20
เอกสารหมายเลข 6/2560/5.1 ภาวะการส่งเสริมการลงทุนในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2560 1. ภาพรวมการส่งเสริมการลงทุน การขอรับการส่งเสริม ในเดือนมกราคม -กันยายน 2560 มีการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 978 โครงการ ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 6 แต่มีมูลค่าเงินลงทุน 376,570 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 8 ซึ่งคาดว่าโครงการเหล่านี้จะก่อให้เกิดการจ้างงานไม่น้อยกว่า 64,000 คน โดยเป็นโครงการที่ยื่นขอรับการส่งเสริมการลงทุนใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายร้อยละ 46 ของมูลค่าการขอรับการส่งเสริมการลงทุน หากพิจารณาในแง่ของจานวนโครงการพบว่าส่วนใหญ่เป็น การลงทุนกิจการพัฒนาซอฟต์แวร์ในอุตสาหกรรมดิจิทัล ส่วนในด้านมูลค่าของเงินลงทุนพบว่าการลงทุน ในอุตสาหกรรมยานยนต์มีเงินลงทุนสูงที่สุด การอนุมัติให้การส่งเสริม ในเดือนมกราคม-กันยายน 2560 มีการอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุน 911 โครงการ ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 30 มูลค่าเงินลงทุน 565,671 ล้านบาท ลดลงจาก ช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 16 การออกบัตรส่งเสริม ในเดือนมกราคม-กันยายน 2560 มีการออกบัตรส่งเสริม 954 โครงการ ลดลง จากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 16 แต่มีมูลค่าเงินลงทุน 467,090 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน ของปีก่อนร้อยละ 40 เนื่องจากมีการออกบัตรส่งเสริมของโครงการท่อขนส่งก๊าซธรรมชาติซึ่งเป็น โครงการลงทุนขนาดใหญ่มูลค่าประมาณ 1 แสนล้านบาท ภาพรวมการส่งเสริมการลงทุน เดือนมกราคม-กันยายน เปรียบเทียบ ปี 2559 และปี 2560 จานวนโครงการ เงินลงทุน (ล้านบาท) ม.ค.-ก.ย. 2559 ม.ค.-ก.ย. 2560 ร้อยละ เปลี่ยนแปลง ม.ค.-ก.ย. 2559 ม.ค.-ก.ย. 2560 ร้อยละ เปลี่ยนแปลง การขอรับการส่งเสริม 1,036 978 -6 350,250 376,570 +8 การอนุมัติให้การส่งเสริม 1,302 911 -30 675,620 565,671 -16 การออกบัตรส่งเสริม 1,132 954 -16 332,810 467,090 +40 2. การขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2.1 การขอรับการส่งเสริมการลงทุนใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ในเดือนมกราคม-กันยายน 2560 มีการขอรับการส่งเสริมใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย จานวน 460 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 47 ของจานวนโครงการที่ขอรับการส่งเสริมทั้งสิ้น และมีมูลค่าทั้งสิ้น 171,831 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 46 ของมูลค่าการขอรับการส่งเสริมทั้งสิ้น โดยมีรายละเอียดดังนี

เอกสารหมายเลข 6/2560/5 - BOIเอกสารหมายเลข 6/2560/5.1 ภาวะการส งเสร มการลงท นในช วง

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • เอกสารหมายเลข 6/2560/5.1

    ภาวะการส่งเสริมการลงทุนในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2560

    1. ภาพรวมการส่งเสริมการลงทุน

    การขอรับการส่งเสริม ในเดือนมกราคม-กันยายน 2560 มีการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 978 โครงการ ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 6 แต่มีมูลค่าเงินลงทุน 376,570 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 8 ซึ่งคาดว่าโครงการเหล่านี้จะก่อให้เกิดการจ้างงานไม่น้อยกว่า 64,000 คน โดยเป็นโครงการที่ยื่นขอรับการส่งเสริมการลงทุนใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายร้อยละ 46 ของมูลค่าการขอรับการส่งเสริมการลงทุน หากพิจารณาในแง่ของจ านวนโครงการพบว่าส่วนใหญ่เป็นการลงทุนกิจการพัฒนาซอฟต์แวร์ในอุตสาหกรรมดิจิทัล ส่วนในด้านมูลค่าของเงินลงทุนพบว่าการลงทุนในอุตสาหกรรมยานยนต์มีเงินลงทุนสูงที่สุด

    การอนุมัติให้การส่งเสริม ในเดือนมกราคม-กันยายน 2560 มีการอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุน 911 โครงการ ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 30 มูลค่าเงินลงทุน 565,671 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 16

    การออกบัตรส่งเสริม ในเดือนมกราคม-กันยายน 2560 มีการออกบัตรส่งเสริม 954 โครงการ ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 16 แต่มีมูลค่าเงินลงทุน 467,090 ล้านบาท เพ่ิมข้ึนจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 40 เนื่องจากมีการออกบัตรส่งเสริมของโครงการท่อขนส่งก๊าซธรรมชาติซึ่งเป็นโครงการลงทุนขนาดใหญ่มูลค่าประมาณ 1 แสนล้านบาท

    ภาพรวมการส่งเสริมการลงทุน เดือนมกราคม-กันยายน เปรียบเทียบ ปี 2559 และปี 2560

    จ านวนโครงการ เงินลงทุน (ล้านบาท) ม.ค.-ก.ย.

    2559 ม.ค.-ก.ย.

    2560 ร้อยละ

    เปลี่ยนแปลง

    ม.ค.-ก.ย. 2559

    ม.ค.-ก.ย. 2560

    ร้อยละ

    เปลี่ยนแปลง

    การขอรับการส่งเสริม 1,036 978 -6 350,250 376,570 +8

    การอนุมัติให้การส่งเสริม 1,302 911 -30 675,620 565,671 -16

    การออกบัตรส่งเสริม 1,132 954 -16 332,810 467,090 +40

    2. การขอรับการส่งเสริมการลงทุน

    2.1 การขอรับการส่งเสริมการลงทุนใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ในเดือนมกราคม-กันยายน 2560 มีการขอรับการส่งเสริมใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย จ านวน

    460 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 47 ของจ านวนโครงการที่ขอรับการส่งเสริมทั้งสิ้น และมีมูลค่าทั้งสิ้น 171,831 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 46 ของมูลค่าการขอรับการส่งเสริมทั้งสิ้น โดยมีรายละเอียดดังนี้

  • 2

    ค าขอรับการส่งเสริมการลงทุนจ าแนกตามอุตสาหกรรมเป้าหมาย เดือนมกราคม-กันยายน เปรียบเทียบ ปี 2559 และปี 2560

    หมวดประเภทกิจการ

    จ านวนโครงการ เงินลงทุน (ล้านบาท) ม.ค.-ก.ย.

    2559 ม.ค.-ก.ย.

    2560 ร้อยละ

    เปลี่ยนแปลง

    ม.ค.-ก.ย. 2559

    ม.ค.-ก.ย. 2560

    ร้อยละ

    เปลี่ยนแปลง

    5 อุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ ดิจิทัล 200 149 -26 3,562 2,559 -28 การแพทย์ 11 26 +136 5,160 4,719 -9 ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ 61 44 -28 18,767 28,046 +49 เครื่องจักรอัตโนมัติและหุ่นยนต์ 7 10 +43 391 1,218 +212 อากาศยาน 3 4 +33 312 862 +176

    รวม 282 233 -17 28,192 37,404 +33 5 อุตสาหกรรมเป้าหมายเดิม

    การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ 64 61 -5 21,987 22,887 +4 อิเล็กทรอนิกส์ 55 68 +24 24,966 31,716 +27 ยานยนต์ 33 28 -15 37,053 34,758 -6 การท่องเที่ยว 17 23 +35 13,137 27,002 +106 การแปรรูปอาหาร 52 47 -10 15,547 18,064 +16

    รวม 221 227 +3 112,690 134,427 +19 รวมทั้งหมด 503 460 -9 140,882 171,831 +22

    หมายเหตุ: ตัวอย่างโครงการปรากฏในเอกสารแนบท้าย

    2.2 การขอรับการส่งเสริมแยกรายหมวด หมวดบริการและสาธารณูปโภค ได้รับความสนใจลงทุนมากที่สุด หากพิจารณาในแง่ของมูลค่า

    การขอรับการส่งเสริม โดยในเดือนมกราคม-กันยายน 2560 มีค าขอรับการส่งเสริม 432 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 44 ของจ านวนโครงการทั้งหมด เงินลงทุนรวม 217,690 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 58 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมา ได้แก่ ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ขนส่ง มีค าขอรับการส่งเสริม 119 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 12 ของจ านวนโครงการทั้งหมด เงินลงทุนรวม 45,140 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12 ของเงินลงทุนทั้งหมด และเกษตรกรรมและผลิตผล จากการเกษตร มีค าขอรับการส่งเสริม 107 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 11 ของจ านวนโครงการทั้งหมด เงินลงทุนรวม 38,470 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 10 ของเงินลงทุนทั้งหมด ในส่วนของหมวดการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม มีค าขอรับการส่งเสริม 2 โครงการ เงินลงทุนรวม 2,610 ล้านบาท

  • 3

    ค าขอรับการส่งเสริมการลงทุนจ าแนกตามหมวดประเภทกิจการ เดือนมกราคม-กันยายน เปรียบเทียบ ปี 2559 และปี 2560

    หมวดประเภทกิจการ

    จ านวนโครงการ เงินลงทุน (ล้านบาท) ม.ค.-ก.ย.

    2559 ม.ค.-ก.ย.

    2560 ร้อยละ

    เปลี่ยนแปลง

    ม.ค.-ก.ย. 2559

    ม.ค.-ก.ย. 2560

    ร้อยละ

    เปลี่ยนแปลง

    เกษตรกรรมและผลิตผล จากการเกษตร

    116 107 -8 37,550 38,470 +2

    แร่ เซรามิกส์ และโลหะขั้นมูลฐาน 21 19 -10 3,470 4,310 +24 อุตสาหกรรมเบา 28 24 -14 6,050 4,850 -20 ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ขนส่ง

    118 119 +1 48,560 45,140 -7

    เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 249 214 -14 26,580 33,040 +24 เคมีภัณฑ์ พลาสติก และกระดาษ 73 61 -16 20,110 30,460 +52 บริการและสาธารณูปโภค 431 432 0 207,930 217,690 +5 การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม - 2 +100 - 2,610 +100

    รวม 1,036 978 -6 350,250 376,570 +8

    2.3 นักลงทุนรายใหม่ยังคงให้ความสนใจขอรับการส่งเสริม หากพิจารณาถึงค าขอรับการส่งเสริมตามลักษณะของการลงทุน พบว่าเป็น โครงการใหม่ 597

    โครงการ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 60 ของจ านวนค าขอทั้งสิ้น และมีเงินลงทุนรวม 207,620 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 55 ของเงินลงทุนทั้งสิ้น และเป็นโครงการขยาย 381 โครงการ สัดส่วนร้อยละ 40 ของจ านวนค าขอทั้งสิ้น และมีเงินลงทุนรวม 168,950 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 45 ของเงินลงทุนทั้งสิ้น

  • 4

    ค าขอรับการส่งเสริมการลงทุนในเดือนมกราคม-กนัยายน 2560 โครงการใหม่และโครงการขยายมีสัดส่วน 60:40

    2.4 การกระจายสัดส่วนผู้ถือหุ้น : โครงการต่างชาติถือหุ้นทั้งสิ้น มีจ านวนมากกว่าคนไทยทั้งสิ้นและโครงการร่วมลงทุนไทยและต่างชาติ โครงการคนไทยถือหุ้นทั้งสิ้น มีจ านวน 272 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 28 ของจ านวนโครงการที่

    ขอรับการส่งเสริมทั้งหมด และมีเงินลงทุน 68,630 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 18 ของเงินลงทุนทั้งหมด

    โครงการต่างชาติถือหุ้นทั้งสิ้น มีจ านวน 368 โครงการ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 37 ของจ านวนโครงการที่ขอรับการส่งเสริมทั้งหมด และมีเงินลงทุน 64,420 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 17 ของเงินลงทุนทั้งหมด

    โครงการร่วมลงทุนไทยและต่างชาติ มีจ านวน 338 โครงการ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 35 ของจ านวนโครงการที่ขอรับการส่งเสริมทั้งหมด และมีเงินลงทุน 243,520 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 65 ของเงินลงทุนทั้งหมด

    การกระจายสัดส่วนผู้ถือหุ้น เดือนมกราคม-กันยายน เปรียบเทียบ ปี 2559 และปี 2560

    การกระจายผู้ถือหุ้น

    จ านวนโครงการ เงินลงทุน (ล้านบาท)

    ม.ค.-ก.ย. 2559

    ม.ค.-ก.ย. 2560

    ร้อยละ

    เปลี่ยนแปลง

    ม.ค.-ก.ย. 2559

    ม.ค.-ก.ย. 2560

    ร้อยละ

    เปลี่ยนแปลง

    โครงการไทยทั้งสิ้น 392 272 -31 91,700 68,630 -25 โครงการต่างชาติทั้งสิ้น 425 368 -13 85,130 64,420 -24 โครงการร่วมลงทุนไทยและต่างชาติ 219 338 +54 173,420 243,520 +40

    รวม 1,036 978 -6 350,250 376,570 +8

    จ านวนทั้งสิ้น 978 โครงการ เงินลงทุนทั้งสิ้น 376,570 ล้านบาท

    โครงการใหม่ 55%

    โครงการขยาย

    45%

    597 โครงการ

    หน่วย: โครงการ

    168,950 ลา้นบาท

    หน่วย: ล้านบาท

    381 โครงการ

    207,620 ลา้นบาท

    โครงการใหม ่60%

    โครงการขยาย

    40%

  • 5

    2.5 ที่ตั้งโครงการลงทุน : การลงทุนกระจุกตัวในภาคกลางมากที่สุด

    ในเดือนมกราคม-กันยายน 2560 มีการขอรับการส่งเสริมการลงทุนในพ้ืนที่ภาคกลางมากที่สุด จ านวน 514 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 53 ของจ านวนโครงการทั้งหมด โดยมีเงินลงทุน 173,070 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 46 ของเงินลงทุนทั้งหมด

    การลงทุนในภาคตะวันออกมีการขอรับการส่งเสริมการลงทุนมากเป็นอันดับ 2 โดยมีค าขอรับ การส่งเสริม 251 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 26 ของจ านวนโครงการทั้งหมด และเงินลงทุน 112,500 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 30 ของเงินลงทุนทั้งหมด

    การกระจายของแหล่งที่ตั้งของโครงการขอรับการส่งเสริมการลงทุน เดือนมกราคม-กันยายน เปรียบเทียบ ปี 2559 และปี 2560

    แหล่งที่ตั้ง

    จ านวนโครงการ เงินลงทุน (ล้านบาท)

    ม.ค.-ก.ย. 2559

    ม.ค.-ก.ย. 2560

    ร้อยละ

    เปลี่ยนแปลง

    ม.ค.-ก.ย. 2559

    ม.ค.-ก.ย. 2560

    ร้อยละ

    เปลี่ยนแปลง

    ภาคกลาง 555 514 -7 65,030 173,070 +166 ภาคตะวันออก 255 251 -2 108,490 112,500 +4 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 37 44 +19 6,680 12,060 +81 ภาคเหนือ 69 45 -358 14,630 10,480 -28 ภาคตะวันตก 29 35 +21 6,320 10,530 +67 ภาคใต ้ 46 60 -30 16,190 32,460 +100 อ่ืนๆ* 45 29 -36 132,910 25,470 -81

    รวม 1,036 978 -6 350,250 376,570 +8

    หมายเหต:ุ * กิจการที่ไม่สามารถระบุทีต่ั้งได้ เช่น กิจการขนส่งทางอากาศ กิจการขนส่งทางเรือ และกจิการขนส่งทางท่อ เป็นต้น

    หุ้นไทยทั้งสิ้น28%

    หุ้นต่างชาติทั้งสิ้น37%

    ร่วมทุน35%

    โครงการต่างชาติถือหุ้นทั้งส้ินมีสัดส่วนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 37 ของจ านวนโครงการทั้งหมด

  • 6

    2.6 การขอรับการส่งเสริมในพื้นที่เป้าหมาย ค าขอรับการส่งเสริมการลงทุนในเดือนมกราคม-กันยายน 2560 มีการลงทุนในพื้นที่ต่างๆ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ดังนี้

    การขอรับการส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน มีจ านวน 6 โครงการ และมีมูลค่าการลงทุน 223 ล้านบาท

    การขอรับการส่งเสริมการลงทุนในพ้ืนที่ 20 จังหวัดที่มีรายได้ต่อหัวต่ า มีจ านวน 16 โครงการ ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 54 ในแง่ของมูลค่า การลงทุนมีมูลค่า 5,750 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 40

    การขอรับการส่งเสริมการลงทุนในนิคมอุตสาหกรรมหรือเขตอุตสาหกรรมที่ได้รับการส่งเสริม มีจ านวน 247 โครงการ เพ่ิมข้ึนจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 27 มีมูลค่า 100,450 ล้านบาท เพ่ิมข้ึนจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 30

    การขอรับการส่งเสริมการลงทุนในพ้ืนที่ EEC จ านวน 229 โครงการ เงินลงทุน 104,164 ล้านบาท - จังหวัดฉะเชิงเทรา จ านวน 32 โครงการ เงินลงทุน 25,700 ล้านบาท - จังหวัดชลบุรี จ านวน 113 โครงการ เงินลงทุน 30,293 ล้านบาท - จังหวัดระยอง จ านวน 84 โครงการ เงินลงทุน 48,171 ล้านบาท

    ค าขอรับการส่งเสริมการลงทุนจ าแนกตามพื้นที่เป้าหมาย เดือนมกราคม-กันยายน เปรียบเทียบ ปี 2559 และปี 2560

    พื้นที่เป้าหมาย

    จ านวนโครงการ เงินลงทุน (ล้านบาท)

    ม.ค.-ก.ย. 2559

    ม.ค.-ก.ย. 2560

    ร้อยละ

    เปลี่ยนแปลง

    ม.ค.-ก.ย. 2559

    ม.ค.-ก.ย. 2560

    ร้อยละ

    เปลี่ยนแปลง

    เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน 27 6 -78 6,420 223 -96

    20 จังหวัดที่มีรายได้ต่อหัวต่ า 35 16 -54 9,490 5,750 -40 นิคมอุตสาหกรรมหรือเขตอุตสาหกรรมที่ได้รับการส่งเสริม

    195 247 +27 77,250 100,450 +30

    EEC - ฉะเชิงเทรา

    - ชลบุร ี

    - ระยอง

    218 22

    123 73

    229 32

    113 84

    +5 +45

    -8 +15

    95,829 4,652

    49,107 42,070

    104,164 25,700 30,293 48,171

    +9 +453

    -38 +15

    2.7 การขอรับการส่งเสริมตามมาตรการพิเศษ ในเดือนมกราคม-กันยายน 2560 มีค าขอรับการส่งเสริมการลงทุนตามมาตรการส่งเสริมการลงทุน

    ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตจ านวน 109 โครงการ เงินลงทุน 12,535 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น

  • 7

    มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตในด้านประหยัดพลังงาน พลังงานทดแทน และลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจ านวน 90 โครงการ เงินลงทุน 8,207 ล้านบาทและมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตในด้านปรับเปลี่ยนเครื่องจักรจ านวน 19 โครงการ เงินลงทุน 4,328 ล้านบาท

    การขอรับการส่งเสริมการลงทุนตามมาตรการ SMEs จ านวน 48 โครงการ เงินลงทุน 1,738 ล้านบาท

    ค าขอรับการส่งเสริมการลงทุนตามมาตรการพิเศษเดือนมกราคม-กันยายน 2560 มาตรการพิเศษ จ านวนโครงการ เงินลงทุน (ล้านบาท)

    มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต - การลงทุนเพ่ือประหยัดพลังงาน ใช้พลังงาน

    ทดแทน และลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

    - การลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพ่ือเพ่ิม

    ประสิทธิภาพการผลิต

    109 90

    19

    12,535 8,207

    4,328

    มาตรการส่งเสริม SMEs 48 1,738 3. การอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุน

    3.1 การอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ในเดือนมกราคม-กันยายน 2560 มีโครงการที่ได้รับอนุมัติให้การส่งเสริม จ านวน 911 โครงการ

    และมีมูลค่าเงินลงทุนรวม 565,671 ล้านบาท โดยเป็นการอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย จ านวน 465 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 51 ของจ านวนโครงการที่ได้รับอนุมัติทั้งสิ้น และมีมูลค่ารวม 173,078 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 31 ของมูลค่าการอนุมัติให้การส่งเสริมทั้งสิ้น หากพิจารณาในแง่ของจ านวนโครงการพบว่าส่วนใหญ่เป็นการลงทุนในกิจการกลุ่มดิจิทัล รองลงมาเป็นกิจการในกลุ่มการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ ส่วนในแง่มูลค่าเงินลงทุน พบว่า กิจการกลุ่มยานยนต์ มีมูลค่าเงินลงทุนสูงที่สุด รองลงมาเป็นกิจการกลุ่มปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ โดยมีรายละเอียดดังนี้

  • 8

    การอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนจ าแนกตามอุตสาหกรรมเป้าหมาย เดือนมกราคม-กันยายน ปี 2560

    หมวดประเภทกิจการ

    จ านวนโครงการ เงินลงทุน (ล้านบาท) ม.ค.-ก.ย.

    2560 ม.ค.-ก.ย.

    2560

    5 อุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ ดิจิทัล 178 4,419 การแพทย์ 22 5,489 ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ 43 29,584 เครื่องจักรอัตโนมัติและหุ่นยนต์ 5 775 อากาศยาน 6 2,722

    รวม 254 42,989 5 อุตสาหกรรมเป้าหมายเดิม

    การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ 65 18,100 อิเล็กทรอนิกส์ 58 27,383 ยานยนต์ 27 52,626 การท่องเที่ยว 16 20,883 การแปรรูปอาหาร 45 11,097

    รวม 211 130,089 รวมทั้งหมด 465 173,078

    3.2 ประโยชน์ของโครงการที่ได้รับอนุมัติให้การส่งเสริมในเดือนมกราคม-กันยายน 2560

    โครงการที่ได้รับอนุมัติให้การส่งเสริมในเดือนมกราคม-กันยายน 2560 คาดว่าจะท าให้มูลค่าส่งออกของประเทศเพิ่มขึ้นปีละประมาณ 357,992 ล้านบาท ทั้งนี้จะมีการผลิตและส่งออกสินค้าส าคัญ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์และชิ้นส่วน มูลค่าปีละประมาณ 121,219 ล้านบาท สินค้าอาหาร มูลค่าปีละประมาณ 38 ,875 ล้านบาท ยานพาหนะ อุปกรณ์และส่วนประกอบ มูลค่าปีละประมาณ 31,540 ล้านบาท ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีและพลาสติก มูลค่าปีละประมาณ 19,967 ล้านบาท และ ผลิตภัณฑ์จากยาง มูลค่าปีละประมาณ 16,765 ล้านบาท

    โครงการที่ได้รับอนุมัติจะสร้างงานให้คนไทยประมาณ 61,139 ต าแหน่ง โดยโครงการในหมวด อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ จะมีการจ้างงานเป็นอันดับ 1 คิดเป็นร้อยละ 27 ของการจ้างแรงงานไทย หรือประมาณ 16,219 ต าแหน่ง ตามมาด้วยหมวดบริการและสาธารณูปโภค ร้อยละ 23 หรือประมาณ 14,264 ต าแหน่ง และหมวดเกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร ร้อยละ 18 ของการจ้างแรงงานไทย หรือประมาณ 11,280 ต าแหน่ง

  • 9

    โครงการที่ได้รับอนุมัติจะใช้วัตถุดิบในประเทศ มูลค่าประมาณ 386 ,396 ล้านบาทต่อปี

    โดยโครงการในหมวดอุตสาหกรรมบริการและสาธารณูปโภค จะใช้วัตถุดิบในประเทศมากเป็นอันดับ 1 มูลค่าประมาณ 182,484 ล้านบาทต่อปี รองลงมาเป็นหมวดเกษตรกรรมและผลิตผลการเกษตร ใช้วัตถุดิบในประเทศ ประมาณ 91 ,932 ล้านบาทต่อปี ตามด้วยหมวดอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส ์ใช้วัตถุดิบในประเทศ 62,159 ล้านบาทต่อปี

    หมวดประเภทกิจการ มูลค่าการใช้วัตถุดิบ

    ในประเทศ (ล้านบาทต่อปี)

    สัดส่วน (ร้อยละ)

    เกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร 91,932 24

    แร่ เซรามิกส์ และโลหะขั้นมูลฐาน 2,090 1

    อุตสาหกรรมเบา 3,025 1

    ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ขนส่ง 32,008 8

    เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 62,159 16

    เคมีภัณฑ์ พลาสติก และกระดาษ 12,698 3

    บริการและสาธารณูปโภค 182,484 47

    รวม 386,396 100

    เครื่องใชไ้ฟฟา้และอิเล็กทรอนกิส์

    27%

    บริการและสาธารณูปโภค

    23%

    เกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร

    18%

    ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และอุปกรณ์

    ขนส่ง 18%

    เคมีภัณฑ์ พลาสติก และกระดาษ 7%

    อุตสาหกรรมเบา 5%แร่ เซรามิกส์ และโลหะ

    ขั้นมูลฐาน 2%

    เพิ่มการจา้งงานไทย 61,139 ต าแหนง่

    การจ้างงานไทยของโครงการทีไ่ดร้บัอนมุัติแยกตามรายหมวดในเดอืนมกราคม - กันยายน ปี 2560

  • 10

    3.3 การใช้วัตถุดิบการเกษตรในประเทศของโครงการที่ได้รับอนุมัติส่งเสริมการลงทุน ในเดือนมกราคม 2557 - กันยายน 2560 มีการอนุมัติส่งเสริมการลงทุนโครงการที่มีการใช้ผลิตผล

    ทางการเกษตรที่ส าคัญของไทย ได้แก่ ปาล์มน้ ามัน มันส าปะหลัง และยางพารา ซึ่งท าให้มีการใช้

    ผลิตผลทางการเกษตรดังกล่าวเป็นวัตถุดิบเพ่ิมข้ึน โดยจะมีการใช้ปาล์มน้ ามัน 4.7 ล้านตันต่อปี การ

    ใช้มันส าปะหลัง 3.4 ล้านตันต่อปี การใช้ยางพาราแปรรูปเป็นยางขั้นต้น 2.0 ล้านตันต่อปี และการ

    ใช้ยางพาราแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ยางพารา 0.5 ล้านตันต่อป ีโดยมีรายละเอียด ดังนี้

    ผลผลิตการเกษตร คาดการณ์ความต้องการใช้วัตถุดิบการเกษตร (ล้านตันต่อปี)

    ของโครงการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน ระหว่างมกราคม 2557- กันยายน 2560

    1. ปาล์มน้ ามัน 4.7 2. มันส าปะหลัง 3.4 3. ยางพารา 2.5 3.1 ยางขั้นต้น 2.0 3.2 ผลิตภัณฑ์ยางพารา 0.5

    ยางล้อยานพาหนะ 0.2 ถุงมือยางและถุงยาง 0.2 ผลิตภัณฑ์ยางพาราอ่ืน 0.1

    3.4 การอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่เป้าหมาย การอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนในเดือนมกราคม-กันยายน 2560 มีการลงทุนในพ้ืนที่ต่างๆ

    ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ดังนี้

    การอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนจ าแนกตามพื้นที่เป้าหมายในเดือนมกราคม-กันยายน ปี 2560 พื้นที่เป้าหมาย จ านวนโครงการ เงินลงทุน (ล้านบาท)

    เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน 13 2,517

    จังหวัดชายแดนภาคใต้ 8 4,160

    20 จังหวัดที่มีรายได้ต่อหัวต่ า 16 6,032

    EEC 190 296,228

    - ฉะเชิงเทรา 25 29,235

    - ชลบุร ี 99 109,944

    - ระยอง 66 157,049

  • 11

    เอกสารแนบ รายละเอียดประกอบข้อ 2.1 ค าขอรับการส่งเสริมการลงทุนจ าแนกตามอุตสาหกรรมเป้าหมายเดือนมกราคม-กันยายน 2560

    5 อุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่

    อุตสาหกรรมดิจิทัล มีค าขอรับการส่งเสริม 149 โครงการ เงินลงทุน 2,559 ล้านบาท เช่น - กิจการให้บริการเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Services) 17 โครงการ เงินลงทุน 189 ล้านบาท - กิจการพัฒนาซอฟต์แวร์ 110 โครงการ เงินลงทุน 1,014 ล้านบาท - กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 17 โครงการ เงินลงทุน 68 ล้านบาท - กิจการบริการวงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูงระหว่างประเทศภาคพ้ืนน้ า เงินลงทุน 825 ล้านบาท - กิจการ Cloud Service 67 ล้านบาท - กิจการซอฟต์แวร์ 2 โครงการ 53 ล้านบาท - กิจการพัฒนา Digital Technology 343 ล้านบาท

    อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร มีค าขอรับการส่งเสริม 26 โครงการ เงินลงทุน 4,719 ล้านบาท เช่น - กิจการวิจัยและพัฒนา และ/หรืออุตสาหกรรมการผลิตสารเวชภัณฑ์ที่ใช้เทคโนโลยีชีวภาพ 2

    โครงการ เงินลงทุน 1,745 ล้านบาท - กิจการผลิตยา 10 โครงการ เงินลงทุน 1,555 ล้านบาท - กิจการศูนย์ฟื้นฟูสุขภาพ 6 โครงการ เงินลงทุน 575 ล้านบาท - กิจการผลิตเครื่องมือแพทย์ 6 โครงการ เงินลงทุน 703 ล้านบาท - กิจการผลิตอาหารทางการแพทย์ ( Medical Food) หรือผลิตภัณฑ์ เสริมอาหาร (Food

    Supplement) 2 โครงการ เงินลงทุน 141 ล้านบาท

    อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ มีค าขอรับการส่งเสริม 44 โครงการ เงินลงทุน 28,046 ล้านบาท เช่น

    - กิจการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกส าหรับอุตสาหกรรม 14 โครงการ เงินลงทุน 3,196 ล้านบาท - กิจการผลิตผลิตภัณฑ์เคมีเพ่ือการอุตสาหกรรม 15 โครงการ เงินลงทุน 2,933 ล้านบาท - กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี เงินลงทุน 378 ล้านบาท - กิจการผลิตผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ชนิดพิเศษ หรือเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษ 5 โครงการ เงินลงทุน 20,532

    ล้านบาท - กิจการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก 5 โครงการ เงินลงทุน 584 ล้านบาท

    อุตสาหกรรมเครื่องจักรอัตโนมัติและหุ่นยนต์ มีค าขอรับการส่งเสริม 10 โครงการ เงินลงทุน 1,218 ล้านบาท เช่น

    - กิจการผลิตเครื่องจักรส าหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอ เงินลงทุน 148 ล้านบาท - กิจการผลิตเครื่องจักร และ/หรืออุปกรณ์อัตโนมัติ (Automation) ที่มีการออกแบบทางวิศวกรรม

    9 โครงการ เงินลงทุน 1,070 ล้านบาท

  • 12

    อุตสาหกรรมอากาศยาน มีค าขอรับการส่งเสริม 4 โครงการ เงินลงทุน 862 ล้านบาท ได้แก่ - กิจการชิ้นส่วนดาวเทียม เช่น Satellite Waveguide เป็นต้น เงินลงทุน 62 ล้านบาท - กิจการผลิตล าตัวอากาศยาน ชิ้นส่วนล าตัวอากาศยาน และชิ้นส่วนส าคัญของอากาศยาน เช่น

    Counter Plate, Housing, Spacer และ Yoke เป็นต้น จ านวน 3 โครงการ เงินลงทุน 800 ล้านบาท

    5 อุตสาหกรรมเป้าหมายเดิม

    อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ มีค าขอรับการส่งเสริม 61 โครงการ เงินลงทุน 22,887 ล้านบาท เช่น

    - กิจการผลิตเชื้อเพลิงจากเศษวัสดุ หรือขยะหรือของเสียที่ได้จากผลผลิตทางการเกษตร 9 โครงการ เงินลงทุน 1,531 ล้านบาท

    - กิจการผลิตผลิตภัณฑ์จากยางธรรมชาติ 12 โครงการ เงินลงทุน 3,501 ล้านบาท - กิจการแปรรูปยางขั้นต้น 6 โครงการ เงินลงทุน 2,610 ล้านบาท - กิจการผลิตน้ ามันหรือไขมันจากพืชหรือสัตว์ 6 โครงการ เงินลงทุน 2,539 ล้านบาท - กิจการเลี้ยงปศุสัตว์หรือสัตว์น้ า (ยกเว้นกุ้ง) 6 โครงการ เงินลงทุน 754 ล้านบาท

    อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ มีค าขอรับการส่งเสริม 68 โครงการ เงินลงทุน 31,716 ล้านบาท เช่น

    - กิจการผลิต Hard Disk Drive และ/หรือ ชิ้นส่วน 3 โครงการ เงินลงทุน 3,947 ล้านบาท - กิจการผลิตชิ้นส่วน และ/หรืออุปกรณ์โฟโทนิกส์ (Photonics) และ/หรือ ระบบที่ใช้โฟโทนิกส์ เงิน

    ลงทุน 1,600 ล้านบาท - กิจการผลิตชิ้นส่วนส าหรับผลิตภัณฑ์กลุ่มภาพและเสียง เช่น Opencell เป็นต้น เงินลงทุน 1,200

    ล้านบาท - กิจการผลิตอุปกรณ์สารกึ่งตัวน า และ/หรือชิ้นส่วนส าหรับอุปกรณ์สารกึ่งตัวน า 3 โครงการ เงินลงทุน

    2,185 ล้านบาท - กิจการผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์ส่ง (Emission) แพร่ (Transmission) รับ (Reception) สัญญาณส าหรับ

    ระบบใยแก้วน าแสง (Optical Fiber) และระบบไร้สาย (Wireless) 4 โครงการ เงินลงทุน 1,142 ล้านบาท

    - กิจการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์และ/หรือวัตถุดิบส าหรับเซลล์แสงอาทิตย์ เงินลงทุน 8,293 ล้านบาท - แบตเตอรี่ (High Density Battery) 2 โครงการ เงินลงทุน 3,100 ล้านบาท

    อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ มีค าขอรับการส่งเสริม 28 โครงการ เงินลงทุน 34,758 ล้านบาท เช่น - กิจการผลิตยางล้อส าหรับยานพาหนะ เงินลงทุน 1,992 ล้านบาท - กิจการผลิตชิ้นส่วนระบบส่งก าลังส าหรับยานพาหนะ เงินลงทุน 560 ล้านบาท - กิจการผลิตชิ้นส่วนยานพาหนะอ่ืนๆ เช่น จานคลัทช์ ถุงลมนิรภัย เงินลงทุน 3,072 ล้านบาท - กิจการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าแบบผสม (Hybrid Electric Vehicles-HEV) และชิ้นส่วน เงินลงทุน 19,550

    ล้านบาท

  • 13

    - กิจการผลิตรถยนต์ SUV เงินลงทุน 5,000 ล้านบาท - กิจการผลิตไดชาร์จหรือชิ้นส่วน เงินลงทุน 1,865 ล้านบาท

    อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มีค าขอรับการส่งเสริม 23 โครงการ เงินลงทุน 27,002 ล้านบาท เช่น

    - กิจการศูนย์แสดงศิลปวัฒนธรรมหรือศูนย์ศิลปหัตถกรรม 4 โครงการ เงินลงทุน 2,580 ล้านบาท - กิจการโรงแรม 17 โครงการ เงินลงทุน 22,828 ล้านบาท - กิจการสวนสนุก เงินลงทุน 800 ล้านบาท - กิจการหอประชุมขนาดใหญ่ เงินลงทุน 794 ล้านบาท

    อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร มีค าขอรับการส่งเสริม 47 โครงการ เงินลงทุน 18,064 ล้านบาท ได้แก ่- กิจการผลิตหรือถนอมอาหาร เครื่องดื่ม วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) หรือสิ่งปรุงแต่งอาหาร

    (Food Ingredient) โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย 47 โครงการ เงินลงทุน 18,064 ล้านบาท รายละเอียดประกอบข้อ 2.6 การขอรับการส่งเสริมในพื้นที่เป้าหมาย

    พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน มีค าขอรับการส่งเสริม 6 โครงการ เงินลงทุน 223 ล้านบาท ได้แก่ - กิจการผลิตเครื่องนุ่งห่ม เครื่องประกอบการแต่งกาย และเคหะสิ่งทอ 2 โครงการเงินลงทุน 78

    ล้านบาท จังหวัดตาก - กิจการผลิตอาหารสัตว์หรือส่วนผสมอาหารสัตว์ เงินลงทุน 20 ล้านบาท จังหวัดเชียงราย - กิจการสถานพยาบาล เงินลงทุน 65 ล้านบาท จังหวัดเชียงราย - กิจการผลิตหรือถนอมอาหาร เครื่องดื่ม วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) หรือสิ่งปรุงแต่งอาหาร

    (Food Ingredient) โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย เงินลงทุน 10 ล้านบาท จังหวัดเชียงราย - กิจการผลิตโครงสร้างโลหะส าหรับงานก่อสร้างหรืองานอุตสาหกรรม (Fabrication Industry) หรอื

    การซ่อม Platform ส าหรับอุตสาหกรรมปิโตรเลียม เงินลงทุน 50 ล้านบาท จังหวัดตาก

    พื้นที่ 20 จังหวัดที่มีรายได้ต่อหัวต่ า มีค าขอรับการส่งเสริม 16 โครงการ เงินลงทุน 5,750 ล้านบาทได้แก่ - กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากขยะ เงินลงทุน 1,330 ล้านบาท จังหวัดสระแก้ว - กิจการเลี้ยงปศุสัตว์หรือสัตว์น้ า (ยกเว้นกุ้ง) 3 โครงการ เงินลงทุน 263 ล้านบาท จังหวัดศรีสะเกษ

    จังหวัดสระแก้ว และจังหวัดบุรีรัมย์ - กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน 6 โครงการ เงินลงทุน 3,467 ล้านบาท จังหวัด

    สกลนคร จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดสระแก้ว จังหวัดอ านาจเจริญ จังหวัดยโสธร และจังหวัดชัยภูมิ - กิจการผลิตยา เงินลงทุน 159 ล้านบาท จังหวัดมหาสารคาม - กิจการคัดคุณภาพ บรรจุ และเก็บรักษาพืช ผัก ผลไม้ หรือดอกไม้ 2 โครงการ เงินลงทุน 278 ล้าน

    บาท จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดสุรินทร์

  • 14

    - กิจการผลิตเชื้อเพลิงจากเศษวัสดุ เงินลงทุน 100 ล้านบาท จังหวัดสระแก้ว - กิจการผลิตหรือถนอมอาหาร เครื่องดื่ม วัตถุเจือปนอาหาร เงินลงทุน 130 ล้านบาท จังหวัดศรีสะเกษ - กิจการวิจัยและพัฒนา เงินลงทุน 23 ล้านบาท จังหวัดอุบลราชธานี

    พื้นที่ในนิคมอุตสาหกรรมหรือเขตอุตสาหกรรมที่ได้รับการส่งเสริม มีค าขอรับการส่งเสริม 247 โครงการ เงินลงทุน 100,450 ล้านบาท ได้แก ่- ตั้งอยู่ในนิคมหรือเขตอุตสาหกรรมภาคตะวันออก 146 โครงการ เงินลงทุน 73,683 ล้านบาท - ตั้งอยู่ในนิคมหรือเขตอุตสาหกรรมภาคกลาง 78 โครงการ เงินลงทุน 21,637 ล้านบาท - ตั้งอยู่ในนิคมหรือเขตอุตสาหกรรมภาคเหนือ 11 โครงการ เงินลงทุน 3,655 ล้านบาท - ตั้งอยู่ในนิคมหรือเขตอุตสาหกรรมภาคใต้ 5 โครงการ เงินลงทุน 802 ล้านบาท - ตั้งอยู่ในนิคมหรือเขตอุตสาหกรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5 โครงการ เงินลงทุน 407 ล้านบาท - ตั้งอยู่ในนิคมหรือเขตอุตสาหกรรมภาคตะวันตก 2 โครงการ เงินลงทุน 266 ล้านบาท

    รายละเอียดประกอบข้อ 2.7 การขอรับการส่งเสริมตามมาตรการพิเศษ

    มาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต จ านวน 109 โครงการ เงินลงทุน 12,535 ล้านบาท อาทิเช่น - กิจการผลิตยางล้อส าหรับยานพาหนะ 2 โครงการ เงินลงทุน 2,135 ล้านบาท - กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้า หรือ พลังงานไฟฟ้าและไอน้ าจากพลังงานหมุนเวียน เช่น แสงอาทิตย์ ลม

    ชีวมวล ก๊าซ ชีวภาพ เป็นต้น ยกเว้น ขยะ หรือ เชื้อเพลิงจากขยะ เงินลงทุน 851 ล้านบาท - กิจการผลิต Printed Circuit Board Assembly (PCBA) เงินลงทุน 400 ล้านบาท - กิจการโรงกลั่นน้ ามัน เงินลงทุน 2,886 ล้านบาท - กิจการผลิตหรือถนอมอาหาร เครื่องดื่ม วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) หรือสิ่งปรุงแต่งอาหาร

    (Food Ingredient) โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย 9 โครงการ เงินลงทุน 508 ล้านบาท

    มาตรการ SME จ านวน 48 โครงการ เงินลงทุน 1,738 ล้านบาท อาทิเช่น - กิจการพัฒนา Enterprise Software และ/หรือ Digital Content 12 โครงการ เงินลงทุน 813 ล้านบาท - กิจการผลิตเครื่องจักร และ/หรืออุปกรณ์อัตโนมัติ (Automation) ที่มีการออกแบบทางวิศวกรรม

    เงินลงทุน 60 ล้านบาท - กิจการเลี้ยงปศุสัตว์หรือสัตว์น้ า (ยกเว้นกุ้ง) 4 โครงการ เงินลงทุน 460 ล้านบาท - กิจการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกส าหรับอุตสาหกรรม (Plastic Products for Industrial Goods) 2

    โครงการ เงินลงทุน 168 ล้านบาท - กิจการให้บริการเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Services) 2 โครงการ เงินลงทุน 27 ล้านบาท

  • 15

    รายละเอียดประกอบข้อที่ 3.4 การอนุมัติให้การส่งเสริมในพื้นที่เป้าหมาย

    โครงการที่ได้รับอนุมัติจะลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน จ านวน 13 โครงการ มูลค่าเงินลงทุน ประมาณ 2,517 ล้านบาท ได้แก่ - กิจการผลิตถุงมือส าหรับตรวจโรค เงินลงทุน 700 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดสงขลา - กิจการผลิตถุงมือยางธรรมชาติ เงินลงทุน 700 ล้านบาท ตั้งอยู่ท่ีจังหวัดสงขลา - กิจการผลิตอาหารสัตว์หรือส่วนผสมอาหารสัตว์ เงินลงทุน 457 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดกาญจนบุรี - กิจการผลิตน้ ายางข้น เงินลงทุน 200 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดสงขลา - กิจการ Ceramic Dipping Former เงินลงทุน 126 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดสงขลา - กิจการผลิตไม้วีเนียร์ เงินลงทุน 20 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดสงขลา - กิจการผลิตเครื่องนุ่งห่ม เครื่องประกอบการแต่งกาย เงินลงทุน 30 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดตาก - กิจการผลิต Metal Parts เงินลงทุน 37 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดสระแก้ว - กิจการผลิตเครื่องนุ่งห่ม เครื่องประกอบการแต่งกาย และเคหะสิ่งทอ เงินลงทุน 37 ล้านบาท ตั้งอยู่

    ที่จังหวัดตาก - กิจการผลิตกระเป๋าหรือรองเท้า หรือผลิตภัณฑ์จากหนังสัตว์หรือหนังเทียม เงินลงทุน 100 ล้านบาท

    ตั้งอยู่ทีจ่ังหวัดตาก - กิจการผลิตอาหารสัตว์หรือส่วนผสมอาหารสัตว์ เงินลงทุน 20 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดเชียงราย - กิจการผลิตเครื่องนุ่งห่ม เครื่องประกอบการแต่งกาย และเคหะสิ่งทอ เงินลงทุน 41 ล้านบาท ตั้งอยู่

    ที่จังหวัดตาก - กิจการผลิตโครงสร้างโลหะส าหรับงานก่อสร้างหรืองานอุตสาหกรรม (Fabrication Industry) หรือ

    การซ่อม Platform ส าหรับอุตสาหกรรมปิโตรเลียม เงินลงทุน 50 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดตาก

    โครงการที่ ได้ รับอนุ มัติ จะลงทุนในพื้ นที่ จั งห วัดชายแดนภาคใต้ จ านวน 8 โครงการ มูลค่าเงินลงทุนรวม ประมาณ 4,160 ล้านบาท ได้แก่ - กิจการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชีวมวล 3 โครงการ เงินลงทุน 3,787 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่อ าเภอจะนะ

    จังหวัดสงขลา 1 โครงการ และอ าเภอเบตง จังหวัดยะลา 2 โครงการ - กิจการผลิตน้ ายางข้น 2 โครงการ เงินลงทุน 70 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่อ าเภอจะนะ จังหวัดสงขลา - กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ เงินลงทุน 144 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดนราธิวาส - กิจการผลิตเชื้อเพลิงชีวมวลอัด เงินลงทุน 119 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่อ าเภอเทพา จังหวัดสงขลา - กิจการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารจากเนื้อปลาบด เงินลงทุน 40 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่อ าเภอจะนะ จังหวัด

    สงขลา

    โครงการที่ได้รับอนุมัติจะลงทุนในพื้นที่ 20 จังหวัดที่มีรายได้ต่อหัวต่ า จ านวน 16 โครงการ มูลค่าเงินลงทุนรวม ประมาณ 6,032 ล้านบาท ได้แก่ - กิจการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชีวมวล เงินลงทุน 860 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดสระแก้ว - กิจการผลิตน้ าผลไม้เข้มข้น เงินลงทุน 240 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดสระแก้ว - กิจการผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ เงินลงทุน 135 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดสกลนคร

  • 16

    - กิจการผลิตก๊าซชีวภาพ เงินลงทุน 50 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดร้อยเอ็ด - กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้า จากเชื้อเพลิงทดแทนจากสิ่งปฏิกูลที่ไม่เป็นของเสียอันตราย เงินลงทุน

    1,330 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดสระแก้ว - กิจการเลี้ยงไก่เนื้อ เงินลงทุน 60 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดบุรีรัมย์ - กิจการเลี้ยงสุกรขุน เงินลงทุน 103 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดศรีสะเกษ - กิจการแปรรูปยางขั้นต้น เงินลงทุน 1,400 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดบึงกาฬ - กิจการผลิต Metal Parts เงินลงทุน 37 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดสระแก้ว - กิจการผลิตยาปราศจากเชื้อ เงินลงทุน 146 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดมหาสารคาม - กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชีวมวล/ไอน้ า เงินลงทุน 1 ,176 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัด

    สระแก้ว - กิจการผลิตข้าวคัดคุณภาพ เงินลงทุน 28 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดสุรินทร์ - กิจการผลิตข้าวคัดคุณภาพ เงินลงทุน 250 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดศรีสะเกษ - กิจการเพาะเลี้ยงไก่เนื้อ เงินลงทุน 65 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดสระแก้ว - กิจการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชน เงินลงทุน 52 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดชัยภูมิ - กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ เงินลงทุน 100 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดสระแก้ว

    การอนุมัติให้การส่งเสริมตามมาตรการพิเศษ

    ในเดือนมกราคม-กันยายน 2560 มีการอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนตามมาตรการพิเศษ ได้แก่ มาตรการส่งเสริมการลงทุนในรูปแบบคลัสเตอร์ มาตรการส่งเสริมการลงทุนท้องถิ่น มาตรการส่งเสริม SMEs และมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ดังนี้

    การอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนตามมาตรการพิเศษในเดือนมกราคม-กันยายน ปี 2560 มาตรการพิเศษ จ านวนโครงการ เงินลงทุน (ล้านบาท)

    มาตรการส่งเสริมการลงทุนในรูปแบบคลัสเตอร์ 61 52,942

    มาตรการส่งเสริมการลงทุนท้องถิ่น 10 183

    มาตรการส่งเสริม SMEs 90 1,885

    มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต 76 4,716

    รวม 239 59,726

    โครงการที่ได้รับอนุมัติจะลงทุนตามมาตรการส่งเสริมการลงทุนรูปแบบคลัสเตอร์ 61 โครงการ เงินลงทุนรวม 52,942 ล้านบาท โครงการที่น่าสนใจ ได้แก่ - กิจการผลิตยางล้อส าหรับยานพาหนะ ชนิดยางเรเดียล เงินลงทุน 12 ,384 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัด

    ระยอง - กิจการผลิตเส้นใยที่มีคุณสมบัติพิเศษ เงินลงทุน 11,157 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดปราจีนบุรี

  • 17

    - กิจการผลิตอุปกรณ์สารกึ่งตัวน า และ/หรือ ชิ้นส่วนส าหรับอุปกรณ์สารกึ่งตัวน า (Sawed Dice และ Wafer Testing/ IC Testing/ Integrated Circuit (IC)) เงินลงทุน 7,318 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา

    - กิจการผลิตยางล้อส าหรับชิ้นส่วนยานพาหนะ/ยางนอกที่ใช้กับอากาศยาน เงินลงทุน 4 ,694 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดระยอง

    - กิจการผลิตรถจักรยานยนต์ (ยกเว้นที่มีความจุกระบอกสูบต่ ากว่า 248 ซีซี) เงินลงทุน 3,539 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดชลบุรี

    - กิจการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าที่อยู่ในระดับเทคโนโลยีขั้นสูง (Advanced Technology) เงินลงทุน 2,522 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดชลบุรี

    - กิจการผลิตชิ้นส่วนและล าตัวอากาศยาน เงินลงทุน 2,286 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดลพบุรี - กิจการผลิตผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ชนิดพิเศษ หรือเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษ (Silicone Fluid Amino

    Modified) เงินลงทุน 2,200 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดระยอง - กิจการผลิตชิ้นส่วนเครื่องโทรศัพท์มือถือ เงินลงทุน 2,000 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดปทุมธานี - กิจการผลิตยางล้อส าหรับยานพาหนะ โครงการผลิตยางหล่อดอกอากาศยาน เงินลงทุน 1,495 ล้านบาท

    ตั้งอยู่ที่จังหวัดชลบุรี - กิจการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ส าหรับยานพาหนะ เงินลงทุน 1,127 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดชลบุรี - กิจการผลิตเครื่องจักร และ/หรืออุปกรณ์อัตโนมัติ (Automation) ที่มีการออกแบบทางวิศวกรรม

    (Automation Line/ Robot/ การซ่อมแซมหุ่นยนต์ที่ผลิตเอง) เงินลงทุน 478 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดระยอง

    - กิจการผลิตล าตัวอากาศยาน ชิ้นส่วนล าตัวอากาศยาน ชิ้นส่วนส าคัญ เงินลงทุน 159 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดนนทบุรี

    - กิจการพัฒนาซอฟต์แวร์และดิจิทัล 39 โครงการ เงินลงทุน 574 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ 32 โครงการ ภูเก็ต 5 โครงการ สมุทรปราการ 1 โครงการและกรุงเทพมหานคร 1 โครงการ

    - กิจการซ่อมอากาศยาน เงินลงทุน 20 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่กรุงเทพมหานคร

    โครงการที่ได้รับอนุมัติจะลงทุนตามมาตรการส่งเสริมการลงทุนท้องถิ่น จ านวน 10 โครงการ เงินลงทุน ประมาณ 183 ล้านบาท ได้แก่

    - กิจการผลิตพืชผักอบแห้งบรรจุภาชนะผนึก เงินลงทุน 18 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ - กิจการผลิตพืชผักอบแห้งบรรจุภาชนะผนึก เงินลงทุน 34 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ - กิจการผลิตพืชผักผลไม้แช่แข็ง เงินลงทุน 48 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดปทุมธานี - กิจการศูนย์จ าหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน เงินลงทุน 1.7 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดชลบุรี - กิจการศูนย์จ าหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน เงินลงทุน 1.5 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดอุทัยธานี - กิจการศูนย์จ าหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน 2 โครงการ เงินลงทุนรวม 5 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่กรุงเทพมหานคร - กิจการศูนย์จ าหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน เงินลงทุน 3 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ - กิจการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชน เงินลงทุน 52 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดชัยภูมิ

  • 18

    - กิจการผลิตผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพร สารสกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติ หรือผลิตภัณฑ์จากสารสกัดจากวัตถุดิบทางธรรมชาติ 20 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่จังหวัดพัทลุง

    โครงการที่ได้รับอนุมัติจะลงทุนตามมาตรการส่งเสริม SMEs จ านวน 90 โครงการ เงินลงทุนรวม ประมาณ 1,885 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นกิจการในหมวดเกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร คิดเป็นร้อยละ 42 ของมูลค่าเงินลงทุน ตามด้วยหมวดเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คิดเป็นร้อยละ 40 และหมวดผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ขนส่ง คิดเป็นร้อยละ 9 ของมูลค่าเงินลงทุน ตามล าดับ

    โครงการที่ได้รับอนุมัติจะลงทุนตามมาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต

    จ านวน 76 โครงการ เงินลงทุนประมาณ 4,716 ล้านบาท ตัวอย่างโครงการที่น่าสนใจ ได้แก่ - การลงทุนเพื่อใช้พลังงานทดแทน 51 โครงการ เงินลงทุน 2,104 ล้านบาท อาทิเช่น . กิจการการผลิตชิ้นส่วนระบบบังคับเลี้ยว (Steering System Parts) เงินลงทุน 22 ล้านบาท

    . กิจการเคลือบผิว เงินลงทุน 25 ล้านบาท

    . กิจการผลิต Mechanical seal และชิ้นส่วนยางส าหรับยานพาหนะ เงินลงทุน 45 ล้านบาท

    . กิจการผลิตเครื่องเรือนหรือชิ้นส่วน เงินลงทุน 5 ล้านบาท

    . กิจการผลิตชิ้นส่วนเครื่องจักร เช่น Gate Valves เงินลงทุน 5 ล้านบาท

    . กิจการผลิตชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า แผงเซลล์แสงอาทิตย์ และผลิตภัณฑ์พลาสติกส าหรับอุตสาหกรรม เงินลงทุน 9 ลา้นบาท

    . กิจการผลิตชิ้นส่วนยานพาหนะ เช่น Fan clutch เงินลงทุน 38 ล้านบาท

    . กิจการผลิตชิ้นส่วนยานพาหนะ เช่น VACUUM PUMP และ CARBURETOR ASSY เงินลงทุน 30 ล้านบาท

    . กิจการผลิตชิ้นส่วนและ/หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ 2 โครงการ เงินลงทุน 73 ล้านบาท

    . กิจการผลิตชิ้นส่วนโลหะและชิ้นส่วนพลาสติกส าหรับงานอุตสาหกรรม เงินลงทุน 40 ล้านบาท

    . กิจการผลิตชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ท่ีใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เงินลงทุน 14 ล้านบาท

    . กิจการผลิตชุดเกียร์ส่งก าลัง (TRANSMISSION) เงินลงทุน 30 ล้านบาท

    . กิจการผลิตตะแกรงเหล็กชุบกัลวาไนซ์ เงินลงทุน 25 ล้านบาท

    . กิจการผลิตบรรจุภัณฑ์จากพลาสติกรีไซเคิล เงินลงทุน 48 ล้านบาท

    . กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี เงินลงทุน 66 ล้านบาท

    . กิจการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกส าหรับอุตสาหกรรม 3 โครงการ เงินลงทุน 109 ล้านบาท

    . กิจการผลิตผลิตภัณฑ์โลหะ รวมทั้งชิ้นส่วนโลหะ 2 โครงการ เงินลงทุน 56 ล้านบาท

    . กิจการผลิตแผ่นซีเมนต์เส้นใย และหลังคาซีเมนต์เส้นใย เงินลงทุน 328 ล้านบาท

    . กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้า หรือ พลังงานไฟฟ้าและไอน้ าจากพลังงานหมุนเวียน เงินลงทุน 37 ล้านบาท

  • 19

    . กิจการผลิตแม่พิมพ์ ชิ้นส่วนแม่พิมพ์ และการซ่อมแซมแม่พิมพ์ที่ผลิตเอง เงินลงทุน 6 ล้านบาท

    . กิจการผลิตยางปูพ้ืน เงินลงทุน 30 ล้านบาท

    . กิจการผลิตรถแทรกเตอร์เพ่ือการเกษตร เงินลงทุน 32 ล้านบาท

    . กิจการผลิตวาล์วเครื่องยนต์ (ENGINE VALVE) เงินลงทุน 41 ล้านบาท

    . กิจการผลิตสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือ เงินลงทุน 3 ล้านบาท

    . กิจการผลิตเส้นใยอะคริลิก เงินลงทุน 17 ล้านบาท

    . กิจการผลิตหรือถนอมอาหาร เครื่องดื่ม วัตถุเจือปนอาหาร เงินลงทุน 19 ล้านบาท

    . กิจการผลิตอัญมณี และเครื่องประดับ หรือชิ้นส่วน เงินลงทุน 14 ล้านบาท

    - การลงทุนเพื่อประหยัดพลังงาน 4 โครงการ เงินลงทุน 129 ล้านบาท อาทิเช่น

    . กิจการผลิตยา เงินลงทุน 8 ล้านบาท

    . กิจการผลิตเส้นด้าย เงินลงทุน 39 ล้านบาท

    - การลงทุนเพื่อประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทดแทน 1 โครงการ เงินลงทุน 10 ล้านบาท . กิจการผลิตเครื่องเรือนหรือชิ้นส่วน

    - การลงทุนเพื่อปรับเปลี่ ยนเครื่ องจักรเพื่ อ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 19 โครงการ เงินลงทุน 2,301 ล้านบาท อาทิเช่น

    . กิจการผลิต Compressor ส าหรับเครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น ตู้แช่ คุณภาพสูง เงินลงทุน 240 ล้านบาท

    . กิจการผลิตเครื่องจักรอุปกรณ์และชิ้นส่วน รถขุดตักตีนตะขาบ เงินลงทุน 139 ล้านบาท

    . กิจการผลิตชิ้นส่วนผงโลหะอัดขึ้นรูป (Sintered Products) เงินลงทุน 7 ล้านบาท

    . กิจการผลิตผลิตภัณฑ์เคมีเพ่ือการอุตสาหกรรม 2 โครงการ เงินลงทุน 313 ล้านบาท

    . กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี (Linear low density polyethylene) เงินลงทุน 66 ล้านบาท

    . กิจการผลิตแผ่นวงจรพิมพ์ (Printed Circuit Board) เงินลงทุน 650 ล้านบาท

    . กิจการผลิตลวดเหล็กและเพลาเหล็กส าหรับงานอุตสาหกรรม เงินลงทุน 100 ล้านบาท

    . กิจการผลิตเส้นด้ายย้อมสี (YARN DYED) เงินลงทุน 145 ล้านบาท

    . กิจการผลิตหรือถนอมอาหาร เครื่องดื่ม วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) หรือสิ่งปรุงแต่ง อาหาร (Food Ingredient) จ านวน 3 โครงการ เงินลงทุน 68 ล้านบาท . กิจการผลิตอาหารทะเลบรรจุภาชนะผนึก เงินลงทุน 17 ล้านบาท

  • 20

    - การลงทุนเพื่อการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการวิจัยพัฒนาและออกแบบทางวิศวกรรมเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ 1 โครงการ เงินลงทุน 172 ล้านบาท

    . กิจการผลิตผลิตภัณฑ์เคมีเพ่ือการอุตสาหกรรม