16
วารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ปีท่ 38 ฉบับที่ 4 เมษายน 2558 http://pr.pn.psu.ac.th/sritrangonline/page.html E-mail : [email protected] www.pn.psu.ac.th ISSN 0859-9734 “ดอกไม้ฤดูร้อน ในรั้วสงขลานครินทร์” ภาพโดย เบญจมาศ ฉุ้นประดับ

“ดอกไม้ฤดูร้อน ในรั้วสงขลา ...pr.pn.psu.ac.th/sritrangonline/april58.pdf · 2019. 10. 31. · คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • วารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

    ปีที่ 38 ฉบับที่ 4 เมษายน 2558 http://pr.pn.psu.ac.th/sritrangonline/page.html

    E-mail : [email protected]

    www.pn.psu.ac.th

    ISSN 0859-9734

    “ดอกไม้ฤดูร้อน ในรั้วสงขลานครินทร์”ภาพโดย เบญจมาศ ฉุ้นประดับ

  • คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.อ.ปัตตานี รับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกและดาราศาสตร์โอลิมปิก ระดับชาติ

    คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จัดแถลงข่าว “การแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ ระดับชาติ ประจ�าปี

    2558” เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2558 ณ ห้องสงขลา โรงแรมหรรษา เจ.บี.

    หาดใหญ่ จ.สงขลา โดยมี ผศ.สมปอง ทองผ่อง รองอธิการบดีมหาวิทยาลัย

    สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี รศ.ดร.ซุกรี หะยีสาแม คณบดีคณะ

    วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผศ.สุนันต์ ทองสีนุช ประธาน ศูนย์ สอวน.

    ปัตตานี มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์

    ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา

    กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.) โดยมี สมเด็จพระเทพ

    รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นองค์ประธาน ได้จัดให้มีการ

    แข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับชาติ ในสาขาวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์

    คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โดยมีมหาวิทยาลัยทั่วประเทศซ่ึงเป็นศูนย์

    โอลิมปิกวิชาการ สอวน. เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันเป็นประจ�าทุกปี

    ผศ.สมปอง ทองผ ่องร อ ง อ ธิ ก า ร บ ดี ม ห า วิ ท ย า ลั ยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี กล่าวว่า คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รับสนองพระราชด�าริสมเด็จพระเจ ้าพ่ีนางเธอเจ ้าฟ ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ในการจัดตั้งศูนย์สอวน. ม.อ.ปัตตานี และได้จัดโครงการโอลิมปิกวิชาการมาตั้งแต่ปี2543 จนถึงปัจจุบันเป็นปีท่ี 11 โดยศูนย์ฯ จะรับผิดชอบนักเรียนจากโรงเรียนต่างๆ ใน 5 จังหวัด ได้แก่ พัทลุง สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ส�าหรับในปี 2558 คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ มูลนิธิ สอวน. มีมติให้คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ ระดับชาติ ใน 2 สาขาวิชา คือ การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 11 The Eleventh Thailand Olympiad in Informatics (TOI 2015) จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 2-5 มิถุนายน 2558 ณ อาคารวิทยบริการ และอาคารเรียนรวมมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง และการแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งท่ี 12 12th Thailand AstronomyOlympiad จัดการแข ่งขันเมื่อวันท่ี 20-25 เมษายน 2558 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา อ�าเภอเมือง จังหวัดสงขลา และเทศบาลเมืองม่วงงาม อ�าเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา โดยมีนักเรียนจากศูนย ์โอลิมป ิกวิชาการ สอวน. ทั่วประเทศเข ้า

    ร ่วมแข่งขันกว่า 200 คน นอกเหนือจากการแข่งขันทางด้านวิชาการแล ้ว ยังจัดให ้มีการการบรรยายพิเศษทางวิชาการ ทัศนศึกษา การจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ และนิทรรศการการแสดงผลของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี อีกด้วย รศ.ดร.ซุกรี หะยีสาแม คณบดีคณะวิทยาศาสตร ์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลาน ค ริ น ท ร ์ วิ ท ย า เ ข ต ป ั ต ต า นี ก ล ่ า ว ถึ ง โ ค ร ง ก า ร แ ข ่ ง ขั นดาราศาสตร์โอลิมปิก ระดับชาติครั้งที่ 12 ว่า ส�าหรับการจัดแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 20 – 25 เมษายน 2558 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลาอ� า เภอ เมื อง จั งหวัดสงขลา และ เทศบาลเมื องม ่ ว งงามอ�าเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา มีศูนย์โอลิมปิกวิชาการ สอวน.ท่ีเข้าร่วมการแข่งขัน จ�านวน 11 ศูนย์ แบ่งเป็นศูนย์จัดค่ายระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 8 ศูนย์คัดเลือกผู ้แทนศูนย ์ๆ ละ 12 คน ศูนย ์จัดค ่ายเฉพาะระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2 ศูนย์คัดเลือกผู้แทน ศูนย์ๆ ละ 6 คน และศูนย์จัดค่ายเฉพาะระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1 ศูนย์คัดเลือกผู้แทนศูนย์ 6 คน รวม ทั้งหมด 114 คน นักเรียนผู้เข้าร่วมการแข่งขันจะแข่งขันด้วยการสอบข้อสอบภาควิชาการด้วยมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ข้อสอบภาคทฤษฎีและข้อสอบภาคปฏิบัติการ ส�าหรับข้อสอบภาคปฏิบัติการ ประกอบด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลและการสังเกตการณ์ ข้อสอบภาคทฤษฎีจะเสนอมาจากคณาจารย์ทุกศูนย์และจะพิจารณาคัดเลือกและปรับปรุงโดยคณะกรรมการวิชาการกลาง ข้อสอบภาคสังเกตการณ์ จะพิจารณาคัดเลือกโดยผู ้เชี่ยวชาญและสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ และมีคณาจารย์พร้อมครูสังเกตการณ์ของแต่ละศูนย์ร่วมพิจารณาคัดเลือกข้อสอบ เกณฑ์การให้คะแนน รวมท้ังการประเมินผล และตัดสินผลการแข่งขัน รางวัลการแข่งขันประกอบด้วย รางวัลดีเย่ียม ดีมาก ดี และเกียรติคุณประกาศ จากน้ันจึงคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จ�านวน 3 คน เพ่ือเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขัน ดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ครั้งที่ 20 และคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเป็นผู้แทนประเทศไทยในการเข้าร่วมแข่งขันดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์ระหว่างประเทศครั้งที่ 9 ต่อไป

  • ผ ศ . สุ นั น ต ์ ท อ ง สี นุ ชประธาน ศูนย์ สอวน. ม.อ.ปัตตานี ก ล ่ า ว ถึ ง โ ค ร ง ก า ร แ ข ่ ง ขั นคอมพิวเตอร ์ระดับชาติครั้ง ท่ี 11 ว ่ า ท า ง ภ า ค วิ ช า ค ณิ ต ศ า ส ต ร ์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่ ง ได ้ รับ เป ็นศูนย ์ สอวน. สาขาคอมพิวเตอร ์ ของคณะฯ ได้ตระหนักถึงการเตรียมความพร้อมในการจัดงาน และเน่ืองจากเหตุการณ์ความไม ่สงบในพ้ืนที่ ทางคณะฯ ได ้ร ่วมมือกับวิทยาเขตตรัง ในการสนับสนุนสถานท่ี บุคลากร และอุปกรณ์บางส่วนในการจัดการแข่งขันการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ มีการจัดการแข่งขันอย่างต่อเนื่องต้ังแต่ปี 2548 จนถึงปัจจุบัน เป็นปีท่ี 11 ซึ่งจัดขึ้นในวันท่ี 2 - 5 มิถุนายน 2558ณ อาคารวิทยบริการ และอาคารเรียนรวม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง เนื่องในวโรกาสสมเด็จพระเทพฯมีพระชนม์มายุครบ 5 รอบ และเป็นปีท่ีครบรอบ 30 ปี ของการจัดตั้ งคณะวิทยาศาสตร ์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็นโครงการจัดการแข่งขันเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพ่ือแก้โจทย์ปัญหาด้านค�านวณเชิงตัวเลข วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง ออกข้อสอบโดยคณะกรรมการวิชาการ รับรองข้อสอบ ผลการสอบ และผลการแข่งขันโดยคณะกรรมการกลางซึ่งเป็นตัวแทนจากศูนย์ สอวน. สาขาคอมพิวเตอร์ทั้ง 13 ศูนย์ มีการบรรยายพิเศษในหัวข้อท่ีก�าลังได้รับความสนใจในปัจจุบันจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิในประเทศไทย ทัศนศึกษาดูงานนอกสถานที่นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ และนิทรรศการการแสดงผลของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง

    12-13

    15

    14

    02-03

    03

    04-05

    06

    07

    08-1107

    สารบัญ C O N T E N T

    มมุหนึ่งใน

    รั้วศรตีรงั

    คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.อ.ปัตตานี รับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกและดาราศาสตร์โอลิมปิก ระดับชาติ

    การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 11

    2-5 มิถุนายน 2558ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ตรัง

    คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.อ.ปัตตานี

    รับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิก

    และดาราศาสตร์โอลิมปิก ระดับชาติ

    มุมหนึ่งในรั้วศรีตรัง

    3 หน่วยงานลงนามความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา

    ราคายางพาราตกต�่า และขอให้รัฐสนับสนุน

    เปิดเวทีแก้ปัญหายางพาราแบบยั่งยืน ที่ ม.อ.

    ด้วยการสร้างนวัตกรรมและเพิ่มมูลค่ายาง

    ทีมเรือมังกร ม.อ.ปัตตานี ชนะที่ 2 ในการแข่งขันเรือมังกร

    นานาชาติ เฉลิมฉลองครบรอบ 87 พรรษา

    สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งมาเลเซีย

    รวมพลัง ราชการไทย ลดใช้พลังงาน

    องคมนตรี ยืนยันรัฐบาลสนับสนุนการจัดสัมมนา

    ทางด้านอิสลามศึกษา อันเป็นการร่วมมือทางวิชาการ

    และส่งผลให้เกิดความเข้าใจและความสมานฉันท์

    ภาพเป็นข่าว

    นานาชาติมีมติให้ไทยเป็นต้นแบบ

    ในการอยู่ร่วมกันของผู้คนต่างศาสนา

    แนะน�าหลักสูตรวิทยาเขตปัตตานี

  • 3 หน่วยงานลงนามความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาราคายางพาราตกต�่า และขอให้รัฐสนับสนุน กรมวิชาการเกษตร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ

    มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ลงนามความร่วมมือ ขับเคล่ือนพัฒนาและ

    แก ้ ไขป ัญหาราคายางพาราตกต�่ า เมื่ อวัน ท่ี 3 เมษายน 2558

    ณ โรงแรมมารวย กรุงเทพมหานคร และขอความร่วมมือภาครัฐสนับสนุน

    ด้านการตลาด ส่งเสริมให้มีการใช้ ยางพาราให้มากข้ึน ออกกฎระเบียบ

    มาตรฐานสินค ้าให ้มีสัดส ่วนยางพาราสูงขึ้น ส ่งเสริมให ้มีการจัด

    แสดงสินค้า ยางพาราในต่างประเทศ

    เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2558 ณ โรงแรมมารวย กรุงเทพมหานครน า ย อ นั น ต ์ สุ ว ร ร ณ รั ต น ์ อ ธิ บ ดี ก ร ม วิ ช า ก า ร เ ก ษ ต ร รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และนายสุพันธุ์ มงคลสุธี ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้ลงนามความร่วมมือเพ่ือแก้ไขราคายางพาราตกต�่า

    นายอนันต์ สุวรรณรัตน์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร กล่าวว่า กรมวิชาการเกษตร มีวิสัยทัศน์ท่ีจะเป็นองค์กรน�าด้านการวิจัยและพัฒนาพืช เครื่องจักรกลการเกษตร และเป็นศูนย์บริการตรวจสอบรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรในระดับสากล โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานการ

    อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตามข้อตกลงความร่วมมือฉบับนี้ กรมวิชาการเกษตรจะรับผิดชอบในการอ�านวยสถานท่ีในการจัดฝึกอบรม และพัฒนาความพร้อมห้องปฏิบัติการส�าหรับการวิเคราะห์ทดสอบผลิตภัณฑ์ ยางพารา สืบค้นข ้อมูลผลิตภัณฑ์ยางที่ควรผลิต รวมท้ังสืบค ้นให ้ค�าแนะน�าเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมแก่โรงงานใน ปัจจุบัน และโรงงานที่จะเปิดในอนาคต และร่วมผลักดันให้ภารกิจและความรับผิดชอบหลักของอีกสองฝ่าย บรรลุผล

    รองศาสตราจารย์ ดร. ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีคณะวิชาและหน่วยงานภายในท่ีผลิตบัณฑิตและท�าวิจัยเกี่ยวกับยางพาราในทุกระดับ โดยเฉพาะการที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ์ มีหลักสูตร

    เทคโนโลยียาง ในคณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี วิทยาเขตปัตตานี เป็นแห่งแรกของประเทศมาเป็นระยะเวลาร่วม 40 ปี แล้ว ต่อมามหาวิทยาลัยได้ จัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนานวัตกรรมยางพารา มีบุคลากรและความพร้อมทางด้านเครื่องมือส�าหรับการ จัดการเรียนการสอน และการพัฒนาเ พ่ิมศักยภาพให ้แก ่บุคลากรของโรงงานอุตสาหกรรม ดังนั้นในข้อตกลง ความร่วมมือ

    ฉบับน้ี มหาวิทยาลัยจะเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางด้านเทคโนโลยี ยางให้มีคุณภาพสูง ทั้งในรูปแบบหลักสูตรระยะสั้นร่วมกับสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตรและหลักสูตรปกติในระดับปริญญาตรี โทและปริญญาเอก พร้อมกับสนับสนุนความรู ้ทาง วิชาการตามความต้องการของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และกรมวิชาการเกษตร โดยใช้ศักยภาพของ อาคาร สถานที่ เครื่องมือในการจัดการเรียนการสอน คณาจารย์ นักวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิและศิษย์เก่าที่มี ประสบการณ์ปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมยางพารา พร้อมพัฒนาความพร้อมดังกล่าวให้ทันสมัยและทัน ต่อเทคโนโลยีอยู่ตลอดเวลา

    นายสุพันธุ์ มงคลสุธี ประธานสภาอุตสาหกรรมแห ่งประเทศไทย กล ่าวว ่า สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย ได้ก�าหนดวิสัยทัศน์ท่ีจะเป็นแกนกลางเสริมสร้างความเข ้มแข็งและผลิตภาพอุตสาหกรรมไทยให้สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล เพ่ือ

    พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อมของไทยให้ย่ังยืน เมื่อยางพาราซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจท่ีส�าคัญของประเทศมีราคาตกต�่า สภาอุตสาหกรรมในฐานะที่เป็นหน่วยงานหลักท่ีน�า ยางพารามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ท้ังเพ่ือขายภายในประเทศและส่งออกไปยังต่างประเทศ ต้องร่วมเป็นภาคี ส�าคัญในการขับเคล่ือนเพ่ือพัฒนาและแก้ไขราคายางพาราตกต�่า ของประเทศไทยให้มีความย่ังยืนผ่านการ แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ให้มากที่สุด โดยตามข้อตกลงฉบับนี้สภาอุตสาหกรรมมีภารกิจและความรับผิดชอบหลักในการผลักดันให้มีการใช้ยางธรรมชาติทั้งในประเทศและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพ่ือการส่งออกให้มากข้ึน และ ร่วมผลักดันให้ภารกิจและความรับผิดชอบหลักของอีกสองฝ่ายบรรลุผลโดยมีแนวทางการด�าเนินงานดังน้ี คือ สืบค้นหาข้อมูลทางด้านผลิตภัณฑ์ยาง โดยก�าหนดโจทย์ส�าคัญ คือ ผลิตภัณฑ์ยางอะไรบ้างที่น�าเข้ามาใน ประเทศไทย มีปริมาณเท่าใด คิดเป็นมูลค่าเท่าใด ผลิตภัณฑ์นั้นควรผลิตในประเทศขึ้นมาทดแทนหรือไม่ ถ้าสามารถผลิตได้ ควรผลิตใช้โรงงานขนาดใด ควรจะตั้งที่ใด กระจายได้หรือไม่

    ประทีป เอื้อนมงคล ถ่ายภาพ นวพงษ์ เพ็ชรอุไร รายงาน

    วารสารข่าว ศรีตรังวารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์

    04

  • รายงานข่าวแจ้งว่าประเทศไทยเป็นผู้ผลิตยางพารามากเป็นอันดับหนึ่งของโลก ปัจจุบัน มีพ้ืนท่ีปลูก ยางพารามากกว่า ๖๐ จังหวัดรวมพ้ืนท่ีมากกว่า 21 ล้านไร่ โดยพ้ืนที่สวนยางท่ีให้ผลผลิตแล้ว 18 ล้านไร่ ในปี พ.ศ. 2557 มีผลผลิตทั้งสิ้นประมาณ 4.2 ล้านตัน ผลผลิตดังกล่าวมีการใช้แปรรูปภายในประเทศและส่งออก เป็นผลิตภัณฑ์ประมาณ 0.55 ล้านตัน คิดเป็น 13 เปอร์เซ็นต์ของผลผลิตท้ังหมด สร้างรายได้ประมาณ 270,000 ล้านบาท ในขณะปริมาณการส่งออกในรูปของยางดิบชนิดต่างๆ เช่น ยางแท่ง ยางแผ่นรมควัน น�้ายางข้น ยางคอมปาวด์ เป็นต้น ประมาณ 87 เปอร์เซ็นต์ สร้างมูลค่าเพียง 250,000 ล้านบาท ยางพาราเป็นวัตถุดิบส�าคัญในอุตสาหกรรมยางรถยนต์โดยร้อยละ 60-70 ของผลผลิตยางพาราใช้ใน การแปรรูปเป็นยางรถยนต์ที่เหลือใช้ในอุตสาหกรรมถุงมือทางการแพทย์ ยางฟองน�้า ถุงยางอนามัย ยางทาง วิศวกรรม ดังนั้นยางพาราที่ผลิตขึ้นจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับการขยายตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์เป็นหลัก โดยในปัจจุบันตลาดสินค้ายางพาราที่ส�าคัญคือ ประเทศจีน ในภาวะท่ีเศรษฐกิจของประเทศจีนมีการขยายตัว สูงจะท�าให้มีความต้องการยางพาราสูงส่งผลต่อราคายางพาราในตลาดโลกท�าให้ราคาสูงขึ้น นับต้ังแต่ปี พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา ภาวะเศรษฐกิจโลกท้ังในสหรัฐอเมริกา และทวีปยุโรปถดถอยลง เศรษฐกิจของประเทศจีนเกิดการชะลอตัว ท�าให้การใช้ยางรถยนต์ท่ัวโลกลดน้อยลงด้วยนอกจากนั้นการลดลง ของราคาน�้ามันในตลาดโลก น�าไปสู่การลดลงของราคายางสังเคราะห์ ส ่งผลท�าให้ราคายางพาราลดลงอย่างต่อเนื่องพร้อมๆ กับการที่รัฐบาลได้สนับสนุนให้ขยายพื้นที่การปลูกยางพารา ท�าให้เกิดการขยายพื้นที่ปลูก ยางพาราไปทุกภูมิภาคทั่วทั้งประเทศ โดยเฉพาะทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือประกอบกับการเพ่ิมพ้ืนที่การ ปลูกยางพาราของประเทศเพ่ือนบ้านจ�านวนมากเกิดภาวะความต้องการขายมากกว่าความต้องการซื้อท�าให้ ราคายางพาราตกลงอย่างต่อเนื่องเป็นล�าดับ นับตั้งแต่ปลายปีพ.ศ. 2554 กระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของ เกษตรกรชาวสวนยางผู ้กรีดยาง กลุ ่มสหกรณ์ชาวสวนยาง ผู ้ประกอบการยางพาราโดยผลกระทบดังกล่าว เกิดขึ้นในขอบเขตที่กว้างขวางมากขึ้นลุกลามไปสู่ภาพรวมของเศรษฐกิจชาติ

    หลังการลงนามความร่วมมือระหว่าง 3 หน่วยงานดังกล่าว ผศ.ดร.บุญธรรม นิธิอุทัย ท่ีปรึกษาคณบดี คณะวิทยาศาสตร ์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยากร

    ผู ้ร ่วมเสวนาหัวข้อกลไกขับเคลื่อนเพ่ือความย่ังยืนในการแก้ไขปัญหาราคายางตกต�่า กล่าวว่า เห็นด้วยกับการประสานความร่วมมือกันในครั้งน้ีของ 3 หน่วยงานน้ี และคาดหวังว่า จะสามารถแก้วิกฤติราคายางพาราตกต�่าได้ในระดับหนึ่ง แต่ผลของ ความส�าเร็จนี้จะต้องได้รับความร่วมมือจากภาครัฐบาลด้วย กล่าวคือ ต้องช่วยสนับสนุนด้านการตลาดทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ อาทิ ส่งเสริมให้มีการใช้ยางพาราในประเทศให้มากขึ้น โดยการออกสนับสนุนงบประมาณ และ ออกกฎระเบียบ ชั่วคราวจนกว่าราคายางพาราจะสูงถึงเป้า เช่น 80 บาท/กก. เป็นต้น ตัวอย่างของการสนับสนุนงบประมาณ ได้แก่ สนับสนุนการใช้ยางพาราในการท�าถนน สนามฟุตซอลและสนาม เด็กเล่น รวมทั้งการให้เงินกู้ในการขยายโรงงานและเก็บสต็อคยางและน�้ายาง เป็นต้น ส่วนกฎระเบียบ ได้แก่ การก�าหนดให้หน่วยงานในรัฐบาลใช้ยางพารามากขึ้น เช่น ก�าหนดให้ถุงมือยางในโรงพยาบาลของรัฐ ใช้เฉพาะ ถุงมือยางธรรมชาติ เช่น ไม่ใช้ถุงมือยางสังเคราะห์ให้ยางรองหมอนคอนกรีตส�าหรับรางรถไฟ ให้ใช้ยาง ธรรมชาติ แทนยางสังเคราะห์คลอโรพรีนหรือยางสังเคราะห์อื่นๆ ให้สินค้ายางพาราที่ผลิตในประเทศมีโอกาส รับงานในการประมูลงานของรัฐบาลมากขึ้น ออกกฎระเบียบมาตรฐานสินค้าให้มีสัดส่วนยางพาราสูงขึ้น เช่น ในกรณียางรถยนต์ หรือ จักรยานยนต์ ให้มีสัดส่วนของยางธรรมชาติ เกินกว่าร้อยละ 65 ของยางทั้งหมด เป็น ต้น ตลอดจนส่งเสริมให้มีการจัดแสดงสินค้ายางพาราในต่างประเทศให้มากขึ้น โดยที่เป้าหมายประเทศหลักจะ เป็น ประเทศในตะวันออกกลาง ประเทศในทวีปอเมริกาใต้ รวมท้ังประเทศในทวีปแอฟริกา เป็นต้น.

    วารสารข่าว ศรีตรังวารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์

    05

  • เปิดเวทีแก้ปัญหายางพาราแบบยั่งยืน ที่ ม.อ.

    ด้วยการสร้างนวัตกรรมและเพิ่มมูลค่ายาง เวทีเสวนาเรื่อง “ถนนยางพารา: ทางออกของการแก้ปัญหา

    ยางพารา” ในงานมหกรรมงานวิจัยส่วนภูมิภาค 2558 ภาคใต้ ได้น�าเสนอ

    โครงการแก้ปัญหายางพาราอย่างย่ังยืน โดยการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ซ่ึง

    ผลิตภัณฑ์ท่ีได้รับความสนใจและสามารถเพิ่มปริมาณการใช้ยางพารา

    ภายในประเทศคือ ถนนยางพารา ยางปูสนามฟุตซอล ลานกีฬา

    เอนกประสงค์ และสนามเด็กเล่น ซึ่งนอกจากจะเพิ่มปริมาณการใช้

    ยางพาราภายในประเทศแล้ว ยังส่งผลต่อประเทศทั้งใน มิติทางด้าน

    เศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และมิติทางการเมือง และ เสนอการแก้ปัญหา

    ยางพาราอย่างย่ังยืนด้วยการเพิ่มมูลค่าและสร้างนวัตกรรม เพื่อส่งเสริม

    การแปรรูป ประกอบกับภาครัฐควรมีการสนับสนุนการใช้ยางให้เกิดข้ึน

    ภายในประเทศมากข้ึน ทั้งน้ีโดยมี รศ.ดร. ประเสริฐ ชิตพงศ์ สมาชิกสภา

    ปฏิรูปแห่งชาติ นายนิพนธ์ บุญญามณี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด

    สงขลา รศ. อาซีซัน แกสมาน ผู ้อ�านวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา

    นวัตกรรมยางพารา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นายบุญหาญ อู่อุดมยิ่ง

    ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

    นายอดุลย์ ณ วิเชียร นักวิชาการ สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการ เกษตร เป็น

    ผู้ร่วมเสวนา เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2558

    รศ.อาซีซัน แกสมาน ผู้อ�านวยการสถาบันวิจัยและพัฒนานวัตกรรมยางพารา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า ปัญหาราคายางพารามีภาวะตกต�่าอย่างต่อเนื่อง ส่งผลกระทบต่อเกษตรกรสวนยางเป็นอย่างมาก ในขณะที่ภาครัฐออกมาตรการเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาราคายางพาราโดยการแทรกแซงราคา การจ่ายเงินชดเชยรายได้ให้ชาวสวนยาง แต่การแก้ปันหาเฉพาะราคานั้นไม่ใช่การแก้ปัญหาอย่างย่ังยืน แนวทางหน่ึงท่ีสามารถด�าเนินการได้คือ การเพิ่มปริมาณการใช้ยางพาราภายในประเทศให้มากขึ้นแทนการมุ่งส่งออกในรูปวัตถุดิบ และสร้างนวัตกรรมจากยางพาราเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจโดยภาคอุตสาหกรรม ซ่ึงประเทศไทยได้เปรียบด้านอุตสาหกรรม เนื่องจากเป็นผู้ผลิตยางเป็นอันดับหนึ่งของโลก จึงมีโอกาสและความเป็นไปได้ในการพัฒนาประเทศให้เป็นศูนย์กลางการผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์แปรรูปให้มีคุณภาพตรงตามความความต้องการของผู้ใช้ได้ ด้วยเหตุนี้รัฐบาลควรมีการสนับสนุนการใช้ยางภายในประเทศให้มากข้ึน โดยใช้การแปรรูปยางพาราเพ่ือสร้างมูลค่าเพ่ิมที่จะส่งผลต่อความต้องการใช้ยางพาราสูงขึ้น ร ่วมกับแนวทางพัฒนายางพาราท้ังระบบ โดยรัฐบาลได้มีมติเห็นชอบคือจัดการกักเก็บยางของรัฐเพ่ือให้ปริมาณยางส่วนเกินในประเทศหมดไป บริหารจัดการผลผลิตยางถึงช่วงฤดูแล้ง เพ่ือยกระดับราคา เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ยางและพัฒนาระบบตลาดยาง วิจัย พัฒนาผลิตภัณฑ ์ยาง ควบคุม พ้ืนที่ปลูก และพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตโดยมีเป้าหมายพัฒนา 4 ด้าน คือด้าน

    ราคา คุณภาพ การเพ่ิมมูลค่าและประสิทธิภาพ เพ่ือพัฒนายางพาราไทยได้อย่างยั่งยืน นายอดุลย ์ ณ วิ เชียร นัก วิชาการ สถาบัน วิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร กล่าวถึงความพร้อมในการสนับสนุนการท�าถนนยางพาราตามนโยบายรัฐบาลว่า สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร มีความพร้อมในการสนับสนุนการท�าถนนยางพาราตามนโยบายรัฐบาล โดยมีเทคโนโลยีการใช้ยางธรรมชาติ ผสมยางมะตอยราดถนนที่ได้คิดค้นขึ้นและสามารถน�าไปใช้ได้จริงในภาคสนาม ประกอบด้วย 3 เทคโนโลยี ได้แก่ เทคโนโลยีการใช้ยางพาราผสมยางมะตอยในงานสร้างทาง เครื่องต้นแบบผสมยางมะตอยกับยางพาราชนิดน�้ายางข้นแบบเคล่ือนที่ได้และเครื่องต้นแบบผสมยางมะตอยกับยางพาราชนิดยางแห้ง ซึ่งเทคโนโลยีดังกล่าวสามารถใช้เป็นต้นแบบให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน น�าไปประยุกต์ใช้ในการใช้ยางธรรมชาติผสมยางมะตอยราดถนนได้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป ขณะนี้สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ได้ประสานความร่วมมือกับกรมทางหลวง และกรมทางหลวงชนบท เร่งก�าหนดมาตรฐานถนนยางพารา พร้อมออกแบบถนนยางพารา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร ้างถนนยางมะตอยผสมยางพาราท่ีมีคุณภาพและได ้มาตรฐาน ซึ่งจะท�าให้ถนนมีความทนทาน ใช้งานได้ยาวนานขึ้น คุ้มค่างบประมาณภาครัฐและยังช่วยประหยัดค่าซ่อมบ�ารุงถนนได้ค่อนข้างมาก อนาคตหากมีการน�ายางพาราผสมกับยางมะตอยราดถนนแพร่หลายมากขึ้น คาดว่าจะช่วยเพ่ิมมูลค่าผลผลิตยางพาราและท�าให้ราคายางขยับตัวสูงขึ้น

    วารสารข่าว ศรีตรังวารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์

    06

  • ล�าดับที่ เหรียญทองแดง รวมเหรียญ

    ทีมเรือมังกร ม.อ.ปัตตานี ชนะที่ 2 ในการแข่งขันเรือมังกรนานาชาติ เฉลิมฉลองครบรอบ 87 พรรษา สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งมาเลเซีย

    ทีมเรือมังกร 18 คน จากภาควิชาพลศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลา

    นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้รับรางวัลที่ 2 ในโอกาสเฉลิมฉลอง ครบรอบ

    87 พรรษา สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งมาเลเซีย ได้รับพระราชทานเงิน

    รางวัล 3,000 ริงกิต

    ดร.ถาวรินทร รักษ์บ�ารุง หัวหน้าภาควิชาพลศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี แจ้งว่า สภากีฬารัฐเคดาห์ สหพันธรัฐมาเลเซีย จัดมหกรรมการแข่งขันเรือมังกรนานาชาติ เฉลิมฉลอง ครบรอบ 87 พรรษา สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งมาเลเซีย (THE KDYMM TUANKU SULTAN OF KEDAH DARUL AMAN) ระหว่างวันที่ 27-28 มีนาคม 2558 ที่ Tanjung Chali, Alor Setar, Kedah, Malaysia ซึ่งประเทศไทยได้ส่งทีมเรือมังกร 2 ทีมเข้าร่วมการแข่งขัน คือทีมภาควิชาพลศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ซึ่งได้รับรางวัลท่ี 2 และทีมโรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ ๔๐ จ.ปัตตานี ได้รับรางวัลที่ 3 โดยได้รับการสนับสนุนจาก สมาคมเรือพายแห่งประเทศไทย และที่ว่าการอ�าเภอสะเดา จ.สงขลา เพ่ือเป็นการ เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศ

    ผลการแข่งเรือมังกร 18 คน ระยะ 1,000 เมตร สายบี ชนะเลิศได้แก่ ทีมชาติ บรูไน ได้รับพระราชทานเงินรางวัล 5,000 ริงกิต รางวัลท่ี 2 ทีมเรือมังกร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้รับพระราชทานเงินรางวัล 3,000 ริงกิต และที่ 3 ทีมชาติ มาเลเซีย ได้รับพระราชทานเงินรางวัล 2,000 ริงกิต คณะนักกีฬา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ประกอบด้วย ดร. ถาวรินทร รักษ์บ�ารุง หัวหน้าภาควิชาพลศึกษา เป ็นผู ้จัดการทีม นักกีฬาประกอบด้วย นายอนุชา เบ็ญโซ ๊ะ นายวรวุฒิ รอดด้วง นายอภิสิทธ์ิ หูเขียว นายซาระฮัน ปูลา นายมูฮ�าหมัดฟัยซัน ยูโซะ นายบูคอรี ดาระแน น.ส.ธนภรณ์ คะทะวนัตน์ นายอัลดุลเราะห์มาน รอมลี นายฮารุต หีมเบ็ญหมัด นายธีระพัฒน์ บุญมาปัญญากุลนายณัฐพล สุวรรณวงค์ นายอัสรี ไชย์อุมา นายฮาลีฟ ลาเตะ นายสะอารี มะเซ็ง นายณัฐพล ปุนยัง นางสาวปณานี พลการ นางสาวรวีวรรณ บุญยัง นางสาวยัสมี เวาะและ นางสาวนูรา หะยีเจ ๊ะแล และนางสาวนูรฮานมะแซใจจิ .

    แนวทางในการให้ความเย็นแก่อาคาร

    การปรับปรุงง่ายๆ เบื้องต้นเพื่อให้อาคารมีความเย็น

    - อย่าให้ผนังกระจกและหน้าต่างถูกแสงแดดโดยตรง เพราะ

    ความร้อนจะผ่านเข้ามาในอาคารเพิ่มขึ้น

    - เปลี่ยนสีผนังอาคารภายนอกให้เป็นสีขาวหรือสีอ่อนเพื่อจะสะท้อน

    ความร้อนจากแสงแดด

    ที่มา : http://mis-pattani2.pn.psu.ac.th/intranet/PR/energy.html

    (ต่อจากเดือนมีนาคม 2558)

    - ติดตั้งกันสาด แผงครีบ ผ้าใบ หรือปลูกต้นไม้บังแสงแดดให้กับตัวอาคาร

    - ปรับปรุงหลังคาโดยบุฉนวนเพดาน หรือติดแผ่นฟิล์มอะลูมินั่มสะท้อน

    รังสีความร้อนไม่ให้เข้าตัวอาคาร

    - ปรับปรุงประตูทาข้าวของอาคารที่มีผู้คนเดินเข้าออกบ่อยๆ เพื่อให้อากาศ

    เย็นไหลออกน้อยที่สุด

    - หมั่นท�าความสะอาดอุปกรณ์ในระบบปรับอากาศ

    - หลีกเลี่ยงการจัดวางหรือติดตั้งอุปกรณ์ประเภทที่ให้ความร้อนไว้ใน

    บริเวณห้องที่มีการปรับอากาศ

    วารสารข่าว ศรีตรังวารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์

    07

  • ดุลยภาพ ความเป็นเลิศและความสมดุล ในยุคสมัยแห่งการเปล่ียนแปลง รวมถึงสิทธิมนุษยชนกลุ่มน้อยในสังคม ท้ังหมดน้ีล้วนน�าไปสู่ความร่วมมือกันอย่างจริงจังระหว่างรัฐบาล สถาบันการศึกษา ปัญญาชน องค์กรการกุศล นักการศึกษา นักวิทยาศาสตร์และนักคิดทุกท่าน เพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งที่มีอยู่ในปัจจุบัน

    รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า น ค ริ น ท ร ์กล่าวว่า ในนามของมหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร ์ ยินดี และรู ้ สึ กเป ็นเ กียรติ ที่ ได ้มี โอกาสให ้การต ้ อ น รั บ แ ข ก ผู ้ มี เ กี ย ร ติ ทุ ก ท ่ า นที่มาร่วมสัมมนา “ค่านิยมอิสลามในยุคสมัยแห่งการเปลี่ยนแปลง” ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ์

    วิทยาเขตปัตตานี และขอขอบคุณรัฐบาล ท่ีให ้ความส�าคัญและให ้การสนับสนุนการจัดสัมมนามาโดยตลอด นับเป ็นโครงการต่อเนื่องจากการสัมมนานานาชาติท้ังสองครั้งที่ผ่านมากล่าวคือการสัมมนาครั้งแรกจัดขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม 2553ในหัวข้อ “บทบาทอิสลามศึกษาในยุคโลกาภิวัตน์” ซึ่งในการสัมมนาครั้งน้ัน มีนักวิชาการจาก 16 ประเทศได้ร่วมกันก�าหนด “ปฏิญญาปัตตานี” ที่มีสาระส�าคัญที่เก่ียวข้องกับการให้อิสลามศึกษา มีส่วนในการพัฒนาวิชาการ เยาวชน การร่วมมือกันเพ่ือสร้างสันติสุขให้แก่มวลมนุษย์ ส่วนการสัมมนาอิสลามศึกษา ซึ่งจัดข้ึนครั้งที่ 2 เมื่อเดือน มกราคม 2556 มีนักวิชาการจาก 30 ประเทศ ร ่วมระดมแนวคิด ในหัวข้อ “อิสลามศึกษาในโลกท่ีเปล่ียนแปลง โอกาสและส่ิงท้าทาย” ผลจากการสัมมนาคร้ังน้ัน ได ้ ยกระดับการจัดการศึกษาของ วิทยาลัย อิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ให้ก้าวสู่นานาชาติ สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลท่ีจะให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการศึกษาอาเซียน หรือ Asean Education Hub ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพของเยาวชนมุสลิม และสร้างสังคมสันติสุขและสมานฉันท์ที่ยั่งยืนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้ในอนาคต อีกทั้งได้ยืนยันความเป็นมุสลิมสายกลางของ ประเทศไทยต่อสายตาชาวโลก การเป็นมุ ส ลิ ม ใ น มิ ติ เ ส รี ภ า พ ท า ง วิ ช า ก า ร แ ล ะ ก า ร นั บ ถื อ ศ า ส น าเกิดเครือข่ายอิสลามศึกษาและมีการแลกเปล่ียนคณาจารย์และนกัศกึษา มคีวามร่วมมอืทางด้านวิชาการ การวจิยั การประชมุในกลุม่

    องคมนตรี ยืนยันรัฐบาลสนับสนุนการจัดสัมมนาทางด้านอิสลามศึกษา อันเป็นการร่วมมือทางวิชาการ

    และส่งผลให้เกิดความเข้าใจและความสมานฉันท์

    พลเอกสุรยุทธ์จุลานนท์ องคมนตรี ย�้าชัดการสัมมนาอิสลาม

    ศึกษาที่ ม.อ.ปัตตานี นอกจากสร้างเครือข่ายทางการศึกษา ในการก้าวสู่

    ความเป็นนานาชาติ แล้ว จะส่งผลให้เกิดความสมานฉันท์ ในสังคม

    พหุวัฒนธรรม ขอให้มั่นใจว่าศาสนาท่ีเป ็นที่มาของการเยียวยาและ

    สิริมงคลมากกว่าความขัดแย้งและการท�าลายล้าง

    พลเอกสุรยุทธ์จุลานนท์องคมนตรี กล ่าวในพิธีเป ิดการสัมมนาค่านิยมอิสลามในยุคสมัยแห ่งการเปลี่ยนแปลง และให ้สั ม ภ า ษ ณ ์ สื่ อ ม ว ล ช น ณ มหา วิทยาลัยสงขลานครินทร ์วิ ท ย า เ ข ต ป ั ต ต า นี เ มื่ อ วั น ท่ี23 มีนาคม 2558 ซึ่งมีนักวิชาการนักการศาสนา รัฐมนตรี และ

    ผู ้น�าศาสนากว่า 500 คนจากประเทศต่างๆ รวม 25 ประเทศม า ร ่ ว ม สั ม ม น า ว ่ า รั ฐ บ า ล ส นั บ ส นุ น ใ ห ้ ม ห า วิ ท ย า ลั ยสงขลานครินทร์ ท�าหน้าที่บริการวิชาการแก่สังคม ในการจัดสัมมนาทางด้านอิสลามศึกษามาอย่างต่อเน่ือง เพ่ือกระชับความสัมพันธ์ท้ังทางวิชาการความสัมพันธ์ระดับประเทศ นับเป็นยุทธศาสตร์ส�าคัญประการหนึ่งท่ีจะสร้างเครือข่ายทางการศึกษาเพ่ือการพัฒนาศักยภาพในการก้าวสู ่ความเป็นนานาชาติสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลท่ีต ้องการให ้ประเทศไทยเป ็นศูนย ์กลางการศึกษาในอาเซียนหรือ Asean Education Hub และส่งเสริมการอยู ่ร ่วมกันอย่างสมานฉันท์ในสังคมพหุวัฒนธรรมขอให้มั่ น ใจว ่ าศาสนาที่ เป ็นที่ มาของการ เยียวยาและสิ ริมงคลมากกว่าความขัดแย้งและการท�าลายล้าง การสัมมนาวิชาการครั้งน้ี จัดขึ้นเพ่ือให้เกิดการอภิปรายในหัวข ้อ ท่ี เ ก่ียวข ้องกับค ่านิยมอิสลาม และกลั่นกรองเอาประสบการณ์ การน�าค่านิยมเหล่านี้ไปใช้ในชุมชนมุสลิมหรือไม่ใช่มุสลิมท่ีแตกต่างกันทั่วโลก หวังเป็นอย่างย่ิงว่าสถาบันการศึกษาและปัญญาชนท่ีมาร่วมการสัมมนาในครั้งนี้ จะใช้ความรู ้และประสบการณ์ส่งเสริมให้น�าค่านิยมดังกล่าวสู่การปฏิบัติในสังคม เป็นผลให้เกิดความสงบสุขและความสามัคคีท่ีย่ังยืนในสังคม การสัมมนาครั้งน้ีจะเป็นอีกรูปแบบหนึ่งของการสร้างวัฒนธรรมของการแลกเปลี่ยนมุมมองเก่ียวกับสันติภาพ และความสงบสุขในชุมชนท่ีแตกต่างกัน พร้อมทั้งหลักกฎหมายอิสลามว่าด้วย

    วารสารข่าว ศรีตรังวารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์

    08

  • ชาวไทยเท่านั้น แต่ขยายไปทั่วโลก การสัมมนานี้ได้สร้างอารยธรรมแก่โลก เป็นการทวงคืนความเป็นมนุษย์ สู่ความเป็นมนุษย์ที่แท้จริงมุสลิมในจังหวัดปัตตานีมีความโดดเด่นมาต้ังแต่อดีต และปัตตานีมีความพร้อมท่ีโดดเด่นในการเป็นเจ้าภาพในการจัดการสัมมนามากกว่าหลายประเทศ ผศ.ดร.อับดุลเลาะ หนุ ่มสุข มหาวิทยาลัยรามค�าแหงกล ่าวถึง“ดุลยธรรมในจริยธรรม: เปรียบเทียบร ะ ห ว ่ า ง อิ ส ล า ม กั บ พุ ท ธ ศ า ส น า ” ในการสัมมนา ค ่านิยมอิสลามในยุคสมัยแห ่งการเปลี่ยนแปลง ว ่าการอยู ่ ร ่ วมกันระหว ่างชนในชาติที่ มี ค ว า ม แ ต ก ต ่ า ง กั น ข อ ง วั ฒ น ธ ร ร ม ใ น ศ า ส น า พุ ท ธพูดเรื่องทางสายกลางหรือมัชฌิมาปฏิปทา และในอิสลามก็พูดเรื่องทางสายกลาง โดยเฉพาะดุลยภาพ วันนี้ผมต้องการให้ที่ประชุมที่มีผู้เข้าร่วมประชุมท่ีมาจากต่างประเทศท้ังแอฟริกา ซึ่งหางไกลจากเรื่องราวที่เขาควรรู้จากศาสนาพุทธ และชาวอาหรับ ได้รับทราบในเรื่องดุลยภาพของศาสนาพุทธ ท่ีพระพุทธเจ้าสอนทั้งเรื่องมรรค8 อริยสัจ 4 สอนให้คนมุ่งไปสู่สันติภาพโดยเฉพาะสันติภาพในจิตใจ ทั้งเรื่องอัตตา และอนัตตา อันจะน�าไปสู่การอยู่กันอย่างสันติภาพ หันมาดู ในอิสลามก็มีค� าสอนเรื่ อ งทางสายกลางซึ่ งพระผู ้ เป ็นเจ ้าต ้องการให ้ประชาชาติมุสลิมเป ็นประชาชาติที่อยู ่ตรงกลางหรือแนวทางสายกลาง ค�าสอนใดท่ีพูดถึงความสุดโต่งเป็นอันตรายมาก ต้องป้องกัน ต้องต่อต่าน หรือก�าจัดแนวคิดวิ ธีปฏิบัติที่ รุนแรงไม ่ว ่าที่ เ กิดขึ้นในจังหวัดชายแดนภาคใต ้หรือในโลกมุสลิม การน�าเสนอแนวคิดทางสายกลางของทุกศาสนาจึงเป็นความจ�าเป็นย่ิง ผมต้องการให้พ่ีน้องมุสลิมได้รับทราบค�าสอนของศาสนาพุทธ ที่ เน ้นความสงบสุข ความร ่มเ ย็นซึ่ ง เอื้อต ่อการท่ีจะอยู ่ร ่วมกัน นับเป ็นความโปรดปรานของพระผู้เป็นเจ้าที่ให้มุสลิมไทยได้มีโอกาสอยู่กับพ่ีน้องชาวพุทธท่ีมีค�าสอนที่เป็นแนวทางสายกลางที่สอดคล้องกับอิสลาม ในเร่ืองของสันติภาพในจิตใจ ส่วนอิสลามสอนเรื่องแนวทางสายกลางเยอะไม่ว่าจะเป็นการค้าขาย การด�าเนินชีวิต การสังคม การพาณิชย์การบ ้านการเมืองการปกครอง เพราะอิสลามเป ็นวิ ถีชี วิตหรือดุลยภาพ แนวทางสายกลางของอิสลามจึงไม่ได้มีแค่เคร่ืองขัดเกลาจิตใจเท่านั้นแต่ลงไปถึงวิถีชีวิต.

    ประเทศอาเซียน กลุ่มประเทศอาหรับ และกลุ่มประเทศมุสลิมอื่นๆ และการสัมมนาครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 23-25 มีนาคม 2558 ในหัวข ้อ “ค ่านิยมอิสลามในยุคสมัยแห่งการเปลี่ยนแปลง” “Islamic Values in a Changing World” มีวัตถุประสงค์เพ่ือน�าเสนอความส�าคัญของค่านิยมอิสลาม และวิธีการประยุกต์ใช้แนวคิดสู ่การสร้างสันติภาพและความสมานฉันท์ในสังคมเพ่ือค้นหาค่านิยมร่วมทางจริยธรรม ของอารยธรรมที่หลากหลายและส่งเสริมคุณค่าเหล่านี้เพ่ือประโยชน์ของมนุษยชาติ เพ่ือความเป็นอิสลามสายกลาง และสร้างสังคมพหุวัฒนธรรมแห่งสันติภาพโดยการแบ่งปันประสบการณ์ ของผู้คนในพื้นที่ต่างๆ ทั่วโลก ด ้าน HE.Sheikh UmarObaid Hasanah ผู ้อ�านวยการส ถ า บั น วิ จั ย ท า ง อิ ส ล า ม ศึ ก ษ ากระทรวงศาสนสมบั ติ ประเทศกาตาร์ ให้สัมภาษณ์สื่อมวลชนที่วิทยาลัยอิสลามศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ว่ารัฐบาลไทยได้ให้โอกาสแก่ชาวไทยมุสลิมในการนับถือศาสนา โดยไม่มีการแบ่งแยกเผ่าพันธุ์ มุสลิมในประเทศไทยไม่ใช่ชนชั้นสอง แต่เป ็นผู ้สืบสานอารยธรรมมาจากบรรพบุรุษ ซึ่งความมีอิสระในการนับถือศาสนา มีมากว่าท่ีประเทศอาหรับให้โอกาสแก่ประชาชนของตนเอง ซึ่งสาเหตุของความวุ ่นวายการเข ่นฆ่ากันในประเทศอาหรับในปัจจุบันเกิดจากการไม ่ให ้อิสระในความเชื่อ มีความสุดโต่ง มีการบังคับขู่เข็ญและความอยุติธรรมซึ่งอิสลามในความเป็นจริงคือศาสนาแห่งดุลยภาพ ไม่ปล่อยปละละเลย และในขณะเดียวกันก็ไม่สุดโต่ง ส�าหรับทัศนะของผู้อ�านวยการสถาบันวิจัยทางอิสลามศึกษา กระทรวงศาสนสมบัติ ประเทศกาตาร์ ต่อกลุ่มไอซิส หรือที่อ้างตัวว่าเป็นรัฐอิสลามน้ัน ท่านกล่าวว่ากลุ่มไอซิส ขาดความเข้าใจในอิสลาม ไม่ซึมซับในหลักศาสนา การบ่อนท�าลาย การบังคับขู่เข็ญ เป็นการคลั่งลัทธิ เป็นปฏิกิริยาโต้กลับท่ีเกิดจากความรุนแรงอาจมีมือที่มองไม่เห็นมือที่ไม่ประสงค์ดีมาร่วมกระท�า HE. Sheikh Umar Obaid Hasanah กล ่าวชื่นชมมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ไม่ได้ท�าบทบาทของมหาวิทยาลัยแค่ในห้องเรียน แต่เป็นการสร้างความบทบาทต่อสังคม ด้วย ดังเห็นได ้จากการตั้งใจจัดการสัมมนาอิสลามศึกษามาต่อเน่ืองถึง3 ครั้ง ซึ่งประโยชน์ท่ีเกิดข้ึนจากการสัมมนานี้ ไม่ได้เกิดแก่เฉพาะ

    วารสารข่าว ศรีตรังวารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์

    09

  • สัมมนาค่านิยมอิสลามในยุคสมัยแห่งการเปลี่ยนแปลง 23-25 มีนาคม 2558

    วารสารข่าว ศรีตรังวารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์

    010

  • มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดแถลงข่าวการสัมมนานาชาติอิสลามศึกษา “ค่านิยมของอิสลามในยุคสมัยแห่งการเปลี่ยนแปลง” โดยมี ศ.ดร.กนก วงษ์ตระหง่าน ที่ปรึกษาผู้อ�านวยการวิทยาลัยอิสลามศึกษา และคณะกรรมการอ�านวยการจัดการสัมมนานานาชาติฯ ครั้งท่ี 3 รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสุกล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผศ.สมปอง ทองผ่อง รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ดร.ยูโซะ ตาเละ ผู้อ�านวยการวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็นผู้ร่วมแถลงข่าว เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2558 ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

    ผศ.สมปอง ทองผ่อง รองอธิการบดีวิทยาเขตปัตตานี Prof.Dr.Torla Bin Hassan Dean of Centre for FoundationStudies (CFS) International Islamic University Malaysia และ Prof.Dr.H.Munzir Hitami Rector Of University SultanSyarif Kasim Raian ร่วมลงนามในความร่วมมือทางวิชาการด้านการวิจัย การสัมมนา และการศึกษาดูงาน เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2558

    วารสารข่าว ศรีตรังวารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์

    011

  • ส ถ า บั น วั ฒ น ธ ร ร ม ศึ ก ษ า กั ล ย า ณิ วั ฒ น า ม ห า วิ ท ย า ลั ยสงขลานครินทร ์ วิทยาเขตป ัตตานี จัดงานสืบสานประเพณีไทย สรงน�้าพระ รดน�้าด�าหัวผู้ใหญ่ เนื่องในวันสงกรานต์ โดยมี ผศ.สมปองทองผ่อง รองอธิการบดีวิทยาเขตปัตตานี และบุคลากรร่วมกิจกรรมเมื่อวันที่ 9 เมษายน 2558

    วารสารข่าว ศรีตรังวารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์

    012

  • ชมรมเปตอง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตป ั ต ต า นี จั ด แ ข ่ ง ขั น เ ป ต อ ง ชิ ง ถ ้ ว ย พ ร ะ ร า ช ท า น ส ม เ ด็ จพระเจ ้าพ่ีนางเธอเจ ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ครั้งท่ี 26 ประเภททีมคู ่ทั่วไป เพ่ือเชื่อมความสัมพันธ์และสร้างความสามัคคี โดยมี รศ.ดร.ธ�ารงค์ อมรสกุล ประธานชมรมเปตอง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็นประธานพิธีเปิด ซึ่งมีทีมเช้าร่วมการแข่งขันจากจังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา รวม 53 ทีม เมื่อวันท่ี18 เมษายน 2558 ณ สนามเปตอง วิทยาเขตปัตตานี ผลการแข่งขันประกอบด้วยประเภทดิวิชัน 1 ชนะเลิศ ได้แก่ ทีมคลองแห 4 จังหวัดสงขลา ครองถ้วยพระราชทาน เป็นปีที่2 รองชนะเลิศอันดับ 1 ได้แก่ ทีมยะลา 1 จังหวัดยะลา รองชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ ทีมบาโร๊ะ 2 จังหวัดยะลา รองชนะเลิศอันดับ 3 ได้แก่ ทีมบาโร๊ะ 4 จังหวัดยะลา

    ผู ้บริหาร บุคลากร นักศึกษา ม.อ.ป ัตตานี ร ่วมพิธีจุ เทียนชัยถวายพระพรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 ณ ลานศิลปวัฒนธรรม จ.ปัตตานี

    ประเภทดิวิชัน 2 ชนะเลิศ ได้แก่ ทีมไอดี จังหวัดสงขลา รองชนะเลิศอันดับ 1 ได้แก่ ทีมบ้านหวัน 5 จังหวัดสงขลา รองชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ ทีมคลองแห 3 จังหวัดสงขลา และทีมยะลา 6 จังหวัดยะลาประเภทดิวิชัน 3 ชนะเลิศ ได้แก่ ทีมยะลา 5 จังหวัดยะลา รองชนะเลิศอันดับ 1 ได้แก่ ทีมบ้านหวัน 6 จังหวัดสงขลา รองชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ ทีมบาโร๊ะ 5 จังหวัดยะลา และทีมนราฯ 3 จังหวัดนราธิวาส

    วารสารข่าว ศรีตรังวารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์

    013

  • นานาชาติมีมติให้ ไทยเป็นต้นแบบในการอยู่ร่วมกันของผู้คนต่างศาสนา

    นั ก วิ ช า ก า ร 3 1 ป ร ะ เ ท ศ มี ม ติ ใ ห ้ ใ ช ้ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ใ น ก า ร ท� า

    วิ จั ยห ลักสู ต รส� าห รับ นักศึ กษา มุส ลิม เพื่ อ เ ป ็ นต ้ น แบบการจั ดการ

    ศึกษาอิสลามศึกษาท่ัวโลก เนื่องจากเป็นพื้นที่ผู ้คนต่างวัฒนธรรมอยู ่กัน

    อย่างสมานฉันท์

    รศ .ดรชูศั กดิ์ ลิ่ มส กุล อ ธิการบดี มหา วิทยาลั ยสงขลานครินทร ์ กล ่ าวว ่ า

    ก า ร สั ม ม น า ท า ง วิ ช า ก า ร คุ ณ ค ่ า อิ ส ล า มในยุคสมัยแห่งการเปลี่ยนแปลง ในระหว่างวันท่ี 23-25 มีนาคม ที่ผ่านมา มีนักวิชาการจาก 31 ประเทศรวม 600 คน ร่วมสัมมนาระดมแนวคิดในเรื่ องคุณค ่าอิสลามในยุค

    สมัยแห่งการเปลี่ยนแปลง และได้น�าเสนอบทความรวม 70 บทความ มีการเจรจาความร่วมมือทางวิชาการร่วม 20 คู่เจรจา และมีมติจะท�างานด้วยกัน 3 ประเด็นคือ การศึกษา การวิจัย และความร่วมมือในการส่งเสริมให้เกิดสันติสุขในสังคมต่างศาสนา ส่งเสริมให้มีความเข้าใจในศาสนาอิสลามและการประยุกต์ใช้ และในอีก 2 ปีข้างหน้า จะน�าผลการด�าเนินงานมาเสนอในคราวสัมมนานานาชาติ ครั้งที่ 4 ท่ีปัตตานี ศ.ดร.กนก วงศ์ตระหง่าน ท่ีปรึกษาผู้

    อ�านวยการวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า ในการประชุมคณะกรรมการจาก 31ประเทศ สรุปว่า จะต้องสร้างสันติสุข และการเข้าใจในอิสลามและประยุกต์ใช้หลักศาสนา ให้ความส�าคัญกับการปฏิบัติ ที่ประชุมเห็นว่าพ้ืนท่ีประเทศไทยเหมาะกับ

    การปฏิบัติ นานาชาติจึงมีมติแสดงเจตจ�านงที่จะน�าการศึกษาการวิจัย มาทดลองใช้ในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จะเป็นแกนในการด�าเนินการ ท้ังในด้านหลักสูตรและสาระวิชาที่จะสอน ซึ่งประเทศมาเลเซียก็ก�าลังท�าวิจัยเรื่องนี้ เราจะร่วมมือกันเพ่ือสร้างหลักสูตรส�าหรับนักเรียนมุสลิม เพ่ือ�