94
การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ในชุมชนตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี มงคล พัชรวงศสิริ งานวิจัยนี้ไดรับทุนสนับสนุนจากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ประจําปงบประมาณ 2557 กุมภาพันธ 2558

การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    1

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ในชุมชนตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

มงคล พัชรวงศสิริ

งานวิจัยน้ีไดรับทุนสนับสนุนจากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ประจําปงบประมาณ 2557

กุมภาพันธ 2558

Page 2: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

สารบัญ หนา บทคัดยอ ก กิตติกรรมประกาศ ค สารบัญ ง สารบัญตาราง สารบัญภาพ

จ ฉ

บทท่ี 1. บทนํา 1 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1

1.2 วัตถุประสงคการวิจัย 2 1.3 ขอบเขตการวิจัย 2 1.4 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 3 1.5 นิยามศัพทเฉพาะท่ีเก่ียวของกับการวิจัย 3 บทท่ี 2. เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ 4 2.1 ขยะ 4 2.2 องคประกอบของขยะมูลฝอย 5 2.3 สัดสวนปริมาณขยะในทองถ่ิน 6 2.4 การจําแนกประเภทขยะมูลฝอย 7 2.5 แหลงท่ีเกิดของขยะ 8 2.6 ปริมาณขยะในประเทศไทย 10 2.7 ปจจัยทีมีผลตอการเปลี่ยนแปลงปริมาณและคุณสมบัติของขยะมูลฝอย 2.8 การคาดการณปริมาณขยะมูลฝอย 2.9 ผลเสียท่ีเกิดจากขยะมูลฝอย 2.10 การจัดการขยะมูลฝอยเพ่ือผลิตพลังงาน 2.11 การนําขยะไปใชประโยชน 2.12 การเก็บตัวอยาง 2.13 ขนาด 2.14 การทําใหขยะแหงโดยใชกระบวนการทางชีวภาพ (biodrying) 2.15 ประเภทของเชื้อเพลิงขยะ

12 12 13 14 15 16 16 17 20

บทท่ี 3. วิธีการดําเนินงานวิจัย 25 3.1 ข้ันตอนการทดลอง 26 3.2 ข้ันตอนการออกแบบเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่ 32

Page 3: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

สารบัญ (ตอ)

หนา

3.3 ชุดเติมอากาศ 3.4 ชุดทําความรอนอบขยะ 3.5 ชุดกําลังขับหมุนถัง 3.6 ชุดอุปกรณวัดและเก็บขอมูล 3.7 การเตรียมขอมูลและขยะฝอยกอนการทําการทดลอง 3.8 การทดลอง 3.9 การเก็บขอมูล บทท่ี 4 ผลการทดลองงานวิจัย 4.1 ข้ันตอนการทดลอง 4.2 ผลการทดลองอุณหภูมิและความชื้นของขยะ บทท่ี 5. สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ

38 40 45 49 51 56 56 60 60 61 71

5.1 ผลการวิจัย 72 5.2 ขอเสนอแนะการวิจัย 72 5.3 ขอเสนอแนะการวิจัยครั้งตอไป 72 บรรณานุกรม ภาคผนวก ก แบบตัวเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่ ภาคผนวก ข ตัวอยางใบรายงานผลการทดสอบ ภาคผนวก ค

ประวัติผูวิจัย

Page 4: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

สารบัญตาราง ตาราง หนา 2.1 สัดสวนปริมาณขยะของตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 7 2.2 คุณสมบัติของขยะและเชื้อเพลิง 17 2.3 คุณสมบัติพ้ืนฐานของเชื้อเพลิงขยะ RDF 23 2.4 แสดงองคประกอบทางเคมีในเชื้อเพลิงขยะ RDF 23 3.1 สัดสวนขยะของตําบลหนองบัว จังหวัดกาญจนบุรี 28 3.2 สัดสวนขยะมูลฝอยท่ีใชในการทดลองเพ่ือทําขยะเทียมจําลองตามสัดสวนของ ตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

51

3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่ 56 4.1 สรุปผลการทดลองครั้งท่ี 1-9 ความสัมพันธระหวางอัตราการหมุนและอัตราการไหล ของอากาศท่ีสงผลตอความชื้นของขยะ

70

Page 5: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

สารบัญภาพ ภาพ หนา 1-1 ขยะในชุมชนหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 1 2-1 ขยะมูลฝอย 6 2-2 กระบวนการ biodrying 17 2-3 ผังการเคลื่อนท่ีของอากาศในการอบขยะ 18 2-4 การทํางานของระบบ Static biodrying 19 2-5 แสดงผลอุณหภูมิและความชื้นของหองอบขยะแบบ static biodrying 19 2-6 การทํางานของหองขยะแบบ rotary biodrying 20 2-7 แสดงผลความชื้นของหองอบขยะแบบ rotary biodrying 2-8 การแปรรูปเปนแทงเชื้อเพลิงจากขยะท่ีเผาไหมได (densified : RDF5) 2-9 การนําขยะท่ีเผาไฟไดไปบดและอัดเปนแทงเชื้อเพลิง RDF กอนนําไปใชเปนเชื้อเพลิง ในการเผาไหม 3-1 ขยะท่ีจัดเก็บและกําจัดไมถูกวิธีภายในพ้ืนท่ี ตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุร ี3-2 การคัดแยกและหาสัดสวนขยะท่ีจากท่ีท้ิงขยะ 3-3 ขยะจากเศษอาหารและเศษผัก 3-4 ขยะจากเศษหญา 3-5 ขยะจากเศษพลาสติก 3-6 ขยะจากเศษยาง 3-7 ขยะจากเศษกระดาษ 3-8 ขยะจากเศษผา 3-9 ขยะจากเศษกระเบื้อง 3-10 ขยะจากเศษไมและใบไม 3-11 มวนแผนเหล็กเพ่ือใชในการทําตัวถังนอก 3-12 การเชื่อมโครงรอบถังตะแกรงใน เพ่ือความแข็งแรง 3-13 ทาสีกันสนิมเพ่ือปองกันการกัดกรอนของน้ํา 3-14 การทาสีกันสนิมเพ่ือปองกันการกัดกรอนของน้ํา 3-15 ชองหยิบตัวอยางขยะ 3-16 การประกอบฝาขางถัง 3-17 เจาะรูเพลาเติมอากาศ ขนาดเสนผาศูนยกลาง 3 มม. 3-18 การประกอบถังกับโครงเขาดวยกัน 3-19 การเชื่อมฐานรับมอเตอรและเกียรทด 3-20 การติดฉนวนกันความรอน

20 22 24

25

27 28 29 29 30 30 31 31 32 32 33 33 34 34 35 35 36 36 37

Page 6: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

สารบัญภาพ (ตอ)

ภาพ หนา 3-21 เครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่ท่ีประกอบเสร็จสมบูรณ 3-22 เครื่องเปาอากาศแรงดันสูงขนาด 3390/min 220-240V 60Hz 0.5 KW 3-23 ทอวัดอัตราการไหลของอากาศ อัตราการวัด 4-40 m3/h 3-24 วาลวปรับอัตราการไหลของอากาศ 3-25 กลองควบคุมตั้งเวลาการเติมอากาศ 3-26 ฮีเตอรครีบตัวไอ 800W 220V 3-27 เครื่องวัดและควบคุมอุณหภูมิ 50/60 Hz AC 250V, 3A 3-28 สายเทอรโมคัปเปลชนิด K วัดอุณหภูมิ 0-600˚C 3-29 แมกเนติกสคอนแทคเตอร 3-30 แหลงจายไฟ INPUT : 200-240 VAC 1.0A OUTPUT : 24 VDC 3.0A 3-31 รีเลย 24 VDC 3-32 กลองควบคุมชุดทําความรอนอบขยะภายนอก 3-33 กลองควบคุมชุดทําความรอนอบขยะภายใน 3-34 ชุดทําความรอนอบขยะ 3-35 รูปแบบการหมุนเวียนอากาศรอนอบขยะ 3-36 มอเตอรขนาด 1450 rpm 220V 50 Hz 2.8 A 3-37 เกียรทดขนาด 40 : 1 และ 50 : 1 3-38 โซและสเตอร ขนาด 36 ฟน 3-39 มูเลยขนาดตาง ๆ 3-40 มูเลยและสเตอรขนาดตาง ๆ 3-41 ลักษณะการเปลี่ยนรอบการหมุนของมูเลย 3-42 ชุดตอขอมูลกับคอมพิวเตอร 3-43 เครื่องวัดและบันทึกคาอุณหภูมิแบบเม็ดกระดุม บันทึกอุณหภูมิได -40 +85˚C 3-44 ตราชั่งดิจิตอล 3-45 ถาดใสตัวอยางขยะ 3-46 ตูอบลมรอนสําหรับอบแหงตัวอยาง 3-47 การลดขนาดขยะ 3-48 การชั่งน้ําหนักสัดสวนขยะ 3-49 การตั้งเวลาโดยใชเม็ดกระดุมบันทึกอุณหภูมิและติดตั้งตามจุดท่ีกําหนด 3-50 การใสตัวอยางขยะในเครื่องเพ่ือใหขยะคลุกเคลาและผสมกัน

37 38 38 39 39 40 40 41 41 42 42 43 43 44 44 45 45 46 46 47 48 49 49 50 50 51 52 53 54 54

Page 7: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

สารบัญภาพ (ตอ) ภาพ หนา 3-51 การปรับปริมาณการเติมอากาศเขา 3-52 การตั้งความเร็วรอบมอเตอร 3-53 การเก็บตัวอยางขยะจากเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่เพ่ือวัดคาความชื้น 3-54 การชั่งน้ําหนักตัวอยางขยะท่ีจะอบหาคาความชื้น 3-55 การนําตัวอยางขยะเขาตูอบลมรอน 3-56 การตั้งอุณหภูมิเครื่องอบขยะแบบโรตารี่ท่ีใชอุณหภูมิ 100˚C ใชเวลาอบ 72 ชั่วโมง 3-57 การเอาน้ําชะขยะออก (ทุกวัน) 4-1 แผนภูมิอุณหภูมิ ครั้งท่ี 1 อากาศ 0.0455 m3/h/kg รอบหมุน 0.2 rpm 4-2 แผนภูมิความชื้น ครั้งท่ี 1 อากาศ 0.0455 m3/h/kg รอบหมุน 0.2 rpm 4-3 แผนภูมิอุณหภูมิ ครั้งท่ี 2 อากาศ 0.07 m3/h/kg รอบหมุน 0.2 rpm 4-4 แผนภูมิความชื้น ครั้งท่ี 2 อากาศ 0.07 m3/h/kg รอบหมุน 0.2 rpm 4-5 แผนภูมิอุณหภูมิ ครั้งท่ี 3 อากาศ 0.0909m3/h/kg รอบหมุน 0.2 rpm 4-6 แผนภูมิความชื้น ครั้งท่ี 3 อากาศ 0.0909 m3/h/kg รอบหมุน 0.2 rpm 4-7 แผนภูมิอุณหภูมิ ครั้งท่ี 4 อากาศ 0.0455 m3/h/kg รอบหมุน 0.028 rpm 4-8 แผนภูมิความชื้น ครั้งท่ี 4 อากาศ 0.0455 m3/h/kg รอบหมุน 0.028 rpm 4-9 แผนภูมิอุณหภูมิ ครั้งท่ี 5 อากาศ 0.07 m3/h/kg รอบหมุน 0.028 rpm 4-10 แผนภูมิความชื้น ครั้งท่ี 5 อากาศ 0.07 m3/h/kg รอบหมุน 0.028 rpm 4-11 แผนภูมิอุณหภูมิ ครั้งท่ี 6 อากาศ 0.0909 m3/h/kg รอบหมุน 0.028 rpm 4-12 แผนภูมิความชื้น ครั้งท่ี 6 อากาศ 0.0909 m3/h/kg รอบหมุน 0.028 rpm 4-13 แผนภูมิอุณหภูมิ ครั้งท่ี 7 อากาศ 0.0455 m3/h/kg รอบหมุน 0.01 rpm 4-14 แผนภูมิความชื้น ครั้งท่ี 7 อากาศ 0.0455 m3/h/kg รอบหมุน 0.01 rpm 4-15 แผนภูมิอุณหภูมิ ครั้งท่ี 8 อากาศ 0.07 m3/h/kg รอบหมุน 0.01 rpm 4-16 แผนภูมิความชื้น ครั้งท่ี 8 อากาศ 0.07 m3/h/kg รอบหมุน 0.01 rpm 4-17 แผนภูมิอุณหภูมิ ครั้งท่ี 9 อากาศ 0.0909 m3/h/kg รอบหมุน 0.01 rpm 4-18 แผนภูมิความชื้น ครั้งท่ี 9 อากาศ 0.0909 m3/h/kg รอบหมุน 0.01 rpm

55 55 56 57 58 58 59 61 61 62 62 63 63 64 64 65 65 66 66 67 67 68 68 69 69

Page 8: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

กิตติกรรมประกาศ

งานวิจัยการผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ในชุมชนตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เพ่ือพัฒนาขยะชุมชนเปลี่ยนใหเปนเชื้อเพลิงขยะท่ีมีคาความรอนสูงข้ึนดวยกระบวนการ biodrying งานวิจัยนี้สําเร็จลุลวงไปดวยดี ผูวิจัยขอขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารยเกรียงศักดิ์ ทวีวัฒน คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ท่ีใหคําแนะนํา เอ้ือเฟอสถานท่ีและเครื่องมือวิจัย จนทําใหงานวิจัยนี้สําเร็จลุลวงไปตามวัตถุประสงคทุกประการ

ผูวิจัยขอขอบคุณสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ท่ีใหทุนสนับสนุนงานวิจัย เพ่ือพัฒนานวัตกรรมท่ีเกิดข้ึนจากการวิจัย อันเปนประโยชน แกการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทดแทนและหาแหลงพลังงานใหมในยุคปจจุบัน มงคล พัชรวงศสิริ

Page 9: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

ช่ืองานวิจัย การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ในชุมชนตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ผูวิจัย นายมงคล พัชรวงศสิริ งบประมาณป พ.ศ.2557

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงทดลองเพ่ืออกแบบและพัฒนาเครื่องตนแบบในการเปลี่ยนขยะชุมชน ในตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เปนพลังงานเชื้อเพลิงขยะโดยใชกระบวนการ biodrying ในระดับหองปฏิบัติการ ท่ีอาศัยผลพลอยไดจากการยอยสลายขยะสดจะเกิดความรอนสูงข้ึน นํามาใชในการอบแหง ลดความชื้น ลดขนาดของขยะชุมชน ตองสรางเง่ือนไขใหเหมาะสมกับการเกิดสภาวะดังกลาว พรอมท้ังทําใหเกิดการนําพาความชื้นออกจากขยะชุมชนอยางรวดเร็ว โดยกําหนดเง่ือนไขในการทดลองท้ังหมด 9 ครั้ง แตละครั้งทดลองนาน 8 วัน มีอัตราการหมุน 3 อัตรา คือ 0.2, 0.028, 0.01 rpm อัตราการไหลของอากาศ 3 อัตรา 0.0909, 0.07, 0.0455 m3/h/kg, ขยะสด ในระหวางการทดลองจะเก็บคาอุณหภูมิอากาศเขาภายในถัง อากาศออก ความชื้นขยะ และเม่ือสิ้นสุดการทดลองจะนําขยะไปหาคาความรอน ผลการทดลองพบวา การกําหนดอัตรารอบการหมุนมีผลตออุณหภูมิท่ีเกิดข้ึนภายในถังขยะ ถาอัตราการหมุนรอบชาจะเกิดอุณหภูมิข้ึนสูงนาน ถาอัตราการหมุนรอบเร็วอุณหภูมิจะข้ึนและลดลงอยางรวดเร็ว อัตราการไหลของอากาศ จะสงผลตอความชื้นของขยะภายในถัง เนื่องจากเปนตัวกลางในการพาความชื้นออกมาภายนอก หากใสอัตราการไหลของอากาศมากจะสามารถพาความชื้นออกมามาก ทําใหความชื้นในถังลดลงอยางมาก ยิ่งถาความชื้นลดลงมากจะสงผลใหคาความรอนของขยะสูงข้ึนตามไปดวย ดังนั้นการทดลองท่ีอัตราการหมุน 0.2 rpm. อัตราการไหลของอากาศ 0.0909 m3/h/kg สงผลใหคาความชื้นขยะสุดทายคือ 10 % w.b. มีประสิทธิภาพสูงสุด มีคาความรอนสูงท่ีสุดคือ 17,000 kj/kg. จัดเปนเชื้อเพลิงชนิดหนึ่งจากขยะชุมชน ซ่ึงมีคาความรอน 9,823.99 kj/kg.

Page 10: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

Title Fuel production from municipal wastes for Tombon Nong Bua, Mueang District, Kanchanaburi Province Authors Mr.Mongkol Patcharavongsiri Budget expenditure 2014

Abstract

This research was an experimental research. The purpose of this study was to design prototype of fuel production from municipal wastes that produce refuse-derived fuel by using biodrying process for Tombon Nong Bua, Mueang District, Kanchanaburi Province. The study was conducted in a laboratory level to create a fuel produced by shredding and dehydrating solid waste that could generate much heat for drying, reducing moisture content and decreasing the amount of waste in the municipal. Such that the researcher have to create suitable condition for those processes, together with conveying moisture quickly away from waste. The experiment was conducted 9 times, each time took 8 days long, with 3 rotation and air flow rates which were 0.2, 0.028 and 0.01 rpm, and 0.0909, 0.07 and 0.0455 m3/h/kg, wet basic respectively. During the experiment the temperature of air taken in and out off the tank and waste moisture content were collected. After finishing the experiment heating value of the waste were also collected. The findings indicated that the determination of the rotation rate affected the temperature inside the tank. If the rotation was slow, the temperature would rise for a long period of time. However, if the rotation was fast, the temperature would go up and down rapidly. The findings also shown that air flow rate affected waste moisture content in the tank, because it worked as intermediaries in bringing moisture out off the tank. The higher the air flow rate, the higher the waste moisture content out off the tank, which in turn made moisture in the tank reduced greatly. The more the moisture content decrease, the higher the heating value of waste. Therefore, from the experiment, the rotation rate at 0.2 rpm., the air flow rate at 0.0909 m3/h/kg resulted in wastes moisture content at 10% w.b. were the most effective rates, which produced the highest heating value of 17,000 kj/kg. That can be classified as one type of the fuel production from municipal solid wastes heat value at 9,823.99 kj/kg.

Page 11: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

บทท่ี 1 บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ปจจุบันปริมาณขยะในประเทศไทยมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นทุกป ในป พ.ศ. 2548 มีปริมาณขยะ 39,221 ตันตอวัน เพ่ิมเปน 41,532 ตันตอวัน ในป พ.ศ.2553 ในเวลา 6 ป ถาแยกยอยเปนรายภูมิภาคจะพบวาเขตเทศบาลเมืองพัทยา มีขยะถัวเฉลี่ยเพ่ิมขึ้น 797 ตันตอวัน ภาคกลางและภาคตะวันออก มีขยะเฉลี่ยเพ่ิมขึ้น 292 ตันตอวัน ภาคเหนือมีขยะเพ่ิมขึ้นโดยเฉลี่ย 233 ตันตอวัน เขตกรุงเทพมีขยะเพ่ิมขึ้นโดยเฉลี่ย 122ตันตอวัน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีขยะเพ่ิมขึ้นโดยเฉลี่ย 174 ตันตอวัน ภาคใตมีขยะเพ่ิมขึ้นโดยเฉลี่ย 107 ตันตอวัน ในเวลา 6 ป ที่นาสนใจคือ ประเทศไทยมีปริมาณขยะมากขึ้นแตที่นําไปใชประโยชน ไดนอยมากตอจํานวนขยะทั้งหมด ดังน้ันจึงมีความจําเปนในการพัฒนาระบบที่ชวยในการกําจัดขยะและหาประโยชนจากขยะใหมากที่สุด จากแผนอนุรักษพลังงาน ในชวง พ.ศ. 2551-2554 โดยมีการกําหนดเปาหมายของการใชพลังงานหมุนเวียน ณ ป พ.ศ.2554 จํานวน 6,688 ktoe แบงเปนพลังงานจากขยะที่ใชในการผลิตไฟฟามีเปาหมาย 100 MV. หรือ 45 ktoe โดยสงเสริมการกําจัดขยะมูลฝอยชุมชนอยูภายใตการควบคุมรับผิดชอบขององคกรบริหารสวนทองถิ่น ซึ่งในปจจุบันยังมีการดําเนินการไมถูกสุขลักษณะ เชน การเทกอง และ การเผากลางแจง เน่ืองจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น มีขอจํากัดเรื่องงบประมาณและยังขาดองคความรู ความเขาใจเรื่องการกําจัดขยะที่เหมาะสม จึงทําใหเกิดปญหาจากขยะมูลฝอยทั้งดานสิ่งแวดลอมและดานสุขอนามัย

ภาพที่ 1-1 ขยะในชุมชนหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

Page 12: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

2

ในระหวางป พ.ศ.2551-2554 มีแผนการสงเสริมการผลิตพลังงานจากขยะ ในเทศบาลที่มีขยะ 50-100 ตัน/วัน จํานวน 1 แหง เทศบาลที่มีปริมาณขยะ 10-50 ตัน/วัน จํานวน 5 แหง เทศบาลที่มีจํานวนขยะ 5-10 ตัน/วัน จํานวน 5 แหง และเทศบาลที่มีขยะนอยกวา 5 ตัน/วัน รวมกับองคก ารบริหารสวนตําบล (อบต.) จํานวน 200 แหง จังหวัดกาญจนบุรี เปนจังหวัดทางภาคกลาง มีภูมิประเทศสวนใหญเปนปา มีภูมิอากาศสวนใหญรอนและช้ืน มีแสงแดดจัดบางชวงสลับกับฝนตก ซึ่งเปนปญหาทางสิ่งแวดลอมกับกองขยะ ที่ดําเนินการไมถูกสุขลักษณะแบบการเทกอง โดยขยะที่เทกองและถูกนํ้าฝนทําใหเกิดการแพรกระจายของนํ้าเสียจากกองขยะไปสูพ้ืนที่เกษตรกรรมและนํ้าฝนยังทําใหคาความช้ืนภายในกองขยะเพ่ิมขึ้นสงผลกับคาความรอนของ RDF (Refuse Derived Fuel) ที่ไดจะลดลง กอใหเกิดแมลง และพาหะนําเช้ือโรคตาง ๆ ดังน้ันขยะชุมชนสวนใหญจะมีความช้ืนเมื่อรวบรวมไดไมนอยกวา 75% ขึ้นไป และประกอบดวยขยะประเภทอาหารไมนอยกวา 60 % ของขยะทั้งหมด ขยะที่มีความช้ืนสูงจะลดประสิทธิภาพการเปลี่ยนเปนพลังงานโดยตรง ถาสามารถดึงความช้ืนออกจากขยะชุมชนโดยผานกระบวนการที่เหมาะสมจะสามารถเปลี่ยนจากขยะสูพลังงาน สามารถใชในกระบวนการผลิตหลากหลายอุตสาหกรรม เชน โรงงานปูนซีเมนส โรงผลิตกระแสไฟฟาจากขยะชุมชนทดแทนเช้ือเพลิงชนิดอ่ืน และ เปนการกําจัดขยะอยางมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีที่สําคัญในการดําเนินการคือ การดึงความช้ืนออกจากขยะชุมชน เรียกวา “biodrying” เปนวิธีการชีวภาพในการทําใหขยะชุมชนแหงหรือลดความช้ืนในขยะลงใหงายตอการใชเปนเช้ือเพลิงสําหรับภาคอุตสาหกรรม ปจจุบันมีการผลิตเทคโนโลยี biodrying เนนไปที่กระบวนการ aerobic technology และใชไอรอนปอนเขาทอที่เก็บขยะ โดยจะตองมีการกลับขยะ 2-8 ครั้งตอวัน ใชเวลาในการดําเนินการทั้งหมด 15 วัน ความช้ืนจะลดลง 20 % ซึ่งใชเวลานานไมเหมาะสมในสถานการณ มีความจําเปนตองใชแรงงานคนจํานวนมากในการกลับขยะ ผูวิจัยเห็นถึงปญหาของขยะชุมชนที่สงผลตอชีวิตและความเปนอยูในชุมชนใกลกองขยะที่มีการเทกองอยางไมถูกสุขลักษณะ จึงคิดที่จะนําขยะเปลี่ยนเปนพลังงานซึ่งมีความจําเปนที่ตองมีกระบวนการลดความช้ืนโดยกระบวนการ biodrying ของขยะที่เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศในประเทศไทย ที่มีลักษณะรอนช้ืน รวมถึงลดเวลาของกระบวนการเดิมใหสั้นที่สุดใชกําลังคนนอยลง เพ่ือแปรรูปเปนพลังงานไดอยางเหมาะสมที่สุด 1.2 วัตถุประสงคการวิจัย 1.2.1 ออกแบบและพัฒนาตนแบบผลิต RDF ระดับหองปฏิบัติการจากขยะชุมชนดวย biodrying 1.2.2 หาคาการทํางานที่เหมาะสมในการทํางานของ rotary biodrying ระหวางอัตราการหมุนของโรตารี่ อัตราการไหลของอากาศ อุณหภูมิอากาศ เพ่ือใหมีประสิทธิภาพการทํางานสูงสุด

Page 13: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

3

1.3 ขอบเขตของการวิจัย 1.3.1 ศึกษาคุณสมบัติของขยะชุมชนตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี และออกแบบเครื่องจักรที่มีการหมุนกลับของขยะชุมชนเพ่ือใหเกิดการหมุนเวียนของอากาศ และลดปริมาณความช้ืนที่อยูในขยะใหเหมาะสมกับการนําไปใชงานในภาคอุตสาหกรรม 1.3.2 หาคาคุณสมบัติของ RDF ที่ไดจากกระบวนการผลิต rotary biodrying โดยมีวัตถุดิบจากชุมชนหนองบัว 1.3.3 ระยะเวลาในการดําเนินการ 1 ป 1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1.4.1 เครื่องตนแบบในกระบวนการผลิต RDF โดยใช rotary biodrying 1.4.2 ลดปริมาณขยะชุมชนโดยเปลี่ยนเปนพลังงานเช้ือเพลิงขยะ 1.4.3 ลดปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดจากการกําจัดขยะชุมชนที่ไมถูกตองในปจจุบัน

1.5 นิยามศัพทเฉพาะที่เก่ียวของกับการวิจัย RDF (Refuse Dervied Fuel) หมายถึง เช้ือเพลิงที่ไดมาจากการแปลงสภาพของขยะมูลฝอย โดยผานกระบวนการลดความช้ืน ขนาดและความหนาแนนใหเหมาะสมกับการใชงาน Biodrying หมายถึง กระบวนการซึ่งใชประโยชนความรอนที่ปลอยออกมาระหวางการยอยสลายของขยะชุมชน เพ่ือลดความช้ืนลงใหเหมาะสมที่จะเปลี่ยนเปนเช้ือเพลิงจากขยะ

Page 14: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวของ

ขยะมูลฝอยนับเปนปญหาสําคัญอีกอยางของประเทศไทยเพราะนอกจากจะมีความเก่ียวเนื่องกับคุณภาพชีวิตของคนไทยและภาพลักษณของประเทศแลวการเกิดของขยะและการจัดการขยะลวนสงผลไปสูปญหาสิ่งแวดลอม ในบทนี้จะรวบรวมความหมายของขยะมูลฝอย องคประกอบของขยะ เทคโนโลยีการกําจัดขยะในรูปแบบท่ีเหมาะสม รวมไปถึงระบบหรือสิ่งตางๆท่ีเก่ียวของในการจัดการขยะและการยอยสลายของขยะมูลฝอยและการวิจัยทําเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่ท่ีจะทําใหขยะมูลฝอยยอยสลายโดยใชกระบวนการชีวภาพ (Biodrying) 2.1 ขยะ ขยะมูลฝอย คือ สิ่งตาง ๆ ท่ีเราไมตองการ ท่ีเปนของแข็งหรือออน มีความชื้น ไดแก เศษกระดาษ เศษผา เศษอาหาร ถุงพลาสติก ภาชนะกลองใสอาหาร เถา มูลสัตว หรือซากสัตวรวมตลอดถึงวัตถุอ่ืน สิ่งใดท่ีเก็บกวาดไดจากถนน ตลาด ท่ีเลี้ยงสัตวหรือท่ีอ่ืน ท่ีอยูในสภาพของแข็งของเหลว กาซในทางวิชาการจะใชคําวา ขยะมูลฝอย ซ่ึงหมายถึง บรรดาสิ่งของท่ีไมตองการใชแลว ซ่ึงสวนใหญจะเปนของแข็ง จะเนาเปอยหรือไมก็ตาม รวมตลอดถึง เถา ซากสัตว มูลสัตว ฝุนละออง และเศษวัตถุท่ีท้ิงแลวจากบานเรือน ท่ีพักอาศัย สถานท่ีตาง ๆ รวมถึงสถานท่ีสาธารณะ ตลาดและโรงงานอุตสาหกรรม การยอยสลายทางชีวภาพ (biodegradation) หรือการสลายตัวทางชีวภาพ คือสารเคมีท่ีสลายตัวของวัสดุจากเชื้อแบคทีเรียหรือทางชีวภาพอ่ืนๆ โดยมีความสัมพันธกับ ระบบนิเวศ การจัดการขยะ และสภาพแวดลอมทางชีวภาพ ซ่ึงเก่ียวของกับผลิตภัณฑท่ีเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมท่ีสามารถยอยสลายกลับไปเปนธาตุตามธรรมชาติ สารอินทรียจะถูกยอยสลายดวยออกซิเจน หรือไมใชออกซิเจน

ปจจุบันมีการคิดคนเทคโนโลยีกําจัดขยะท่ีสามารถแปลงขยะเปนพลังงาน และใชผลิตกระแสไฟฟา ไดแก

2.1.1 เทคโนโลยีการฝงกลบ และระบบผลิตกาซชีวภาพจากหลุมฝงกลบขยะ ( landfill gas to energy)

2.1.2 เทคโนโลยีเตาเผาขยะ (incineration) 2.1.3 เทคโนโลยีการผลิตกาซเชื้อเพลิงจากขยะชุมชน ( municipal solid waste

gasification : msw gasification) 2.1.4 เทคโนโลยียอยสลายแบบไมใชออกซิเจน (anaerobic digestion) 2.1.5 เทคโนโลยีผลิตเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel : RDF) 2.1.6 เทคโนโลยีพลาสมาอารก ( plasma arc) 2.1.7 เทคโนโลยีการแปรรูปขยะเปนน้ํามันเชื้อเพลิง ( pyrolysis)

Page 15: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

5

2.2 องคประกอบของขยะมูลฝอย 2.2.1 ผัก ผลไมและเศษอาหาร หมายถึง เศษผัก เศษผลไม เศษอาหารท่ีเหลือจากการ

เตรียม การปรุง และการบริโภค (ยกเวน เปลือกหอย กระดูก กางปลา ซังขาวโพด กานกระถิน) เชน ขาวสุก เปลือกผลไม เนื้อสัตว ฯลฯ

2.2.2 กระดาษ หมายถึง วัสดุหรือผลิตภัณฑท่ีทําจากเยื่อกระดาษ ตัวอยางเชน กระดาษหนังสือพิมพ แมกกาซีน หนังสือตางๆ ใบปลิว การด ถุงกระดาษ กลองกระดาษ กระดาษอัด ฯลฯ

2.2.3 พลาสติก หมายถึง วัสดุหรือผลิตภัณฑท่ีทํามาจากพลาสติก ตัวอยางเชน ถุงพลาสติก ภาชนะพลาสติก ของเลนเด็กท่ีทําดวยพลาสติก ผลิตภัณฑไฟเบอรกลาส ฯลฯ

2.2.4 ผา หมายถึง สิ่งทอตางๆ ท่ีทํามาจากเสนใยธรรมชาติและเสนใยสังเคราะห เชน ฝาย ลินิน ผาไนลอน ตัวอยางเชน ดาย เสื้อผา ผาเช็ดมือ ถุงเทา ฯล

2.2.5 ไม หมายถึง วัสดุหรือผลิตภัณฑท่ีทําจากไม ไมไผ ฟาง หญา เศษไม รวมท้ังดอกไม 2.2.6 ยางและหนัง หมายถึง วัสดุหรือผลิตภัณฑท่ีทํามาจากยางหรือหนัง ตัวอยางเชน

เครื่องหนัง รองเทา ลูกบอลหนัง กระเปาหนัง ฯลฯ 2.2.7 แกว หมายถึง วัสดุหรือผลิตภัณฑท่ีทํามาจากแกว ตัวอยางเชน กระจก ขวดแกว

หลอดไฟ เครื่องแกว ฯลฯ 2.2.8 โลหะ หมายถึง วัสดุและผลิตภัณฑตางๆ ท่ีทําจากโลหะ ตัวอยางเชน กระปองโลหะ

สายไฟ กระดาษฟอยล ภาชนะตางๆ ตะปู ฯลฯ 2.2.9 หิน กระเบื้อง กระดูกสัตยและเปลือกหอย หมายถึง เศษหิน เศษกระดูกสัตว เปลือก

หอย เชน เซรามิกส เปลือกหอย กุง ปู กระดูกสัตว กางปลา ฯลฯ 2.2.10 อ่ืน ๆ หมายถึง วัสดุอ่ืนใดท่ีไมสามารถจัดกลุม หรือ เขากลุมตาง ๆ ขางตนได รวมถึง

ฝุน ทราย เถา

Page 16: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

6

2.3 สัดสวนปริมาณขยะในทองถิ่น

ภาพท่ี 2-1 ขยะมูลฝอย

Page 17: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

7

ตารางท่ี 2-1 สัดสวนปริมาณขยะของตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

องคประกอบขยะ น้ําหนักขยะ

รอยละ (กิโลกรัม)

กระดาษ 35.6 9.11 กระดูก, เปลือกหอย 1.6 0.41 เศษไม เศษใบไมจากสวน 20.4 5.22 หนัง 1.2 0.31 เศษอาหาร ขยะชีวภาพอ่ืนๆ 170.4 43.61 ถุงพลาสติกรีไซเคิลได 30.1 7.70 ขวดพลาสติกรีไซเคิลได 9.6 2.46 ถุงพลาสติกรีไซเคิลไมได 4.6 1.18 พลาสติกรีไซเคิลไมได 7.2 1.84 แกว 44.4 11.36 เหล็ก 7.4 1.89 โลหะไมเปนสนิม(แมเหล็กไมดูดติด) 1.0 0.26 เศษผา สิ่งทอ 6.0 1.54 เศษวัสดุใชไมได(เซรามิกส หิน) 6.0 1.54 ขยะอันตราย(กระปองสเปรย หลอดไฟถานไฟฉาย) 0.6 0.15 อ่ืนๆ (วัสดุผสม หรือวัสดุท่ีไมสามารถแบงแยกได) 44.6 11.42

ผลรวมท้ังหมด 390.7 100.00

ท่ีมา : ผศ.วิเชียร เพียงโงก และคณะ ขยะพลังงานในชุมชนตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

2.4 การจําแนกประเภทขยะมูลฝอย การจําแนกประเภทขยะมูลฝอยสามารถทําไดหลายรูปแบบข้ึนอยูกับการปรับใชในการดําเนินงานจัดการขยะตามความเหมาะสม เชน แบงแยกตามความชื้นก็ไดเปนขยะเปยกและขยะแหงท้ังนี้เพ่ือใหงายตอการท่ีสมาชิกในชุมชนจะทําการคัดแยกกอนนําไปท้ิงในท่ีๆหนวยงานภาครัฐหรือองคกรเอกชนอิสระจัดหาไวให โดยท่ัวไปแลวมักพบการจัดจําแนกขยะออกเปนหลากหลายชนิดมากข้ึน ท้ังนี้เพ่ือลดข้ันตอนการคัดแยกท่ีจุดกําจัดขยะและยังเอ้ือประโยชนตอการวางแผนการจัดการขยะใหมีความเหมาะสมมากข้ึนดวย กรมควบคุมมลพิษไดจําแนกขยะมูลฝอยออกไดเปน10 ประเภท ดังนี้ 2.4.1 ขยะมูลฝอยสด (garbage) หรือขยะมูลฝอยเนาเปอยไดงายเปนขยะมูลฝอยประเภทเศษอาหารท่ีเหลือจากการรับประทานเศษพืชผักและผลไมจากการปรุงอาหาร ตลอดจนเศษใบตองท่ีหอหุมอาหาร เปนขยะมูลฝอยท่ีประกอบดวยอินทรียสารมีน้ําหนักและความชื้นคอนขางสูง

Page 18: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

8

2. 4.2 ขยะมูลฝอยแหง (refuse, rubbish) หรืออาจเรียกขยะมูลฝอยไมเนาเปอย หรือเนาเปอยไดยาก เปนขยะมูลฝอยชื้นและน้ําหนักคอนขางต่ําประกอบดวยสารท่ีสลายตัวปะปนมา เชน เศษกระดาษ เศษแกว ไม โลหะ ฯลฯ ขยะฝอยชนิดนี้จะมีท้ังเผาไหมได (combustible waste) และเผาไหมไมได (non-combustible waste) 2. 4.3 ข้ีเถา (ashes) เชน เถาท่ีเกิดจากเตาไฟ การเผาถาน เปนตน สานประกอบของข้ีเถาและสารตกคางคือ ฝุนข้ีเถาท่ีเหลือจากการเผาไหมและสารท่ีตกคางอยูไมอาจเผาไหมได เชน แกว กระเบื้อง และโลหะตางๆ ขยะมูลฝอยพวกนี้จะมีความเฉ่ือยสูงคือ ไมเกิดการยอยสลายอีก 2.4.4 ขยะมูลฝอยอันตราย (hazardous waste) หมายถึง ขยะมูลฝอยท่ีมีอันตรายอันเกิดจากการปนเปอนดวยเชื้อโรค สารเคมีท่ีเปนอันตราย ขยะประเภทนี้ควรมีการเก็บกัก เก็บขน และกําจัดท่ีตองปองกันการแพรกระจาย เชน ขยะมูลฝอยติดเชื้อจากโรงพยาบาล เปนตน 2.4.5 ขยะมูลฝอยจากถนน (street refuse) ไดแก เศษสิ่งของตางๆท่ีปรากฏและ กวาดจากถนน ตรอก ซอย เชน เศษกระดาษ ผง ฝุน ใบไม พลาสติก อิฐ หิน ทราย กรวด 2.4.6 ขยะมูลฝอยจากการกอสราง (construction refuse) ขยะมูลฝอยจากกิจกรรมนี้จัดไดวาเปนขยะมูลฝอยแหงท่ีประกอบดวยฝุน หิน คอนกรีต เศษไม เศษกระเบื้อง เศษปูน อิฐหัก ฯลฯ 2.4.7 ขยะมูลฝอยประเภทซากสัตว (dead animal) เปนซากสัตวท่ีตายดวยสาเหตุตางๆ โดยเปนขยะมูลฝอยท่ีเนาเปอยไดงายและมีกลิ่นเหม็น หากเปนสัตวท่ีตายเนื่องจากโรค เชน โรคแอนแทรกซ โรคไขหวัดนกจะเปนอันตรายมากเพราะเชื้อโรคอาจแพรกระจายมาสูคนได 2.4.8 ขยะมูลฝอยจากซากยานพาหนะ (abandoned vehicles) ทุกชนิดท่ีหมดสภาพใชงานไมได รวมท้ังชิ้นสวนประกอบ เชน แบตเตอรี่ ยาง ฯลฯ 2.4.9 ขยะมูลฝอยจากโรงงานอุตสาหกรรม (industrial refuse) ไดแกเศษวัสดุท่ีเกิดจากการผลิตหรือข้ันตอนการผลิต 2.4.10 ขยะมูลฝอยจากการประปาและโรงกําจัดน้ําเสีย (water and wastewater

treatment plant wastes) สวนท่ีเหลือหรือตกคางจากการประปาหรือบําบัดน้ําเสียซ่ึงมาจากถัง

ตกตะกอน

2.5 แหลงท่ีเกิดของขยะ การจําแนกขยะมูลฝอยหรือการรูจักช นิดของขยะท่ีเกิดข้ึนนั้นถือไดถือวาเปนสิ่งจําเปนพ้ืนฐานในกิจกรรมการจัดการขยะมูลฝอยดานตางๆ อันจะนําไปสูการวางแผนการจัดการขยะมูลฝอยและระบบกําจัดขยะท่ีถูกตองและเหมาะสมกับสภาพความเปนจริงในพ้ืนท่ี ในการกลาวถึงแหลงกําเนิด การจําแนกประเภทของขยะมูลฝอย การศึกษาและคาดการณปริมาณขยะมูลฝอย และอัตราการเกิดของขยะ ไดใหความหมายของแรงจูงใจ หมายถึง กระบวนการท่ีเริ่มจากบุคคลท่ีมีความตองการ (needs) และทําใหสรางแรงขับใหบุคคลนั้นแสดงพฤติกรรมท่ีสนองความตองการของตนเอง 2. 5.1 แหลงกําเนิดของขยะมูลฝอย การทราบแหลงท่ีมาหรือแหลงกําเนิดขยะมูลฝอยและชนิดของขยะจะทําใหสามารถวางแผนการจัดการขยะไดงายมากข้ึน แหลงกําเนิดขยะมูลฝอยนั้น สามารถจําแนกไดหลายรูปแบบเชนกัน ข้ึนอยูกับหลักเกณฑท่ีใชในการจําแนก เชน หากแบงตามลักษณะการปกครองสามารถแบง

Page 19: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

9

ออกเปน 2 ประเภท ไดแก มูลฝอยท่ีเกิดข้ึนในเขตเทศบาล และขยะมูลฝอยท่ีเกิดนอกเขตเทศบาล (องคการบริหารสวนตําบล) กรมโรงงานอุตสาหกรรมแบงแหลงกําเนิดของมูลฝอยออกเปน 8 ประเภท ตามลักษณะการใชท่ีดิน ดังตอไปนี้ 2.5.1.1 ยานท่ีพักอาศัย (residential) มักจะพบขยะมูลฝอยสด และขยะมูลฝอยแหง หรือ อาจกลาวไดวา โดยมากแลวจะประกอบดวยสารอินทรีย เชน เศษอาหาร เศษหนัง เศษกระดาษ และสารอนินทรีย เชน เศษแกว เศษโลหะ เศษวัสดุกอสราง ตัวอยางของเสียอันตรายจากชุมชน ไดแกถานไฟฉายหมดอายุ กระปองสารปราบศัตรูพืช ยาหมดอายุ หลอดไฟหมดอายุหรือชํารุดแลว เปนตน ในสวนของขยะมูลฝอยสดหรืออินทรียท่ียอยสลายไดนั้น โดยมากมักมีความชื้นสูง เม่ือปลอยท้ิงไวในระยะหนึ่งจะทําใหเกิดการเนาเปอย และสงกลิ่นเหม็นตามมา และหากไมมีการจัดการท่ีดีแลวอาจกลายเปนแหลงเพาะพันธุเชื้อโรค และเปนท่ีอยูอาศัยของแมลงหรือสัตวรบกวนตางๆ เชน หนู นก ยุง แมลงวัน เปนตน สวนขยะมูลฝอยแหงนั้นปกติแลวจะถูกยอยสลายโดย จุลินทรีไดยากหรืออาจไมยอยสลายเลย ขยะมูลฝอยกลุมนี้จะมีความชื้นนอยและขยะมูลฝอยบางสวนสามารถนํามาเปนเชื้อเพลิงไดดี เชน เศษไม เศษกระดาษ ขยะท่ีบางอยางก็ติดไฟยากเชน เศษกระเบื้อง กระปอง เปนตน 2.5.1.2 ยานพาณิชยกรรม ขยะมูลฝอยท่ีมาจากยานพาณิชยกรรม (commercial area) มักเกิดจากกิจกรรมในยานธุรกิจการคา สวนมากแลวจะเปนขยะมูลฝอยจําพวกกระดาษ เศษอาหาร กระปอง และอาจจะมีขยะอันตรายดวย เชน หลอดไฟ ถานไฟฉาย ตลับหมึกพิมพ เปนตน ท้ังนี้ข้ึนอยูกับสถานประกอบการนั้นๆ 2.5.1.3 สถานท่ีราชการและสถาบันการศึกษาขยะจากสถานท่ีราชการและสถาบันการศึกษา (institutional area) มีหลากหลายชนิด ไมวาจะเปน กระดาษ พลาสติก เศษอาหาร เศษใบไม เปนตน ซ่ึงเกิดจากกิจกรรมการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมพิเศษในหนวยงาน หากมีการกอสรางภายในบริเวณหนวยงาน ก็อาจจะมีขยะจากการกอสรางดวย 2.5.1.4 แหลงท่ีมีการกอสรางหรือทุบทําลายอาคารสิ่งกอสรางโดยสวนใหญขยะท่ีเกิดข้ึน ณ แหลงท่ีมีการกอสรางหรือทุบทําลายอาคารสิ่งกอสราง (construction and demolition area) มักเกิดจากเศษท่ีเหลือจากวัสดุกอสรางใหม เชน ชิ้นสวนท่ีเหลือจากการตัดวัสดุท่ีเสียหาย บรรจุภัณฑ วัสดุท่ีใชแลวในระหวางการกอสรางและของเสียอ่ืนๆท่ีเกิดจากกิจกรรมการกอสราง นอกจากนี้ยังรวมไปถึงของเสียจากการรื้อถอน อันหมายถึงเศษวัสดุกอสรางจากตัวอาคารรวมถึงชิ้นสวนท่ีเปนอันตราย เชน แอสเบสตอส ชิ้นสวนท่ีมีปรอทเปนองคประกอบ น้ํามันดิน พีวีซี สวนของเสียท่ีเกิดจากการรื้อถอนสวนใหญประกอบดวยวัสดุกอสรางและเศษคอนกรีต ของเสียจากการซอมบํารุงถนนประกอบดวยหินกรวด ดินและทรายผสมรวมกับบิทูเมน 2.5.1.5 พ้ืนท่ีสาธารณะ (open area) หมายถึง สวนสาธารณะ ถนน ชายหาด สถานท่ีพักผอนหยอนใจ ขยะท่ีเกิดข้ึนตามถนน ไดแก ฝุน ผง ดิน หิน ใบไม ใบหญา เศษกระดาษ อาจมีเศษอาหารพลาสติกท่ีเกิดจากการท่ีมีคนงานนําอาหารเขามารับประทานในสวนสาธารณะ เปนตน

Page 20: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

10

2.5.1.6 ระบบบําบัดตางๆ (treatment plant) หากเปนระบบบําบัดน้ําเสียจะพบวากากตะกอนท่ีไดจากการบําบัดน้ําเสียเปนหลัก นอกจากนี้ยังมีขยะท่ีดักไดจากกระบวนการบําบัดน้ําเสียอีกสวนหนึ่ง 2.5.1.7 ยานอุตสาหกรรม (industrial area) แตละแหงนั้นจะใหขยะท่ีมีความแตกตางกันไป ข้ึนอยูกับชนิดของแหลงอุตสาหกรรมนั้น เชน อุตสาหกรรมอาหาร ก็จะพบขยะอินทรียหรือขยะท่ียอยสลายไดเองไดมากกวาอนินทรีย แตถาเปนขยะจากอุตสาหกรรมถลุงโลหะ ก็จะพบขยะอนินทรียเยอะกวาอินทรียเปนตน 2.5.1.8 ยานเกษตรกรรม (agricultural area) จะข้ึนอยูกับชนิดของกิจกรรมการเกษตร เชน มูลสัตว ฟางขาว เศษหญา เศษวัชพืช เปนตน 2.6 ปริมาณขยะในประเทศไทย สถานการณขยะของไทยตามรายงานของกรมควบคุมมลพิษระบุวา ชวง 10 ปท่ีผานมา ประเทศไทยมีปริมาณขยะเพ่ิมข้ึนอยางตอเนื่อง โดยขยะมูลฝอยเปนขยะท่ีมีปริมาณมากท่ีสุดของประเทศไทย โดยป พ.ศ.2555 มีขยะมูลฝอยประมาณ 16 ลานตัน ซ่ึงเปนขยะท่ีเกิดข้ึนในกรุงเทพฯ รอยละ 22 หรือเฉลี่ย 9,800 ตันตอวัน สําหรับขยะกลุมนี้กําจัดอยางถูกวิธีตามหลักวิชาการเพียง 5.8 ลานตัน (รอยละ 36) ท่ีเหลืออีกกวา 10 ลานตัน กําจัดโดยการเผาท้ิง กองท้ิงในบอดินเกาหรือพ้ืนท่ี รกรางท้ังนี้ มีการนําขยะมูลฝอยบางสวนท้ังท่ีมาจากชุมชนและภาคอุตสาหกรรมมาคัดแยกเพ่ือนําไปใชประโยชน เชน ขวดแกว ขวดพลาสติก หรือกระดาษ ก็นําไปรีไซเคิล สวนขยะจากชุมชนสวนอ่ืนๆ เชน ขยะอินทรียก็ทําเปนปุยหรือผลิตกาซชีวภาพ และนําไปผลิตพลังงานทดแทน ดานของเสียอันตรายก็เพ่ิมข้ึนมาเรื่อยๆ ทุกป ซ่ึงสวนใหญเปนของเสียอันตรายจากอุตสาหกรรม ท่ีเหลือคือของเสียอันตรายจากชุมชน รวมถึงซากเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส และขยะมูลฝอยติดเชื้อ ท้ังนี้ ขยะกวารอยละ 70 มาจากอุตสาหกรรมในภาคตะวันออก กรุงเทพฯ และปริมณฑล 2.6.1 สัดสวนขยะในประเทศไทย ปริมาณมูลฝอยในป พ.ศ.2553 เกิดข้ึนในเขตเทศบาลรวมเมืองพัทยา มากท่ีสุดถึงรอยละ 40 ของปริมาณ มูลฝอยท้ังหมด รองลงมา ไดแก พ้ืนท่ีองคการบริหารสวนตําบล กรุงเทพมหานครยังคงมีปริมาณมูลฝอยมาก 8,766 ตันตอวัน คิดเปน รอยละ 38 เม่ือแยกตามภูมิภาค พบวา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีปริมาณขยะ 4,768 ตันตอวัน คิดเปนรอยละ 26 และ 21 ของปริมาณท่ัวประเทศ รองลงมา ไดแก ภาคกลางและภาคตะวันออก 5,918 ตันตอวัน คิดเปนรอยละ16 ภาคเหนือ 3,315 ตันตอวัน คิดเปนรอยละ 15 ภาคใต 2,619 ตันตอวัน 2. 6.2 สถานการณขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายในประเทศไทย สําหรับสถานการณขยะมูลฝอยและของเสียของอันตรายในประเทศไทยท่ีนําเสนอในบทนี้ จะแยกนําเสนอสถานการณการเกิดและการจัดการขยะตามเขตการปกครอง อันไดแก ขยะมูลฝอยในเขตการปกครองสวนทองถ่ินอ่ืนๆท่ีสําคัญ รวมไปถึงการจัดการขยะมูลฝอยเพ่ือผลิตพลังงานสถานการณขยะของไทยตามรายงานของกรมควบคุมมลพิษระบุวา ชวง 10 ปท่ีผานมา ประเทศไทยมีปริมาณขยะเพ่ิมข้ึนอยางตอเนื่อง

Page 21: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

11

โดยขยะมูลฝอยเปนขยะท่ีมีปริมาณมากท่ีสุดของประเทศไทย โดยป พ.ศ.2555 มีขยะมูลฝอยประมาณ 16 ลานตัน ซ่ึงเปนขยะท่ีเกิดข้ึนในกรุงเทพฯ รอยละ 22 หรือเฉลี่ย 9,800 ตันตอวัน สําหรับขยะกลุมนี้กําจัดอยางถูกวิธีตามหลักวิชาการเพียง 5.8 ลานตัน (รอยละ 36) ท่ีเหลืออีกกวา 10 ลานตัน กําจัดโดยการเผาท้ิง กองท้ิงในบอดินเกาหรือพ้ืนท่ีรกราง ท้ังนี้ มีการนําขยะมูลฝอยบางสวนท้ังท่ีมาจากชุมชนและภาคอุตสาหกรรมมาคัดแยกเพ่ือนําไปใชประโยชน เชน ขวดแกว ขวดพลาสติก หรือกระดาษ ก็นําไปรีไซเคิล สวนขยะจากชุมชนสวนอ่ืนๆ เชน ขยะอินทรียก็ทําเปนปุยหรือผลิตกาซชีวภาพ และนําไปผลิตพลังงานทดแทน 2. 6.3 ขยะมูลฝอยในเขตองคการบริหารสวนตําบล ขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึนเขตองคการบริหารสวนตําบลนั้น องคการบริหารสวนจังหวัดและองคการบริหารสวนตําบลเปนผูรับผิดชอบเก็บรวบรวมและนําไปกําจัด ซ่ึงสวนใหญยังไมมีระบบเก็บรวบรวมและสถานท่ีกําจัดขยะมูลฝอยท่ีถูกหลักวิชาการ โดยมากแลวมักจะกําจัดดวยวิธีการกองรวมกันบนพ้ืนแลวเผากลางแจง หรือนําไปท้ิงบอดินเกาหรือบนพ้ืนท่ีวางตางๆ กอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม มีรายงายวา มีเพียงองคการบริหารสวนตําบลประมาณ 400 แหงจากท้ังหมด 6157 แหง ท่ีนําขยะมูลฝอยไปกําจัดอยางถูกหลักวิชาการรวมกับเทศบาลท่ีมีสถานท่ีกําจัดดังกลาว สามารถกําจัดขยะมูลฝอยอยางถูกหลักวิชาการไดเพียง 1390 ตันตอวัน คิดเปนรอยละ 8 ของปริมาณขยะมูลฝอยนอกเขตเทศบาล 2.6.4 ระบบกําจัดขยะมูลฝอยเทศบาลเมืองกาญจนบุรี เทศบาลเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ดําเนินการจัดการขยะมูลฝอย โดยไดรับการสนับสนุนงบประมาณเพ่ือกอสรางระบบกําจัดขยะมูลฝอย ภายใตแผนปฏิบัติการเพ่ือการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมในระดับจังหวัด ปพ.ศ. 2540 รวมวงเงินท้ังสิ้น 18.850 ลานบาท เพ่ือกอสรางในสวนของพ้ืนท่ีฝงกลบขยะมูลฝอย บริเวณบานหนองโรง ตําบลทุงสมอ อําเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี พ้ืนท่ี 94 ไร กอสรางแลวเสร็จ แตไมเปดดําเนินการ เนื่องจากถูกตอตานจากประชาชนในพ้ืนท่ี ระบบเก็บขนขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองกาญจนบุรี ดําเนินการโดยเทศบาลเองท้ังหมด ซ่ึงสามารถใหบริการเก็บขนขยะมูลฝอยไดครอบคลุมพ้ืนท่ี รอยละ 90 โดยมีรถประเภทเปดขางเททาย จํานวน 2 คัน รถประเภทอัดทาย จํานวน 2 คัน รถยกถังคอนเทนเนอร จํานวน 1 คัน จัดเก็บวันละ 1-3 เท่ียว ปริมาณของขยะในเขตเทศบาล 40 ตัน/วัน ปริมาณความสามารถท่ีจัดเก็บได ประมาณ 35.5 ตัน/วัน คิดเปนประสิทธิภาพในการเก็บขนขยะมูลฝอย รอยละ 88.75 มีถังขยะประเภทถังพลาสติกแบบถังเดี่ยวท้ิงขยะรวมทุกประเภท ขนาด 200 ลิตร เจาหนาท่ีเก็บขนขยะ 44 คน ท่ีตั้ง สถานท่ีกําจัดขยะมูลฝอย ตั้งอยูบริเวณบานหนองโรง ตําบลทุงสมอ อําเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี มีพ้ืนท่ี 94 ไร ซ่ึงเปนท่ีดินกรรมสิทธิ์ของเทศบาล หางจากเขตเทศบาลประมาณ 15 กิโลเมตร เปนแบบวิธีการฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล หลังจากกอสรางเสร็จแลว ไมไดเปดเนื่องจากถูกประชาชนตอตาน เนื่องจากสถานท่ีกําจัดขยะมูลฝอยท่ีถูกหลักสุขาภิบาลไมสามารถเปดใชงานได ทําใหเทศบาลแกปญหาโดยเก็บขนขยะไปกําจัดท่ีบานเขาทอง หมูท่ี 6 ต.ปากแพรก อ.เมือง จ.กาญจนบุรี บนพ้ืนท่ี 80 ไร ซ่ึงเปนท่ีดินของสวนราชการอ่ืน คือ อยูในเขตพ้ืนท่ีทหาร อยูหางจากเทศบาล ประมาณ 14 กม. ตําแหนงพิกัดทางภูมิศาสตร มีวิธีการกําจัดขยะมูลฝอยโดยการเทกอ งท้ิงภายในสถานท่ีกําจัดขยะ ไมมีระบบบําบัดน้ําชะขยะ สถานท่ีกําจัดขยะรองรับปริมาณขยะมูลฝอย

Page 22: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

12

ประมาณ 70 ตัน/วัน ท่ีมาจาก เทศบาลเมืองกาญจนบุรี ปริมาณเฉลี่ย 43 ตัน/วัน และหนวยงานอ่ืนๆ นําขยะมากําจัดประมาณวันละ 17 ตัน เปนของเทศบาลตําบลปากแพรก ประมาณ 12 ตัน และอบต.ทามะขาม ประมาณ 15 ตัน ปจจุบันมีการจัดเก็บคาธรรมเนียมการเก็บขนขยะมูลฝอยในอัตรา 20 บาท/ครัวเรือน/เดือน 2.7 ปจจัยท่ีมีตอการเปล่ียนแปลงปริมาณและลักษณะสมบัติของมูลฝอย 2.7.1 ท่ีตั้งทางภูมิศาสตรหรือสภาพภูมิประเทศ ท่ีตั้งทางภูมิศาสตรหรือสภาพภูมิอากาศประเทศ มีสวนสัมพันธตอสภาพดินฟาอากาศของพ้ืนท่ีในบริเวณตางๆ อยางมาก และดวยสภาพดินฟาอากาศท่ีแตกตางกันยอมทําใหธรรมชาติพ้ืนท่ีและลักษณะความเปนอยูของประชาชนแตกตางกันไปดวย เชนประเทศในเขตรอน ฝนตกชุกสามารถทําการเกษตรไดตลอดป ผลผลิตท่ีไดนอกจากจะใชอุปโภค บริโภคในประเทศแลว ยังสามารถสงผลผลิตทางการเกษตรออกจําหนายตางประเทศไดอีกดวย ประเทศในเขตรอนเหลานี้จึงมีขยะทางการเกษตรตลอดป ขณะท่ีประเทศในเขตหนาว อยางสวีเดนหรือนอรเวย จะมีขยะประเภทนี้ในชวงหนารอนเทานั้น หรือประเทศติดทะเลอยางโมซิมบิกหรือชิลี ซ่ึงมีท่ีตั้งทางภูมิศาสตรติดทะเล จะมีขยะท่ีเกิดการกิจกรรมการทําประมงมากกวา ประเทศออสเตรียท่ีไมมีทางออกทางทะเล 2.7.2 ฤดูกาล ฤดูกาลเปนปจจัยท่ีสวนใหญแลวจะสงผลตอปริมาณขยะอินทรียหรือขยะท่ีเกิดจากการเกษตรเชน ในประเทศไทยจะมีขยะทางการเกษตร เชนเศษฟางขาวมากในชวงตอนตนฤดูหนาว หรือประมาณเดือนตุลาคมถึงตนเดือนธันวาคม เนื่องจากเปนชวงเดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน ซ่ึงเปนเวลาท่ีมีการเก็บเก่ียวผลผลิตทุเรียนจะทําใหเราพบเปลือกทุเรียนเปนจํานวนมากในชวงเวลาดังกลาว 2.7.3 ระบบรวบรวมขนสงขยะมูลฝอย มีขอมูลจากองคการปกครองสวนทองถ่ินหลายพ้ืนท่ีท่ีชี้ใหเห็นวาการมีระบบรวบรวมขนสงขยะมูลฝอยท่ีสามารถใหบริการไดบอยหรือถ่ีมากข้ึน จะทําใหสามารถรวบรวมขยะมูลฝอยไดมากข้ึน ซ่ึงอาจทําใหคาดเดาไดวายังมีระบบการใหบริการเก็บขนขยะท่ีดีขยะมูลฝอยก็จะเกิดมากข้ึนตามมาดวย ปจจุบันนี้มีการศึกษาแลววาปริมาณมูลฝอยท่ีเกิดข้ึนจริงนั้นจะมีมากข้ึนหรือนอยลงไมไดข้ึนอยูกับประสิทธิภาพของระบบการรวบรวมหรือการขนสง ซ่ึงมีความเปนไปไดวาในขณะท่ีระบบรวบรวมขนสงขยะมูลฝอยยังไมมีความสะดวก 2.8 การคาดการณปริมาณขยะมูลฝอย การวิเคราะหปริมาณขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึนในแตละวัน อันรวมไปถึงการวิเคราะหอัตราการเกิดขยะมูลฝอยนั้น มีความสําคัญอยางยิ่ง โดยเฉพาะการนําไปใชเปนขอมูลในการวางแผนเพ่ือจะจัดการขยะมูลฝอยท้ังหมดท่ีเขาสูกระบวนการจัดการขยะ แมจะมีรายงานวาการคาดการณปริมาณขยะมูลฝอย และการวิเคราะหอัตราการเกิดขยะสามารถวัดไดหลายวิธี แตการศึกษาในเรื่องนี้ยังคงไมมีการยืนยันความถูกตองของวิธีการวัดมากนักซ่ึงเนื่องมาจากการจัดจําแนกชนิดของขยะท่ีมีความแตกตางกันไปในแตละงาน เชน ในกรณีของการวิเคราะหอัตราการเกิดขยะมูลฝอยตามแหลงท่ีพักอาศัย

Page 23: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

13

ตางๆ คาท่ีวิเคราะหไดอาจจะไมไดใกลเคียงกับคาจริง ท้ังนี้เพราะมีปจจัยหลายอยาง เชน การสะสมของขยะ ณ ท่ีเกิด และการใชพ้ืนท่ีอ่ืนในการกําจัดขยะซ่ึงทําใหคาท่ีวิเคราะหไดมีคาแตกตางจากท่ีประมาณไว อยางไรก็ตามการวัดการวัดอัตราการเกิดขยะมูลฝอยก็มีเปาหมายเดียวกันคือการวัดหรือการคํานวณเพ่ือใหไดมาซ่ึงปริมาณขยะท้ังหมดท่ีจะตองนํามาผานกระบวนการจัดการนั่นเอง การวิเคราะหหรือคาดการณปริมาณขยะมูลฝอยในปจจุบัน สามารถทําได 3 วิธีหลักดวยกันคือ วิธีการวิเคราะหโดยตรง การวิเคราะหโดยวิธีทางออม และการคํานวณโดยอาศัยหลักสมดุลสาร ซ่ึงไมวาเปนวิธีการใดก็จะตองมีการวัดท้ังปริมาณและการชั่งน้ําหนักขยะ ซ่ึงการวัดท้ัง 3 วิธีนี้ การชั่งน้ําหนักถือไดวามีความนาเชื่อถือมากกวา เพราะการวัดปริมาณขยะนั้นอาจมีขอผิดพลาดได เชน การวัดปริมาณของขยะท่ีถูกบีบอัดแลวกับขยะท่ียังไมไดถูกบีบอัด ดังนั้นในการวัดปริมาณของขยะโดยใชปริมาตรขยะเปนเกณฑจะตองมีการระบุระดับของการอัดขยะ (degree of compaction) ดวยทุกครั้ง การวัดปริมาณขยะจึงนิยมวัดในหนวยของน้ําหนัก เพราะนอกจากจะสามารถวัดไดจากหนวยของน้ําหนักโดยตรงแลว ยังสามารถนําขอมูลท่ีไดไปคํานวณเรื่องการขนสงขยะ เชนการกําหนดเสนทางการขนสงขยะวาจะสามารถใชทางหลวงไดหรือไม เนื่องจากการใชทางหลวงนั้นจะกําหนดโดยน้ําหนักบรรทุก 2.9 ผลเสียท่ีเกิดจากขยะมูลฝอย 2.9.1 เปนแหลงเพาะพันธุของแมลงและพาหะของโรค ขยะ เศษวัสดุ ของเสีย มีปริมาณเพ่ิมมากข้ึนทุกขณะ เนื่องจากการขยายตัวของเมืองการพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ืออํานวยความสะดวกสบาย การอยูอาศัยอยางหนาแนน หากใชวิธีกําจัดท่ีไมถูกตองเหมาะสม ยอมกอใหเกิดปญหาตามมา เนื่องจากเชื้อจุลินทรียท่ีปนเปอนมากับขยะมูลฝอยมีโอกาสท่ีจะขยายพันธุเพ่ิมจํานวนมากยิ่งข้ึนได เพราะขยะมูลฝอยมีท้ังความชื้นและสารอินทรียท่ีจุลินทรียใชเปนอาหาร ขยะพวกอินทรียสารท่ีท้ิงคางไว จะเกิดการเนาเปอยกลายเปนแหลงเพาะพันธุของแมลงวัน นอกจากนั้นพวกขยะท่ีปลอยท้ิงไวนาน ๆ จะเปนท่ีอยูอาศัยของหนู โดยหนูจะเขามาทํารังขยายพันธุ เพราะมีท้ังอาหารและท่ีหลบซอน ดังนั้นขยะท่ีขาดการเก็บรวบรวม และการกําจัด จึงทําใหเกิดเปนแหลงเพาะพันธุท่ีสําคัญของเชื้อโรค แมลงวัน หนู แมลงสาบ 2.9.2 เปนบอเกิดของโรค เนื่องจากการเก็บรวบรวมและการกําจัดขยะมูลฝอยไมดี หรือปลอยปละละเลยทําใหมีขยะมูลฝอยเหลือท้ิงคางไวในชุมชน จะเปนบอเกิดของเชื้อโรคตาง ๆ เชน ตับอักเสบ เชื้อไทฟอยด เชื้อโรคเอดส ฯลฯ เปนแหลงกําเนิดและอาหารของสัตวตาง ๆ ท่ีเปนพาหะนําโรคมาสูคน เชน แมลงวัน แมลงสาบ และหนู เปนตน 2.9.3 กอใหเกิดความรําคาญ ขยะมูลฝอย การเก็บรวบรวมไดไมหมดก็จะเกิดเปนกลิ่นรบกวน กระจายอยูท่ัวไปในชุมชน นอกจากนั้นฝุนละอองท่ีเกิดจากการเก็บรวบรวมการขนถาย และการกําจัดขยะก็ยังคงเปนเหตุรําคาญท่ีมักจะไดรับการรองเรียนจากประชาชนในชุมชนอยูเสมอ อีกท้ังอุดจาดตานาขยะแขยง

Page 24: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

14

2.9.4 กอใหเกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอม ขยะมูลฝอยเปนสาเหตุสําคัญท่ีทําใหเกิดมลพิษของน้ํา มลพิษของดิน และมลพิษของอากาศ เนื่องจากขยะสวนท่ีขาดการเก็บรวบรวม หรือไมนํามากําจัดใหถูกวิธี ปลอยท้ิงคางไวในพ้ืนท่ีของชุมชน เม่ือมีฝนตกลงมาจะไหลชะนําความสกปรก เชื้อโรค สารพิษจากขยะไหลลงสูแหลงน้ํา ทําใหแหลงน้ําเกิดเนาเสียได และนอกจากนี้ขยะมูลฝอยยังสงผลกระทบตอคุณภาพดิน ซ่ึงจะมีมากหรือนอยข้ึนอยูกับคุณลักษณะของขยะมูลฝอย ถาขยะมีซากถานไฟฉาย ซากแบตเตอรี่ ซากหลอดฟลูออเรสเซนตมาก ก็จะสงผลตอปริมาณโลหะหนักพวกปรอท แคดเมียม ตะก่ัว ในดินมาก ซ่ึงจะสงผลเสียตอระบบนิเวศนในดิน และสารอินทรียในขยะ มูลฝอยเม่ือมีการยอยสลาย จะทําใหเกิดสภาพความเปนกรดในดิน และเม่ือฝนตกมาชะกองขยะมูลฝอยจะ ทําใหน้ําเสียจากกองขยะมูลฝอยไหลปนเปอนดินบริเวณรอบ ๆ ทําใหเกิดมลพิษของดินได การปนเปอนของดิน ยังเกิดจากการนํามูลฝอยไปฝงกลบ หรือการยักยอกนําไปท้ิงทําใหของเสียอันตรายปนเปอนในดิน ถามีการเผาขยะมูลฝอยกลางแจงทําใหเกิดควันมีสารพิษทําใหคุณภาพของอากาศเสีย สวนมลพิษทางอากาศจากขยะมูลฝอยนั้น อาจเกิดข้ึนไดท้ังจากมลสารท่ีมีอยูในขยะและพวกแกสหรือไอระเหย ท่ีสําคัญก็คือ กลิ่นเหม็นท่ีเกิดจากการเนาเปอย และสลายตัวของอินทรียสารเปนสวนใหญ 2.9.5 ทําใหเกิดการเสี่ยงตอสุขภาพ ขยะมูลฝอยท่ีท้ิงและรวบรวมโดยขาดประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่งขยะมูลฝอยพวกของเสียอันตราย ถาขาดการจัดการท่ีเหมาะสม ยอมกอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพของประชาชนไดงาย เชน โรคทางเดินอาหารท่ีเกิดจากเชื้อแบคทีเรียท่ีมีแมลงวันเปนพาหะ หรือไดรับสารพิษท่ีมากับของเสียอันตราย 2.9.6 เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ ขยะมูลฝอยปริมาณมาก ๆ ยอมตองสิ้นเปลืองงบประมาณในการจัดการเพ่ือใหไดประสิทธิภาพ นอกจากนี้ผลกระทบจากขยะมูลฝอยไมวาจะเปนน้ําเสีย อากาศเสีย ดินปนเปอนเหลานี้ยอมสงผลกระทบตอเศรษฐกิจของประเทศ 2.9.7 ทําใหขาดความสงางาม การเก็บขนและกําจัดท่ีดีจะชวยใหชุมชนเกิดความสวยงาม มีความเปนระเบียบเรียบรอยอันสอแสดงถึงความเจริญและวัฒนธรรมของชุมชน ฉะนั้นหากเก็บขนไมดี ไมหมด กําจัดไมดี ยอมกอใหเกิดความไมนาดู ขาดความสวยงาม บานเมืองสกปรก และความไมเปนระเบียบ สงผลกระทบตออุตสาหกรรมการทองเท่ียว 2.10 การจัดการขยะมูลฝอยเพ่ือผลิตพลังงาน แนวคิดการแปรรูปขยะมูลฝอยเพ่ือผลิตพลังงานไดมีมานานแลว ในท่ีนี้จะยกตัวอยางโครงการท่ีสามารถดําเนินการใหเห็นเปนรูปธรรมอยางโครงการวิจัยการผลิตกระแสไฟฟาและกําจัดขยะแบบฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล บริเวณบอขยะ ตําบลทุงบัว อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐมโครงการผลิตกระแสไฟฟาจากพลังงานขยะครั้งนี้ไดจุดประกายข้ึนเม่ือป 2538 ขณะท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระราชดําเนินงานเกษตรท่ีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร อํา เภอกําแพงแสน จั งหวัดนครปฐม โดยมีพระราชดํารัสในเรื่องการผลิตกระแสไฟฟาจากขยะข้ึน และไดพระราชทานแนว

Page 25: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

15

พระราชดําริ เก่ียวกับการบําบัดและใชประโยชนจากขยะไวเปน 2 สวนคือ สวนแรก ใหใชกาซจากขยะใหหมดกอน ตอจากนั้นนําขยะไปรอนแยกสวนประกอบตางๆ สวนท่ีเปนสารปรับปรุงดินใหนําไปปลูกพืช สวนท่ีเหลือก็ยังเปนเชื้อเพลิงได ใหนําไปเผาเพ่ือท่ีจะนําเอาพลังงานความรอนมาใชประโยชน เม่ือเกิดเถาถานข้ึนมาก็นําไปผสมกับวัสดุท่ีเหมาะสมเพ่ืออัดเปนแทง ซ่ึงอาจนําไปใชประโยชนในการกอสรางตอไปได เม่ือพ้ืนท่ีสวนแรกวางลง ก็สามารถนําขยะมาฝงกลบไดใหม สวนท่ีสอง ขยะท่ีทําการรอนแยกขยะในพ้ืนท่ีสวนแรกก็ใชประโยชนจากกาซควบคูกันไปกอน เม่ือกาซหมดแลวจึงดําเนินการลักษณะเดียวกันกับท่ีไดดําเนินการกับพ้ืนท่ีสวนแรก ซ่ึงถากระทําไดอยางตอเนื่องโดยจัดเวลาใหเหมาะสมก็จะทําใหมีพ้ืนท่ีท่ีฝงกลบหมุนเวียนตอไป

แนวคิดของการ การจัดการขยะแบบครบวงจรนี้แบงออกเปน 3 ระยะ คือ ระยะท่ี 1 นําขยะมาฝงกลบอยางถูกสุขลักษณะ โดยมีระบบปองกันเรื่องกลิ่น การปนเปอนของ

น้ําชะขยะและแกสจากขยะ ระยะท่ี 2 จุลินทรียยอยสลายขยะไดแกสมีเทนท่ีผานกระบวนการทําความสะอาด ระยะท่ี 3 การดักความชื้น สามารถนําไปใชปนเปนกระแสไฟฟาได โดยปริมาณแกสท่ีผลิตไดจะ

มากนอยข้ึนอยูกับปจจัยหลายอยางท้ังขนาดหลุมฝง ประเภทขยะ และความชื้นสัมพันธ ปจจุบันมีโรงงานไฟฟาจากขยะในประเทศไทยจํานวน 6 แหง ไดแกโรงงานไฟฟาจากขยะท่ีซ้ือ

ขายไฟฟาแลว จํานวน 4 แหง จํานวนการผลิตรวม 5.075 MW และโรงไฟฟาจากขยะท่ียังท่ียังไมมีการซ้ือขายไฟฟาหรือยังไมมีการเดินระบบ กําลังการผลิตรวม 102 MW สําหรับโรงงานไฟฟาจากขยะท่ีซ้ือขายไฟฟาแลว 4 แหง ไดแก

ก) โรงงานไฟฟาเตาเผาขยะมูลฝอยของเทศบาลนครภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต ซ่ึงสามารถรับขยะ

ประมาณ 250 ตันตอวันผลิตพลังงานความรอนซ่ึงมีกําลังการผลิตไฟฟารวม 2.5 MW

ข) ระบบผลิตปุยอินทรียและพลังงานของเทศบาลนครระยอง จังหวัดระยอง สามารถรองรับ

ขยะอินทรียประมาณ 60 ตันตอวัน ผลผลิตท่ีได คือ แกสชีวภาพซ่ึงมีกําลังการผลิตไฟฟา

รวม 625 KW

ค) โรงงานไฟฟาหลุมฝงกลบขยะมูลฝอยราชาเทวะ จังหวัดสมุทรปราการ เปนหนวยงานท่ี

ลงทุนโดยเอกชน ผลผลิตท่ีไดคือ แกสชีวภาพ ซ่ึงมีกําลังไฟฟารวม 950 KW

ง) โรงงานไฟฟาสถานท่ีฝงกลบขยะมูลฝอย อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม ซ่ึงมีกําลังผลิตไฟฟารวม 1 MW

2.11 การนําขยะไปใชประโยชน สําหรับการนําขยะไปใชประโยชนในประเทศไทยเม่ือเปรียบเทียบกับปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนแลว นับวายังมีสัดสวนนอยมาก ขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึนในป 2546 มีสัดสวนขยะมูลฝอยท่ีมีศักยภาพในการนํากลับมาใชใหม ซ่ึงประกอบดวยขยะรีไซเคิลและขยะยอยสลาย (อินทรียสาร) ประมาณ 13.3 ลานตัน แบงเปนขยะยอยสลายท่ีเหมาะแกการทําปุยอินทรียและปุยน้ําชีวภาพประมาณ 6.8 ลานตัน และประเภทขยะรีไซเคิล (แกว กระดาษ พลาสติก เหล็ก อะลูมิเนียม และยางรถยนต)ประมาณ 6.5 ลานตัน เม่ือพิจารณาปริมาณท่ีเกิดข้ึนในปจจุบัน พบวาในชวงป พ .ศ 2547-2551 มีปริมาณขยะท่ี

Page 26: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

16

นําไปใชประโยชนประมาณรอยละ 21-23 ของปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนท้ังหมดอยางไรก็ดี ในป พ.ศ 2551 การนําขยะไปใชประโยชนมีแนวโนมมากข้ึนกวาปท่ีผานมากลาวคือ มีการนําขยะมาใชประโยชนประมาณ 3.41 ลานตัน หรือประมาณรอยละ 23 ของปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนท้ังหมด โดยมีการคัดแยกและนําขยะกลับมาใชประโยชนใหมประเภทเศษแกว กระดาษ เหล็ก อะลูมิเนียม ผานกิจกรรมตางๆ อาทิ ศูนยวัสดุรีไซเคิลชุมชน ธนาคารขยะรีไซเคิลการเรียกคืนบรรจุภัณฑโดยผูประกอบการ และการซ้ือขายวัสดุนํากลับมาใชประโยชนใหมโดยรานซ้ือของเกา รวมประมาณ 3.03 ลานตันการนําขยะอินทรียมาหมักทําปุยอินทรียปุยชีวภาพ และการหมักเพ่ือผลิตแก็สชีวภาพ (Biogas) ประมาณ 0.25 ลานตันและการนําขยะมาผลิตพลังงานไฟฟาและเชื้อเพลิงทดแทน ประมาณ 0.13 ลานตัน ท้ังนี้ เม่ือเปรียบเทียบสัดสวนการใชประโยชนขยะชุมชนกับของประเทศอ่ืนๆ อาทิ ฮองกงมีสัดสวนการนําขยะมาใชประโยชนรอยละ 36 สิงคโปรรอยละ 39 เกาหลีใตรอยละ 45 และเยอรมันมีการนําขยะมาใชประโยชนมากถึงรอยละ 60 พบวาประเทศไทยนําขยะมาใชประโยชนไดคอนขางต่ํามาก 2.12 การเก็บตัวอยาง การเก็บตัวอยางขยะมูลฝอยเพ่ือนํามาวิเคราะหนั้นจะตองทําโดยวิธีการสุมเก็บตัวอยาง และเนื่องจากในประเทศของเรานั้นยังไมมีระบบคัดแยกขยะท่ีมีประสิทธิภาพ จึงทําใหขยะชนิดตางๆมักจะถูกท้ิงรวมกันดังนั้นการสุมตัวอยางขยะจําเปนตองทําอยางเปนระบบ เพ่ือใหมีลักษณะองคประกอบเหมือนกับขยะท้ังหมด และสามารถใชเปนตัวแทนของขยะท่ีตองการวิเคราะหได ดังนั้นจึงตองพยายามทําใหขยะรวมเปนเนื้อเดียวกันใหมากท่ีสุด เพ่ือใหลักษณะขององคประกอบของขยะเหมือนๆกันทุกสวน 2.13 ขนาด (size) ขนาดของขยะมูลฝอย คือขนาดเสนผาศูนยกลางของขยะมูลฝอยซ่ึงขอมูลดานขนาดของขยะมูลฝอยเปนขอมูลท่ีใชพิจารณา ประกอบการนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหมตลอดจนใชพิจารณาคัดเลือกอุปกรณในการคัดแยกและกระบวนการท่ีเหมาะสมในการจัดการซ่ึงการหาขนาดขยะมูลฝอยตองใชกระบวนการแยกขนาดขยะมูลฝอยดวยตะแกรงและเครื่องโลหะ โดยท่ัวไปแลวขยะมูลฝอยแบงออกเปน 3 ขนาดคือ ขนาดใหญกวา 3 นิ้ว ระหวาง 3 นิ้ว - ½ นิ้ว และเล็กวา 1 ½ นิ้ว การหาขนาดขยะมูลฝอยจําเปนตองมีอุปกรณรอนขยะมูลฝอยท่ีมีตะแกรงขนาดเสนผาศูนยกลาง 3 นิ้ว และ ½ นิ้ว ผูวิเคราะหควรสวมหนากากปองกันฝุนทุกครั้งท่ีจะทําการวิเคราะห ข้ันตอนการวิเคราะหสามารถทําไดโดยการจัดตะแกรงซอนกันโดยใหตะแกรงขนาดใหญอยูดานบนและขนาดเล็กอยูดานลาง ใหเวนชองระหวางตะแกรงพอประมาณ จากนั้นนําขยะมูลฝอยท่ีสุมโดยวิธีการแบง 4 สวน ( quatering) จนไดประมาณ 50-100 ลิตร มาชั่งน้ําหนักรวมของขยะมูลฝอย แลวบันทึกขอมูลแลวคอย ๆ ตักขยะมูลฝอยใสจนหมดและเขยาจนไมมีขยะมูลฝอยตกลงอีกตักขยะมูลฝอยจากแตละชองใสในภาชนะแลวชั่งน้ําหนักก็จะไดขยะมูลฝอย 3 ขนาด คือ ใหญกวา 3 นิ้ว ระหวาง 3 นิ้ว- ½ นิ้ว และ เล็กกวา 1 ½ นิ้ว จากนั้นจึงคํานวณขนาดของขยะมูลฝอยโดยใชสูตร

Page 27: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

17

สัดสวนของขยะมูลฝอย = น้ําหนักขยะมูลฝอยแตละขนาด x 100 น้ําหนักขยะมูลฝอยรวม หมายเหตุ : หนวยของสัดสวนของขนาดมูลฝอยเปนรอยละของขยะมูลฝอยรวม 2.14 การทําใหขยะแหงโดยใชกระบวนการทางชีวภาพ (biodrying) เปนกระบวนการท่ีใชประโยชนจากความรอนท่ีเกิดข้ึนระหวางกระบวนการยอยสลายของขยะตามธรรมชาติ ความรอนท่ีไดนี้จะถูกนํามาอบขยะใหมีความชื้นลดลง ปริมาตรลดลงจากการยอยสลาย ตารางท่ี 2-2 คุณสมบัติของขยะและเชื้อเพลิง

ชนิดเชื้อเพลิง คาความรอน (J/g) ความชื้น % เถา % RDF 12,000 – 16,000 15 – 25 10 – 22 Coal 21,000 – 32,000 3 – 10 5 – 10 MSW 11,000 – 12,000 30 - 60 25 - 35

2.14.1 การทํางานของ biodrying เม่ือขยะถูกยอยสลายดวยแบคทีเรียท่ีใชออกซิเจนจะเกิดความรอนข้ึนระหวางกระบวนยอยสลาย ความรอนท่ีเกิดข้ึนจะถายทอดสูน้ําและความชื้นในขยะ ทําใหเกิดการระเหย เม่ือความชื้นลดลงจะเกิดการยอยสลายไปพรอมกัน ทําใหความชื้นของขยะชั้นสุดทายลดลง ดังภาพท่ี 2-2

ภาพท่ี 2-2 กระบวนการ biodrying

Start phase heating phase drying phase cooling phase

Temperature/moisture content

Page 28: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

18

เบื้องตนจากกระบวนการหมักขยะพัฒนาใหอุณหภูมิและความชื้นในขยะมีความเปลี่ยนแปลงในทางท่ีดีข้ึน และมีประสิทธิภาพสูงข้ึน โดยแบงกระบวนการเปน 4 ชวง ดังภาพท่ี 2-2 ชวงท่ี 1 เริ่มตน ชวงท่ี 2 เพ่ิมความรอน ชวงท่ี 3 ขยะแหงจากความรอน ชวงท่ี 4 ขยะเย็นตัวลง มีความสัมพันธกัน ระหวางความรอนท่ีเกิดข้ึนกับความชื้นท่ีขยะ และมีความแตกตางจากกระบวนอบแหงจากความรอน ชวงท่ี 1 ชวงเริ่มตนขยะมีอุณหภูมิสูงข้ึนเล็กนอย ความชื้นจะลดลงเพียงเล็กนอย ชวงท่ี 2 ชวงเพ่ิมความรอน จะเกิดความรอนสูงข้ึนจากกระบวนการ biodrying สูงข้ึน โดยชวงนี้ขยะมีความชื้นสูง และลดลงเรื่อย ๆ เม่ือมีความรอนสูงข้ึน ชวงท่ี 3 ขยะแหงจากความรอน ความรอนจะสูงข้ึนอีกจากชวงท่ี 2 เพียงเล็กนอย และลดลงอยางชา ๆ ตามลําดับ ความรอนนี้จะทําใหความชื้นลดลงอยางมากในชวงนี้ และเปนชวงท่ียาวกวาชวงท่ี 1 และชวงท่ี 2 ชวงท่ี 4 ขยะเปนตัวลดกระบวนการ biodrying เริ่มลดลงทําใหความรอนลดลงอยางรวดเร็ว สงผลใหอัตราการลดความชื้นในขยะลดลง จนสุดทายขยะมีอุณหภูมิใกลเคียงกับขยะท่ีเริ่มระบบในชวงท่ี 1 2.14.2 หลักการเคลื่อนท่ีของอากาศในการอบขยะ การไหลท่ีสมบูรณแบบของอากาศในการอบขยะเพ่ือดึงความชื้นออก จะเริ่มจากอากาศเปนท่ีอยูดานลางกองขยะจะถูกทําใหรอนข้ึน และจะไหลจากดานลางข้ึนบน จากภาพท่ี 2-3

ภาพท่ี 2-3 ผังการเคลื่อนท่ีของอากาศในการอบขยะ

เม่ืออากาศรอนวิ่งผานขยะข้ึนสูดานบนจะพาน้ําท่ีอยูในขยะท่ีระเหยตัวกลายเปนไอ รวมถึงอากาศรอนวิ่งออกไป วิธีการนี้จะเกิดประสิทธิภาพดี ข้ึนอยูกับความสามารถในการดึงไอน้ําออกจากขยะใหมากท่ีสุด 2.14.3 การอบขยะแบบกองพ้ืน อาศัยหลักการอบขยะเบื้องตนท่ีจะเกิดความรอนข้ึนโดยธรรมชาติของกองขยะจากแบคทีเรีย และทําใหเกิดความรอนวิ่งจากภายในออกสูดานนอก พาไอน้ําใหไหลออกจากท่ี ไดกลาว

Page 29: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

19

มาแลว การกองท้ิงจําเปนตองมีการพลิกกลับขยะอยางสมํ่าเสมอ เนื่องจากความชื้นดังกลาวจะสูงกวาดานนอกมาก อากาศรอนท่ีพาไอน้ําออกปกติไมสามารถทําไดอยางสมบูรณ

ภาพท่ี 2-4 การทํางานของระบบ static biodry 2.14.4 คุณลักษณะของระบบ Static biodrying 2.14.4.1 ลดความชื้นไดจากเดิมสูงกวา 50% จะลดลงเหลือประมาณ 30-20% 2.14.4.2 ความชื้นของวัสดุในกองจะไมเทากัน โดยดานลางจะมีความชื้นมากกวาดานบน ตองมีการพลิกกลับ 2.14.4.3 ระยะเวลาในการทํางานของระบบใชเวลาประมาณ 15 วัน

ภาพท่ี 2-5 แสดงผลอุณหภูมิและความชื้นของหองอบขยะแบบ static biodrying

Page 30: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

20

2.14.5 คุณลักษณะของหองอบแหงขยะแบบ rotary biodrying (วิธีทางชีวภาพ) 2.14.5.1 ระยะเวลาในการอบแหง ประมาณ 7-8 วัน นอยกวา ระบบ static biodrying 2.14.5.2 การลําเลียงวัสดุเขา ออก ทําไดงาย 2.14.5.3 วัสดุท่ีไดจากกระบวนการมีลักษณะเหมือนกันทุกสวน

ภาพท่ี 2-6 การทํางานของหองขยะแบบ rotary biodrying

ภาพท่ี 2-7 แสดงผลความชื้นของหองอบขยะแบบ rotary biodrying

2.15 ประเภทของเช้ือเพลิงขยะ การกําจัดขยะมูลฝอยดวยกระบวนการเผาไหมโดยตรงอาจมีประสิทธิภาพลดลงหากขยะมูลฝอยท่ีนํามาเผานั้นมีองคประกอบท่ีไมแนนอนอันเนื่องมาจากฤดูกาล หรือกิจกรรมของแตละชุมชน และยิ่งถาขยะมูลฝอยเหลานี้มีคาความรอนต่ํา มีปริมาณเถาและความชื้นสูง ก็จะยิ่งทําใหเกิดความยุงยากแกผูออกแบบเตาเผา และผูปฏิบัติและผูควบคุมการเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม การแปรรูป

Page 31: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

21

ขยะมูลฝอยโดยผานกระบวนการจัดการตางๆ เพ่ือปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพและคุณสมบัติทางเคมีของขยะมูลฝอยเพ่ือทําใหกลายเปนเชื้อเพลิงขยะ ( Refuse Derived Fuel: RDF) จะสามารถลดปญหาดังท่ีกลาวมาขางตนได ซ่ึงเชื้อเพลิงขยะท่ีไดนั้นสามารถนําไปใชเปนเชื้อเพลิงเพ่ือผลิตพลังงานไดเหมือนเชื้อเพลิงท่ัวไป เชื้อเพลิงขยะ หมายถึง ขยะมูลฝอยท่ีผานกระบวนการจัดการตางๆ เชน การคัดแยกวัสดุท่ีเผาไหมไดออก การตัดขยะมูลฝอยออกเปนชิ้นเล็กๆ เปนตน เชื้อเพลิงท่ีไดนี้จะมีคาความรอนสูงกวาหรือมีคุณสมบัติท่ีดีกวาการนําขยะมูลฝอยท่ีเก็บรวบรวมมาใชโดยตรงเนื่องจากมีองคประกอบท้ังทางเคมีและกายภาพสมํ่าเสมอวาขอไดเปรียบของเชื้อเพลิงขยะ คือคาความรอนสูง (เม่ือเปรียบเทียบกับขยะมูลฝอยท่ีเก็บรวบรวมมา) งายตอการจัดเก็บ การขนสง การจัดการตางๆ รวมท้ังสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม หากพิจารณาจากสมบัติของขยะท่ีจะนํามาทําเปนวัสดุเชื้อเพลิงแลว สามารถแบงเชื้อเพลิงขยะออกเปน 7 ประเภท ไดแก RDF-1 (Municipal Solid Waste; MSW) เปนการนําขยะมาใชเปนเชื้อเพลิงในสภาพท่ีถูกจัดเก็บมาโดยตรงเลย อาจจะมีการแยกชิ้นสวนท่ีมีขนาดใหญออกมาในกรณีท่ีสามารถเห็นไดดวยตา

RDF-2 หรือ Coarse RDF คือ ขยะท่ีถูกจัดเก็บมาแลวมาผานกระบวนการคัดแยกนําสิ่งท่ีเผาไหมไมไดออก รวมถึงผานกระบวนการลดขนาดอยางหยาบๆ ไมละเอียดมากนัก เชน การบด หรือตัดหยาบ

RDF-3 หรือ Fluff RDF จะเหมือนกับ RDF-2 แตจะมีการลดขนาดใหเล็กลง คือ ขยะท่ีคัดแยกสวนท่ีเผาไมไดออก เชนโลหะ แกว และอ่ืนๆ มีการบดหรือตัดจนทําใหขยะมูลฝอยท่ีคัดแยกแลว รอยละ 95 มีขนาดเล็กกวา2 นิ้ว

RDF-4 หรือ Dust RDF คือ การนําขยะสวนท่ีเผาไหมได มาผานกระบวนการทําใหอยูในรูปของผงฝุน

RDF-5 หรือ Densified RDF คือ การนําขยะสวนท่ีเผาไหมไดมาผานกระบวนการอัดแทงโดยใหมีความหนาแนนมากกวา 600 กิโลกรัมตอตารางเมตร

RDF-6 หรือ RDF Slurry คือการนําขยะสวนท่ีเผาไหมไดมาผานกระบวนการใหเอยูในรูปของ Slurry

RDF-7 หรือ RDF Syn-gas คือการนําขยะสวนท่ีเผาไหมได มาผานกระบวนการ Gasification เพ่ือผลิตแกสสังเคราะห (Syn-gas) ท่ีสามารถใชเปนเชื้อเพลิงแกสได

กระบวนการผลิตเชื้อเพลิงขยะจะเริ่มจากการคัดแยกขยะท่ีไมสามารถเผาไหมไดและขยะ รีไซเคิลออกจากขยะท่ีจะเขาระบบ จากนั้นจึงปอนขยะมูลฝอยเขาสูเครื่องตัดหรือสับเพ่ือลดขนาดและปอนเขาสูเตาอบเพ่ือลดความชื้นของขยะมูลฝอย โดยการใชความรอนจากไอน้ําหรือลมรอนเพ่ืออบขยะใหแหงซ่ึงจะทําใหน้ําหนักลดลงเกือบรอยละ 50 และจะสงไปเขาเครื่องอัดแทง เพ่ือทําใหเชื้อเพลิงขยะอัดแทงมีขนาดและความหนาแนนเหมาะสมตอการขนสงไปจําหนายเปนเชื้อเพลิงซ่ึงในบางกรณีจะมีการเติมหินปูนเขาไปในขยะมูลฝอยระหวางการอัดเปนเม็ดเพ่ือควบคุมและลดปริมาณแกสพิษท่ีเกิดข้ึนจากการเผาไหม

Page 32: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

22

ภาพท่ี 2-8 การแปรรูปเปนแทงเชื้อเพลิงจากขยะท่ีเผาไหมได (densified : RDF5)

2.15.1 มาตรฐานของเชื้อเพลิงขยะ RDF การผลิตขยะเชื้อเพลิง RDFโดยท่ัวไปมีการกําหนดคุณสมบัติพ้ืนฐานท่ีสําคัญ 2

ประการ ไดแก คาความรอนของขยะเชื้อเพลิงท่ีได ( Calorific Value) และการปนเปอนของสารพิษ เชน โลหะหนักตางๆ และคลอรีน เปนตน อยางไรก็ดีประเทศในแถบเอเชียยังไมมีการกําหนดมาตรฐานของขยะเชื้อเพลิง RDF ท่ีชัดเจน ดังนั้นจึงยังคงตองใชมาตรฐานของยุโรปเปนแนวทางในเบื้องตน ตารางท่ี 2-3 แสดงการสํารวจมาตรฐานของขยะเชื้อเพลิง RDF ในประเทศแถบยุโรป (Jidapa Nithikul, 2007) ซ่ึงมีการกําหนดปริมาณของโลหะหนักและคลอรีนท่ีปนเปอนอยูในขยะเชื้อเพลิง นอกจากนี้ยังมีการกําหนดมาตรฐานคุณสมบัติของขยะเชื้อเพลิง ซ่ึงไดแก คาความรอน ความชื้น ปริมาณเถา ปริมาณของซัลเฟอรและคลอรีน ดังแสดงในตารางท่ี 2-3และตารางท่ี 2-4 แสดงองคประกอบทางเคมีในเชื้อเพลิงขยะ RDF ซ่ึงไดแก C, H, O, N, S, Cl, H2O และเถา ในซ่ึงปริมาณตางๆ ข้ึนอยูกับสวนประกอบของขยะแตละประเภทท่ีนํามาผลิตเปนขยะเชื้อเพลิง

Page 33: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

23

ตารางท่ี 2-3 คุณสมบัติพ้ืนฐานของเชื้อเพลิงขยะ RDF

Parameters Finland * Italy United kingdom

Calorific Value (MJ/kg) 13-16 15 18.7

Moisture content W 25-35 25 max 7-28 *

Ash content W 5-10 20 12

Sulfur W 0.1-0.2 0.6 0.1-0.5

Chlorine W 0.3-0.1 0.9 0.3-1.2

ตารางท่ี 2-4 แสดงองคประกอบทางเคมีในเชื้อเพลิงขยะ RDF RDF components C H O N S Cl H2O Ash

Paper 34.4 4.72 32.4 0.16 0.21 0.24 21 4.62

Plastic 56.4 7.79 8.05 0.85 0.29 3 15 8.59

Wood 41.2 5.03 34.5 0.02 0.07 0.09 16 2.82

Textile 37.2 5.02 27.1 3.1 0.28 0.27 25 1.98

Leather,Rubber 43.1 5.37 11.6 1.34 1.17 4.97 10 22.5

ท่ีมา: Maria&Pavesi,2006 และ ศศิประภา แกวแดง ศูนยวิจัยพลังงานมหาวิทยาลัยแมโจ 2.15.2 คุณสมบัติของเชื้อเพลิงขยะ ( Refuse-Derived Fuel : RDF)

ขยะท่ีจะนํามาแปรรูปเปนเชื้อเพลิงขยะ เปนขยะมูลฝอยในชุมชนท่ีผานการคัดแยกสวนท่ีนําไปกลับใชซํ้าได เชน เศษกระดาษ เศษไม เศษพลาสติก เศษหนัง จะถูกนําไปลดขนาด และนําไปใชนํามาผานกระบวนการทําใหแหงและการอัดแทงเพ่ือผลิตเปนแทงเชื้อเพลิง ท้ังนี้คุณลักษณะท่ัวไปของเชื้อเพลิงขยะประกอบดวย 2.15.2.1 ปลอดเชื้อโรคจากการอบดวยความรอน ลดความเสี่ยงตอการสัมผัสเชื้อโรคไมมีกลิ่น 2.15.2.2 มีขนาดเหมาะสมตอการปอนเตาเผา-หมอไอน้ํา (เสนผาศูนยกลาง 15-30 มิลลิเมตร ความยาว 30-150 มิลลิเมตร) 2.15.2.3 มีความหนาแนนมากกวาขยะมูลฝอยและชีวมวลท่ัวไป (450-600 kg/m3) เหมาะสมกับการจัดเก็บและขนสง 2.15.2.4 มีคาความรอนสูงเทียบกับชีวมวล (13-18 MJ/kg) และมีความชื้นต่ํา (5-10%) 2.15.2.5 ลดปญหามลภาวะจากการเผาไหม เชน Nox และไดออกซินและฟูราน

Page 34: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

24

ภาพท่ี 2-9 การนําขยะท่ีเผาไฟไดไปบดและอัดเปนแทงเชื้อเพลิง RDF กอนนําไปใชเปนเชื้อเพลิงใน

การเผาไหม

Page 35: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

บทที่ 3 วิธีการดําเนินงานวิจัย

ปจจุบัน ตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เปนท่ีท้ิงขยะของหลายตําบลใกลเคียง โดยไมมีหลักการเก็บและกําจัดท่ีถูกวิธี สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและปญหาดานสุขอนามัย ดังภาพ

ภาพท่ี 3-1 ขยะท่ีจัดเก็บและกําจัดไมถูกวิธีภายในพ้ืนท่ี ตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

Page 36: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

26

ขยะในชุมชนประกอบดวยขยะในครัวเรือนท่ีมีเศษอาหารเปนจํานวนมาก ถุงพลาสติก เศษผา กระดาษ ขยะจากภาคเกษตร เปนองคประกอบสําคัญ ซ่ึงมีความชื้นสูง ทําใหไมสามารถเปลี่ยนเปนพลังงานได จําเปนตองมีกระบวนการและเครื่องมือท่ีเหมาะสมในการปรับปรุงคุณลักษณะของขยะชุมชน ใหมีความชื้นลดลง เหมาะสมตอการเปลี่ยนเปนพลังงานขยะ 3.1 ข้ันตอนในการทดลอง

วิเคราะหคุณลักษณะขยะ ตําบลหนองบัว

วิเคราะหทางกายภาพ - องคประกอบขยะจากการคัดแยก - ความช้ืน

วิเคราะหทางเคม ี- คาความรอน

Rotary - กําหนดอัตราการหมุน - หาคาอุณหภูมิภายใน

Air Intel - อัตราการไหลของอากาศ - อุณหภูม ิ- ความช้ืนสัมพันธ

Air Outlet - อัตราการไหลของอากาศ - อุณหภูมิ

RDF (Refuse Derived Fuel) - คาความรอน - คาความช้ืน

Page 37: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

27

3.1.1 วิเคราะหคุณลักษณะขยะตําบลหนองบัว ในการศึกษาการผลิตเชื้อเพลิงจากขยะชุมชน ตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัด

กาญจนบุรี เปนการวิจัยเชิงทดลอง และ พัฒนากระบวนการวิธีเปลี่ยนขยะชุมชนเปนเชื้อเพลิง เพ่ือใหเกิดประโยชนแกชุมชน ลดปญหาสิ่งแวดลอม

3.1.2 ข้ันตอนเตรียมการทดลอง 3.1.2.1 ศึกษาขอมูลท่ีท้ิงขยะของเทศบาลตําบลหนองบัว

กอนการทํางานตองศึกษาสภาพแหลงท่ีท้ิงขยะ ปริมาณขยะ สัดสวนขยะ กอนนํามาแยกเปนสวนตาง ๆ แตละประเภท และนํามาชั่งน้ําหนักและคิดคํานวณหาปริมาณ จึงตองสุมตัวอยางขยะ เนื่องจากประกอบดวยสิ่งของตาง ๆ หลายชนิด ดังนั้นการสุมตัวอยางขยะจําเปนตองทําอยางเปนระบบ เพ่ือใหมีลักษณะเหมือนกับขยะท้ังหมด และสามารถใชเปนตัวแทนของขยะท่ีตองการ

ภาพท่ี 3-2 การคัดแยกและหาสัดสวนขยะจากท่ีท้ิงขยะ

3.1.2.2 การคํานวณหาสัดสวนขยะท่ีจะทําการทดลอง สัดสวนขยะนั้นไดอางอิงมาจากสัดสวนปริมาณขยะของตําบลหนองบัว

อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี และไดนํามาคิดคํานวณหาปริมาณเปนเปอรเซ็นตท่ีนําใสในเครื่องไดดังตารางท่ี 3-1

Page 38: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

28

ตารางท่ี 3-1 สัดสวนขยะของตําบลหนองบัว จังหวัดกาญจนบุรี

ขยะทดลอง หนวย (kg) เศษอาหาร เศษผัก 32

เศษหญา 16 เศษกระดาษ 12

พลาสติก 16 เศษผา 13

เศษกระเบื้อง 21 เศษไม 10 เศษยาง 6

อ่ืน 7 รวม 133

ท่ีมา : ขยะพลังงานในชุมชนตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ผศ.วิเชียร เพียงโงก และ ผศ.จํารัส ก่ิงสวัสดิ์

3.1.2.3 ลักษณะขยะท่ีสุมตัวอยางข้ึนนั้นมีลักษณะใกลเคียงกับขยะท่ีมีอยูในแหลงท่ีท้ิงขยะ และสามารถใชเปนตัวแทนของขยะท่ีจะทดลองและจะหาไดในแหลงชุมชนตําบลหนองบัว

ภาพท่ี 3-3 ขยะจากเศษอาหารและเศษผัก

Page 39: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

29

ภาพท่ี 3-4 ขยะจากเศษหญา

ภาพท่ี 3-5 ขยะจากเศษพลาสติก

Page 40: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

30

ภาพท่ี 3-6 ขยะจากเศษยาง

ภาพท่ี 3-7 ขยะจากเศษกระดาษ

Page 41: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

31

ภาพท่ี 3-8 ขยะจากเศษผา

ภาพท่ี 3-9 ขยะจากเศษกระเบื้อง

Page 42: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

32

ภาพท่ี 3-10 ขยะจากเศษไม และ ใบไม 3.2. ข้ันตอนการออกแบบเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่ 3.2.1 ชุดตัวถังนอกและถังตะแกรงในเนื่องจากขยะมีการเนาเสียบางสวน และบางสวนจะถูกเปลี่ยนเปนน้ําชะขยะ ความชื้นในตัวขยะจะลดลงอยางรวดเร็ว โดยการใชตะแกรงใน ถังจะออกแบบเปนถังนอกมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 120 ซม. ยาว 120 ซม. และตัวถังตะแกรงในมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 100 ซม. ยาว 100 ซม. มีปริมาตร 0.79 ลูกบาศกเมตร เพ่ือท่ีจะแยกเอาตัวขยะกับน้ําชะขยะออกจากกัน

ภาพท่ี 3-11 มวนแผนเหล็กเพ่ือใชในการทําตัวถังนอก

Page 43: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

33

ภาพท่ี 3-12 การเชื่อมโครงรอบถังตะแกรงใน เพ่ือความแข็งแรง

ภาพท่ี 3-13 ทาสีกันสนิมเพ่ือปองกันการกัดกรอนของน้ํา

Page 44: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

34

ภาพท่ี 3-14 การทาสีกันสนิมเพ่ือปองกันการกัดกรอนของน้ํา

ภาพท่ี 3-15 ชองหยิบตัวอยางขยะ

Page 45: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

35

ภาพท่ี 3-16 การประกอบฝาขางถัง

ภาพท่ี 3-17 เจาะรูเพลาเติมอากาศ ขนาดเสนผาศูนยกลาง 3 มม.

Page 46: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

36

ภาพท่ี 3-18 การประกอบถังกับโครงเขาดวยกัน

ภาพท่ี 3-19 การเชื่อมฐานรับมอเตอรและเกียรทด

Page 47: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

37

ภาพท่ี 3-20 ติดฉนวนกันความรอน

ภาพท่ี 3-21 เครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่ท่ีประกอบเสร็จสมบูรณ

Page 48: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

38

3.3 ชุดเติมอากาศ การเติมอากาศเขาไปในถังจะชวยทําแบคทีเรียท่ีดํารงชีวิตโดยใชออกซิเจนเจริญเติบโตและ ผลพลอยไดจากการเจริญเติบโตคือ แบคทีเรียจะสรางความรอนใหออกมาเปนตัวอบขยะชุมชนใหมีความชื้นลดลง ดังนั้นปริมาณการเติมอากาศใหมีปริมาณท่ีเหมาะสมมีความสําคัญมาก

ภาพท่ี 3-22 เครื่องเปาอากาศแรงดันสูงขนาด 3390/min 220-240V 60 Hz 0.5 KW

Page 49: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

39

ภาพท่ี 3-23 ทอวัดอัตราการไหลของอากาศ อัตราการวัด 4-40 m3/h 3.3.1 ประกอบวาลวเพ่ือใชในการปรับระดับการไหลของอากาศใหไดตามท่ีกําหนดไวในแต ละครั้งของการทดลอง

ภาพท่ี 3-24 วาลวปรับอัตราการไหลของอากาศ

ภาพท่ี 3-25 กลองควบคุมตั้งเวลาการเติมอากาศ

Page 50: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

40

3.4 ชุดทําความรอนอบขยะ ในการผลิตขยะชุมชนใหเปนเชื้อเพลิงขยะ อาศัยกระบวนการทางชีวภาพท่ีมีการเติบโตของแบคทีเรีย เพ่ือเรงการเติบโตของแบคทีเรียใหมากข้ึนและขยะจะเกิดการยอยสลายไดดีข้ึน จึงจําเปนตองมีกาอบขยะกอนการทดลอง โดยการใชฮีตเตอรและมีการควบคุมอุณหภูมิ

ภาพท่ี 3-26 ฮีเตอรครีบตัวไอ 800W 220V

ภาพท่ี 3-27 เครื่องวัดและควบคุมอุณหภูมิ 50/60 Hz AC 250V, 3A

Page 51: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

41

ภาพท่ี 3-28 สายเทอรโมคัปเปลชนิด K วัดอุณหภูมิ 0-600˚C

Page 52: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

42

ภาพท่ี 3-29 แมกเนติกสคอนแทคเตอร

ภาพท่ี 3-30 แหลงจายไฟ INPUT : 200-240 VAC 1.0A OUTPUT : 24 VDC 3.0A

Page 53: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

43

ภาพท่ี 3-31 รีเลย 24 VDC

3.4.1 ข้ันตอนการประกอบกลองควบคุมขนาดของกลองตองเหมาะสมและทนตอแรงกระแทกและปองกันน้ําได

ภาพท่ี 3-32 กลองควบคุมชุดทําความรอนอบขยะภายนอก

ภาพท่ี 3-33 กลองควบคุมชุดทําความรอนอบขยะภายใน

Page 54: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

44

3.4.2 หลักการทํางานของชุดทําความรอนอบขยะ

ภาพท่ี 3-34 ชุดทําความรอนอบขยะ

Page 55: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

45

ภาพท่ี 3-35 รูปแบบการหมุนเวียนอากาศรอนอบขยะ 3.5 ชุดกําลังขับหมุนถัง การหมุนจะชวยในการพลิกกลับขยะท่ีอยูดานลางใหเขากันเปนเนื้อเดียวกันกับขยะท่ีมีอยูดานบน ขยะท่ีไมไดมีการพลิกกลับจะมีลักษณะท่ีขางบนแหงแตขยะดานลางจะเปยก จึงมีการนําเอาการหมุนพลิกกลับขยะมาใช รอบการหมุนถังจะมีการกําหนดความเร็วในการหมุนตามการคํานวณรอบมอเตอรไปยังเกียรทดและมูเลยขนาดตาง ๆ

ภาพท่ี 3-36 มอเตอรขนาด 1450 rpm 220V 50 Hz 2.8 A

4kr

ภาพท่ี 3-37 เกียรทดขนาด 40:1 และ 50:1

Page 56: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

46

ภาพท่ี 3-38 โซและสเตอร ขนาด 36 ฟน

Page 57: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

47

ภาพท่ี 3-39 มูเลยขนาดตาง ๆ 3.5.1 การกําหนดขนาดและรอบหมุนจะเปลี่ยนไปตามครั้งของการทดลองท่ีไดกําหนดไวในแตละครั้งท่ีตางกันไปจะมีรูปแบบ ดังนี้

ภาพท่ี 3-40 มูเลยและสเตอรขนาดตาง ๆ

Page 58: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

48

3.5.2 ลักษณะการเปลี่ยนรอบการหมุนของมูเลย 3.5.2.1 รอบ 0.2 rpm ใชเวลาหมุน 5 นาทีตอรอบ A = 1487 rpm,B = 1146 rpm,D = 23.8 rpm ,C = 6.9 rpm,F = 0.2 rpm

3.5.2.2 รอบ 0.028 rpm ใชเวลาหมุน 35 นาทีตอรอบ A = 1487rpm,C = 278.7rpm,D = 5.4rpm,E = 0.9rpm,F = 0.028 rpm 3.5.2.3 รอบ 0.01 rpm ใชเวลาหมุน1 ชั่วโมงตอรอบ A = 1487rpm, E = 185.3rpm, D = 3.7rpm , E = 0.5rpm , F = 0.01rpm

ภาพท่ี 3-41 ลักษณะการเปลี่ยนรอบการหมุนของมูเลย

C D B F A

E A D C F

A E E D F

Page 59: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

49

3.6 ชุดอุปกรณวัดและเก็บขอมูล อุปกรณเก็บขอมูลดานอุณหภูมิและความชื้นเปนแบบไรสาย ชนิดเม็ดกระดุม สามารถตั้งความถ่ีในการเก็บขอมูลได ในกรณีท่ีเก็บขอมูลทุกครึ่งชั่วโมง ตลอด 8 วัน

ภาพท่ี 3-42 ชุดตอขอมูลกับคอมพิวเตอร

Page 60: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

50

ภาพท่ี 3-43 เครื่องวัดและบันทึกคาอุณหภูมิแบบเม็ดกระดุม บันทึกอุณหภูมิได -40 + 85˚C

ภาพท่ี 3-44 ตราชั่งดิจิตอล

ภาพท่ี 3-45 ถาดใสตัวอยางขยะ

Page 61: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

51

ภาพท่ี 3-46 ตูอบลมรอนสําหรับอบแหงตัวอยาง

3.7 การเตรียมขอมูลและขยะมูลฝอยกอนทําการทดลอง ขยะมูลฝอยท่ีนํามาทดลองจะสรางขยะเทียมเพ่ือใหขยะมีลักษณะในการทดลองมีคุณลักษณะเทากันทุกครั้ง ตัดเง่ือนไขความแตกตางของขยะแตละพ้ืนท่ีและชวงเวลาของการเก็บ โดยคํานึงถึงสัดสวน ดังตารางท่ี 3-2 (อิงขอมูลท่ีไดจากการวิจัยขยะพลังงานในชุมชน ตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ของ ผศ.วิเชียร เพียงโงก และ ผศ.จํารัส ก่ิงสวัสดิ์) ตารางท่ี 3-2 สัดสวนขยะมูลฝอยท่ีใชในการทดลองเพ่ือทําขยะเทียมจําลองตามสัดสวนของ ตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

ชนิดขยะ สัดสวนขยะโดยน้ําหนัก เศษอาหาร เศษผัก 24%

หญา 12%

กระดาษ 9%

พลาสติก 12%

ผา 10%

กระเบื้อง 16%

ไม 8%

ยาง 4%

อ่ืน 5%

รวม 100%

Page 62: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

52

เพ่ือการทดลองท่ีมีประสิทธิภาพในการเกิดความรอนไดดี ขยะมูลฝอยจําเปนตองมีการลดขนาดใหเหมาะสม การลดขนาดเปนชิ้นนั้น จะชวยใหขยะท่ีหมักมีประสิทธิภาพในการยอยสลายและขนาดขยะนั้นจะมีขนาด 3 ระดับ คือ ใหญกวา 3 นิ้ว ระหวาง 3 ½ นิ้ว และ เล็กกวา 1 ½ นิ้ว (ท่ีมา : พิมผกา โพธิลังกา) และนําขยะมูลฝอยท่ีมีสัดสวน ความตองการใสใหไดความหนาแนน 212 kg/m3 (Dong-Qing et al., 2008)

ภาพท่ี 3-47 การลดขนาดขยะ

Page 63: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

53

ภาพท่ี 3-48 การชั่งน้ําหนักสัดสวนขยะ

Page 64: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

54

ภาพท่ี 3-49 การตั้งเวลาโดยใชเม็ดกระดุมบันทึกอุณหภูมิ และติดตั้งตามจุดท่ีกําหนด

ภาพท่ี 3-50 การใสตัวอยางขยะในเครื่องเพ่ือใหขยะคลุกเคลาและผสมกัน

Page 65: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

55

ภาพท่ี 3-51 การปรับปริมาณการเติมอากาศเขา

ภาพท่ี 3-52 การตั้งความเร็วรอบมอเตอร

Page 66: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

56

3.8 การทดลอง การทดลองจะหาคาความรอนท่ีไดหลังจากการทดลอง 8 วันทุกครั้ง โดยเง่ือนไขการทดลองกําหนดคาตัวแปรคือ อัตราการหมุนของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่ อัตราการปอนอากาศเพ่ือเลี้ยงแบคทีเรีย และ พาความชื้นออกจากระบบใหมากท่ีสุด (ดังตารางท่ี 3-3) ตารางท่ี 3-3 ตารางการทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

คร้ังที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 การหมุน

rpm 0.2

0.2

0.2

0.028

0.028

0.028

0.01

0.01

0.01

Air flow m3/h/kg,ขยะสด

0.0455

0.07

0.0909

0.0455

0.07

0.0909

0.0455

0.07

0.0909

3.9 การเก็บขอมูล ในการทดลองจะทําการเก็บขอมูลจากการทดลอง โดยจะจําแนกเปนคาท่ีตองเก็บขอมูลทุกครึ่งชั่วโมง คาท่ีเก็บขอมูลทุกวัน และ คาท่ีเก็บขอมูลเม่ือจบการทดลองทุกครั้ง 3.9.1 คาท่ีตองเก็บขอมูลทุกครึ่งชั่วโมง 3.9.1.1 อุณหภูมิภายในตัว 3.9.1.2 อุณหภูมิอากาศเขาระบบ 3.9.1.3 อุณหภูมิอากาศออกจากระบบ 3.9.2 คาท่ีตองเก็บขอมูลทุกวัน 3.9.2.1 การเก็บตัวอยางขยะแตละวันเพ่ือหาคาความชื้น (ดังภาพท่ี 3-53)

Page 67: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

57

ภาพท่ี 3-53 การเก็บตัวอยางขยะจากเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่เพ่ือวัดคาความชื้น ในการเก็บคาความชื้นขยะตองดําเนินการเก็บทุกวัน เพ่ือตรวจสอบหาคาความชื้นของขยะวามีการเปลี่ยนแปลงเปนอยางไร โดยมีวิธีการเก็บคาความชื้นของขยะดังนี้

1) เก็บตัวอยางขยะใสถาด 2) ชั่งถาดกับตัวอยางขยะ 3) นําเขาตูอบลมรอนท่ีอุณหภูมิ 100 ˚C 4) ใชเวลาอบ 72 ชั่วโมง 5) นําถาดท่ีใสตัวอยางขยะมาชั่งหาน้ําหนัก

ขยะท่ีผานการอบแลวเปนเวลา 72 ชั่วโมง จะมีการคํานวณหาคาความชื้น จากสูตรดังนี้

รอยละความชื้นมาตรฐานเปยก = 100xw

dw− ( %w.b)

รอยละความชื้นมาตรฐานแหง = 100xd

dw− ( %d.b)

เม่ือ %w.b คือความชื้นมาตรฐานเปยก (%) %d.b คือความชื้นมาตรฐานแหง (%) w คือน้ําหนักวัสดุกอนการอบแหง (กรัม) d คือน้ําหนักวัสดุหลังอบแหง (กรัม) หมายเหตุ : ในการคํานวณตองหักลบน้ําหนักของภาชนะท่ีบรรจุออกดวย

ภาพท่ี 3-54 การชั่งน้ําหนักตัวอยางขยะท่ีจะอบหาคาความชื้น

Page 68: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

58

ภาพท่ี 3-55 การนําตัวอยางขยะเขาตูอบลมรอน

ภาพท่ี 3-56 การตั้งอุณหภูมิเครื่องอบขยะแบบโรตารี่ท่ีใชอุณหภูมิ 100°C ใชเวลาอบ 72 ชั่วโมง

Page 69: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

59

3.9.2.2 ปริมาณน้ําชะขยะ (ดังภาพท่ี 3-54)

ภาพท่ี 3-57 การเอาน้ําชะขยะออก (ทุกวัน)

3.9.3 คาท่ีเก็บขอมูลเม่ือจบการทดลองทุกครั้ง การหาคาความรอนของขยะเม่ือสิ้นสุดการทดลอง ตองสงขยะตัวอยางไปทดสอบหาคาความรอนท่ีหองปฏิบัติการศูนยวิทยาศาสตรและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

Page 70: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

บทที่ 4 ผลการทดลองงานวิจัย

งานวิจัยนี้เปนการศึกษาเก่ียวกับเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่ เพ่ือผลิตเชื้อเพลิงขยะจากขยะชุมชน โดยไดประดิษฐตัวถังนอกและตัวถังตะแกรงในท่ีท่ีมีความสามารถแยกน้ําท่ีมีอยูออกมาโดยการใชกระบวนการชีวภาพในการอบขยะ และไดทดลองรอบหมุนในการพลิกกลับขยะ ทดลองการเติมอากาศเขา หาคาความชื้นของขยะ และหาคาความรอนของขยะ 4.1 ข้ันตอนการทดลอง 4.1.1 อุปกรณการทดลอง 4.1.1.1 เครื่องวัดอุณหภูมิ สายเทอรโมคัปเปลชนิด K 4.1.1.2 ฮีตเตอร 4.1.1.3 เครื่องวัดอัตราการไหลของอากาศ 4.1.1.4 เครื่องเปาอากาศแรงดันสูง 4.1.1.5 เครื่องวัดรอบแบบใชแสงและสัมผัส 4.1.1.6 เครื่องวัดอุณหภูมิแบบเม็ดกระดุม 4.1.1.7 ชุดตอขอมูลกับคอมพิวเตอร 4.1.1.8 ตูอบลมรอน 4.1.1.9 ตาชั่งน้ําหนัก 4.1.2 ข้ันตอนการทดลอง 4.1.2.1 ทดลองรอบหมุนถังเพ่ือพลิกกลับขยะ 4.1.2.2 ทดลองปริมาณอากาศเขาเพ่ือใชในการยอยสลายของขยะ

Page 71: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

61

4.2 ผลการทดลองอุณหภูมิและความช้ืนของขยะ 4.2.1 แผนภูมิแสดงผลทดลองอุณหภูมิและความชื้นของขยะ ระหวางวันท่ี 31 มีนาคม - 8 เมษายน 2558

ภาพท่ี 4-1 แผนภูมิอุณหภูมิ ครั้งท่ี 1 อากาศ 0.0455 m3/h/kg รอบหมุน 0.2 rpm

ภาพท่ี 4-2 แผนภูมิความชื้นครั้งท่ี 1 อากาศ 0.0455 m3/h/kg รอบหมุน 0.2 rpm อุณหภูมิเริ่มตนวันท่ี 31 มีนาคม 2558 มีอุณหภูมิ 28 ˚C ความชื้นขยะ 73 % ระหวางวันท่ี 2-3 เมษายน 2558 มีอุณหภูมิเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ จนสูงสุดท่ีอุณหภูมิ 56 ˚C ความชื้นขยะ 44% และอุณหภูมิคอย ๆ ลดต่ําลงท่ีสุดท่ีอุณหภูมิ 26 ˚C ความชื้นขยะ 38% เม่ือวันท่ี 8 เมษายน 2558 โดยอุณหภูมิขยะภายในถังจะลดลงสอดคลองกับอุณหภูมิอากาศท่ีเขา

Page 72: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

62

4.2.2 แผนภูมิแสดงผลทดลองอุณหภูมิและความชื้นของขยะ ระหวางวันท่ี 22-30 เมษายน 2558

ภาพท่ี 4-3 แผนภูมิอุณหภูมิ ครั้งท่ี 2 อากาศ 0.07 m3/h/kg รอบหมุน 0.2 rpm

ภาพท่ี 4-4 แผนภูมิความชื้นครั้งท่ี 2 อากาศ 0.07 m3/h/kg รอบหมุน 0.2 rpm

อุณหภูมิเริ่มตนวันท่ี 22 เมษายน 2558 มีอุณหภูมิ 32 ˚C ความชื้นขยะ 63% วันท่ี 23 เมษายน 2558 มีอุณหภูมิเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ จนสูงสุดท่ีอุณหภูมิ 51 ˚C ความชื้นขยะ 58% และอุณหภูมิคอย ๆ ลดต่ําลงท่ีสุดท่ีอุณหภูมิ 29 ˚C ความชื้นขยะ 24% เม่ือวันท่ี 30 เมษายน 2558 โดยอุณหภูมิขยะภายในถังจะลดลงสอดคลองกับอุณหภูมิอากาศท่ีเขา

Page 73: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

63

4.2.3 แผนภูมิแสดงผลทดลองอุณหภูมิและความชื้นของขยะ ระหวางวันท่ี 8-17 พฤษภาคม 2558

ภาพท่ี 4-5 แผนภูมิอุณหภูมิ ครั้งท่ี 3 อากาศ 0.0909 m3/h/kg รอบหมุน 0.2 rpm

ภาพท่ี 4-6 แผนภูมิความชื้นครั้งท่ี 3 อากาศ 0.0909 m3/h/kg รอบหมุน 0.2 rpm

อุณหภูมิเริ่มตนวันท่ี 8 พฤษภาคม 2558 มีอุณหภูมิ 34 ˚C ความชื้นขยะ 59% วันท่ี 9 พฤษภาคม 2558 มีอุณหภูมิเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ จนสูงสุดท่ีอุณหภูมิ 51 ˚C ความชื้นขยะ 38 % และอุณหภูมิคอย ๆ ลดต่ําลงท่ีสุดท่ีอุณหภูมิ 34 ˚C ความชื้นขยะ 10 % เม่ือวันท่ี 17 พฤษภาคม 2558 โดยอุณหภูมิขยะภายในถังจะลดลงสอดคลองกับอุณหภูมิอากาศท่ีเขา

Page 74: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

64

4.2.4 แผนภูมิแสดงผลทดลองอุณหภูมิและความชื้นของขยะ ระหวางวันท่ี 2-10 มิถุนายน 2558

ภาพท่ี 4-7 แผนภูมิอุณหภูมิ ครั้งท่ี 4 อากาศ 0.0455 m3/h/kg รอบหมุน 0.028 rpm

ภาพท่ี 4-8 แผนภูมิความชื้น ครั้งท่ี 4 อากาศ 0.0455 m3/h/kg รอบหมุน 0.028 rpm

อุณหภูมิเริ่มตนวันท่ี 2 มิถุนายน 2558 มีอุณหภูมิ 34 ˚C ความชื้นขยะ 59% วันท่ี 4 มิถุนายน 2558 มีอุณหภูมิเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ จนสูงสุดท่ีอุณหภูมิ 50˚C ความชื้นขยะ 46% และอุณหภูมิคอย ๆ ลดต่ําลงท่ีสุดท่ีอุณหภูมิ 34˚C ความชื้นขยะ 40% เม่ือวันท่ี 10 มิถุนายน 2558 โดยอุณหภูมิขยะภายในถังจะลดลงสอดคลองกับอุณหภูมิอากาศท่ีเขา

Page 75: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

65

4.2.5 แผนภูมิแสดงผลทดลองอุณหภูมิและความชื้นของขยะ ระหวางวันท่ี 12-20 มิถุนายน 2558

ภาพท่ี 4-9 แผนภูมิอุณหภูมิ ครั้งท่ี 5 อากาศ 0.07 m3/h/kg รอบหมุน 0.028 rpm

ภาพท่ี 4-10 แผนภูมิความชื้น ครั้งท่ี 5 อากาศ 0.07 m3/h/kg รอบหมุน 0.028 rpm

อุณหภูมิเริ่มตนวันท่ี 12 มิถุนายน 2558 มีอุณหภูมิ 34 ˚C ความชื้นขยะ 50% วันท่ี 13 มิถุนายน 2558 มีอุณหภูมิเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ จนสูงสุดท่ีอุณหภูมิ 47 ˚C ความชื้นขยะ 40 % และอุณหภูมิคอย ๆ ลดต่ําลงท่ีสุดท่ีอุณหภูมิ 30 ˚C ความชื้นขยะ 24% เม่ือวันท่ี 20 มิถุนายน 2558 โดยอุณหภูมิขยะภายในถังจะลดลงสอดคลองกับอุณหภูมิอากาศท่ีเขา

Page 76: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

66

4.2.6 แผนภูมิแสดงผลทดลองอุณหภูมิและความชื้นของขยะ ระหวางวันท่ี 26 มิถุนายน-4 กรกฎาคม 2558

ภาพท่ี 4-11 แผนภูมิอุณหภูมิ ครั้งท่ี 6 อากาศ 0.0909 m3/h/kg รอบหมุน 0.028 rpm

ภาพท่ี 4-12 แผนภูมิความชื้น ครั้งท่ี6 อากาศ 0.0909 m3/h/kg รอบหมุน 0.028 rpm

อุณหภูมิเริ่มตนวันท่ี 26 มิถุนายน 2558 มีอุณหภูมิ 28 ˚C ความชื้นขยะ 59% วันท่ี 13 กรกฎาคม 2558 มีอุณหภูมิเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ จนสูงสุดท่ีอุณหภูมิ 43 ˚C ความชื้นขยะ 40 % และอุณหภูมิคอย ๆ ลดต่ําลงท่ีสุดท่ีอุณหภูมิ 28 ˚C ความชื้นขยะ 14% เม่ือวันท่ี 4 กรกฎาคม 2558 โดยอุณหภูมิขยะภายในถังจะลดลงสอดคลองกับอุณหภูมิอากาศท่ีเขา

Page 77: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

67

4.2.7 แผนภูมิแสดงผลทดลองอุณหภูมิและความชื้นของขยะ ระหวางวันท่ี 1-8 กันยายน 2558

ภาพท่ี 4-13 แผนภูมิอุณหภูมิ ครั้งท่ี 7 อากาศ 0.0455 m3/h/kg รอบหมุน 0.01 rpm

ภาพท่ี 4-14 แผนภูมิความชื้น ครั้งท่ี7 อากาศ 0.0455 m3/h/kg รอบหมุน 0.01 rpm

อุณหภูมิเริ่มตนวันท่ี 1 กันยายน 2558 มีอุณหภูมิ 28 ˚C ความชื้นขยะ 67% ระหวางวันท่ี 2-3 กันยายน 2558 มีอุณหภูมิเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ จนสูงสุดท่ีอุณหภูมิ 41 ˚C ความชื้นขยะ 58 % และอุณหภูมิคอย ๆ ลดต่ําลงท่ีสุดท่ีอุณหภูมิ 27 ˚C ความชื้นขยะ 45% เม่ือวันท่ี 8 กันยายน 2558 โดยอุณหภูมิขยะภายในถังจะลดลงสอดคลองกับอุณหภูมิอากาศท่ีเขา

Page 78: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

68

4.2.8 แผนภูมิแสดงผลทดลองอุณหภูมิและความชื้นของขยะ ระหวางวันท่ี 4-12 สิงหาคม 2558

ภาพท่ี 4-15 แผนภูมิอุณหภูมิ ครั้งท่ี8 อากาศ 0.07 m3/h/kg รอบหมุน 0.01 rpm

ภาพท่ี 4-16 แผนภูมิความชื้น ครั้งท่ี8 อากาศ 0.07 m3/h/kg รอบหมุน 0.01 rpm อุณหภูมิเริ่มตนวันท่ี 4 สิงหาคม 2558 มีอุณหภูมิ 26 ˚C ความชื้นขยะ 67% วันท่ี 6 สิงหาคม 2558 มีอุณหภูมิเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ จนสูงสุดท่ีอุณหภูมิ 48 ˚C ความชื้นขยะ 47 % และอุณหภูมิคอย ๆ ลดต่ําลงท่ีสุดท่ีอุณหภูมิ 30 ˚C ความชื้นขยะ 30% เม่ือวันท่ี 12 สิงหาคม 2558 โดยอุณหภูมิขยะภายในถังจะลดลงสอดคลองกับอุณหภูมิอากาศท่ีเขา

Page 79: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

69

4.2.9 แผนภูมิแสดงผลทดลองอุณหภูมิและความชื้นของขยะ ระหวางวันท่ี 16-24 สิงหาคม 2558

ภาพท่ี 4-17 แผนภูมิอุณหภูมิ ครั้งท่ี9 อากาศ 0.0909 m3/h/kg รอบหมุน 0.01 rpm

ภาพท่ี 4-18 แผนภูมิความชื้น ครั้งท่ี9 อากาศ 0.0909 m3/h/kg รอบหมุน 0.01 rpm อุณหภูมิเริ่มตนวันท่ี 16 สิงหาคม 2558 มีอุณหภูมิ 28 ˚C ความชื้นขยะ 74 % ระหวางวันท่ี 17-18 สิงหาคม 2558 มีอุณหภูมิเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ จนสูงสุดท่ีอุณหภูมิ 44 ˚C ความชื้นขยะ 58% และอุณหภูมิคอย ๆ ลดต่ําลงท่ีสุดท่ีอุณหภูมิ 30 ˚C ความชื้นขยะ 33 % เม่ือวันท่ี 24 สิงหาคม 2558 โดยอุณหภูมิขยะภายในถังจะลดลงสอดคลองกับอุณหภูมิอากาศท่ีเขา

Page 80: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

70

ตารางท่ี 4-1 สรุปผลการทดลอง ครั้งท่ี 1-9 ความสัมพันธระหวางอัตราการหมุนและอัตราการไหล ของอากาศท่ีสงผลตอความชื้นของขยะ

อัตราการหมุน

อัตราการไหล ของอากาศ (m3/h/kg)

0.2 rpm 0.028 rpm 0.01 rpm

0.0909 10 % w.b.

ครั้งท่ี 3 14 % w.b.

ครั้งท่ี 6 33 % w.b.

ครั้งท่ี 9

0.07 24 % w.b.

ครั้งท่ี 2 24 % w.b.

ครั้งท่ี 5 30 % w.b.

ครั้งท่ี 8

0.0455 38 % w.b.

ครั้งท่ี 1 40 % w.b.

ครั้งท่ี 4 45 % w.b.

ครั้งท่ี 7 จากตารางสรุปผลการทดลองท้ัง 9 ครั้ง ครั้งท่ี 3 จะพบวาอัตราการไหลของอากาศ 0.0909 m3/h/kg และอัตราการหมุน 0.2 rpm จะเปนครั้งท่ีมีความชื้นของขยะภายในถังหลังการดําเนินงานทดลอง 8 วัน มีคาต่ําท่ีสุดคือ 10 % wd และครั้งท่ี 7 อัตราการไหลของอากาศ 0.0455 m3/h/kg และอัตราการหมุน 0.01 rpm มีคาความชื้นของขยะภายในถังหลังการทดลองสูงสุด คือ 45% wd ตารางท่ี 4-2 ผลการทดลองคาความรอนท่ีสงหองปฏิบัติการ

ครั้งท่ี เติมอากาศ m3/h/kg

การหมุน rpm

ความชื้นของขยะ % w.b.

ปริมาณความรอน kj/kg

1 0.0455 0.2 38 10,900 2 0.07 0.2 24 14,000 3 0.0909 0.2 10 17,100 4 0.0455 0.028 21 14,700 5 0.07 0.028 24 14,000 6 0.0909 0.028 13 16,500 7 0.0455 0.01 45 9,200 8 0.07 0.01 35 11,500 9 0.0909 0.01 33 12,000

Page 81: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือออกแบบและพัฒนาเครื่องตนแบบในการเปลี่ยนขยะชุมชนซ่ึงมีคาความรอน 9,823.99 kj/kg พัฒนาเปนเชื้อเพลิงขยะ ในระดับหองปฏิบัติการและหาคาการทํางานท่ีเหมาะสมของเครื่องตนแบบ ในปจจัยอัตราการหมุนของโรตารี่ อัตราการไหลของอากาศและอุณหภูมิอากาศท่ีจะสงผลตอคาความชื้นภายในเชื้อเพลิงขยะ คาความรอน แบงการทดลองท้ังหมดเปน 9 ครั้ง โดยมีรอบการหมุนท่ีตางกัน 3 รอบ คือ 0.2, 0.028, 0.01 rpm อัตราการไหลของอากาศท่ีเขาเครื่องมี 3 ระดับ คือ 0.0455,0.07, 0.0909 m3/h/kg การทดลองแตละครั้งดําเนินการตลอด 8 วัน หาคาความชื้นภายในขยะและคาความรอนเม่ือจบการทดลอง 5.1 ผลการวิจัย 5.1.1 ดานอัตราการหมุน การหมุนของ Rotary เปนเหมือนกับการพลิกกลับกองขยะเพ่ือใหขยะท่ีวางแบบกองท้ิงสามารถคายความชื้นออก และเปนเนื้อเดียวกันท้ังกอง โดยปกติขยะจะมีคาความชื้นตางกันมากระหวางดานบนและดานลาง คือ ดานบนจะแหง และดานลางจะเปยกมาก ไมสามารถระบายความชื้นออกได ดังนั้นการวิจัยนี้จึงออกแบบเครื่องใหมีอัตราการหมุนท่ีต่ําใน 3 อัตราการหมุน 0.2, 0.028, 0.01 rpm เพ่ือเปนการพลิกกลับขยะใหสามารถคายความชื้นออกสูภายนอกอยางรวดเร็ว ในขณะเดียวกันรอบการหมุนท่ีต่ําจะสงผลใหเกิดการสรางความรอนข้ึนภายในตัวขยะเอง เปนการนําความรอนมาอบขยะ จากการทดลองการหมุนรอบชาท่ีสุด 0.01 rpm จะสงผลใหอุณหภูมิภายในตัวเพ่ิมสูงข้ึนถึง 48˚C ในการทดลองวันท่ี 8 และ มีอุณหภูมิสูงตอเนื่องเปนระยะเวลายาวนานถึง 2 วัน ในการทดลองครั้งท่ี 7 อุณหภูมิข้ึนสูง 45˚C ยาวนาน 3 วัน การหมุนท่ีรอบเร็วข้ึน 0.2 rpm จะสงผลใหเกิดอุณหภูมิภายในถึงข้ันสูงในครั้งท่ี 1 ซ่ึงมีอุณหภูมิ 56˚C แตจะสูงอยูเพียงไมนานในระยะเวลาไมถึง 1 วัน ครั้งท่ี 2 ก็เชนกันมีอุณหภูมิข้ันสูง 51˚C ซ่ึงอุณหภูมิดังกลาวจะมีอุณหภูมิสูงไมเกิน 1 วัน ดังนั้นสรุปไดวารอบการหมุนของ Rotary ชาจะสงผลใหอุณหภูมิท่ีเกิดข้ึนนาน ตั้งแตรอบการหมุนของ Rotary เร็วข้ึน จะทําใหอุณหภูมิลดลงอยางรวดเร็ว 5.1.2 ดานการอัตราการไหลของอากาศท่ีเขาภายในถัง ในการวิจัยนี้จะนําอากาศท่ีมีอุณหภูมิปกติเขาภายในถังโดยจะมีอัตราการไหลของอากาศ 3 ระดับคือ 0.0455, 0.07, 0.0909 m3/h/kg นําเขาคงท่ีตลอดการทดลอง 8 วันตอครั้ง ในการปอนอากาศมีวัตถุประสงคเพ่ือเปนตัวพาความชื้นออกจากถัง ยิ่งเขามากหมายถึงสามารถพาความชื้นออกจากขยะไดมาก และเปนการนําออกซิเจนภายนอกไปใชในกระบวนการยอยสลายของขยะ ผลพลอยไดจะมีการปลดปลอยความรอนออกมาอบขยะเพ่ือลดความชื้นลง

Page 82: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

72

จากการทดลองพบวาการท่ีปอนอากาศเขามากสงผลตอการนําความชื้นของขยะออกมาท้ิงภายนอกเปนอยางมาก ดังการทดลองครั้งท่ี 1 มีอัตราการไหลของอากาศ 0.045 m3/h/kg คาความชื้นสุดทายของขยะภายในถังคือ 38 % w.b. ครั้งท่ี 2 มีอัตราการไหลของอากาศ 0.07 m3/h/kg คาความชื้นสุดทายของขยะอยูท่ี 24 % w.b. ครั้งท่ี 3 มีอัตราการไหลของอากาศ 0.0909 m3/h/kg คาความชื้นสุดทายของขยะอยูท่ี 10% w.b. ดังนั้นสรุปไดวา อัตราการไหลของอากาศมีผลมากตอการนําความชื้นออกจากขยะภายในถังยิ่งปอนอากาศมากจะสงผลใหคาความชื้นลดลงได 5.1.3 ดานความชื้นขยะกับคาความรอนของขยะ จากการทดลองพบวาจะเก็บคาความชื้นไวทุกครั้งของการทดลอง ตามตารางท่ี 4-2 เม่ือคาความชื้นเพ่ิมข้ึนจะสงผลใหคาความรอนลดลง เม่ือคาความรอนลดลงจะสงผลใหคาความรอนเพ่ิมข้ึน ดังการทดลอง ครั้งท่ี 9 คาความรอนสุดทายของขยะ 33 % w.b. คาความรอนมีคา 12,000 kj/kg และครั้งท่ี 3 มีคาความชื้นสุดทายของขยะ 10% w.b. คาความรอนมีคา 17,000 kj/kg เม่ือทําการทดลองพบวา การทดลองครั้งท่ี 3 ท่ีอัตราการหมุน 0.2 rpm อัตราการไหลของอากาศ 0.0909 m3/h/kg มีประสิทธิภาพดีท่ีสุด สามารถทําใหขยะมีคาความชื้นสุดทายคือ 10 % w.b. มีคานอยท่ีสุดในทุกครั้งของการทดสอบ และสงผลใหมีคาความรอนสูงท่ีสุดคือ มีคาความรอน 17,100 kj/kg เปนผลใหเกิดการสรางมูลคาเพ่ิมใหกับขยะชุมชนท่ีไมมีคาและเปนท่ีนารังเกียจ สามารถเปลี่ยนเปนเชื้อเพลิงขยะนําไปใชในอุตสาหกรรมเพ่ือลดตนทุนดานพลังงานเชื้อเพลิงได 5.2 ขอเสนอแนะการวิจัย 5.2.1 ตองระมัดระวังเรื่องสัดสวนท่ีใชในการทดลองแตละครั้งใหมีสัดสวนเทากัน 5.2.2 ขนาดของขยะมีผลตอกระบวนการระบายความชื้นและการเกิดความรอน ดังนั้นจึงควบคุมใหมีขนาดเทากัน 5.3 ขอเสนอแนะการวิจัยครั้งตอไป 5.3.1 เนื่องจากในการทดลองท่ีมีความชื้นสูงมาก บางครั้งเครื่องมือตองสัมผัสกับน้ําชะขยะโดยตรง ดังนั้นควรใชเครื่องมือท่ีมีลักษณะเปนสแตนเลส เพ่ือไมใหเกิดสนิม 5.3.2 ควรมีการสรางเครื่องลดขนาดขยะ เพ่ือใหมีขนาดเทากันทุกครั้ง 5.3.3 การออกแบบลมเขาถังท่ีดีจะสามารถนําพาความชื้นออกจากถังขยะไดมาก และเกิดประสิทธิภาพไดสูงข้ึน 5.3.4 หาคาความเหมาะสมในการกําหนดอัตราการไหลของอากาศเขาเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

Page 83: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

บรรณานุกรม

Page 84: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

บรรณานุกรม

พิมผกา โพธิลักา.(2546).การจัดการมูลฝอยและของเสียอันตราย. ลําปาง, มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง

สํานักสิ่งแวดลอมภาคท่ี 8.(2554).การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบบําบัดน้ําเสียและระบบกําจัดขยะมูลฝอย ภายใตแผนปฏิบัติการเพ่ือการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด. สืบคนเม่ือ 8 เมษายน 2558, จาก http://reo 08.mnre.go.th/ewt_dl.php?nid=111

Thomas H.Christensen.(2011).Solid Waste Technology & Management New Delhi, India : Blackwell Publishing Ltd.

C.A. Velis, P. J. L., G.H. Drew and R. Smith, S.J.T. Pollard.(2009).Biodrying for mechanical-biological treatment of wastes, Bioresource Technology Volume 100 (Issue11) : Page 2747-2761.

Dong-Qing Zhang, P.-J. H., Tai-Feng Jin. Li-Ming Shao.(2008).Bio-drying of municipal solid waste with high water content by aeration procedures regulation and inoculation. Bioresource Technology 99: 8796-8802

Mara Sugni, E. C., Fabrizio Adani.(2005).Biostabilization-biodrying of municipal solid water by inverting air-flow. Bioresource Technology 96:1331-1337.

Shao, L. M., Z. H. Ma, et al.(2010).Bio-drying and size sorting of municipal solid waste with high water content for improving energy recovery. Waste Management 30(7): 1165-1170.

THAILAND POWER DEVELOPMENT PLAN 2012-2030. Energy policy and planning office Ministry of energy, Thailand.

Page 85: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

ภาคผนวก

Page 86: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

ภาคผนวก ก แบบตัวเคร่ืองอบขยะมูลฝอยแบบโรตาร่ี

Page 87: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่
Page 88: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่
Page 89: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่
Page 90: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่
Page 91: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

ภาคผนวก ข ตัวอยางใบรายงานผลการทดสอบ

Page 92: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่
Page 93: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

ภาคผนวก ค ประวัติผูวิจัย

Page 94: การผลิตเชื้อเพลิงขยะชุมชน ใน ...eoffice.kru.ac.th/e-research/files/2557-full... · 2017-01-16 · 3.3 การทดลองการทํางานของเครื่องอบขยะมูลฝอยแบบโรตารี่

ประวัติผูวิจัย ชื่อ-นามสกุล นายมงคล พัชรวงศสิริ วุฒิการศึกษา พ.ศ. 2543 ปริญญาตรี ครุศาสตรอุตสาหกรรมบัณฑิต (ค.อ.บ.) วิศวกรรมเครื่องกล เกียรตินิยมอันดับ 2 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2549 ปริญญาโท ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (ค.อ.ม.) วิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ ตําแหนง พนักงานมหาวิทยาลัย (อาจารย) / รองคณบดี หนวยงาน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี 70 หมู 4 ตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี หมายเลขโทรศัพท 0 813 830 344 E-mail : [email protected] ประสบการณท่ีเกี่ยวของกับการบริหารงานวิจัย หัวหนาโครงการ พ.ศ. 2553 เครื่องใสปุยคอกในไรออย (ไดรับทุนสนับสนุนจากคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี) พ.ศ. 2554 การลดใชพลังงานไฟฟาของระบบปรับอากาศโดยการลดอุณหภูมิของอากาศดวยน้ํา กอนเขาคอนเด็นเซอร (ไดรับทุนสนับสนุนจากบริษัทเอกชน) ผูรวมวิจัย พ.ศ. 2554 การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา วิชาการอนุรักษพลังงาน และเทคโนโลยีสะอาดโดยใชเครื่องทดสอบระบบไฟฟาแสงสวาง (ไดรับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี) พ.ศ.2557 การศึกษาแนวโนมความตองการศึกษาตอในสาขาวิชาเทคโนโลยีพลังงาน และสิ่งแวดลอม ระดับปริญญาตรี ของนักเรียนมัธยมปลายหรือเทียบเทา (ไดรับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี) งานวิจัยท่ีกําลังทํา พ.ศ. 2559 การสรางระบบบําบัดน้ําเสียชีวภาพตนแบบ (หัวหนาโครงการ) (ไดรับทุนสํานักงานคณะกรรมการการวิจัยแหงชาติ ปงบประมาณ 2559)