26

แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

แบบเสนอโครงการวิจัย (research project) ประกอบการเสนอของบประมาณ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

------------------------------------

ชื่อโครงการวิจัย (ภาษาไทย) กลไกการออกฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกต่อเซลล์ไขมันชนิดสามทีสามแอลหนึ่งในสภาวะดื้ออินซูลิน

(ภาษาอังกฤษ) Mechanism of actions of Neferine and its’ analogs in insulin resistant 3T3-L1 adipocytes ชื่อแผนงานวิจัย (ภาษาไทย) (กรณีเป็นโครงการวิจัยภายใต้แผนงานวิจัย) ....................................................... (ภาษาอังกฤษ) ............................................................................................................. ..........

ส่วน ก : ลักษณะโครงการวิจัย โครงการวิจัยใหม่ โครงการวิจัยต่อเนื่อง

ระยะเวลา...........ป.ี..........เดือน ปีนี้เป็นปีท่ี....................... 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 8 : การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม เป้าประสงค์ -ไม่ต้องระบุ-

กลยุทธ์ -ไม่ต้องระบุ- 2. นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 3 : ส่งเสริมกลไกและกิจกรรมการน ากระบวนการวิจัย ผลงานวิจัย องค์ความรู้

นวัตกรรม และเทคโนโลยีจากงานวิจัยไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม โดยความร่วมมือของภาคส่วนต่าง ๆ กลยุทธ์ 3.1 ส่งเสริมการจัดการความรู้และสร้างองค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีจากงานวิจัย แผนวิจัย -ไม่ต้องระบุ- 3. ยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติรายประเด็น

ยุทธศาสตร์การวิจัยด้านการพัฒนาสมุนไพร 4. ยุทธศาสตร์ชาติ

การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 5. นโยบาย/เป้าหมายของรัฐบาล

ระเบียบวาระแห่งชาติ ไม่สอดคล้อง โครงการท้าทายไทย

ไม่สอดคล้อง นโยบายรัฐบาล 8. การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรม

6. ยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน การวิจัยตามความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของนักวิจัย

เอกสารนี้สร้างจากระบบ NRMS เมื่อวันที่ 21/9/2559 เวลา 13:36 น. หน้าที่ 1 จาก 15 หน้า

เงินงบประมาณแผ่นดิน : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2561 โครงการวิจัย

618873 กลไกการออกฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกต่อเซลล์ไขมันชนิดสามทีสามแอลหนึ่งในสภาวะดื้ออินซ...

Page 2: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

การตรวจสอบทรัพย์สินทางปัญญาหรือสิทธิบัตรที่เกี่ยวข้อง ไม่มีการตรวจสอบทรัพย์สินทางปัญญา และ/หรือ สิทธิบัตรที่เกี่ยวข้อง ตรวจสอบทรัพย์สินทางปัญญาแล้ว ไม่มีทรัพย์สินทางปัญญา และ/หรือ สิทธิบัตรที่เกี่ยวข้อง ตรวจสอบทรัพย์สินทางปัญญาแล้ว มีทรัพย์สินทางปัญญา และ/หรือ สิทธิบัตรที่เก่ียวข้อง หน่วยงานร่วมลงทุน ร่วมวิจัย รับจ้างวิจัย หรือ Matching fund ชื่อหน่วยงาน/บริษัท ............................................................................................................... .................... ที่อยู่ ............................................................................................................... .................... เบอร์โทรศัพท ์ ............................................................................... .................................................... ชื่อผู้ประสานงาน ............................................................................................................... .................... เบอร์โทรศัพท์ผู้ประสานงาน ............................................................................................................... .................... เบอร์โทรสารผู้ประสานงาน ........................................................................ ........................................................... อีเมลผู้ประสานงาน ............................................................................................................... .................... การเสนอข้อเสนอหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของงานวิจัยนี้ต่อแหล่งทุนอ่ืน หรือเป็นการวิจัยต่อยอดจากโครงการวิจัยอ่ืน

มี ไม่มี หนว่ยงาน/สถาบันที่ยื่น ............................................................................................................... .................... ชื่อโครงการ ....................................................................... ............................................................ ระบุความแตกต่างจากโครงการนี้ ............................................................................................................... .................... สถานะการพิจารณา ไม่มีการพิจารณา โครงการได้รับอนุมัติแล้ว สัดส่วนทุนที่ได้รับ......................... % โครงการอยู่ระหว่างการพิจารณา มาตรฐานการวิจัย

มีการใช้สัตว์ทดลอง มีการวิจัยในมนุษย์ มีการวิจัยที่เก่ียวข้องกับความปลอดภัยทางชีวภาพ มีการใช้ห้องปฎิบัติการที่เก่ียวกับสารเคมี

ส่วน ข : องค์ประกอบในการจัดท าโครงการวิจัย 1. ผู้รับผิดชอบ

ค าน าหน้า ชื่อ-สกุล ต าแหน่งในโครงการ สัดส่วนการมี

ส่วนร่วม เวลาที่ท าวิจัย

(ชั่วโมง/สัปดาห)์

นาย อ านาจ อ่อนสอาด หัวหน้าโครงการ 80 20 ผศ. ชัยณรงค ์โตจรัส ที่ปรึกษาโครงการ 20 20

2. ประเภทการวิจัย การวิจัยพื้นฐาน สาขาการวิจัยหลัก OECD 3. วิทยาศาสตร์การแพทย์และสุขภาพ สาขาการวิจัยย่อย OECD 3.3 วิทยาศาสตร์การแพทย์และสุขภาพ : เทคโนโลยีเภสัชและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ด้านการวิจัย สุขภาพ

เอกสารนี้สร้างจากระบบ NRMS เมื่อวันที่ 21/9/2559 เวลา 13:36 น. หน้าที่ 2 จาก 15 หน้า

เงินงบประมาณแผ่นดิน : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2561 โครงการวิจัย

618873 กลไกการออกฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกต่อเซลล์ไขมันชนิดสามทีสามแอลหนึ่งในสภาวะดื้ออินซ...

Page 3: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

3. สาขาวิชาการ สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ 4. ค าส าคัญ (keyword) ค าส าคัญ (TH) เนเฟอรีน, เซลล์ไขมนั, เบาหวาน, สภาวะดื้ออินซูลิน, แอนนาลอกของเนเฟอรีน

ค าส าคัญ (EN) Neferine, Adipocyte, Diabetes mellitus, Insulin resistance, Neferine analogs 5. ความส าคัญและท่ีมาของปัญหาที่ท าการวิจัย เบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อที่มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนทุกปี จากรายงานของสหพันธ์เบาหวานโลกในปี พ.ศ. 2558 พบว่า ความชุกของโรคเบาหวานในปัจจุบันสามารถพบผู้เที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน 1 คนจากจ านวนผู้ใหญ่ 11 คน และคาดการณ์ว่า อีก 25 ปีข้างหน้าจะมีผู้ที่เป็นโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นเป็น 1 คนจาก 10 คน และผู้ป่วยโรคเบาหวานจากทั่วโลกจะมีอัตราการป่วยด้วยโรคนี้จากจ านวน 415 ล้านคน เป็น 642 ล้านคนภายในปี พ.ศ. 2583 (1) ส าหรับประเทศไทยจากรายงานสถิติกระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค พ.ศ.2550 – 2557 อัตราการตายด้วยโรคเบาหวานพบว่ามีอัตราการตายเพ่ิมสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในแต่ละปี จากข้อมูลทางสถิติของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าในปี พ.ศ. 2557 ประชากรไทยเสียชีวิตด้วยโรคเบาหวาน 670,664 คน หรือคิดเป็น 1,032.50 คนต่อประชากร 100,000 คน (2) จึงก่อให้เกิดปัญหาที่เรื้อรังของกระบวนการจัดการทางสาธารณสุขทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชนและระดับประเทศ อัตราการเกิดโรคเบาหวานที่เพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่องนี้ก่อให้เกิดผลกระทบที่ตามมาทั้งในเรื่องของงบประมาณ เศรษฐกิจและการจัดการทรัพยากรต่างๆมากมายในการบริหารจัดการเพ่ือดูแลผู้ป่วยเบาหวาน โรคเบาหวานเป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของระบบเมแทบอลิซึมของงร่างกายก่อให้เกิดสภาวะน้ าตาลในเลือดสูง (hyperglycemia) ส่งผลให้เกิดการท าลายหรือเสื่อมสภาพทั้งทางโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ รวมไปถึงการเกิดสภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังที่ส าคัญได้แก ่ตา ไต ระบบประสาทส่วนปลาย รวมถึงหัวใจและหลอดเลือด (3-6) ด้วยเช่นกัน จากการจัดจ าแนกเบาหวานอาจแบ่งได้เป็นประเภทใหญ่ๆ 2 ชนิดคือ เบาหวานชนิดที่ 1 ซ่ึงเกิดจากความบกพร่องของเบต้าเซลล์ที่บริเวณ islets of Langerhans เป็นบริเวณท่ีมีการสร้างฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) ซ่ึงเป็นฮอร์โมนที่ส าคัญในการควบคุมระดับน้ าตาลในเลือด โดยเบาหวานชนิดที่ 1 พบได้ไม่มากนักประมาณ 5-10 เปอร์เซ็นต์ และเบาหวานชนิดที่ 2 เกิดจากความผิดปกติของเนื้อเยื่อเป้าหมายไม่ตอบสนองต่อฮอร์โมนอินซูลินหรือดื้อต่ออินซูลิน (Insulin resistance) พบได้มากท่ีสุดประมาณ 90-95 เปอร์เซ็นต์ มักเกิดในผู้ใหญ่ที่มีน้ าหนักเกินหรือมีสภาวะอ้วน (Obesity) (7) ซึ่งจัดเป็นหนึ่งในหลายๆสภาวะที่ก่อให้เกิดทางกลุ่มอาการความผิดปกติทางเมแทบอลิซึม (metabolic syndrome) และแนวโน้มการมีสภาวะอ้วนหรือน้ าหนักเกินมาตรฐานเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่องจากทั่วโลก นอกจากนี้ยังเป็นที่ทราบกันดีว่าสภาวะอ้วนหรือการมีน้ าหนักเกินมาตรฐานนี้เป็นปัจจัยเสี่ยงหลักของการเกิดสภาวะดื้อต่อฮอร์โมนอินซูลิน (insulin resistance) และจะพัฒนาไปสู่โรคเบาหวานชนิดที ่2 (Type 2 diabetes) ซึ่งจะส่งผลกระทบและปัญหาต่อสุขภาพมากมาย รวมไปถึงอาการแทรกซ้อนต่างๆ เช่น โรคทางระบบหัวใจร่วมหลอดเลือด (Cardiovascular diseases) โรคไขมันพอกตับท่ีไม่เก่ียวข้องกับแอลกอฮอร์ (non-alcohol fatty liver disease) ความผิดปกติของเรตินาหรือจอประสาทตา (retinopathy) ความผิดปกติของหลอดเลือด ความผิดปกติของไต ซึ่งจะน าไปสู่ปัญหาด้านสุขภาพและเศรษฐกิจในระดับระเทศรวมถึงปัญหาการจัดสรรทรัพยากรมนุษย์ต่างๆตามมาอีกมากมาย โดยปกติแล้วเนื้อเยื่อไขมันจะประกอบไปด้วยเซลล์หลายชนิดทั้ง preadipocytes adipocytes macrophages endothelium และ fibroblasts โดยที่ adipocytes ท าหน้าที่ในการเก็บพลังส ารองในรูปไขมันหรือไตรกลีเซอไรด์ โดยเซลล์ preadipocytes จะถูกกระตุ้นด้วย adipogenic transcription factors ต่างๆ เช่น CCAAT/enhancer binding protein family (C/EBPs) และ peroxisome proliferator-activated receptors (PPARs) (8) ซึ่งท าหน้าที่ในการกระตุ้นการสังเคราะห์ไขมันและเก็บสะสมไว้ในเซลล์เป็นพลังงานส ารอง โดยจะท าหน้าที่ร่วมกับวิถีการส่งสัญญาณของฮอร์โมนอินซูลิน (insulin signaling) ที่จะมีผลต่อการขนส่งกลูโคสเข้าเซลล์จากนั้นจะถูกเปลี่ยนเป็นกลีเซอรอลและน ามาสังเคราะห์เป็นไตรกลีเซอไรด์สะสมไว้ในเซลล์ไขมันดังที่ได้กล่าวมาแล้วนี้

เอกสารนี้สร้างจากระบบ NRMS เมื่อวันที่ 21/9/2559 เวลา 13:36 น. หน้าที่ 3 จาก 15 หน้า

เงินงบประมาณแผ่นดิน : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2561 โครงการวิจัย

618873 กลไกการออกฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกต่อเซลล์ไขมันชนิดสามทีสามแอลหนึ่งในสภาวะดื้ออินซ...

Page 4: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

ซึ่งไตรกลีเซอไรด์ที่ได้นี้จะถูกสะลายเป็นกรดไขมันเพ่ือน ามาใช้เป็นพลังงานแทนเมื่อพลังงาน (ATP) จากกลูโคสไม่เพียงพอ เช่น การออกก าลังกายอย่างต่อเนื่อง ในสภาวะดื้อต่ออินซูลิน (insulin resistance) เป็นสภาวะที่ร่างกายไม่สามารถตอบสนองต่อฮอร์โมนอินซูลิน ในเซลล์ไขมันก็ไม่มีการตอบสนองต่ออินซูลินเช่นเดียวกับเซลล์อื่นๆ ซ่ึงในสภาวะปกติ insulin signaling จะส่งสัญญาณผ่าน Akt ไปเคลื่อนย้าย GluT4 มาท่ีผนังเซลล์เพื่อน าเข้ากลูโคสมาในเซลล์ไขมัน (9) เมื่อมีสภาวะดื้อต่ออินซูลินจึงท าให้ไม่สามารถน ากลูโคสเข้ามาได้ ดังนั้นไขมันสะสมดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นจะลดลง ซึ่งหากไม่สามารถน ากลูโคสมาเก็บสะสมในรูปไตรกลีเซอไรด์ได้จะท าให้ระดับน้ าตาลในเลือดผู้ที่มีสภาวะดื้อต่ออินซูลินสูงขึ้น ถึงแม้เซลล์ไขมันจะไม่ได้ควบคุมระดับน้ าตาลกลูโคสโดยตรงแต่เป็นแหล่งเก็บพลังงานส ารองแหล่งใหญ่ของร่างกาย ซึ่งอาจจะจัดได้ว่าเป็นการควบคุมระดับของกลูโคสทางอ้อมได้เช่นกัน ผู้ป่วยที่มีสภาวะอ้วนหรือเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 จะพบว่ามีระดับน้ าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ(Hyperglycemia) เนื่องจากเซลล์ดื้อต่อการตอบสนองต่อฮอร์โมนอินซูลินจึงไม่สามารถน าน้ าตาลเข้าสู่เซลล์ได้ ก่อให้เกิดการแทรกซ้อนมากมายดังที่ได้กล่าวมาข้างต้น ส่งผลให้มีสภาวะเสี่ยงต่อการเสียชีวิตเพ่ิม ดังนั้นผู้ป่วยเหล่านี้จึงจ าเป็นต้องได้รับการรักษาเพ่ือควบคุมระดับน้ าตาลในเลือดให้เป็นปกติ ไม่ว่าจะเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประจ าวันหรือการออกก าลังกาย (10) นอกจากนี้ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 นี้ มากกว่า 40 เปอร์เซ็นต์ต้องรับยาฉีดอินซูลินและ/หรือยากินเพ่ือลดระดับน้ าตาลในเลือดร่วมด้วย โดยการใช้ยาเหล่านี้เป็นเวลานานถึงแม้จะลดระดับน้ าตาลในเลือดได้แต่ก็ส่งผลเสียต่อร่างกายเช่นกัน โดยอาจพบอาการที่ไม่พึงประสงค์ (adverse effects) เช่น ระดับน้ าตาลในเลือดต่ า เกิดพิษที่ตับ เป็นต้น ยาทีใช้ในการรักษาโรคเบาหวานเหล่านี้จ าเป็นต้องน าเข้ามาจากต่างประเทศเป็นจ านวนมากท าให้ประเทศไทยต้องเสียดุลการค้าและมีเงินตราออกนอกประเทศเป็นจ านวนมากในแต่ละปี แต่อย่างไรก็ตามประเทศไทยมีหลักฐานแสดงต าหรับยาหรือผลิตภัณฑ์ธรรมชาติซึ่งมีฤทธิ์ในการลดระดับน้ าตาลในเลือดจ านวนมาก ซึ่งถือเป็นการรักษาแบบทางเลือก (alternative therapy) อีกทางหนึ่ง โดยคาดการณ์ว่าผลิตภัณฑ์ที่มาจากธรรมชาติต่างๆจะลดปัจจัยอันตรายจากอาการที่ไม่พึงประสงค์ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้น นอกจากนี้พืชสมุนไพรเหล่านี้พบได้ทั่วไปและหาซื้อได้ง่ายเพราะจัดเป็นพืชสมุนไพรประจ าครัวเรือน เช่น มะระขี้นก กระเทียม บอระเพ็ด เป็นต้น ที่มีข้อมูลทางการแพทย์พ้ืนบ้านหรือแพทย์แผนไทยว่าลดระดับน้ าตาลในเลือดได้ จึงเป็นอีกหนทางที่จะเพ่ิมมูลค่าของพืชสมุนไพรไทยและเป็นการส่งเสริมพัฒนาสุขภาพของคนไทยอีกด้วย นอกจากนี้หากการศึกษาสมุนไพรเหล่านี้ได้ถึงคุณสมบัติทางเคมีของสารส าคัญ (active compounds) และกลไกการออกฤทธิ์ (mechanism of actions) ของสารส าคัญเหล่านั้นจะท าให้เกิดประโยชน์ต่อการรักษาสูงสุดและลดโทษที่เกิดจากพิษของสมุนไพรเหล่านั้นต่อผู้ใช้หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่าสามารถลดผลข้างเคียง (side effects) จากการใช้พืชสมุนไพรเหล่านี้ได้อีกด้วย (11-13) ดีบัว (lotus seed embryo) พบที่บริเวณแกนกลางของเม็ดบัว ดีบัวมีรูปร่างคล้ายรูปสาก ความยาวประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 มิลลิเมตร พบใบอ่อน 2 ใบม้วนเป็นรูปคล้ายลูกศร (ใบหนึ่งมีขนาดสั้น อีกใบหนึ่งยาว) สีเขียวเข้มหรือสีเขียวอมเหลือง ต้นอ่อนตรงขนาดเล็กมากอยู่ระหว่างใบอ่อนทั้งสอง ดีบัวไม่มีกลิ่น มีรสขมจัด เป็นพืชในตระกูล Nelumbo สามารถพบได้ทั่วไปในทวีปเอเชีย ซึ่งในประเทศไทยพบว่าบัวถูกน ามาใช้เป็นเครื่องสมุนไพรไทยในต าหรับยาต่างๆมากมายจาก เช่น กลีบและเกสรของดอกบัว เพ่ือใช้รักษาโรคต่างๆ สารส าคัญที่พบจากพืชในกลุ่มนี้มีหลายชนิด เช่น สารกลุ่ม alkaloids flavonoids หรือ triterpenes (14) เป็นต้น สารกลุ่ม alkaloid ที่พบในพืชตระกูลบัวได้มากคือสารที่มีชื่อว่า Neferine (bisbenzylisoquinoline alkaloid) ซ่ึงพบได้ในดีบัวเป็นหลัก ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของดีบัวมีรายงานอยู่อย่างกว้างขวาง เช่น ต้านอนุมูลอิสระ (antioxidant activity) (15) ต้านการอักเสบ (anti-inflammation) (16) ต้านการเกิดมะเร็ง (anti-cancer) (17) ต้านการเกิดสภาวะหลอดเลือดแดงเข็ง (18) เป็นต้น การศึกษาการออกฤทธิ์ของ neferine ต่อการลดระดับน้ าตาลในเลือดยังมีการศึกษาเพียงเล็กน้อย เช่น Neferine ป้องกันเยื่อบุผนังหลอดเลือดในสภาวะน้ าตาลในเลือดสูงผ่านทางวิถึ ROS/Akt/NF-кB (19) ฤทธิ์ต้านการแสดงออกของยีน chemokine (C-C motif) ligand 5 (CCL5 or RANTES) ใน

เอกสารนี้สร้างจากระบบ NRMS เมื่อวันที่ 21/9/2559 เวลา 13:36 น. หน้าที่ 4 จาก 15 หน้า

เงินงบประมาณแผ่นดิน : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2561 โครงการวิจัย

618873 กลไกการออกฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกต่อเซลล์ไขมันชนิดสามทีสามแอลหนึ่งในสภาวะดื้ออินซ...

Page 5: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 (20) และมีรายงานว่า neferine เพ่ิมความไวต่อการกระตุ้นด้วยฮอร์โมนอินซูลินในหนูขาวที่มีสภาวะดื้อต่ออินซูลิน (21) แต่อย่างไรก็ตามการศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและกลไกการออกฤทธิ์ของ neferine ในโรคเบาหวานยังมีรายงานการศึกษาเหล่านี้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเซลล์ไขมันซึ่งมีผลต่อการรักษาดุลพลังงานส ารองของร่างกายในรูปไตรกลีเซอไรด์ซึ่งเกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกับวิถีการน ากลูโคสเข้าสู่เซลล์ไขมัน และรวมถึงกลไกต่างๆในการท างานของ neferine ในเซลล์ไขมันที่มีสภาวะดื้อต่ออินซูลิน นอกจากนี้คณะผู้วิจัยยังหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแอนนาลอกของเนเฟอรีนจะสามารถออกฤทธิ์ต่อกลไกต่างๆที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 หรือผู้ที่มีสภาวะดื้อต่ออินซูลินได้ดียิ่งข้ึนไป ดังนั้นจึงเป็นที่มาของการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ 6. วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย

1. เพ่ือศึกษาฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกในเชิงกลไกการท างาน (mechanism of actions) ในเซลล์ไขมัน 3T3-L1 ในสภาวะดื้อต่ออินซูลิน

2. เพ่ือศึกษาฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกในการน ากลูโคสเข้าสู่เซลล์ไขมัน 3T3-L1 ในสภาวะดื้ออินซูลิน 3. เพ่ือศึกษาฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกในการหลั่ง adiponectin ของเซลล์ไขมัน 3L3-T1 4. เพ่ือศกึษาฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกต่อการสะสมไขมัน (lipid droplets) และไตรกลีเซอไรด์ใน

เซลล์ไขมัน 3T3-L1 ในสภาวะดื้ออินซูลิน

7. ขอบเขตของโครงการวิจัย การศึกษากลไกการออกฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกของเนเฟอรีนนี้ เป็นการศึกษาสารส าคัญจากดีบัวที่มีองค์ประกอบของสารส าคัญหลักในกลุ่มอัลคาลอยด์คือ เนเฟอรีนและแอนนาลอกซึ่งได้รับความอนุเคราะห์จาก ศ.ดร. อภิชาต สุขส าราญ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค าแหง สกัดและควบคุมคุณภาพของสารส าคัญรวมไปถึงการสร้างแอนนาลอกของเนเฟอรีนด้วย ซึ่งการศึกษาครั้งนี้จะท าการศึกษาในหลอดทดลอง (in vitro model) ในเซลล์ไขมันเริ่มต้นชนิด 3T3-L1 แล้วเซลล์ไขมันจะถูกเปลี่ยนแปลงพัฒนาเป็นเซลล์ไขมันเต็มวัน (mature adipocytes) โดยถูกเหนี่ยวน าให้มีสภาวะดื้อต่ออินซูลินด้วย MDI hormone mixture (กล่าวไว้ในขั้นตอนการทดลอง) แล้วท าการศึกษาผลของเนเฟอรีนและแอนนาลอกของเนเฟอรีนถึงคุณสมบัติในการสร้างกลุ่มไขมัน การสร้างไตรกลีเซอไรด์ การน ากลูโคสเข้าสู่เซลล์ การหลั่ง adiponectin และการศึกษาการกลไกการท างานผ่านโปรตีนต่างๆ คือ PPARγ C/EBPα และ GluT 4 นอกจากนี้ศึกษาระดับโปรตีนฟอสโฟรีเลชันของ Akt และ AMPK อีกด้วย 8. ทฤษฎี สมมุติฐาน (ถ้ามี) และกรอบแนวคิดของโครงการวิจัย โรคอ้วนก่อให้เกิดสภาวะการดื้อต่ออินซูลินและก่อนให้เกิดโรคเบาหวานและกลุ่มอาการความผิดปกติทางเมแทบอลิซึมตามมาอีกมากมาย ทั้งยังก่อให้เกิดสภาวะแทรกซ้อนของโรคที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วยเบาหวานอย่างมาก โดยการศึกษาครั้งนี้คณะผู้วิจัยจึงเห็นคุณค่าการใช้ประโยชน์จากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติเพ่ือเสริมสร้างมูลค่าเพ่ิมและลดข้อเสียของการใช้ยาต่างๆ โดยคาดหวังว่าเนเฟอรีนและแอนนาลอกของเนเฟอรีนจะสามารถออกฤทธิ์ในการกระตุ้นการน าเข้ากลูโคส และเก็บสะสมในรูปไตรกลีเซอไรด์เป็นพลังงานส ารอง โดยการท างานผ่านกลไกต่างๆในเซลล์ไขมันชนิด 3T3-L1 ในวิถ ึAkt และ AMPK รวมถึง PPARγ C/EBPα และGluT 4 ด้วยเช่นกัน เพ่ือก่อให้เกิดประโยชน์ในการรักษาผู้ป่วยเบาหวานได้ต่อไป 9. การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ (information) ที่เกี่ยวข้อง สภาวะอ้วนหรือสภาวะน้ าหนักเกินมาตรฐานนั้นจัดเป็นลักษณะของผู้มี่มีมวลไขมันมากว่าปกติ และมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นทุกปีทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยด้วยเช่นกัน จากรายงานของสหพันธ์เบาหวานโลกปี 2558 พบผู้ป่วย

เอกสารนี้สร้างจากระบบ NRMS เมื่อวันที่ 21/9/2559 เวลา 13:36 น. หน้าที่ 5 จาก 15 หน้า

เงินงบประมาณแผ่นดิน : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2561 โครงการวิจัย

618873 กลไกการออกฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกต่อเซลล์ไขมันชนิดสามทีสามแอลหนึ่งในสภาวะดื้ออินซ...

Page 6: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

เบาหวาน 415 ล้านคน (1 ใน 11 คน เป็นเบาหวาน โดยไม่รู้ตัว ทุก 6วินาที มีคนตายจากเบาหวาน) และคาดการณ์ว่าอีก 25 ปีข้างหน้า (2583) จะมีผู้ป่วยเบาหวานเพิ่มขึ้นเป็น 642 ล้านคน (1) ส าหรับสถิติโรคเบาหวานในไทยมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนทุกปีเช่นเดียวกับสถิติการเกิดโรคเบาหวานของโลก โดยส านักนโยบายและยุทธศาสตร์และส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขส ารวจรวบรวมข้อมูลและสรุปรายงานว่าในปี 2557 มีผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวานถึง 670,664 คน (คิดเป็น 1,032.50 ต่อประชากร 100,000 คน) (2) สภาวะอ้วนเป็นปัจจัยหลักท่ีก่อให้เกิดสภาวะดื้อต่ออินซูลิน (insulin resistance) ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่ควบคุมระดับน้ าตาลในเลือดและน าไปสู่การเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดโรคแทรกซ้อน ต่างๆ เช่น ตาบอด ไตวาย หัวใจหยุดเต้น ปลายประสาทเสื่อมสภาพ เป็นต้น และก่อให้เกิดกลุ่มอาการที่ผิดปกติทางเมแทบอลิซึม (metabolic syndrome) (22) เป็นที่ทราบกันดีว่าบทบาทหน้าที่หลักของฮอร์โมนอินซูลินเป็นการส่งสัญญาณแบบ anabolic endocrine signal โดยมีผลต่อกระบวนการเมแทบอลิซึมต่างๆของ คาร์โบไฮเดรต ลิปิด และโปรตีน โดยที่อินซูลินจะไปเพิ่มการน ากลูโคสเข้าสู่เซลล์ กระตุ้นการสร้างไกลโคเจนที่ตับและกล้ามเนื้อ เก็บสะสมไตรกลีเซอไรด์ในเนื้อเยื่อไขมัน ซึ่งเกี่ยวข้องกับการรักษาสมดุลพลังงานของร่างกายทั้งสิ้น เนื้อเยื่อไขมัน (adipose tissue) เป็นเนื้อเยื่อหลักในการเก็บสะสมพลังงานส ารอง โดยในคนปกติจะมีเนื้อเยื่อไขมัน 20 เปอร์เซ็นต์ในผู้ชายและ 30 เปอร์เซ็นต์ในผู้หญิง จากมวลกายทั้งหมดและสามารถขยายได้ถึง 50 เปอร์เซ็นต์จากมวลกายทั้งหมดในคนอ้วน ซึ่งภายในเนื้อเยื่อไขมันจะประกอบไปด้วยเซลล์หลายๆชนิด เช่น adipocytes เป็นเซลล์หลักในการเก็บพลังงานส ารองในรูปไตรกลีเซอไรด์ preadipocytes macrophages endothelium และ fibroblasts เป็นต้น ซึ่งฮอร์โมนอินซูลินจะกระตุ้น endothelial lipoprotein lipase เพ่ือย่อยกรดไขมัน (fatty acid, FA) ที่มาในรูปไลโปโปรตีนให้อยู่ในรูปอิสระและน าเข้าสู่เซลล์ไขมันผ่านทางโปรตีนขนส่งกรดไขมัน (FA transporters) และจะถูก re-esterified โดยใช้ glycerol 3-phosphate ที่ได้จากกลูโคส โดยการถูกขนส่งเข้าสู่เซลล์ไขมันด้วยการกระตุ้นของฮอร์โมนอินซูลินส่งสัญญาณ (signal transduction) เพ่ือเคลื่อนย้ายโปรตีนขนส่งกลูโคสชนิดที่ 4 (GluT4) มาท่ีผนังเซลล์ไขมัน น าไปสังเคราะห์เป็นไตรกลีเซอไรด์และเก็บไว้ในหยดไขมัน (lipid droplet) (23) ซึ่งใสสภาวะที่ป่วยเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 หรือสภาวะดื้อต่ออินซูลิน จะท าให้การเก็บสะสมพลังงานส ารองในรูปไขมันน้อยลงเนื่องจากการสังเคราะห์กลีเซอรอลที่ได้จากการน าเข้ากลูโคสของอินซูลินลดลงไปในเซลล์ไขมัน ส่งผลทางอ้อมให้ระดับน้ าตาลในเลือดสูงขึ้น ซึ่งหากมีสารใดที่สามารถเพ่ิมความไวต่ออินซูลินในเซลล์ไขมันได้จะก่อให้เกิดประโยชน์ทางอ้อมต่อระดับน้ าตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานได้เช่นกัน (24) preadipocytes และ adipocytes เป็นอวัยวะเป้าหมายหลักของฮอร์โมนอินซูลินในการควบคุมการสังเคราะห์ไตรกลีเซอไรด์ วิถึการส่งสัญญาณของ insulin-Akt/PKB (protein kinase B) (25) และ AMP-activated protein kinase (AMPK) (26) ซ่ึงเป็นตัวกลางในการส่งสัญญาณของอินซูลินในเซลล์ไขมัน โดยการกระตุ้นของอินซูลินและ AMPK จะส่งสัญญาณร่วมกันเพ่ือกระตุ้นให้ GluT 4 ย้ายต าแหน่งมาที่ผนังเซลล์ไขมันและน ากลูโคสเข้าสู่เซลล์ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงเซลล์จาก preadipocytes มาเป็น mature adipocytes จะเกิดขึ้นพร้อมๆกับการสะสมไขมันหรือพลังงานส ารองภายในเซลล์ซึ่งถือว่าเป็นสัญญาณว่ามีการสร้างเซลล์ไขมันเกิดขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงพัฒนาจาก preadipocytes ไปเป็น adipocytes นั้นเกิดจาก adipogenic transcription factor คือ peroxisome proliferator-activated receptors (PPARs) และ CCAAT/enhancer-binding proteins (C/EBPs) ซึ่งการกระตุ้น PPARγ และ C/EBPα จะส่งเสริมทั้งกระบวนการสร้างเซลล์ไขมัน (adipogenesis) และเพ่ิมความไวต่ออินซูลินด้วยเช่นกัน (27) นอกจากนี้ Adipnectin จัดเป็นสารกลุ่ม adipokine ที่หลังออกมาจากเซลล์ไขมัน โดยระดับของ adiponectin ที่สูงจะสามารถลดกระบวนการก่อให้เกิดโรคอ้วนและเบาหวานชนิดที่ 2 ได ้ โดยที ่ adiponectin จะท างานร่วมกับ AMPK เพ่ือไปกระตุ้นให้มีการน ากลูโคสเข้าสู่เซลล์มากข้ึน นอกจากนี้ยังเพ่ิมกระบวนการออกซิเดชันของกรดไขมันอีกด้วยรวมไปถึงเพ่ิมความไวต่อฮอร์โมนอินซูลินในเซลล์ไขมันได้เช่นกัน (28-30) เพ่ือศึกษากลไกการท างานต่างๆภายในเซลล์ไขมันดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นนั้น พบว่ามีการศึกษาต่างๆเกิดข้ึนมากมายโดยการใช้สารสกัดจากพืชสมุนไพรในการกระตุ้นผ่านกลไกต่างๆของเซลล์ไขมันที่มีสภาวะดื้อต่อ

เอกสารนี้สร้างจากระบบ NRMS เมื่อวันที่ 21/9/2559 เวลา 13:36 น. หน้าที่ 6 จาก 15 หน้า

เงินงบประมาณแผ่นดิน : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2561 โครงการวิจัย

618873 กลไกการออกฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกต่อเซลล์ไขมันชนิดสามทีสามแอลหนึ่งในสภาวะดื้ออินซ...

Page 7: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

อินซูลิน เช่น Kazinol B จาก Brouussonetia kazinoki ซึ่งพบว่าสามารถกระตุ้นความไวต่อการตอบสนองของอินซูลินได้ผ่านทางวิถี Akt และ AMPK (31) β-arsarone เป็นน้ ามันหอมระเหยที่ได้จาก Acorus calamus (32) เป็นต้น ซึ่งส่งผลเพ่ิมการน ากลูโคสเข้าสู่เซลล์หรือกล่าวอีกนัยคือสามารถลดระดับน้ าตาลในเลือดได้เช่นกัน สาเหตุที่มีการศึกษากลไกต่างๆในการลดระดับน้ าตาลในเลือดโดยใช้พืชสมุนไพรหรือผลิตภัณฑ์ที่ได้จากธรรมชาติ เนื่องจากการใช้ยามีผลข้างเคียงเกิดขึ้น ดังนั้นการศึกษาโดยใช้พืชสมุนไพรจากธรรมชาติอาจลดผลกระทบในการเกิดอาการที่ไม่พึงประสงค์ต่างๆลงและหากการศึกษานี้สามารถศึกษาถึงสารส าคัญและกลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสารเหล่านั้นจะก่อให้เกิดประโยชน์และลดผลเสียต่างๆต่อร่างกายผู้ที่มีสภาะวะดื้ออินซูลินหรือผู้ที่ป่วยเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ได้อีกด้วย บัว (Nelumbo nucifera) เป็นที่ทราบกันดีเกี่ยวกับการน ามารักษาโรคต่างๆตามต าหรับยาแผนโบราณ Neferine ซึ่งเป็นสารส าคัญในกลุ่มอัลคาลอยด์ที่ได้จากการสกัดจากดีบัว (33, 34) ซึ่งถูกน ามาศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาต่างๆมากมายไม่ว่าจะเป็น ฤทธิ์ต้านการอักเสบ ฤทธิ์ต้านการเกิดมะเร็ง ฤทธิ์ต้านการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด ในป ี2014 Jeong Soon You และคณะได้ศึกษาสารสกัดเอทานอลจากรากบัวในเซลล์ไขมันเริ่มต้นของมนุษย์พบว่ามีฤทธิ์ ต้านการสร้างเซลล์ไขมัน (anii-adipogenesis) ควบคู่ไปกับการศึกษาในหนูที่ได้รับอาหารไขมันสูงซึ่งพบว่าสามารถต้านสภาวะอ้วน (anti-obesity) และต้านอนุมูลอิสระ (anti-oxidant) (35) ได ้ แต่อย่างไรก็ตามการศึกษา neferine เกี่ยวกับโรคเบาหวานหรือสภาวะดื้อต่ออินซูลินของเซลล์ไขมันมีเพียงเล็กน้อยเท่านั้นเช่น การลดระดับน้ าตาลในเลือด Guoying และคณะได้รายงานว่า neferine ยับยั้งการเกิด apoptosis ที่เยื่อบุผนังหลอดเลือดผ่านกลไก ROS/Akt/NF-кB ฤทธิ์ต้านการแสดงออกของยีน CCL5 ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 นอกจากนี้ neferine ยังค้นพบว่าสามารถเพ่ิมความไวต่ออินซูลินในหนูขาวได้อีกด้วยแต่อย่างไรก็ตามข้อมูลที่ได้จากการศึกษาดังที่ได้กล่าวมายังมีเพียงเล็กน้อย รวมถึงยังไม่มีการศึกษากลไกต่างๆที่เกี่ยวข้องดังที่ได้กล่าวมาข้างต้น ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงสนใจการใช้เนเฟอรีน เพ่ือศึกษาถึงกลไกการท างานต่างๆ รวมไปถึงแอนนาลอกของเนเฟอรีนในเซลล์ไขมันที่มีสภาวะดื้อต่ออินซูลิน ทางคณะผู้วิจัยจึงตระหนักถึงประโยชน์จากการใช้สมุนไพรโดยเฉพาะบัวซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วไปของประเทศไทย โดยหวังเป็นอย่างยิ่งที่จะเพ่ิมมูลค่าของพืชชนิดนี้ให้ดียิ่งๆขึ้นไป โดยการศึกษาฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกในเชิงกลไกการท างาน (mechanism of actions) ในเซลล์ไขมัน 3T3-L1 ในสภาวะดื้อต่ออินซูลิน รวมถึง การน ากลูโคสเข้าสู่เซลล์ไขมัน 3T3- การหลั่ง adiponectin การสร้างกลุ่มไขมัน (lipid droplets) และไตรกลีเซอไรด์ 10. เอกสารอ้างอิงของโครงการวิจัย 1. International Diabetes Federation. IDF diabetic atlas. 7th ed. : Karakas print: Brussels, Belgium 2015. 2. สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. สถิติโรคเรื้อรังประเทศไทย. กรมควบคุมโรค; 2559 [เข้าถึงเมื่อ 20 ก.ค. 2559]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dmthai.org/statistic 3. Fujita H, Fujishima H, Takahashi K, Sato T, Shimizu T, Morii T, et al. SOD1, but not SOD3, deficiency accelerates diabetic renal injury in C57BL/6-Ins2Akita diabetic mice. Metabolism. 2012;61(12):1714-24. 4. Hussain G, Rizvi SAA, Singhal S, Zubair M, Ahmad J. Serum levels of TGF-β1 in patients of diabetic peripheral neuropathy and its correlation with nerve conduction velocity in type 2 diabetes mellitus. Diabetes Metab Syndr: Clinical Research & Reviews. 2016;10(1, Supplement 1):S135-S9.

เอกสารนี้สร้างจากระบบ NRMS เมื่อวันที่ 21/9/2559 เวลา 13:36 น. หน้าที่ 7 จาก 15 หน้า

เงินงบประมาณแผ่นดิน : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2561 โครงการวิจัย

618873 กลไกการออกฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกต่อเซลล์ไขมันชนิดสามทีสามแอลหนึ่งในสภาวะดื้ออินซ...

Page 8: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

5. Martín-Merino E, Fortuny J, Rivero-Ferrer E, Lind M, Garcia-Rodriguez LA. Risk factors for diabetic retinopathy in people with Type 2 diabetes: A case–control study in a UK primary care setting. Prim Care Diabetes. 2016;10(4):300-8. 6. Yu TY, Jee JH, Bae JC, Hong W-J, Jin S-M, Kim JH, et al. Delayed heart rate recovery after exercise as a risk factor of incident type 2 diabetes mellitus after adjusting for glycometabolic parameters in men. Int J Cardiol. 2016;221:17-22. 7. Mohammad S, Ahmad J. Management of obesity in patients with type 2 diabetes mellitus in primary care. Diabetes Metab Syndr: Clinical Research & Reviews. 2016;10(3):171-81. 8. Jang B-C. Tetrandrine has anti-adipogenic effect on 3T3-L1 preadipocytes through the reduced expression and/or phosphorylation levels of C/EBP-α, PPAR-γ, FAS, perilipin A, and STAT-3. Biochem Biophys Res Commun. 2016;476(4):481-6. 9. Zhang D, Zhang Y, Ye M, Ding Y, Tang Z, Li M, et al. Interference with Akt signaling pathway contributes curcumin-induced adipocyte insulin resistance. Mol Cell Endocrinol. 2016;429:1-9. 10. Mozaffarian D, Peñalvo JL. The Global Promise of Healthy Lifestyle and Social Connections for Better Health in People With Diabetes. Am J Kidney Dis. 2016;68(1):1-4. 11. Giacometti J, Muhvić D, Pavletić A, Ðudarić L. Cocoa polyphenols exhibit antioxidant, anti-inflammatory, anticancerogenic, and anti-necrotic activity in carbon tetrachloride-intoxicated mice. J Funct Foods. 2016;23:177-87. 12. Kumar Im K, Issac A, Ninan E, Kuttan R, Maliakel B. Enhanced anti-diabetic activity of polyphenol-rich de-coumarinated extracts of Cinnamomum cassia. J Funct Foods. 2014;10:54-64. 13. Lee S-H, Jeon Y-J. Anti-diabetic effects of brown algae derived phlorotannins, marine polyphenols through diverse mechanisms. Fitoterapia. 2013;86:129-36. 14. Hu G, Xu R-a, Dong Y-y, Wang Y-y, Yao W-w, Chen Z-c, et al. Simultaneous determination of liensinine, isoliensinine and neferine in rat plasma by UPLC–MS/MS and application of the technique to pharmacokinetic studies. J Ethnopharmacol. 2015;163:94-8. 15. Baskaran R, Kalaiselvi P, Huang C-Y, Padma VV. Neferine, a bisbenzylisoquinoline alkaloid, offers protection against cobalt chloride-mediated hypoxia-induced oxidative stress in muscle cells. Integr Med Res. 2015;4(4):231-41. 16. Jung HA, Jin SE, Choi RJ, Kim DH, Kim YS, Ryu JH, et al. Anti-amnesic activity of neferine with antioxidant and anti-inflammatory capacities, as well as inhibition of ChEs and BACE1. Life Sci. 2010;87(13–14):420-30. 17. Yoon J-S, Kim H-M, Yadunandam AK, Kim N-H, Jung H-A, Choi J-S, et al. Neferine isolated from Nelumbo nucifera enhances anti-cancer activities in Hep3B cells: Molecular mechanisms of cell cycle arrest, ER stress induced apoptosis and anti-angiogenic response. Phytomedicine. 2013;20(11):1013-22. 18. Jun MY, Karki R, Paudel KR, Sharma BR, Adhikari D, Kim D-W. Alkaloid rich fraction from Nelumbo nucifera targets VSMC proliferation and migration to suppress restenosis in balloon-injured rat carotid artery. Atherosclerosis. 2016;248:179-89. 19. Guan G, Han H, Yang Y, Jin Y, Wang X, Liu X. Neferine prevented hyperglycemia-induced endothelial cell apoptosis through suppressing ROS/Akt/NF-κB signal. Endocrine. 2014;47(3):764-71.

เอกสารนี้สร้างจากระบบ NRMS เมื่อวันที่ 21/9/2559 เวลา 13:36 น. หน้าที่ 8 จาก 15 หน้า

เงินงบประมาณแผ่นดิน : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2561 โครงการวิจัย

618873 กลไกการออกฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกต่อเซลล์ไขมันชนิดสามทีสามแอลหนึ่งในสภาวะดื้ออินซ...

Page 9: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

20. Li G, Xu H, Zhu S, Xu W, Qin S, Liu S, et al. Effects of neferine on CCL5 and CCR5 expression in SCG of type 2 diabetic rats. Brain Res Bull. 2013;90:79-87. 21. Pan Y, Cai B, Wang K, Wang S, Zhou S, Yu X, et al. Neferine enhances insulin sensitivity in insulin resistant rats. J Ethnopharmacol. 2009;124(1):98-102. 22. GLOBAL REPORT ON DIABETES [press release]. 2016. 23. Salans LB, Bray GA, Cushman SW, Danforth E, Glennon JA, Horton ES, et al. Glucose Metabolism and the Response to Insulin by Human Adipose Tissue in Spontaneous and Experimental Obesity: Effects of dietary composition and adipose cell size. J Clin Invest. 1974;53(3):848-56. 24. Kahn BB, Flier JS. Obesity and insulin resistance. J Clin Invest. 2000;106(4):473-81. 25. Mackenzie RWA, Elliott BT. Akt/PKB activation and insulin signaling: a novel insulin signaling pathway in the treatment of type 2 diabetes. Diabetes Metab Syndr Obes: Targets and Therapy. 2014;7:55-64. 26. Coughlan KA, Valentine RJ, Ruderman NB, Saha AK. AMPK activation: a therapeutic target for type 2 diabetes? Diabetes Metab Syndr Obes: Targets and Therapy. 2014;7:241-53. 27. Rosen ED, Hsu C-H, Wang X, Sakai S, Freeman MW, Gonzalez FJ, et al. C/EBPα induces adipogenesis through PPARγ: a unified pathway. Genes Dev. 2002;16(1):22-6. 28. Aleidi S, Issa A, Bustanji H, Khalil M, Bustanji Y. Adiponectin serum levels correlate with insulin resistance in type 2 diabetic patients. Saudi Pharm J. 2015;23(3):250-6. 29. Chang E, Choi JM, Park SE, Rhee E-J, Lee W-Y, Oh K-W, et al. Adiponectin deletion impairs insulin signaling in insulin-sensitive but not insulin-resistant 3T3-L1 adipocytes. Life Sci. 2015;132:93-100. 30. Nie T, Hui X, Gao X, Li K, Lin W, Xiang X, et al. Adipose tissue deletion of Gpr116 impairs insulin sensitivity through modulation of adipose function. FEBS Lett. 2012;586(20):3618-25. 31. Lee H, Li H, Jeong JH, Noh M, Ryu J-H. Kazinol B from Broussonetia kazinoki improves insulin sensitivity via Akt and AMPK activation in 3T3-L1 adipocytes. Fitoterapia. 2016;112:90-6. 32. Lee M-H, Chen Y-Y, Tsai J-W, Wang S-C, Watanabe T, Tsai Y-C. Inhibitory effect of β-asarone, a component of Acorus calamus essential oil, on inhibition of adipogenesis in 3T3-L1 cells. Food Chem. 2011;126(1):1-7. 33. Zhao L, Wang X, Wu J, Jia Y, Wang W, Zhang S, et al. Improved RP-HPLC method to determine neferine in dog plasma and its application to pharmacokinetics. J Chromatogr B Analyt Technol Biomed Life Sci. 2007;857(2):341-6. 34. Chen Y, Fan G, Wu H, Wu Y, Mitchell A. Separation, identification and rapid determination of liensine, isoliensinine and neferine from embryo of the seed of Nelumbo nucifera Gaertn. by liquid chromatography coupled to diode array detector and tandem mass spectrometry. J Pharm Biomed Anal. 2007;43(1):99-104. 35. You JS, Lee YJ, Kim KS, Kim SH, Chang KJ. Ethanol extract of lotus (Nelumbo nucifera) root exhibits an anti-adipogenic effect in human pre-adipocytes and anti-obesity and anti-oxidant effects in rats fed a high-fat diet. Nutr Res. 2014;34(3):258-67.

เอกสารนี้สร้างจากระบบ NRMS เมื่อวันที่ 21/9/2559 เวลา 13:36 น. หน้าที่ 9 จาก 15 หน้า

เงินงบประมาณแผ่นดิน : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2561 โครงการวิจัย

618873 กลไกการออกฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกต่อเซลล์ไขมันชนิดสามทีสามแอลหนึ่งในสภาวะดื้ออินซ...

Page 10: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

11. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. สร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับกลไกส าคัญในการออกฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกในสภาวะดื้อต่อ

อินซูลินของเซลล์ไขมัน 2. มีการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ผลงานทางวิชาการในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ เช่น Journal of Life

sciences, Journal of Ethnopharmacology เป็นต้น 3. เพ่ือส่งเสริมพัฒนาและยกคุณค่าของสมุนไพรไทยให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่ลดสภาวะดื้อต่ออินซูลินของเซลล์ไขมัน 4. พัฒนาและสร้างนักวิจัยรวมไปถึงนักศึกษาที่มีองค์ความรู้ความเข้าใจ เสริมสร้างทักษะการบูรณาการความรู้

ในการวิจัยสมุนไพรไทย 5. มีการเผยแพร่ความรู้ในการประชุมวิชาการต่างๆ เพ่ือสาธารณประโยชน์

การน าไปใช้ประโยชน์ในด้าน ด้านวิชาการ ด้านนโยบาย ด้านเศรษฐกิจ/พาณิชย์/อุตสาหกรรม ด้านสังคมและชุมชน หน่วยงานที่น าผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์

1. คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์มหาวิทยาลัยพะเยา 2. ประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจต่อผลที่ได้จากงานวิจัยนี้ 3. หน่วยงานของรัฐที่จะน าองค์ความรู้ไปพัฒนาเป็นยา หรืออาหารเสริม 4. ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา 5. ส านักงานเกษตรพะเยา

12. แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีหรือผลการวิจัยสู่กลุ่มเป้าหมาย 1. มีการเผยแพร่ทางบทความทางวิชาการ 2. มีการน าเสนอและเผยแพร่องค์ความรู้นี้เพ่ือสร้างฐานข้อมูลพ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร์ในการประชุมวิชาการ 3. ส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์และการแปรรูปสมุนไพรไทยเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรือยารวมทั้งถ่ายทอดองค์

ความรู้ผ่านหน่วยงานรัฐหรือภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง สู่ความก้าวหน้าและเข้มแข็งของชุมชลต่อไป

13. วิธีการด าเนินการวิจัย 13.1 การสกัดสารเนเฟอรีนและแอนนาลอกของเนเฟอรีน การสกัดสารเนเฟอรีน(Neferine) ซึ่งเป็นสารกลุ่มแอลคาลอยด์ (alkaloid) และแอนนาลอก (Neferine analogs) เตรียมจากดีบัว (lotus seed embryo) ได้รับความอนุเคราะห์จาก ศาสตราจารย์ ดร.อภิชาต สุขส าราญ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค าแหง 13.2 การเพาะเลี้ยงเซลล์ไขมัน 3T3-L1 (Preadipocytes) และการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ไขมันเริ่มต้น (Preadipocyte differentiation) เซลล์เริ่มต้นของเซลล์ไขมัน 3T3-L1 (Preadipocytes) จะถูกน ามาเลี้ยงในอาหาร Dulbecco’s modified Eagle’s medium (DMEM) ที่ม ี10 เปอร์เซ็นต์ซีรัม (fetal bovine serum) ควบคุมอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสในสภาวะที่มีคาร์บอนไดออกไซด์ 5 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 2 วัน (differentiation day 0) หลังจากนั้นเซลล์

เอกสารนี้สร้างจากระบบ NRMS เมื่อวันที่ 21/9/2559 เวลา 13:36 น. หน้าที่ 10 จาก 15 หน้า

เงินงบประมาณแผ่นดิน : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2561 โครงการวิจัย

618873 กลไกการออกฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกต่อเซลล์ไขมันชนิดสามทีสามแอลหนึ่งในสภาวะดื้ออินซ...

Page 11: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

ไขมันเริ่มต้นจะถูกเลี้ยงในอาหาร DMEM ที่ม ี MDI hormone mixture (1 µg/ml isobutyl-methylxanthine (IBMX), 1 µM dexamethasone และ 1 µg/ml insulin) เป็นเวลา 2 วัน (differentiation day 2) เซลล์ไขมันจะเปลี่ยนอาหารเลี้ยงเซลล์เป็น 10% FBS/DMEM ที่ม ี1 µg/ml insulin ตลอดระยะเวลาการเปลี่ยนแปลงเซลล์ไขมันเริ่มต้นไปเป็นเซลล์ไขมันนั้นเซลล์จะถูกเปลี่ยนเป็นอาหารเลี้ยงเซลล์ที่ประกอบไปด้วย 10% FBS/DMEM ทีม ี 10 µg/ml insulin ทุกๆ 2 วันจนกว่าจะถูกน ามาทดสอบในขั้นตอนต่อไป 13.3 การทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ การทดสอบความเป็นพิษของสารเนเฟอรีนและแอนาลอกของเนเฟอรีนต่อเซลล์ไขมันด้วยวิธีวิเคราะห์ MTT โดยการเตรียมเซลล์ 3T3-L1 จ านวน 5 X 104 เซลล์ต่อมิลลิลิตรในจานเลี้ยงเซลล์ 96 หลุมและบ่มด้วยเนเฟอรีนและแอนนาลอกท่ีความเข้มข้นต่างๆเป็นเวลา 72 ชั่วโมง หลังจากนั้นท าการบ่มเซลล์ไขมันแต่ละหลุมด้วย 3-(4,5-dimethylthiazol-2-yl)-2,5-diphenyltetrazoliumbromide (MTT) ที ่ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 3 ชั่วโมงแล้วดูดสารละลาย MTT ทิ้ง เติม DMSO ปริมาตร 100 µl ลงแต่ละหลุมเพ่ือละลายผลึกฟอร์มาซาน (MTT formazan crystals) แล้ววัดค่าการดูดกลืนคลื่นแสงที่ 570 นาโนเมตรด้วย microplate reader 13.4 การทดสอบการเกิดกลุ่มไขมัน (lipid droplet formation) การสะสมของไขมันในเซลล์ไขมัน 3T3-L1 (differentiated cells) จะท าการย้อมด้วย Oil red O (ORO) เซลล์ไขมันจะถูกตรึงสภาพของเซลล์ด้วย 4 เปอร์เซ็นต์ฟอร์มาลดีไฮด์เป็นเวลา 10 นาทีแล้วล้างด้วยน้ ากลั่น จากนั้นย้อมเซลล์ด้วย 5 mg Oil Red O ใน 1 ml isopropanol เป็นเวลา 2 ชัว่โมง ล้างผ่านด้วยน้ ากลั่น 3 ครั้ง น าไปส่องดูภายใต้กล้องจุลทรรศน์ชนิดใช้แสง (light microscope) 13.5 การทดสอบการน ากลูโคสเข้าสู่เซลล์ เซลล์ไขมัน 3T3-L1 (differentiated cells) น ามาบ่มในสภาวะที่มีซีรั่มและกลูโคสใน DMEM ต่ าเป็นเวลา 12 ชั่วโมง ตามด้วยการเติมเนเฟอรีนและแอนาลอกบ่มต่อเป็นเวลา 24 ชั่วโมงหลังจากนั่นกระตุ้นด้วยอินซูลินเป็นเวลา 1 ชั่วโมงหลังจากนั้นเติม 20 µM กลูโคสแอนาลอกท่ีติดฉลากด้วยสารฟลูออเรสเซนต์บ่มต่อไปอีกเป็นเวลา 1 ชัว่โมง วัดค่าฟลูออเรสเซนต์ที่ถูกกักเก็บไว้ในเซลล์ด้วย microplate reader โดยความยาวคลื่นกระตุ้น(excitation wavelength) ที ่ 465 นาโนเมตร ความยาวคลื่นปลดปล่อย (emission wavelength) ที ่ 540 นาโนเมตร 13.6 การทดสอบระดับไตรกลีเซอไรด์ การทดสอบไตรกลีเซอไรด์ท าการทดสอบในเซลล์ไขมัน 3T3-L1 (differentiated cells) ล้างด้วย PBS แล้วย่อยให้เป็นเนื้อเดียวกัน (homogenization) แล้วท าการวัดปริมาณไตรกลีเซอไรด์ด้วย GPO-PAP test kit (Merck, Germany) พร้อมด้วยวัดปริมาณโปรตีนทั้งหมดด้วย DC Protein assay kit (Bio-Rad) ปริมาณไตรกลีเซอไรด์ของเซลล์จะถูกน ามาแสดงเป็นเปอร์เซนต์ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบไขมัน [(ปริมาณไตรกลีเซอไรด์/ปริมาณโปรตีน) X 100] 13.7การทดสอบการหลั่ง adiponectin เซลล์ไขมันเริ่มต้น 3T3-L1 (preadipocytes) ถูกท าให้เป็นเปลี่ยนเป็นเซลล์ไขมัน (differentiated adipocytes) ด้วยอาหารเลี้ยงเซลล์ที่มีองค์ประกอบของ MDI hormone mixture ผสมกับเนเฟอรีนและแอนาลอก เป็นเวลา 5 วัน หลังจากนั้นเก็บอาหารเลี้ยงเซลล์ไปวัดปริมาณ adiponectin ด้วย Mouse adiponectin/Acrp30 DuoSet, R & D System (Minneapolis, MN, USA)

เอกสารนี้สร้างจากระบบ NRMS เมื่อวันที่ 21/9/2559 เวลา 13:36 น. หน้าที่ 11 จาก 15 หน้า

เงินงบประมาณแผ่นดิน : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2561 โครงการวิจัย

618873 กลไกการออกฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกต่อเซลล์ไขมันชนิดสามทีสามแอลหนึ่งในสภาวะดื้ออินซ...

Page 12: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

13.8การทดสอบการแสดงออกของโปรตีนด้วยวิธี western blot การทดสอบการแสดงออกของโปรตีนด าเนินการโดยการทดสอบฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนาลอกต่อระดับโปรตีนของ PPARγ C/EBPα และ GluT4 นอกจากนี้ยังวัดระดับโปรตีนฟอสโฟรีเลชันของ Akt และ AMPK ในเซลล์ไขมัน 3T3-L1 ในสภาวะที่บ่มด้วยเนเฟอรีนและแอนาลอก หรือไม่บ่มด้วยเนเฟอรีนและแอนาลอก (control) โดยการน าเซลล์ที่ได้จะถูกย่อยด้วย lysis buffer ที่มีองค์ประกอบของ:25 mM Tris-HCl (pH 7.5) 100 mM NaCl 1% NP-40 1% sodium deoxycholate 0.1% SDS ที่มีส่วนผสมของprotease inhibitor หลังจากนั่นน ามาวิเคราะห์ด้วย SDS-Polyacrylamide gel electrophoresis จากนั่นถ่ายโอนโปรตีนลงบนแผ่น PVDF น าแผ่นเมมเบรนที่ได้ไปบ่มด้วยแอนติบอดีตัวแรก (primary antibody): anti-PPARγ anti-C/EBPα anti-GluT4 anti-phospho-Akt และ anti-phospho-AMPK เป็นเวลาข้ามคืนหลังจากนั้นล้างด้วย Tris-Tris-Buffered Saline with Tween 20 (TBST) แล้วน าไปบ่มด้วยแอนติบอดีตัวที่สอง (secondary antibody) ที่ติดกับ peroxidase ขั้นตอนสุดท้ายน าไปบ่มด้วย Immobilon Western (Millipore, MA, USA) แล้วน าไปประกบฟิล์มเอกซ์-เรย์และน าภาพที่ได้มาวิเคราะห์ปริมาณโปรตีนด้วยโปรแกรม Image-J 13.9 การวิเคราะห์สถิติ ผลการทดลองแสดงในรูปแบบ Mean ± SD จากการท าซ้ า 3 ครั้งและค่าความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติประเมินโดย one-way ANOVA และ Student’s t-testค่าความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติจะถูกจะถูกวิเคราะห์เมื่อ P< 0.05 14. ระยะเวลาการวิจัย

ระยะเวลาโครงการ 1 ปี 0 เดือน วันที่เริ่มต้น 1 ตุลาคม 2560 วันที่สิ้นสุด 30 กันยายน 2561

สถานที่ท าการวิจัย ในประเทศ/ ต่างประเทศ

ชื่อประเทศ/จังหวัด

พื้นที่ที่ท าวิจัย ชื่อสถานที่

ในประเทศ พะเยา ห้องปฏิบัติการ สาขาวิชาชีวเคมีและโภชนาการ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย ์ม.พะเยา ต.แม่กา อ.เมือง จ.พะเยาภาควิชา

ในประเทศ เชียงใหม่ ห้องปฏิบัติการ กายวิภาคศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ม.เชียงใหม่ ต.ศรีภูม ิอ.เมือง จ.เชียงใหม่

แผนการด าเนินงานวิจัย

ปี กิจกรรม ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

2561 ประชุมวางแผนการทดลอง X

2561 เตรียมสารเนเฟอรีนและแอนาลอก X X X

2561 การเลี้ยงเซลล์และการเปลี่ยนแปลงเซลล์ไขมัน X X X X X X X X

เอกสารนี้สร้างจากระบบ NRMS เมื่อวันที่ 21/9/2559 เวลา 13:36 น. หน้าที่ 12 จาก 15 หน้า

เงินงบประมาณแผ่นดิน : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2561 โครงการวิจัย

618873 กลไกการออกฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกต่อเซลล์ไขมันชนิดสามทีสามแอลหนึ่งในสภาวะดื้ออินซ...

Page 13: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

ปี กิจกรรม ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

2561 การทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ไขมัน X X

2561 การทดสอบการเกิดกลุ่มไขมัน X X

2561 การทดสอบการน ากลูโคสเข้าสู่เซลล์ X X

2561 การทดสอบระดับไตรกลีเซอไรด์ X X

2561 การทดสอบการหลั่ง adiponectin X X

2561 การทดสอบการแสดงออกของโปรตีน ด้ วยวิ ธี western blot

X X X

2561 การวิเคราะห์ผลการทดลองและวิเคราะห์ทางสถิติ X X X X X X X X X

2561 รายงานผลการทดลองและเผยแพร่ผลงานวิจัย X X

15. ปัจจัยท่ีเอ้ือต่อการวิจัย (อุปกรณ์การวิจัย โครงสร้างพื้นฐาน ฯลฯ) ระบุเฉพาะปัจจัยท่ีต้องการเพิ่มเติม)

ประเภท ชื่อครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง

สถานภาพในหน่วยงาน

รายละเอียด เหตุผลและความ

จ าเป็น ประมาณการ

ราคา ครุภัณฑ์ ไม่ต้องการเพ่ิม มี - - - สิ่งก่อสร้าง ไม่ต้องการเพ่ิม ไม่มี - - -

16. งบประมาณของโครงการวิจัย

ปี ประเภทงบประมาณ รายละเอียด จ านวน (บาท) 2561 งบด าเนินการ : ค่าใช้สอย ค่าจ้างส าเนาเอกสาร ค่าจ้าเข้าเล่มเอกสาร

ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง 5,000

2561 งบด าเนินการ : ค่าตอบแทน ค่าตอบแทนคณะผู้วิจัย 30,000 2561 งบด าเนินการ : ค่าวัสดุ ค่าจ้างเหมาสกัดสาร neferine และแอน

นาลอก 20,000

2561 งบด าเนินการ : ค่าวัสดุ ค่าสารเคมีจ าเป็นในการศึกษาความเป็นพิษต่อเซลล์ เช่น MTT DMSO

5,000

2561 งบด าเนินการ : ค่าวัสดุ ค่าอุปกรณ์เลี้ยงเซลล์ เช่น 96 wells plate 6-wells plate eppendoff pipette tip

20,000

2561 งบด าเนินการ : ค่าวัสดุ ค่าเซลล์ 3T3-L1 35,000 2561 งบด าเนินการ : ค่าวัสดุ ค่าอาหารเลี้ยงเซลล์ 3T3-L1 เช่น DMEM

isobutyl-methylxanthine (IBMX), 20,000

เอกสารนี้สร้างจากระบบ NRMS เมื่อวันที่ 21/9/2559 เวลา 13:36 น. หน้าที่ 13 จาก 15 หน้า

เงินงบประมาณแผ่นดิน : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2561 โครงการวิจัย

618873 กลไกการออกฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกต่อเซลล์ไขมันชนิดสามทีสามแอลหนึ่งในสภาวะดื้ออินซ...

Page 14: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

ปี ประเภทงบประมาณ รายละเอียด จ านวน (บาท) dexamethasone, insulin

2561 งบด าเนินการ : ค่าวัสดุ ค่าสารเคมีจ าเป็นในการทดสอบ adiponectin secretion เชน่ Mouse adiponectin/Acrp 30 DuoSet

10,000

2561 งบด าเนินการ : ค่าวัสดุ ค่าสารเคมีจ าเป็นในการทดสอบการเกิดกลุ่มไขมันและระดับไตรกลีเซอไรด์ เช่น Oil Red O Tris Isopropanol Formaldehyde EDTA GPO-PAP test kit

10,000

2561 งบด าเนินการ : ค่าวัสดุ ค่าสารเคมีจ าเป็นในการทดสอบการทดสอบการน ากลูโคสเข้าสู่เซลล์และการหลั่ง adiponectin เช่น fluorescent glucose analog

25,000

2561 งบด าเนินการ : ค่าวัสดุ ค่าสารเคมีจ าเป็นในการทดสอบการทดสอบการแสดงออกของโปรตีนด้วยวิธี western blot เช่น acrylamide PVDF protease inhibitor cocktail NP-40 X-ray film

20,000

2561 งบด าเนินการ : ค่าวัสดุ แอนติบอดีในการศึกษาการแสดงออกชองโปรตีน เช่น primary antibodies: anti-PPARγ, anti-C/EBPα anti- GluT4 anti-p-Akt และ anti—p-AMPK secondary antibody

100,000

รวมตลอดโครงการ 300,000 17. ผลส าเร็จ

ปี ผลส าเร็จที่คาดว่าจะได้รับ ประเภท 2561 หากโครงการวิจัยเรื่อง กลไกการออกฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกต่อเซลล์

ไขมันชนิดสามทีสามแอลหนึ่งในสภาวะดื้ออินซูลินได้รับอนุมัติ ผลส าเร็จของโครงการวิจัยเมื่อด าเนินการส าเร็จลุล่วงจะเป็นผลส าเร็จเบื้องต้น และจะน าไปสู่การต่อยอดงานวิจัยต่อไป เพ่ือประโยชน์ในการส่งเสริมและเพ่ิมมูลค่าของสมุนไพรไทย รวมถึงองค์ความรู้ทางวิชาการท่ีจะน าไปเป็นยาหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในการรักษาผู้ป่วยเบาหวานหรือผู้ที่มีสภาวะดื้อต่ออินซูลิน นอกจากนี้ความรู้ที่ได้จากการศึกษานี้ยังช่วยผลักดันให้เกิดนักวิจัยรุ่นใหม่ๆ ที่มีความรู้ความสามารถและมีศักยภาพในงานวิจัยรวมไปถึงนิสิตนักศึกษาที่จะได้มาศึกษาทดลองในครั้งนี้หรือแม้แต่จะน าองค์ความรู้เหล่านี้ไปต่อยอดได้ด้วยเช่นกัน นอกจากนี้หน่วยงานต่างๆไม่ว่าจะเป็นรัฐบาล (กระทรวงเกษตรฯ กระทรวงสาธารณสุข องค์การเภสัชฯ) หรือแม้แต่หน่วยงานเอกชนที่จะได้น าความรู้นี้ไปพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อ

Primary Result

เอกสารนี้สร้างจากระบบ NRMS เมื่อวันที่ 21/9/2559 เวลา 13:36 น. หน้าที่ 14 จาก 15 หน้า

เงินงบประมาณแผ่นดิน : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2561 โครงการวิจัย

618873 กลไกการออกฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกต่อเซลล์ไขมันชนิดสามทีสามแอลหนึ่งในสภาวะดื้ออินซ...

Page 15: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

ประเทศต่อไป 18. โครงการวิจัยต่อเนื่อง (ค ารับรองจากหัวหน้าโครงการวิจัยว่าโครงการวิจัยได้รับการจัดสรรงบประมาณจริงในปีงบประมาณที่ผ่านมา) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

19. ค าชี้แจงอ่ืน ๆ (ถ้ามี) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

20. ลงลายมือชื่อ หัวหน้าโครงการวิจัย พร้อมวัน เดือน ปี

ลงชื่อ................................................. (ดร.อ านาจ อ่อนสอาด)

หวัหน้าโครงการวิจัย

วันที่....16... เดือน .กนัยายน.. พ.ศ. ...2559....

เอกสารนี้สร้างจากระบบ NRMS เมื่อวันที่ 21/9/2559 เวลา 13:36 น. หน้าที่ 15 จาก 15 หน้า

เงินงบประมาณแผ่นดิน : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2561 โครงการวิจัย

618873 กลไกการออกฤทธิ์ของเนเฟอรีนและแอนนาลอกต่อเซลล์ไขมันชนิดสามทีสามแอลหนึ่งในสภาวะดื้ออินซ...

Page 16: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

ทททปรรกษาโครงการ

ประววตตสสวนตวว :

ชชชอ - นามสกกล ชชยณรงคค โตจรชส

Chainarong Tocharus

วชน/เดชอน/ปปเกกด

หนนวยงาน มหาวกทยาลชยเชชยงใหมน

ทชชอยยนทชชสามารถตกดตนอไดดสะดวก ภาควกชากายวกภาคศาสตรค คณะแพทยศาสตรค

มหาวกทยาลชยเชชยงใหมน ต.ศรชภยมก อ.เมชอง จ.เชชยงใหมน 50200

โทรศชพทค/โทรสาร

มชอถชอ

อชเมลค [email protected]

การศรกษา :

พ.ศ. 2548 เภสชชศาสตรค มหาวกทยาลชยนเรศวร

การททางาน :

พ.ศ. 2550 - 2559 ผยดชนวยศาสตราจารยค ภาควกชากายวกภาคศาสตรค คณะแพทยศาสตรค มหาวกทยาลชย

เชชยงใหมน

สาขาวตชาการทททมทความชทานาญพตเศษ :

vascular pharmacology, toxicology, assisted reproductive technology (ART), molecular biology

ประสบการณณทททเกททยวขของกวบการบรตหารงานวตจวย :

หววหนขาโครงการ

ผลของไซยานกดกนไกลโคไซดคตนอการเกกดภาวะหลอดเลชอดแขขงตชวในเซลลค เยชชอบกหลอดเลชอดทชชถยกเหนชชยวนนาดดวยแองจกโอเท

นซกน

พ.ศ. 2558

ผลงานตทพตมพณ :

Page 17: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

ผลงานตทพตมพณในวารสาร (Journal) ทททมทการควบคคมคคณภาพโดยผผขทรงคคณวคฒต (peer review)

การเผยแพรส : Neurochem Res ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Melatonin protect

methamphetamine-induced neuroinfammation through

NF-kB and Nrf2 pathways in glioma cell line

ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ) Melatonin protect

methamphetamine-induced neuroinfammation through

NF-kB and Nrf2 pathways in glioma cell line

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Jumnongprakhon P, Govitrapong P,

Tocharus C, Pinkaew D, Tocharus J

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส : 2 ส.ค.58

การเผยแพรส : Neurotoxicology ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Suppression effects of

O-demethyldemethoxycurcumin on thapsigargin triggered

on endoplasmic reticulum stress in SK-N-SH cells

ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ) Suppression effects of

O-demethyldemethoxycurcumin on thapsigargin triggered

on endoplasmic reticulum stress in SK-N-SH cells

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Janyou A, Changtam C,

Suksamrarn A, Tocharus C, Tocharus J

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส : 2 ส.ค.58

การเผยแพรส : Neurotox Res ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Association of neuroprotective effect

of Di-O-demethylcurcumin on A?25-35-induced

neurotoxicity with suppression of NF-kb and activation of

Nrf2

ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ) Association of neuroprotective

effect of Di-O-demethylcurcumin on A?25-35-induced

neurotoxicity with suppression of NF-kb and activation of

Nrf2

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Pinkaew D, Changtam C, Tocharus

C, Govitrapong P, Jumnongprakhon P, Suksamrarn A,

Tocharus J

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส : 23 ส.ค.59

การเผยแพรส : Phytother Res ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Mechanisms of vasorelaxation

induced by hexahydrocurcumin in isolated rat thoracic

aorta

ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ) Mechanisms of vasorelaxation

induced by hexahydrocurcumin in isolated rat thoracic

aorta

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Moohammadaree A, Changtam C,

Wicha P, Suksamrarn A, Tocharus J, Tocharus C

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส : 2 ส.ค.58

การเผยแพรส : Eur J Pharmacol ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Ethyl rosmarinate relaxes rat aorta

by an endothelium-independent pathwayชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ) Ethyl rosmarinate relaxes rat aorta

by an endothelium-independent pathway

Page 18: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Wicha P, Tocharus J, Nakaew A,

Pantan R, Suksamrarn A, Tocharus C

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส : 23 ส.ค.59

การเผยแพรส : Exp Cell Res ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Synergistic effect of atorvastatin and

cyanidin-3-glucoside on angiotensin II-induced

infammation in vascular smooth muscle cells

ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ) Synergistic effect of atorvastatin

and cyanidin-3-glucoside on angiotensin II-induced

infammation in vascular smooth muscle cells

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Pantan R, Tocharus J, Suksamrarn

A, Tocharus C

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส : 23 ส.ค.59

การเผยแพรส : Brain Res ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Melatonin promotes blood-brain

barrier integrity in methamphetamine-induced

infammation in primary rat brain microvascular

endothelial cells

ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ) Melatonin promotes blood-brain

barrier integrity in methamphetamine-induced

infammation in primary rat brain microvascular endothelial

cells

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Jumnongprakhon P, Govitrapong P,

Tocharus C, Tocharus J

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส : 23 ส.ค.59

ผลงานตทพตมพณอชทนๆ

การเผยแพรส : ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) In vitro maturation and fertilization

of swamp buffalo oocytes and their subsequent

development

ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Pavasuthipaisit, K.Kitiyanant,

Y.Thonabulsombat, C.Tocharus, C.Sriurairatna, S.White, K.L.

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Curcuminoid analogs inhibit nitric

oxide production from LPS-activated microglial cellsชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Tocharus, J.Jamsuwan, S.Tocharus,

C.Changtam, C.Suksamrarn, A.

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : ประเทศ :

Page 19: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) A comparison of degree of cortical

granule exocytosis in zona-free pig oocytes induced by

different artifcial stimulators

ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Thanoi, S.Tocharus,

C.Nudmamud-Thanoi, S.Sobhon, P.

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Butea superba Roxb. enhances

penile erection in ratsชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Tocharus, C.Smitasiri,

Y.Jeenapongsa, R.

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Porcine oviductal cells support in

vitro bovine embryo developmentชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Pavasuthipaisit,

K.Lhuangmahamongkol, S.Tocharus, C.Kitiyanant,

Y.Prempree, P.

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : Neurotoxicology ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Suppression effects of

O-demethyldemethoxycurcumin on thapsigargin triggered

on endoplasmic reticulum stress in SK-N-SH cells.

ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Janyou A, Changtam C,

Suksamrarn A, Tocharus C, Tocharus J

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : Neurochem Res ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Melatonin Protects

Methamphetamine-Induced Neuroinfammation Through

NF-?B and Nrf2 Pathways in Glioma Cell Line.

ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Jumnongprakhon P, Govitrapong P,

Tocharus C, Pinkaew D, Tocharus J

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : Neurotoxicology. ประเทศ :

Page 20: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Neuroprotective effect of purple rice

extract and its constituent against amyloid beta-induced

neuronal cell death in SK-N-SH cells.

ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Thummayot S, Tocharus C,

Pinkaew D, Viwatpinyo K, Sringarm K, Tocharus J

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : Neurochem Int ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Di-O-demethylcurcumin protects

SK-N-SH cells against mitochondrial and endoplasmic

reticulum-mediated apoptotic cell death induced by

A?25-35.

ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Pinkaew D, Changtam C, Tocharus

C, Thummayot S, Suksamrarn A, Tocharus J

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : J Steroid Biochem Mol Biol ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Melatonin ameliorates

dexamethasone-induced inhibitory effects on the

proliferation of cultured progenitor cells obtained from

adult rat hippocampus.

ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Ekthuwapranee K, Sotthibundhu A,

Tocharus C, Govitrapong P

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : Life Sci. ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Endothelium-independent

vasorelaxation effects of 16-O-acetyldihydroisosteviol on

isolated rat thoracic aorta.

ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Pantan R, Onsa-Ard A, Tocharus J,

Wonganan O, Suksamrarn A, Tocharus C

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : Neuroscience ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Melatonin enhances adult rat

hippocampal progenitor cell proliferation via ERK signaling

pathway through melatonin receptor.

ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Tocharus C, Puriboriboon Y,

Junmanee T, Tocharus J, Ekthuwapranee K, Govitrapong P

แหลสงขขอมผล :

Page 21: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : Curr Eye Res ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Cultivation and phenotypic

characterization of rabbit epithelial cells expanded ex vivo

from fresh and cryopreserved limbal and oral mucosal

explants.

ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Promprasit D, Bumroongkit K,

Tocharus C, Mevatee U, Tananuvat N

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : ISRN Pharmacol ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Hypotensive and vasorelaxant

effects of sericin-derived oligopeptides in rats.ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Onsa-Ard A, Shimbhu D, Tocharus

J, Sutheerawattananonda M, Pantan R, Tocharus C.

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : Neurotox Res ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Protective effect of melatonin on

methamphetamine-induced apoptosis in glioma cell line.ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Jumnongprakhon P, Govitrapong P,

Tocharus C, Tungkum W, Tocharus J

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : Eur J Med Chem ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Potent vasorelaxant analogs from

chemical modifcation and biotransformation of isosteviol.ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Wonganan O, Tocharus C, Puedsing

C, Homvisasevongsa S, Sukcharoen O, Suksamrarn A

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : World J Gastroenterol ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Effects of hexahydrocurcumin in

combination with 5-fuorouracil on

dimethylhydrazine-induced colon cancer in rats.

ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Srimuangwong K, Tocharus C,

Tocharus J, Suksamrarn A, Chintana PY

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

Page 22: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

การเผยแพรส : World J Gastroenterol. ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Hexahydrocurcumin enhances

inhibitory effect of 5-fuorouracil on HT-29 human colon

cancer cells.

ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Srimuangwong K, Tocharus C,

Yoysungnoen Chintana P, Suksamrarn A, Tocharus J

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : Andrologia ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Butea superba (Roxb.) improves

penile erection in diabetic rats.ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Tocharus C, Sooksaen P, Shimbhu

D, Tocharus J

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : J Nat Med ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Curcuminoid analogs inhibit nitric

oxide production from LPS-activated microglial cells.ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Tocharus J, Jamsuwan S, Tocharus

C, Changtam C, Suksamrarn A.

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

สตทธตบวตร :

ชชทอสตทธตบวตร/อนคสตทธตบวตร :

หมายเลข :

เลขคทาขอ :

ยชทนขอ/จดทะเบทยนในนาม :

ววนทททจดทะเบทยน :

ผลงานทททนทาไปใชขประโยชนณแลขว :

ชชชอผลงาน : พ.ศ.

รยปแบบการนนาไปใชด :

ผลกระทบทางดดานสชงคม :

ผลกระทบทางดดานสกชงแวดลดอม :

ผมกระทบทางดดานอชชนๆ :

Page 23: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

รางววล :

รางววล :

ผลงาน :

ผผขใหขรางววล :

ววนทททไดขรวบรางววล :

งานวตจวยทททกทาลวงททา :

ชชทอโครงการ :

แหลสงทคน :ตทาแหนสง :

ววนทททสตสนสคด :

Page 24: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

หววหนขาโครงการ

ประววตตสสวนตวว :

ชชชอ - นามสกกล อนานาจ อนอนสอาด

Amnart Onsaard

วชน/เดชอน/ปปเกกด 7 สกงหาคม 2527

หนนวยงาน มหาวกทยาลชยพะเยา

ทชชอยยนทชชสามารถตกดตนอไดดสะดวก สาขาวกชาชชวเคมชและโภชนาการ คณะวกทยาศาสตรคการ

แพทยค มหาวกทยาลชยพะเยา ต.แมนกา อ.เมชอง จ.พะเยา

56000

https://www.facebook.com/Nu.Am.Nu

amnart78

0-5446-6666 ตนอ 3636 โทรศชพทค/โทรสาร

มชอถชอ

อชเมลค

086-7278283

[email protected]

การศรกษา :

พ.ศ. 2550 วกทยาศาสตรคการแพทยค (เกชยรตกนกยมอชนดชบ1) มหาวกทยาลชยนเรศวร

พ.ศ. 2556 วกทยาศาสตรคการแพทยค (นานาชาตก) มหาวกทยาลชยนเรศวร

การททางาน :

พ.ศ. 2550 - 2556 อาจารยค สาขาวกชาชชวเคมชและโภชนาการ คณะวกทยาศาสตรคการแพทยค มหาวกทยาลชย

พะเยา

พ.ศ. 2556 - 2559 อาจารยค สาขาวกชาชชวเคมชและโภชนาการ คณะวกทยาศาสตรคการแพทยค มหาวกทยาลชย

พะเยา

สาขาวตชาการทททมทความชทานาญพตเศษ :

Cardiovascular system, metabolic syndrome, vascular pharmacology

ประสบการณณทททเกททยวขของกวบการบรตหารงานวตจวย :

ผลงานตทพตมพณ :

Page 25: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

ผลงานตทพตมพณอชทนๆ

การเผยแพรส : ISRN Pharmacology ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Hypotensive and vasorelaxant

effects of sericin-derived oligopeptides in ratsชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Onsa-Ard A, Shimbhu D, Tocharus

J, Sutheerawattananonda M, Pantan R, Tocharus C

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : Life sciences ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Endothelium-independent

vasorelaxation effects of 16-O-acetyldihydroisosteviol on

isolated rat thoracic aorta

ชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Pantan R, Onsa-Ard A, Tocharus J,

Wonganan O, Suksamrarn A, Tocharus C

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

การเผยแพรส : Journal of Physiological and Biomedical Scienc ประเทศ :

ชชทอผลงาน : (ภาษาไทย) Oral Bacopa monnieri is

Antihypertensive in Rats Chronically Treated with L-NAMEชชทอผลงาน : (ภาษาอวงกฤษ)

รายชชทอผผขรสวม/ผผขสนวบสนคน : Amnart Onsa-ard, C. Norman

Scholfeld, Kornkanok Ingkaninan, Sirintorn Srimachai,

Natakorn Kamkaew, Krongkarn Chootip

แหลสงขขอมผล :

ววนทททตทพตมพณ/เผยแพรส :

สตทธตบวตร :

ชชทอสตทธตบวตร/อนคสตทธตบวตร :

หมายเลข :

เลขคทาขอ :

ยชทนขอ/จดทะเบทยนในนาม :

ววนทททจดทะเบทยน :

ผลงานทททนทาไปใชขประโยชนณแลขว :

Page 26: แบบเสนอโครงการวิจัย (research project)wwmms.up.ac.th/research/uploads/212/fileID-212-f1378e2eb55b88b110ba28d7cac694f11.pdfแบบเสนอโครงการวิจัย

ชชชอผลงาน : พ.ศ.

รยปแบบการนนาไปใชด :

ผลกระทบทางดดานสชงคม :

ผลกระทบทางดดานสกชงแวดลดอม :

ผมกระทบทางดดานอชชนๆ :

รางววล :

รางววล :

ผลงาน :

ผผขใหขรางววล :

ววนทททไดขรวบรางววล :

งานวตจวยทททกทาลวงททา :

ชชทอโครงการ :

แหลสงทคน :ตทาแหนสง :

ววนทททสตสนสคด :