2
จัดทำโดย : ครูอรวรรณ เสออ วม ใบความรูที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ 2 รายวิชาประวัติศาสตร์ไทย 3 รหัสวิชา ส22103 ชื่อ................................................................................................................................ ห้อง.............. เลขที............. สังคมไทยสมัยอยุธยา สภาพสังคมทั่วไป 1. สังคมเกษตรกรรม ยังชีพด้วยการเพาะปลูก หาปลา และเก็บของป่า 2. สังคมเจ้าขุนมูลนาย คือราษฎรทุกคนจะต้องสังกัดนายของตน หากไม่มีสังกัดนาย กฎหมายจะไม่รับผิดชอบ ในการพิทักษ์รักษาชีวิต และทรัพย์สิน 3. สังคมที่ถือว่าสตรีมีฐานะด้อยกว่าบุรุษ เพราะถือว่าสตรีเป็นทรัพย์อย่างหนึ่งของบุรุษ สามารถถูกขายหรือถูก จานาได้ 4. สังคมชนชั้น แบ่งได้ว่าใครสูงตากว่าใครโดยเทียบจากศักดินา แต่สังคมไทยไม่แบ่งชนชั้นเคร่งครัดตายตัว เหมือนระบบวรรณะของอินเดีย เพราะบุคคลชั้นสูงอาจลดลงชั้นต่าได้หากทาผิดและบุคคลชั้นต่าอาจเลื่อนขึ้นชั้นสูงไดหากมี ความดีความชอบ อุปสมบทหรือแต่งงาน 5. สังคมที่ผูกพันอยู่กับพระพุทธศาสนา ถือว่าจัดเป็นศูนย์กลางของสังคมเพราะจัดเป็นแหล่งพบปะสังสรรค์เป็น แหล่งให้วิชาความรูตลอดจนเป็นศูนย์รวมศิลปวัฒนธรรมของชาติ 6. สังคมที่ถือว่ากาลังคนมีความสาคัญมาก เพราะเป็นที่มาของอานาจทางการเมืองและเศรษฐกิจ จึงมีการ ควบคุมกาลังคนอย่างรัดกุม 7. การกาหนดสิทธิหน้าที่ของบุคคลในสังคมด้วยศักดินา เช่น พระบรมวงศานุวงศ์ มีศักดินา 1,500-100,000 ไร่ ขุนนาง มีศักดินา 400-10,000 ไร่ พระสงฆ์ มีศักดินา 400-2,400 ไร่ ไพร่ มีศักดินา 10-25 ไร่ ทาส มีศักดินา 5 ไร่ องค์ประกอบของสังคมอยุธยา 1. พระมหากษัตริย์ ดารงตาแหน่งสูงสุดในสังคม มีฐานะเป็นเจ้าแผ่นดินหรือเจ้าชีวิตเป็นศูนย์รวมแห่งอานาจทั้ง ปวงในแผ่นดิน สังคมยอมรับนับถือว่าเป็นเทวราชหรือสมมติเทพ และถูกจากัดพระราชอานาจโดยหลักธรรมที่เรียกว่า ทศพิธราชธรรม 2. พระบรมวงศานุวงศ์ (เจ้านาย) คือเชื้อพระวงศ์ของพระมหากษัตริย์จึงมีฐานะรองลงจากพระมหากษัตริย์ และมีเกียรติยศ อภิสิทธิสกุลยศมาแต่กาเนิด เช่น พระมหาอุปราช สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ สมเด็จพระอนุชา สมเด็จพระ พี่นาง สมเด็จพระปิตุลา

ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา

จัดท ำโดย : ครูอรวรรณ เสืออว่ม

ใบความรู้ที่ 4 เร่ือง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 รายวิชาประวัติศาสตร์ไทย 3 รหัสวิชา ส22103

ชื่อ........................................................................................................... .....................ห้อง..............เลขที.่............

สังคมไทยสมัยอยุธยา

สภาพสังคมทั่วไป 1. สังคมเกษตรกรรม ยังชีพด้วยการเพาะปลูก หาปลา และเกบ็ของป่า 2. สังคมเจ้าขุนมลูนาย คือราษฎรทุกคนจะต้องสังกัดนายของตน หากไม่มสีังกัดนาย กฎหมายจะไม่รับผิดชอบในการพิทักษ์รักษาชีวิต และทรัพย์สิน 3. สังคมที่ถือว่าสตรีมีฐานะด้อยกว่าบุรุษ เพราะถือว่าสตรีเป็นทรพัย์อย่างหนึ่งของบุรุษ สามารถถูกขายหรือถูกจ าน าได ้ 4. สังคมชนชัน้ แบ่งได้ว่าใครสูงต่ ากว่าใครโดยเทียบจากศักดินา แต่สังคมไทยไม่แบ่งชนช้ันเคร่งครดัตายตัวเหมือนระบบวรรณะของอินเดยี เพราะบุคคลช้ันสูงอาจลดลงช้ันต่ าได้หากท าผิดและบุคคลช้ันต่ าอาจเลื่อนขึ้นช้ันสูงได้ หากมีความดีความชอบ อุปสมบทหรือแต่งงาน 5. สังคมที่ผูกพันอยู่กับพระพุทธศาสนา ถือว่าจัดเป็นศูนย์กลางของสังคมเพราะจัดเป็นแหล่งพบปะสังสรรค์เป็นแหล่งให้วิชาความรู้ ตลอดจนเป็นศูนย์รวมศลิปวัฒนธรรมของชาติ 6. สังคมที่ถือว่าก าลังคนมีความส าคัญมาก เพราะเป็นท่ีมาของอ านาจทางการเมืองและเศรษฐกิจ จึงมีการควบคุมก าลังคนอย่างรดักุม 7. การก าหนดสิทธิหน้าที่ของบุคคลในสังคมด้วยศักดินา เช่น พระบรมวงศานุวงศ ์ มีศักดินา 1,500-100,000 ไร่ ขุนนาง มีศักดินา 400-10,000 ไร่ พระสงฆ ์ มีศักดินา 400-2,400 ไร่ ไพร ่ มีศักดินา 10-25 ไร่ ทาส มีศักดินา 5 ไร่

องค์ประกอบของสังคมอยุธยา

1. พระมหากษัตริย์ ด ารงต าแหน่งสูงสุดในสังคม มีฐานะเป็นเจ้าแผ่นดินหรือเจ้าชีวิตเป็นศูนย์รวมแห่งอ านาจทั้งปวงในแผ่นดิน สังคมยอมรับนับถอืว่าเป็นเทวราชหรือสมมติเทพ และถูกจ ากัดพระราชอ านาจโดยหลกัธรรมที่เรียกว่า ทศพิธราชธรรม 2. พระบรมวงศานุวงศ์ (เจ้านาย) คือเชื้อพระวงศ์ของพระมหากษัตริย์จึงมีฐานะรองลงจากพระมหากษัตริย์ และมเีกียรติยศ อภิสิทธ์ิ สกลุยศมาแต่ก าเนดิ เช่น พระมหาอุปราช สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ สมเด็จพระอนุชา สมเด็จพระพี่นาง สมเด็จพระปิตลุา

Page 2: ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา

จัดท ำโดย : ครูอรวรรณ เสืออว่ม

3. ขุนนางหรือข้าราชการ เป็นชนช้ันท่ีมีอ านาจ เกียรติยศ และอภิสิทธ์ิในสังคม ท าหน้าท่ีควบคมุดูแลทุกข์สุขของราษฎรแทนพระมหากษัตริย์ โดยได้รับยศ ต าแหน่ง อ านาจ ทรัพย์สมบตัิ และบริวารเป็นเครือ่งตอบแทน จะได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับศักดินาของตน 3.1 ยศ คือ สิ่งที่แสดงถึงความก้าวหน้าในการรับราชการ เช่น เจ้าพระยา พระยา พระ หลวง ขุน หมื่น พัน ทนาย 3.2 ราชทินนาม คือ นามที่ไดพ้ระราชทาน เช่น จักรี พลเทพ มหาเสนา สรุสหี์ 3.3 ต าแหน่ง คือ หน้าที่ท่ีรับผิดชอบอยู่ เช่น สมุหนายก เจ้ากรมสมุห์บัญชี 3.4 หน้าท่ีของขุนนาง 3.4.1 ต้องปฏิบัติราชการตาม ยศ ต าแหน่ง และราชทินนาม 3.4.2 คอยควบคุมก าลังคน ท้ังยามปกติและยามสงคราม 3.4.3 เอาใจใส่ดูแลบรรดาไพร่พล ใต้สังกัดให้มีความสุข ความปลอดภัยและเป็นธรรม 3.5 สิทธิของขุนนาง 3.5.1 สิทธิในการถือครองที่ดิน ซึ่งจะถือครองมากหรือน้อยขึ้นอยูก่ับต าแหน่ง 3.5.2 ได้รับการยกเว้นการเกณฑแ์รงงานไปใช้ 3.5.3 มีสิทธิเข้าเฝ้าพระมหากษตัริย ์ 3.5.4 ได้รับการยกเว้นการตรวจค้นบางประการ 3.5.5 ได้รับพระราชทานเบี้ยหวัดเงินปีจากกษัตริย์ 4. พระสงฆ์ เป็นกลุ่มคนท่ีไม่เกีย่วข้องกับการปกครองบ้านเมืองโดยตรง แต่มคีวามส าคัญต่อสังคมมาก เพราะมีบทบาทในการสร้าง และพัฒนาชาติหลายด้าน เช่น ด้านการศึกษา ศิลปวัฒนธรรม และค่านิยมความเชื่อต่าง ๆ ตลอดจนการส่งเสริมความดี ละเว้นความช่ัว เพื่อความผาสุกของสังคมส่วนมาก นอกจากน้ันพระสงฆย์ังเป็นตัวกลางเชื่อมโยงชนช้ันปกครองกับชนช้ันใต้การปกครองให้เข้ากันไดโ้ดยอาศัยวัดเป็นศูนย์กลาง 5. ไพร่ คือ ราษฎรที่เป็นสามัญชนท่ัวไป ซึ่งมีมากท่ีสุดในสังคมอยุธยา มีหน้าที่รับใช้บ้านเมือง โดยไดร้ับการคุ้มครองเป็นการตอบแทน ไม่มเีงินเดือนค่าจ้างใด ๆ ไพร่ทุกคนจะต้องขึ้นทะเบียนสังกัดมูลนาย แบง่ได้เป็น 2 ประเภท คือ 5.1 ไพร่หลวง (คนของหลวง) คือ ชายฉกรรจ์ที่มีอายุระหว่าง 20-60 ปี ขึ้นต่อพระมหากษัตริย ์ ต้องท างานรับใช้กรมกองต่าง ๆ ซึ่งเป็นการใช้แรงงาน หากเกิดศึกสงครามต้องออกรบและถ้าไพร่คนใดมคีวามจ าเป็นไมส่ามารถเข้าเวรรบัราชการตามก าหนดได้กส็ามารถส่งเงินหรือสิ่งของมาแทนได้เรียกว่า “ไพร่ส่วย” 5.2 ไพร่สม (คนของมูลนาย) คือ ชายฉกรรจ์ที่เป็นคนของมูลนายคอยรับใช้มูลนาย อาจเป็นเพราะความสมัครใจ หรือพระมหากษัตรยิ์พระราชทานให้ขุนนางและพระมหากษัตริย์อาจเรียกคืน 6. ทาส เป็นกลุ่มชนช้ันต่ าสุดของสังคมอยุธยา ไมม่ีอิสระตกเป็นสมบัติของนายเงิน มี 7 ประเภท 6.1 ทาสเชลย คือ เชลยศึกท่ีถูกกวาดต้อนมา ไม่มีสิทธิไถ่ตัวให้เปน็อิสระได้ 6.2 ทาสสินไถ่ คือ บุคคลที่ถูกขายเป็นทาสให้บุคคลอื่น แต่ไม่ถอนได้ เป็นทาสทีม่ีจ านวนมากท่ีสุดในสังคม 6.3 ทาสในเรือนเบี้ย คือ ทาสที่เกิดในขณะที่พ่อแมเ่ป็นทาส 6.4 ทาสที่มีผู้ให้ คือ มีผู้ยกให้โดยเสนห่า 6.5 ทาสที่ได้มาแต่บดิามารดา คอื ตกทอดมาจากบิดามารดาของนายเงิน 6.6 ทาสที่ได้จากการช่วยเหลือคนต้องโทษทัณฑ ์ 6.7 ทานท่ีเลี้ยงไว้ในยามอดอยาก และเกิดทุกข์