16
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ภาพ พิพิษณ์ สิทธิศักดิวิทยาลัยเพาะช่าง มทร.รัตนโกสินทร์ [email protected] ปัจจุบัน กล้องดิจิตอลคอมแพ็คราคาไม่แพง บุคคลทั่วไปสามารถซื้อเป็นเจ้าของได้ ประกอบกับมือถือ ทั่ว ๆ ก็มีกล้องติดมาด้วย ความละเอียดก็อยู่ในระดับที่น่าพอใจกว่าสมัยก่อนมาก ทาให้การถ่ายภาพเป็นเรื่องทีเกิดขึ้นได้ทุกขณะ เมื่อมีรูปภาพที่ถ่ายไว้เป็นจานวนมาก ๆ การที่จะส่งให้เพื่อนก็เป็นสิ่งที่ต้องเกิดขึ้นตาม ทาอย่างไร จึงจะสะดวก ฟรี และง่ายสาหรับทุก ๆ คน Google + ก็เป็นเว็บไซต์สาหรับฝากไฟล์และแชร์รูปภาพที่ใช้งานง่าย โดยมี 3 ขั้นตอน คือ การสร้าง กลุ่มเพื่อนในแวดวง การเพิ่มเพื่อนเข้ากลุ่มในแวดวง และการดึงเพื่อนเข้ากลุ่มแวดวงที่สร้างขึ้น การสร้างกลุ่มเพื่อนในแวดวง 1. เข้าสู่เว็บไซต์ Google ด้วยการพิมพ์ http://www.google.co.th/ ในช่อง URL แล้วคลิก เมาส์ที่ปุ่ม “ลงชื่อเข้าสู่ระบบ”

การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ

Embed Size (px)

DESCRIPTION

สำหรับวิชาการถ่ายภาพเพื่ืองานออกแบบนิเทศศิลป์

Citation preview

Page 1: การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ

การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ภาพ

พิพิษณ์ สิทธิศักดิ ์วิทยาลัยเพาะช่าง มทร.รัตนโกสนิทร์

[email protected] ปัจจุบัน กล้องดิจิตอลคอมแพ็คราคาไม่แพง บุคคลทั่วไปสามารถซื้อเป็นเจ้าของได้ ประกอบกับมือถือ

ทั่ว ๆ ก็มีกล้องติดมาด้วย ความละเอียดก็อยู่ในระดับที่น่าพอใจกว่าสมัยก่อนมาก ท าให้การถ่ายภาพเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ทุกขณะ เมื่อมีรูปภาพท่ีถ่ายไว้เป็นจ านวนมาก ๆ การที่จะส่งให้เพื่อนก็เป็นสิ่งท่ีต้องเกิดขึ้นตาม ท าอย่างไรจึงจะสะดวก ฟรี และง่ายส าหรับทุก ๆ คน

Google + ก็เป็นเว็บไซต์ส าหรับฝากไฟล์และแชร์รูปภาพที่ใช้งานง่าย โดยมี 3 ขั้นตอน คือ การสร้างกลุ่มเพื่อนในแวดวง การเพิ่มเพื่อนเข้ากลุ่มในแวดวง และการดึงเพื่อนเข้ากลุ่มแวดวงที่สร้างขึ้น

การสร้างกลุ่มเพื่อนในแวดวง 1. เข้าสู่เว็บไซต์ Google ด้วยการพิมพ์ http://www.google.co.th/ ในช่อง URL แล้วคลิก

เมาส์ที่ปุ่ม “ลงชื่อเข้าสู่ระบบ”

Page 2: การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ

การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ภาพ | 2 ห น ้ า

2. พิมพ์อีเมล์ และรหัสผ่าน แล้วคลิกเมาส์ที่ “ลงชื่อเข้าใช้งาน”

จะปรากฏชื่อผู้ใช้ ปรากฏขึ้น

Page 3: การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ

การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ภาพ | 3 ห น ้ า

3. คลิกเมาส์ที่เมนู Google + ที่แสดงเป็นชื่อผู้ใช้ เช่น +Pipit

4. จะเข้าสู่หน้าต่าง Google + ให้เลื่อนเมาส์ไปที่ปุ่ม “หน้าแรก”

Page 4: การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ

การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ภาพ | 4 ห น ้ า

5. จะปรากฏเมนูอ่ืน ๆ เกิดขึ้น ให้คลิกเมาส์ที่เมนู “บุคคล”

6. ให้คลิกเมาส์ที่ “แวดวงของคุณ”

Page 5: การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ

การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ภาพ | 5 ห น ้ า

7. คลิกเมาส์ที่เครื่องหมายบวก “+” เพ่ือสร้างแวดวงใหม่

จะปรากฏหน้าต่างใหม่ พร้อมช่องใส่ชื่อแวดวงใหม่

Page 6: การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ

การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ภาพ | 6 ห น ้ า

8. พิมพ์ชื่อแวดวงใหม่

9. คลิกเมาส์เพ่ือพิมพ์รายละเอียดเกี่ยวกับกลุ่มที่สร้างขึ้นใหม่

Page 7: การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ

การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ภาพ | 7 ห น ้ า

10. พิมพ์รายละเอียดเกี่ยวกับกลุ่มที่สร้างขึ้นใหม่

11. คลิกเมาส์ที่ปุ่ม “สร้างแวดวงว่างเปล่า”

Page 8: การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ

การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ภาพ | 8 ห น ้ า

จะปรากฏแวดวงใหม่เกิดข้ึน

หลังจากนี้ก็เป็นขั้นตอนการดึงสมาชิกเข้ากลุ่มนี้ ซึ่งจะได้กล่าวต่อไป

การเพิ่มเพื่อนเข้ากลุ่มในแวดวง

1. เข้าสู่หน้าเว็บไซต์ http://www.google.co.th/ แล้วคลิกเมาส์ที่ปุ่ม “ลงชื่อเข้าสู่ระบบ”

Page 9: การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ

การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ภาพ | 9 ห น ้ า

2. ป้อนอีเมล์ และรหัสผ่าน แล้วคลิกเมาส์ “ลงชื่อเข้าใช้งาน”

3. จะปรากฏหน้าต่างการท างานของเรา โดยมีชื่อและรูปภาพ ปรากฏที่มุมขวาบนของจอภาพ

ให้คลิกเมาส์ที่ +ชื่อผู้ใช้งาน เช่น +Pipit เพ่ือเข้าสู่ Google +

Page 10: การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ

การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ภาพ | 10 ห น ้ า

4. จะเข้าสู่หน้าแรกของหน้าต่าง Google+ ของเราเอง เลื่อนเมาส์ไปที่เมนู “หน้าแรก” แล้วคลิกเมาส์ที่เมนู “บุคคล”

5. จะปรากฏบุคคลที่เป็นสมาชิก Google จ านวนมาก ให้เลื่อน Scroll bar เพ่ือค้นหาคนที่ต้องการเพ่ิมเป็นเพื่อน เมื่อบุคคลที่ต้องการแล้ว ให้คลิกปุ่ม “เพ่ิม” ของบุคคลนั้น

เพียงเท่านี้ ก็จะได้เพ่ือนใหม่ที่สามารถแชร์รูปภาพ และติดต่อสื่อสารกันได้

Page 11: การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ

การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ภาพ | 11 ห น ้ า

การดึงเพื่อนเข้ากลุ่มแวดวงที่สร้างขึ้น การเพ่ิมเพ่ือนเข้ามาจ านวนมาก ๆ เราควรจัดระเบียบ โดยแบ่งเป็นกลุ่ม ๆ และดึงเพ่ือน ๆ

เข้ากลุ่ม 1. คลิกเมาส์ที่หน้าต่าง “แวดวงของคุณ”

จะปรากฏบุคคลที่เป็นเพ่ือนกับเราแล้ว และในหน้าต่างนี้ ยังจะมีกลุ่มแวดวงต่าง ๆ ได้แก่

กลุ่มเพ่ือน ครอบครัว คนรู้จัก ก าลังติดตาม และกลุ่มแวดวงที่เราสร้างข้ึนใหม่ เช่น กลุ่ม Photo55 และกลุ่ม PhotoVIS56

Page 12: การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ

การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ภาพ | 12 ห น ้ า

เมื่อเราคลิกท่ีแวดวง จะปรากฏข้อมูลของแวดวงนั้น

2. เมื่อเราต้องการเพ่ิมเพ่ือนใหม่ เข้ากลุ่มในแวดวง ให้คลิกหน้าต่าง “เพ่ิมคุณ” เพ่ือดูว่ามีใครเพ่ิมคุณเป็นเพ่ือนแล้วบ้าง

Page 13: การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ

การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ภาพ | 13 ห น ้ า

Page 14: การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ

การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ภาพ | 14 ห น ้ า

3. ในหน้าต่าง “เพ่ิมคุณ” จะปรากฏบุคคลที่เพ่ิมเราเป็นเพื่อน ให้ใช้เมาส์เลื่อน Scroll bar เพ่ือ

หาเพื่อนที่เราต้องการดึงเข้ากลุ่ม ในที่นี้จะเป็นการดึงเพ่ือนเข้ากลุ่ม PhotoVIS56

4. ใช้เมาส์ลากเพ่ือนไปยังกลุ่ม PhotoVIS56 ได้เลย

Page 15: การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ

การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ภาพ | 15 ห น ้ า

5. จะปรากฏเพ่ือนใหม่เพ่ิมในแวดวง PhtoVIS56

6. กรณีท่ีต้องการดึงเพ่ือนเข้ากลุ่ม คราวละหลายๆ คน กรณีท่ีให้ลากเมาส์คลุม หรือถ้าอยู่กระจัด

กระจายให้คลิกเลือกคนแรก แล้วกดคีย์ Ctrl + คลิกคนถัดไปจนครบ

Page 16: การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ

การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ภาพ | 16 ห น ้ า

7. ใช้เมาส์ลากกลุ่มเพ่ือนไปวางทับกลุ่มแวดวง PhotoVIS56 ที่อยู่ด้านล่าง

จะปรากฏเพ่ือนใหม่ อยู่ในแวดวง PhotoVIS56