกิดการทํางานรวมกันมากหรือไม กรณีทํางานกับมหาวิทยาลัยตางประเทศ จะหลีกเล่ียงถา Competency ไมโดดเดนเพราะไมคุมและไม Effective ในการ Collabora-tion กับหนวยงานที่อยูไกล ยกเวนวามีการเอาตัวเราเองไป Engage ในหนวยงานนั้น ๆ 4) Ability to Develop ขอนี้ถือวาสําคัญมาก คือ การมองโอกาสในการทํางานวิจัยขางหนารวมกัน เรียนรูไปดวยกัน ตอนนี้ ปตท. มีการไดมาของเทคโนโลยี 3 วิธี คือ 1) In-House Development ในสวน Core Competency 2) Collaborate ในสวนท่ีเกินความสามารถขององคกร 3) Acquire คือ การซ้ือ การทํางานรวมกับหนวยงานตางประเทศของ ปตท. มีทั้งที่เปน Collaborate และ Acquire ในสวน Acquire จะดีตรงลดชองวางในการ Communicate และ Collaborate ไปพอสมควร บริษัทจะมีบทบาทในการ ManageLab ตองเตรียมคนท่ีมีศักยภาพเพียงพอเพ่ือรองรับ Technology Transfer เชน แลกเปล่ียนนักวิจัย จางนักวิชาการจากมหาวิทยาลัย ซ่ึงตองใชระยะเวลาในการทําความเขาใจ เคยคุยกับ PETROMAT วาเราผลิตคนไมทันจึงอยากจางอาจารยที่มีความเชี่ยวชาญมาชวยในเรื่องนี้ บริษัทไมไดเปนผูไดรับฝายเดียว แตสิ่งที่เกิดข้ึน คือ กระบวนการในการเรียนรูและเกิดประโยชนใหกับประเทศ

Page 4: Issue10 full ccc

ผศ. ดร.ศิริพร : ขอเสริมในมุมของภาคการศึกษานะคะ คิดวาสวนหนึ่งเปนเพราะภาคเอกชนเห็นความสําคัญในเรื่อง R&D มากขึ้น มีหนวยงานดาน R&D และมีความชัดเจนของ Career Path ใหนักวิจัย ซึ่งอดีตไมมีสิ่งเหลานี้คนที่จะเปนนักวิจัยตองมีใจรักมากจริง ๆ แตปจจุบันนักวิจัยที่จบปริญญาเอกมีอัตราเงินเดือนที่สูงพอสมควร

ดร.บุตรา : ปจจุบัน จะมีระบบ Career Tag ของ R&D คือ ไมไดทํางานวิจัยอยางเดียว เชน คนที่ทํางานเปน Specialist ของ Process Engineer ก็จะถือวาเปนสวนหนึ่งของ R&D ในอนาคต IP Specialist จะเปนที่ตองการมากสําหรับภาคเอกชน เพื่อชวยหาโอกาสและชองโหวในการทํางานวิจัย สําหรับ SCG Chemicals มีนักวิจัยทั้งหมดเกือบ 100 คน มีคนที่เปน IP Specialist แค 5 คน ซึ่งยังไมเพียงพอ ในอดีตอาจมองวาเปนอาชีพที่ตัน เติบโตไดยาก แตในอนาคต 10-20 ปขางหนา งานดาน IP จะใหญมาก ใหญกวา Sale และ Production

ดร.วีระภัทร : ในสวนของ IP ปตท. เองมีอยู 10 คน มีนักวิจัย 335 คน ซึ่งในสวนนี้จะทําทั้งในสวนของ Collaboration และ IP คิดเปนประมาณ 1 ใน 3 สวนที่เปนนักวิจัยก็จะมีประมาณ 120 คน สวนใหญจบปริญญาเอกมาจากหลากหลายสาขา งบประมาณสนับสนุนดานงานวิจัย คิดเปนรอยละ 3 ของกําไร ป

นี้ประมาณ 6,500 ลานบาท แบงเปนสวนของโครงสรางพื้นฐานคร่ึงหนึ่ง ปญหาของ IP คือ มีเยอะ จัดการยาก ตนทุนสูง Strategy ของ ปตท. คือ การเอา IP มาสู Commercialize ยกตัวอยางเชน IRPC โครงการท่ีเกิดขึ้นจะไมได Communicateออกมามาก เกิดจากการ Collaborate ภายใน ตั้งแตกระบวนการในหอง Lab การ Sourcing Feedstock การทํา Trial Test ใน Process การทํา License การทํา Commercializeและการทํา Marketing ในสวนงาน IP นอกจากจะสําคัญในเร่ือง R&D แลวยงัมีสวนในการคงอยูของบริษัท ปจจุบันไดมีการลงทุน Land Used มีขอจํากัดในประเทศ ทําใหจําเปนตองลงทุนในตางประเทศ ตองมีการ ดําเนินงานดวยวิธี FTO (Freedomto Operate) ตอง Secure ดาน IP การสรางโรงงานใหมก็จําเปนตองเอาเทคโนโลยีใหม ๆ มาใช เพื่อใหเกิด Technology Advantage สวนนี้นักกฎหมายดาน IP จะทํางานหนักมากรวมกับบริษัทท่ีปรึกษา เนื่องจากจํานวนคนไมเพียงพอ ผศ. ดร.ศิริธันว : อยากให อ.กานดิส ชวยเสริมมุมมอง IP ในสวนของมหาวิทยาลัยคะผศ. ดร.กานดิส: ทางมหาวิทยาลัยเองถาสามารถพัฒนาุคลากรดาน IP ใหมีความเขมแข็งก็เปนเร่ืองที่ดี เพราะจะชวยเหลือนักวิจัยไดดวย ในการเพ่ิมการจดสิทธิบัตรไดมากขึ้น และชวยสงเสริมใหนักวิจัย Communicate กันเพ่ือใหเกิดงานวิจัยมากขึ้น

ผศ. ดร.ศิริธันว: ภาคอุตฯ มีความคาดหวังอยางไรกับภาคการศึกษาบางคะดร.บุตรา : ก็คงคลายเกณฑท่ี ดร.วีระภัทร พูดถึง แตส่ิงสําคัญคือ ความตั้งใจความพรอมท่ีจะมาคุยกัน มาทํางานและแกปญหารวมกันมากกวา บางทีอาจจะพลาดท่ีเร่ิมจากการเอานักวิจัยมาคุยกันเอง หรือจบดวยการเอานักฎหมายมาคุยกันที่จะเนนเร่ืองการปกปองผลประโยชนของตนเองซึ่งก็เปนหนาที่ของเขา อุตสาหกรรมไมไดชอบที่เปนผูพูดฝายเดียว ซึ่งในอดีตจะเปนแบบน้ัน ตอนน้ีจะเนนการพูดคุยท่ีเขาใจกันมากข้ึน ซ่ึงคิดวาทางภาคการศึกษาก็ตองการจากภาคอุตสาหกรรม คือ ความเขาใจกันกอนวาจะทําหรือไมทํา ทําไปเพ่ืออะไร และภาพจะออกมาเปนอยางไร

ดร.วีระภัทร : สวนตัวคือทางภาคอุตฯ จะมองหามหาวิทยาลัยที่สามารถดําเนินงานวิจัยไดอยางเขมแข็งและมีผูเชี่ยวชาญที่รูอยางลึกซึ้ง เพ่ือมารวมแกปญหาในเชิงลึก มองไปขางหนารวมกัน งานวิจัยอาจไมไดผลอยางที่คิด สิ่งที่ไดมาแทนอาจเปน Relation หรือ Collaboration Opportunities อ่ืน ๆ ดังน้ัน

Page 5: Issue10 full ccc

เร่ือง Business Outcome อาจไมไดตอบโจทยภาคอุตฯ อยางเดียว องคความรูหรือผลงานทางวิชาการอ่ืน ๆ ก็มีสวนสําคัญในการพัฒนาองคกร ผศ. ดร.ศิริธันว : ในมุมกลับกันภาคการศึกษาอยากไดอะไรจากภาคอุตฯ บางคะผศ. ดร.กานดิส : งานวิจัยในปจจุบันตองมองวาทําแลวเอาไปใชงานอยางไร ซึ่งสิ่งที่ไดมาอาจยังไมตรงกับความตองการของประเทศไทยและโจทยที่เรงดวนในปจจุบัน ภาคการศึกษาตองเปดตัวเองไปรับรูโจทยจากภาคอุตฯ นอกจากน้ีอยากใหมีการสื่อสารหากมีปญหาที่เกิดขึ้นจากการทํางานในฐานะเพื่อนรวมงานมากกวานายจางลูกจาง เห็นอกเห็นใจและเขาใจกัน มหาวิทยาลัยเองก็ตองมีการปรับตัว ทํางานอยางเปนระบบ ยอมรับตอการติดตามงานเปนชวง ๆ

ดร.บุตรา : ขอเสริมนะครับ เคยทํางานรวมกับมหาวิทยาลัยแหงหนึ่งในยุโรปโดยกําหนดวาจะมีการคุยกันทุก ๆ 6 เดือนถึงแมจะมีการ Collaborate เกิดขึ้นแลวแตไมมีการ Communicate หลังจากนั้น ทําใหไดผลการศึกษาที่ไมตรงกับความตองการ และเกิดปญหาในเร่ืองการส่ือสารระหวางกัน หลังจากนั้นจึงกําหนดวาอาจารยที่ทํางานวิจัยและ Top Management ตองพบปะกันอยางนอยปละ 4 ครั้ง ซึ่งถือวาเปน Key Collaboration ตองเดินทางมาท่ีไทย 2 ครั้งตอป ทาง SCG ไปหาท่ีตางประเทศ 2 คร้ังตอป จะไมมี One WayCommunication กอนหนาท่ีจะไปตองมีการแลกเปล่ียนคนเขาไปทํางานกอน 5-7 สัปดาห เพ่ือเปรียบเทียบผลและการรายงานผลใหกับ Top Management รวมกัน สิ่งที่ได คือ ความเขาใจกันดาน Technology Development และความคุนเคยระหวางคนที่ทํางานรวมกันทั้งสองฝาย ทําใหกลาคยุกัน ไดเครือขายอาจารยที่ยุโรป ซึ่งเมื่อภาคอุตสาหกรรมเขาไปปรึกษาอาจารยเหลานี้จะเห็นภาพวาอาจารยทานไหนสามารถชวยตอบโจทยได ชวยลดระยะเวลาในการหาผูเชี่ยวชาญ เชนเดียวกับการทํางานรวมกับอาจารยจากจุฬาฯ หรือ วิทยาลัยปโตรเลียมและปโตรเคมีผศ. ดร.ศิริพร: ขอเสริมในสวนวิทยาลัยปโตรฯ ที่รวมงานกับThaiOil มโีมเดลท่ีพยายามต้ังข้ึนตอไปนาจะนาํไปใชกบัหลาย ๆหนวยงาน คือ ใชวิธีการมาพบปะพูดคุยกันทุก ๆ 2 เดือน ผูบริหารบริษัทก็กําหนดวาตองมีการพบปะสังสรรคแบบ Informal Communication หลังจากการประชุมทุกครั้งทําใหคุยกันไดมากขึ้น หลายคร้ังที่โครงการเกิดขึ้นจากการพูดคุยในบรรยากาศแบบน้ี ในสวน PETROMAT มีขอดี คือ การมีเครือขาย

Page 6: Issue10 full ccc

ผศ. ดร.ศิริพร : ทาง PETROMAT เองก็ยินดีมากและอยากจะใหมีโครงการแบบนี้เกิดขึ้นเรื่อย ๆ สําหรับโครงการนี้พอทางเราไดโจทยจากอาจารยมา เราก็เห็นวานาจะเปน SCG หรือ ปตท. ในที่สุดทาง SCG ก็สนใจและเกิดโครงการข้ึนมา ตอนนี้ทาง ปตท. เองก็มีการทํางานวิจัยเรื่องนี้รวมกับนิสิตปริญญาเอกกับอาจารยอีกทานหนึ่ง แตจะเปนปฏิกิริยาอีกแบบ ประเด็นเรื่อง Confl ict of Interest อยากใหภาคอุตฯ มองมากกวาเร่ืองหัวขอที่ทําวาตรงกันหรือไม เปดใจมากขึ้นในการเลือกอาจารย เพราะประเทศเราจํานวน ผูเชี่ยวชาญมีจํานวนจํากัด ตัวอาจารยเองก็จะรูวาถารับงานวิจัยของบริษัทหนึ่งแลวก็จะไมไปรับงานวิจัยที่คลาย ๆ กันจากอีกบริษัท สิ่งหนึ่งที่อยากใหเขาใจ คือ บางที่การพัฒนา Proposal มาดวยกัน อาจจะไมประสบความสําเร็จ คือ เรามีสมมติฐาน มีโจทยวิจัย แตพอทดลองแลวไมไดอยางที่คิดก็ตองมาคิดรวมกันวาเราจะไปอยางไรตอ

ดร. วีระภัทร : ตอนน้ีทาง ปตท. เองก็ไดทําระบบข้ึนมา ช่ือ PartnerEvaluation เปนขอมูลท่ีเปนความลับ มีสวนที่เปน Personal Comments เก็บขอมูลจากนักวิจัยของเราวาจากการทํางานรวมกันกับนักวิจัยแตละทานแลว มีความรูสึกอยางไร ดร.บุตรา : เรื่องศึกษาแลวไมสําเร็จก็เปนผลงานอยางหนึ่ง ตอนนี้ภาคอุตฯ ก็เขาใจมากข้ึนวาโจทยที่ใหมมาก ๆ โอกาสที่จะไมเปนตามคาดสูง การไดผลไมเปนไปตามที่คาดไมใชเรื่องใหญ แตการรูวาความผิดพลาดท่ีเกิดขึ้นมาจากอะไรเปนเร่ืองสําคัญมากกวา แลวมองหา Options อื่น ๆ ตอไปซึ่งตองมาชวยกันคิด ในอดีต Proposal จะคอนขางแคบ แตตอนนี้ SCG จะพยายามปรับใหหลวมมากขึ้น ใชวิธีการเขามามีสวนรวมในการติดตามผลมากขึ้น เพ่ือใหเขาใจวาทําไมผลออกมาเปนเชนนั้น การประเมินของเรามีทั้ง Partner Evaluation และ Research Evaluation ที่รับฟงแบบ Two Way Communication

อาจารย 200-300 คน ทํางานดานปโตรเคมีและวัสดุ ซึ่งไมใชเรื่องงาย ในการจะดึงคนมาทํางานรวมกัน PETROMAT พยายามที่จะใหเกิดการพบปะพูดคุยกันของอาจารยในแตละ Research Program อยางนอยปละ 3-4 ครั้ง ใหพบปะพูดคุยกันในบรรยากาศที่สบาย ๆ เพื่อใหทํางานรวมกันงายขึ้นผศ. ดร.ศิริธันว : PETROMAT มีแนวทางในการทํางานอยางไรบางคะ

ผศ. ดร.ศิริพร : PETROMAT พยายามจะเปน Focal Point ใหกับทั้งภาครัฐและภาคอุตฯ เร่ืองความเปนไปไดของโครงการ มีใครสามารถทําไดบาง รวมท้ัง การวิเคราะหทดสอบ ก็สามารถติดตอมาที่เราได ซึ่งทางเราจะพยายามหาผูเชี่ยวชาญที่เหมาะสมให หรือในสวนของนักวิจัยเองที่มีงานวิจัยที่คิดวาจะมีความสําคัญสําหรับอุตสาหกรรมตาง ๆ แตยังไมรูชองทางในการติดตอกับอุตสาหกรรมก็อยากใหนึกถึงเรา เรามีกรณีตัวอยางลักษณะแบบน้ี คือ งานวิจัยเรื่อง Microchannel Reactor ของ ผศ. ดร.อรรถศักดิ์ จารีย อาจารยจาก ภาควิชาวิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เรียนอาจารยอรรถศักดิ์ พูดถึงโครงการที่เกิดขึ้นสักนิดคะ

ผศ. ดร.อรรถศักดิ์ : ยินดีมากครับที่อาจารยชวยทําใหเกิดโอกาสครั้งนี้ ในอดีตผมจะทํางานวิจัยเทานั้นอาจขาดการมองในมุมที่กวางข้ึน พอเริ่มมาคุยกับทาง PETROMAT วาเรามีโครงการและนาจะเปนประโยชนก็เปนโอกาสในการเปดประตูไปสูภาคอุตฯ เพราะไมเคยสัมผัสการทํางานรวมกัน เคยมีภาพท่ีไมคอยดีเพราะคิดวา ภาคอุตฯ ตองลงทุนกับเทคโนโลยีไปมากก็จะเก็บเกี่ยวใหคุมกอนที่จะมีการเปลี่ยนแปลง แตจากการท่ีไดมาพูดคุยเห็นวาเขาคอนขางเปดใจกวาง มองภาพในอนาคตวาถึงจุดหนึ่งก็ตองมีการเปลี่ยนแปลง เขามีความยินดีที่จะทํางานวิจัยรวมกัน ไมรูสึกเครียด จากการเรงรัดเรื่องเวลาในการทํางาน อยากจะขอบคุณทาง PETROMAT ดวยครับ

Page 7: Issue10 full ccc

ผศ. ดร.ศิริธันว : อยากจะเปดโอกาสใหผูเขารวมเสวนาไดแสดงความคิดเห็นคะคุณไกรศรี ภัณฑกิจนิรันดร จาก บริษัท ไออารพีซี จํากัด (มหาชน) : ดีใจที่มีภาพการ Collaboration แบบนี้ R&D Partnership ถือเปนเรื่องสําคัญ เพราะถือเปนเปาหมายในการนําไปสู R&D Commercialization โมเดลที่ทําอยูใน ปตท. เองก็มีการจับใหคนหลายกลุมมาคุยกันเพื่อเขาใจทิศทางของโปรเจค ซึ่งถือวาเปน Key Success Factor เหมือนกับ CCC ตองเขาใจวาการประสบความสําเร็จของธุรกิจไมไดเปนเพราะ R&D ทั้งหมด แตจะมีสวนที่ตองการการพัฒนาเพ่ิมเติม 10-20 % เพื่อใหเกิดประโยชนในอนาคตตอธุรกิจ ซึ่งตรงนี้เองทางภาคเอกชนก็ตองหาใหเจอวาโจทยที่ตองการคอือะไร

ดร.บุตรา : ผมขอเสริมวาในบานเรายังขาด คนที่ทํางานในสวนของ Program/Project Manager เปนคนที่อยูตรงกลางแทนที่จะใชนักวิจัยหรือวิศวกรทําหนาที่นี้ เพื่อชวยในการเจรจาและรวบรวมเปาหมายตรงกลาง มองภาพระยะกลาง ระยะยาว เมื่อกอนจะใชผูอาวุโสในการชวยเจรจาและชวยมองวาภาคการศึกษาสามารถแทรกไดในสวนไหนบาง เปนกลุมบุคคลที่คาดวาจะมีมากข้ึนในอนาคต

ดร.วีระภัทร : อยากจะเสริมวาหนาที่ดังกลาวสําคัญมาก สําหรับ ปตท. มีคนทําหนาที่นี้ โดยเกิดข้ึนมาเองและทํางานคูขนานไปกับหนาที่หลัก เรามีกลุมที่เรียกวา Technology Strategy and Management ชวยดูแลจัดการโครงการพรอมทํางานวิจัยดวยนายสุทธิพงศ ธัญญะพิเศษศักด์ิ ปตท. : จากประสบการณที่ทํางานวิจัยรวมกับหลายมหาวิทยาลัย ในสิ่งที่ภาคอุตฯ คาดหวัง คือ งานวิจัยที่ไปถึงขั้น Commercial เริ่มตนก็มีการกําหนดเปาหมายและขอบเขตในการดําเนินงานรวมกันแตสุดทาย แลวจะไดผลอยางท่ีคิดหรือไมน้ันไมสามารถคาดการณไดแตการวางแผนเบ้ืองตนตองอยูบนพ้ืนฐานของวิชาการ ภาคอุตฯ

เองก็ไมไดคิดวาทุกงานวิจัยตองจบลงดวยการประสบความสําเร็จดังเปาท่ีตั้งไว แตจะพิจารณาวาคนท่ีทํางานวิจัยรวมกับเราเขามีความพยายามและมุงมั่นในการแกปญหาที่เกิดขึ้นหรือไม เพราะใน TOR ก็มีการกําหนดไววา หากมปีญหาเกิดขึ้นจากการดําเนินงานจะตองมีการแจงใหผูวาจางรับทราบเพ่ือแกปญหารวมกัน สวนเร่ืองของ IP ตองมีการมาคุยวาจะแบงผลประโยชนทางดานทรัพยสินทางปญญากันอยางไรต้ังแตเริ่มทํา TOR เรื่องจริยธรรมในการทํางาน ทางภาคอุตสาหกรรมก็อยากใหงานที่ศึกษาเปนความลับระหวางบริษัทและผูวิจัย และไมอยากใหไปทํางานที่คลายกันใหกับบริษัทอื่น ดร.บุตรา : จากการไดพูดคุยเร่ือง IP กับทาง Imperial College เขามีมมุมองวา IP ไมไดเปนของใครอยางแทจริง อยูทีจ่ะสามารถนําไปใชอยางที่ตองการมากกวาการเปน Ownership ซึ่งอยากใหนักวิจัยของมหาวิทยาลัยเขาใจในเร่ืองนี้ จริงอยูวาอาจจะมีผลกระทบตอ Performance ของนักวิจัยหรือมหาวิทยาลัย แตทางภาคอุตฯ เองก็ไดรับผลกระทบเชนเดียวกัน แตเราจะมี IP Committee ที่ประเมิน Performance แตละโปรเจค ไมวา IP จะเปนของใครก็ตาม อยาง Imperial College เองไมเคยให IP กับใครไมวาจะจางวิจัย แตก็สามารถประสบความสําเร็จได หรือในสวนของ MIT, Harvard และ Penn State มีโมเดลที่เรียกวา Bayh-Dole คือ ถาบริษัทลง 100% IP จะเปนของบริษทั หรือบางมหาวิทยาลัยใชวธิกีารแชรทัง้หมด สิ่งสําคัญคือการตกลงกันตั้งแตวันแรกวาจะไปกันในทิศทางใดปญหาท่ีพบคือ มหาวิทยาลัยไทยยังมีกําแพงในเร่ืองนี้ หากไมมีการทําลายกําแพงน้ีอาจทําใหยังตามหลังตางประเทศอยูหรือทําอยางไรไมใหเงินของ SCG หรือ ปตท. ไหลออกไปนอกประเทศมากกวานี้

รศ. ดร.ปราโมช (ผอ.ศูนยฯ) : มองวาหากมองเรื่อง IP มาตั้งแตตนมันจะเปนการปดโอกาสความรวมมือที่จะเกิดขึ้นลาสุดมีบทความจาก Penn State ออกมาวาการที่เราไปมุงมั่นกับ IP ตั้งแตแรกอาจทําใหทั้งภาครัฐและภาคเอกชนเสียโอกาส PETROMAT เอง เม่ือมีการประชุมอํานวยการก็เรียนกับอธิการบดีจากมหาวิทยาลัยตาง ๆ เขาใจแนวโนม IP ลาสุดจากการประชุมฯ หลายทานมองวา มหาวิทยาลัยอาจไมไดอยู ในสวนท่ีโอน IP มาแลวไดประโยชน เพราะไมมีเงินลงทุนทําตอจากการพูดคุยกับ ปตท. และ SCG วาใหเร่ิมจากการรวมมือกันกอนแลวหากมีการ Communication, Collaborationและ Coordination ที่ดีการดําเนินการข้ันตอไปก็จะงาย

ับกบ ดเปน

นาเพ่ิมจ ซึ่งตรง

รคืออะไร

บานเรายังขาด คนนที่ทํางานในสวนanager เปนคนท่ีอยูยูตรงกลางแทนท่ี

ทําหนาที่นี้ เพื่อชวยในนการเจรจาและกลาง มองภาพระยะกลลาง ระยะยาว

วุโสในการชวยเจรจาแลละชวยมองวาารถแทรกไดในสวนไหนบาง เปนกลุมบุคคล

ขึ้นในอนาคต

ยากจะเสริมวาหนาที่ดังกลาวสําคัคัญมาก สําหรับ หนาท่ีนี้ โดยเกิดข้ึนมาเองและทํางงานคูขนานไปามีกลุมที่เรียกวา Technology SStrategy and

ารโครงการพรอมทําางานวิจัยดวยท จากปประสบการณ

สิ่งที่ภาคอุตฯ ี

มไดคิดวาทุกงานวิจัยตองจบลงดวยการประสบความสําเร็จปาท่ีตั้งไว แตจะพิจารณาวาคนท่ีทํางานวิจัยรวมกับเราเขา

ความพยายามและมุงมั่นในการแกปญหาที่เกิดขึ้นหรือไม เพราะใน TOR ก็มีการกําหนดไววา หากมีปญหาเกิดขึ้นจากพราะใน TOR

จะตองมีการแจงใหผูวาจางรับทราบเพื่อแกการดําเนินงานจวนเร่ืองของ IP ตองมีการมาคุยวาจะแบงผลปญหารวมกัน สวนทรัพยสินทางปญญากันอยางไรต้ังแตเริ่มประโยชนทางดานยธรรมในการทํางาน ทางภาคอตสาหกรรมยธรรมในการทางาน ทางภาคอุตสาหกรรมทํา TOR เรื่องจริยทา TOR เรองจรยศึกษาเปนความลับระหวางบริษัทและก็อยากใหงานท่ีศึหไปทํางานที่คลายกันใหกับบริษัทอ่ืน ผูวิจัย และไมอยากให

ดร.บุตรา : ดพูดคุยเร่ือง IP กับทาง Imperial College จากการไดพดเปนของใครอยางแทจริง อยูทีจ่ะสามารถเขามีมมุมองวา IP ไมไดรมากกวาการเปน Ownership ซ่ึงอยากนําไปใชอยางท่ีตองการมาลัยเขาใจในเร่ืองนี้ จริงอยูวาอาจจะมีใหนักวิจัยของมหาวิทยาmance ของนักวิจัยหรือมหาวิทยาลัย ผลกระทบตอ Performรับผลกระทบเชนเดียวกัน แตเราจะมี แตทางภาคอุตฯ เองก็ไดรัมิน Performance แตละโปรเจค ไมIP Committee ที่ประเมินม อยาง Imperial College เองไมวา IP จะเปนของใครก็ตามจางวิจัย แตก็สามารถประสบความเคยให IP กับใครไมวาจะจMIT, Harvard และ Penn State สําเร็จได หรือในสวนของ MDole คือ ถาบริษัทลง 100% มีโมเดลที่เรียกวา Bayh-Dมหาวิทยาลัยใชวธิกีารแชรทัง้หมด IP จะเปนของบริษทั หรอืบางมตวันแรกวาจะไปกันในทิศทางใดสิ่งสําคัญคือการตกลงกันตั้งแตทยยังมีกําแพงในเร่ืองนี้ หากไมมีปญหาท่ีพบคือ มหาวิทยาลัยไทยหยังตามหลังตางประเทศอยูการทําลายกําแพงน้ีอาจทําใหG หรือ ปตท. ไหลออกไปนอกหรือทําอยางไรไมใหเงินของ SCG

ประเทศมากกวาน้ี :รศ. ดร.ปราโมช (ผอ.ศูนยฯ) มองวาหากมองเร่ือง IP

าสความรวมมือท่ีจะเกิดขึ้นมาต้ังแตตนมันจะเปนการปดโอกาออกมาวาการท่ีเราไปมุงมั่นลาสุดมีบทความจาก Penn State อภาครัฐและภาคเอกชนกับ IP ตั้งแตแรกอาจทําใหท้ังภระชุมอํานวยการก็โอกาส PETROMAT เอง เม่ือมีการประขาใจแนวโนอธิการบดีจากมหาวิทยาลัยตาง ๆ เข

า มหาวิทยจากการประชุมฯ หลายทานมองวา โยชน เพราะในสวนท่ีโอน IP มาแลวไดประโยชน

. และ SCG วจากการพูดคุยกับ ปตท. และารกันกอนแลวหากมีการ Commun

nationCoordinat ที่ดีการดํา

Page 8: Issue10 full ccc

ดร.บุตรา : ผมวามหาวิทยาลัยในตางประเทศคอนขางชัดเจนมากวาเขามีหรือไมมีอะไร อยางทาง Imperial College เอง เขามีการตั้งงบประมาณ 2 ลานปอนด ในการบริหารจัดการ IP โดย IP ท่ีจดแลวในระยะเวลา 3 ป หากไมสามารถหา Partnersมาทําตอไดเขาก็จะปลอยเปน Charity ซึ่งเงินที่จะใชตอ 1 IP จะกําหนดชัดเจนและไมมีการเพ่ิมเติมมากกวาน้ันเขามีทางเลือกในการเชาซื้อองคความรูหรือ IP ที่มหาวิทยาลัยมีใหกับภาคเอกชนท่ีสนใจ แลวคอยมาดูกันวา IP ท่ีเกิดหลังจากน้ันจะเปนของใคร งานเสวนาคร้ังนี้เปนโอกาสสําคัญในการแลกเปล่ียนมุมมองการทํางานรวมกันเปนอยางดีและเปนประโยชนในการทํางานรวมกันในอนาคตอยางยั่งยืนของประเทศตอไป

ดร.บุตรเขามีการตั้งงบปรมาทําตอไดเขาก็จะปลอยเปน

ในการเชาซื้อองคความรูหรือ IP ที่มหาวิของใคร

งานเสวนาคร้ังนี้เปนโอกาสสําคัญในการแลกเปล่ียนการทํางานรวมกันในอนาคตอยางย่ังยืนของประเทศตอไป

ประมวลผลภาพกิจกรรม