14
บทที3 ตัวแปรและการตั้งสมมุติฐาน การวิจัยเปนการศึกษาหาคนควาหาความรูความจริงเพื่อตอบปญหาการวิจัยหรือขอ สงสัยที่เกิดขึ้น โดยใชกระบวนการที่เชื่อถือไดดังกลาวมาแลว ซึ่งสิ่งที่เกี่ยวของกับการหา คําตอบนั้นอาจมีคาคงตัวหรือการแปรเปลี่ยนคาไปไดโดยขึ้นอยูกับลักษณะและโครงสรางของ สิ่งที่เราศึกษา ในทางวิทยาศาสตรและสังคมศาสตรเรียกวา ตัวแปร ซึ่งในบทนี้จะกลาวถึง ความหมายของตัวแปร ความสําคัญของตัวแปร ประเภทของตัวแปร และการตั ้งสมมุติฐาน ดัง ตอไปนี1. ความหมายของตัวแปร ตัวแปรในทางสังคมศาสตรใชในความหมายที่วา ตัวแปรหมายถึง คุณลักษณะหรือ คุณสมบัติใด ที่มีรวมกันในทุก หนวยของประชากรที่มุงศึกษาหรืออาจกลาวไดวา ตัวแปร หมายถึงคุณลักษณะของสิ่งที่ผูวิจัยสนใจที่จะศึกษาซึ่งเปนคุณลักษณะที่สามารถเปลี่ยนแปลง ไดหรือแปรคาไดตามคุณสมบัติของมัน ในการเปลี่ยนแปลงหรือการแปรไดของตัวแปร มี 2 ลักษณะ คือ (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2543, หนา 87) 1.1 การเปลี่ยนคาภายในตัวมันเอง เปนการเปลี่ยนแปลงไป หรือมีคาที่แตกตางกัน เมื่อเทียบกับตัวเอง ไดแก อายุ น้ําหนัก สวนสูง รายได เปนตน ตัวแปรบางตัวแปรเปลี่ยน แปลงไปโดยมีคาสูงขึ้นเพียงอยางเดียว เชน อายุ ความสูง ตําแหนงทางวิชาการ เปนตน ตัวแปรบางตัวเปลี่ยนแปลงโดยมีคาลดลงเพียงอยางเดียว เชน อายุการใชงานหลอดไฟฟา การเสื่อมสภาพของรถยนต เปนตน คาตัวแปรบางตัวมีการเปลี่ยนแปลงขึ้น ลง ไดเชน ความพึงพอใจของบุคคลตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง น้ําหนักตัว ผลการเรียน เปนตน 1.2 การเปลี่ยนคาเมื่อเทียบกับกลุเปนคาที่แตกตางกันระหวางกลุเชน เพศ อาชีพ เชื้อชาติ เปนตน สําหรับทางสถิตินิยมกําหนดตัวแปรเปนสัญลักษณที่ใชแทนความหมายของขอมูลที่มี ความผันแปร เขียนแทนดวยตัวอักษรตัวใหญ (X,Y,Z) และใชตัวอักษรตัวเล็ก (x,y,z) แทนคา e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam

หน่วยที่ 3 ตัวแปรและการตั้งสมมติฐาน

  • Upload
    -

  • View
    11

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หน่วยที่ 3 ตัวแปรและการตั้งสมมติฐาน

บทที่ 3 ตัวแปรและการตั้งสมมุติฐาน

การวิจยัเปนการศึกษาหาคนควาหาความรูความจริงเพื่อตอบปญหาการวจิัยหรือขอสงสัยทีเ่กิดขึ้น โดยใชกระบวนการที่เชือ่ถือไดดังกลาวมาแลว ซึง่สิ่งที่เกีย่วของกับการหาคําตอบนั้นอาจมีคาคงตัวหรอืการแปรเปลี่ยนคาไปไดโดยขึ้นอยูกับลักษณะและโครงสรางของส่ิงที่เราศึกษา ในทางวิทยาศาสตรและสังคมศาสตรเรียกวา ตัวแปร ซึ่งในบทนี้จะกลาวถึงความหมายของตัวแปร ความสาํคัญของตัวแปร ประเภทของตัวแปร และการตั้งสมมุติฐาน ดัง ตอไปนี ้

1. ความหมายของตัวแปร

ตัวแปรในทางสังคมศาสตรใชในความหมายทีว่า ตวัแปรหมายถึง คุณลักษณะหรือคุณสมบัติใด ๆ ที่มีรวมกันในทุก ๆ หนวยของประชากรที่มุงศึกษาหรืออาจกลาวไดวา ตวัแปรหมายถงึคุณลักษณะของสิง่ที่ผูวิจยัสนใจที่จะศึกษาซึง่เปนคุณลักษณะที่สามารถเปลี่ยนแปลงไดหรือแปรคาไดตามคุณสมบัติของมัน ในการเปลีย่นแปลงหรือการแปรไดของตัวแปร มี 2 ลักษณะ คือ (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2543, หนา 87) 1.1 การเปลีย่นคาภายในตัวมันเอง เปนการเปลีย่นแปลงไป หรือมคีาที่แตกตางกันเมื่อเทียบกับตัวเอง ไดแก อายุ น้าํหนัก สวนสูง รายได เปนตน ตัวแปรบางตัวแปรเปลี่ยนแปลงไปโดยมคีาสูงขึ้นเพียงอยางเดยีว เชน อาย ุ ความสงู ตาํแหนงทางวิชาการ เปนตน ตัวแปรบางตัวเปลี่ยนแปลงโดยมคีาลดลงเพียงอยางเดียว เชน อายุการใชงานหลอดไฟฟา การเสื่อมสภาพของรถยนต เปนตน คาตัวแปรบางตัวมีการเปลี่ยนแปลงขึ้น ๆ ลง ๆ ไดเชน ความพึงพอใจของบุคคลตอส่ิงใดสิ่งหนึง่ น้ําหนกัตัว ผลการเรียน เปนตน 1.2 การเปลี่ยนคาเมื่อเทยีบกับกลุม เปนคาที่แตกตางกนัระหวางกลุม เชน เพศ อาชีพ เชื้อชาติ เปนตน สําหรับทางสถติินิยมกาํหนดตัวแปรเปนสญัลักษณที่ใชแทนความหมายของขอมูลที่มีความผนัแปร เขียนแทนดวยตัวอักษรตัวใหญ (X,Y,Z) และใชตัวอักษรตัวเล็ก (x,y,z) แทนคา

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam

Page 2: หน่วยที่ 3 ตัวแปรและการตั้งสมมติฐาน

42

ของตัวแปร (สินทร ศิลา, 2530, หนา 13) ในการวจิัยกอนการเกบ็รวบรวมขอมลูการวิจยั ผูวิจัยจะตองคํานงึถงึวาขอมลูอะไรหรือขอมูลประเภทใดที่จะใชสําหรับวิเคราะหหรือทดสอบเพื่อสนับสนนุสมมุติฐานที่ตัง้ไว ถาหากกําหนดขอมลูที่ตองการเกบ็รวบรวมไวมากเกนิความจําเปนที่จะใชสําหรับงานวิจยัแลวจะเสียคาใชจายมาก แตขอมลูไดนอยเกนิไป กท็ําใหงานวิจยัไมสามารถวิเคราะหผลการวิจัยไดตามวัตถุประสงค ดังนัน้เพื่อเหมาะสมสําหรับการเก็บรวบรวมขอมูลผูวิจัยควรกําหนดตัวแปรของขอมูลใหเพียงพอและตรงตามวัตถปุระสงคที่กําหนดไว สินทร ศิลา (2530, หนา 14) ไดแบงประเภทของตัวแปรออกเปน 2 ประเภท คือ ตัวแปรเชิงปริมาณ เปนตวัแปรที่มีคาที่แทจริงเปนตวัเลข เชน ปริมาณการผลิต ปริมาณการใช น้ํามนั เปนตน และตัวแปรที่มีคาที่แทจริงไมใชตัวเลข เปนตัวแปรทีอ่อกมาเปนคาที่วัดไมได เชน ใช ไมใช ไดมาตรฐาน ไมไดมาตรฐาน เปนตน

ดังนัน้อาจกลาวไดวาสมบัตอิยางหนึ่งของตัวแปรคือ คาของตัวแปร ซึ่งมีคาแตกตางกันไปตามลกัษณะของตัวแปร โดยคาของตัวแปรนัน้จะกาํหนดดวยตัวเลข และใชตัวอักษร เชน ใชสัญลกัษณ X หรือ Y ใชแทนตวัแปรตัวใดตัวหนึง่ที่เราศกึษาได

2. ความสําคัญของตัวแปร

จากที่ไดกลาวมาขางตนในการวิจัยผูวิจัยจะตองกําหนดของตัวแปรเพือ่สะดวกในการเก็บขอมูล ดังนั้นตัวแปรจงึมีความสาํคัญตอการวิจัยดงันี ้ 2.1 ตัวแปรเปนตัวเชื่อมโยงกับแนวคิดและทฤษฎี จากการศึกษาทบทวนแนวคดิและทฤษฎีของประเด็นที่ตองการศึกษา จะชวยใหผูวิจยัเกิดความชัดเจนวาภายใตแนวคิดและทฤษฎีดังกลาวนัน้ มีตัวแปรใดบางที่ผูวิจัยควรกาํหนดเปนตัวแปรทีจ่ะศึกษา โดยไมตองศึกษาจากแนวคิดและทฤษฎี เพราะมีลักษณะเปนนามธรรมสูง การศึกษาจากตวัแปรจึงเปนการลดระดับความเปนนามธรรมใหอยูในรูปธรรมมากขึน้ ซึ่งจะนาํไปสูการนยิามตัวแปรที่ศึกษาใหสามารถวัดและสังเกตได ดังภาพที ่ 3.1

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam

Page 3: หน่วยที่ 3 ตัวแปรและการตั้งสมมติฐาน

43

ภาพที ่3.1 แสดงความสมัพันธระหวางแนวคิดและทฤษฎี ตัวแปรทีศึ่กษา และการใหนิยามตัวแปร ที่มา (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2543, หนา 89)

2.2 เปนตัวเชื่อมโยงกับสมมุติฐานการวจิัย ภายหลงัจากที่ผูวิจยัไดกําหนดตัวแปรที่ศึกษาภายใตกรอบแนวคิดและทฤษฎทีี่เกี่ยวของกับเร่ืองที่ศึกษา ผูวิจัยอาจสนใจศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปรในลักษณะตาง ๆ โดยอาจตั้งสมมุติฐานการวิจยัซึ่งเปนการ คาดการณคําตอบตอปญหาวิจัยไวลวงหนา แลวหาขอมูล หรือหลักฐาน เพื่อทดสอบ สมมุติฐานการวิจัยตอไป 2.3 ตัวแปรชวยทาํใหสามารถวัดและทดสอบได ในการวิจัยผูวจิัยจะไมวัดและทดสอบที่แนวคิดและทฤษฎ ี เพราะยังมคีวามเปนนามธรรมสูง แตจะมาวัดและทดสอบกับ ตัวแปร เพราะมีลักษณะเปนรูปธรรม โดยนิยามเชงิปฏบัิติการสําหรับตัวแปรที่ตองการศึกษาเพื่อใหแนวทางในการวัดทีช่ดัเจน 2.4 ตัวแปรจะชวยใหเลือกใชสถิติวิเคราะหไดเหมาะสม การกําหนดตัวแปรที่ศึกษาใหอยูในระดับการวัด หรือมาตรวัดประเภทตาง ๆ เชน ระดับนามบัญญัติ (nominal scale) ระดับลําดับ (ordinal scale) ระดับอันตรภาค (interval scale) และระดับอัตราสวน (ratio scale) จะมีผลตอการเลือกใชสถิติวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการวัดตัวแปรตามระดับการวัด นั้น ๆ เชน ถาผูวิจัยตองการศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปรที่วัดไดในระดับนามบัญญัติ

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam

Page 4: หน่วยที่ 3 ตัวแปรและการตั้งสมมติฐาน

44

ก็อาจเลือกใชสถิติไคกําลังสอง (chi – square) สําหรับตัวแปรที่วัดไดอยูในระดับอันตรภาค ก็อาจเลือกใชสถิติวิเคราะหความสัมพันธแบบเพียรสัน (Pearson correlation) เปนตน

3. ประเภทของตัวแปร ตัวแปรมีหลายประเภทขึ้นอยูกับเกณฑที่ใชพิจารณา และมีการเรียกชื่อตาง ๆ กนัไปในทีน่ี้จะแบงประเภทของตวัแปรตามเกณฑดังนี ้ 3.1 พิจารณาตามลักษณะของพฤติกรรมมนุษย สามารถแบงตัวแปรได 2 ประเภท คือ 3.1.1 ตัวแปรเชิงรูปธรรม (concept variable) เปนตัวแปรที่แสดงความหมายในลักษณะที่คนทั่วไปเขาใจรับรูไดตรงกัน สามารถสังเกตไดชัดเจน เชน เพศ อาชีพ อายุ น้ําหนัก เปนตน 3.1.2 ตัวแปรเชิงนามธรรม (construct variable) เปนตัวแปรที่แสดงความหมายในลักษณะที่รับรูกันเฉพาะบุคคล คนทั่วไปไมอาจรับรูไดตรงกันและไมสามารถสังเกตไดโดยตรง เชน ทัศนคติ ความกาวราว ความเกรงใจ เปนตน ตัวแปรในลักษณะนี้ตองนิยามใหชัดเจนและระบุวิธีการวัดดวย 3.2 พิจารณาตามลักษณะของคุณสมบัติที่แปรคาออกมา สามารถแบงตัวแปร ออกเปน 2 ประเภท คือ 3.2.1 ตัวแปรเชิงปริมาณ (quantitative variable) เปนตัวแปรที่สามารถแสดงออกมาเปนจํานวนมีหนวยการวัดเปนปริมาณ เชน ระยะทาง เงินเดือน อายุ เปนตน 3.2.2 ตัวแปรเชิงคุณภาพ (qualitative variable) เปนตัวแปรที่ไมสามารถแสดงออกมาเปนจํานวนเชิงปริมาณได แตสามารถระบุความแตกตางตามคุณลักษณะได เชน ศาสนา อาจแบงออกเปน 3 รายการคือ ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต และศาสนาอิสลาม หรืออาชีพ อาจแบงไดเปน 2 รายการคือ รับราชการ และไมไดรับราชการ เปนตน 3.3 พิจารณาตามความตอเนื่องของคุณลักษณะ สามารถแบงตัวแปรไดเปน 2 ประเภทคือ 3.3.1 ตัวแปรตอเนื่อง (continuous variable) เปนตัวแปรที่สามารถแปรคาไดอยางตอเนื่องกันภายในชวงใดชวงหนึ่งอยางนอย 2 คาของตัวแปร และสามารถสะทอน

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam

Page 5: หน่วยที่ 3 ตัวแปรและการตั้งสมมติฐาน

45

ถึงอันดับหรือขนาดที่ชัดเจน กลาวคือคาที่มากกวาจะแสดงคุณสมบัติของตัวแปรนั้นมากกวาคาที่นอยกวาได เชน ความยาว น้ําหนัก อายุ ระยะทาง ไอคิว (IQ) จีพีเอ (GPA) เปนตน 3.3.2 ตัวแปรไมตอเนื่อง (discrete variable) เปนตัวแปรที่ไมสามารถแปรคาไดอยางตอเนื่อง ไมสามารถบอกอันดับหรือขนาดได บอกไดเพียงวาสมาชิกที่อยูในรายการกําหนดตัวเลขตัวเดียวกัน เชน ตัวแปรศาสนาคา 1 แทนศาสนาพุทธ คา 2 แทนศาสนาคริสต คา 3 แทนศาสนาอิสลาม คนที่นับถือศาสนาพุทธทุกคนถือวาเทาเทียมกันหมด คนที่นับถือศาสนาคริสตทุกคนถือวาเทาเทียมกันหมด คนที่นับถือศาสนาอิสลามทุกคนถือวาเทาเทียมกันหมด กลาวคือ 1 , 2 และ 3 ไมมีความหมายเชิงปริมาณ และไมสามารถนํามาบวก ลบ คูณ หารกันได

3.4 พิจารณาความสัมพันธของตัวแปร ในการวิจัยเรื่องหนึ่ง ๆ หากพิจารณาความสัมพันธของตัวแปรสามารถแบงตัวแปรออกเปน 3 ประเภทใหญ ๆ ไดดังนี้ 3.4.1 ตัวแปรที่ตองการ เปนตัวแปรที่ผูวิจัยตองการศึกษา ไดแก ตัวแปรอิสระ (independent variable) ตัวแปรตาม (dependent variable) และตัวแปรปรับ (Moderator variable) ซึ่งจะกลาวถึงดังตอไปนี้ 1) ตัวแปรอิสระ เปนตัวแปรที่เปนสาเหตุใหตัวแปรอื่น ๆ มีการ เปลี่ยนแปลงบางครั้งเรียกวา ตัวแปรตน สําหรับการวิจัยเชิงทดลอง อาจเรียกชื่อวาตัวแปรทดลอง (treatment variable) หรือตัวแปรที่จัดกระทําขึ้น โดยทั่วไปมักมีลักษณะเปนตัวแปรที่ไมตอเนื่องผูวิจัยจัดกระทําขึ้นเพื่อดูวาเปนสาเหตุของตัวแปรอื่นจริงหรือไม แตมีตัวแปรอิสระบางตัวที่ผูวิจัยไมสามารถจัดกระทําได เนื่องจากเปนคุณลักษณะที่ติดตัวกลุมตัวอยางมาอยูแลว ผูวิจัยไมสามารถจะเปลี่ยนแปลงเพิ่มหรือลดตามความตองการได เชน เพศ อายุ สถานภาพสมรส เปนตน ผูวิจัยทําไดเพียงจัดตัวแปรที่มีอยูแลวออกเปนกลุม ๆ ตามสภาพที่เปนอยูเทานั้น ตัวแปรลักษณะนี้เรียกวา ตัวแปรคุณลักษณะ (attribute variable or organismic variable) 2) ตัวแปรตาม เปนตัวแปรที่ผูวิจัยตองการทราบการเปลี่ยนแปลงคาอันเนื่องมาจากตัวแปรอิสระ บางครั้งเรียกวาตัวแปรผล (effect variable และอาจถูกเรียกชื่อเปน passive variable or response variable) ในบางครั้งการที่จะกําหนดวาตัวแปรใดเปนตัวแปรอิสระ ตัวแปรใดเปนตัวแปรตาม ผูวิจัยจะตองหาขอมูลมาประกอบการพิจารณาดวยสําหรับในงานวิจัยเชิงทดลอง การพิจารณาตัวแปรอิสระคอนขางชัดเจน ตัวแปรอิสระพิจารณาจากตัวแปรที่เปนสาเหตุหรือตัวแปรที่เกิดกอนและตัวแปรตาม พิจารณาจากผลที่เกิดขึ้นหรือที่เกิดภายหลัง แตในการวิจัยที่ไมใชเชิงทดลอง การกําหนดตัวแปรอิสระ ตัวแปร

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam

Page 6: หน่วยที่ 3 ตัวแปรและการตั้งสมมติฐาน

46

ตาม บางครั้งตองอาศัยหลักความเปนเหตุเปนผลชวยเปนกรอบในการพิจารณาวาตัวแปรใดควรเกิดกอนและ ตัวแปรใดมีความคงทนมากกวา เปลี่ยนแปลงไดยากกวา (ตัวแปรอิสระ) และตัวแปรใดเกิดภายหลัง หรือมีความคงทนนอยกวา เปลี่ยนแปลงไดงายกวา (ตัวแปรตาม) เชน ความยากจนกับความเจ็บปวยสามารถเปนไดทั้งตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม ทั้ง 2 ตัว การจะตัดสินวาตัวแปรใดเปนตัวแปรอิสระ ตัวแปรใดเปนตัวแปรตาม ผูวิจัยตองพิจารณากรอบระยะเวลาที่ศึกษา และหลักของความเปนเหตุเปนผลที่สอดคลองกับประเด็นปญหาอยางรอบคอบ

ตัวอยางตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ปญหาวิจัย : นักเรียนที่เรียนแบบรวมมือกับแบบปกติจะมีทักษะการทํางานกลุมแตกตางกันหรือไม

ตัวแปรอิสระ : วิธีการเรียนแบงเปน 2 วิธีคือ การเรียนแบบรวมมือและการเรียนแบบปกติ

ตัวแปรตาม : ทักษะการทํางานกลุมของนักเรียนที่วดัดวยผลงานเปนจํานวน ชิ้นงานหรือคะแนน ตัวแปรอิสระและตัวแปรตามมีความแตกตางกนัตามลกัษณะดังแสดงไดในตารางที่ 3.1 ตารางที ่ 3.1 แสดงความแตกตางระหวางตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม

ลักษณะ ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม 1. ความเปนเหตุเปนผล 2. การถูกจัดกระทํา 3. การทํานาย 4. การกระตุน 5. การเกิดกอน – หลัง 6. ความคงทน

เปนเหต ุจัดกระทําได

ตัวทาํนาย ตัวกระตุน เกิดกอน คงทนกวา

เปนผล เกิดขึ้นเอง จัดกระทาํไมได ตัวถูกทํานาย ตัวตอบสนอง เกิดหลงั เปลี่ยนแปลงงายกวา

ที่มา (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2543, หนา 92)

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam

Page 7: หน่วยที่ 3 ตัวแปรและการตั้งสมมติฐาน

47

3) ตัวแปรปรับ เปนตัวแปรอิสระตัวที่สอง (secondary independent variable) หรือ ตัวรองจากตัวแปรหลัก (primary independent variable) เปนตัวแปรที่ ผูวิจัยสนใจวาจะมีสวนทําใหความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามเปลีย่นไปหรอืไม เชนเดียวกับตัวแปร A มีอิทธิพลอยางไรตอตัวแปร B ขณะเดียวกันก็อยากรูวาความสัมพันธระหวาง A กับ B จะเปลี่ยนไปหรือไม ถากลุมตัวอยางมีลักษณะของ C ที่แตกตางกันทั้งนี้เพราะตัวแปร C เปนตัวแปรที่คาดวาจะสงผลตอความสัมพันธระหวางตัวแปร A และตัวแปร B ผูวิจัยจึงกําหนดตัวแปร C เปนตัวแปรปรับ เชน ปญหาวิจัย : ความเขาใจในการอานของนักเรียนที่อานออกเสียงกับอานในใจจะแตกตางกันหรือไม และหากนักเรียนที่มีความสามารถในการอานเร็วแตกตางกันจะสรุปผลไดเหมือนกันหรือไม ตัวแปรอิสระ : วิธีการอาน แบงเปน 2 วิธีคือ การอานออกเสียง กับ การอานในใจ ตัวแปรตาม : ความเขาใจในการอาน ตัวแปรปรับ : ความสามารถในการอาน 4.4.2 ตัวแปรที่ไมตองการ เปนตวัแปรที่ผูวิจัยไมสนใจที่จะศึกษา แตโดยธรรมชาตแิลวตัวแปรนี้จะมีความสัมพนัธกับตัวแปรอิสระ และตัวแปรตามที่ผูวิจยัสนใจ และมีผลทําใหคาของตัวแปรอิสระหรือตัวแปรตามทีว่ดัไดผิดไปจากความเปนจริง ดังนั้นในการวิจยัผูวิจัยจะตองพยายามควบคุมตัวแปรชนิดนี้ใหมอิีทธิพลนอยทีสุ่ด ตัวแปรประเภทนี้ เชน ตวัแปรสอดแทรกซึ่งเปนตวัแปรที่เปนตวัแปรอิสระที่ไมตองการศึกษาแตตวัแปรนี้กลับสงผลตอตัวแปรตามและตัวแปรที่มากอน เชน ความชอบ ความสนใจ ในการเรียนวชิาคณิตศาสตรจะมีผลตอผลสัมฤทธิท์างการเรียน 4.4.3 ตัวแปรคลาดเคลื่อน (error variable) หรือตัวแปรที่ไมสามารถควบคุมได (nuisance variable) หรือตัวแปรกอกวน (confounded variable) ตัวแปรประเภทนี้เปนตวัแปรทีท่ําเกิดความคลาดเคลื่อนในผลการวิจยัที่ไมสามารถควบคุมไดหรือไมสามารถ คาดการณไดวาจะมีอะไรบางและจะเกิดขึ้นเมื่อใด ดังนั้นในการวิจัยผูวิจยัจะตองพยายาม ทําใหคาความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นจากตวัแปรนี้ใหต่ําทีสุ่ด ความคลาดเคลื่อนทีเ่กดิขึ้น เชน เกิดจากความเสื่อมของเครื่องมือวัด ความคลาดเคลื่อนเนื่องจากการสุมตัวอยางหรือการวัด เปนตน

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam

Page 8: หน่วยที่ 3 ตัวแปรและการตั้งสมมติฐาน

48

4. การกําหนดสมมุติฐานการวิจัย การวิจยัเปนกระบวนการที่ใชเพื่อการหาคาํตอบของปรากฏการณ ปญหาขอสงสัยที่ ผูวิจัยตองการศึกษา เมื่อมปีรากฏการณ ปญหาหรือขอสงสัยเกิดขึน้ ผูวิจัยมกัคาดการณวา ปญหาหรือปรากฏการณนั้นเกิดขึ้นจากสาเหตุใดสาเหตหุนึง่ เรียกวาการคาดเดาถึงสาเหตุที่ทําใหเกิดขึ้นลวงหนาโดยที่ยงัไมมีการพิสูจนยนืยนั เราเรียกวา การกาํหนดสมมุติฐาน สมมุติฐานที่ผูวิจัยกาํหนดขึน้ไมจําเปนตองเปนสิง่ที่ถูกตองเสมอไป ดงันัน้ สมมุติฐานการวิจัยควรมีลักษณะดังนี ้ 4.1 เปนประโยคหรือขอความที่เขียนขึ้นเพื่อการคาดคะเนคําตอบ ซึง่เปนผลมาจากความเกี่ยวของกันหรือสัมพนัธกนัระหวางตัวแปรตั้งแต 2 ตัวแปรขึ้นไป 4.2 มีความชัดเจนไมกาํกวม มีลักษณะเปนประโยคธรรมดางาย ๆ ไมซับซอน 4.3 ไมขัดกับหลักความจริง มีเหตุผลเพียงพอและเปนไปตามหลักตรรกศาสตร มีหลักการ ทฤษฎีและความเปนจริงบางอยางมารองรับ 4.4 ขอสมมุติฐานที่กําหนดขึ้นสามารถนําไปทดสอบความถกูตองได ดวยวธิีการทางสถิติ หรือวิธีการทางเชงิคุณภาพ

5. ประโยชนของสมมุติฐานการวิจัย เนื่องจากสมมตุิฐานการวิจยัที่ตั้งขึ้นเปนเครื่องชี้นําคาํตอบของปญหาวจิัย จงึมีความสาํคัญเปนอยางมากตอการศึกษาปญหาวิจัย เพราะการคนหาคําตอบของปญหาหรือการแกปญหาใด ๆ โดยขาดการคาดคะเนคําตอบลวงหนาจะทําใหการคนหาคําตอบของปญหา หรือการ แกปญหาเต็มไปดวยความยุงยาก มดืมนในการสบืคนหาคําตอบของปญหาออกมาได ดงันั้น การวิจยัเพื่อการหาคําตอบ ผูวิจยัจงึตองมีการคาดเดาไวลวงหนาวาคําตอบของปญหานาจะเปนอยางไรแลวจึงนําเอาคําตอบที่คาดการณไวนัน้เปนแนวทางในการคนหาคําตอบที่ถูกตองอยางมีระบบตอไป กลาวโดยสรุปถงึประโยชนของสมมุติฐานที่สําคัญ ๆ ของการวิจยัเปนดงันี ้ 5.1 สมมุติฐานจะชวยกําหนดขอบเขตของการวิจัย คือทําใหวิจยัศึกษาตามแนวทางที่กําหนดไวในสมมุติฐานเทานั้น

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam

Page 9: หน่วยที่ 3 ตัวแปรและการตั้งสมมติฐาน

49

5.2 สมมุติฐานชวยใหผูวิจยัมองเห็นภาพของความสมัพันธระหวางตัวแปร และคาของตัวแปรที่จะนํามาใชเพื่อการทดสอบสมมุติฐาน 5.3 สมมุตฐิานเปนสิง่ที่ชวยใหผูวิจัยไดทราบถงึแนวทางการศึกษาคนควาวา เมือ่ดําเนนิการไปแลวจะไดผลสําเร็จหรือไม 5.4 สมมุตฐิานจะชวยใหผูวิจัยคนหาเครื่องมือวิจัย และเทคนิคทางสถิติสําหรับการวิเคราะหขอมลู 5.5 ผลที่ไดจาการทดสอบสมมุติฐานจะนําไปสูการสรางทฤษฎ ี 5.6 สมมุตฐิานจะชวยบงบอกคําตอบของปญหาที่ผูวจิัยตองการศึกษา 5.7 สมมุติฐานเปนเครื่องมือทีท่ําใหเกดิความเจริญกาวหนาทางวชิาการ ขยายขอบเขตองคความรูที่ผูวิจยัคนพบ

6. การเขียนสมมุติฐานการวิจัย การเขียนสมมตุิฐานการวิจยัโดยทั่วไปใชแนวคิด 2 ประการ ดงันี ้ 6.1 ใชแนวคิดการนิรนัย การเขียนสมมุติฐานโดยใชแนวคิดการนิรนัยมีลักษณะที่ผูวิจัยมองประเด็นปญหาทัว่ไปในประเด็นความคิดกวาง ๆ แลวสรุป นําไปสูกรอบความคิดเฉพาะ นัน่คือ ผูวิจยัจะเขียนสมมุติฐานขึ้นมาตามกรอบความเชือ่ กฎ หรือทฤษฎีเปน รากฐาน 6.2 ใชแนวคิดการอุปนัย การเขียนสมมุติฐานโดยใชแนวคิดการอุปนัยเปนวิธีที่ผูวิจัยมองประเด็นปญหาจากจุดยอย ๆ กอนแลวนาํประเด็นปญหาเหลานั้นมาสรางเปน ขอความที่แสดงความสมัพนัธในรูปแบบทั่ว ๆ ไป วิธกีารเขียนสมมตุิฐานแบบนี้ ผูวิจัยตองใชการศึกษาคนควาจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของเปนเรื่องในทาํนองเดียวกับเร่ืองที่ผูวจิัยกําลังจะศึกษา แลวนาํขอเท็จจริงมาสรางเปนสมมุติฐาน วิธกีารเขียนสมมุติฐานแบบนี้เปนที่นิยมกันมาก การสรางสมมตุิฐานการวิจยัโดยทั่วไปตองขึ้นอยูกับวัตถปุระสงคของการวิจัยเปนความสาํคัญการวิจัยบางเรื่องไมไดเขียนสมมุติฐานแยกออกมาอยางชดัเจน แตแฝงอยูใน จุดมุงหมายของการวิจัยก็ได

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam

Page 10: หน่วยที่ 3 ตัวแปรและการตั้งสมมติฐาน

50

7. ประเภทของสมมุติฐานการวิจัย การเขียนสมมติุฐานการวิจยัที่ดีเพื่อนําไปทาํการทดสอบดวยวิธทีางสถติินั้น จําเปนที่ผูวิจัยตองศึกษาคนควาเอกสารผลงานวิจยัและทฤษฎีทีเ่กี่ยวของกับการวิจัยนั้นมากอนแลวเปนจํานวนมาก เพื่อเปนเครื่องยืนยนัวาการตั้งสมมุติฐานของการวจิัยมีความสมเหตุสมผลเพียงพอ โดยทั่วไปสมมุติฐานการวิจยัแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ 7.1 สมมุติฐานทางวิจยั (research hypothesis) บางครั้งอาจเรียกวาสมมุติฐานเชิงบรรยาย (descriptive hypothesis) เปนสมมติุฐานที่เขียนขึน้เพื่อเปนการคาดคะเน คําตอบของปญหาการวิจัยที่ผูวิจยัตองการศึกษาโดยใชหลักของเหตุผลความรูหรือ ประสบการณ จากผลงานการศึกษาที่ผานมา หรือจากสามัญสํานึก เปนการเขียนในลักษณะของการบรรยายโดยใชภาษาเพื่อส่ือความหมายใหเกิดความเขาใจไดตรงกัน และมกัเขียนเปนประโยคบอกเลาที่บงบอกหรือแสดงความเกี่ยวของหรือสัมพันธกนัของตัวแปรอิสระและตัวแปรตามที่ผูวจิัยตองการศึกษา 7.2 สมมติุฐานทางสถติิ (statistical hypothesis) เปนสมมุติฐานที่เขียนขึ้นอธิบายในรูปแบบของสมการทางคณิตศาสตรเพื่อคาดการณ หรือคาดคะเนถงึความสัมพันธระหวางตัวแปรตั้งแตสองตัวแปรขึ้นไป โดยใชสัญลักษณเขียนแทนคุณลักษณะ หรือตัวแปรของประชากรที่ผูวิจยัตองการศึกษาซึ่งเรียกคานีว้า คาพารามเิตอร สมมุติฐานทางสถิติจะถูกนําไปใชในการทดสอบนัยสาํคัญทางสถิติดวยคาสถิติตาง ๆ ซึ่งนําไปสูการยอมรบัหรือปฏิเสธสมมุติฐานนัน้ สมมุติฐานทางสถิติมีทีม่าจากสมมุติฐานการวิจยั สามารถเขียนได 2 ลักษณะ คือ 7.2.1 สมมติุฐานวาง หรือสมมุติฐานที่เปนกลาง เปนสมมุติฐานที่ไมมีนัยสําคัญใชแทนดวยสัญลกัษณ เปนสมมุติฐานที่อยูในรูปของการไมมีนัยสําคญัระหวางตัวแปรที่ผูวิจยัตองการศึกษาหรือตรวจสอบ ตัวอยางเชน

0H

0H : ρ = 0

หมายความวา ไมมีความสมัพันธระหวางตัวแปรที่ตองการศึกษา หรือ

0H : 1µ = 2µ

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam

Page 11: หน่วยที่ 3 ตัวแปรและการตั้งสมมติฐาน

51

หมายความวา ไมมีความแตกตางของคาเฉลี่ยระหวางตัวแปรที่ตองการศึกษา หรือ

0H : 1µ - 2µ = 0 หมายความวา คาเฉลี่ยของประชากรสองกลุมไมมีความแตกตางกนัหรือคาเฉลี่ยของประชากรสองกลุมมีคาเทากนั 7.2.2 สมมุติฐานทางเลือก (Alternative Hypothesis) บางครัง้เรียกวาสมมุติฐานแยงหรือสมมุติฐานที่ไมเปนกลาง ใชแทนสญัลักษณ เปนสมมุติฐานที่ต้ังขึ้นเพื่อรองรับขอสรุปที่เกิดขึ้นจากการทดสอบนัยทางสถิติของสมมุติฐานเปนกลางแลวไมยอมรับวาเปนเปนจริง หรือเปนการปฏิเสธสมมติุฐานที่เปนกลาง สมมุติฐานทางเลือกจะเขียนรูปที่มีความสัมพันธระหวาง ตัวแปรที่ผูวิจัยตองการศึกษา ตัวอยางเชน

1H

0H : ρ > 0 หมายความวา มีความสัมพันธทางบวกระหวางตวัแปรที่ศึกษา หรือ

1H : 1µ ≠ 2µ หมายความวา คาเฉลีย่ของตัวแปร (µ ) ที่เกิดจากประชากรสองกลุมซึง่ผูวิจัยนํามาศกึษา มีความแตกตางกัน หรือ

1H : 1µ > 2µ หมายความวา คาเฉลี่ยของตัวแปรที่เกดิจากประชากรกลุมที ่ 1 มีคามากกวาคาเฉลี่ยของ ตัวแปรที่เกิดจากประชากรกลุมที่ 2

8. ขอเสนอแนะในการเขียนสมมุติฐานการวิจัย การเขียนสมมติุฐาน ผูวจิัยควรยึดหลักเกณฑดังตอไปนี ้

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam

Page 12: หน่วยที่ 3 ตัวแปรและการตั้งสมมติฐาน

52

8.1 ควรเขียนสมมุติฐานหลังจากที่ไดมีการศึกษาทฤษฎี และเอกสารงานวิจยัที่เกี่ยวของกับปญหาที่ผูวิจยักาํลังศึกษา 8.2 ควรเขียนสมมุติฐานใหอยูในรูปของประโยคบอกเลามากกวาทีจ่ะเปนประโยคคําถาม โดยมกีารระบุทิศทางหรือไมมีระบทุางก็ได 8.3 ควรเขียนสมมุติฐานแยกเปนสวนยอย ๆ เพื่อการตอบปญหาใหครอบคลุมทกุประเด็นที่ตองการศึกษาโดยทั่วไป สมมุตฐิานหนึง่ขอควรใชตอบคําถามเพยีงขอเดยีว 8.4 ใชภาษาชัดเจนไมคลมุเครือ เขาใจงาย และทุกคนอานแลวเขาใจไดตรงกัน

9. สรุป การทาํวิจยัเมือ่ไดปญหาการวิจัยและการกําหนดหวัขอวิจัยและมกีารศึกษาจาก

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของจากสื่อตาง ๆ แลวขั้นตอนที่ควรจะดําเนินการตอไปคือการศึกษาตัวแปรและตั้งสมมุติฐานการวิจยัซึ่งไดกลาวถงึในบทนี้ดงันี ้

9.1 ในการกําหนดตัวแปรผูวิจัยจะตองศึกษา และทราบวาตัวแปรที่จะศึกษานั้นตัวแปรใดที่เปนตัวแปรอิสระ ตัวแปรใดที่เปนตัวแปรตาม หรือเปนตวัแปรประเภทใด 9.2 ตัวแปรมีความสาํคัญตอการวิจัย คือ ตัวแปรนั้นเปนตัวเชื่อมโยงกับแนวคิดและทฤษฎ ี เปนตัวเชื่อมโยงกับสมมุติฐานการวิจยั ตวัแปรจะชวยใหเลือกใชสถิตวิิเคราะหไดเหมาะสม 9.3 ในการเขียนสมมุติฐานนัน้เขียนได 2 ประเภทคือ สมมุติฐานการวิจยั และ สมมุติฐานทางสถิติซึ่งอาจเปนสมมุติฐานวางหรือสมมุตฐิานทางเลือกก็ได

10. แบบฝกหัดทายบท 1. จงบอกถงึความหมายของตวัแปรและประเภทของตัวแปร 2. ผูวิจัยจะไดตัวแปรของการวจิัยอยางไร จงอธิบาย 3. สมมุติฐานคืออะไร มีประโยชนตอผูวิจยัอยางไร 4. ในการตั้งสมมตุิฐานผูวิจัยจะตองตั้งใหสอดคลองกับอะไรของงานวิจยั

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam

Page 13: หน่วยที่ 3 ตัวแปรและการตั้งสมมติฐาน

53

5. จงใหความหมายของคําตอไปนี ้ก. ตัวแปรอิสระ ข. ตัวแปรตาม ค. ตัวแปรปรับ ง. สมมุติฐานทางวิจัย จ. สมมุติฐานทางสถิติ ฉ. สมมุติฐานทางเลือก ช. สมมุติฐานเปนกลาง

6. ในการเขียนสมมุติฐานควรเขียนในรูปแบบใด 7. ทําไมในการวจิัยจึงตองมีการตั้งสมมุติฐาน 8. การเขียนสมมุติฐาน ผูวิจัยควรยึดหลักเกณฑอะไร 9. จงอธิบาย ความหมายของสมการตอไปนี้

ก. : 0H 1µ = 2µ

ข. : 0H ρ = 0

ค. : 1H 1µ ≠ 2µ

ง. : 1H 1µ > 2µ

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam

Page 14: หน่วยที่ 3 ตัวแปรและการตั้งสมมติฐาน

54

เอกสารอางอิง

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2543). ระเบียบวธิีการวิจัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพมหานคร: สถาบันราชภัฏพระนคร.

ยุทธพงษ กยัวรรณ. (2543). พื้นฐานการวจิัย. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาสน. รวีวรรณ ชินะตระกูล. (2538). วธิีวิจยัการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สถาบันเทคโนโลยี

พระจอมเกลาเจาคุณทหาร ลาดกระบัง. วุฒิพงษ เตชะดํารงสิน. (2545). “บทบาทของสถิติตองานวิจยัเกี่ยวกับสังคมไทย” ใน การ

ประชุมทางวชิาการสถิติประยุกตภาคเหนือ ครั้งที่ 4 วันที่ 23 – 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2545. (หนา 1-23). เชียงใหม: มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

สินทร ศิลา. (2530). สถิติเพื่อการวิจัยทางการศกึษา. กรุงเทพมหานคร: ศูนยส่ือเสริมกรุงเทพ.

Schuessle, K. F. (1964). Social Research Method. Bangkok Thailand: Thammasart University.

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam