4
จัดทําโดย...หนวยพัฒนาคุณภาพ งานนโยบายและแผน โทร. 0-2441-5000 ตอ 2119 Intraphone i+14+2119 E-mail : [email protected] ขาวพัฒนาคุณภาพฉบับนี้ ขอนําเสนอเคล็ดลับหยุดโลกรอนดวยชีวิต พอเพียง ที่ทุกคนสามารถทําไดงายๆ ตอจากฉบับที่แลวคะ 1. ลดการสูญเสียพลังงานในโหมดสแตนดบาย เครื่องเสียงระบบ ไฮ-ไฟ โทรทัศน เครื่องบันทึกวิดีโอ คอมพิวเตอรตั้งโตะ และอุปกรณ ตอพวงตางๆ ที่ติดมาดวย จะยังคงมีการใชไฟฟาแมยังอยูในโหมด สแตนดบาย ดังนั้นควรประหยัดไฟฟาและคาไฟดวยการดึงปลั๊กออก หรือ ใชปลั๊กเสียบพวงที่ตัดไฟดวยตนเอง 2. เปดหนาตางรับลมแทนเปดเครื่องปรับอากาศ ลดการปลอย คารบอนไดออกไซดจากการใชไฟฟาเพื่อเปดเครื่องปรับอากาศ ดวยการ เปดหนาตางรับลมบาง โดยเฉพาะในหนาหนาวหรือหนาฝนที่อากาศ ภายนอกเย็นกวาฤดูอื่นๆ 3. ใชน้ําประปาอยางประหยัด เพราะระบบการผลิตน้ําประปาของ เทศบาลตางๆ ตองใชพลังงานจํานวนมากในการทําใหน้ําสะอาด และ ดําเนินการจัดสงไปยังอาคารบานเรือน 4. สรางนโยบาย 3Rs – Reduce, Reuse, Recycle ทั้งในบานและ อาคารสํานักงาน เพื่อใหเกิดการใชทรัพยากรอยางเต็มที่ และเปนการลด พลังงานในการกําจัดขยะ ลดมลพิษและลดปริมาณการปลอยกาซ เรือนกระจกในกระบวนการกําจัด 5. ชักชวนคนอื่นๆ รอบขางใหชวยกันดูแลสิ่งแวดลอมและลดปญหา ภาวะโลกรอน เพื่อขายเครือขายผูรวมหยุดโลกรอนใหกวางขึ้น ที่มา: http://issuu.com/synnextra/docs/synnextra_vol41 http://issuu.com/synnextra/docs/synnextra_vol42 http://issuu.com/synnextra/docs/synnextra_vol43 http://www.en.mahidol.ac.th/thai/qd/index.html สถาบันชั้นนําแหงเอเชียเพื่อการสรางสรรค ความยั่งยืนของธรรมชาติและสังคมปที6 ฉบับที45 มีนาคม เมษายน 2553 8

เป ดหน าต างรับลมบ าง โดยเฉพาะใน ... · 2017. 6. 22. · จัดทําโดย...หน วยพัฒนาคุณภาพ

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เป ดหน าต างรับลมบ าง โดยเฉพาะใน ... · 2017. 6. 22. · จัดทําโดย...หน วยพัฒนาคุณภาพ

จัดทําโดย...หนวยพัฒนาคุณภาพ งานนโยบายและแผน

โทร. 0-2441-5000 ตอ 2119 Intraphone i+14+2119

E-mail : [email protected]

ขาวพัฒนาคุณภาพฉบับนี้ ขอนําเสนอเคล็ดลับหยุดโลกรอนดวยชีวิตพอเพียง ที่ทุกคนสามารถทําไดงายๆ ตอจากฉบับที่แลวคะ

1. ลดการสูญเสียพลังงานในโหมดสแตนดบาย เครื่องเสียงระบบ ไฮ-ไฟ โทรทัศน เครื่องบันทึกวิดีโอ คอมพิวเตอรตั้งโตะ และอุปกรณ ตอพวงตางๆ ที่ติดมาดวย จะยังคงมีการใชไฟฟาแมยังอยูในโหมด สแตนดบาย ดังนั้นควรประหยัดไฟฟาและคาไฟดวยการดึงปลั๊กออก หรือใชปลั๊กเสียบพวงที่ตัดไฟดวยตนเอง

2. เปดหนาตางรับลมแทนเปดเครื่องปรับอากาศ ลดการปลอยคารบอนไดออกไซดจากการใชไฟฟาเพื่อเปดเครื่องปรับอากาศ ดวยการเปดหนาตางรับลมบาง โดยเฉพาะในหนาหนาวหรือหนาฝนที่อากาศภายนอกเย็นกวาฤดูอ่ืนๆ

3. ใชน้ําประปาอยางประหยัด เพราะระบบการผลิตน้ําประปาของเทศบาลตางๆ ตองใชพลังงานจํานวนมากในการทําใหน้ําสะอาด และดําเนินการจัดสงไปยังอาคารบานเรือน

4. สรางนโยบาย 3Rs – Reduce, Reuse, Recycle ทั้งในบานและอาคารสํานักงาน เพื่อใหเกิดการใชทรัพยากรอยางเต็มที่ และเปนการลดพลังงานในการกําจัดขยะ ลดมลพิษและลดปริมาณการปลอยกาซ เรือนกระจกในกระบวนการกําจัด

5. ชักชวนคนอื่นๆ รอบขางใหชวยกันดูแลสิ่งแวดลอมและลดปญหาภาวะโลกรอน เพื่อขายเครือขายผูรวมหยุดโลกรอนใหกวางขึ้น

ที่มา: http://issuu.com/synnextra/docs/synnextra_vol41http://issuu.com/synnextra/docs/synnextra_vol42http://issuu.com/synnextra/docs/synnextra_vol43 http://www.en.mahidol.ac.th/thai/qd/index.html

“สถาบันช้ันนําแหงเอเชียเพื่อการสรางสรรคความยั่งยืนของธรรมชาติและสังคม”

ปที่ 6 ฉบับที่ 45

มีนาคม – เมษายน 2553

8

Page 2: เป ดหน าต างรับลมบ าง โดยเฉพาะใน ... · 2017. 6. 22. · จัดทําโดย...หน วยพัฒนาคุณภาพ

2 7

ขาวพัฒนาคุณภาพฉบับนี้ เปนฉบับปรับเปลี่ยนรูปแบบใหมคะ ฉบับนี้มีการเพิ่ม เติมเนื้ อหาสาระ จากเดิม 4 หนา เปน 8 หนา แตรับประกันเนื้อหายังอัดแนนดวยคุณภาพเชนเคยคะ และหากมีคําแนะนํา ติชม สามารถแจงมายังหนวยพัฒนาคุณภาพ งานนโยบายและแผนไดตลอดเวลาคะ

ขาวความเคลื่อนไหวในคณะฉบับนี้ ขอนําเสนอเรื่องการจัดการความรู (Knowledge Management: KM) ซึ่งคณะไดมีคําสั่งแตงตั้งคณะทํางานบริหารจัดการความรู เพื่อดําเนินงานดานการจัดการความรูของคณะใหสําเร็จลุลวงคะ นําทีมโดย ผศ.อัจฉราพร ขําโสภา รองคณบดีฝายนโยบายและแผน เปนประธานคณะทํางาน และไดรับความกรุณาจาก ผศ.สิทธิพงษ ดิลกวณิช คณบดี ผศ.จิรพล สินธุนาวา และอาจารยสัญชัย สูติพันธวิหาร เปนที่ปรึกษาคณะทํางาน โดยคณะทํางานไดจัดประชุมเพื่อปรึกษาหารือแนวทางการจัดการความรูของคณะไปเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2553 ไดขอสรุปวาควรจะมีการจัดอบรมเพื่อฟนฟูความรูเรื่องการจัดการความรู (KM) การถายทอดประสบการณจากหนวยงานที่ประสบความสําเร็จ และการจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการ (workshop) ใหแกบุคลากรของคณะอีกครั้ง หากมีความคืบหนาเรื่องวัน เวลา และสถานที่ ทางหนวยพัฒนาคุณภาพจะแจงใหทุกทานทราบ อีกครั้งคะ และเพื่อเปนการเตรียมความพรอมกอนการดําเนินกิจกรรมดังกลาว ขอนําเสนอขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับการจัดการความรู ไวในคอลัมนนานาสาระพัฒนาคุณภาพคะ

เคล็ดลับการเปลี่ยน 5 วันทํางานของคุณใหเปนสวรรคทุกครั้งที่เริ่มตนสัปดาหแหงการทํางาน คุณอาจรูสึกเบื่อเมื่อนึกถึงงานที่

ตองทําอีก 5 วัน ตลอดจนปญหาที่จะเขามาแทรกทําใหคุณตองจัดการอยางเรงดวน ดังนั้นสาระนารูฉบับนี้ขอนําเสนอเคล็ดลับงายๆ ที่ชวยทําใหคุณทํางานอยางมีความสุขคะ

วันจันทรปรับนิสัยการทํางาน เมื่อไปถึงที่ทํางานใหจัดลําดับความสําคัญของงานที่ตองทํา แตควรจดในสิ่งที่สามารถทําไดภายใน 1 วัน มิฉะนั้นอาจเหลืองานที่ยังทําไมทันบนกระดาษ กอใหเกิดความรูสึกเครียด กังวลมากขึ้นไปอีก หลังจากนั้นก็คอยๆ จัดการงานไปทีละสวน

วันอังคาร สรางบรรยากาศการทํางานที่รื่นรมย เชน ทําความสะอาดโตะทํางาน จัดของใหเปนระเบียบ หาของตกแตงเพิ่มสีสันบนโตะทํางาน จะชวยทําใหรูสึกผอนคลายมากขึ้น

วันพุธ ลดความกังวล ความกังวลแบบพอดี ทําใหเราไมประมาท รูจกัเตรียมการลวงหนา ซึ่งเปนผลดีตอการทํางาน อยางไรก็ตามหากมีมากไป จะเปนอุปสรรคในการทํางาน ทําใหประหมา ไมกลาตัดสินใจ และอาจทําใหงานลาชา

วันพฤหัสบดี หันมาฟงเสียงตัวเอง ขจัดความเครียด การคิดในแง

บวกจะชวยในการตัดสินใจ เพิ่มความมั่นใจ ควรคิดแบบแงบวกมากขึ้น เชน เปลี่ยนจากคําถามวา "ฉันทําผิดพลาดตรงไหน" มาเปน "จะแกไขอยางไรดี" จะเหมาะสมกวา

วันศุกร วิธีขจัดความเครียดอยางงายและรวดเร็ว โดยการกาํหนด

ลมหายใจ ใหหายใจเขา - ออก ลึกๆ หลายๆ ครั้ง โดยไมเปดปาก หรือออกกําลังกาย ยืดเสน ยืดสาย เพียงแควันละ 10 นาที ก็จะชวยทําใหรูสึกดีขึ้นที่มา:http://www.perdsorbtoday.com/education_detail.php?topic=2021&keyword

=เปลี่ยน%205%20วันทํางานใหเปนสวรรค

Page 3: เป ดหน าต างรับลมบ าง โดยเฉพาะใน ... · 2017. 6. 22. · จัดทําโดย...หน วยพัฒนาคุณภาพ

6 3

หางหายกันไปนานกับการดําเนินงานดานการจัดการความรูของคณะ นานาสาระพัฒนาคุณภาพฉบับนี้ จึงขอนําเสนอความรูดานการจัดการความรู (KM) เพื่อเปนแนวทางใหทุกทานนําไปสูการปฏิบัติงานคะ

กอนอื่นมารูจักนิยามที่เกี่ยวของกับเรื่องการจัดการความรูกันกอนนะคะ

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ไดใหนิยาม “ความรู” คือ สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเลาเรียน การคนควา หรือประสบการณ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ ความเขาใจ หรือสารสนเทศที่ไดรับมาจากประสบการณ สิ่งที่ไดรับมาจากการไดยิน ไดฟง การคิด หรือการปฏิบัติ องควิชาในแตละสาขา

ความรูจําแนกออกเปน 2 ประเภท ไดแก

1. ความรูที่ฝงอยูในคน (Tacit Knowledge) คือ ภูมิความรูที่อยูในตัวบุคคล เกิดจากประสบการณ การเรียนรู หรือพรสวรรคตางๆ อธิบายออกมาไดยาก แตสามารถพัฒนาและแบงปนได

2. ความรูที่ชัดแจง (Explicit Knowledge) คือ ความรูภายนอกตัวบุคคลที่เปนทางการและเปนระบบ ซึ่งถูกบันทึกและถายทอดออกมาในรูปแบบของสื่อประเภทตางๆ เชน หนังสือ คูมือ เอกสาร และวีดีทัศน

ความรูที่เรารูดี คือ ความรูที่ชัดแจง หรือที่เรียกวา Explicit Knowledge

สวนความรูที่เราอาจไมรูวาเรารู คือ ความรูที่ฝงอยูในตัวคน หรือที่เรียกวา Tacit Knowledge

หลายคนคงเคยตั้งคําถามกับตัวเองวาเราจะทําการสรุปแบบสอบถามที่เก็บขอมูลมาอยางไรดี ขาวพัฒนาคุณภาพฉบับนี้ มีคําสั่งงายๆ ใน Excel มาชวย ในการนับจํานวนตัวเลข (หรือขอความ) ที่เราคียขอมูลลงไป ดังนี้

จากรูป เราตองการนับจํานวนตัวเลข “5” ในคอลัมน A

ใหพิมพคําสั่งตอไปนี้ ลงในเซลลที่วาง = countif (range,criteria)โดย range ใหใสชวงของขอมูลที่ตองการหา (ในที่นี้คือ ตั้งแต A1 ถึง A10) และ criteria ใหใสตัวเลขหรือขอความที่ตองการนับ (ในที่นี้คือ 5)

สรุปจะเขียนคําสั่งไดเปน = countif (A1:10,5) ซึ่งจะไดคําตอบคือ 3หนวยสารสนเทศ

* หากทานใดมีขอมูลหรือเรื่องราวที่อยากจะสื่อสารใหบุคลากรในคณะรับทราบ สามารถสงมายังหนวยพัฒนาคุณภาพตาม e- mail ที่แจงไวดานหนาไดตลอดเวลาคะ

Page 4: เป ดหน าต างรับลมบ าง โดยเฉพาะใน ... · 2017. 6. 22. · จัดทําโดย...หน วยพัฒนาคุณภาพ

4 5

เปาหมายและจุดประสงคในการจัดการความรู

เปาหมายในการจัดการความรู สามารถแบงออกเปน 3 ระดับ ดังแผนภูมิดานลางนี้การจัดการความรู (Knowledge Management) คืออะไร มีผูใหคํานิยาม

การจัดการความรู ไวอยางหลากหลาย ดังนี้

World Bank ไดใหนิยามของการจัดการความรู ไววา การจัดการความรู

เปนการรวบรวมวิธีปฏิบัติขององคการและกระบวนการที่เกี่ยวกับการสราง การนํามาใช และเผยแพรความรูและบริบทตางๆ ที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจ

European Foundation for Quality Management System: EFQM กลาววา การจัดการความรู เปนวิธีการจัดการความรู เปนกลยุทธและกระบวนการในการจําแนก จัดหา และนําความรูมาใชประโยชน เพื่อชวยใหองคการประสบความสําเร็จตามเปาหมายที่ตั้งไว

สํานักงาน กพร. ได ใหคํ านิยามของ การจัดการความรู หมายถึ ง การรวบรวมองคความรูที่มีอยูในสวนราชการซึ่งกระจัดกระจายอยูในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาใหเปนระบบ เพื่อใหทุกคนในองคกรสามารถเขาถึงความรูและพัฒนาตนเองใหเปนผูรู รวมทั้งปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ อันจะสงผลใหองคกรมีความสามารถในเชิงแขงขันสูงสุด

องคประกอบของการจัดการความรู

องคประกอบที่สําคัญของการจัดการความรู คือ คน เทคโนโลยี และกระบวนการความรู (Knowledge Process) โดยเฉพาะคนเปนสวนที่สําคัญที่สุด เพราะเปนแหลงความรู และเปนผูนําความรูไปใชใหเกิดประโยชน ในสวนของเทคโนโลยี ถือเปนเครื่องมือที่ชวยคนหา จัดเก็บ แลกเปลี่ยน และนําความรูไปใชไดงายและรวดเร็วขึ้น สวนกระบวนการความรู เปนการบริหารจัดการเพื่อนําความรู จ ากแหล งความรู ไป ใช เพื่ อ ให เกิ ดการปรับปรุ ง และนวั ตกรรม ซึ่งองคประกอบทั้ง 3 สวนนี้ ตองเชื่อมโยงและบูรณาการเขาดวยกันอยางเหมาะสม

การจัดการความรูเพื่อ

ที่มา: http://www.opdc.go.th/uploads/files/tool_kit2009/4km_page_maker/KM-001_Final%20(16%20May%2009).pdf

พัฒนาองคการ

พัฒนากระบวนการทํางาน

พัฒนาคน

ใหบรรลุเปาหมายที่ไดกําหนดไว ตามวิสัยทัศน/ยุทธศาสตร

ใ ห เ กิด ปร ะสิ ทธิภ าพ (ค วามผิดพลาดลดลง / ปรับปรุง พัฒนากระบวนการใหทันตอสถานการณที่เปลี่ยนแปลง)

ใหเกิดประสิทธิผล (การพัฒนาผลผลิต / การลดตนทุน)

ใหเกิดนวัตกรรม (พัฒนาการร ะ ด ม ค ว า ม คิ ด / ก า ร นํ าแนวความคิดใหมมาใชจริง)

เกิดการเรียนรู

มีความคลองตัวในการทํางาน

เกิดความพึงพอใจในการทํางาน

เรื่องของ KM ยังไมจบเพียงเทานี้นะคะ โปรดติดตามตอฉบับหนาคะ