4
ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงที่แสดงถึงลักษณะสถานะหรือ เหตุการณ์ต่าง ๆ โดยอยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมในการใช้สื่อสาร แปลความหมายและ ประมวลผล ซึ่งอาจทาด้วยคนหรือคอมพิวเตอร์ ตัวอย่าลักษณะของข้อมูล เช่น ตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ อีเมล สี สัญลักษณ์ รูปทรง อุณหภูมิ ตัวโน้ต และเสียง การดาเนินชีวิตประจาวันของทุกคนเกี่ยวข้องกับข้อมูลคลอดเวลา อาจเป็นผู้ให้ ข้อมูล ผู้ใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ และเป็นผู้ประมวลผล ข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศ ตัวอย่างเช่น เมื่อนักเรียนกรอกรายละเอียดส่วนตัวลงในเอกสารเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมพิเศษ และทางโรงเรียนได้ นาข้อมูลเหล่านั้นไปพิจารณาคัดเลือกผู้สมัคร โดยอาจมีการแบ่งกลุ่มตามเพศและอายุ จะเห็นได้ ว่านักเรียนเป็นผู้ให้ข้อมูล หน่วยทะเบียนเป็นผู้ประมวลผลเพื่อให้ได้สารสนเทศที่นาไปใช้งานได้ และคณะกรรมการพิจารณาเป็นผู้ใช้สารสนเทศเพื่อตัดสินใจ อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล ที่มา http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit02.1

ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศและการประมวลผลข้อมูล

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศและการประมวลผลข้อมูล

ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงที่แสดงถึงลักษณะสถานะหรือ

เหตุการณ์ต่าง ๆ โดยอยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมในการใช้สื่อสาร แปลความหมายและ

ประมวลผล ซึ่งอาจท าด้วยคนหรือคอมพิวเตอร์ ตัวอย่าลักษณะของข้อมูล เช่น

ตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ อีเมล สี สัญลักษณ์ รูปทรง อุณหภูมิ ตัวโน้ต และเสียง

การด าเนินชีวิตประจ าวันของทุกคนเกี่ยวข้องกับข้อมูลคลอดเวลา อาจเป็นผู้ให้

ข้อมูล ผู้ใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ และเป็นผู้ประมวลผล ข้อมูลเพ่ือให้ได้สารสนเทศ ตัวอย่างเช่น

เมื่อนักเรียนกรอกรายละเอียดส่วนตัวลงในเอกสารเพ่ือเข้าร่วมกิจกรรมพิเศษ และทางโรงเรียนได้

น าข้อมูลเหล่านั้นไปพิจารณาคัดเลือกผู้สมัคร โดยอาจมีการแบ่งกลุ่มตามเพศและอายุ จะเห็นได้

ว่านักเรียนเป็นผู้ให้ข้อมูล หน่วยทะเบียนเป็นผู้ประมวลผลเพ่ือให้ได้สารสนเทศที่น าไปใช้งานได้

และคณะกรรมการพิจารณาเป็นผู้ใช้สารสนเทศเพ่ือตัดสินใจ

อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล ที่มา http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit02.1

Page 2: ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศและการประมวลผลข้อมูล

สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล

ข้อมูล ได้เป็นสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ทันต่อสถานการณ์ที่

สนใจ มีความน่าเชื่อถือ มีความหมาย มีคุณค่า และเป็นประโยชน์ส าหรับผู้ใช้

เช่น เมื่อต้องการน าสารสนเทศไปใช้ในการวางแผนการขาย สารสนเทศที่ต้องการ

ควรจะเป็นรายงานสรุปยอดการขายแต่ละเดือนในปีที่ผ่านมาที่เพียงพอแก่การตัดสินใจ

ตัวอย่างสารสนเทศที่เกิดจากการประมวลผล

Page 3: ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศและการประมวลผลข้อมูล

การประมวลผลสารสนเทศ

หมายถึง การด าเนินการต่าง ๆ กับข้อมูล

เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่มีความหมาย และมีประโยชน์

ต่อการน าไปใช้งานมากยิ่งข้ึน เช่น การรวบรวมข้อมูล

การค านวณ การค้นคืน การแสดงผล การส าเนาข้อมูล

ชนิดของข้อมูลแบ่งตามแหล่งที่มาของข้อมูล ข้อมูลที่แบ่งตามแหล่งที่มา มี 2 ชนิด คือ

1) ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่ เก็บรวบรวมมาจากแหล่งข้อมูลชั้นต้นที่ ได้มาจาก

แหล่งข้อมูลโดยตรง เช่น ข้อมูลนักเรียนที่ได้มาจากการตอบแบบสอบถาม การส ารวจ การสัมภาษณ์

การวัด การสังเกต การทดลอง ข้อมูลสินค้าที่ได้จากการใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ด ข้อมูลบัตรเอทีเอ็มที่ได้

จากเครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก ข้อมูลที่ได้จะมีความถูกต้อง ทันสมัย และเป็นปัจจุบันมากกว่าข้อมูล

ทุติยภูมิ

2) ข้อมูลทุตยภูมิ (secondary data) ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลที่ได้จากแหล่งที่รวบรวมข้อมูลไว้แล้ว โดยมีผู้ใดผู้หนึ่ง หรือ

หน่วยงานได้ท าการเก็บรวบรวมหรือเรียบเรียงไว้ ซ่ึงข้อมูลเหล่านั้นสามารถน ามาใช้อ้างอิงได้เลย เช่น

ข้อมูลส ามะโนประชากร สามารถอ้างอิงได้จากส านักงานสถิติแห่งชาติ ข้อมูลปริมาณน้ าฝนจากกรม

ผลประทาน ข้อมูลสถิติต่าง ๆ ท่ีมีการบันทึกไว้แล้ว ข้อมูลจากรายงานการวิจัย และบันทึกการนิเทศ

การที่จะตัดสินใจว่าข้อมูลไหนเป็นข้อมูลปฐมภูมิหรือข้อมูลทุติยภูมินั้น มีหลักสังเกต

คือ ถ้าเป็นข้อมูลปฐมภูมิจะต้องเป็นข้อมูลที่ผู้เขียนหรือผู้ประเมินผลได้พบเหตุการณ์ต่าง ๆ ลงมือ

Page 4: ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศและการประมวลผลข้อมูล

ส ารวจศึกษาค้นคว้าหรือเป็นการแสดงความคิดเห็นเริ่มแรกด้วยตนเอง มิได้คัดลอกมาจากผู้อื่น แต่

ถ้าเป็นข้อมูลที่ได้คัดลอกมาจากบุคคลอื่น แล้วน ามาเรียบเรียงใหม่ ถือว่าเป็นข้อมูลทุติยภูมิ

ชนิดของข้อมูลแบ่งตามรูปแบบการแทนข้อมูล

ข้อมูลมีรูปแบบที่แตกต่างกัน ตามลักษณะและแหล่งก าเนิดของข้อมูล เพ่ือให้สามารถ

ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการประมวลผลข้อมูลจ าเป็นต้องมีการแทนข้อมูลเหล่านั้นให้อยู่ใน

รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง

ข้อมูลแบ่งตามรูปแบบการแทนข้อมูลได้เป็น 2 ชนิด คือ

1) ข้อมูลชนิดจ านวน (numberic data) หมายถึง ข้อมูลที่สามารถน าไปค านวณได้ ข้อมูลชนิดนี้มี 2 รูปแบบ คือ

จ านวนเต็ม หมายถึง ตัวเลขที่ไม่มีจุดทศนิยม เช่น 12, 9, 137, -46

ทศนิยม หมายถึง ตัวเลขที่มีจุดทศนิยม ซ่ึงอาจมีค่าเป็นจ านวนเต็ม เช่น

12.0 หรือเป็นจ านวนที่มีทศนิยมก็ได้ เช่น 12.763

ทศนิยมนี้สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ

แบบท่ีใช้กันทั่วไป เช่น 9.0, 17.63, 119.3267, -17.34

แบบท่ีใช้ในงานทางวิทยาศาสตร์ เช่น 4101230 ซ่ึงหมายถึง 1230000.0

31013.76 ซ่ึงหมายถึง .01376

2101764.0- ซ่ึงหมายถึง -176400.0

-2101764.0- ซ่ึงหมายถึง -17.64

ตัวอย่างข้อมูลชนิดจ านวน เช่น อายุของนักเรียน น้ าหนัก ส่วนสูง และคะแนนเฉลี่ย

2) ข้อมูลชนิดอักขระ (character data) หมายถึง ข้อมูลที่ไม่สามารถน าไปค านวณได้แต่อาจน าไปเรียงล าดับได้ ข้อมูลอาจเป็นตัวหนังสือ ตัวเลข หรือ

เครื่องหมายใด ๆ เช่น COMPUTER, ON-LINE, 17110, &76

ตัวอย่างข้อมูลชนิดอักขระ เช่น ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์

ลักษณะของข้อมูลที่ดี ต้องมีคุณลักษณะดังต่อไปนี้ 1. มีความถูกต้องและแม่นย า

2. มีความเป็นปัจจุบันและทันสมัยอยู่เสมอ

3. มีความกระชับ ชัดเจน และสมบูรณ์ครบถ้วน

4. สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้

5. ปราศจากความล าเอียงหรืออคติ