13
มคอ. 3 ภาษาอังกฤษสาหรับสาธารณสุข 2 สาขาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ Page 1 มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา BPH3317 การจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม Holistic Community Health Management รายวิชานี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาศึกษาทั่วไป พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา การจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม ...¸¡คอ 3... ·

  • Upload
    others

  • View
    10

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา การจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม ...¸¡คอ 3... ·

มคอ. 3

ภาษาอังกฤษส าหรับสาธารณสุข 2 สาขาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ Page 1

มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา

BPH3317 การจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม Holistic Community Health Management

รายวิชานี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาศึกษาทั่วไป

พ.ศ. 2558

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

Page 2: มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา การจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม ...¸¡คอ 3... ·

มคอ. 3

ภาษาอังกฤษส าหรับสาธารณสุข 2 สาขาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ Page 2

สารบัญ

หมวด หน้า

หมวด 1 ข้อมูลทั่วไป 3

หมวด 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 4

หมวด 3 ลักษณะและการด าเนินการ 5

หมวด 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา 6

หมวด 5 แผนการสอนและการประเมินผล 11

หมวด 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 15

หมวด 7 การประเมินและปรับปรุงการด าเนินการของรายวิชา 16

Page 3: มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา การจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม ...¸¡คอ 3... ·

มคอ. 3

ภาษาอังกฤษส าหรับสาธารณสุข 2 สาขาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ Page 3

รายละเอียดของรายวิชา

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยลัยราชภัฏสวนสุนันทา

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสหเวชศษศาสตร์

หมวดที ่1 ข้อมลูทั่วไป

1. รหัสและชื่อรายวิชา BPH3317 การจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม Holistic Community Health Management

2. จ านวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต (2-2-5)

3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา

หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา อาจารย์ วันวิสาข์ สายสนั่น ณ อยุธยา 5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน

ภาคการศึกษาที่ 2/ 2558 / ชั้นปีที่ 3 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (pre-requisite) (ถ้ามี)

ไม่มี 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (co-requisites) (ถ้ามี)

ไม่มี 8. สถานที่เรียน

วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวทิยลัยราชภัฏสวนสุนันทา

9. วันที่จัดท าหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด วันที่ 20 ธันวาคม 2558

Page 4: มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา การจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม ...¸¡คอ 3... ·

มคอ. 3

ภาษาอังกฤษส าหรับสาธารณสุข 2 สาขาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ Page 4

หมวดที ่2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค ์

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา เพ่ือศึกษาปัญหาสุขภาพของชุมชน การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาในเชิงพฤติกรรม เชิงสังคม เชิงสิ่งแวดล้อม เชิงระบบ การบริการสาธารณสุขในชุมชน การสร้างระบบการให้บริการในชุมชน กระบวนการสร้างประชาคมเพ่ือการจัดการสุขภาพชุมชน การพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพในชุมชน

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เปลี่ยนแปลงการเรีนการสอนให้สอดคล้องกับความรู้ที่เปลี่ยนแปลงไปตามความเจริญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่พัฒนาก้าวหน้าตามหลักฐานเชิงประจักษ์

หมวดที่ ๓ ลักษณะและการด าเนินการ

1. ค าอธิบายรายวิชา

ปัญหาสุขภาพของชุมชน การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาในเชิงพฤติกรรม เชิงสังคม เชิงสิ่งแวดล้อม เชิงระบบ การบริการสาธารณสุขในชุมชน การสร้างระบบการให้บริการในชุมชน กระบวนการสร้างประชาคมเพ่ือการจัดการสุขภาพชุมชน การพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพในชุมชน

2. จ านวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา

3 (2-2-5)

บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน

การศึกษาด้วยตนเอง

บรรยาย 30 ชั่วโมงต่อ ภาคการศึกษา

สอนเสริมตามความ ต้องการของนักศึกษา เฉพาะราย

30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา การศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

Page 5: มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา การจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม ...¸¡คอ 3... ·

มคอ. 3

ภาษาอังกฤษส าหรับสาธารณสุข 2 สาขาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ Page 5

3. ความรับผิดฃอบหลัก/ความรับผิดชอบรอง

รายวิชา

1. คุณธรรม จริยธรรม

2. ความรู ้3. ทักษะ

ทางปัญญา

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะห์เชงิตัวเลข การ

สื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 BPH3317 การจัดการสุขภาพชุมชน

แบบองค์รวม

● ● ● ● ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ○ ● ● ○

4. จ านวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้ค าปรึกษาและแนะน าทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล เวลาเรียน 4 ฃั่วโมงต่อสัปดาห์ วันศุกร์ เวลา 08.00-12.00 น. ฃั่วโมงให้ค าปรึกษา 2 ฃั่วโมงต่อสัปดาห์ วันศุกร์ เวลา 13.00-1500 น.

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 การเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษาต้องมีคุณธรรมจริยธรรมเพ่ือให้สามารถด าเนินชีวิตร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม นอกจากนั้นงานด้านสาธารณสุขยังมีความส าคัญกับการพัฒนาประเทศ ดังนั้น ผู้ที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านสาธารณสุข จึงจ าเป็นต้องมีความรับผิดชอบต่อผลที่เกิดขึ้นเช่นเดียวกับการประกอบอาชีพในสาขาอ่ืนๆ 1.1.1 แสดงออกซึ่งพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมที่วิญญูพึงมี อาทิ มีวินัย ความรับผิดชอบ ความเมตตากรุณา ความซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ จิตส านึกต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของการอนุรักษ์และเผยแพร่วัฒนธรรมอนัดีงามของไทย

1.1.2 แสดงออกซ่ึงพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมในวิชาชีพสาขาสาธารณสุขศาสตร์ 1.1.3 สามารถวิเคราะห์เหตุการณ์/ปัญหาทั่วไปและทางวิชาชีพที่เกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม และสังเคราะห์แนวปฏิบัติที่เหมาะสม 1.2 วิธีการสอน สอดแทรกเนื้อหาในมิติคุณธรรม จริยธรรม กรณีศึกษาระหว่างการเรียนการสอน ชี้แจงกฏระเบียบและแนวปฏิบัติในการเรียนการสอนให้ชัดเจน 1.3 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1.3.1 ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย และการปฏิบัติตนตาม ระเบียบของมหาวิทยาลัย 1.3.2 ประเมินจากพฤติกรรมในชั้นเรียน การตั้งใจเรียน การโต้ตอบ ซักถาม 1.3.3 ประเมินจากพฤติกรรมความซื่อสัตย์ในการท างานที่ได้รับมอบหมาย การอ้างอิงผลงาน การส่งงาน

Page 6: มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา การจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม ...¸¡คอ 3... ·

มคอ. 3

ภาษาอังกฤษส าหรับสาธารณสุข 2 สาขาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ Page 6

ตามเวลาที่ก าหนด 1.3.4 ประเมินจากคุณภาพงานมอบหมายที่แสดงถึงการคิด วิ เคราะห์ และการเลือกใช้ หลักการ ที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาต่างๆ และการพัฒนาตนเอง 1.3.5 ประเมินจากการรับผิดชอบส่วนงานกลุ่มที่มอบหมาย 2 ความรู้ 2.1 การเรียนรู้ด้านความรู้ มีความรู้ในหลักการบนพ้ืนฐานของการรักษาแบบองค์รวม การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาในเชิงพฤติกรรม เชิงสังคม เชิงสิ่งแวดล้อม เชิงระบบ รวมถึงระบบการให้บริการในชุมชน กระบวนการสร้างประชาคมและระบบสุขภาพในชุมชน 2.2 วิธีการสอน - มอบหมายงานให้นิสิตค้นคว้า - มีการบรรยาย อภิปรายกลุ่ม - มีการใช้ภาษาอังกฤษในห้องเรียน ผ่านกิจกรรม การน าเสนองาน รวมถึงกิจกรรมนันทนาการ - มีการเรียนการสอนแบบผู้เรียนมีส่วนร่วม และแบบร่วมมือ 2.3 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 2.3.1 การทดสอบย่อย 2.3.2 การสอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน 2.3.3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดท า 2.3.4 ประเมินผลการท างานที่ได้รับมอบหมาย 3 ทักษะทางปัญญา 3.1 การเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา

3.1.1 สามารถสืบค้น รวบรวม ตีความ และประเมินข้อมูลสารนิเทศท่ีเหมาะสมกับการใช้ภาษาอังกฤษ 3.1.2 สามารถประยุกต์ความรู้และประสบการณ์ในการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา และสังเคราะห์แนวทางหรือวิธีการเพ่ือปรับปรุงแก้ไขปัญหาทั้งเรื่องทั่วไปและด้านวิชาการ/วิชาชีพสาธารณสุขศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์ 3.2 วิธีสอน 3.2.1 สอดแทรกกิจกรรมการเรียนการสอนให้นิสิตฝึกค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง 3.2.2 การอภิปรายกลุ่ม 3.2.3 ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง จัดกระบวนการเรียนรู้ เพ่ือให้นิสิตได้ฝึกทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการคิด จากสภาพปัญหา หรือสถานการณ์จริงต่างๆ ทั้งในระดับบุคคลและกลุ่ม 3.3 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา - ประเมินจากคุณภาพงานที่มอบหมาย ที่แสดงถึงการค้นหาความรู้เพ่ิมเติม - ประเมินจากการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน - การประเมินผลที่สะท้อนการคิดวิเคราะห์ โดยประเมินจากการท างานที่ได้รับมอบหมาย - การสังเกตนิสิต ด้านความสามารถและความม่ันใจในการใช้ภาษาอังกฤษ

Page 7: มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา การจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม ...¸¡คอ 3... ·

มคอ. 3

ภาษาอังกฤษส าหรับสาธารณสุข 2 สาขาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ Page 7

4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 การเรียนรู้ด้านทกัษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งสามารถแสดงออกซึ่งภาวะ ผู้น าในการแก้ปัญหาบนพ้ืนฐานของตนเองและของกลุ่ม 4.2 วิธีสอน - มอบหมายกิจกรรมกลุ่มเพ่ือให้นักศึกษารู้จักปรับตัวในการท างานร่วมกับผู้อ่ืน - รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายรับฟังความคิดเห็นของเพ่ือน 4.3 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1. ประเมินคุณภาพงานที่มอบหมาย แสดงถึงความร่วมมือในการวางแผน และการท างานร่วมกัน 2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมาย 3. ประเมินการน าเสนอผลงานเป็นกลุ่ม 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 การเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - มีทักษะในการสื่อสาร ทั้งการพูด การฟัง การอ่าน การแปล การเขียน มีการน าเสนอในชั้นเรียน - สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล สามารถคิดวิเคราะห์ สรุป และน าเสนอข้อมูลทางด้านเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ 5.2 วิธีสอน มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้า ที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์ หรือค านวณเชิงตัวเลข ในวิชาที่ต้องฝึกทักษะมีการสืบค้นข้อมูลโดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้วยวิธีการที่เหมาะสม 5.3 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.3.1 ประเมินจากเทคนิคการน าเสนอโดยใช้ทฤษฎี การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ ที่เก่ียวข้อง 5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายเหตุผล การท างานกลุ่ม การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการน าเสนอต่อชั้นเรียน

Page 8: มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา การจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม ...¸¡คอ 3... ·

มคอ. 3

ภาษาอังกฤษส าหรับสาธารณสุข 2 สาขาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ Page 8

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน

แผนการสอน

ครั้งที ่

สัปดาห์ที่ ว/ด/ป

หัวข้อ/รายละเอียด จ านวน* (ชั่วโมง)

กิจกรรมการเรียน ผู้สอน

1 แนะน าบทเรียน และการประเมินผล

4 - บรรยาย - ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง

อ.วันวิสาข์ สายสนั่น ณ อยุธยา

2 การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม - ความหมายของสุขภาพแบบองค์รวม - แนวคิดของสุขภาพแบบองค์รวม

4 - บรรยายสไลด์/เอกสาร - ยกตัวอย่าง

อ.วันวิสาข์ สายสนั่น ณ อยุธยา

3 ปัญหาทางสุขภาพ - ดัชนีชี้วัดปัญหา - ปัญหาสุขภาพท่ีส าคัญของสังคมไทย

4 - บรรยายสไลด์/เอกสาร - ยกตัวอย่าง

อ.วันวิสาข์ สายสนั่น ณ อยุธยา

4 ระบบบริการสุขภาพ - พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ - ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย

4 - บรรยายสไลด์/เอกสาร - ยกตัวอย่าง

อ.วันวิสาข์ สายสนั่น ณ อยุธยา

5 หลักและวิธีการดูแลสุขภาพองค์รวมระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน - แนวคิดพ้ืนฐาน - หลักและวิธีการตามหลักธรรมมานามัย - การเสริมสร้างสุขภาพแบบองค์รวมในทุกช่วงวัย

4 - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติ - กิจกรรมกลุ่ม

อ.วันวิสาข์ สายสนั่น ณ อยุธยา

6 การแพทย์ทางเลือก - ความหมายของการแพทย์ทางเลือก - สถานการณ์การแพทย์ทางเลือกในประเทศไทย - หลักในการพิจารณาเลือกใช้การแพทย์ทางเลือก

4 - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติ - กิจกรรมกลุ่ม

อ.วันวิสาข์ สายสนั่น ณ อยุธยา

Page 9: มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา การจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม ...¸¡คอ 3... ·

มคอ. 3

ภาษาอังกฤษส าหรับสาธารณสุข 2 สาขาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ Page 9

แผนการสอน ครั้งที ่

สัปดาห์ที่ ว/ด/ป

หัวข้อ/รายละเอียด จ านวน* (ชั่วโมง)

กิจกรรมการเรียน ผู้สอน

7 การแพทย์ทางเลือก 1. ธรรมชาติบ าบัด - การใช้พืชสมุนไพร - วารีบ าบัด - Aromatherapy - ซี่กง - ไทเก็ก 2. ธรรมชาติบาบัดเพื่อสุขภาพ - แมคโครไบโอติกส์ - โฮมีโอพาธีย์ - โยคะ - สมาธิ

4 - ฝึกปฏิบัติ - น าเสนอ - ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง

อ.วันวิสาข์ สายสนั่น ณ อยุธยา

8 Midterm Examination 9 การแพทย์พื้นบ้าน

- ความหมายของการแพทย์พ้ืนบ้าน - ระบบการแพทย์พ้ืนบ้าน - การแพทย์พ้ืนบ้านของไทย

4 - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติ

อ.วันวิสาข์ สายสนั่น ณ อยุธยา

10 การสร้างการมีส่วนร่วม และการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน -แนวคิดการสร้างการมีส่วนร่วมและการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน

4 - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติ

อ.วันวิสาข์ สายสนั่น ณ อยุธยา

11 การสร้างการมีส่วนร่วม และการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน -เทคนิคการสร้างการมีส่วนร่วมและการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน -องค์ประกอบและความส าคัญของเครือข่าย

4 - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติ - กิจกรรมกลุ่ม

อ.วันวิสาข์ สายสนั่น ณ อยุธยา

12 การสร้างการมีส่วนร่วม และการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน (ต่อ) -เทคนิคการสร้างการมีส่วนร่วมและการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน -องค์ประกอบและความส าคัญของ

4 - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติ - กิจกรรมกลุ่ม

อ.วันวิสาข์ สายสนั่น ณ อยุธยา

Page 10: มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา การจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม ...¸¡คอ 3... ·

มคอ. 3

ภาษาอังกฤษส าหรับสาธารณสุข 2 สาขาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ Page 10

เครือข่าย

แผนการสอน ครั้งที ่

สัปดาห์ที่ ว/ด/ป

หัวข้อ/รายละเอียด จ านวน* (ชั่วโมง)

กิจกรรมการเรียน ผู้สอน

13 การสร้างและพัฒยาเครือข่ายชุมชน - เทคนิคการสร้างและพัฒยาเครือข่ายชุมชน - ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเข้มแข็งของชุมชน

4 - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติ - กิจกรรมกลุ่ม

วิทยากร

14 การจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวมในอนาคต

4 - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติ - กิจกรรมกลุ่ม

อ.วันวิสาข์ สายสนั่น ณ อยุธยา

15 น าเสนองานที่ได้รับมอบหมาย

4 - ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และน าเสนอ - กิจกรรมกลุ่ม

อ.วันวิสาข์ สายสนั่น ณ อยุธยา

16 น าเสนองานที่ได้รับมอบหมาย

4 - ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และน าเสนอ - อภิปรายกลุ่ม

อ.วันวิสาข์ สายสนั่น ณ อยุธยา

17 Final Examination

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้

กิจกรรม ผลการเรียนรู้

วิธีการประเมิน

สัปดาห์ที่ประเมิน

สัดส่วนของการประเมิน

1

คุณธรรม จริยธรรม

การเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา

1-17

5%

2 ความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบปฎิบัติ

8 17

30% 30% 10%

3 ทักษะทางปัญญา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย การศึกษาดูงาน

ตลอดภาค การศึกษา

10%

10% 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง ประเมินพฤติกรรมภาวะการ ตลอดภาค 5%

Page 11: มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา การจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม ...¸¡คอ 3... ·

มคอ. 3

ภาษาอังกฤษส าหรับสาธารณสุข 2 สาขาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ Page 11

บุคคล และความรับผิดชอบ เป็นผู้น าและผู้ตามที่ดีการมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความ คิดเห็นในชั้นเรียน

การศึกษา

5 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

จากผลงานและการน าเสนอรายงาน

ตลอดภาค การศึกษา

10%

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

1. ต าราและเอกสารหลัก - กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. การแพทย์แผนไทยกับการดูแลสุขภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 10. โรงพิมพ์ทองกมล. 2552. - สถาบันการแพทย์แผนไทย กระทรวงสาธารณสุข. การแพทย์แผนไทยกับการแพทย์แบบองค์รวม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก. 2539. - จีระศักดิ์ เจริญพันธ์. การจัดการสาธารณสุขในชุมชน: Community in public health management. คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2550. 2. เอกสารและข้อมูลส าคัญ - พระพรหมคุณาภรณ์. สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2552. 3. เอกสารและข้อมูลแนะน า 1. เทวัญ ธานีรัตน์. การแพทย์ทางเลือก. เมื่อ 31 ตุลาคม 2555 จาก www.thaicam.go.th/ index.php? option=com_content&view=article&id=110&Itemid=109

Page 12: มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา การจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม ...¸¡คอ 3... ·

มคอ. 3

ภาษาอังกฤษส าหรับสาธารณสุข 2 สาขาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ Page 12

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการด าเนินการของรายวิชา

1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดท าโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการน าแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน - การสร้างองค์ความรู้จากสถานการณ์จริงแล้วประยุกต์สู่รายวิชา - ค้นคว้าอิสระ - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน - ผลการสอบ - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ - พิจารณาจากคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมสย 3. การปรับปรุงการสอน หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน - การประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน - มีการประชุมผู้สอนเพ่ือหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและหาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงกิจกรรมและเนื้อหาที่ใช้ในการเรียนการสอนทุกภาคการศึกษา

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามท่ีคาดหวังจากการ เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อ่ืน หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจ าหลักสูตร - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วธิีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม - งานที่มอบหมาย

Page 13: มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา การจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม ...¸¡คอ 3... ·

มคอ. 3

ภาษาอังกฤษส าหรับสาธารณสุข 2 สาขาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ Page 13

5. การด าเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพ่ือให้เกิดคุณภาพมากข้ึน ดังนี้ - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพ่ือให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ