156
มคอ.2 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร หลักสูตรปรับปรุง .. 2554 ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ

หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554

ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ

Page 2: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 1

สารบัญ

เร่ือง หนา หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป 1) รหัสและชื่อหลักสูตร 3 2) ชื่อปริญญาและสาขาวชิา 3 3) วิชาเอก/ความเชี่ยวชาญเฉพาะหลักสูตร 3 4) จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 3 5) รูปแบบของหลักสูตร 3 6) สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร 4 7) ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรคุณภาพและมาตรฐาน 4 8) อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษา 4 9) ชื่อ นามสกุล เลขประจําตวับัตรประชาชน ตําแหนง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย

ผูรับผิดชอบหลักสูตร

4 10) สถานที่จัดการเรียนการสอน 5 11) สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาที่จําเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผนหลกัสูตร 5 12) ผลกระทบจาก ขอ 11.1 และขอ 11.2 ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวของกับพันธกิจ

ของสถาบัน

7 13) ความสัมพันธกับหลักสตูรอ่ืนที่เปดสอนในคณะ/ภาควชิาอ่ืนของสถาบัน 7

หหมวดที่ 2 ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร 1) ปรัชญา ความสําคัญ และวตัถุประสงคของหลักสูตร 9 2) แผนพัฒนาปรับปรุง 10

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสตูร 1) ระบบการจัดการศึกษา 11 2) การดําเนินการหลักสูตร 11 3) หลักสูตรและอาจารยผูสอน 14 4) องคประกอบเกี่ยวกับประสบการณภาคสนาม (การฝกงาน) 28 5) ขอกําหนดเกี่ยวกับการทําโครงงานหรืองานวิจัย 29

หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู กลยุทธการสอนและการประเมินผล 1) การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา 30 2) การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดาน 30 3) แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา 34

หมวดที่ 5 หลักเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา 1) กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ ในการใหระดับคะแนน (เกรด) 51

Page 3: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 2

สารบัญ (ตอ)

เร่ือง หนา 2) กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 51 3) เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 51

หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย 1) การเตรียมการสําหรับอาจารยใหม 52 2) การพัฒนาความรูและทักษะใหแกคณาจารย 52

หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร 1) การบริหารหลกัสูตร 52 2) การบริหารทรพัยากรการเรียนการสอน 52 3) การบริหารคณาจารย 53 4) การบริหารบคุลากรสนับสนุนการเรียนการสอน 54 5) การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา 54 6) ความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และหรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑติ 54 7) ตัวบงชี้ผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators) 55

หมวดที่ 8 การประเมิน และปรับปรงุการดําเนินการของหลักสูตร 1) การประเมินประสิทธิผลของการสอน 56 2) การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 56 3) การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร 56 4) การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุงหลักสูตรและแผนกลยุทธการสอน 56

ภาคผนวก ก. ระเบียบมหาวทิยาลัยสงขลานครินทร วาดวยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ.ศ. 2552 58 ข. คําอธิบายรายวิชา 74 ค. สาระการเรียนรูวิชาเฉพาะดานตามมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชาวศิวกรรมคอมพิวเตอร 106 ง. ระเบียบคณะวิศวกรรมศาสตร วาดวยการสําเร็จการศกึษา 110 จ. ประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วาดวยเรื่องการเรียนวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานสําหรับ

นักศึกษาทีเ่ขาศึกษาตั้งแตปการศึกษา 2551 เปนตนไป 111

ฉ. เอกสารเปรียบเทียบหลักสตูรเดิมกับหลกัสูตรปรับปรงุ 112 ช. ขอมูลอาจารยประจํา 134 ซ. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร 142 ฌ. ความคิดเห็นและขอเสนอแนะของกรรมการผูทรงคุณวฒิุกับการดําเนินการหรือคําชี้แจงของ

ผูรับผิดชอบหลักสูตร 151

Page 4: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 3

รายละเอียดของหลักสูตร หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวศิวกรรมคอมพิวเตอร หลักสูตรปรบัปรุง พ.ศ.2554

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา วิทยาเขตหาดใหญ คณะวศิวกรรมศาสตร ภาควิชาวศิวกรรมคอมพิวเตอร วิทยาเขตภูเกต็ คณะวศิวกรรมศาสตร ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร

หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป 1. รหัสและชือ่หลักสูตร ภาษาไทย: วิศวกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร ภาษาอังกฤษ: Bachelor of Engineering in Computer Engineering 2. ชื่อปริญญาและสาขาวชิา ชื่อเต็ม (ไทย): วิศวกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวศิวกรรมคอมพิวเตอร ชื่อยอ (ไทย): วศ.บ. (วศิวกรรมคอมพิวเตอร) ชื่อเต็ม (อังกฤษ): Bachelor of Engineering (Computer Engineering) ชื่อยอ (อังกฤษ): B.Eng. (Computer Engineering) 3. วิชาเอก (ถามี) ไมมี 4. จํานวนหนวยกิตทีเ่รียนตลอดหลักสูตร 136 หนวยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรระดบัปริญญาตรี หลักสูตร 4 ป 5.2 ภาษาที่ใช ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในบางรายวชิา 5.3 การรับเขาศึกษา ใหเปนไปตามระเบียบขอบังคับของมหาวทิยาลัยสงขลานครินทรวาดวยการศึกษาขั้นปริญญาตรี 5.4 ความรวมมือกับสถาบันอ่ืน เปนหลักสตูรเฉพาะของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง 5.5 การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศกึษา ใหปริญญาเพยีงสาขาวิชาเดียว

Page 5: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 4

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2554 ปรับปรุงมาจากหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร พ.ศ. 2549 เปดสอนภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2554 7. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพรอมในการเผยแพรคุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคณุวุฒิระดับปรญิญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร ในปการศึกษา 2556 8. อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษา 1) วิศวกรคอมพิวเตอร 2) วิศวกรควบคุมดูแลระบบคอมพิวเตอร 3) นักวิชาการคอมพิวเตอร 4) นักวิจัย 5) ผูพัฒนาซอฟตแวร/วิศวกรซอฟตแวร 6) นักวิเคราะห/ออกแบบ/พัฒนา/บริหาร/จัดการระบบคอมพิวเตอรหรือระบบเครอืขายหรือระบบสารสนเทศ 7) วิศวกรควบคุมคุณภาพ 8) วิศวกรทดสอบระบบ 9) ผูออกแบบ/พัฒนาเว็บไซต 9. ชื่อ เลขประจําตวับัตรประชาชน ตําแหนง และคณุวุฒิการศึกษาของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร วิทยาเขตหาดใหญ 1 นายมิตรชัย จงเชี่ยวชํานาญ รองศาสตราจารย Ph.D. (Electrical Engineering) 3 9299 00030 20 2 2 นางสาววรรณรัช สันตอิมรทัต ผูชวยศาสตราจารย Ph.D. (Computer Science) 3 8399 00403 97 2 3 นางสาวแสงสุรีย วสุพงศอัยยะ อาจารย Ph.D. (Computer Science) 3 9699 00144 61 5 4 นายวชรินทร แกวอภิชยั อาจารย Ph.D. (Electrical and Computer Engineering) 3 9098 00977 09 7 5 นายปญญยศ ไชยกาฬ อาจารย Ph.D. (Computer Engineering) 3 9001 00474 47 7 วิทยาเขตภูเก็ต 1 นายธรรมรัฏฐ สมิตะลัมพะ อาจารย M.Sc (Computer Information Systems) 3 1005 01831 06 5

Page 6: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 5

2 นายอภิชาติ หีดนาคราม อาจารย Ph.D. (Algorithms and Theory) 3 8607 00041 78 5 3 นายวิศรุต จันทระ อาจารย วศ.ม. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) 3 8199 00103 79 1 4 นายยศวีย แกวมณี อาจารย วศ.ม. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) 3 9005 00417 00 4 5 นายฉกาจกิจ แทนชัยกุล อาจารย วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟาโทรคมนาคม) 3 8205 00129 31 0

10. สถานที่จัดการเรียนการสอน คณะวศิวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วทิยาเขตหาดใหญ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเกต็ 11. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาที่จําเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 11.1 สถานการณหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ประเทศไทยไดดําเนินการตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2545-2549 ซ่ึงเนนที่การใชเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสารเปนเครื่องมือเพ่ือยกระดับคุณภาพของสังคมและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศไปแลว ตอมาไดมีการจัดทํานโยบายและทศิทางการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552 – 2556 ผลจากการประเมินศักยภาพและความพรอมของประเทศไทยในดานตางๆ ประเทศไทยถูกจัดในลําดับตอไปน้ี IT Industry Benchmarking ป 2550 (ลาํดับที่ 41 จาก 64 ประเทศ) e-Readiness Ranking ป 2551 (ลําดับที่ 47 จาก 70 ประเทศ) Digital Opportunity Index ป 2548-2549 (ลําดับที่ 82 จาก 181 ประเทศ) Networked Readiness Ranking ป 2550-2551 (ลําดับที่ 40 จาก 127 ประเทศ) เม่ือเปรียบเทียบกับประเทศในอาเซียนพบวาประเทศไทยอยูในลําดับทีต่่ํากวาประเทศสงิคโปร และประเทศมาเลเซีย ในขณะที่ประเทศเวียดนามเริ่มขยับใกลเคยีงกับประเทศไทย สวนมูลคาตลาดของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในประเทศป 2551 ประมาณ 608,000 ลานบาท เปนมูลคาดานการสือ่สารและบริการมากที่สุดประมาณ 72% รองลงมาคือดานฮารดแวรและซอฟตแวรมีคาใกลเคยีงกันประมาณดานละ 12% การพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศจําเปนจะตองอยูบนรากฐานทางเทคโนโลยทีี่ม่ันคง เขมแข็ง และมีประสิทธิภาพ ในสังคมยุคการสื่อสารไรพรมแดน ระบบคอมพิวเตอรทั้งหลายเชือ่มตอเขากับระบบอินเทอรเน็ตไดทุกที่ทุกเวลา กอปรกับราคาฮารดแวรที่ต่าํลง ในขณะทีค่วามตองการดานฮารดแวรและซอฟตแวรมีมากขึ้น ทําใหเกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจในรูปแบบใหม ที่ตองมีพลวัตในการบริหารจัดการสงู จากผลการวิเคราะหพบวาสาเหตุที่ฉุดรั้งอันดับของการพัฒนาเทคโนโลยี

Page 7: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 6

สารสนเทศและการสื่อสารของประเทศทีส่าํคัญคือ ความพรอมดานโครงสรางพื้นฐานที่รองรับดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยที่ทรัพยากรมนุษยเปนโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญที่สดุ ดังน้ันในแผนแมบทดังกลาวจึงมีพันธกิจลําดับแรกคือ การพัฒนากําลังคนที่มีคุณภาพและปริมาณเพยีงพอ เพ่ือเขาสูการเปน ICT Professionals and “Information-Literate” People กลาวโดยสรุปคือ ประเทศไทยยังคงขาดแคลนกําลังคนที่มีความเชีย่วชาญดานวศิวกรรมคอมพิวเตอร ระบบสารสนเทศและสื่อสาร ทั้งเชิงปริมาณและคณุภาพ เพ่ือตอบสนองทศิทางและนโยบายของประเทศดังกลาวการพฒันากําลังคนในระดับอุดมศึกษา จะตองเนนการสรางบุคลากรทักษะสูง (highly skilled professionals) และเนนความสามารถในการใชงานอยางสรางสรรคและเกดิประโยชน เพ่ือการพึ่งพาตนเองได และเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศไทยใหมีความเขมแข็ง โดยผานการสงเสริมการวิจัยและพฒันาตอไป

11.2 สถานการณหรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม บทบาทและความสําคัญการใชงานและความเกี่ยวของกับความกาวหนาของระบบคอมพิวเตอร สารสนเทศและสื่อสารไดสงผลกระทบอยางมากตอวิถชีีวติประจําวันของผูคนในสงัคมและวัฒนธรรมมีเพ่ิมขึ้นเปนลาํดับ ดังน้ันการทําใหสังคมมีความตระหนัก (awareness) ถึงการใชงานเทคโนโลยีและระบบคอมพิวเตอร ระบบสารสนเทศและสื่อสารอยางสรางสรรคและเกิดประโยชน เปนสิ่งที่ตองเรงดําเนินการโดยผานกระบวนการเรียนรูทัง้ในและนอกสถาบันการศึกษา โดยเฉพาะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อใหเกิดธรรมาภิบาลในการบริหารและการบรกิารของภาครัฐ (e-Governance) ทั้งน้ีเน่ืองจากธุรกรรมดานตางๆที่เกิดขึน้จะอยูในรูปอิเล็กทรอนิกสมากขึ้น ตัวอยางเชน การมีกฎหมาย กฎระเบียบการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และการทาํธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ศูนยสารสนเทศชุมชนและระบบบริการขอมูลสําหรับเกษตรกรและประชาชนอยางทั่วถึง เปนตน นอกจากนี้แนวโนมการพัฒนาทางสังคมและวฒันธรรมที่ไมเคยเกิดขึ้นมากอน การสื่อสารขอมูลผานระบบอินเทอรเน็ตอยางแพรหลาย มีผลดีในแงของความรวดเรว็ และความมีประสิทธภิาพ แตสามารถสงผลกระทบเชิงลบตามมาเชน การรั่วไหลของขอมูล การถูกละเมิดความเปนสวนตัว จดหมายขยะ และปญหาการเจาะเขาระบบโดยไมไดรับอนุญาต เปนตน อีกทัง้การกออาชญกรรมดานอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรไดเพ่ิมขึน้อยางตอเน่ือง มีความเสียหายมากขึ้น ไมเฉพาะดานเศรฐกิจ แตยังครอบคลุมถึงความเสยีหายดานสังคมและวัฒนธรรม ดังน้ันการพัฒนากําลังคนจะตองมีความสอดคลองตอการเปลี่ยนแปลงดานสังคมและวัฒนธรรมของประเทศอยางเหมาะสม

ดวยบริบทและความสาํคัญขางตน หลักสูตรนี้คํานึงถึงความเขาใจผลกระทบทางสังคมและวัฒนธรรมของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมกับการสรางบัณฑิตที่มีคณุธรรม จริยธรรม ซ่ึงจะชวยชี้นําและขบัเคลื่อนใหการเปลี่ยนแปลงนี้เปนไปในรูปแบบทีส่อดคลองและเหมาะสมกับวิถีชวีิตของสังคมและวัฒนธรรมไทย

Page 8: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 7

12. ผลกระทบจาก ขอ 11.1 และขอ 11.2 ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวของกับพันธกิจของสถาบัน 12.1 การพัฒนาหลักสูตร จากผลกระทบจากภายในและภายนอก การพัฒนาหลักสูตรจึงเนนเนื้อหาความรูที่เปนพ้ืนฐาน ที่ผูเรียนสามารถนําไปศึกษาเพิ่มเติมและตอยอดได เน้ือหาที่เรียนมีความทันสมัย ทันตอกระแสการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดานคอมพิวเตอร สารสนเทศ และสื่อสาร ในหลักสูตรจะมีทั้งวิชาบรรยายและปฏบิัติ รวมทั้งมีรายวิชาโครงงานที่มุงเนนใหผูเรียนสามารถนําความรูมาสรางเปนผลงานที่ใชงานได ในหลักสูตรจะมีรายวิชาเกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรมในวิชาชีพวิศวกรรมคอมพิวเตอร นอกจากนี้ ผูเรียนจะตองเรียนวิชาดานวิศวกรรมศาสตรอ่ืนๆ วิชาภาษาตางประเทศ วชิาดานสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร และวิชาเลือกเสรี เพ่ิมเติมจากวิชาทางดานวิชาชีพอีกดวย

12.2 ความเกี่ยวของกับพันธกิจของสถาบัน หลักสูตรมีความสอดคลองกับวิสัยทัศนและพันธกิจในการผลิตวิศวกรคอมพิวเตอรที่มีคุณภาพ มีความรอบรู ความคิดริเริ่มสรางสรรค อีกทั้งสงเสริมคณุธรรม จริยธรรม การบริหารหลักสูตรดําเนินการโดยภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวศิวกรรมศาสตร ในดานการจัดการเรียนการสอน น้ัน จะมีความรวมมือกับภาควิชาอ่ืนในคณะวิศวกรรมศาสตร และคณะอื่นๆ เชน คณะวิทยาศาสตร และ คณะศลิปศาสตร เปนตน โดยจะมีบางรายวิชาที่ผูเรียนจะตองเรียนวิชาจากภาควิชา และคณะอื่นๆ เหลานั้น นอกจากนี้วิชาแนะนําการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรเบื้องตน ยังเปนรายวิชาบังคบัประเภทรายวิชาศึกษาทั่วไปใหกับนักศึกษาทุกสาขาวิชาของคณะวิศวกรรมศาสตรดวย

13. ความสัมพันธ (ถามี) กับหลักสูตรอ่ืนที่เปดสอนในคณะ/ภาควิชาอ่ืนของสถาบัน 13.1 กลุมวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนีท้ี่เปดสอนโดยคณะ/ภาควชิา/หลักสูตรอ่ืน จํานวน 19 รายวิชา ไดแก 1) คณะวิทยาศาสตร จํานวน 10 รายวิชา คือ 332-103 ฟสิกสทั่วไป 1 3(3-0-6) General Physics I 332-113 ปฏิบัติการฟสกิสทั่วไป 1 1(0-2-2) General Physics Laboratory I 332-104 ฟสิกสทั่วไป 2 3(3-0-6) General Physics II 332-114 ปฏิบัติการฟสกิสทั่วไป 2 1(0-2-2) General Physics Laboratory II 324-103 เคมีทั่วไป 3(3-0-6) General Chemistry

Page 9: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 8

325-103 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 1(0-3-0) General Chemistry Laboratory 322-101 คณิตศาสตรพ้ืนฐาน 1 3(3-0-6) Basic Mathematics I 322-102 คณิตศาสตรพ้ืนฐาน 2 3(3-0-6) Basic Mathematics II 322-201 คณิตศาสตรพ้ืนฐาน 3 3(3-0-6) Basic Mathematics III 340-326 วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม 3(3-0-6) Science, Technology, and Society

2) คณะศิลปศาสตร จํานวน 5 รายวิชา คอื *890-100 ภาษาอังกฤษเตรียมความพรอม 3(1-4-4) Preparatory Foundation English 890-101 การฟงและพูดภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(2-2-5) Fundamental English Listening and Speaking 890-102 การอานและเขียนภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(3-0-6) Fundamental English Reading and Writing 895-171 ภูมิปญญาในการดําเนินชีวติ 3(2-2-5) Wisdom of Living xxx-xxx พลศึกษา 1(x-y-z) Physical Education Course

*หมายเหตุ การลงทะเบียนเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษเตรยีมความพรอมและรายวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชาภาษา (บังคับ) ใหเปนไปตามประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (ภาคผนวก จ)

3) สวนกลางมหาวิทยาลัย จํานวน 1 รายวิชา คือ 001-131 สุขภาวะกายและจิต 3(2-2-5) Healthy Body and Mind

4) สวนกลางคณะวศิวกรรมศาสตร จํานวน 1 รายวิชา คือ 200-101 แนะนําวิศวกรรมศาสตร 1(1-0-2) Introduction to Engineering

5) คณะวิศวกรรมศาสตร ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล จํานวน 1 รายวิชา คือ 215-111 เขียนแบบวศิวกรรม 1 3(2-3-4) Engineering Drawing I

Page 10: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 9

6) คณะวิศวกรรมศาสตร ภาควิชาวิศวกรรมโยธา จํานวน 1 รายวิชา คือ 220-102 กลศาสตรวศิวกรรม 1 3(3-0-6) Engineering Mechanics I

13.2 กลุมวิชา/รายวิชาในหลักสูตรทีเ่ปดสอนใหภาควิชา/หลักสูตรอ่ืนตองมาเรียน จํานวน 2 รายวิชา ไดแก 242-101 แนะนําการเขยีนโปรแกรมคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Introduction to Computer Programming 242-207 พ้ืนฐานการเขยีนโปรแกรม 1 3(2-2-5) Programming Fundamentals I

13.3 กลุมวิชา/รายวิชาเพื่อบริการใหภาควิชา/หลกัสูตรอ่ืน ไมมี

13.4 การบริหารจัดการ วิธีการบริหารจัดการกรณีรายวิชาทีเ่ปดสอนใหโดยหรือจากคณาจารยสาขาอื่นน้ัน อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรประสานงานกับอาจารยผูสอน ดานเนื้อหาสาระใหสอดคลองกับมาตรฐานผลการเรียนรู

หมวดที่ 2 ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร

1. ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร 1.1 ปรัชญา มุงเนนผลิตบณัฑิตสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร ใหมีความรู ความสามารถ ทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ ในดานวิศวกรรมซอฟตแวร เทคโนโลยีสารสนเทศและสือ่สาร ระบบคอมพิวเตอร และระบบควบคุม เพ่ือใหเปนวิศวกรคอมพิวเตอรที่มีความสามารถในการวิเคราะห การสังเคราะห การแกปญหา การประยุกต และการวิจัย รวมทั้งเปนวิศวกรที่มีคุณธรรมและจริยธรรม 1.2 ความสําคัญ เปนหลักสตูรที่ตอบสนองความตองการและการพัฒนาของเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและการนําความรูประยุกตใชกบังานในอุตสาหกรรมและการพัฒนาทางวิชาการ 1.3 วัตถุประสงค หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวศิวกรรมคอมพิวเตอร ซ่ึงเปนหลักสตูรปรับปรุง พ.ศ. 2554 มีวัตถุประสงคเพ่ือผลิตบัณฑติใหมีคุณสมบัติดังตอไปน้ี 1. มีคุณธรรม จริยธรรม มีสัมมาคารวะ รูจักกาลเทศะ และทําหนาที่เปนพลเมืองดี รับผิดชอบตอตนเอง วิชาชพี และตอสังคมและปฏิบตัิตนภายใตจรรยาบรรณวิชาชพีดวยความซือ่สัตยสุจริต และเสียสละ

Page 11: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 10

2. มีความรูในศาสตรที่เกี่ยวของทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบตัิ สามารถประยุกตใชศาสตรดังกลาวอยางเหมาะสมเพื่อการประกอบวิชาชีพของตน และการศึกษาตอในระดับสูงขึ้นไปได 3. มีความใฝรูในองคความรูและเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาอยางตอเน่ือง สามารถพัฒนาองคความรูที่ตนมีอยูใหสูงขึ้นไป เพ่ือพัฒนาตนเอง พัฒนางาน พัฒนาสังคมและประเทศชาติ 4. คิดเปน ทําเปน มีความคิดริเริ่มสรางสรรค และสามารถเลอืกวิธีแกไขปญหาไดอยางเหมาะสม 5. มีมนุษยสัมพันธและมีความสามารถในการทาํงานรวมกับผูอ่ืน มีทักษะในดานการทํางานเปนหมูคณะ สามารถบริหารจัดการการทํางานไดอยางเหมาะสม และเปนผูมีทัศนคตทิี่ดีในการทํางาน 6. มีความสามารถในการติดตอสื่อสาร และใชภาษาไทย ภาษาตางประเทศ และศัพททางเทคนิค ในการติดตอสื่อสาร รวมถึงการใชเทคโนโลยีสารสนเทศไดเปนอยางดี 2. แผนพัฒนาปรับปรุง คาดวาจะดําเนินการแลวเสร็จภายในรอบการศึกษา 5 ป แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ หลักฐาน/ตัวบงชี ้- ปรับปรุงหลักสูตรตามเกณฑมาตรฐานของ สกอ.

- ติดตามการปรับปรุงหลักสตูรอยางสม่ําเสมอ

- ประชุม/สัมมนาผูรับผิดชอบหลักสูตรอาจารยประจําหลักสูตร

- ติดตามความกาวหนาขององคความรูในวิชาชีพ

- รายงานการประเมินหลักสตูร - หลักสูตรที่มีการปรับปรุงตามเกณฑ สกอ.

- เอกสารการประชุม - รายวิชาในหลกัสูตรที่สอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของวิชาชีพ

- สงเสริมการจัดการเรียนการสอนใหเปนการเรียนรูจากการปฏิบัติจริง

- จัดใหรายวิชาพื้นฐานของสาขามีรายวิชาปฏิบัต ิ

- ติดตามสถานะความพรอมของครุภัณฑดานการเรียนการสอนและทําแผนจัดซื้อทุก 5 ป

- จัดใหมีการสงเสริมการทําวจัิย เพ่ือกอใหเกิดองคความรูใหม

- จํานวนรายวิชาพื้นฐานที่มีสวนของการเรียนรูจากการปฏิบัตคิวบคู

- แผนจัดซื้อครุภัณฑตามความตองการของสาขา

- จํานวนอาจารยที่ทํางานวิจัย

- ปรับปรุงวธิีการวัดและการประเมินผล

- กําหนดใหมีคณะกรรมการวิเคราะหขอสอบในทุกรายวิชา

- กําหนดเกณฑในการวัดและประเมินแตละรายวิชา

- รายงานการวิเคราะหขอสอบ - ผลการวิเคราะหขอสอบ - ความพึงพอใจของผูเรียนตอระบบการวัดและประเมินผล

Page 12: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 11

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสตูร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ การจัดการศึกษาเปนแบบระบบทวิภาค ขอกําหนดตางๆ เปนไปตามระเบยีบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วาดวยการศึกษาขั้นปรญิญาตรี (ภาคผนวก ก)

1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอน มีการจัดการศึกษาภาคฤดูรอน ทั้งน้ีเปนไปตามแนวปฏิบตัิในการเปดรายวชิา และการจดัการศึกษาภาคฤดูรอนของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

1.3 การเทียบเคียงหนวยกิตในระบบทวิภาค ไมมี

2. การดําเนินการหลักสูตร 2.1 วัน-เวลาในการดําเนินการเรียนการสอน ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – กันยายน ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนตุลาคม – กุมภาพันธ ภาคการศึกษาฤดูรอน เดือนมีนาคม – พฤษภาคม 2.2 คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) สําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการหรือเทียบเทา 2) ผานการคัดเลือกตามเกณฑหรือเปนไปตามระเบียบขอบังคบัของการคัดเลือกของมหาวิทยาลัยสงขลานครนิทร วาดวยการศึกษาขั้นปรญิญาตรี 3) การเทียบโอนผลการเรียนรูใหเปนไปตามระเบียบขอบังคับของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรวาดวยการศึกษาขั้นปริญญาตร ี 2.3 ปญหาของนักศึกษาแรกเขา นักศึกษามีความรูและทักษะพื้นฐานดานภาษาอังกฤษคอนขางต่ํา 2.4 กลยุทธในการดําเนินการเพื่อแกไขปญหา/ขอจํากัดของนักศึกษาในขอ 2.3 นักศึกษาที่มีผลการคะแนนภาษาอังกฤษต่ํากวาเกณฑที่มหาวิทยาลัยสงขลานครนิทรกําหนด ใหลงทะเบียนเรียนรายวชิาภาษาอังกฤษเตรียมความพรอม 2.5 แผนการรับนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาในระยะ 5 ป วิทยาเขตหาดใหญ

จํานวนนักศกึษาแตละปการศึกษา จํานวนนักศกึษา 2554 2555 2556 2557 2558

ชั้นปที่ 1 130 130 130 130 130

Page 13: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 12

ชั้นปที่ 2 - 130 130 130 130 ชั้นปที่ 3 - - 130 130 130 ชั้นปที่ 4 - - - 130 130 รวม 130 260 390 520 520

คาดวาจะจบการศึกษา - - - 130 130

วิทยาเขตภูเก็ต จํานวนนักศกึษาแตละปการศึกษา จํานวนนักศกึษา

2554 2555 2556 2557 2558 ชั้นปที่ 1 120 120 120 120 120

ชั้นปที่ 2 - 120 120 120 120 ชั้นปที่ 3 - - 120 120 120

ชั้นปที่ 4 - - - 120 120 รวม 120 240 360 480 480

คาดวาจะจบการศึกษา - - - 120 120 2.6 งบประมาณตามแผน 2.6.1 งบประมาณรายรับ (หนวยบาท) วิทยาเขตหาดใหญ

ปงบประมาณ รายละเอียดรายรับ 2554 2555 2556 2557 2558

คาบํารุงการศกึษา 358,176 1,504,339 2,722,138 3,725,030 3,725,030 คาลงทะเบียน 1,446,250 2,892,500 4,338,750 5,785,000 5,785,000 เงินอุดหนุนจากรัฐบาล - - - - -

รวมรายรับ 1,804,426 4,396,839 7,060,888 9,510,030 9,510,030

วิทยาเขตภูเก็ต ปงบประมาณ รายละเอียดรายรับ

2554 2555 2556 2557 2558 คาบํารุงการศกึษา 330,624 1,388,621 2,512,742 3,438,490 3,438,490 คาลงทะเบียน 3,204,000 6,408,000 9,612,000 12,816,000 12,816,000 เงินอุดหนุนจากรัฐบาล - - - - -

รวมรายรับ 3,534,624 7,796,621 12,124,742 16,254,490 16,254,490

Page 14: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 13

2.6.2 งบประมาณรายจาย (หนวยบาท) วิทยาเขตหาดใหญ

ปงบประมาณ หมวดเงิน 2554 2555 2556 2557 2558

ก. งบดําเนินการ 1. คาใชจายบคุลากร 3,781,869 7,752,831 11,919,978 16,290,637 16,697,903 2. คาใชจายดําเนินงาน (ไมรวม 3)

4,201,803 8,613,695 13,243,557 18,099,527 18,552,015

3. ทุนการศึกษา 390,000 780,000 1,170,000 1,560,000 1,560,000 4. รายจายระดับมหาวิทยาลัย

1,950,000 3,997,500 6,146,156 8,399,747 8,609,741

รวม (ก) 10,323,672 21,144,027 32,479,691 44,349,911 45,419,659 ข.งบลงทุน คาครุภัณฑ 1,284,168 2,632,544 4,047,537 5,531,634 5,669,925

รวม (ข) 1,284,168 2,632,544 4,047,537 5,531,634 5,669,925 รวม (ก) + (ข) 11,607,840 23,776,571 36,527,228 49,881,545 51,089,584 จํานวนนักศึกษา 130 260 390 520 520 คาใชจายตอหัวนักศึกษา 89,291 91,448 93,660 95,926 98,249

ประมาณการคาใชจายตอหัวนักศึกษาตอหลักสูตร = 374,804 บาท

วิทยาเขตภูเก็ต ปงบประมาณ หมวดเงิน

2554 2555 2556 2557 2558 ก. งบดําเนินการ 1. คาใชจายบคุลากร 4,363,695 8,945,575 13,753,821 18,796,889 19,266,811 2. คาใชจายดําเนินงาน (ไมรวม 3)

4,848,234 9,938,879 15,281,027 20,884,070 21,406,172

3. ทุนการศึกษา - - - - - 4. รายจายระดับมหาวิทยาลัย

1,800,000 3,690,000 5,673,375 7,753,613 7,947,453

รวม (ก) 11,011,929 22,574,454 34,708,223 47,434,571 48,620,436 ข.งบลงทุน คาครุภัณฑ 1,185,386 2,430,041 3,736,188 5,106,124 5,233,777

รวม (ข) 1,185,386 2,430,041 3,736,188 5,106,124 5,233,777

Page 15: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 14

รวม (ก) + (ข) 12,197,315 25,004,495 38,444,411 52,540,695 53,854,212 จํานวนนักศึกษา 120 240 360 480 480 คาใชจายตอหัวนักศึกษา 101,644 104,185 106,790 109,460 112,196

ประมาณการคาใชจายตอหัวนักศึกษาตอหลักสูตร = 427,356 บาท 2.7 ระบบการศึกษา ระบบการศึกษาเปนแบบชั้นเรียน ตามระเบียบมหาวิทยาลยัสงขลานครินทร วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี (ภาคผนวก ก) 2.8 การเทียบโอนหนวยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนขามสถาบันอุดมศึกษา (ถามี) ใหเปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วาดวยการศึกษาขั้นปรญิญาตรี (ภาคผนวก ก) 3. หลักสูตรและอาจารยผูสอน 3.1 หลักสูตร 3.1.1 จํานวนหนวยกิต รวมตลอดหลกัสูตร 136 หนวยกิต 3.1.2 โครงสรางหลักสูตร ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต 1) กลุมวิชาภาษา 9 หนวยกิต 2) กลุมวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 11 หนวยกิต 3) กลุมวิชาวทิยาศาสตรและคณติศาสตรทัว่ไป 10 หนวยกิต ข. หมวดวิชาเฉพาะ 100 หนวยกิต 1) กลุมวิชาเฉพาะพื้นฐาน - กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร 17 หนวยกิต - กลุมวิชาแกน 7 หนวยกิต - กลุมวิชาพื้นฐาน 6 หนวยกิต 2) กลุมวิชาชีพ - บังคับวชิาชีพ 52 หนวยกติ - บังคับเลือกแขนงวิชาชีพ 12 หนวยกิต - เลือกวิชาชีพ 6 หนวยกิต ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต ง. ฝกงาน ไมนอยกวา 320 ชั่วโมง

Page 16: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 15

3.1.3 รายวิชา ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต 1) กลุมวิชาภาษา 9 หนวยกิต - วิชาบงัคับ 890-101 การฟงและพูดภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(2-2-5) Fundamental English Listening and Speaking 890-102 การอานและเขียนภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(3-0-6) Fundamental English Reading and Writing และใหเลือกเรยีนจากรายวิชาภาษาอังกฤษที่เปดสอนในมหาวิทยาลยัสงขลานครนิทร ไมนอยกวา 3 หนวยกิต

2) กลุมวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร 11 หนวยกิต - วิชาบงัคับ 001-131 สุขภาวะกายและจิต 3(2-2-5) Healthy Body and Mind 242-001 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 1(0-0-3) Co-Curricular Activities 895-171 ภูมิปญญาในการดําเนินชีวติ 3(2-2-5) Wisdom of Living และใหเลือกเรยีนจากรายวิชาทางสังคมศาสตรและ/หรือมนุษยศาสตรที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร จํานวนไมนอยกวา 3 หนวยกิต และใหเลือกเรียนจากรายวิชาพลศึกษาที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไมนอยกวา 1 หนวยกิต

3) กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรทัว่ไป 10 หนวยกิต - วิชาบงัคับ 242-101 แนะนําการเขยีนโปรแกรมคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Introduction to Computer Programming 324-103 เคมีทั่วไป 3(3-0-6) General Chemistry 325-103 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 1(0-3-0) General Chemistry Laboratory 340-326 วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม 3(3-0-6) Science, Technology, and Society

Page 17: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 16

ข. หมวดวิชาเฉพาะ 100 หนวยกิต 1) กลุมวิชาเฉพาะพื้นฐาน 30 หนวยกิต - กลุมวิชาวทิยาศาสตรและคณิตศาสตร 322-101 คณิตศาสตรพ้ืนฐาน 1 3(3-0-6) Basic Mathematics I 322-102 คณิตศาสตรพ้ืนฐาน 2 3(3-0-6) Basic Mathematics II 322-201 คณิตศาสตรพ้ืนฐาน 3 3(3-0-6) Basic Mathematics III 332-103 ฟสิกสทั่วไป 1 3(3-0-6) General Physics I 332-104 ฟสิกสทั่วไป 2 3(3-0-6) General Physics II 332-113 ปฏิบัติการฟสกิสทั่วไป 1 1(0-2-2) General Physics Laboratory I 332-114 ปฏิบัติการฟสกิสทั่วไป 2 1(0-2-2) General Physics Laboratory II

- กลุมวิชาแกน 200-101 แนะนําวิศวกรรมศาสตร 1(1-0-2) Introduction to Engineering 215-111 เขียนแบบวศิวกรรม 1 3(2-3-4) Engineering Drawing I 220-102 กลศาสตรวศิวกรรม 1 3(3-0-6) Engineering Mechanics I

- กลุมวิชาพื้นฐาน 242-205 วงจรไฟฟา 3(3-0-6) Electric Circuits 242-212 ความนาจะเปนและสถติ ิ 2(2-0-4) Probability and Statistics 242-303 ประเด็นทางจริยธรรม กฎหมาย และสังคมของวิชาชีพคอมพิวเตอร 1(1-1-1) Ethical, Legal and Social Issues in Computer Profession

Page 18: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 17

2) กลุมวิชาชพี 70 หนวยกิต - บังคับวชิาชพี 52 หนวยกิต 242-201 ปฏิบัติการซอฟตแวร 1 1(0-3-0) Computer Engineering Software Laboratory I 242-202 ปฏิบัติการฮารดแวร 1 1(0-3-0) Computer Engineering Hardware Laboratory I 242-203 ปฏิบัติการซอฟตแวร 2 1(0-3-0) Computer Engineering Software Laboratory II 242-204 ปฏิบัติการฮารดแวร 2 1(0-3-0) Computer Engineering Hardware Laboratory II 242-206 แนะนําเครือขายคอมพิวเตอร 2(2-0-4) Introduction to Computer Networks 242-207 พ้ืนฐานการเขยีนโปรแกรม 1 3(2-2-5) Programming Fundamentals I 242-208 ดิจิตอลตรรกะและการออกแบบ 3(3-0-6) Digital Logic and Design 242-209 อิเล็กทรอนิกสพ้ืนฐาน 3(3-0-6) Basic Electronics 242-210 พ้ืนฐานการเขยีนโปรแกรม 2 2(2-0-4) Programming Fundamentals II 242-211 วิศวกรรมซอฟตแวร 2(2-0-4) Software Engineering 242-213 คณิตศาสตรดิสครีต 2(2-0-4) Discrete Mathematics 242-214 การสื่อสารขอมูล 2(2-0-4) Data Communications 242-301 ปฏิบัติการวศิวกรรมคอมพิวเตอรขั้นสูง 1 1(0-3-0) Advanced Computer Engineering Laboratory I 242-302 ปฏิบัติการวศิวกรรมคอมพิวเตอรขั้นสูง 2 1(0-3-0) Advanced Computer Engineering Laboratory II 242-304 ระบบปฏิบตัิการคอมพิวเตอร 2(2-0-4) Computer Operating Systems 242-305 ระบบฐานขอมูล 3(3-0-6) Database Systems

Page 19: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 18

242-306 การประมวลผลบนอุปกรณเคลื่อนที่ในเครอืขายไรสาย 2(2-0-4) Wireless and Mobile Computing 242-307 สถาปตยกรรมคอมพิวเตอรและระบบ 3(3-0-6) Computer Architecture and Organization 242-308 เตรียมการโครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2(0-2-4) Computer Engineering Project Preparation 242-309 ไมโครคอนโทรลเลอรและการเชื่อมตอ 3(3-0-6) Microcontroller and Interfacing 242-310 แนะนําขั้นตอนวิธีและความซับซอน 2(2-0-4) Introduction to Algorithms and Complexity 242-311 การคํานวณแบบแมขาย/ลกูขายและเทคโนโลยีเว็บ 2(2-0-4) Client/Sever Computing and Web Technologies 242-312 ความปลอดภยัคอมพิวเตอร 2(2-0-4) Computer Security 242-401 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 1 3(0-6-3) Computer Engineering Project I 242-402 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2 3(0-6-3) Computer Engineering Project II

- บังคับเลือกแขนงวิชาชีพ 12 หนวยกิต นักศึกษาจะตองเลือกลงทะเบียนเรียนรายวิชาทั้ง 12 หนวยกิต จากรายวิชาแขนงวิชาชีพของแขนงใดแขนงหนึ่งในสี่แขนงตอไปน้ี (1) แขนงวิชาวิศวกรรมสารสนเทศ (Information Engineering) 242-320 ระเบียบวธิีการพัฒนาซอฟตแวร 3(3-0-6) Software Development Methodologies 242-321 สถาปตยกรรมการออกแบบและวิศวกรรมสําหรับระบบอัจฉริยะ 3(3-0-6) Design Architecture and Engineering for Intelligent Systems 242-420 วิศวกรรมเวบ็และการประยกุตใชงาน 3(3-0-6) Web Engineering and Applications 242-421 ระบบสารสนเทศและการจัดการ 3(3-0-6) Information System and Management

(2) แขนงวิชาวิศวกรรมออกแบบระบบคอมพิวเตอร (Computer System Design Engineering) 242-340 การออกแบบวงจรรวมขนาดใหญมาก 3(3-0-6) VLSI Design

Page 20: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 19

242-341 การออกแบบระบบฝงตวั 3(3-0-6) Embedded System Design 242-440 ระบบปฏิบตัิการเวลาจริง 3(3-0-6) Real-time Operating Systems 242-441 สถาปตยกรรมและการจัดองคกรคอมพิวเตอรขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Computer Architecture and Organization

(3) แขนงวิชาวิศวกรรมเครอืขายคอมพิวเตอรและสื่อสาร (Computer Networks and Communications Engineering) 242-360 การจําลองและการวิเคราะหการสื่อสารเครือขาย 3(3-0-6) Modelling and Analysis for Network Communications 242-361 วิศวกรรมอินเทอรเน็ต 3(3-0-6) Internet Engineering 242-460 เครือขายพหสุื่อ 3(3-0-6) Multimedia Networks 242-461 การสื่อสารแบบแบนดกวางและเครือขายความเร็วสูง 3(3-0-6) Broadband and High Speed Networks

(4) แขนงวิชาวิศวกรรมควบคุมดวยคอมพิวเตอรและหุนยนต (Computer Control Systems and Robotics Engineering) 242-380 การประมวลผลสัญญาณและภาพ 3(3-0-6) Signals and Image Processing 242-381 ระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอร 3(3-0-6) Computer Control Systems 242-480 หลักการหุนยนต 3(3-0-6) Principle of Robotics 242-481 จักรกลอัจฉริยะ 3(3-0-6) Machine Intelligence - รายวิชาเลือกวิชาชีพ 6 หนวยกิต นักศึกษาจะตองลงทะเบียนเรียนวิชาเลือกชีพไมนอยกวา 6 หนวยกติ โดยเลือกจากรายวิชาในหัวขอยอยตอไปน้ี หรือจากรายวิชาบังคับเลือกแขนงวชิาชีพ

(1) แขนงวิชาวิศวกรรมสารสนเทศ (Information Engineering) 242-422 การบริหารจัดการโครงการซอฟตแวร 3(3-0-6) Software Project Management

Page 21: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 20

242-423 วิศวกรรมระบบซอฟตแวรเชิงบริการ 3(3-0-6) Service-Oriented Software System Engineering 242-424 การประมวลผลขอมูลและองคความรูแบบกาวหนา 3(3-0-6) Advanced Information and Knowledge Processing 242-425 เหมืองขอมูล 3(3-0-6) Data Mining 242-426 ขั้นตอนวธิีขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Algorithms 242-427 คอมพิวเตอรแอนิเมชันและเกม 3(3-0-6) Computer Animation and Game 242-428 การปฏิสัมพันธระหวางมนษุยและคอมพิวเตอร 3(3-0-6) Human-computer Interaction 242-429 การรักษาความปลอดภัยโปรแกรมประยุกตเวบ็และระบบสารสนเทศ 3(3-0-6) Security in Web Applications and Information Systems 242-438 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมสารสนเทศ 3(2-2-5) Special Problem in Information Engineering 242-439 หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมสารสนเทศ 3(3-0-6) Special Topic in Information Engineering

(2) แขนงวิชาวิศวกรรมออกแบบระบบคอมพิวเตอร (Computer System Design Engineering) 242-442 การจัดกําหนดการทรัพยากรและการจัดการ 3(3-0-6) Resource Scheduling and Management 242-443 สถาปตยกรรมและทฤษฏีการทดสอบวงจรรวมขนาดใหญมาก 3(3-0-6) Architectures and VLSI Test Principles 242-444 เครือขายไรสายแบบเฉพาะกจิและตวัตรวจรู: สถาปตยกรรมและโพรโทคอล 3(3-0-6) Wireless Ad hoc Sensor Networks: Architectures and Protocols 242-445 การออกแบบรวมฮารดแวรและซอฟตแวร 3(3-0-6) Hardware and Software Codesign 242-446 ระบบแบบกระจายและขั้นตอนวิธ ี 3(3-0-6) Distributed Systems and Algorithms 242-447 การเขียนโปรแกรมและสถาปตยกรรมมัลตคิอร 3(3-0-6) Multi-core Programming and Architecture 242-448 การประมวลผลทางคณิตศาสตรและขั้นตอนวิธ ี 3(3-0-6) Computer Arithmetic and Algorithms

Page 22: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 21

242-449 ไมโครโพรเซสเซอรสมรรถนะสูง 3(3-0-6) High Performance Microprocessors 242-458 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมออกแบบระบบคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Special Problem in Computer System Design Engineering 242-459 หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมออกแบบระบบคอมพิวเตอร 3(3-0-6) Special Topic in Computer System Design Engineering

(3) แขนงวิชาวิศวกรรมเครือขายคอมพิวเตอรและสื่อสาร (Computer Networks and Communications Engineering) 242-462 การออกแบบและบริหารระบบเครือขายคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Computer Network Design, Operation and Management 242-463 การบริการรุนตอไปของการสื่อสารเครือขาย 3(3-0-6) Next Generation Services of Network Communications 242-464 การออกแบบและพัฒนาการสื่อสารเครือขาย 3(3-0-6)

Design and Development of Network Communications 242-465 ความปลอดภยัคอมพิวเตอรขั้นสูง 3(3-0-6)

Advanced Network Security 242-478 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมเครือขายคอมพิวเตอรและสือ่สาร 3(2-2-5) Special Problem in Computer Networks and Communications Engineering 242-479 หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมเครือขายคอมพิวเตอรและสือ่สาร 3(3-0-6) Special Topic in Computer Networks and Communications Engineering

(4) แขนงวิชาวิศวกรรมควบคุมดวยคอมพิวเตอรและหุนยนต (Computer Control Systems and Robotics Engineering) 242-482 ตัวตรวจรูและการปรับสภาพสัญญาณจากตัวตรวจรู 3(3-0-6) Sensors and Sensor Signal Conditioning 242-483 การประมวลผลสัญญาณเสยีงพูด 3(3-0-6)

Speech Processing 242-484 สวนควบคุมเคร่ืองยนตประเภทการสันดาปภายใน 3(3-0-6) Internal Combustion Engine Control Unit 242-485 แนะนําวิธีการแบงแยก 3(3-0-6) Introduction to Pattern Classifier 242-486 คอมพิวเตอรวิทศัน ทฤษฏแีละปฏบิัต ิ 3(3-0-6) Computer Vision Theory and Practice

Page 23: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 22

242-487 แนะนําวิธีการจําลองคอมพิวเตอร 3(3-0-6) Introduction to Computer Simulation Methods 242-498 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอรและหุนยนต 3(3-0-6) Special Problem in Computer Control Systems and Robotics Engineering 242-499 หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอรและหุนยนต 3(3-0-6) Special Topic in Computer Control Systems and Robotics Engineering ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาทีเ่ปดสอนในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต ง. ฝกงาน 0 หนวยกิต 242-400 การฝกงาน ไมนอยกวา 320 ชั่วโมง Practical Training หมายเหตุ ในกรณีที่มีเหตจํุาเปนและเม่ือไดรับความเห็นชอบจากคณะวิศวกรรมศาสตรกอนแลวเปนการลวงหนา นักศึกษาอาจลงทะเบยีนเรียนรายวิชาในหลักสูตรหรอืรายวิชาที่เทยีบเทากบัรายวิชาในหลักสูตร ซ่ึงเปดสอนโดยคณะ/สถาบันอุดมศึกษาอื่น โดยใหสามารถนับหนวยกติรายวชิาดังกลาวเปนหนวยกิตตามหลักสูตรได

Page 24: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 23

3.1.4 แสดงแผนการศึกษา ปที่ 1 นักศึกษากลุมที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต 001-131 สุขภาวะกายและจิต 3(2-2-5) 200-101 แนะนําวิศวกรรมศาสตร 1(1-0-2) 242-101 แนะนําการเขยีนโปรแกรมคอมพิวเตอร 3(2-2-5) 322-101 คณิตศาสตรพ้ืนฐาน 1 3(3-0-6) 332-103 ฟสิกสทั่วไป 1 3(3-0-6) 332-113 ปฏิบัติการฟสกิสทั่วไป 1 1(0-2-2) 890-101 การฟงและพูดภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(2-2-5)

รวม 17(13-8-31) ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต 215-111 เขียนแบบวศิวกรรม 1 3(2-3-4)

220-102 กลศาสตรวศิวกรรม 1 3(3-0-6) 322-102 คณิตศาสตรพ้ืนฐาน 2 3(3-0-6) 324-103 เคมีทั่วไป 3(3-0-6) 325-103 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 1(0-3-0) 332-104 ฟสิกสทั่วไป 2 3(3-0-6) 332-114 ปฏิบัติการฟสกิสทั่วไป 2 1(0-2-2) 340-326 วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม 3(3-0-6)

รวม 20(17-8-36)

Page 25: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 24

ปที่ 1 นักศึกษากลุมที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต 001-131 สุขภาวะกายและจิต 3(2-2-5) 215-111 เขียนแบบวศิวกรรม 1 3(2-3-4) 322-101 คณิตศาสตรพ้ืนฐาน 1 3(3-0-6) 324-103 เคมีทั่วไป 3(3-0-6) 332-103 ฟสิกสทั่วไป 1 3(3-0-6) 332-113 ปฏิบัติการฟสกิสทั่วไป 1 1(0-2-2) 890-100 ภาษาอังกฤษเตรียมความพรอม 3(1-4-4)

รวม 19(14-11-33) ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต 200-101 แนะนําวิศวกรรมศาสตร 1(1-0-2) 220-102 กลศาสตรวศิวกรรม 1 3(3-0-6) 242-101 แนะนําการเขยีนโปรแกรมคอมพิวเตอร 3(2-2-5) 322-102 คณิตศาสตรพ้ืนฐาน 2 3(3-0-6) 325-103 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 1(0-3-0) 332-104 ฟสิกสทั่วไป 2 3(3-0-6) 332-114 ปฏิบัติการฟสกิสทั่วไป 2 1(0-2-2) 340-326 วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม 3(3-0-6) 890-101 การฟงและพูดภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(2-2-5)

รวม 21(17-9-38) *หมายเหตุ การลงทะเบียนเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษเตรยีมความพรอมและรายวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชาภาษา (บังคับ) ใหเปนไปตามประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (ภาคผนวก จ)

Page 26: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 25

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต 242-201 ปฏิบัติการซอฟตแวร 1 1(0-3-0) 242-202 ปฏิบัติการฮารดแวร 1 1(0-3-0) 242-205 วงจรไฟฟา 3(3-0-6) 242-206 แนะนําเครือขายคอมพิวเตอร 2(2-0-4) 242-207 พ้ืนฐานการเขยีนโปรแกรม 1 3(2-2-5) 242-208 ดิจิตอลตรรกะและการออกแบบ 3(3-0-6) 322-201 คณิตศาสตรพ้ืนฐาน 3 3(3-0-6) 890-102 การอานและเขียนภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(3-0-6)

รวม 19(16-8-33) ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต 242-203 ปฏิบัติการซอฟตแวร 2 1(0-3-0) 242-204 ปฏิบัติการฮารดแวร 2 1(0-3-0) 242-209 อิเล็กทรอนิกสพ้ืนฐาน 3(3-0-6) 242-210 พ้ืนฐานการเขยีนโปรแกรม 2 2(2-0-4) 242-211 วิศวกรรมซอฟตแวร 2(2-0-4) 242-212 ความนาจะเปนและสถติ ิ 2(2-0-4) 242-213 คณิตศาสตรดิสครีต 2(2-0-4) 242-214 การสื่อสารขอมูล 2(2-0-4) ... - ... วิชาเลือกสังคมศาสตร/มนุษยศาสตร 3(x-y-z)

รวม 18(x-y-z)

Page 27: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 26

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต 242-301 ปฏิบัติการวศิวกรรมคอมพิวเตอรขั้นสูง 1 1(0-3-0) 242-303 ประเด็นทางจริยธรรมกฎหมายและสังคมของวิชาชีพ

คอมพิวเตอร 1(1-1-1)

242-304 ระบบปฏิบตัิการคอมพิวเตอร 2(2-0-4) 242-305 ระบบฐานขอมูล 3(3-0-6) 242-306 การประมวลผลบนอุปกรณเคลื่อนที่ในเครอืขายไรสาย 2(2-0-4) 242-307 สถาปตยกรรมคอมพิวเตอรและระบบ 3(3-0-6) 242-3xx วิชาบังคบัแขนงวิชาชีพ 3(3-0-6) ...- ... วิชาเลือกภาษา 3(x-y-z)

รวม 18(x-y-z) ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต 242-302 ปฏิบัติการวศิวกรรมคอมพิวเตอรขั้นสูง 2 1(0-3-0) 242-308 เตรียมการโครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2(0-2-4) 242-309 ไมโครคอนโทรลเลอรและการเชื่อมตอ 3(3-0-6) 242-310 ขั้นตอนวธิีและความซับซอนทางการคํานวณ 2(2-0-4) 242-311 การคํานวณแบบแมขาย/ลกูขายและเทคโนโลยีเว็บ 2(2-0-4) 242-312 ความปลอดภยัคอมพิวเตอร 2(2-0-4) 242-3xx วิชาบังคบัแขนงวิชาชีพ 3(3-0-6)

...-... วิชาเลือกพลศึกษา 1(x-y-z) รวม 16(x-y-z)

ปที่ 3 ภาคฤดูรอน

รหัสวิชา ชื่อวิชา 242-400 การฝกงาน ไมนอยกวา 320 ชั่วโมง

นักศึกษาจะตองลงทะเบียนเรียนผานรายวิชาทั้งหมดตามแผนการศึกษามาแลวไมนอยกวา 5 ภาคการศึกษาปกต ิ

Page 28: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 27

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต 242-401 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 1 3(0-6-3) 242-4xx วิชาบังคบัแขนงวิชาชีพ 3(3-0-6) 242-4xx วิชาเลือกวิชาชีพ 3(3-0-6) 895-171 ภูมิปญญาในการดําเนินชีวติ 3(2-2-5)

...-... วิชาเลือกเสร ี 3(x-y-z) รวม 15(x-y-z)

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต 242-402 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2 3(0-6-3) 242-001 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 1(0-0-3) 242-4xx วิชาบังคบัแขนงวิชาชีพ 3(3-0-6) 242-4xx วิชาเลือกวิชาชีพ 3(3-0-6)

...-... วิชาเลือกเสร ี 3(x-y-z) รวม 13(x-y-z)

3.1.5 คําอธิบายรายวิชา อยูในภาคผนวก ข

Page 29: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 28

3.2 ชื่อ สกุล เลขประจําตัวบตัรประชาชน ตําแหนงและคุณวฒิุของอาจารย 3.2.1 อาจารยประจําหลักสูตร วิทยาเขตหาดใหญ ลําดับ ชื่อ-นามสกุล ตําแหนง คุณวุฒิ และ เลขบัตรประชาชน 1 รองศาสตราจารย ดร.มิตรชัย จงเชี่ยวชํานาญ Ph.D. (Electrical Engineering) 3 9299 00030 20 2 2 ผูชวยศาสตราจารย ดร.วรรณรัช สันติอมรทัต Ph.D. (Computer Science) 3 8399 00403 97 2 3 ดร.แสงสุรีย วสุพงศอัยยะ Ph.D. (Computer Science) 3 9699 00144 61 5 4 ดร.วชรินทร แกวอภิชัย Ph.D. (Electrical and Computer Engineering) 3 9098 00977 09 7 5 ดร.ปญญยศ ไชยกาฬ Ph.D. (Computer Engineering) 3 9001 00474 47 7

วิทยาเขตภูเก็ต ลําดับ ชื่อ-นามสกุล ตําแหนง คุณวุฒิ และ เลขบัตรประชาชน 1 อาจารยธรรมรัฏฐ สมิตะลัมพะ M.Sc (Computer Information Systems) 3 1005 01831 06 5 2 ดร.อภิชาติ หีดนาคราม Ph.D. (Algorithms and Theory) 3 8607 00041 78 5 3 อาจารยวิศรุต จันทระ วศ.ม. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) 3 8199 00103 79 1 4 อาจารยยศวีย แกวมณี วศ.ม. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) 3 9005 00417 00 4 5 อาจารยฉกาจกิจ แทนชัยกุล วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟาโทรคมนาคม) 3 8205 00129 31 0

3.2.2 อาจารยประจํา อยูในภาคผนวก ช

3.2.3 อาจารยพิเศษ ไมมี 4. องคประกอบเกี่ยวกับประสบการณภาคสนาม (การฝกงาน) เพ่ือใหนักศึกษามีโอกาสเรียนรูและไดรับประสบการณชีวติการทํางานที่แทจริง ในสถาน ประกอบการ อีกทั้งเปนการเตรียมความพรอมกอนที่นักศึกษาจะสําเร็จการศึกษาและออกไปทํางานประกอบอาชพีได หลักสูตรจึงกําหนดใหมีรายวิชาประสบการณภาคสนาม 242-400 การฝกงาน ไมนอยกวา 320 ชั่วโมง Practical Training

4.1 มาตรฐานผลการเรยีนรูของประสบการณภาคสนาม 1) มีทักษะในการปฏิบตัิที่เกี่ยวของกับวศิวกรคอมพิวเตอร 2) บูรณาการความรูเพ่ือนําไปแกปญหาทางวิศวกรรมคอมพิวเตอรไดอยางเหมาะสม 3) มีมนุษยสัมพันธและทํางานรวมกับผูอ่ืนไดดี รวมทั้งสามารถปรับตวัเขากบัผูรวมงาน/สถานประกอบการได 4) มีความสามารถในการเปนผูนำและผูตาม รวมทัง้แกปญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงานอยาง

Page 30: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 29

สรางสรรค 5) มีระเบียบวินัย ตรงตอเวลา และมีความซื่อสัตยในการปฏิบตังิาน 6) เขาใจความแตกตางทางวัฒนธรรม 7) มีความกลาในการแสดงออก และมีความคิดริเริม่สรางสรรคในการพัฒนางานใหมีคุณภาพยิ่งขึ้น 4.2 ชวงเวลา ภาคการศึกษาที่ 3 ของชั้นปที่ 3 4.3 การจัดเวลาและตารางสอน เปนไปตามทีห่นวยงานที่นักศึกษาเขาฝกงานจะกําหนด โดยจะตองปฏิบัติงานไมนอยกวา 320 ชั่วโมง 5. ขอกําหนดเกี่ยวกับการทําโครงงานหรืองานวิจัย 5.1 คําอธิบายโดยยอ การทําโครงงานทางดานวิศวกรรมคอมพิวเตอร เปนการนําเอาทฤษฎีที่เคยเรียนมาประยุกตใชในการทดลอง วิจัยหรือศึกษาดวยตนเอง โดยมีอาจารยเปนที่ปรึกษาใหคําแนะนําเพื่อเปนแนวทางในการทํางานจริงตอไป โดยเนนงานดานการออกแบบและการสรางหรือการศึกษาคนควาจากการทดลอง มีการรายงานความกาวหนาของงานดวยการบรรยายรูปแบบสัมมนาเปนระยะๆ ภายใตการแนะนําของอาจารยที่ปรึกษาอยางนอยหนึ่งคน การทําโครงงานจะเปดโอกาสใหนักศึกษามีการแสดงความคิดริเริ่มและแกปญหาตางๆ ดวยตนเองเปนสวนใหญ รวมทั้งนักศึกษาตองมีการเขียนรายงานฉบับสมบูรณและนําเสนอผลงานแบบปากเปลาหลังเสร็จสิ้นโครงงานอีกดวย 5.2 มาตรฐานผลการเรยีนรู 1) สามารถเขียนขอเสนอโครงงานไดตามรูปแบบทีก่ําหนด 2) สามารถใชงานเครื่องมือ อุปกรณ หรือ โปรแกรม สําหรับการทําโครงงานได 3) สามารถนําเสนองาน หรือผลงานที่คนควาได 4) มีความรูความเขาใจในกระบวนการทําโครงงาน 5) สามารถสื่อสารผลของการทําโครงงานได 5.3 ชวงเวลา ภาคการศึกษาที่ 2 ของปการศึกษาที่ 3 และ ภาคการศึกษาที ่1-2 ของปการศึกษาที่ 4 5.4 จํานวนหนวยกิต 8 หนวยกิต 5.5 การเตรียมการ 1) กําหนดการเขาพบอาจารยที่ปรึกษาโครงงานของนกัศึกษาเพื่อตกลงหัวขอโครงงาน 2) อาจารยที่ปรึกษาใหคําปรึกษาในการเลือกหัวขอ และกระบวนการศึกษาคนควาและ ประเมินผล 3) อาจารยที่ปรึกษากําหนดตารางเวลาการใหคําปรึกษา ใหขอมูลขาวสารเกี่ยวกับโครงงาน

Page 31: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 30

4) จัดทําบันทึกการใหคําปรึกษาของอาจารยที่ปรึกษา 5) จัดสรรงบประมาณสนับสนุนการทาํโครงงาน จัดสิ่งอํานวยความสะดวก และเครื่องมือที่ ใชในการทําโครงงาน 6) จัดกิจกรรมเพื่อใหนักศึกษานําเสนอผลการศึกษาแบบปากเปลาตออาจารยที่ปรึกษาและ คณะกรรมการ 5.6 กระบวนการประเมนิผล 1) ประเมินผลจากความกาวหนาในการทําโครงงาน 2) ประเมินผลจากการนําเสนอปากเปลา และจากการเขียนรายงาน 3) การเขารวมกิจกรรมของนักศึกษาในการนําเสนอผลงาน 4) ผูประสานงานรายวชิาประเมินผลตามเกณฑทีก่าํหนด จากมติของคณะกรรมการ

หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู กลยุทธการสอนและการประเมินผล 1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนกัศึกษา

คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธหรือกิจกรรมของนักศึกษา ดานทักษะทางภาษาอังกฤษ สนับสนุนใหรายวิชามีการใชเอกสารประกอบการสอนเปนภาษาอังกฤษ

สนับสนุนใหรายวิชามีการจดัการเรียนการสอนเปนภาษาอังกฤษ สนับสนุนใหนักศึกษาคนควาความรูเพ่ิมเติมจากสื่อที่เปนภาษาอังกฤษ

2. การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดาน 2.1 คุณธรรม จริยธรรม 2.1.1 ผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม 1) ตระหนักในคณุคาและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซ่ือสัตยสุจริต 2) มีวินัย ตรงตอเวลา และความรับผิดชอบตอตนเอง วิชาชีพและสังคม 3) มีภาวะความเปนผูนําและผูตาม สามารถทํางานเปนทมีและสามารถแกไขขอขัดแยงและ

ลําดับความสําคัญ 4) เคารพสิทธิและรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน รวมทั้งเคารพในคุณคาและศักดิศ์รีของความ

เปนมนุษย 5) เคารพกฎระเบียบและขอบงัคับตางๆ ขององคกรและสังคม 6) สามารถวิเคราะหผลกระทบจากการใชคอมพิวเตอรตอบุคคล องคกรและสังคม 7) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวชิาชีพ 2.1.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม ปลูกฝงใหนักศึกษาปฏิบัตติามระเบียบของมหาวิทยาลัยทั้ง การเขาชั้นเรียนใหตรงเวลา การแตงกาย และความซื่อสัตยในการสอบและการทํางานที่ไดรับมอบหมายดวยตนเอง มีการมอบหมายให

Page 32: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 31

นักศึกษาทํางานเปนกลุมเพ่ือฝกการเปนผูนํา และการฝกความรับผิดชอบตอสมาชิกในกลุม อาจารยผูสอนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในการสอน ผานการเลาเรื่อง ประสบการณ ยกตัวอยาง กรณีศึกษา มีสื่อการเรียนการสอนที่เนนคุณธรรม จริยธรรม มีกิจกรรมเสริมหลักสูตรในดานคณุธรรม จริยธรรม 2.1.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม 1) ประเมินจากการตรงตอเวลาของนักศึกษาในการเขาเรยีน การสงงานที่ไดรับมอบหมาย

การเขารวมกจิกรรม 2) ความมีวินัยและความพรอมเพรียงของนักศึกษาในการเขารวมกิจกรรมเสริมหลักสูตร 3) การรับผิดชอบในหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย 4) พฤติกรรมการเรียนและการสอบ 2.2 ความรู 2.2.1 ผลการเรียนรูดานความรู 1) มีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีทีส่าํคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศกึษา 2) สามารถวิเคราะหปญหา เขาใจและอธิบายความตองการทางคอมพิวเตอร รวมทัง้ประยุกต

ความรู ทักษะ และการใชเครื่องมือที่เหมาะสมกับการแกไขปญหา 3) สามารถวิเคราะห ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองคประกอบตางๆ ของ

ระบบคอมพิวเตอรใหตรงตามขอกําหนด 4) สามารถติดตามความกาวหนาทางวิชาการและววิัฒนาการคอมพิวเตอร รวมทัง้การนําไป

ประยุกต 5) รู เขาใจและสนใจพัฒนาความรู ความชํานาญทางคอมพิวเตอรอยางตอเน่ือง 6) มีความรูในแนวกวางของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อใหเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเขาใจ

ผลกระทบของเทคโนโลยีใหมๆ ที่เกี่ยวของ 7) มีประสบการณในการพัฒนาและ/หรือการประยุกตซอฟตแวรทีใ่ชงานไดจริง 8) สามารถบูรณาการความรูในสาขาวิชาทีศ่ึกษากบัความรูในศาสตรอ่ืนๆ ที่เกี่ยวของ 2.2.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานความรู มีการเรียนการสอนที่หลากหลายตามธรรมชาติของเนื้อหาในรายวิชา โดยเนนการเรียน การสอนและการเรียนรูจากการปฏิบัติจริง มีการบรรยายโดยใชปญหานาํและตามดวยการแกปญหา อภิปรายโตตอบระหวางอาจารยและนักศกึษา การทํางานกลุม การเขียนรายงาน การปฏิบัติ และการวิเคราะหกรณีศึกษา มีรายวิชาโครงงานและการฝกงานในสถานประกอบการ มีการจัดบรรยายพิเศษโดยวิทยากรภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญหรือมีประสบการณตรง 2.2.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานความรู 1) การประเมินผลการเรียนรูจากการเรียนรายวิชา เชน การทดสอบยอย การสอบกลางภาค

การศึกษาและการสอบปลายภาคการศึกษา เปนตน 2) การประเมินผลการเรียนรูจากการศึกษาคนควาดวยตวัเอง เชน ประเมินจากรายงานของ

Page 33: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 32

นักศึกษา ประเมินจากโครงงานที่นําเสนอและประเมินจากการนําเสนอรายงานในชั้นเรียน 3) ประเมินจากผูใชบัณฑติ เชน ประเมินจากรายวิชาฝกงาน

2.3 ทักษะทางปญญา 2.3.1 ผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา 1) คิดอยางมีวิจารณญาณและอยางเปนระบบ 2) สามารถสืบคน ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพ่ือใชในการแกไขปญหาอยางสรางสรรค 3) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห และสรุปประเด็นปญหาและความตองการ 4) สามารถประยกุตความรูและทักษะกบัการแกไขปญหาทางคอมพิวเตอรไดอยางเหมาะสม 2.3.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะทางปญญา มีการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่ฝกทกัษะการคิด ทัง้ในระดับบุคคลและกลุม เชน อภิปรายกลุม การทํากรณีศึกษา การจัดทําโครงงาน การทดลองในหองปฏิบัติการ ฯลฯ อีกทั้งมี การจัดกิจกรรมใหนักศึกษามโีอกาสไดปฏิบัติจริง 2.3.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา 1) ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาค โดยเนนขอสอบที่มีการวิเคราะหสถานการณ

หรือวิเคราะหแนวคิดเกี่ยวกับเน้ือหาทฤษฎีในรายวชิา และวธิีการแกปญหา 2) ประเมินจากการประเมินรายงานหรือการนําเสนอผลงาน หรือ ชิ้นงาน ซ่ึงมาจากการศึกษา

คนควาอยางเปนระบบ 3) ประเมินจากการตอบคําถาม ตั้งคําถาม และการใหเหตุผลในการตอบคําถามของนักศึกษา

2.4 ทักษะความสัมพันธระหวางบคุคลและความรับผิดชอบ 2.4.1 ผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบคุคลและความรับผิดชอบ 1) สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศกบักลุมคนหลากหลายไดอยางมี

ประสิทธิภาพ 2) สามารถใหความชวยเหลือและอํานวยความสะดวกในการแกปญหาสถานการณตางๆ ทั้ง

ในบทบาทของผูนํา หรือในบทบาทของผูรวมทีมทํางาน 3) สามารถใชความรูในศาสตรมาชี้นําสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4) มีความรับผิดชอบในการกระทําของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุม 5) สามารถเปนผูริเริ่มแสดงประเด็นในการแกไขสถานการณทั้งสวนตวัและสวนรวม พรอมทั้ง

แสดงจุดยืนอยางพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุม 6) มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรูทัง้ของตนเองและทางวชิาชพีอยางตอเน่ือง 2.4.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ จัดกิจกรรมรวมกันเปนกลุมโดยเนนการประยุกตความรูที่เรียนในวิชากบัปญหาที่กําหนด การมีปฏิสัมพันธระหวางเพื่อนรวมงาน จัดเวลาแลกเปลี่ยนประสบการณการเรียนรูในภาคปฏิบตั ิแทรก

Page 34: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 33

ประสบการณของอาจารยในระหวางการสอนผานการเลาเรื่องตาง ๆ โดยเนนเรื่องความรับผิดชอบ การแสดงความเห็น การนําความรูไปใช และการสื่อสาร 2.4.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะความสมัพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 1) ประเมินจากการสังเกตพฤตกิรรมและการแสดงออกของนักศึกษาขณะทํากิจกรรมกลุม 2) ประเมินโดยสมาชิกในกลุม และ/หรือ ผูดูแลการฝกงาน 3) ประเมินจากผลของชิ้นงาน รายงาน การนําเสนอ โครงงาน 2.5 ทักษะการวิเคราะหเชงิตวัเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.1 ผลการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชงิตวัเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 1) มีทักษะการใชเครื่องมือที่จําเปนที่มีอยูในปจจุบันตอการทํางานที่เกีย่วกับคอมพิวเตอร 2) สามารถแนะนําประเด็นการแกไขปญหาโดยใชสารสนเทศทางคณิตศาสตรหรือการแสดง

สถิติประยุกตตอปญหาที่เกีย่วของอยางสรางสรรค 3) สามารถสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพทั้งปากเปลาและการเขียน พรอมทั้งเลือกใชรูปแบบ

ของสื่อการนําเสนอไดอยางเหมาะสม 4) สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางเหมาะสม 2.5.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชิงตวัเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดการเรียนการสอนที่เนนการฝกทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟง การเขียน ในระหวางผูเรียน ผูสอน และผูเกี่ยวของอ่ืนๆ 2.5.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชงิตวัเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ทักษะการตอบคําถามและการนําเสนอผลงาน 2) ทักษะการเขียนรายงาน 3) ทักษะการนําเสนอโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 4) ความสามารถในการใชทักษะทางคณิตศาสตรและสถติิเพ่ืออธิบาย อภิปรายผลงานไดอยาง

เหมาะสม 5) เทคนิคการวิเคราะหขอมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตรในการแกปญหาเชิงตัวเลข

Page 35: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 34

3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผดิชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวชิา (Curriculum Mapping) 3.1 ผลการเรียนรูตามมาตรฐานคุณวฒุิระดับปรญิญาตรี สาขาคอมพิวเตอร ในตารางมีความหมายดังนี้ คุณธรรม จริยธรรม 1) ตระหนักในคุณคาและคณุธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตยสจุริต 2) มีวินัย ตรงตอเวลา และความรับผิดชอบตอตนเอง วิชาชีพและสงัคม 3) มีภาวะความเปนผูนําและผูตาม สามารถทํางานเปนทีมและสามารถแกไขขอขดัแยงและลาํดบัความสําคญั 4) เคารพสิทธแิละรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น รวมทั้งเคารพในคุณคาและศักดิศ์รขีองความเปนมนุษย 5) เคารพกฎระเบียบและขอบังคับตางๆ ขององคกรและสังคม 6) สามารถวิเคราะหผลกระทบจากการใชคอมพิวเตอรตอบุคคล องคกรและสังคม 7) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวชิาชีพ ความรู 1) มีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับหลกัการและทฤษฎีที่สําคัญในเนื้อหาสาขาวชิาที่ศึกษา 2) สามารถวิเคราะหปญหา เขาใจและอธบิายความตองการทางคอมพิวเตอร รวมทั้งประยุกตความรู ทักษะ และการใชเครือ่งมือที่เหมาะสมกับการแกไขปญหา 3) สามารถวิเคราะห ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองคประกอบตางๆ ของระบบคอมพิวเตอรใหตรงตามขอกําหนด 4) สามารถตดิตามความกาวหนาทางวิชาการและววิัฒนาการคอมพิวเตอร รวมทัง้การนําไปประยุกต 5) รู เขาใจและสนใจพัฒนาความรู ความชํานาญทางคอมพิวเตอรอยางตอเนื่อง 6) มีความรูในแนวกวางของสาขาวิชาที่ศกึษาเพื่อใหเลง็เห็นการเปลีย่นแปลง และเขาใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหมๆ ทีเ่กี่ยวของ 7) มีประสบการณในการพัฒนาและ/หรือการประยุกตซอฟตแวรทีใ่ชงานไดจริง 8) สามารถบูรณาการความรูในสาขาวชิาที่ศึกษากบัความรูในศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวของ

Page 36: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 35

ทักษะทางปญญา 1) คิดอยางมีวิจารณญาณและอยางเปนระบบ 2) สามารถสืบคน ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใชในการแกไขปญหาอยางสรางสรรค 3) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห และสรุปประเด็นปญหาและความตองการ 4) สามารถประยุกตความรูและทักษะกับการแกไขปญหาทางคอมพิวเตอรไดอยางเหมาะสม ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผดิชอบ 1) สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศกับกลุมคนหลากหลายไดอยางมีประสิทธิภาพ 2) สามารถใหความชวยเหลอืและอํานวยความสะดวกในการแกปญหาสถานการณตางๆ ทั้งในบทบาทของผูนํา หรือในบทบาทของผูรวมทีมทํางาน 3) สามารถใชความรูในศาสตรมาชี้นําสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4) มีความรับผิดชอบในการกระทําของตนเองและรับผดิชอบงานในกลุม 5) สามารถเปนผูริเริ่มแสดงประเด็นในการแกไขสถานการณทั้งสวนตัวและสวนรวม พรอมทั้งแสดงจุดยืนอยางพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุม 6) มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรูทั้งของตนเองและทางวชิาชีพอยางตอเนื่อง ทักษะการวเิคราะหเชงิตวัเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 1) มีทักษะการใชเครื่องมือที่จําเปนที่มีอยูในปจจุบันตอการทํางานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2) สามารถแนะนําประเด็นการแกไขปญหาโดยใชสารสนเทศทางคณิตศาสตรหรือการแสดงสถิติประยุกตตอปญหาที่เกี่ยวของอยางสรางสรรค 3) สามารถสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพทัง้ปากเปลาและการเขียน พรอมทั้งเลือกใชรูปแบบของสื่อการนําเสนอไดอยางเหมาะสม 4) สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางเหมาะสม

Page 37: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 36

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรยีนรูจากหลักสูตรสูรายวชิา (Curriculum Mapping) • ความรับผิดชอบหลัก ο ความรับผดิชอบรอง

รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทาง

ปญญา

4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล

และความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และ

การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 242-201 Computer Engineering Software Laboratory I ο ο ο • • • • • • • • • • • ο ο ο • ο • ο

242-202 Computer Engineering Hardware Laboratory I ο ο ο • • • • • • • • • • • ο ο ο • ο • ο

242-203 Computer Engineering Software Laboratory II ο ο ο • • • • • • • • • • • ο ο ο • ο • ο

242-204 Computer Engineering Hardware Laboratory II ο ο ο • • • • • • • • • • • ο ο ο • ο • ο

242-205 Electric Circuits • ο • ο • • • ο ο ο • ο ο

242-206 Introduction to Computer Networks ο ο ο ο • ο ο • • • ο • • • • ο ο ο ο ο

242-207 Programming Fundamentals I • ο • • ο ο • ο ο ο • ο ο ο ο ο • • ο ο

Page 38: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 37

รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทาง

ปญญา

4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล

และความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และ

การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 242-208 Digital Logic and Design ο ο • ο ο ο ο ο • ο • • ο ο ο ο •

242-209 Basic Electronics • • • ο • • • ο ο ο 242-210 Programming Fundamentals II ο ο • • ο ο • ο ο ο • ο ο ο ο ο • • ο ο ο

242-211 Software Engineering • ο ο ο ο ο • • ο ο ο ο ο ο • • • ο ο • • ο ο • ο • • 242-212 Probability and Statistics ο ο ο • • • • •

242-213 Discrete Mathematics ο ο • • ο ο ο • • • ο ο • • ο 242-214 Data Communications ο ο • • ο ο ο • ο ο • ο • • ο ο • ο ο ο • • 242-301 Advanced Computer Engineering Laboratory I ο ο ο • • • • • • • • • • • ο ο ο • ο • ο

242-302 Advanced Computer Engineering Laboratory II ο ο ο • • • • • • • • • • • ο ο ο • ο • ο

Page 39: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 38

รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทาง

ปญญา

4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล

และความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และ

การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 242-303 Ethical, Legal and Social Issues in Computer Profession

• • • • • • • • ο • • ο • • • ο • • • • • ο • •

242-304 Computer Operating Systems ο ο ο ο • ο ο • • • ο • • • • ο ο ο ο ο ο

242-305 Database Systems ο ο • ο ο ο ο • • ο • ο • ο ο • ο ο ο

242-306 Wireless and Mobile Computing • o o o • • • o • • • o o o o o •

242-307 Computer Architecture and Organization ο ο ο • ο ο • ο • ο • • • • ο ο ο ο ο •

242-308 Computer Engineering Project Preparation ο ο ο ο ο ο • ο • • • • • • • • • • • • ο ο ο ο • • • • •

242-309 Microcontroller and Interfacing ο ο • • • ο • ο • ο • ο • • ο

242-310 Introduction to Algorithms and Complexity ο ο • • ο ο • ο • ο ο ο • ο

Page 40: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 39

รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทาง

ปญญา

4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล

และความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และ

การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 242-311 Client/Sever Computing and Web Technologies

• ο • • ο ο • ο ο ο • ο ο ο ο ο ο • ο ο

242-312 Computer Security ο ο • ο ο • • • • • • • • • ο ο ο ο ο ο

242-320 Software Development Methodology • • • • • • ο • • • • • • • ο • • • • •

242-321 Design Architecture and Engineering for Intelligent Systems

o o o o o o o • • • o o o • o • o • o o o o • o o • o • •

242-340 VLSI System Design ο ο • • • ο • ο • ο • ο • • ο 242-341 Embedded System Design ο ο ο • ο • ο ο ο • ο ο • • ο ο ο ο • ο • ο

242-360 Modelling and Analysis for Network Communications o o • o • • o • o o o • • • • • o o o o • o o

242-361 Internet Engineering o o • • • • o • o • o • • • • o o o o o o o •

Page 41: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 40

รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทาง

ปญญา

4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล

และความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และ

การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 242-380 Signals and Image Processing • ο • • ο ο ο • • • ο • • ο ο

242-381 Computer Control Systems • ο • ο • • • ο ο • ο ο

242-400 Practical Training • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • 242-401 Computer Engineering Project I ο ο ο ο ο ο • ο • • • • • • • • • • • • ο ο ο ο • • • • •

242-402 Computer Engineering Project II ο ο ο ο ο ο • ο • • • • • • • • • • • • ο ο ο ο • • • • •

242-420 Web Engineering and Applications • o o o o o o • • • o o o • o • o • o o o o • o o • o • •

242-421 Information System and Management ο ο ο ο • ο ο ο ο • • ο • ο • ο ο • ο ο •

242-422 Software Project Management • ο ο ο ο ο • • ο ο ο ο ο ο • • • ο ο • • ο ο • ο • •

Page 42: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 41

รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทาง

ปญญา

4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล

และความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และ

การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 242-423 Service-Oriented Software System Engineering • o o o o o o • • • o o o • o • o • o o o o • o o • o • •

242-424 Advanced Information and Knowledge Processing • o o o o o o • • • o o o • o • o • o o o o • o o • o • •

242-425 Data Mining ο ο ο • ο ο ο ο • • ο • ο • ο ο ο ο ο 242-426 Advanced Algorithms o o • • o o • o • o o o • o 242-427 Computer Animation and Game o o • • o o • o • o • o • • o o • • o o

242-428 Human-Computer Interaction o o o o • • o o o • o • o o o o o

242-429 Security in Web Applications and Information Systems

• o o o o o o • • • o o o • o • o • o o o o • o o • o • •

242-438 Special Problem in Information Engineering • o • • • • • • • • • o o • o o • • • o •

Page 43: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 42

รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทาง

ปญญา

4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล

และความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และ

การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 242-439 Special Topic in Information Engineering o • o o • • o • • • o • • o o o o o o • • • o o

242-440 Real-time Operating Systems ο ο • ο ο • • • ο • • • • ο ο ο ο ο ο

242-441 Advanced Computer Architecture and Organization ο ο ο ο • • ο • ο • • • • • ο ο ο ο ο

242-442 Resource Scheduling and Management ο ο • ο ο • • • ο ο • • ο ο ο ο ο ο ο

242-443 Architectures and VLSI Test Principles o o • o o o o o • o • o o o o o •

242-444 Wireless Ad hoc sensor networks: Architectures and Protocols

• o o o • o o • • • o o • o o o o o o

242-445 Hardware and Software Codesign o o o • • • • o o o • o • • o

Page 44: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 43

รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทาง

ปญญา

4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล

และความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และ

การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 242-446 Distributed Systems and Algorithms ο ο ο ο • • ο • ο • • • • • ο ο ο ο ο ο

242-447 Multi-core Programming and Architecture ο • ο • • • • • • o • • o o • o o o • • o o

242-448 Computer Arithmetic and Algorithm o o o • • • o o o o • o • • o

242-449 High Performance Microprocessors o o o • o o • o • o • • • • o o o o o •

242-458 Special Problem in Computer System Design Engineering

• o • • • • • • • • • o o • o o • • • o •

242-459 Special Topic in Computer System Design Engineering

o • o o • • o • • • o • • o o o o o o • • • o o

242-460 Multimedia Networking o o • • • • o • o • o • • • • o o o o o o o •

Page 45: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 44

รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทาง

ปญญา

4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล

และความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และ

การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 242-461 Broadband And High Speed Networks o o • o • • o • o • o o • • • o o o o o o o •

242-462 Network Design, Operation and Management o o o o • • o • • o o o • • • • o o o o o o •

242-463 Next Generation Services of Network Communications

o o • o • • o • o • o o • • • o o o o o o o •

242-464 Design and Development of Network Communications

o o • o • • o • • • o o • • • • o o o o o o •

242-465 Advanced Network Security ο ο • ο ο • • • • • • • • • ο ο ο ο ο ο

242-478 Special Problem in Computer Networks and Communications

• o • • • • • • • • • o o • o o • • • o •

Page 46: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 45

รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทาง

ปญญา

4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล

และความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และ

การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 242-479 Special Topic in Computer Networks and Communications

o • o o • • o • • • o • • o o o o o o • • • o o

242-480 Principle of Robotics • ο ο • ο • ο ο • • ο • ο • ο 242-481 Machine Intelligence ο ο • • ο ο • ο • ο • ο • • ο ο • • ο ο 242-482 Sensors and Sensor Signal Conditioning • • ο • • • ο ο • ο ο

242-483 Speech Processing • • ο • • • ο ο • ο ο 242-484 Internal Combustion Engine Control Unit • • • o o o o o o o o o • • o o o o o •

242-485 Introduction to Pattern Classifier • • • • • o • • • o • o o o • 242-486 Computer Vision Theory and Practice • o • • o o o • • • o • • o o

Page 47: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 46

รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทาง

ปญญา

4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล

และความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และ

การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 242-487 Introduction to Computer Simulation Methods o o • • o o • o • o • o • • o o • • o o

242-498 Special Problem in Computer Control Systems and Robotics Engineering

• o • • • • • • • • • o o • o o • • • o •

242-499 Special Topic in Computer Control Systems and Robotics Engineering

o • o o • • o • • • o • • o o o o o o • • • o o

รายวิชาที่สอนโดยภาควิชาอืน่ 200-101 Introduction to Engineering • • o • o o o o o o o o o

215-111 Engineering Drawing I ο • ο • • ο ο ο • ο ο • ο ο • • 220-102 Engineering Mechanics I • • • • •

Page 48: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 47

3.2 มาตรฐานผลการเรียนรูรายวิชาศกึษาทั่วไปและรายวิชาบริการของมหาวิทยาลยัสงขลานครินทร ในตารางมีความหมายดังนี้ ดานคุณธรรม จริยธรรม

1) มีวินัย ซื่อสัตย สุจริต รับผิดชอบตอตนเองและผูอื่น สํานึกในหนาที่ของตนเองและผูอื่น รวมทัง้เคารพในสิทธิ และศักดิ์ศรคีวามเปนมนษุย 2) ตระหนักและเห็นคุณคาในความตางและหลากหลายของวัฒนธรรมทองถิ่น และนานาชาต ิ3) มีความเสียสละและจิตสาธารณะที่ถูกตองและดีงาม

ดานความรู 1) เขาใจความรูพื้นฐานของศาสตรสาขาตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการดํารงชีวิต 2) มีความรอบรู โดยการผสมผสานเนื้อหาในศาสตรตาง ๆ ทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดลอม 3) แสวงหาความรูจากงานวิจัย หรือแหลงเรียนรูอื่นๆ

ดานทักษะทางปญญา 1) สามารถบูรณาการความรูในศาสตรตาง ๆ ใหเกิดประโยชนแกตนเองและสวนรวม 2) สามารถสืบคนและประเมินขอมูลจากแหลงเรียนรูทีห่ลากหลาย 3) สามารถคิดวิเคราะห รูเทาทันสถานการณและแกปญหาอยางสรางสรรค 4) สามารถนําความรู ไปเชือ่มโยงกับภูมิปญญาทองถิน่เพื่อทําความเขาใจและสรางสรรคสังคม

ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรบัผิดชอบ 1) มีความรับผิดชอบตอหนาที่ในฐานะผูนําหรือสมาชิกของกลุม 2) สามารถปรับตวั รับฟง ยอมรับความคดิเห็น และทํางานรวมกับผูอื่นได ทั้งในฐานะผูนําและสมาชิกของกลุม 3) มีมนุษยสัมพันธที่ดีกับผูรวมงานในองคกรและกับบุคคลทัว่ไป 4) สามารถรวมกลุมคิดริเริ่ม วางแผน และตัดสินใจแกปญหาไดอยางเหมาะสม รวมทั้งดํารงชีวิตไดอยางมีความสุข 5) รับผิดชอบในการเรียนรูอยางตอเนื่อง

Page 49: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 48

ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตวัเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 1) สามารถใชภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวติประจําวันไดอยางมีประสิทธภิาพ ทั้งการฟง พูด อานและเขยีน 2) กาวทันเทคโนโลยีปจจุบันและสามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับสถานการณ เพื่อการสืบคน ศึกษาดวยตนเอง นําเสนอ และสื่อสาร 3) เขาใจปญหา วิเคราะห และเลือกใชกระบวนการทางคณิตศาสตรและสถติิที่เหมาะสมในการแกปญหา

ดานทักษะพสิัย 1) มีทักษะการเคลื่อนไหวเบื้องตนที่ถูกตอง 2) มีทักษะเบือ้งตนในการออกกําลังกาย เลนกีฬา ดนตรี หรือศิลปะ 3) มีทักษะการเสริมสรางและการดูแลสขุภาพเบื้องตน 4) ตระหนักและเห็นคุณคาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกําลังกายใหสอดคลองกับชวีิตประจําวัน

Page 50: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 49

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรยีนรูจากหลักสูตรสูรายวชิา (Curriculum Mapping) • ความรับผิดชอบหลัก ο ความรับผดิชอบรอง

รายวิชา 1.

คุณธรรม จริยธรรม

2. ความรู 3. ทักษะทาง

ปญญา

4. ทักษะความสัมพันธ

ระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การ

สื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

6. ทักษะพิสัย

1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 1 2 3 4 001-131 Healthy Body and Mind • • ο • • ο • ο ο • ο ο ο • ο • ο ο ο • • • 242-001 Co-Curricular Activities • ο • ο ο • • • ο ο • • • • ο • ο 242-101 Introduction to Computer Programming • ο • • • ο ο • • ο • • • • ο 322-101 Basic Mathematics I • • • • • • ο ο • 322-102 Basic Mathematics II • • • • • • ο ο • 322-201 Basic Mathematics III • • • • • • ο ο • 332-103 General Physics I ο ο • • 332-104 General Physics II ο ο • • 332-113 General Physics Laboratory I ο ο • • • 332-114 General Physics Laboratory II ο ο • • •

Page 51: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 50

รายวิชา 1.

คุณธรรม จริยธรรม

2. ความรู 3. ทักษะทาง

ปญญา

4. ทักษะความสัมพันธ

ระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การ

สื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

6. ทักษะพิสัย

1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 1 2 3 4 324-103 General Chemistry ο ο • ο ο ο ο ο ο ο ο ο ο ο ο • 325-103 General Chemistry Laboratory ο ο • ο ο ο ο • ο ο ο ο ο ο ο • 340-326 Science, Technology and Society • • ο ο • ο ο ο • ο ο ο ο ο • ο • ο 890-100 Preparatory Foundation English ο • ο • ο ο ο • • ο • • ο ο • • • ο 890-101 Fundamental English Listening and Speaking ο • ο • ο ο ο • • ο • • ο ο • • • ο 890-102 Fundamental English Reading and Writing ο • ο • ο ο ο • • ο • • ο ο • • • ο 895-171 Wisdom of Living • • • • • • • ο • • ο

Page 52: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 51

หมวดที่ 5 หลักเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา 1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑในการใหระดับคะแนน การวัดผลและการสําเร็จการศึกษาเปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลยัสงขลานครินทร วาดวยการศึกษาระดบัปริญญาตรี (ภาคผนวก ก) 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา กําหนดระบบการทวนสอบดังน้ี 2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ิของนักศึกษาขณะที่กําลังศึกษา 2.1.1 การทวนสอบในระดับรายวชิา มีการประเมินทั้งในภาคทฤษฎีและปฏบิตัิ และมีคณะกรรมการ ผูทรงคุณวุฒิ พิจารณาขอสอบในการวัดผลการเรียนรูตามที่กําหนดไวใหเปนไปตามแผนการสอน 2.1.2 การทวนสอบในระดับหลักสตูร มีระบบประกันคุณภาพภายใน เพ่ือใชในการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูของนักศึกษา 2.1.3 มีการประเมินการสอนของผูสอนโดยนักศึกษา เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการเรียนรูของนักศึกษา 2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูหลังจากนักศึกษาสําเร็จการศึกษา การกําหนดกลวิธีการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูของนักศึกษาหลังสําเร็จการศึกษา เพ่ือนํามาใชปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนและหลักสูตร รวมทั้งการประเมินคณุภาพของหลักสูตรใชการประเมินจาก 2.2.1 ภาวะการไดงานทําของบัณฑติ โดยประเมินจากบัณฑิตแตละรุนที่สําเร็จการศึกษา ในดานของระยะเวลาในการหางานทํา ความเห็นตอความรู ความสามารถ ความมั่นใจของบัณฑิตในการประกอบการงานอาชีพ 2.2.2 การทวนสอบจากผูประกอบการ เพ่ือประเมินความพึงพอใจในบัณฑติทีจ่บการศึกษาและเขาทํางานในสถานประกอบการนั้น ๆ 2.2.3 การประเมินจากสถานศึกษาอื่น ถีงระดับความพึงพอใจในดานความรู ความพรอม และคุณสมบัติดานอ่ืน ๆ ของบัณฑิตที่เขาศึกษาตอในระดับบัณฑติศึกษาในสถานศึกษานั้นๆ 2.2.4 การประเมินจากบัณฑิตทีไ่ปประกอบอาชีพ ในสวนของความพรอมและความรูจากสาขาวิชาที่เรียนตามหลักสูตร เพ่ือนํามาใชในการปรับหลักสตูรใหดียิ่งขึ้น 2.2.5 มีการเชิญผูทรงคณุวุฒิภายนอก และผูประกอบการ มาประเมินหลักสูตร หรือ เปนอาจารยพิเศษ เพ่ือเพ่ิมประสบการณ เรียนรู และการพัฒนาองคความรูของนักศึกษา 3. เกณฑการสําเร็จการศกึษาตามหลักสูตร เปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วาดวยการศึกษาขั้นปรญิญาตรี (ภาคผนวก ก)และระเบียบของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วาดวยเกรณฑการสําเร็จการศึกษาของนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร (ภาคผนวก ง)

Page 53: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 52

หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย 1. การเตรียมการสําหรับอาจารยใหม มีการปฐมนิเทศแนะแนวอาจารยใหม ใหมีความรูและเขาใจนโยบายของสถาบันอุดมศึกษา คณะ และหลักสตูรที่สอน รวมทั้งอบรมวิธีการสอนแบบตางๆ ตลอดจนการใชและผลติสื่อการสอน เพ่ือเปนการพัฒนาการสอนของอาจารย สงเสริมอาจารยใหมีการเพิ่มพูนความรู สรางเสริมประสบการณเพ่ือสงเสริมการสอนและการวิจัยอยางตอเน่ือง 2. การพัฒนาความรูและทักษะใหแกคณาจารย 2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล 2.1.1 สงเสริมอาจารยใหมีการเพิ่มพูนความรู สรางเสริมประสบการณในสาขาที่เกี่ยวของ เพ่ือสงเสริมการสอนและการวิจัยอยางตอเน่ือง และใหการสนับสนุนการศึกษาตอ ฝกอบรม ดูงานทางวิชาการและวชิาชีพในองคกรตางๆ การประชุมทางวชิาการทั้งในและตางประเทศ หรือการลาเพื่อเพ่ิมพูนประสบการณ 2.1.2 มีการเพิ่มพูนทักษะการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลใหทันสมัย 2.1.3 การมีสวนรวมในกิจกรรมบริการวิชาการแกชมุชนที่เกี่ยวของกับการพัฒนาความรูและคุณธรรม 2.2 การพัฒนาวิชาการและวชิาชีพดานอ่ืนๆ 2.2.1 สนับสนุนใหอาจารยจัดทําผลงานทางวิชาการ เพ่ือสงเสริมการมีตําแหนงทางวิชาการสูงขึ้น 2.2.2 มีการเพิ่มพูนทักษะการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลใหทันสมัย

หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร 1. การบริหารหลักสูตร 1) กรรมการวิชาการระดับคณะดูแลคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรในภาพรวม 2) มีคณะกรรมการบรหิารหลักสูตร และคณาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร ทําหนาที่ วางแผน กอนเปดภาคเรียน มีการประชุมคณาจารยที่สอนในสาขาวศิวกรรมคอมพิวเตอร เพ่ือยนืยันการจัด ตารางสอนและมอบหมายให คณาจารยเตรียมความพรอมในเร่ืองเครื่องมือ อุปกรณ อีกทั้ง การดําเนินการควบคุมคุณภาพการจัดการเรียนการสอน การประเมินผล การปรบัปรุงและการพัฒนาหลักสูตร 3) มีอาจารยผูประสานงานรายวิชากรณีเปนรายวชิาปฏิบตัิการ โครงงาน และรายวิชาอ่ืนๆ ที่มีผูสอนหลายทาน โดยผูประสานงานรายวชิาทําหนาที่ จัดทํา มคอ.3 วางแผนการจัดการเรียนการสอนรวมกับอาจารยผูสอน ดําเนินการจัดการเรียนการสอน และติดตามการประเมินผลรายวิชาทีต่นเองรับผิดชอบใหเปนไปอยางมีคุณภาพ 2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน 2.1 การบริหารงบประมาณ คณะกรรมการบริหารจัดสรรงบประมาณแผนดินและงบประมาณเงินรายไดเพ่ือจัดซื้อตํารา สื่อ

Page 54: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 53

การเรียนการสอน ครุภัณฑ และคอมพิวเตอรเพ่ือสนับสนุนการเรียนการสอนในชั้นเรียนและสรางสภาพแวดลอมใหเหมาะสมกับการเรียนรูดวยตนเองของนักศึกษา 2.2 ทรัพยากรการเรียนรูที่มีอยูเดิม 1) หนังสือ/ตํารา 2) วารสาร 3) ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส 2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเตมิ 1) มีคณะกรรมการวางแผน จัดหา และติดตามการใชทรัพยากรการเรียนการสอน 2) อาจารยผูสอนและผูเรียนเสนอรายชื่อหนังสือ สื่อ และตํารา ไปยังคณะกรรมการ 3) จัดสรรงบประมาณ 4) จัดระบบการใชทรพัยากรการเรียนการสอน 2.4 การประเมินความเพยีงพอของทรพัยากร 1) ประเมินความเพียงพอจากผูสอน ผูเรียน และบุคลากรที่เกีย่วของ 2) จัดระบบติดตามการใชทรัพยากร เพ่ือเปนขอมูลประกอบการประเมิน 3. การบริหารคณาจารย 3.1 การรับอาจารยใหม อาจารยใหมตองมีวฒิุเปนไปตาม 1) ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง เกณฑมาตรฐานหลกัสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548

หรือฉบับปรับปรุงแกไขลาสดุ 2) ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง แนวทางบริหารเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา

พ.ศ. 2548 หรือฉบับปรับปรุงแกไขลาสุด 3) แนวปฏิบตัิเกีย่วกับการกําหนดจํานวนอาจารยประจําหลักสูตรตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร

ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 หรือฉบับปรับปรุงแกไขลาสุด 4) แนวทางปฏิบตัิเกี่ยวกับคุณวุฒิอาจารยประจําหลักสูตรระดับอุดมศึกษา 5) ประกาศคณะกรรมการอุดมศึกษา เรื่อง แนวปฏิบตัติามหลักเกณฑการขอเปดและดาํเนินการ

หลักสูตรระดบัปริญญาในระบบการศึกษาทางไกล พ.ศ. 2548 หรือฉบับปรบัปรุงแกไขลาสุด 6) ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร

พ.ศ. 2552 หัวขอ คณาจารยและบคุคลากรสนันสนุนการเรียนการสอนสาขาวิชาวศิวกรรมคอมพิวเตอร

7) ขอบังคับของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 3.2 การมีสวนรวมของคณาจารยในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร คณาจารยผูรับผิดชอบหลักสตูร และผูสอนจะตองรวมกันวางแผนการจัดการเรียนการสอน ประเมินผลและใหความเห็นชอบการประเมินผลทุกรายวิชา เก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือเตรียมไวสําหรับการปรับปรุงหลักสูตร ตลอดจนปรึกษาหารือ หาแนวทางทีจ่ะทําใหบรรลเุปาหมายตามหลักสูตร และได

Page 55: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 54

บัณฑิตเปนไปตามคุณลักษณะบัณฑติที่พึงประสงค 3.3 คณาจารยที่สอนบางเวลาและคณาจารยพิเศษ การแตงตั้งคณาจารยที่สอนบางเวลาและอาจารยพิเศษ จะคํานึงถึงคุณวุฒิ ประสบการณ และความรูความสามารถในรายวิชานั้นๆ โดยตองไดรับความเห็นชอบจากคณาจารยผูรับผิดชอบหลกัสูตร 4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน 4.1 การกําหนดคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง บุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอนที่มีหนาที่เกีย่วของกับปฏบิัติการควรมคีวามรูเกี่ยวกบัฮารดแวร ซอฟตแวร ระบบเครือขาย หรือความรูในรายวิชาทีเ่กี่ยวของ 4.2 การเพิ่มทักษะความรูเพื่อการปฏิบัติงาน ตองเขารับการฝกอบรม/ประชุม/สัมมนาเพื่อเพ่ิมพูนความรู อยางนอยคนละ 1 ครั้งตอป 5. การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา 5.1 การใหคําปรึกษาดานวิชาการ และอ่ืนๆ แกนักศึกษา 5.1.1 มีระบบอาจารยที่ปรึกษาดานวิชาการ เพ่ือทําหนาที่

- ใหการปรึกษาแนะนํานักศึกษาเกี่ยวกับหลักสูตรและการเลือกสาขาวชิาเรียน - ใหคําแนะนําและดูแลนักศึกษาในการลงทะเบียนวิชาเรยีนใหเปนไปตามระเบียบ ขอบังคับ

เปาหมายของหลักสูตร และบัณฑิตที่พึงประสงค - ใหการแนะนํานักศกึษาเกีย่วกับวิธีการเรยีน การคนควาและติดตามผลการเรียนของ

นักศึกษาอยางสมํ่าเสมอ รวมทั้งแนะนําและชวยเหลือในการแกไขปญหาอุปสรรคตางๆ - ทักทวงการลงทะเบียนเรียนบางวิชาของนกัศึกษา หากการลงทะเบียนไมเหมาะสม - ใหคําปรึกษาแนะนําหรือตักเตือนเม่ือผลการเรียนของนักศึกษาต่ําลง หรือมีความประพฤติ

ไมเหมาะสม - ใหการปรึกษาเกี่ยวกับอาชพี ลักษณะของงาน สภาพแวดลอมของงาน ตลาดแรงงงาน

ตลอดจนจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ 5.1.2 มีอาจารยที่ปรึกษาในการทาํกิจกรรมของนักศึกษา 5.2 การอุทธรณของนักศึกษา 5.2.1 นักศึกษาสามารถยื่นคํารองเพ่ือขออุทธรณในกรณีที่มีขอสงสัยเกี่ยวกับการสอบ ผล

คะแนนและวธิีการประเมินผล 5.2.2 จัดชองทางรับคํารองเพ่ือการขออุทธรณของนักศึกษา 5.2.3 จัดตั้งคณะกรรมการในการพิจารณาการอุทธรณของนักศึกษา 6. ความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และหรือความพึงพอใจของผูใชบณัฑิต 1) มีการสํารวจความพึงพอใจของผูใชบัณฑติทกุปเพ่ือนําขอมูลไปปรับปรงุหลักสูตร 2) มีการสํารวจการไดงานทําของบัณฑิตทุกป 3) มีการสํารวจเพื่อประเมินความตองการของตลาดงาน สังคม

Page 56: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 55

7. ตัวบงชี้ผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators) ดัชนีบงชี้ผลการดําเนินงาน ปท่ี 1 ปท่ี 2 ปท่ี 3 ปท่ี 4 ปท่ี 5

(1) อาจารยประจําหลักสูตรอยางนอยรอยละ 80 มีสวนรวมในการประชุมเพ่ือวางแผน ติดตาม และทบทวนการดําเนินงานหลักสูตร

x x x x x

(2) มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแหงชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ถามี)

x x x x x

(3) มีรายละเอียดของรายวิชาและรายละเอียดของประสบการณภาคสนาม (ถามี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อยางนอยกอนการเปดสอนในแตละภาคการศึกษาใหครบทุกวิชา

x x x x x

(4) จัดทํารายงานผลการดําเนินการของรายวิชาและรายงานผลการดําเนินการของประสบการณภาคสนาม (ถามี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังส้ินสุดภาคการศึกษาที่เปดสอนใหครบทุกรายวิชา

x x x x x

(5) จัดทํารายงานผลการดําเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วันหลังส้ินสุดปการศึกษา

x x x x x

(6) มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรูที่กําหนดใน มคอ.3 และมคอ.4 (ถามี) อยางนอยรอยละ 25 ของรายวิชาที่เปดสอนในแตละปการศึกษา

x x x x x

(7) มีการพัฒนา/ปรับปรุง การจัดการเรียนการสอน กลยุทธการสอนหรือการประเมินผลการเรียนรูจากผลการประเมินการดําเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปที่แลว

x x x x

(8) อาจารยใหม (ถามี) ทุกคนไดรับการปฐมนิเทศหรือคําแนะนําดานการจัดการเรียนการสอน

x x x x x

(9) อาจารยประจําทุกคนไดรับการพัฒนาทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพอยางนอยปละ 1 ครั้ง

x x x x x

(10) จาํนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน(ถามี) ไดรับการพัฒนาทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพไมนอยกวารอยละ 50 ตอป

x x x x x

(11) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปสุดทาย/บัณฑิตใหมที่ดีตอคุณภาพหลักสูตรเฉล่ียไมนอยกวา 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0

x x

(12) ระดับความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตที่มีตอบัณฑิตใหมเฉล่ีย ไมนอยกวา 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0

x

Page 57: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 56

หมวดที่ 8 การประเมิน และปรับปรงุการดําเนินการของหลักสูตร 1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 1.1 การประเมินกลยทุธการสอน 1) ประเมินรายวชิา โดยนักศึกษา 2) ประเมินกลยทุธการสอนโดยทีมผูสอนหรือโดยคณะกรรมการระดับภาควิชา 3) ประเมินจากผลการเรียนของนักศึกษา 4) ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการอภิปราย การซักถามและการตอบคําถามในชั้น

เรียน 5) สงเสริมการวจัิยในชั้นเรียนเพ่ือการพัฒนากลยุทธการสอน 1.2 การประเมินทักษะของอาจารยในการใชแผนกลยุทธการสอน 1) การประเมินผลการสอนของอาจารยโดยนักศึกษาในแตละรายวชิา 2) สังเกตการณ โดยผูรับผิดชอบหลักสูตรหรือประธานหลกัสูตรหรือทีมผูสอน 3) รายงานผลการประเมินทักษะอาจารยใหแกอาจารยผูสอนและผูรับผดิชอบหลักสูตรเพ่ือใชใน

การปรับปรุงกลยุทธการสอนของอาจารยตอไป 4) คณะรวบรวมผลการประเมนิทักษะของอาจารยในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาและ/หรือ

ปรับปรุงทักษะ กลยุทธการสอน 2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 1) ผูรับผิดชอบหลักสูตรประเมินหลักสูตรหลงัสิ้นสุดการสอนแตละป 2) คณะทําการประเมินภาพรวมของหลักสูตรจากนักศึกษาชั้นปสุดทาย 3) มหาวิทยาลัยทําการประเมนิภาพรวมของหลักสูตรจากบัณฑิตใหม 4) มหาวิทยาลัยทําการประเมนิภาพรวมของหลักสูตรจากผูใชบัณฑติ 3. การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร คณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน ดําเนินการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี ้(Key Performance Indicators) ในหมวดที่ 7 ขอ 7 4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรงุหลักสูตรและแผนกลยทุธการสอน 1) ผูรับผิดชอบหลักสูตรจัดทํารายงานการประเมินผลหลักสูตร 2) ผูรับผิดชอบหลักสูตร และคณาจารย จัดประชุม สัมมนา เพ่ือนําผลการประเมินมาวางแผน

ปรับปรุงหลักสูตร และกลยทุธการสอน 3) ผูรับผิดชอบหลักสูตรเสนอวธิีการปรับปรุงหลักสูตรและแผนกลยุทธ

Page 58: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 57

ภาคผนวก

ก. ระเบียบมหาวทิยาลัยสงขลานครินทร วาดวยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ.ศ. 2552 ข. คําอธิบายรายวิชา ค. สาระการเรียนรูวิชาเฉพาะดานตามมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร ง. ระเบียบคณะวิศวกรรมศาสตร วาดวยการสําเร็จการศกึษา จ. ประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วาดวยเรื่องการเรียนวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานสําหรับ

นักศึกษาทีเ่ขาศึกษาตั้งแตปการศึกษา 2551 เปนตนไป ฉ. เอกสารเปรียบเทียบหลักสตูรเดิมกับหลกัสูตรปรับปรงุใหม ช. ขอมูลอาจารยประจํา ซ. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร ฌ. ความคิดเห็นและขอเสนอแนะของกรรมการผูทรงคุณวฒิุกับการดําเนินการหรือคําชี้แจงของ

ผูรับผิดชอบหลักสูตร

Page 59: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 58

ภาคผนวก ก ระเบียบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วาดวยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ.ศ. 2552

Page 60: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 59

Page 61: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 60

Page 62: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 61

Page 63: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 62

Page 64: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 63

Page 65: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 64

Page 66: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 65

Page 67: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 66

Page 68: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 67

Page 69: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 68

Page 70: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 69

Page 71: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 70

Page 72: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 71

Page 73: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 72

Page 74: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 73

Page 75: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 74

ภาคผนวก ข. คําอธิบายรายวิชา ความหมายของเลขรหัสประจํารายวชิาที่ใชในหลกัสูตรและหนวยกิต เลขรหัสประจํารายวิชาทีใ่ชในหลักสูตร ประกอบดวยเลข 6 หลัก เชน 242-101 มีความหมายดังน้ี เลขรหัส 3 ตวัแรก หมายถึง รหัสภาควิชา /สาขาวิชา เลขรหัส ตวัที่ 4 หมายถึง ชั้นป เลขรหัส ตวัที่ 5 หมายถึง กลุมวิชา เลขรหัส ตวัที่ 6 หมายถึง ลําดับวชิา ความหมายของจํานวนหนวยกิต เชน 3(3-0-6) เลขตัวที่ 1 หมายถึง จํานวนหนวยกิตรวม เลขตัวที่ 2 หมายถึง จํานวนชั่วโมงทฤษฎีตอสัปดาห เลขตัวที่ 3 หมายถึง จํานวนชั่วโมงปฏิบัตติอสัปดาห เลขตัวที่ 4 หมายถึง จํานวนชั่วโมงศึกษาดวยตนเองตอสัปดาห ในคําอธิบายรายวิชาอาจมีคําตาง ๆ ปรากฏอยูใตชื่อของรายวิชา ซ่ึงมีความหมายเฉพาะที่ควรทราบ ดังน้ี 1. รายวิชาบงัคับเรียนกอน (Prerequisite)

1.1 รายวิชาบังคับเรยีนกอน หมายถึง รายวิชาซึ่งผูลงทะเบียนเรียนรายวิชาหนึง่ ๆ จะตองเคยลงทะเบียนและผานการประเมินผลการเรยีนมาแลว กอนหนาที่จะมาลงทะเบียนรายวิชานั้น และในการประเมินผลน้ันจะไดระดับขั้นใด ก็ได

1.2 รายวิชาบังคับเรยีนผานกอน หมายถึง รายวิชาซึ่งผูลงทะเบยีนเรียนรายวิชาหนึ่ง ๆ จะตองเคยลงทะเบียนและผานการประเมินผลการเรียนมาแลว กอนหนาที่จะมาลงทะเบียนเรียนวิชาน้ัน และในการประเมินผลน้ัน จะตองไดรับระดับขั้นไมต่ํากวา D หรือ ไดสัญลักษณ G หรือ P หรือ S

2. รายวิชาบงัคับเรียนรวม (Corequisite) หมายถึง รายวิชาที่ผูลงทะเบียนรายวชิาหนึ่ง ๆ จะตองลงทะเบียนเรียนพรอมกันไป หรือเคยลงทะเบียนเรียนและผานการประเมินผลมากอนแลวก็ได และในการประเมินผลน้ันจะไดระดับขั้นใด ๆ ก็ได อน่ึงการที่รายวิชา B เปนรายวิชาบังคบัเรียนรวมของรายวิชา A มิไดหมายความวารายวชิา A จะตองเปนรายวิชาบังคับเรยีนรวมของรายวิชา B ดวย

3. รายวิชาบงัคับเรียนควบกัน (Concurrent) หมายถึง รายวิชาซึ่งผูลงทะเบยีนเรียนรายวิชาหนึ่งๆ จะตองลงทะเบียนเรียนพรอมกันไปในการลงทะเบียนรายวิชานั้นเปนครั้งแรก โดยตองไดรับการประเมินผลดวย การที่รายวชิา B เปนรายวิชาบังคบัเรียนควบกันของรายวิชา A จะมีผลใหรายวชิา A เปนรายวิชาบงัคับเรียนควบกันของรายวชิา B โดยอัตโนมัติและในคาํอธิบายรายวชิาปรากฏชื่อรายวิชาบังคับเรียนควบกันในทั้งสองแหงโดยสลับชื่อกัน

Page 76: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 75

ข.1. คําอธิบายรายวิชาที่เปดสอนโดยภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร

242-001 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 1 1(0-0-3) Co-Curricular Activities การทํากิจกรรมเชิงบูรณาการองคความรู เนนประโยชนสังคมและประโยชนเพ่ือนมนุษยเปนกิจที่หน่ึง ปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม จิตสํานึกสาธารณะ การทํางานเปนทีม ทั้งในสาขาวชิาและหรือระหวางสาขาวิชา ภายใตคําแนะนาํของอาจารยที่ปรึกษา Activities integrating body of knowledge emphasizing those activities for the benefits of society and mankind as first priority; cultivating morals, ethics and public mind; teamworking within and/or across disciplines under the supervision of advisors

242-101 แนะนําการเขยีนโปรแกรมคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Introduction to Computer Programming หลักการและองคประกอบของคอมพิวเตอร การทํางานรวมกันของฮารดแวรและซอฟแวรหลักการกระบวนการของขอมูลอิเล็กทรอนิกส หลักการเบื้องตนของการโปรแกรมแบบเหตุการณขับ หลักการของภาษาชั้นสูง วธิีการและหลักการของกระบวนการวิเคราะหปญหาเพื่อนํามาสูการเขียนโปรแกรม ชนิดขอมูลพ้ืนฐาน ตัวแปร คาคงที่ ตัวดําเนนิการและนิพจน ประโยคคําสั่งและประโยคคําสั่งเชิงประกอบ การทํางานตามลําดับ การทํางานแบบทางเลือกและการทํางานแบบวนซ้ํา โปรแกรมยอยและกระบวนการสงพารามิเตอร ขอบเขตการใชงานของตัวแปรและโปรแกรมยอย ขอมูลแบบอารเรย ขอมูลแบบโครงสราง Computer concepts, computer components; hardware and software interaction; electronic data processing concepts; event-driven programming concepts; high-level language programming concepts; program design and development methodology; data types; constant; operations and expression; statement and compound statement, flow controls, sequence, alteration and iteration; subprograms and parameter passing process, scope of variable and subprogram, arrays and data structures

242-201 ปฏิบัติการซอฟตแวร 1 1(0-3-0) Computer Engineering Software Laboratory I ปฏิบัติการซอฟตแวรเพ่ือสนับสนุนรายวชิาที่เปดสอนในชั้นปที่ 2 ภาคการศึกษาที ่1 Software laboratory sessions supporting the second year courses of the first semester

242-202 ปฏิบัติการฮารดแวร 1 1(0-3-0) Computer Engineering Hardware Laboratory I ปฏิบัติการฮารดแวรเพ่ือสนับสนุนรายวชิาที่เปดสอนในชั้นปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

Page 77: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 76

Hardware laboratory sessions supporting the second year courses of the first semester

242-203 ปฏิบัติการซอฟตแวร 2 1(0-3-0) Computer Engineering Software Laboratory II รายวิชาบังคับเรียนผานกอน (Prerequisite): 242-201 ปฏิบัติการซอฟตแวรเพ่ือสนับสนุนรายวชิาที่เปดสอนในชั้นปที่ 2 ภาคการศึกษาที ่2 Software laboratory sessions supporting the second year courses of the second semester

242-204 ปฏิบัติการฮารดแวร 2 1(0-3-0) Computer Engineering Hardware Laboratory II รายวิชาบังคับเรียนผานกอน (Prerequisite): 242-202 ปฏิบัติการฮารดแวรเพ่ือสนับสนุนรายวชิาที่เปดสอนในชั้นปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 Hardware laboratory sessions supporting the second year courses of the second semester

242-205 วงจรไฟฟา 3(3-0-6) Electric Circuits ปริมาณและหนวยวัดทางไฟฟา นิยามและความหมายของแรงดัน กระแส และความตานทาน แหลงจายแรงดัน แหลงจายกระแส กฎของโอหม พลังงานและกําลังไฟฟา กฎของเคอรชอฟฟ วงจรอนุกรม วงจรขนาน ทฤษฎีซุปเปอรโพสิชัน ทฤษฎีเธวินิน ทฤษฎีนอรตัน การวิเคราะหวงจรโดยใชวิธลีูปและโหนด แนะนําวงจรไฟฟากระแสสลับ คุณสมบัติของตวัตานทาน ตัวเกบ็ประจุ และตวัเหน่ียวนํา อิมพีแดนซของวงจร การวิเคราะหวงจรที่มีอุปกรณเปนตวัตานทาน ตวัเก็บประจุ และตัวเหน่ียวนํา กําลังไฟฟาในวงจรไฟฟากระแสสลับ Quantities and units; definition and meaning of voltage, current, and resistance; current source; voltage source; ohm’s law; energy and power; Kirchhoff’s laws; series circuit; parallel circuits; superposition theorem; Thevenin’s theorem; Norton’s theorem; circuit analysis using loop and node methods; introduction to alternating current circuits; characteristics of resistor, capacitor, and inductor; circuit impedance; analysis of RLC circuits; power in AC circuits

242-206 แนะนําเครือขายคอมพิวเตอร 2(2-0-4) Introduction to Computer Networks แนะนําความเปนมาของเครือขายคอมพิวเตอร แนะนําเครือขายทองถิ่นและเครือขายระยะไกล การเชื่อมตอเครือขายและอุปกรณ ตัวขยายสัญญาณ ตัวเชื่อม สวิตชและเราทเตอร โครงราง

Page 78: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 77

เครือขาย แบบกระจาย แบบตนไม แบบบัส แบบวงแหวน การสื่อสารแบบการเชือ่มตอลวงหนาและการเชื่อมตอแบบทันที รูปแบบโพรโทคอล อรรถศาสตร ชดุโพรโทคอลทีซีพีไอพี ลําดับชั้นของโพรโทคอล ลําดับชั้นกายภาพ ลําดับชัน้ขอมูลลิงค การเชื่อมตอขามเครือขาย มาตรฐานและองคกรมาตรฐานดานเครือขาย โครงรางเครือขายทองถิ่น เทคโนโลยีเครือขายทองถิ่น โพรโทคอลเครือขายทองถิ่น วิธกีารซีเอสเอ็มเอซดีี การระบุหมายเลข การควบคุมความคับคัง่ วงจรเสมือน คุณภาพการบริการ แนะนําการเชื่อมตอแบบเซอรกิตสวติชและแพ็คเกต็สวิตช แนะนําเครือขายอินเทอรเน็ต อุปกรณและโพรโทคอลที่เกี่ยวของ การทํางานของอินเทอรเน็ต Overview and introduction to computer network history, LAN and WAN; networking and inter-networking devices, repeaters, bridges, switches, routers, gateways; network topologies, mesh, star, tree, bus, ring; connection-oriented and connectionless services, network protocol, syntax, semantics, timing; network protocol suites, TCP/IP; layered protocol software, physical layer networking concepts; data link layer concepts; inter-networking and routing; network standards and standardization bodies; LAN topologies, bus, ring, star; LAN technologies, Ethernet, token ring, gigabit Ethernet; LAN protocols; carrier sense multiple access networks (CSMA); addressing; congestion control; virtual circuits; quality of service; introduction to circuit switching and packet switching; introduction to the Internet

242-207 พ้ืนฐานการเขยีนโปรแกรม 1 3(2-2-5) Programming Fundamentals I กระบวนทัศนของการเขียนโปรแกรม ตัวแปร ชนิดขอมูล นิพจน โครงสรางควบคมุ กลยุทธในการแกโจทยปญหา อารเรย ขอความ การจัดการหนวยความจําแบบเฉพาะใชงาน โครงสรางขอมูลแบบเชือ่มตอ แถวคอย กองเรียงทับซอน ตารางแฮช กราฟ ตนไม การยอนรอย Programming paradigms; programming constructs, variables, types, expressions, control structures; problem-solving strategies; array; string; runtime storage management; linked structures, queues, stack, hash tables, graphs, trees; recursion

242-208 ดิจิตอลตรรกะและการออกแบบ 3(3-0-6) Digital Logic and Design ประวตัิและภาพรวม ทฤษฏกีารสลับคา วงจรคอมบิเนชั่น การออกแบบมอดุลารของวงจรคอมบิเนชั่น สวนประกอบของหนวยความจํา วงจรลําดับ การออกแบบระบบดิจิตอล การออกแบบวงจรโดยใชภาษาบรรยายฮารดแวร การจําลองการทํางานและการจําลองรูปแบบวงจร History and overview; switching theory; combinational logic circuits, modular design of combinational circuits; memory elements; sequential logic circuits; digital system design; hardware description language; modelling and simulation

Page 79: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 78

242-209 อิเล็กทรอนิกสพ้ืนฐาน 3(3-0-6) Basic Electronics แนะนําและทีม่าพื้นฐานอิเล็กทรอนิกส คุณสมบัติทางไฟฟาของวัสดุ วงจรไดโอด ทรานซิสเตอรแบบมอสและการไบแอส ตระกูลรูปแบบของทรานซิสเตอรแบบมอส ทรานซิสเตอรแบบไบโพลารและตระกูลรปูแบบของทรานซสิเตอรแบบไบโพลาร พารามิเตอรในการออกแบบและหัวขอที่เกี่ยวของ แบบจําลองของวงจรและการจําลองการทํางาน อุปกรณเก็บขอมูล รูปแบบของลอจิกการเชื่อมตอและมาตรฐานของบัส วงจรแปลงขอมูล วิเคราะหแหลงจายแรงดันและกระแสไฟฟาของวงจรอิเล็กทรอนิกส การทาํงานของตัวขยายสัญญาณ การออกแบบวงจรขยายสัญญาณ บล็อกวงจรรวม History and overview; electronic properties of materials; diodes and diode circuits; MOS transistors and biasing, MOS logic families; bipolar transistors and logic families; design parameters and issues; storage elements; interfacing logic families and standard buses; operational amplifiers; circuit modelling and simulation; data conversion circuits; electronic voltage and current sources; amplifier design; integrated circuit building blocks

242-210 พ้ืนฐานการเขยีนโปรแกรม 2 2(2-0-4) Programming Fundamentals II รายวิชาบังคับเรียนกอน (Prerequisite): 242-207 การโปรแกรมเชิงวตัถุ ภาวะพหุสัณฐาน ลําดับชั้นของคลาส คอลเลค็ชั่นคลาสและการวนซํ้า รูปแบบการออกแบบพื้นฐาน การโปรแกรมเชิงเหตกุารณ การโปรแกรมภาวะพรอมกัน การใชงานเอพีไอ Object-oriented programming; polymorphism; class hierarchies; collection classes and recursion; fundamental design pattern; event-driven programming; concurrent programming; using APIs

242-211 วิศวกรรมซอฟตแวร 2(2-0-4) Software Engineering แนะนํากระบวนการพัฒนาซอฟตแวร วงจรชีวติของซอฟตแวร ความตองการและขอกําหนดของซอฟตแวร วศิวกรรมการคนหาความตองการระบบซอฟตแวรของลกูคา หลักการออกแบบซอฟตแวร การทดสอบและประเมินผลสัมฤทธิ์ของซอฟตแวร มโนทัศนของการแปลภาษา มโนทัศนของการบริหารจัดการโครงการพัฒนาซอฟตแวร การประกันคุณภาพของซอฟตแวร การคงทนตอความผิดพลาดของซอฟตแวร ววิัฒนาการของซอฟตแวร การบํารุงรักษาซอฟตแวรหลงัการพัฒนา แนะนําเครื่องมือและสิ่งแวดลอมในการพฒันาซอฟตแวร Introduction to software development process; software life cycle; software requirement and specifications; requirement engineering; software design; software testing and validation; concept of language translation; the concept of project management; software

Page 80: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 79

quality assurance; fault tolerance; software evolution; software support and maintenance; software tools and environments

242-212 ความนาจะเปนและสถติ ิ 2(2-0-4) Probability and Statistics ทฤษฎีเซทและทฤษฎีความนาจะเปน ตัวแปรสุม ฟงกชันความนาจะเปน การแจกแจงความนาจะเปนแบบตอเน่ืองและไมตอเน่ืองและการแจกแจงความนาจะเปนสะสม คาคาดหมายของฟงกชันความนาจะเปน กระบวนการสโทแคสติก การแจกแจงตัวอยาง การคาดหมาย การวิเคราะหความแปรปรวน ทฤษฎีการประมาณคา การทดสอบสมมติฐาน การถดถอยและสหสัมพัมธ Set and probabilities; random variables; probability mass function; discrete random variables and probability distributions; continuous random variables and probability distributions; stochastic process; simple distribution; expectation; variance analysis; estimation; hypothesis tests; correlation and regression

242-213 คณิตศาสตรดิสครีต 2(2-0-4) Discrete Mathematics บทนํา ตวัแบบเวลาไมตอเน่ือง ตัวแบบเวลาตอเน่ือง ฟงกชั่น ความสัมพันธ เซท การนับได คารดินาลิตี้ ตรรกะพื้นฐาน เทคนิคการพสิูจน พ้ืนฐานการนับ กราฟ ตนไม การเรียกซ้ํา ทฤษฎกีารคํานวณไดพ้ืนฐาน ดีเทอรมินิสตริคไฟไนทออโตมาตา นอนดีเทอรมินิสตริคไฟไนทออโตมาตา Introduction; discrete-time model, continuous-time model; functions, relations; sets; countability; cardinality; basic logic; proof techniques; basics of counting; graphs; trees; recursion; basic computability theory; deterministic finite automata; non-deterministic finite automata

242-214 การสื่อสารขอมูล 2(2-0-4) Data Communications แนะนําการสื่อสารขอมูล ขั้นตอนการเขา-ถอดรหัสและทฤษฎีมอดูเลชัน ตัวกลางในการสงชนิดตางๆ การมัลติเพล็กซเชนการแบงแบบความถี่หรือชวงเวลา เทคนิคการตรวจหาและแกไขขอผิดพลาด การแทนที่ขอมูลอนาล็อกและดิจิตอล หลักการบีบอัดขอมูลแบบไดขอมูลกลับมาใหเหมือนเดิมและตัดทิ้ง เทคนิคการบีบอัดขอมูลโดยใชหลักการของฮัฟฟแมนและเล็มเปล การบีบอัดออดิโอและวีด ิโอ ประเด็นของการวัดสมรรถนะ เวลา ปจจัยในการบีบอัด ความเหมาะสมสําหรับการใชแบบเวลาจริง เมตริกซสําหรับการประเมนิสมรรถนะของการติดตอสื่อสาร Overview of data communication systems; encoding and decoding algorithms; modulation techniques; transmission media; multiplexing; FDM, TDM; error detections and correction; analog and digital representations; compression and decompression techniques, lossless compression, lossy compression; data compression, Huffman coding, the Ziv-Lempel

Page 81: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 80

algorithm; audio compression, audio decompression; image compression, image decompression; video compression, video decompression; performance issues; timing; compression factor; suitability for real-time use; metrics for communication performance evaluation

242-301 ปฏิบัติการวศิวกรรมคอมพิวเตอรขั้นสูง 1 1(0-3-0) Advanced Computer Engineering Laboratory I รายวิชาบังคับเรียนผานกอน (Prerequisite): 242-203 และ 242-204 ปฏิบัติการในหัวขอทางวศิวกรรมคอมพิวเตอรเพ่ือสนบัสนุนรายวชิาที่เปดสอนในชั้นปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 Laboratory sessions in computer engineering related topics that support subjects offered in the first semester of the third year course

242-302 ปฏิบัติการวศิวกรรมคอมพิวเตอรขั้นสูง 2 1(0-3-0) Advanced Computer Engineering Laboratory II รายวิชาบังคับเรียนผานกอน (Prerequisite): 242-301 ปฏิบัติการในหัวขอทางวศิวกรรมคอมพิวเตอรเพ่ือสนบัสนุนรายวชิาที่เปดสอนในชั้นปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 Laboratory sessions in computer engineering related topics that support subjects offered in the second semester of the third year course

242-303 ประเด็นทางจริยธรรม กฎหมาย และสังคมของวิชาชีพคอมพิวเตอร 1(1-1-1) Ethical, Legal and Social Issues in Computer Profession แนะนําประเดน็สําคัญตางๆ ทางจริยธรรม กฎหมาย และสังคมของวชิาชีพคอมพิวเตอร นโยบายสาธารณะ ผลกระทบของคอมพิวเตอรที่มีตองานและสังคม แนวคิด วธีีการ และเครื่องมือในการวิเคราะห บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบทางวิชาชีพและสงัคม ความเสีย่งและความนาเชื่อถือ ทรัพยสินทางปญญา ความเปนสวนตัว สทิธิและเสรีภาพ อาชญากรรมคอมพวิเตอร ประเด็นทางเศรษฐศาสตร กรณีศึกษาสาํคัญที่เกิดขึ้น องคกรและบคุคลทีเ่กี่ยวของ การวิเคราะหปญหาและเสนอแนวทางแกไข Introduction to important ethical, legal and social issues on computer; public policy; methods and tools of analysis; professional and ethical responsibilities; risk and reliability; intellectual property; privacy and civil; computer crime; economic issues; case studies; stakeholders; problem analysis and solutions

Page 82: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 81

242-304 ระบบปฏิบตัิการคอมพิวเตอร 2(2-0-4) Computer Operating Systems วิธีการทํางานและสวนประกอบของระบบปฏิบัติการ ฟงกชันพ้ืนฐานของระบบปฏบิัติการคอมพิวเตอร กระบวนการ กระบวนการยอย ภาวะพรอมกัน การประสานเวลา ภาวะติดตาย การจัดสรรหนวยประมวลผล การจัดการหนวยความจํา การจัดแบงหนวยความจําแบบเปนหนา การจัดการอุปกรณ การปองกันอันตรายและความปลอดภัยคอมพิวเตอร การจัดระบบแฟมขอมูล การประเมินประสิทธิภาพของระบบ Design principles; process; threads; concurrency; synchronization; deadlock; scheduling dispatch; memory management, paging; device management; security and protection; file systems; system performance evaluation

242-305 ระบบฐานขอมูล 3(3-0-6) Database Systems รายวิชาบังคับเรียนกอน (Prerequisite): 242-207 ระบบฐานขอมูล แบบจําลองของขอมูล ฐานขอมูลเชิงสมัพันธ การออกแบบฐานขอมูลเชิงสัมพันธ สื่อเก็บขอมูลและโครงสรางระบบแฟมขอมูล พจนานุกรมขอมูล วัฏจักรและขั้นตอนการพัฒนาฐานขอมูล ภาษาสอบถามฐานขอมูล กระบวนการประมวลผลรายการเปลี่ยนแปลง ระบบฐานขอมูลเชิงกระจาย การออกแบบทางกายภาพของฐานขอมูล Database system; data modelling; relational databases; relational database design; media and database structure; data dictionary; development and database life cycle; database query languages; transaction processing; distributed databases; physical database design

242-306 การประมวลผลบนอุปกรณเคลื่อนที่ในเครอืขายไรสาย 2(2-0-4) Wireless and Mobile Computing ความเปนมาของระบบสื่อสารไรสายมาตรฐาน การประมวลผลบนอุปกรณเคลื่อนที่ในเครือขายไรสาย เทคโนโลยีการสื่อสารเครือขาย เครอืขายทองถิ่นไรสาย เครือขายเซลลลูาร เครือขายดาวเทียม โมบายไอพี เทคโนโลยีเกิดใหม การจัดการตําแหนงและการเคลื่อนที่ การประเมินคาสมรรถนะ Overview of wireless standards; wireless and mobile computing; communication network technologies; wireless local area networks; cellular networks; satellite-based networks; mobile Internet protocols; emerging technologies; mobility management and location management; performance evaluation

Page 83: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 82

242-307 สถาปตยกรรมคอมพิวเตอรและระบบ 3(3-0-6) Computer Architecture and Organization สถาปตยกรรมคอมพิวเตอรพ้ืนฐาน โครงสรางของชุดคําสั่ง การจัดองคประกอบของโพรเซสเซอร ระบบหนวยความจําและแคช อินพุตและเอาทพุต สถาปตยกรรมแบบคําสั่งสั้น สถาปตยกรรมแบบคําสั่งทีย่าวมาก การสนับสนุนระบบปฏิบตัิการ การคํานวณคอมพิวเตอร สถาปตยกรรมและการจัดองคประกอบของหนวยความจํา เทคนิคไปปลายนและซุปเปอรสเกลาร การสื่อสารและการเชื่อมตอ อุปกรณระบบยอย การจัดองคประกอบของหนวยประมวลผล โพรเซสเซอรแบบหลายคอร แนะนําระบบคํานวณแบบขนาน การประเมนิประสทิธิภาพของระบบ Fundamental of computer architecture; instruction set architecture; processor organization; memory system and cache; input/output; RISC; VLIW; operating system support; computer arithmetic; memory system organization and architecture; pipeline and superscalar techniques; interfacing and communication; device subsystems; organization of the CPU; multi-core processor; introduction to parallel processing; system performance evaluation

242-308 เตรียมการโครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2(0-2-4) Computer Engineering Project Preparation รายวิชาบังคับเรียนผานกอน (Prerequisite): 242-207 และ 242-208 การศึกษาปญหาที่จะนํามาใชทําโครงงานในรายวิชาโครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 1 และ 2 โดยศึกษาขอมูลและทําการทดลองเบื้องตนเพ่ือเปนพ้ืนฐานในการทําโครงงาน มีการเขียนขอเสนอโครงงาน ซ่ึงประกอบดวยความสําคัญและความเปนมา วัตถุประสงค ขอบเขต งานของผูอ่ืนที่เกี่ยวของ วิธีการดําเนินงาน ผลที่คาดวาจะไดรับ และขอมูลอ่ืน ๆ ที่สําคัญ มีการนําเสนอผลงานในชั้น Review of the literature before embarking on a senior project; reading and conducting some preliminary experiments for the senior project; writing a project proposal report including motivations, objectives, scope, related works, methodologies, expected results, and others related information; giving two oral presentations on the project proposal

242-309 ไมโครคอนโทรลเลอรและการเชื่อมตอ 3(3-0-6) Microcontroller and Interfacing แนะนําไมโครโพรเซสเซอรและไมโครคอนโทรลเลอร สถาปตยกรรม อินเตอรรัพต การออกแบบระบบ ชุดคําสั่งและภาษาแอสเซมบล ีการเชื่อมตออุปกรณรอบขาง วงจรตั้งเวลา การสือ่สารแบบอนุกรม การเขาถึงหนวยความจําโดยตรง การทวนสอบแบบมีแบบแผน แบบจําลองผิดพรองและการทดสอบ การออกแบบเพื่อการทดสอบ การออกแบบระบบโพรเซสเซอร การเพิ่มประสิทธิภาพและการทดสอบสมรรถนะ ระบบกระจาย Introduction to microprocessor and microcontroller; architecture; interrupt; system design; instruction set and assembly language; peripheral interface; timer; serial

Page 84: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 83

communication; direct memory access; formal verification; fault models and testing; design for testability; processor systems design; performance enhancements and evaluation; distributed system model

242-310 แนะนําขั้นตอนวิธีและความซับซอน 2(2-0-4) Introduction to Algorithms and Complexity รายวิชาบังคับเรียนผานกอน (Prerequisite): 242-207 ความเปนมาและภาพรวมของขั้นตอนวิธ ีหลักการพื้นฐานของการวิเคราะหขั้นตอนวิธี การวิเคราะหความซับซอนขอบบนและเฉลีย่ บิกโอ แนะนําวิธีการทางขั้นตอนวธิี ขัน้ตอนวิธีแบบถี่ถวน ขั้นตอนวธิีเชิงละโมบ หลักการแบงแยกเพือ่เอาชนะ การยอนรอย ขั้นตอนวิธี ขั้นตอนวิธีเชิงตัวเลข การเรียงลําดับขอมูล คนหาขอมูล ตารางแฮช กราฟ ขั้นตอนวธิีหาทางที่สั้นที่สุด ขั้นตอนวธิีแบบกระจาย ความซับซอนของขั้นตอนวธิี ปญหาที่จัดการไดและไมได กลุมปญหาแบบพี เอ็นพี และ เอ็นพีสมบูรณ ปญหามาตรฐานแบบเอ็นพีสมบรูณ Overview of algorithms; basic algorithmic analysis, analysis of upper and average complexity bound, big O notation; introduction to algorithmic strategies, brute-force algorithm, greedy algorithm, divide-and-conquer, backtracking; computing algorithms, simple numerical algorithms, sorting, searching, hash table, graph, shortest-path algorithms, Dijkstra’s and Floyd’s; distributed algorithms; algorithmic complexity, tractable, intractable problems; class P, class NP; NP-completeness; standard NP-complete problems

242-311 การคํานวณแบบแมขาย/ลกูขายและเทคโนโลยีเว็บ 2(2-0-4) Client/Sever Computing and Web Technologies แนะนําการเขยีนโปรแกรมซ็อกเก็ต การเรียกใชกระบวนงานระยะไกล เทคโนโลยีเว็บ สถาปตยกรรมแบบหลายชัน้สวน ซีจีไอ คุณลักษณะของแมขายเว็บ โปรแกรมฝงแมขาย โปรแกรมฝงลูกขาย การจัดการขออนุญาต เครื่องมือสนับสนุนในการสรางเว็บ เครื่องมือสนับสนุนในการจัดการเว็บ Overview of socket programming; remote procedure call, web technologies; tiers architecture; CGI; characteristics of web servers; server-side programs; client-side programs; permission handlings; web creation support tools; web management supporting tools

242-312 ความปลอดภยัคอมพิวเตอร 2(2-0-4) Computer Security หลักการความปลอดภัยคอมพิวเตอร วทิยาการรหัสลบั กุญแจสาธารณะ กุญแจสมมาตร ความเปนสวนตัว การซอนขอมูล การพิสูจนตัวจริง รหัสผาน กลไกการควบคุมการเขาถึง การกรองเพจเก็ต ไฟรวอลล เครือขายสวนตวัเสมือน ความปลอดภยัชั้นทรานสปอรท ประเด็นการจัดการเครือขาย การประเมินประสิทธิภาพ ประเด็นคุณภาพบริการ

Page 85: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 84

Principle of computer security; cryptography; public key, symmetric key; privacy; steganography; authentication, password; access control mechanisms, packet filtering, firewalls; virtual private networks; transport layer security; issues of network management; performance evaluation; quality of service issues

242-320 ระเบียบวธิีการพัฒนาซอฟตแวร 3(3-0-6) Software Development Methodologies รายวิชาบังคับเรียนผานกอน (Prerequisite): 242-211 มโนทัศนของโอเพนซอรส แชรแวร ฟรีแวร ประเด็นการใชซอฟตแวรซํ้า ไลบรารขีองโปรแกรม สวนประกอบของซอฟตแวร การสรางไลบรารีหรือสวนประกอบของซอฟตแวรเพ่ิม การติดตอกับโปรแกรมประยุกต หลักการออกแบบสวนติดตอ ประเด็นสือ่หลายแบบ ประเด็นการจัดการสวนเก็บขอมูล หนาที่ของมิดเดิลแวร กรณีศึกษา Concepts of open source, share ware, freeware; issues of software reuse, program libraries; software components; creation of additional libraries and other components; application program interfaces, principles of interface design; multimedia issues; storage management issues; the role of middleware; case studies

242-321 สถาปตยกรรมการออกแบบและวิศวกรรมสําหรับระบบอัจฉริยะ 3(3-0-6) Design Architecture and Engineering for Intelligent Systems ประเด็นพ้ืนฐานเกี่ยวกับระบบอัจฉริยะ กลยุทธ การแกปญหาดวยการสืบคนแบบพ้ืนฐานและแบบกาวหนา การใหเหตุผลจากฐานความรู การใหเหตุผลขั้นสูง การเรียนรูของระบบอัจฉริยะ หนวยทํางานแบบเอเจนต ระบบเอเจนตเดียวและเอเจนตหลายตัว กรณีศึกษาการประยุกตใชงานระบบอัจฉริยะ ระบบผูเชี่ยวชาญ เว็บเชิงไวยากรณ ระบบควบคุมแบบอัจฉริยะ บานอัจฉริยะ Fundamental issues of intelligent systems; basic and advanced search strategies; knowledge-based reasoning; advanced reasoning; machine learning; agents; case studies of intelligent systems, expert system, semantic web, intelligent control system, home intelligence

242-340 การออกแบบวงจรรวมขนาดใหญมาก 3(3-0-6) VLSI Design รายวิชาบังคับเรียนกอน (Prerequisite): 242-208 คุณสมบัติของวัสดุทางอิเลก็ทรอนิกส ฟงกชันการทํางานของโครงสรางวงจรอินเวอรเตอร โครงสรางของวงจรรวม โครงสรางของวงจรลําดับ หนวยความจําสารกึ่งตัวนําและโครงสรางแบบอารเรย วงจรอินพุตและเอาตพุตของชิป กระบวนการสรางและการวางเลยเอาท คณุสมบัติและประสิทธิภาพของวงจร โครงสรางวงจรแบบประยกุต การออกแบบพลังงานต่ํา เทคโนโลยีการออกแบบแบบกึ่งอัตโนมัติ วิธีการออกแบบวงจรแบบเอเอสไอซ ี

Page 86: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 85

Electronic properties of materials; function of the basic inverter structure, combinational logic structure, sequential logic structure, semiconductor memories and array structures; chip input/output circuits; processing and layout; circuit characterization and performance; alternative circuit structures; low power design; semi-custom design technologies; ASIC design methodology

242-341 การออกแบบระบบฝงตวั 3(3-0-6) Embedded System Design รายวิชาบังคับเรียนรวม (co-requisite): 242-309 ภาพรวมและประวตัิศาสตรของระบบฝงตัว ไมโครคอนโทรลเลอรทีใ่ชงานในระบบฝงตวั การโปรแกรมระบบฝงตวั การออกแบบระบบใหมีความนาเชื่อถือสูง กระบวนการของการออกแบบ เครือขายของระบบฝงตวั การเชื่อมตอ ระบบซ่ึงใชสญัญาณแบบผสม History and overview; embedded microcontrollers; embedded programs; low-power computing; reliable system design; design and methodologies; network embedded systems; interfacing and mixed-signal systems

242-360 การจําลองและการวิเคราะหการสื่อสารเครือขาย 3(3-0-6) Modelling and Analysis for Network Communications รายวิชาบังคับเรียนกอน (Prerequisite): 242-212 แนะนํากระบวนการสโทแคสติก กระบวนการปวซอง กระบวนการเบริธ-เด็ธ ทฤษฎีลูกโซแบบมารคอฟ ทฤษฎีควิ การจําลองทฤษฎีคิวดวยสมการคณิตศาสตรเพ่ือวิเคราะหเกี่ยวกับสมรรถนะของเครือขายการสื่อสาร คิวแบบ M/M/s คิวแบบ M/D/1 คิวแบบ M/G/1 Stochastic process; Poisson process; birth-death process; Markov chains; queueing theory; performance analysis for queueing models; M/M/s queue, M/D/1 queue, M/G/1 queue

242-361 วิศวกรรมอินเทอรเน็ต 3(3-0-6) Internet Engineering การออกแบบและฟงกชันของอินเทอรเน็ตโพรโทคอล แนวความคิดของอินเทอรเน็ต สถาปตยกรรมและโพรโทคอลของเครือขาย ลําดับชั้นจากบนลงลางของอินเทอรเน็ต ระบบชื่อโดเมน โพรโทคอลทซีีพี ยูดีพี โพรโทคอลของลําดับชั้นสื่อสาร การควบคุมความผิดพลาดของโพรโทคอลไอซีเอ็มพี การเปลี่ยนแปลงจากโพรโทคอลไอซีเอ็มจีเปนไอพีรุน 6 การรวมกลับของขอมูลในลําดับชั้นและการแบงยอยขอมูล การรักษาความปลอดภัยในของไอพี ความสัมพันธของไอพีแอดเดรสและไอพีรุน 6 การกําหนดคาเริ่มตนของดีเอชซีพี ดีเอชซีพีรุน 6 การบริหารเครือขายเอสเอ็นเอ็มพี เครือขายแบบเวลาจริง การประกันคณุภาพ Concept and overview of the Internet; design and functions of the Internet protocol; network architecture and protocols; network layers; domain system; TCP, UDP, transport

Page 87: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 86

protocols; error control of ICMP; IPNG to IPv6; fragment and defragment; security in IP networks; addressing and IPv6; DHCP and DHCPv6; network management of SMNP; real-time networking and QoS

242-380 การประมวลผลสัญญาณและภาพ 3(3-0-6) Signals and Image Processing ทฤษฏีและหลกัการของการประมวลผลขอมูลสัญญาณและภาพแบบดิจิตอล การไดมาของขอมูลสัญญาณและภาพ การสุมตัวอยางและควอนไทเซชัน การคอนโวลูชัน อนุกรมฟูเรียร การแปลงฟูเรียรแบบตอเน่ืองและไมตอเน่ือง การกรองสัญญาณและภาพเชิงตําแหนง การกรองสัญญาณและภาพเชิงความถี่ การวิเคราะหภาพเชิงสัณฐานวิทยา การแยกขอมูลภาพ การประมวลผลภาพกับรปูรางและโครงสรางของภาพ การรูจําภาพ การบีบอัดขอมูลภาพ Theories and principle of digital signal and image processing; acquisition; sampling and quantization; convolution; Fourier series; continuous and discrete Fourier transform; spatial filters; frequency filters; morphological image processing; image segmentation; shape representation and description; image recognition; image compression

242-381 ระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอร 3(3-0-6) Computer Control systems การจําลองทางคณิตศาสตรของระบบ การตอบสนองของระบบในโดเมนเวลา ความเสถียร ความผิดพลาดในสถานะอยูตัว การวิเคราะหระบบโดยเสนทางเดินของราก การวิเคราะหในโดเมนความถี่ การออกแบบตวัควบคุมแบบพีไอดี การแปลงแซด การวิเคราะหระบบควบคุมโดยการจําลองบนคอมพิวเตอร การเขียนโปรแกรมสําหรับระบบควบคุม Mathematic modelling of systems; time response; stability; steady-state error; root locus analysis; frequency domain analysis; design of PID controller; Z-transform; sampling; simulation of control system; control system programming

242-400 การฝกงาน ไมนอยกวา 320 ชั่วโมง Practical Training ฝกงานทางดานวิศวกรรมคอมพิวเตอรในโรงงานอุตสาหกรรม องคกร หรือสถาบันการศกึษา ซ่ึงนักศกึษาจะตองลงทะเบียนเรียนผานรายวิชาทั้งหมดตามแผนการศึกษามาแลวไมนอยกวา 5 ภาคการศึกษาปกติ และมีระยะเวลาในการฝกงานไมนอยกวา 320 ชั่วโมง Students who have completed a minimum of 5 regular semesters have to spend at least 320 hours training in industrial enterprises, companies or academic institutes

Page 88: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 87

242-401 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 1 3(0-6-3) Computer Engineering Project I รายวิชาบังคับเรียนผานกอน (Prerequisite): 242-203 และ 242-204 และ 242-308 นักศึกษาแตละคนจะตองทําโครงงานทางดานวิศวกรรมคอมพิวเตอรหน่ึงโครงงานซึ่งคลุมสองเทอม โดยเนนงานดานการออกแบบและการสราง หรือการศึกษาคนควาจากการทดลอง นักศึกษาจะตองรายงานความกาวหนาของงานดวยการพูดในทีส่ัมมนาเปนระยะๆ แมวานักศึกษาจะไดรับการแนะนําปรึกษาจากอาจารยที่ปรึกษาอยางนอยหนึ่งคน นักศึกษาจะตองแสดงความคิดริเริ่มและเปนผูดําเนินการแกปญหาตางๆ เองเปนสวนใหญ Each student will perform a project in the fields of computer engineering spanning two semesters; the project should focus on design, development or research and experimentation; students must give an oral presentation on his/her progress periodically; although students are supervised by at least one supervisor, most of the time they should initiate project ideas and solve the problem by themselves

242-402 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2 3(0-6-3) Computer Engineering Project II รายวิชาบังคับเรียนผานกอน (Prerequisite): 242-401 เปนวิชาตอเน่ืองจากวิชา 242-401 โดยเปนการดําเนินงานตอเน่ืองไปจนกระทั่งเสร็จโครงงาน รวมทั้งเขียนรายงานฉบับสมบูรณดวย Continuing of 240-401 for developing the project until finish; an oral presentation and demonstration of the project must be given; a final written report must be submitted

242-420 วิศวกรรมเวบ็และการประยกุตใชงาน 3(3-0-6) Web Engineering and Applications แนะนําวิศวกรรมเว็บและองคประกอบพื้นฐาน การสรางแบบจําลองโปรแกรมประยุกตเว็บ สถาปตยกรรมเว็บและการออกแบบโปรแกรมประยุกตเวบ็ที่ดีตามหลักการ การจัดการโครงงานเพื่อพัฒนาโปรแกรมประยุกตเวบ็ เทคโนโลยีเว็บแบบตางๆ ของทางดานแมขายและลกูขาย เวบ็เชิงบริการ เว็บแมชอัพ กรณีศึกษาเฟรมเวิรคชวยการพัฒนาโปรแกรมประยุกตเว็บแบบตางๆ Introduction of web engineering; modelling web applications; web architectures, application design, and accessibility; web project management; the web application development process; client-side and server-side technologies for web applications; web mashup; web services; testing web applications; technologies for mobile web development: case studies on various web application development frameworks

Page 89: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 88

242-421 ระบบสารสนเทศและการจัดการ 3(3-0-6) Information Systems and Management รายวิชาบังคับเรียนผานกอน (Prerequisite): 242-305 แนะนําระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศในองคกร การจัดระบบของขอมูลและสารสนเทศ วัฏจักรการพฒันาระบบสารสนเทศ แนวทางในการพัฒนาระบบสารสนเทศ การจัดการโครงการ ระบบสารสนเทศและการตัดสินใจ พานิชยอิเล็กทรอนิกส ผลกระทบของระบบสารสนเทศตอบคุคลและสังคม Introduction to information systems; information systems in organizations; organizing data and information; information systems development life cycle; themes in information systems development; project management; information systems and decision support; E-commerce; personal and social impact of information systems

242-422 การบริหารจัดการโครงการซอฟตแวร 3(3-0-6) Software Project Management รายวิชาบังคับเรียนผานกอน (Prerequisite): 242-211 การเริ่มตนโครงการ การบริหารจัดการและความสําเร็จ การประเมินคาและความเสีย่ง ระบบคุณภาพและการทําใหเกิดผล การพัฒนาซอฟตแวรขนาดใหญ ผลกระทบทางสิ่งแวดลอม สัญญา ตนทุน การเงนิ การวางแผน องคกร การบริหารจัดการคน นโยบายและกลยทุธของสัญญา การพาณิชยนานาชาติ การตอรอง ศุลกากร กฎหมาย Project initiation; management and success; appraisal and risk; quality systems and implementation; large scale software development; environmental impacts; contracts; costs; finance; planning; organization; personnel management; contract strategies and policy; international commerce; negotiation; customs and law

242-423 วิศวกรรมระบบซอฟตแวรเชิงบริการ 3(3-0-6) Service-Oriented Software System Engineering รายวิชาบังคับเรียนผานกอน (Prerequisite): 242-210 แนวคิดพื้นฐานของการพัฒนาซอฟตแวรเชิงบริการ สถาปตยกรรมการออกแบบและพัฒนาซอฟตแวรเชิงบริการ การจัดการกิจกรรมและประกอบบริการ ซอฟตแวรเชิงบริการสําหรับอุปกรณสื่อสารไรสายเคลื่อนที่และเอเจนต การรักษาความปลอดภัยในระบบซอฟตแวรเชิงบริการ กรณีศึกษาโปรแกรมประยุกตเชิงบริการแบบตางๆ Conceptual foundation of service-oriented development; service-oriented architecture design and development; activity management and service composition; mobile web services and agents; security in service-oriented systems; case studies of service orientation applications

Page 90: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 89

242-424 การประมวลผลขอมูลและองคความรูแบบกาวหนา 3(3-0-6) Advanced Information and Knowledge Processing รายวิชาบังคับเรียนผานกอน (Prerequisite): 242-321 แนวคิดพื้นฐานของเกี่ยวกบัการประมวลองคความรูดวยออนโทโลยี การแทนองคความรูดวยออนโทโลยี กระบวนการและวธิีการสาํหรับการสรางออนโทโลยี ภาษาสําหรับการสรางออนโทโลยี เครื่องมือชวยการพัฒนาออนโทโลยี การคนหาองคความรูดวยออนโทโลยี เทคโนโลยีเวบ็เชิงความหมาย เว็บบรกิารเชิงความหมาย กรณีศึกษางานประยุกตเกี่ยวกับออนโทโลยี Conceptual foundations of knowledge processing using ontologies; knowledge representation ontologies, methodologies and methods for building ontologies; languages for building ontologies, ontology tools; knowledge discovery for ontologies; semantic web technologies; semantic web services; case studies of ontology-based applications

242-425 เหมืองขอมูล 3(0-6-3) Data Mining รายวิชาบังคับเรียนผานกอน (Prerequisite): 242-305 แนะนําเหมืองขอมูล คุณสมบัติของขอมูล การเตรียมขอมูล วิธีลดขอบเขตของขอมูล การวิเคราะหขอมูล ตนไมสําหรบัการตัดสินใจ กฎของความเชื่อมโยง การแบงประเภทของขอมูล การจัดกลุมของขอมูล การคนพบความรูในฐานขอมูล เทคนิคในการประเมนิผล Introduction to data mining; data property; data preprocessing; data dimension reduction methods; data analysis; decision trees; association rules; data classification; data clustering; knowledge discovery in database; evaluation techniques

242-426 ขั้นตอนวธิีขั้นสูง 3(0-6-3) Advanced Algorithms รายวิชาบังคับเรียนผานกอน (Prerequisite): 242-310 ตัวอยางปญหาทางขั้นตอนวิธี กราฟ ขั้นตอนวิธเีชิงละโมบ ขั้นตอนวิธีแบบการแบงแยกเพ่ือเอาชนะ การโปรแกรมแบบพลวัต ขัน้ตอนวิธเีชิงเรขาคณิต ปญหาแบบ NP และปญหาที่ไมสามารถจัดการไดทางการคํานวณ กลุมของปญหาที่อยูนอกเหนือ NP ขั้นตอนวิธีการประมาณ การคนหาแบบทองถิ่น ขั้นตอนวิธีที่ใชหลกัการสุม Some representative problems; graphs; greedy algorithms; divide and conquer; dynamic programming; geometric algorithms; NP and computational intractability; class of problems beyond NP; approximation algorithms; local search; randomized algorithms

Page 91: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 90

242-427 คอมพิวเตอรแอนิเมชันและเกม 3(3-0-6) Computer Animation and Game รายวิชาบังคับเรียนผานกอน (Prerequisite): 242-210 แนะนําเทคโนโลยีเกมในแบบตาง ๆ ประเภทของเกมและหลักการการออกแบบ ผลกระทบของเกมตอสังคม เครื่องมือและเทคนิคการเขียนโปรแกรมสําหรับสรางเกม ระบบจําลองแบบความจริงเสมือน การเขียนโปรแกรมแบบการวนซ้าํของเหตุการณ การจัดการงานยอย การทําใหสมจริง ภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ การแสดงพื้นพิวและฉากหลัง ตนแบบรูปหลายเหลี่ยม พ้ืนผิว การตรวจสอบการชน พ้ืนฐานตนแบบทางฟสกิส ปญญาประดิษฐสําหรบัเกม เกมแบบหลายผูเลนผานระบบเครือขาย History, computer game technology, video game technology; game genres, design principles, social impact of games; programming interactive games, tools, techniques, virtual reality simulations; programming aspects, event loops, execution threads, rendering, animation in 3D, terrain representation, background representation, polygonal models, texturing, collision detection, physically-based modelling; game artificial intelligence; multi-user games and networking

242-428 การปฏิสัมพันธระหวางมนษุยและคอมพิวเตอร 3(3-0-6) Human-Computer Interaction รายวิชาบังคับเรียนผานกอน (Prerequisite): 242-210 แนวคิดและหลักการพื้นฐานของการปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร การติดตอกับผูใชแบบกราฟก เทคโนโลยีดานอินพุตเอาตพุต การประเมินซอฟตแวรโดยใชมนุษยเปนศูนยกลาง การพัฒนาซอฟตแวรโดยใชมนุษยเปนศูนยกลาง การออกแบบระบบการติดตอกับผูใชแบบกราฟก การโปรแกรมสวนติดตอกับผูใชแบบกราฟก ระบบพหุสื่อหรือมัลติมีเดีย Concepts and foundations of human-computer interaction; graphical user interface; I/O technologies; human-centered software evaluation; human-centered software development; Interactive graphical user-interface design; graphical user-interface programming; multimedia systems

242-429 การรักษาความปลอดภัยโปรแกรมประยุกตเวบ็และระบบสารสนเทศ 3(3-0-6) Security in Web Applications and Information Systems รายวิชาบังคับเรียนผานกอน (Prerequisite): 242-312 ประโยชนของการรักษาความปลอดภัยโปรแกรมเว็บและระบบสารสนเทศ เทคนิคการบุกรุกที่ไมไดรับการอนุญาตและเครื่องมือชวย เทคนคิวธิปีลอดภัยเพ่ือการยืนยันตัวตน การกําหนดระดับสิทธิใชงาน และการเขารหสัขอมูล กลไกการรักษาความปลอดภัยในระบบธุรกิจพาณิชยอิเล็กทรอนิกส การรักษาความปลอดภัยไฟลเอกสาร XML การออกแบบและพัฒนาโปรแกรมประยุกตเว็บแบบปลอดภัย

Page 92: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 91

Benefits of security in web application and information system; hacking techniques and tools; secured techniques for authentication, authorization and data encryption; security in electronic business; securing XML documents; design and development of security-enabled web applications

242-438 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมสารสนเทศ 3(2-2-5) Special Problem in Information Engineering ปญหาพิเศษของเทคโนโลยทีางสาขาวศิวกรรมสารสนเทศ ตามที่ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอรกําหนดเปนคราวๆ ไป Special problem of the technology in information engineering according to the approval granted by the computer engineering department

242-439 หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมสารสนเทศ 3(3-0-6) Special Topic in Information Engineering หัวขอพิเศษความกาวหนาของเทคโนโลยีทางสาขาวศิวกรรมสารสนเทศ ตามที่ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอรกําหนดเปนคราวๆ ไป Special topic in the development of the new technology in information engineering according to the approval granted by the computer engineering department

242-440 ระบบปฏิบตัิการเวลาจริง 3(3-0-6) Real-time Operating Systems

รายวิชาบังคับเรียนกอน (Prerequisite): 242-304 หลักฮารดแวร สัญญาณขัดจังหวะและการจัดการ หลักการจัดกําหนดการแบบเวลาจริงและการนําไปใช ประเด็นเวลาแฝง การจัดการภารกิจ ขอมูลที่ใชรวมกนัและซิงโครไนเซชัน ตวัจับเวลา การสงผานขาวสาร ภาวะถวงดุลระหวางเนื้อที่หนวยความจํากับความเรว็ ปริทัศนระบบปฏิบตัิการเวลาจริงเชิงพาณิชย Hardware concepts; interrupts and interrupt handling; real-time scheduling principles and implementation; latency issues; task management; share data and synchronization; timers; message passing; tradeoffs between memory space and speed; reviewing commercially-available real-time operating systems

Page 93: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 92

242-441 สถาปตยกรรมและการจัดองคกรคอมพิวเตอรขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Computer Architecture and Organization รายวิชาบังคับเรียนกอน (Prerequisite): 242-307 การประมวลผลแบบขนานในระดับชุดคําสั่ง มัลติโปรเซสเซอรและการประมวลผลแบบขนานในระดบัเธรด สถาปตยกรรมแบบขนานและกระจาย แบบจําลองหนวยความจํา ขั้นตอนวิธีแบบขนาน สมดุลภาระงาน การวิเคราะหประสิทธิภาพ เทคโนโลยีกริดและการประมวลผลแบบเมฆ Instruction-level parallelism; multiprocessors and thread-level parallelism; parallel and distributed architectures; memory models; parallel algorithms; load balancing; performance analysis; grid technology; cloud computing

242-442 การจัดกําหนดการทรัพยากรและการจัดการ 3(3-0-6) Resource scheduling and management

รายวิชาบังคับเรียนกอน (Prerequisite): 242-212 บทนํา การวิเคราะหและเทคนิคการจัดกําหนดการ ลําดับความสําคญั การจัดลําดับความสําคัญหลายตวั การวดัประสิทธิภาพ การใชงานระบบ ปริมาณงาน วันสิ้นกําหนด ภาวะถวงดุลของประสิทธภิาพ คุณลักษณะของภาระงาน ผลกระทบของคุณลักษณะของภาระงานตอประสิทธิภาพ กรณีศึกษา Introduction; scheduling techniques and analysis; priority, combination of priorities; performance measures, utilization, throughput; deadline; performance tradeoff; workload characteristic; effect of workload characteristic on performances; case study

242-443 สถาปตยกรรมและทฤษฏีการทดสอบวงจรรวมขนาดใหญมาก 3(3-0-6) Architectures and VLSI Test Principles การทบทวนประวตัิของเทคโนโลยีการทดสอบวงจรรวมขนาดใหญมาก การออกแบบสําหรับรองรับการทดสอบได การจําลองการทํางานดานตรรกะ การจําลองการทํางานดานความผิดพลาด การกําเนิดขอมูลสําหรับการทดสอบ การทดสอบภายในตัว การบบีอัดขอมูลทดสอบ Historical review of VLSI test technology; design for testability; logic simulation; fault simulation; test generation; logic built-In self-test; test compression

242-444 เครือขายไรสายแบบเฉพาะกิจและตวัตรวจรู: สถาปตยกรรมและโพรโทคอล 3(3-0-6) Wireless Ad hoc Sensor Networks: Architectures and Protocols

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเทคโนโลยีการสือ่สารไรสาย เครือขายไรสายแบบแอดฮ็อก เครือขายตวัตรวจรูไรสาย สถาปตยกรรมและโพรโทคอลสําหรับสื่อสารไรสาย การจัดการกําลัง ความเหมาะสมการจัดการพลังงาน เวลาหนวงในการคนหาเสนทาง การออกแบบดวยวธิแีบบเชื่อมตอระหวางระดับชั้นสื่อสาร

Page 94: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 93

Introduction to wireless communication technologies; wireless ad hoc networks; wireless sensor network; wireless architectures and protocols; power management; optimized energy and delay-based routing; cross layer design

242-445 การออกแบบรวมฮารดแวรและซอฟตแวร 3(3-0-6) Hardware and Software Codesign

รายวิชาบังคับเรียนกอน (Prerequisite): 242-208 แนะนําการออกแบบรวม วิธกีารและแบบจําลองของการออกแบบระบบ การแบงระบบออกเปนของสวนฮารดแวรและซอฟตแวร การอธิบายระบบดวยภาษาระดับสูง การทวนสอบ การจําลองการทํางานของระบบแบบรวมกัน การสังเคราะหฮารดแวร การสังเคราะหซอฟตแวร การเชื่อมตอระหวางฮารดแวรและซอฟตแวรและอุปกรณชวยการออกแบบรวม Introduction to hardware-software codesign; modelling methodology and system modelling; system partitioning into hardware and software components; high-level system description; formal verification; system co-simulation; hardware synthesis; software synthesis; hardware and software interface and codesign tools

242-446 ระบบแบบกระจายและขั้นตอนวิธ ี 3(3-0-6) Distributed Systems and Algorithms

รายวิชาบังคับเรียนกอน (Prerequisite): 242-304 และ 242-307 แนะนําระบบแบบกระจายและขั้นตอนวธิีตางๆ การเขาจังหวะ ความสอดคลองและการสําเนา ความทนทานตอความผิดพลาด ระบบปฏบิตัิการแบบกระจาย ขั้นตอนวธิีแบบกระจาย Introduction to distributed systems and algorithms; synchronization; consistency and replication; fault tolerance; distributed operating systems; distributed algorithms

242-447 การเขียนโปรแกรมและสถาปตยกรรมมัลติคอร 3(2-2-5) Multi-core Programming and Architecture

รายวิชาบังคับเรียนกอน (Prerequisite): 242-304 บทนํา สถาปตยกรรมมัลตคิอร เกริ่นนํากระบวนการยอย แนวคิดการเขียนโปรแกรมแบบขนาน ปญหาและแนวทางแกไขเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมแบบขนานที่พบบอย เทคนิคการแกจุดบกพรองของโปรแกรมหลายกระบวนการยอย เครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรม Introduction; multi-core architecture; overview of threading; concept of parallel programming; common parallel programming problems and solutions; muti-threading debugging techniques; development tools

Page 95: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 94

242-448 การประมวลผลทางคณิตศาสตรและขั้นตอนวิธี 3(3-0-6) Computer Arithmetic and Algorithm

รายวิชาบังคับเรียนกอน (Prerequisite): 242-208 ระบบเลขสญันิยม ระบบเลขไมสัญนิยม ระบบเลขฐานตรึง ขั้นตอนวธิีโดยลําดับสําหรับการคูณและหาร ระบบทศนิยมเลขฐานสอง การบวกที่รวดเร็ว การคูณที่รวดเร็ว การหารที่รวดเรว็ วธิกีารหารดวยการคณู การประเมินฟงกชันพ้ืนฐาน ระบบเลขลอการิทึม ระบบเลขเศษตกคาง Conventional number; unconventional number; fixed-radix number system; sequential algorithm for multiplication and division; binary floating point number; fast addition; high-speed multiplication; fast division; division through multiplication; evaluation of elementary functions; logarithm number system; residue number system

242-449 ไมโครโพรเซสเซอรสมรรถนะสูง 3(3-0-6) High Performance Microprocessors

ทิศทางของเทคโนโลยี โพรเซสเซอรแบบไปปลายน โพรเซสเซอรแบบเวกเตอร เทคนิคซุปเปอรสเกลาร การประมวลผลแบบไมเรียงลําดับ การคํานวณแบบทํานายคําสั่ง ระบบคอมพิวเตอรที่ระบุการทํางานแบบขนานในระดับคําสั่งอยางชัดแจง การออกแบบโครงสรางลําดับชั้นของหนวยความจํา เทคนิคการควบคุมการไหลของขอมูลระหวางรีจิสเตอรขั้นสูง การจัดองคกรหนวยความจําแคช การทํานายการบรานชแบบคงที่และแบบพลวตั การบรานชแบบซีโรไซเคลิ การทํามัลติเธรดและและมัลติโพรเซสเซอรระดับชิป Trends in technology; pipelined processor, vector processors; superscalar organization; out-of-order execution; speculative execution; explicitly parallel instruction computing; memory hierarchy design; advanced register dataflow techniques; cache organization; static and dynamic branch prediction; zero-cycle branching; multithreading and chip multiprocessors

242-458 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมออกแบบระบบคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Special Problem in Computer System Design Engineering ปญหาพิเศษของเทคโนโลยทีางสาขาวศิวกรรมระบบคอมพิวเตอร ตามที่ภาควิชาวิศวกรรม คอมพิวเตอรกําหนดเปนคราวๆ ไป Special problem of the technology in Computer System Design Engineering according to the approval granted by the computer engineering department

242-459 หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมออกแบบระบบคอมพิวเตอร 3(3-0-6) Special Topic in Computer System Design Engineering

หัวขอพิเศษความกาวหนาของเทคโนโลยีทางสาขาวศิวกรรมระบบคอมพิวเตอร ตามที่ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอรกําหนดเปนคราวๆ ไป

Page 96: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 95

Special topic in the development of the new technology in Computer System Design Engineering according to the approval granted by the computer engineering department

242-460 เครือขายพหสุื่อ 3(3-0-6) Multimedia Network

หลักการของการรับสงเสียงแบบแพ็กเกต็ คุณภาพการบริการเสียงบนเครือขายไอพี แหลงของเวลาหนวง คาเวลาหนวง เวลาหนวงระหวางแพ็กเก็ต การสูญหายของแพ็กเก็ต ผลกระทบของเวลาหนวงและการสูญหาของแพ็กเก็ต โอเวอรเฮดของเสียงบนเครือขายขอมูล สมรรถนะและการเปรียบเทียบการเขารหัสและถอดรหัสของเสียง แบบจําลองของมอสและอี-โมเดล แนะนําการสื่อสารดวยวีดิโอ การแบงแยกสี รูปแบบของวีดิโอ CFIQ MJPEG H.261 MPEG 1 MPEG 2 MPEG 4 พฤติกรรมของแหลงวดิีโอ การจับภาพวดิีโอ ตัวแปรตางๆที่มีผลตอวีดิโอ แนะนําโพรโทคอล SIP การไหลของสัญญาณและองคประกอบของ SIP การระบุสญัญาณของ SIP โพรโทคอลแบบ SDP SIP และ E-NUM Packet voice fundamentals; quality of service in voice over IP issues, sources of delay, delay components, delay budget, jitter, packet loss, effects of delay and packet loss; voice overhead in data network; voice codecs performance/comparisons; MOS and E-Model; introduction to video communication; colour space; video formats, CFIQ, MJPEG, H.261, MPEG 1, MPEG 2, MPEG 4; behaviours of video sources; video capturing; parameters effects of video quality, traffic intensity, frame lose, colour, frame size; SIP protocol operations overview; SIP signal flow and components; SIP clients; SIP proxy and redirect servers; SIP registration; description of SIP signal and flow; session description protocol (SDP); transport protocol; SIP and E-NUM

242-461 การสื่อสารแบบแบนดกวางและเครือขายความเร็วสูง 3(3-0-6) Broadband and High Speed Networks

แนะนําเกี่ยวกบัการสื่อสารแบบแบนกวาง โพรโทคอลและการประยุกตใชงาน การสื่อสารภาพและเสียงบนเอ็กซดีเอสแอล กิกะบิทอีเทอรเน็ท มาตรฐานของกิกะบิทอีเทอรเน็ท 10 กิกะบทิอีเทอรเน็ท 100-กิกะบิทอีเทอรเน็ท อนุกรมของอีเทอรเน็ทไรสาย โพรโทคอลและสถาปตยกรรมของไวเม็ก สถาปตยกรรมการสื่อสารดวยไอพีบนเครือขายไวเม็ก เครือขายการสื่อสารและเทคโนโลยีดวยไฟเบอรออพติก สายสง วงจรและอุปกรณดานไฟเบอรออพติก Introduction to broadband networks, protocols, applications; xDSL technologies; voice and video over xDSL; Gigabit Ethernet, GbE standard, 10GbE, 100GbE; wireless Ethernet series; 3G and beyond technologies; IMS model, concepts, service architecture;

Page 97: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 96

WiMax, protocol and architecture, All-IP network architecture for mobile WiMAX; fiber optical communications, networks, technologies; fiber optic transmission, circuit, devices

242-462 การออกแบบและบริหารระบบเครือขายคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Network Design, Operation and Management

รายวิชาบังคับเรียนกอน (Prerequisite): 242-203 และ 241-206 คุณสมบัติ หนาที่และความรับผิดชอบของผูดูแลระบบ การออกแบบและติดตั้งและบริหารจัดการระบบเครือขาย การติดตั้งระบบปฏิบัติการสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรจํานวนมาก ระบบความปลอดภัยของเครือขายและบริการ การออกแบบและตดิตั้งแมขายเราเตอรดีเอ็นเอส ไฟลวอลล การติดตั้ง SAMBA เพ่ือทําหนาที่เปนโดเมนคอนโทรลเลอร การติดตั้งเครื่องแมขายสําหรับอีเมล การติดตั้งโปรแกรมเพื่อตรวจสอบการทํางานของอุปกรณเครือขาย การติดตั้งอุปกรณเครือขายเพื่อใชงานกับระบบเครือขายไรสาย System administration's essential tasks, duty, responsibility; network design, operation, management; multiple machine installation for computer software lab; computer and network security management; router; DNS server and firewall installation; domain controller setup with SAMBA; mail server; network monitoring and wireless network management

242-463 การบริการรุนตอไปของการสื่อสารเครือขาย 3(3-0-6) Next Generation Services of Network Communications แนวคิดการสือ่สารระหวางเพียร โอเวอรเลยแบบไรโครงสราง โอเวอรเลยแบบโครงสราง การใชงานการสื่อสารระหวางเพียร การคนหาในเครือขายสื่อสารระหวางเพียร การสงผานขอมูลในเครือขายสื่อสารระหวางเพยีร การกระจายขอมูลและการทํามัลติคาสตบนโอเวอรเลย แนวคิดการไหบริการผานโอเวอรเลย การสงเสียงในเครอืขายสื่อสารระหวางเพียร การบริการโดยไอเอ็มเอส แบบจําลองและแนวคิด การบริการไอพีทีวีผานไอเอ็มเอส การประชมุผานไอเอ็มเอส การคํานวณแบบบริบท Peer-to-peer concepts; unstructured overlays, structured overlays; peer-to-peer in practice; searching in peer-to-peer networks; content delivery in peer-to-peer; peer casting and overlay multicasting; service overlay concepts; voice over peer-to-peer; IMS services, models and concepts; IMS based IPTV, IMS based conference services; context-aware computing

242-464 การออกแบบและพัฒนาการสื่อสารเครือขาย 3(3-0-6) Design and Development of Network Communications

โพรโทคอลระดับชั้นขนสง ทีซีพี/ไอพี โพรโทคอลระดับชั้นโปรแกรมประยุต เฮชททีีพี โพรโทคอลที่เกี่ยวของกับอีเมล แอลแด็บ และโพรโทคอลทีข่ึ้นอยูกับโปรแกรมประยุกต เทคนคิการเขียนโปรแกรม รวมไปถึง การเขียนโปรแกรมซ็อกเก็ต ภาวะพรอมกัน และการเก็บขอมูล การนําเสนอขอความ เสียง และภาพเคลื่อนไหว ความปลอดภัยเครือขายที่นําไปใชได การเฝาติดตามผานเครือขาย

Page 98: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 97

Transport layer protocols, TCP/IP; application level protocols, HTTP, e-mail related, LDAP and application-dependents; programming techniques, socket programming, concurrency and data stores; presentations of text, audio, videos; practical network security; network monitoring

242-465 ความปลอดภยัเครือขายขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Network Security รายวิชาบังคับเรียนผานกอน (Prerequisite): 242-312 บทนํา โพรโทคอลเครือขาย วิทยาการรหสัลับ การจูโจมเครือขาย ความปลอดภัยการพิสูจนตัวจริง ความปลอดภยัควบคุมการเขาถึง การจัดการเอกลักษณ จุดดอยความปลอดภัยของโพรโทคอลการจัดเสนทาง วิธีการปองกัน ไอพีเซค ความปลอดภัยทีซีพีไอพี ไฟลวอลล ระบบตรวจจับผูบุกรุก ความปลอดภัยของหัวขอขั้นสูง การสนทนาบนไอพี เครือขายตวัตรวจรูไรสาย การชี้เฉพาะดวยคลื่นความถีว่ิทยุ การแพรสัญญาณและการแพรสัญญาณเฉพาะกลุมปลอดภัย Introduction, network protocol, cryptography; network attacks; authentication security; access control security; identity management; security weakness of routing protocols; prevention and protection techniques, IPSec, TCP/IP security, firewall, intrusion detection system; security of advanced topics, VoIP, wireless sensor network, RFID, secure multicast and broadcast schemes

242-478 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมเครือขายคอมพิวเตอรและสือ่สาร 3(2-2-5) Special Problem in Computer Networks and Communications Engineering ปญหาพิเศษของเทคโนโลยทีางสาขาวศิวกรรมเครือขายคอมพิวเตอรและสื่อสาร ตามที่ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอรกําหนดเปนคราวๆ ไป Special problem of the technology in Computer Networks and Communications engineering according to the approval granted by the computer engineering department

242-479 หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมเครือขายคอมพิวเตอรและสือ่สาร 3(3-0-6) Special Topic in Computer Networks and Communications Engineering

หัวขอพิเศษความกาวหนาของเทคโนโลยีทางสาขาวศิวกรรมเครือขายคอมพิวเตอรและสื่อสาร ตามที่ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอรกําหนดเปนคราวๆ ไป Special topic in the development of the new technology in Computer Networks and Communications engineering according to the approval granted by the computer engineering department

Page 99: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 98

242-480 หลักการหุนยนต 3(3-0-6) Principle of Robotics

วิวัฒนาการของหุนยนต ผลกระทบของเทคโนโลยีหุนยนตตอสังคม หลักการพื้นฐานของหุนยนต โครงสรางของหุนยนต ตนแบบทางคณิตศาสตรในการจัดการหุนยนต การมองเห็น การวางแผนการเคลื่อนที่ เชิงตาํแหนง กลศาสตรการเคลื่อนไหว กลศาสตรการเคลื่อนไหวผกผัน ขัน้ตอนวิธีและวธิีการแกปญหา การควบคุม การจัดการขอมูล ตัวตรวจจับ การออกแบบการวางแผนการทํางาน การเขียนโปรแกรมในการควบคุมหุนยนต กรณีศึกษา Robotic evolution; social impact of technology robotic; principle of robotics; machanical structure of robotics; mathematical model of robotics, vision, motion planning, mobile mechanisms; kinematics, inverse kinematics, algorithm and solutions, controls, data management; sensors; task planning; robot control programming techniques; case studies, construct robots driven by a microcontroller

242-481 จักรกลอัจฉริยะ 3(3-0-6) Machine Intelligence

แนะนําวิธีการและเทคโนโลยีที่ทําใหเครื่องจักรมีความสามารถในการเรียนรู ปรับตวั ตัดสินใจ และการแสดงออกทางพฤติกรรม ระบบสนับสนุนการตัดสนิใจ การควบคุมแบบชาญฉลาด ปญญาประดษิฐและการคดิแบบเสมือน การตัดสินใจแบบหลายเงื่อนไข การรวมขอมูล ระบบฟซซ่ี เครือขายประสาทเทียม เหมืองขอมูล ทฤษฎีของเบย ขั้นตอนวธิีพันธุกรรม ระบบผูเชี่ยวชาญ Combines a wide variety of advanced technologies to give machines the ability to learn, adapt, make decisions, display behaviors; decision support systems; intelligent control; artificial and computational intelligence; multi-criteria decision making; information fusion; fuzzy systems modelling; neural networks; data mining; Bayes' theorem; genetic algorithms; expert and knowledge based systems

242-482 ตัวตรวจรูและการปรับสภาพสัญญาณจากตัวตรวจรู 3(3-0-6) Sensors and Sensor Signal Conditioning หลักการของตัวตรวจรู คณุสมบัติของตัวตรวจรู ตัวตรวจรูความเรง ความสั่นสะเทือนและแรงกระแทก ตัวตรวจรูชีวภาพ ตัวตรวจรูแบบคาปาซิทีฟ ตัวตรวจรูสนามแมเหล็ก ตัวตรวจรูการไหลและระดับ ตัวตรวจรูแรง ภาระและน้ําหนกั ตัวตรวจรูความชื้น ตวัตรวจรูตําแหนงและการเคลื่อนที่ ตัวตรวจรูความดัน ตัวตรวจรูอุณหภูมิ สเตรนเกจ เครือขายตัวตรวจรูไรสาย การปรับสภาพสัญญาณ วงจรขยายเพือ่การปรับสภาพสัญญาณ วงจรแปลงอนาลอกเปนดิจิตอลเพ่ือการปรับสภาพสญัญาณ Sensor fundamentals, sensor characteristics, acceleration vibration and shock sensors; biosensors; capacitive sensors; magnetic field sensors; flow and level sensors; force load and weight sensors; humidity sensors; position and motion sensors; pressure sensors;

Page 100: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 99

temperature sensors; strain gages; wireless sensor networks; sensor signal conditioning; amplifier for signal conditioning; analog to digital converter for signal conditioning

242-483 การประมวลผลสัญญาณเสยีงพูด 3(3-0-6) Speech Processing การกําเนิดเสียงพูด การรับรูเสียงพูด แนะนําระบบรูจําเสียงพูด เทคนิคการสกัดคาลักษณะเดนของเสียงพูด สัมประสิทธิ์เคป็สตรัมเมล การเขารหัสแบบทํานายเชิงเสน แบบจําลองฮิดเดนมารคอฟ เครื่องมือสําหรับระบบรูจําเสียงพูด ระบบรูจําเสียงพูดคําตอเน่ืองที่มีจํานวนคําศัพทมาก แนะนําการสังเคราะหเสียงพูด เทคนิคการสังเคราะหเสียงพูด ระบบแปลงขอความเปนเสียงพูด Speech production; speech perception; introduction to speech recognition systems; feature extraction techniques; Mel frequency cepstral coefficients; linear predictive coding; hidden Markov model; tools for speech recognition; large vocabulary continuous speech recognition; introduction to speech synthesis; speech synthesis techniques; text-to-speech systems

242-484 สวนควบคุมเคร่ืองยนตประเภทการสันดาปภายใน (3-0-6) Internal Combustion Engine Control Unit

เครื่องยนตประเภทสันดาปภายใน องศาการทํางานของเครื่องยนต คากําลังอัดสุดทาย อัตราสวนการเผาไหม สภาวะรวยและจน(นํ้ามัน) ระบบควบคุมอัตโนมัติ Internal combustion engines; Otto cycle; final compression ratio; air fuel ratio; rich and lean A/F; automation

242-485 แนะนําวิธีการแบงแยก 3(3-0-6) Introduction to Pattern Classifier

วิธีการพิจารณาความสําคญัขอมูล การลดมิติของขอมูล ผลของการลดมิติของขอมูล ขอเสียของขอมูลที่มีหลายมติิ ความสําคญัของการคัดแยก การแบงแยกประเภทเบื้องตน การกระจายตัวแบบปกติ ทฤษฏีความนาจะของเหตุการณ การประยุกตใชขอมูลที่มีผลตอความนาจะเปนของเหตุการณ การแมทชแบบความนาจะเปนสูงสุด ฟงกชั่นความคลายคลึง Data significant analysis; data dimensions reduction; curse of dimensions; importance of classifer; effect of data reduction; normal distribution; basic classifier; probability of events; applying of event probability; maximum a posterior; maximum likelihood

242-486 คอมพิวเตอรวิทศัน ทฤษฏแีละปฏบิัติ 3(3-0-6) Computer Vision Theory and Practice

แนวคิดหลักทางดานคอมพิวเตอรวิทศัน การสรางภาพ แบบจําลองกลองและการปรับเทียบมาตราฐาน การสกัดคุณลักษณะสําคัญจากภาพ การหาความสัมพันธของคุณลักษณะที่สนใจ

Page 101: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 100

ระหวางภาพ การตรวจจับการเคลื่อนไหว เทคนิคการลบพื้นหลังและเทคนิคออพตคิอลโฟลว การติดตามวตัถุคาลแมน และ การกรองเกาะกลุมแนน การจัดแยกและจดจําวัตถุ ระบบสเตอริโอวิชนั เรขาคณิตแบบอิปโพลาร การสรางแบบจําลองสามมิติจากภาพหลายมุมมอง เทคนิคทางพีชคณิตและเทคนิคการหาคาเหมาะสมที่สุดที่เกี่ยวของ คาไอเกน เวกเตอรลักษณะเฉพาะ การแยกคาเอกฐาน การหาคาเหมาะที่สุดดวยกําลังสองนอยที่สุดและวธิีเกรเดยีนตดีเซนท Concepts of computer vision; image creation, camera model and calibration; feature extraction and correspondence; motion detection, background subtraction, optical flow; tracking, Kalman filter, condensation filter; object recognition and classification, k-mean, Haar-like method; stereo vision, epipolar geometry, fundamental matrix; 3D reconstruction from multiple views; linear algebra, matrices, rank, products, eigenvalues and eigenvectors, singular value decomposition; optimization, least square method, gradient descent method

242-487 แนะนําวิธีการจําลองคอมพิวเตอร 3(3-0-6) Introduction to Computer Simulation Methods แนะนํากระบวนการของระบบจําลองเชิงกายภาพสําหรับการสรางภาพเคลื่อนไหวทางคอมพิวเตอร เชิงปรากฏการณหรือวัสดุ การเปลี่ยนรูปทรงของแข็ง เน้ือเยื้อ ของเหลว การระเบิด วิธีการเชิงตวัเลข ตนแบบเชงิกายภาพ โครงสรางขอมูล ผลการประยกุตใชจากวิธิการตางๆ การสรางระบบจําลอง Physically based simulation methods, rigid and deformable solids, cloth, liquids, and explosions; numerical methods; physical models; data structures; theoretical results; simulators

242-498 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมควบคุมดวยคอมพิวเตอรและหุนยนต 3(2-2-5) Special Problem in Computer Control Systems and Robotics Engineering ปญหาพิเศษของเทคโนโลยีทางสาขาวศิวกรรมควบคมุดวยคอมพิวเตอรและหุนยนต ตามที่ภาควชิาวิศวกรรมคอมพิวเตอรกําหนดเปนคราวๆ ไป Special problem of the technology in Computer Control Systems and Robotics Engineering according to the approval granted by the computer engineering department

242-499 หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมควบคุมดวยคอมพิวเตอรและหุนยนต 3(3-0-6) Special Topic in Computer Control Systems and Robotics Engineering หัวขอพิเศษความกาวหนาของเทคโนโลยีทางสาขาวศิวกรรมควบคมุดวยคอมพิวเตอรและหุนยนต ตามที่ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอรกําหนดเปนคราวๆ ไป Special topic in the development of the new technology in Computer Control Systems and Robotics Engineering according to the approval granted by the computer engineering department

Page 102: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 101

ข.2. คําอธิบายรายวิชาที่เปดสอนโดยภาควิชาอ่ืนหรือคณะอ่ืน

001-131 สุขภาวะกายและจิต 3(2-2-5) Healthy Body and Mind สุขภาวะแบบองครวม การดูแลสุขภาพกายและจิต การพัฒนาบุคลิกภาพ การสรางเสริม วุฒิภาวะทางอารมณและสุนทรียารมณ Holistic health; physical and mental health care; development of personality, emotional quotient and aesthetics

200-101 แนะนําวิศวกรรมศาสตร 1 (1-0-2) Introduction to Engineering ประวตัิความเปนมาของวิศวกรรมศาสตร และพัฒนาการของวิศวกรรมศาสตรสาขาตางๆ สิ่งประดิษฐทีส่ําคัญทางวศิวกรรมศาสตรในยุคสมัยตางๆ องคกรวิชาชีพที่เกี่ยวของ จรรยาบรรณวิศวกร เทคนคิการวิเคราะหและการแกปญหาอยางเปนระบบ เทคนิคการนําเสนอ History of engineering and evolution of various fields of engineering, major engineering achievements in each historical ages, some related engineering professional organizations, engineering ethics, systematic problem analysis and solving, presentation techniques.

215-111 เขียนแบบวศิวกรรม 1 3 (2-3-4) Engineering Drawing I ความสําคัญของการเขียนแบบ เครื่องมืออุปกรณและวธิีใช เทคนิคการเขยีนตัวเลขและตัวอักษร ชนิดและความหนาของเสนสําหรับงานเขียนแบบ ขนาดมาตรฐานของกระดาษเขียนแบบ เรขาคณิตประยุกต การเขียนภาพสามมิติ การเขียนภาพฉายออโธกราฟฟก และแนวทางปฏิบตัิในการเขียนแบบ การเขียนภาพสเก็ต การเขียนภาพตัด การกําหนดขนาดและรายละเอยีดอ่ืนๆ การเขียนแบบดวยคอมพิวเตอร The significance of drawing, instruments and their uses, freehand lettering, applied geometry, pictorial drawing, theory of orthographic projections of points, lines and planes, freehand sketching, sectioned views, size description, dimensions and specifications, introduction to computer aided drawings

220-102 กลศาสตรวศิวกรรม 1 3(3-0-6) Engineering Mechanics I รายวิชาบังคับเรียนรวม (Corequisite): 322-101 แนวคิดและหลักการพื้นฐานของสถิตยศาสตร ระบบแรงสองมิติและสามมิติ การรวมและการแยกแรง โมเมนต แรงคูควบ และระบบแรงสมมูล สมดุลของอนุภาคและวตัถเุกร็ง แผนภาพวัตถุ

Page 103: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 102

อิสระ การวิเคราะหโครงขอหมุน เฟรมและเครื่องจักรกล แรงเสียดทาน ศูนยถวง เซนทรอยด โมเมนตความเฉื่อยของพื้นที่ วงกลมโมเมนตความเฉือ่ยของโมห หลักการงานเสมือน เสถียรภาพของวัตถ ุ Fundamental concepts and principles of statics, two and three dimensional force systems, composition and resolution of forces, moments, couples and equivalent force system, equilibrium of particles and rigid bodies, free body diagrams, analysis of trusses, frames and machines, friction, centres of gravity, centroids, moments of inertia of plane areas, Mohr's circle of moment of inertia, method of virtual work, stability

322-101 คณิตศาสตรพ้ืนฐาน 1 3(3-0-6) Basic Mathematics I อุปนัยเชิงคณิตศาสตร ฟงกชันและกราฟ ลิมิตและความตอเน่ือง อนุพันธของฟงกชัน การประยุกตของอนุพันธ ปริพันธของฟงกชัน ปริพันธไมตรงแบบ การประยุกตของปริพันธ Mathematical induction; function and graph; limit and continuity; derivative; application of derivative; Integral; Improper integral; Application of definite integral

322-102 คณิตศาสตรพ้ืนฐาน 2 3(3-0-6) Basic Mathematics II รายวิชาบังคับเรียนกอน (Prerequisite): 322-101 ลําดับและอนกุรมของจํานวนจริง อนุพันธของฟงกชันหลายตวัแปร สมการเชิงอนุพันธสามัญอันดับที่หน่ึงและการประยุกต สมการเชิงอนุพันธสามัญเชิงเสนอันดับที่สองที่มีสัมประสิทธิเ์ปนคาคงตวัและการประยกุต ผลการแปลงลาปลาซและการประยุกต ระบบพิกัดเชิงขั้ว Sequence and series; partial derivative; first order ordinary differential equation; second order differential equation with constant coefficient and application; Laplace transform and application; polar coordinate

322-201 คณิตศาสตรพ้ืนฐาน 3 3(3-0-6) Basic Mathematics III รายวิชาบังคับเรียนกอน (Prerequisite): 322-102 ปริพันธหลายชั้น เวกเตอรแคลคลูัส ปริพันธตามเสนและปริพันธตามผิว สมการเชิงอนุพันธสามัญเชิงเสนที่มีสัมประสิทธิเ์ปนตัวแปร อนุกรมฟูเรียร สมการเชิงอนุพันธยอย Multiple integral; Vector calculus; line integral and surface integral; ordinary linear differential equation with variable coefficient; Fourier series; partial differential equation

Page 104: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 103

324-103 เคมีทั่วไป 3(3-0-6) General Chemistry ปริมาณสัมพันธ โครงสรางอะตอมและพนัธะเคมี ธาตทุรานซิชันและสารเชิงซอน เทอรโมไดนามิกส แกส ของแหลวและสารละลาย ของแข็ง จลนพลศาสตรเคมี สมดุลเคมี สมดุลกรด-เบส เคมีไฟฟา Stoichiometry; atomic structure and chemical bonding; transition elements and coordination compounds; thermodynamics; gases; liquids and solutions; solids; chemical kinetics; chemical equilibria; acid-base equilibria; electrochemistry

325-103 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 1(0-3-0) General Chemistry Laboratory ความไมแนนอนในการชั่งและตวง การหาคาความเปนกรด-เบสของสารละลายและการหาปริมาณดวยการไทเทรต เทอรโมเคมี สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลาย อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เคมีไฟฟา การวิเคราะหแอนไอออนและแคตไอออนหมูหน่ึงแบบกึ่งจุลภาค Uncertainty of measurement; pH measurements and quantitative analysis by titration; themochemistry; colligative properties of solutions; rate of reactions; electrochemistry; semimicro-qualitative analysis of anions and group I cations

332-103 ฟสิกสทั่วไป 1 3(3-0-6) General Physics I หนวย ปริมาณทางฟสิกส และเวกเตอร แรงและการเคลื่อนที่ งาน พลังงานและโมเมนตัม ระบบอนุภาค การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกรง็ การเคลื่อนที่แบบออสซิเลต การเคลื่อนที่แบบคลื่น อันตรกิริยาโนมถวง กลศาสตรของไหล ความรอนและเทอรโมไดนามิกส Units, Physical Quantities, and Vectors, Forces and Motions, Work, Energy, and Momentum, System of Particles, Motion of Rigid Bodies, Oscillatory Motion, Wave Motions, Gravitational Interaction, Fluid Mechanics, Heat and Thermodynamics

332-104 ฟสิกสทั่วไป 2 3(3-0-6) General Physics II รายวิชาบังคับเรียนกอน (Prerequisite): 332-103 ไฟฟาสถิต แมเหล็ก สนามแมเหล็กไฟฟาที่เปลี่ยนตามเวลา กระแสไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส คลื่นแมเหล็กไฟฟา ทัศนศาสตร ทฤษฎีสัมพันธภาพพิเศษ กลศาสตรควอนตัมเบื้องตน โครงสรางอะตอม นิวเคลียสและอนุภาคมูลฐาน Electrostatics, Magnetism, Time Varying Electromagnetic Field, Electric Currents and Electronics, Electromagnetic Waves, Optics, Special Relativity, Introduction to Quantum Mechanics, Atomic Structure, Nucleus and Particle Physics

Page 105: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 104

332-113 ปฏิบัติการฟสกิสทั่วไป 1 1(0-2-2) General Physics Laboratory I รายวิชาบังคับเรียนควบกัน (Corequisite): 332-103 การใชเวอรเนียคาลิปเปอรและไมโครมิเตอร การวัดและความผิดพลาด กราฟและสมการ การเคลื่อนที่เปนวงกลม การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล การชน สมดุลแรง สปริงและการสั่น โมเมนตความเฉื่อย สมดุลสถิตของวัตถแุข็งเกร็ง Vernier caliper & micrometer, measurement and uncertainty, graph and equation, circular motion, projectile motion, collision, force equilibrium, spring & oscillation, moment of inertia, static equilibrium of rigid bodies

332-114 ปฏิบัติการฟสกิสทั่วไป 2 1(0-2-2) General Physics Laboratory II รายวิชาบังคับเรียนกอน (Prerequisite): 332-113 รายวิชาบังคับเรียนควบกัน (Corequisite): 332-104 การใชอุปกรณและมาตรวดัไฟฟา วงจรไฟฟากระแสตรง สนามไฟฟา การเหนี่ยวนําแมเหล็กไฟฟา ตัวเก็บประจุไฟฟา การใชออสซิลโลสโคป วงจรไฟฟากระแสสลับ พฤติกรรมการกําทอนของวงจรอนุกรม RLC Electronics devices and multimeter, dc circuit, electric field, electromagnetic induction, capacitor, oscilloscope, ac circuits, resonance in RLC circuits

340-326 วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสังคม 3(3-0-6) Science, Technology, and Society ความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ระบบนิเวศ และสิ่งแวดลอม ผลกระทบของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตอสุขภาพ สิ่งแวดลอมและสังคม การใชวทิยาศาสตรและเทคโนโลยีตอการพัฒนาสังคม การปองกันแกไขปญหา สังคมที่เกิดจากผลกระทบของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี Progress in science and technology; social dynamics; ecosystems and environment; impacts of science and technology on health, environment and society; science and technology in social development; preventing and solving social problems arisen from science and technology impact

890-100 ภาษาอังกฤษเตรียมความพรอม 3(1-4-4) Preparatory Foundation English โครงสรางทางไวยากรณและคําศัพทภาษาอังกฤษระดับพ้ืนฐาน ทกัษะการฟง อาน และเขียน ระดับพ้ืนฐานที่พอเพียงแกการเรียนรูวิชาบังคบัภาษาอังกฤษพื้นฐาน

Page 106: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 105

Basic English grammatical structures and vocabulary, basic listening, reading and writing skills for learning the compulsory English courses

890-101 การฟงและพูดภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(2-2-5) Fundamental English Listening and Speaking พัฒนาทักษะการฟง-พูดในหัวขอที่ใชในชีวติประจําวัน การฟงเพ่ือจับใจความสําคญัและรายละเอียด ไวยากรณ และสํานวนภาษาที่จําเปนสําหรับการสื่อสาร Developing listening and speaking skills based on topics in everyday life; listening for gist and details; grammar and language functions necessary for communicative purposes

890-102 การอานและเขียนภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(3-0-6) Fundamental English Reading and Writing พัฒนาทักษะการอาน เพ่ิมพูนวงศัพท เรียนรูภาษาและวัฒนธรรมจากบริบทของบทอานที่หลากหลาย พัฒนาทักษะการเขียนระดบัขอความสั้นๆ Developing reading skills; building vocabulary; learning language and culture through a variety of text types developing short paragraph writing skills

895-171 ภูมิปญญาในการดําเนินชีวติ 3(2-2-5) Wisdom of Living การคิด การบริหาร และการจัดการชีวิตอยางรูเทาทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย และกระแสสังคมโลก การผสมผสานวิถีไทยกบัพหุวัฒนธรรมในการดําเนินชีวติ การมีจิตสาธารณะ และรักษสิ่งแวดลอม การอยูรวมกันในสังคมอยางมีความสุขบนพ้ืนฐานคณุธรรม จริยธรรม และหลักเศรษฐกิจพอเพียง Thinking, life administration and management in accordance with changes in Thai and global society, mingling the Thai way of life with multi-cultural way of living, public mind and environmental conservation, living happily based on morality, ethics and sufficiency economy

Page 107: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 106

ภาคผนวก ค. สาระการเรียนรูวิชาเฉพาะดานตามมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร

องคความรูพื้นฐานตาม มคอ 1 รายวิชาที่เก่ียวของ

Programming Fundamentals 1 Programming Paradigms 2 Programming constructs 3 Algorithms and problem-solving 4 Recursion 5 Object-oriented programming 6 Using APIs 7 Event-driven and concurrent programming

242-207 Programming Fundamentals I 242-210 Programming Fundamentals II

Computer Mathematics 1 Functions, relations, and sets 2 Basic logic 3 Proof techniques 4 Basics of counting 5 Graphs and trees 6 Recursion 7 Discrete probability 8 Continuous probability 9 Expectation 10 Stochastic Processes 11 Sampling distribution 12 Estimation 13 Hypothesis tests 14 Correlation and regression

242-213 Discrete Mathematics 242-212 Probability and Statistics

Electronics 1 Electronic properties of materials 2 Diodes and diode circuits 3 MOS transistors and biasing 4 MOS logic families 5 Bipolar transistors and logic families

242-209 Basic Electronics

Page 108: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 107

6 Design parameters and issues 7 Storage elements 8 Interfacing logic families and standard buses 9 Operational amplifiers 10 Circuit modelling and simulation 11 Data conversion circuits 12 Electronic voltage and current sources 13 Amplifier design 14 Integrated circuit building blocks Digital Logic 1 Switching theory 2 Combinational logic circuits 3 Modular design of combinational circuits 4 Memory elements 5 Sequential logic circuits 6 Digital systems design 7 Modelling and simulation 8 Formal verification 9 Fault models and testing 10 Design for testability

242-208 Digital Logic and Design 242-309 Microcontroller and Interfacing

Data Structures and Algorithms 1 Basic algorithmic analysis 2 Linked List, Queues, Stacks 3. Binary Tree, B-Tree, Heap 4 Algorithmic strategies 5 Computing algorithms 6 Distributed algorithms 7 Algorithmic complexity 8 Basic computability theory

242-207 Programming Fundamentals I 242-213 Discrete Mathematics 242-310 Algorithms and Complexity

Computer Architecture and Organization 1 Fundamentals of computer architecture 2 Computer arithmetic 3 Memory system organization and architecture

242-307 Computer Architecture and Organization 242-309 Microcontroller and Interfacing

Page 109: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 108

4 Interfacing and communication 5 Device subsystems 6 Processor systems design 7 Organization of the CPU 8 Performance 9 Distributed system models 10 Performance enhancements Operating Systems 1 Design principles 2 Concurrency 3 Scheduling and dispatch 4 Memory management 5 Device management 6 Security and protection 7 File systems 8 System performance evaluation

242-304 Computer Operating Systems

Database Systems 1 Database systems 2 Data modelling 3 Relational databases 4 Database query languages 5 Relational database design 6 Transaction processing 7 Distributed databases 8 Physical database design

242-305 Database Systems

Software Engineering 1 Software processes 2 Software requirements and specifications 3 Software design 4 Software testing and validation 5 Software evolution 6 Software tools and environments 7 Language translation 8 Software project management

242-211 Software Engineering

Page 110: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 109

9 Software fault tolerance Computer Networks 1 Communications network architecture 2 Communications network protocols 3 Local and wide area networks 4 Client-server computing 5 Data security and integrity 6 Wireless and mobile computing 7 Performance evaluation 8 Data communications 9 Network management 10 Compression and decompression

242-206 Introduction to Computer Networks 242-214 Data Communications 242-306 Wireless and Mobile Computing 242-311 Client/Server Computing and Web technologies 242-312 Computer Security

สวนของการกระจายเนื้อหาและองคความรูตางๆ ในหลกัสูตรเปนดังน้ี

ชั้นป ลักษณะรายวิชา 1 เนนรายวิชาพืน้ฐานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และวิศวกรรมศาสตร 2 เนนรายวิชาพืน้ฐานของสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร 3 เนนรายวิชาบงัคับสาขา รายวิชาปฏบิัติการตางๆ ที่ประกอบขึ้นจากองคความรูที่

สําคัญของสาขาวศิวกรรมคอมพิวเตอร 4 เนนรายวิชาเฉพาะแขนงตางๆ ทั้ง 4 แขนงเพ่ือใหนักศึกษามีความเชี่ยวชาญในองค

ความรูของแขนงที่ตนเองเลอืก และรายวชิาโครงงานที่บูรณาการองคความรูที่นักศึกษาไดศกึษาทั้งหลักสตูรมาประยุกตเพ่ือแกปญหาในหัวขอโครงงานที่ตนเองไดรับมอบหมาย หรือในหัวขอโครงงานที่ตนเองเสนอ

ทั้งน้ีเพ่ือไมไดเน้ือหาหนักเกินไปในแตละภาคการศึกษา ในแผนการศึกษา (หมวด 3 ขอ 3.1.4) จะมีการแทรกรายวิชาเลือกภาษา รายวิชาเลือกสังคมศาสตร/มนุษยศาสตร รายวิชาศกึษาทัว่ไป หรือรายวิชาเลือกเสรี ไวในแตละภาคการศึกษา

Page 111: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 110

ภาคผนวก ง. สําเนาระเบียบคณะวิศวกรรมศาสตร วาดวยการสําเร็จการศึกษา

ระเบียบคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วาดวย เกณฑการสําเร็จการศึกษาของนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร พ.ศ. 2549

เพ่ือใหบัณฑิตของคณะวิศวกรรมศาสตรมีความรูทางดานวิศวกรรมศาสตรตามความมุงหมายแหงการผลิตบัณฑิตอยางมีคุณภาพ และเปนการรักษามาตรฐานการศึกษาของคณะวิศวกรรมศาสตร อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 31(2) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ. 2522 คณะกรรมการประจําคณะวิศวกรรมศาสตร ในคราวประชุมวาระพิเศษครั้งที่ 2/2548 เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2548 ไดวางระเบียบไวดังนี้ ขอ 1. ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วาดวย เกณฑการสําเร็จการศึกษาของนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร พ.ศ. 2549” ขอ 2. ระเบียบนี้ใหใชบังคับกับนักศึกษาที่เขาศึกษาในคณะวิศวกรรมศาสตร ต้ังแตปการศึกษา 2549 เปนตนไป ขอ 3. นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตรจะสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาที่สังกัดได จะตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้

3.1 มีคุณสมบัติครบถวนตามระเบียบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วาดวยการศึกษาขั้นปริญญาตรี และ

3.2 มีแตมระดับคะแนนเฉลี่ยของรายวิชาดานวิศวกรรมศาสตรที่เปดสอนโดยคณะวิศวกรรมศาสตรตามหลักสูตรที่ศึกษา โดยจะตองไดแตมระดับคะแนนเฉล่ียไมตํ่ากวา 2.00

ขอ 4. กรณีที่มีการเรียนรายวิชาใดมากกวา 1 ครั้ง และเปนรายวิชาที่สามารถนํามาคํานวณแตมระดับคะแนนเฉล่ียตามขอ 3.2 ได ใหใชผลการเรียนครั้งที่ดีที่สุดของรายวิชาดังกลาวเพียงครั้งเดียวมาคํานวณแตมระดับคะแนนเฉล่ีย ขอ 5. กรณีที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาที่เปดสอนโดยคณะวิศวกรรมศาสตรเปนรายวิชาในหมวดวิชาเลือกเสรี ใหนําผลการเรียนของรายวิชาดังกลาวมารวมคํานวณแตมระดับคะแนนเฉล่ียตามขอ 3.2 ดวย ขอ 6. ใหประธานกรรมการวิชาการคณะวิศวกรรมศาสตร เปนผูรักษาการตามระเบียบนี้ ขอ 7. บรรดาระเบียบ ประกาศ หรือหลักเกณฑอ่ืนใดของคณะวิศวกรรมศาสตร ซึ่งประกาศกอนหนานี้ ที่มีขอความขัดหรือแยงกับความในระเบียบนี้ ใหใชระเบียบนี้แทน ทั้งนี้ ต้ังแตบัดนี้เปนตนไป ประกาศ ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ พ.ศ. 2549

(ลงชื่อ) (รองศาสตราจารย ดร.ชูศักดิ์ ล่ิมสกุล)

คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร

Page 112: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 111

ภาคผนวก จ. สําเนาประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วาดวยเรื่องการเรียนวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานสาํหรับนักศึกษาที่เขาศึกษาตั้งแตปการศึกษา 2551 เปนตนไป

Page 113: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 112

ภาคผนวก ฉ เอกสารเปรียบเทียบหลักสูตรเดิมกับหลักสูตรปรับปรุงใหม ฉ-1 เปรียบเทียบปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตรเดิมและหลักสูตรปรับปรุง ฉ-2 เอกสารแสดงรายวิชาที่ตอบสนองตอวัตถุประสงคแตละขอและ/หรือคําอธิบายเพิ่มเติมวาจะ

ดําเนินการอยางไร เพ่ือใหบัณฑิตมีคุณสมบัติเปนไปตามวัตถุประสงคของหลักสูตร ฉ-3 เอกสารเปรียบเทียบโครงสรางหลักสูตรเดิมกับหลักสูตรปรับปรุงใหมกับเกณฑมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร พ.ศ. 2552 ของสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา ฉ-4 เอกสารเปรียบเทียบรายละเอียดหลักสูตรเดิม พ.ศ.2549 กับหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 ฉ-5 ตารางสรุปรายวิชาที่เพ่ิมในหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 ฉ-6 ตารางสรุปรายวิชาที่มีการเปลี่ยนแปลงในหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554

Page 114: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 113

ฉ-1 เปรียบเทียบปรัชญาและวตัถุประสงคของหลกัสูตรเดิมและหลักสูตรปรับปรุง หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2549 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2554

ปรัชญาและวัตถุประสงค ปรัชญา จากความมุงมั่นของคณะวิศวกรรมศาสตรที่มุงจะผลิตวิศวกรและผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพในระดับสากล ซึ่งสอดคลองกับวิสัยทัศนและนบัเปนพันธกิจที่ทุกหนวยงานภายในคณะวิศวกรรมศาสตรตองยึดถือและปฏิบัต ิ ดังนั้นปรัชญาของหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอรที่กําหนดไวคือ การผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอรที่มคีุณภาพ ความรู ความสามารถพื้นฐานที่เขมแขง็ เพื่อใหมีความพรอมในการติดตาม คิดคน พัฒนา และประยุกตใชงานเทคโนโลยีที่ทันสมัยและหลากหลาย อยางเหมาะสม โดยบณัฑิตมีความสามารถในการเรียนรูไดดวยตนเอง เพื่อตอบสนองการพัฒนาประเทศไทยตามนโยบายรัฐบาล อันจะนําไปสูความเปนเลิศทางวิชาการในระดับสากล - วัตถุประสงคของหลักสูตร จากปรัชญาและปณิธานดังกลาวสามารถกําหนดเปนวัตถุประสงคไดดังนี้ 1. ผลิตบัณฑิตวิศวกรรมคอมพิวเตอรที่มคีุณภาพ ความรู

ความสามารถพื้นฐานที่เขมแข็ง 2. เสริมสรางความคิดริเร่ิมสรางสรรคเพื่อเปนผูนําทาง

วิชาการ 3. สงเสริมการเรียนรูดวยตนเองเพื่อใหสามารถติดตาม

เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงได 4. เพื่อใหนักศึกษาสามารถนําเทคโนโลยีที่เกี่ยวเนื่อง มา

ประยุกตใชงานไดอยางเหมาะสม 5. สงเสริมดานจริยธรรม คุณธรรม กฎหมายและสังคมของ

วิชาชีพวิศวกรรมคอมพิวเตอร

ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงค ปรัชญา มุงเนนผลิตบัณฑิตสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร ใหมีความรู ความสามารถ ทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ ในดานวิศวกรรมซอฟตแวร เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสาร ระบบคอมพิวเตอร และระบบควบคุม เพื่อใหเปนวิศวกรคอมพิวเตอรมีความสามารถในการวิเคราะห สังเคราะห การแกปญหา การประยุกต และการวิจัย รวมทั้งเปนวิศวกรทีม่ีคุณธรรมและจริยธรรม ความสําคัญ เปนหลักสูตรที่ตอบสนองความตองการและการพัฒนาของเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและการนําความรูประยุกตใชกับงานในอุตสาหกรรมและการพัฒนาทางวิชาการ วัตถุประสงคของหลักสูตร หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร ซึ่งเปนหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 มีวัตถุประสงคเพื่อผลติบัณฑิตใหมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ 1. มีคุณธรรม จริยธรรม มีสัมมาคารวะ รูจักกาลเทศะ และทาํหนาที่เปน

พลเมืองดี รับผิดชอบตอตนเอง วิชาชีพ และตอสังคมและปฏิบัติตนภายใตจรรยาบรรณวชิาชีพดวยความซือ่สัตยสุจริต และเสียสละ

2. มีความรูในศาสตรที่เกี่ยวของทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ สามารถประยุกตใชศาสตรดังกลาวอยางเหมาะสมเพื่อการประกอบวิชาชีพของตน และการศึกษาตอในระดับสูงขึ้นไปได

3. มีความใฝรูในองคความรูและเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาอยางตอเนื่อง สามารถพัฒนาองคความรูที่ตนมีอยูใหสูงขึ้นไป เพื่อพัฒนาตนเอง พัฒนางาน พัฒนาสังคมและประเทศชาติ

4. คิดเปน ทําเปน มคีวามคิดริเร่ิมสรางสรรค และสามารถเลือกวิธีแกไขปญหาไดอยางเหมาะสม

5. มีมนุษยสัมพันธและมีความสามารถในการทํางานรวมกับผูอื่น มีทักษะในดานการทํางานเปนหมูคณะ สามารถบริหารจัดการการทํางานไดอยางเหมาะสม และเปนผูมทีัศนคติที่ดีในการทํางาน

6. มีความสามารถในการติดตอสื่อสาร และใชภาษาไทย ภาษาตางประเทศ และศัพททางเทคนคิ ในการติดตอสื่อสาร รวมถึงการใชเทคโนโลยีสารสนเทศไดเปนอยางดี

Page 115: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 114

ฉ-2 เอกสารแสดงรายวิชาที่ตอบสนองตอวตัถุประสงคแตละขอและ/หรือคาํอธิบายเพิ่มเติมวาจะดําเนินการอยางไร เพื่อใหบัณฑิตมีคุณสมบัตเิปนไปตามวตัถุประสงคของหลักสูตร

วัตถุประสงคของหลักสูตร รายวิชาและ/หรอือธิบายเพิ่มเติม

1. มีคุณธรรม จริยธรรม มีสัมมาคารวะ รูจักกาลเทศะ และทําหนาที่เปนพลเมืองดี รับผิดชอบตอตนเอง วิชาชีพ และตอสังคมและปฏิบัติตนภายใตจรรยาบรรณวิชาชีพดวยความซื่อสัตยสุจริต และเสียสละ

242-303 ประเด็นทางจริยธรรม กฎหมาย และสังคมของวิชาชีพ คอมพิวเตอร 1(1-1-1) อีกทั้งในรายวิชาตางๆ จะมีการสอดแทรกประเด็นคุณธรรม จริยธรรม ความมีวิจัย ความรับผิดชอบ และจรรยาบรรณวิชาชีพรวมอยูดวย

2. มีความรูในศาสตรที่เกี่ยวของทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ สามารถประยุกตใชศาสตรดังกลาวอยางเหมาะสมเพื่อการประกอบวิชาชีพของตน และการศึกษาตอในระดับสูงขึ้นไปได

ทุกรายวิชาบังคับของสาขา

3. มีความใฝรูในองคความรูและเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาอยางตอเนื่อง สามารถพัฒนาองคความรูที่ตนมีอยูใหสูงขึ้นไป เพื่อพัฒนาตนเอง พัฒนางาน พัฒนาสังคมและประเทศชาติ

ทุกรายวิชาบังคับเฉพาะแขนงและวิชาเลือกของแตละแขนง

4. คิดเปน ทําเปน มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค และสามารถเลือกวิธีแกไขปญหาไดอยางเหมาะสม

242-308 เตรียมการโครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2(0-4-3) 242-400 ฝกงาน ไมนอยกวา 320 ชั่วโมง 242-401 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 1 3(0-6-3) 242-402 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2 3(0-6-3)

5. มีมนุษยสัมพันธและมีความสามารถในการทํางานรวมกับผูอื่น มีทักษะในดานการทํางานเปนหมูคณะ สามารถบริหารจัดการการทํางานไดอยางเหมาะสม และเปนผูมีทัศนคติที่ดีในการทํางาน

242-001 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 1(0-0-3) และรายวิชาในสาขาที่มีการจัดกิจกรรมกลุมทั้งในและนอกหองเรียน

6. มีความสามารถในการติดตอสื่อสาร และใชภาษาไทย ภาษาต า งประ เทศ และศัพท ท า ง เทคนิ ค ในการติดตอสื่อสาร รวมถึงการใชเทคโนโลยีสารสนเทศไดเปนอยางดี

890-101 การฟงและพูดภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(2-2-5) 890-102 การอานและเขียนภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(3-0-6) 242-308 เตรียมการโครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2(0-4-3) 242-400 ฝกงาน ไมนอยกวา 320 ชั่วโมง 242-401 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 1 3(0-6-3) 242-402 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2 3(0-6-3) และรายวิชาในสาขาที่มีการสอดแทรกการนําเสนอ การเขียนรายงาน การเขียนบทความ การอภิปรายผล และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

Page 116: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 115

ฉ-3 เอกสารเปรียบเทียบโครงสรางหลักสูตรเดิมกับหลักสูตรปรับปรุงใหมกับเกณฑมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร พ.ศ. 2552 ของสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา

เกณฑขั้นต่ํา

(หนวยกิต) หลักสูตรเดิม (หนวยกิต)

หลักสูตรปรับปรุง (หนวยกิต)

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 33 30 1.1 กลุมวิชาภาษา 9 9 1.2 กลุมวิชาสังคมศาสตร และ/หรือมนุษยศาสตร

6 11

1.3 กลุมวิชาวิทยาศาสตร และคณิตศาสตร

18 10

2. หมวดวิชาเฉพาะ 84 104 100 2.1 กลุมวิชาแกน 11 7 2.2 กลุมวิชาพื้นฐาน 10 23 2.3 กลุมวิชาชีพ 83 70 - วิชาบังคับสาขา 65 52 - วิชาบังคับเฉพาะแขนง 12 12 - วิชาเลือก 6 6 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 6 6 4. หมวดวิชาประสบการณภาคสนาม (การฝกงานหรือสหกิจศึกษา

- 0* 0*

รวม 120 143 136 * ระยะเวลาอยางนอย 320 ช่ัวโมง

Page 117: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 116

ฉ-4 เอกสารเปรียบเทียบรายละเอียดหลักสูตรเดิม พ.ศ.2549 กับหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554

หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับปรงุ 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (33) 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30) 1.1 กลุมวิชาภาษา (9) 1.1 กลุมวิชาภาษา (9) 890–101 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1

Foundation English 1 (3) 890–101 การฟงและพูดภาษาอังกฤษพื้นฐาน

Fundamental English Listening and Speaking (3)

890–102 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 Foundation English 2

(3) 890–102 การอานและเขียนภาษาอังกฤษพื้นฐาน Fundamental English Reading and Writing

(3)

890-xxx ภาษาอังกฤษชั้นสูงที่ภาควิชากําหนด 1 รายวิชา (3) และใหเลือกเรียนจากรายวิชาภาษาอังกฤษที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไมนอยกวา 3 หนวยกิต

(3)

1.2 กลุมวิชาสังคมศาสตรและ/หรือมนุษยศาสตร (6) 1.2 กลุมวิชาสังคมศาสตรและ/หรือมนุษยศาสตร (11) 001-131 สุขภาวะกายและจติ

Healthy Body and Mind (3)

242-001 กิจกรรมเสริมหลักสูตร Co-Curricular Activities

(1)

895-171 ภูมิปญญาในการดําเนินชีวิต Wisdom of Living

(3)

ใหเลือกเรียนจากรายวิชาทางสังคมศาสตรและ/หรือมนุษยศาสตร ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จํานวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต โดยจะตองมีรายวิชาพลศึกษา ไมนอยกวา 1 หนวยกิตแตไมเกิน 3 หนวยกิต

และใหเลือกเรียนจากรายวิชาทางสังคมศาสตรและ/หรือมนุษยศาสตรที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จํานวนไมนอยกวา 3 หนวยกิต

(3)

และใหเลือกเรียนจากรายวิชาพลศึกษาที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไมนอยกวา 1 หนวยกิต

(1)

1.3 กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร (18) 1.3 กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร (10) 322–171 คณิตศาสตรวิทยาศาสตรกายภาพ 1

Physical Science Mathematics I (3)

322–172 คณิตศาสตรวิทยาศาสตรกายภาพ 2 Physical Science Mathematics II

(3)

324–103 เคมีทั่วไป General Chemistry I

(3) 324–103 เคมีทั่วไป General Chemistry I

(3)

325–103 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป General Chemistry Laboratory

(1) 325–103 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป General Chemistry Laboratory

(1)

332–103 ฟสิกสทั่วไป 1 General Physic I

(3)

332–104 ฟสิกสทั่วไป 2 General Physic II

(3)

332–113 ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 1 General Physics Laboratory I

(1)

Page 118: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 117

หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับปรงุ 332–114 ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 2

General Physics Laboratory II (1)

242-101 แนะนําการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร Introduction to Computer Programming

(3)

340-326 วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม Science, Technology, and Society

(3)

2. หมวดวิชาเฉพาะ (104) 2. หมวดวิชาเฉพาะ (100) 2.1 วิชาแกน (11) 2.1 วิชาแกน (7) 200-101 แนะนําวิศวกรรมศาสตร

Introduction to Engineering (1) 200-101 แนะนําวิศวกรรมศาสตร

Introduction to Engineering (1)

210–202 ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟาเบื้องตน Basic Electrical Engineering Laboratory

(1)

216–111 เขียนแบบวิศวกรรม 1 Engineering Drawing I

(3) 215–111 เขียนแบบวิศวกรรม 1 Engineering Drawing I

(3)

221–102 กลศาสตรวิศวกรรม 1 Engineering Mechanics I

(3) 220–102 กลศาสตรวิศวกรรม 1 Engineering Mechanics I

(3)

241–101 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร Introduction to Computer Programming

(3)

2.2 วิชาวิศวกรรมพื้นฐาน (10) 2.2 วิชาพื้นฐาน (23) 223–253 แนะนําวิศวกรรมสิ่งแวดลอม

Introduction to Environmental Engineering (1)

225–241 สถิติวิศวกรรม 1 Engineering Statistics I

(3) 242-212 ความนาจะเปนและสถิติ Probability and Statistics

(2)

225–346 หลักการเศรษฐศาสตรวิศวกรรม Principles of Engineering Economy

(3)

322–271 คณิตศาสตรวิทยาศาสตรกายภาพ 3 Physical Science Mathematics III

(3) 322-201 คณิตศาสตรพื้นฐาน 3 Basic Mathematics III

(3)

322-101 คณิตศาสตรพื้นฐาน 1 Basic Mathematics I

(3)

322-102 คณิตศาสตรพื้นฐาน 2 Basic Mathematics II

(3)

332–103 ฟสิกสทั่วไป 1 General Physic I

(3)

332–104 ฟสิกสทั่วไป 2 General Physic II

(3)

332–113 ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 1 General Physics Laboratory I

(1)

332–114 ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 2 General Physics Laboratory II

(1)

Page 119: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 118

หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับปรงุ

242-205 วงจรไฟฟา Electric Circuits

(3)

242-303 ประเด็นทางจริยธรรม กฎหมาย และสังคมของวิชาชีพคอมพิวเตอร Ethical, Legal and Social Issues in Computer Profession

(1)

2.3 วิชาชีพ (63) 2.3 วิชาชีพ (70) 2.3.1 วิชาบังคบั (65) 2.3.1 วิชาบังคับสาขา (52) 241–201 ปฏิบัติการซอฟตแวร 1

Software Laboratory I (1) 242–201 ปฏิบัติการซอฟตแวร 1

Software Laboratory I (1)

241–202

ปฏิบัติการฮารดแวร 1 Hardware Laboratory I

(1)

242–202

ปฏิบัติการฮารดแวร 1 Hardware Laboratory I

(1)

241-203

ปฏิบัติการซอฟตแวร 2 Software Laboratory II

(1)

242-203

ปฏิบัติการซอฟตแวร 2 Software Laboratory II

(1)

241-204 ปฏิบัติการฮารดแวร 2 Hardware Laboratory II

(1) 242-204 ปฏิบัติการฮารดแวร 2 Hardware Laboratory II

(1)

241-205 วงจรไฟฟา Electric Circuits

(3)

241–206 แนะนําเครือขายคอมพิวเตอร Introduction to Computer Networks

(3) 242–206 แนะนําเครือขายคอมพิวเตอร Introduction to Computer Networks

(3)

241–207 โครงสรางขอมูลและเทคนคิการโปรแกรมคอมพิวเตอร Data structure and Computer Programming Techniques

(3) 242–207 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม 1 Programming Fundamentals I

(3)

241–208 ระบบดิจิตอลและการออกแบบตรรก Digital Systems and Logic Design

(3) 242–208 ดิจิตอลตรรกะและการออกแบบ Digital Logic Design

(3)

241–209 อิเล็กทรอนิกสพื้นฐาน Basic Electronics

(3) 242–209 อิเล็กทรอนิกสพื้นฐาน Basic Electronics

(3)

241–210 สถาปตยกรรมไมโครโพรเซสเซอรและภาษาแอสแซมบลี Microprocessor Architecture and the Assembly Language

(3)

241-211 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ Object Oriented Programming

(3) 242–210 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม 2 Programming Fundamentals II

(2)

241–212 แนะนําฐานขอมูลและระบบสารสนเทศ Introduction to Database and Information

(3) 242-305 ระบบฐานขอมูล Database Systems

(3)

241-213 คณิตศาสตรสําหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร Mathematics for Computer Engineering

(3)

Page 120: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 119

หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับปรงุ 241–301 ปฏิบัติการวิศวกรรมคอมพิวเตอร 1

Computer Engineering Laboratory I (1) 242–301 ปฏิบัติการวิศวกรรมคอมพิวเตอรขั้นสงู 1

Advanced Computer Engineering Laboratory I (1)

241–302 ปฏิบัติการวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2 Computer Engineering Laboratory II

(1) 242–302 ปฏิบัติการวิศวกรรมคอมพิวเตอรขั้นสงู 2 Advanced Computer Engineering Laboratory II

(1)

241–303 คณิตศาสตรดีสครีต Discrete Mathematics

(3) 242-213 คณิตศาสตรดิสครีต Discrete Mathematics

(2)

241–304 ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร Computer Operating Systems

(3) 242–304 ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร Computer Operating Systems

(2)

241-305 วิศวกรรมซอฟตแวร Software Engineering

(3) 242-211 วิศวกรรมซอฟตแวร Software Engineering

(2)

241-306 สัญญาณและระบบ Signal and System

(3)

241-307 โครงสรางและสถาปตยกรรมของระบบคอมพิวเตอร Computer System Architecture and Organization

(3) 242-307 สถาปตยกรรมคอมพิวเตอรและระบบ Computer Architecture and Organization

(3)

241–308 เตรียมการโครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร Preparation Computer Engineering Project

(2) 242–308 เตรียมการโครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร Computer Engineering Project Preparation

(2)

241-309 ระบบอนาลอกและดิจิตอลขั้นสูง Advanced Analog and Digital

(3)

241-310 วิธีเชิงตัวเลขสําหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร Numerical Methods for Computer Engineering

(3)

241–401 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 1 Computer Engineering Project I

(3) 242-401 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 1 Computer Engineering Project I

(3)

241–402 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2 Computer Engineering Project II

(3) 242-402 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2 Computer Engineering Project II

(3)

241-403 วัสดุศาสตรสําหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร Materials for Computer Engineering

(3)

241-404 ประเด็นทางจริยธรรม กฎหมาย และสังคมของวิชาชีพคอมพิวเตอร Ethical, Legal and Social Issues in Computer Profession

(2)

242-214 การสื่อสารขอมูล Data Communications

(2)

242-306 การประมวลผลบนอุปกรณเคลื่อนที่ในเครือขายไรสาย Wireless and Mobile Computing

(2)

242-309 ไมโครคอนโทรลเลอรและการเชื่อมตอ Microcontroller and Interfacing

(3)

242-310 แนะนําขั้นตอนวิธแีละความซับซอน Introduction to Algorithms and Complexity

(2)

Page 121: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 120

หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับปรงุ

242-311 การคํานวณแบบแมขาย/ลูกขายและเทคโนโลยีเว็บClient/Sever Computing and Web Technologies

(2)

242-312 ความปลอดภัยคอมพิวเตอร Computer Security

(2)

2.3.2 วิชาบังคับเฉพาะแขนง (12) 2.3.2 วิชาบังคับเฉพาะแขนง (12) 2.3.2.1 แขนงวิชาวิศวกรรมสารสนเทศ 2.3.2.1 แขนงวิชาวิศวกรรมสารสนเทศ 241–320 สถาปตยกรรมการออกแบบและวิศวกรรม

สําหรับระบบอัจฉริยะ Architecture Design and Engineering of Intelligent Systems

(3) 242–321 สถาปตยกรรมการออกแบบและวิศวกรรมสําหรับระบบอัจฉริยะ Architecture Design and Engineering of Intelligent Systems

(3)

241–420 เครือขายเทคโนโลยีเว็บและการประยกุตใชงาน Web Technologies and Applications

(3) 242-420 วิศวกรรมเว็บและการประยุกตใชงาน Web Engineering & Applications

(3)

241–421 ระบบกระจายแบบแมขายลูกขาย Client/Server Distributed Systems

(3)

241–422 กราฟกสคอมพิวเตอรแอนิเมชั่น วิศวกรรมระบบการจําลองแบบและการจําลองสถานการณ Computer Graphics Systems Engineering Modelling and Simulation

(3)

242-320 ระเบียบวิธีการพัฒนาซอฟตแวร Software Development Methodologies

(3)

242-421 ระบบสารสนเทศและการจัดการ Information System Management

(3)

2.3.2.2 แขนงวิชาวิศวกรรมระบบคอมพิวเตอร 2.3.2.2 แขนงวิชาวิศวกรรมระบบคอมพิวเตอร 241-340 การออกแบบการรวมระบบ

Integrated Systems Design (3)

241–440 การออกแบบระบบคอมพิวเตอร Computer System Design

(3)

241–441 การออกแบบวงจรตรรก Logic Circuits Design

(3)

241–442 การออกแบบวงจรรวมขนาดใหญมาก VLSI System Design

(3) 242-340 การออกแบบวงจรรวมขนาดใหญมาก VLSI Design

(3)

242-341 การออกแบบระบบฝงตัว Embedded System Design

(3)

242-440 ระบบปฏิบัติการเวลาจริง Real-time Operating Systems

(3)

Page 122: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 121

หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับปรงุ 242-441 สถาปตยกรรมและการจัดองคกรคอมพิวเตอรขั้น

สูง Advanced Computer Architecture and Organization

(3)

2.3.2.3 แขนงวิชาวิศวกรรมเครือขายสารสนเทศ 2.3.2.3 แขนงวิชาวิศวกรรมเครือขายสารสนเทศ 241–360 ระบบสื่อสารและเครือขาย

Communication Systems and Networks (3)

241–460 แนะนําทฤษฎีคิว Introduction to Queueing Theory

(3) 242-360 การจําลองและการวิเคราะหการสื่อสารเครือขาย Modelling and Analysis for Network Communications

(3)

241–461 วิศวกรรมอินเตอรเน็ต Internet Engineering

(3) 242–361 วิศวกรรมอินเตอรเน็ต Internet Engineering

(3)

241–462 เครือขายรวมชนิดแบนดกวาง Broadband Integrated Networks

(3) 242–461 การสื่อสารแบบแบนดกวางและเครือขายความเร็วสูง Broadband and High Speed Networks

(3)

242-460 เครือขายพหุสื่อ Multimedia Networks

(3)

2.3.2.4 แขนงวิชาวิศวกรรมระบบควบคุมดวย คอมพิวเตอร

2.3.2.4 แขนงวิชาวิศวกรรมระบบควบคุมดวย คอมพิวเตอรและหุนยนต

241–380 หลักการของหุนยนต Principles of Robotics

(3) 242–480 หลักการของหุนยนต Principles of Robotics

(3)

241–480 การประมวลผลภาพ Image Processing

(3) 242–380 การประมวลผลสัญญาณและภาพ Signals and Image Processing

(3)

241-481 ปญญาประดิษฐสําหรับหุนยนต Artificial Intelligence for Robotics

(3)

241-482 การควบคุมดวยคอมพิวเตอร Computer Controls

(3) 242-381 ระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอร Computer Control Sytems

(3)

242-481 จักรกลอัจฉริยะ Machine Intelligence

(3)

2.3.3 เลือก (6) 2.3.3 เลือก (6) 2.3.3.1 แขนงวิชาวิศวกรรมสารสนเทศ 2.3.3.1 แขนงวิชาวิศวกรรมสารสนเทศ 241-423 โครงสรางขอมูลและกระบวนวิธีขั้นสูง

Advanced Data Structures and Algorithms (3) 242-426 ขั้นตอนวิธีขั้นสูง

Advanced Algorithms (3)

241-424 ระบบฐานขอมูล Database System

(3)

241-425 การทดสอบซอฟตแวร Software Testing

(3)

Page 123: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 122

หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับปรงุ 241-426 ระบบยูนิกซขั้นสูง

Advanced UNIX (3)

241-427 ความปลอดภัยของคอมพิวเตอร Computer Security

(3)

241-428 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ Decision Support Systems

(3)

241-429 การติดตอระหวางมนุษยกับคอมพิวเตอร Human-Computer Interaction

(3) 242-428 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร Human-computer Interaction

(3)

241-430 การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ Information Systems Analysis and Design

(3)

241-431 การวิเคราะหและออกแบบเชิงวัตถุ Object-oriented Analysis and Design

(3)

241-432 ภาษาโปรแกรมและแนวทางการโปรแกรม Programming Languages and Paradigms

(3)

241-433 หลักการคํานวณพรอมกัน Principles of Concurrent Computation

(3)

241-434 การคํานวณเชิงสัญลักษณ Symbolic Computation

(3)

241-435 ทฤษฎีการคํานวณ Theory of Computation

(3)

241-436 แนะนําการโปรแกรมภาษาจาวา Introduction to Java Programming

(3)

241-437 หัวขอพิเศษแขนงวชิาวิศวกรรมสารสนเทศ 1 Special Topic in Information Engineering I

(3) 242-439 หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมสารสนเทศ Special Topic in Information Engineering

(3)

241-438 หัวขอพิเศษแขนงวชิาวิศวกรรมสารสนเทศ 2 Special Topic in Information Engineering II

(3)

242-422 การบริหารจัดการโครงการซอฟตแวร Software Project Management

(3)

242-423 วิศวกรรมระบบซอฟตแวรเชิงบริการ Service-Oriented Software System Engineering

(3)

242-424 การประมวลผลขอมูลและองคความรูแบบกาวหนา Advanced Information and Knowledge Processing

(3)

242-425 เหมืองขอมูล Data Mining

(3)

242-427 คอมพิวเตอรแอนิเมชันและเกม Computer Animation and Game

(3)

Page 124: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 123

หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับปรงุ 242-429 การรักษาความปลอดภัยโปรแกรมประยุกตเว็บ

และระบบสารสนเทศ Security in Web Applications and Information Systems

(3)

242-438 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมสารสนเทศ Special Problem in Information Engineering

(3)

2.3.3.2 แขนงวิชาวิศวกรรมระบบคอมพิวเตอร 2.3.3.2 แขนงวิชาวิศวกรรมออกแบบระบบคอมพิวเตอร 241-443 การออกแบบระบบฝงตัว

Embedded System Design (3)

241-444

การออกแบบระบบอะซิงโครนัส Asynchronous System Design

(3)

241-445 การออกแบบรวมกันระหวางฮารดแวรและซอฟตแวร Hardware and Software Codesign

(3) 242-445 การออกแบบรวมฮารดแวรและซอฟตแวร Hardware and Software Codesign

(3)

241-446 การคํานวณแบบขนาน Parallel Computing

(3)

241-447 การคํานวณแบบกระจาย Distributed Computing

(3) 242-446 ระบบแบบกระจายและขั้นตอนวิธ ีDistributed Systems and Algorithms

(3)

241-448 ระบบปฏิบัติการแบบกระจาย Distributed Operating System

(3)

241-449 ไมโครโพรเซสเซอรสมรรถนะสูง High Performance Microprocessors

(3) 242-449 ไมโครโพรเซสเซอรสมรรถนะสูง High Performance Microprocessors

(3)

241-450 อัลกอริทึมและการออกแบบวงจรคณิตศาสตรคอมพิวเตอร Computer Arithmetic Algorithm and Hardware Design

(3) 242-448 การประมวลผลทางคณิตศาสตรและขั้นตอนวิธี Computer Arithmetic and Algorithms

(3)

241-451 โครงสรางคอมพิวเตอรขั้นสูง Advanced Computer Architecture

(3)

241-457 หัวขอพิเศษแขนงวชิาวิศวกรรมระบบคอมพิวเตอร 1 Special Topics in Computer System Engineering I

(3) 242-459 หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมออกแบบระบบคอมพิวเตอร Special Topic in Computer System Design Engineering

(3)

241-458 หัวขอพิเศษแขนงวชิาวิศวกรรมระบบคอมพิวเตอร 2 Special Topics in Computer System Engineering II

(3)

242-442 การจัดกําหนดการทรัพยากรและการจัดการ Resource Scheduling and Management

(3)

Page 125: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 124

หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับปรงุ 242-443 สถาปตยกรรมและทฤษฏีการทดสอบวงจรรวม

ขนาดใหญมาก Architectures and VLSI Test Principles

(3)

242-444 เครือขายไรสายแบบเฉพาะกิจและตัวตรวจรู: สถาปตยกรรม และโพรโทคอล Wireless Ad hoc Sensor Networks: Architectures and Protocols

(3)

242-447 การเขียนโปรแกรมและสถาปตยกรรมมัลติคอร Multi-core programming and Architecture

(3)

242-458 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมออกแบบระบบคอมพิวเตอร Special Problem in Computer System Design Engineering

(3)

2.3.3.3 แขนงวิชาวิศวกรรมเครือขายสารสนเทศ 2.3.3.3 แขนงวิชาวิศวกรรมเครือขายสารสนเทศ 241–463 เครือขายโทรคมนาคม เครือขายชนิด ไรสายและ

ชนิดเคลื่อนที ่Telecommunication, Wireless and Mobile Networking

(3)

241–464 เครือขายพหุสื่อ Multimedia Networking

(3)

241-465 วิศวกรรมอินเตอรเน็ตขั้นสูง Advanced Interner Engineering

(3)

241–466 วิศวกรรมสมรรถนะสําหรับเครือขายสือ่สาร Performance Engineering for Communication Networking

(3)

241–467 การบริหารและการบริการเครือขายโทรคมนาคม Telecommunication Network Management and Service

(3)

241- 468 การรักษาความปลอดภัยในระบบเครือขาย Network Security

(3) 242-465 ความปลอดภัยเครือขายขั้นสูง Advanced Network Security

(3)

241–477 หัวขอพิเศษแขนงวชิาวิศวกรรมเครือขายคอมพิวเตอร 1 Special Topic in Information Network Engineering I

(3) 242-479 หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมเครือขายคอมพิวเตอรและสื่อสาร Special Topic in Computer Networks and Communications Engineering

(3)

241–478 หัวขอพิเศษแขนงวชิาวิศวกรรมเครือขายคอมพิวเตอร 2 Special Topic in Information Network Engineering II

(3)

Page 126: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 125

หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับปรงุ 242-462 การออกแบบและบริหารระบบเครือขาย

คอมพิวเตอร Computer Network Design, Operation and Management

(3)

242-463 การบริการรุนตอไปของการสื่อสารเครือขาย Next Generation Services of Network Communications

(3)

242-464 การออกแบบและพัฒนาการสื่อสารเครือขาย Design and Development of Network Communications

(3)

242-478 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมเครือขายคอมพิวเตอรและสื่อสาร Special Problem in Computer Networks and Communications Engineering

(3)

2.3.3.4 แขนงวิชาวิศวกรรมระบบควบคุมดวย คอมพิวเตอร

2.3.3.4 แขนงวิชาวิศวกรรมควบคุมดวยคอมพิวเตอรและหุนยนต

241–483 ระบบควบคุมขั้นสงู Advanced Control System

(3)

241-484 แนะนําโครงขายประสาทเทียมและตรรกศาสตรคลุมเครือ Introduction to Neural Network and Fuzzy Logic

(3)

241–485 ระบบควบคุมดิจิตอล Digital Control System

(3)

241–486 คอมพิวเตอรกราฟกส Computer Graphics

(3)

241–487 การประมวลผลสัญญาณดิจิตอล Digital Signal Processing

(3)

241–497 หัวขอพิเศษแขนงวชิาวิศวกรรมระบบควบคุมดวยคอมพวิเตอร 1 Special Topic in Computer Control System Engineering I

(3) 242-499 หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอรและหุนยนต Special Topic in Computer Control Systems and Robotics Engineering

(3)

241–498 หัวขอพิเศษแขนงวชิาวิศวกรรมระบบควบคุมดวยคอมพวิเตอร 2 Special Topic in Computer Control System Engineering II

(3)

242-482 ตัวตรวจรูและการปรับสภาพสัญญาณจากตัวตรวจรู Sensors and Sensor Signal Conditioning

(3)

Page 127: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 126

หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับปรงุ

242-483 การประมวลผลสัญญาณเสียงพูด Speech Processing

(3)

242-484 สวนควบคุมเครื่องยนตประเภทการสันดาปภายในInternal Combustion Engine Control Unit

(3)

242-485 แนะนําวิธีการแบงแยก Introduction to Pattern Classifier

(3)

242-486 คอมพิวเตอรวิทัศน ทฤษฏีและปฏิบัติ Computer Vision Theory and Practice

(3)

242-487 แนะนําวิธีการจําลองคอมพิวเตอร Introduction to Computer Simulation Methods

(3)

242-498 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอรและหุนยนต Special Problem in Computer Control Systems and Robotics Engineering

(3)

2.4 วิชาเลือกเสร ี (6) 2.4 วิชาเลือกเสร ี (6) ใหนักศึกษาเลือกเรียนไดไมนอยกวา 6 หนวยกิต ทั้งนี้รายวิชาใดที่ไมใชรายวิชาบังคับตามหลักสูตรสามารถเลือกนับเปนรายวิชาในหมวดนี้ได

นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต

2.5 หมวดวิชาการฝกงานและทัศนศึกษา ใหมีการฝกงานไมนอยกวา 320 ชั่วโมง หรือ 8 สัปดาห

2.5 หมวดวิชาการฝกงานและทัศนศึกษา ใหมีการฝกงานไมนอยกวา 320 ชั่วโมง

241–400 การฝกงาน Practical Training

(0) 242–400 การฝกงาน Practical Training

(0)

Page 128: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 127

ฉ-5 ตารางสรุปรายวิชาทีเ่พิ่มในหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554

ชื่อรายวิชาที่เพิ่มใหม ลักษณะ/เหตุผล 242-306 การประมวลผลบนอุปกรณเคลื่อนที่ในเครือขายไรสาย 2(2-0-4)

เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู ความเปนมาของระบบสื่อสารไรสายมาตรฐาน การประมวลผลบนอุปกรณเคลื่อนที่ในเครือขายไรสาย เทคโนโลยีการสื่อสารเครือขาย เครือขายทองถิ่นไรสาย เครือขายเซลลูลาร เครือขายดาวเทียม โมบายไอพี เทคโนโลยีเกิดใหม การจัดการตําแหนงและการเคลื่อนที่ การประเมินคาสมรรถนะ

242-309 ไมโครคอนโทรลเลอรและการเชื่อมตอ 3(3-0-6) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู ไมโครโพรเซสเซอรและไมโครคอนโทรลเลอร สถาปตยกรรม อินเตอรรัพต การออกแบบระบบ ชุดคําสั่งและภาษาแอสเซมบลี การเชื่อมตออุปกรณรอบขาง วงจรตั้งเวลา การสื่อสารแบบอนุกรม การเขาถึงหนวยความจําโดยตรง การทวนสอบแบบมีแบบแผน แบบจําลองผิดพรองและการทดสอบ การออกแบบเพื่อการทดสอบ การออกแบบระบบโพรเซสเซอร การเพิ่มประสิทธิภาพและการทดสอบสมรรถนะ ระบบกระจาย

242-310 แนะนําขั้นตอนวิธีและความซับซอน 2(2-0-4) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู ความเปนมาและภาพรวมของขั้นตอนวิธี หลักการพื้นฐานของการวิเคราะหขั้นตอนวิธี การวิเคราะหความซับซอนขอบบนและเฉลีย่ บิกโอ แนะนําวิธีการทางขั้นตอนวิธี ขั้นตอนวิธีแบบถี่ถวน ขั้นตอนวิธีเชิงละโมบ หลักการแบงแยกเพื่อเอาชนะ การยอนรอย ขั้นตอนวิธี ขั้นตอนวิธีเชิงตัวเลข การเรียงลําดับขอมูล คนหาขอมูล ตารางแฮช กราฟ ขั้นตอนวิธีหาทางที่สั้นที่สุด ขั้นตอนวธิีแบบกระจาย ความซับซอนของขั้นตอนวิธี ปญหาที่จัดการไดและไมได กลุมปญหาแบบพี เอ็นพี และ เอ็นพีสมบูรณ ปญหามาตรฐานแบบเอ็นพีสมบูรณ

242-320 ระเบียบวธิีการพัฒนาซอฟตแวร 3(3-0-6) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู มโนทัศนของโอเพนซอรส แชรแวร ฟรีแวร ประเด็นการใชซอฟตแวรซ้ํา ไลบรารีของโปรแกรม สวนประกอบของซอฟตแวร การสรางไลบรารีหรือสวนประกอบของซอฟตแวรเพิ่ม การติดตอกับโปรแกรมประยุกต หลักการออกแบบสวนติดตอ ประเด็นสื่อหลายแบบ ประเด็นการจัดการสวนเก็บขอมูล หนาที่ของมิดเดิลแวร กรณีศึกษา

242-001 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 1(0-0-3) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู การทํากิจกรรมเชิงบูรณาการองคความรู เนนประโยชนสังคมและประโยชนเพือ่นมนุษยเปนกิจทีห่นึ่ง ปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม จิตสํานึกสาธารณะ การทํางานเปนทีม ทั้งในสาขาวิชาและหรือระหวางสาขาวิชา ภายใตคําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษา

242-421 ระบบสารสนเทศและการจัดการ 3(3-0-6) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู ระบบสารสนเทศในองคกร การจัดระบบของขอมูลและสารสนเทศ วัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ แนวทางในการพัฒนาระบบสารสนเทศ การจัดการโครงการ ระบบสารสนเทศและการตัดสินใจ พานิชยอิเล็กทรอนิกส ผลกระทบของระบบสารสนเทศตอบุคคลและสังคม

Page 129: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 128

ชื่อรายวิชาที่เพิ่มใหม ลักษณะ/เหตุผล

242-422 การบริหารจัดการโครงการซอฟตแวร 3(3-0-6) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู การเริ่มตนโครงการ การบริหารจัดการและความสําเร็จ การประเมินคาและความเสี่ยง ระบบคุณภาพและการทําใหเกิดผล การพัฒนาซอฟตแวรขนาดใหญ ผลกระทบทางสิ่งแวดลอม สัญญา ตนทุน การเงิน การวางแผน องคกร การบริหารจัดการคน นโยบายและกลยุทธของสญัญา การพาณิชยนานาชาติ การตอรอง ศุลกากร กฎหมาย

242-423 วิศวกรรมระบบซอฟตแวรเชิงบริการ 3(3-0-6) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู แนวคิดพื้นฐานของการพัฒนาซอฟตแวรเชิงบริการ สถาปตยกรรมการออกแบบและพัฒนาซอฟตแวรเชิงบริการ การจัดการกิจกรรมและประกอบบริการ ซอฟตแวรเชิงบริการสําหรับอุปกรณสื่อสารไรสายเคลื่อนที่และเอเจนต การรักษาความปลอดภัยในระบบซอฟตแวรเชิงบริการ กรณีศึกษาโปรแกรมประยุกตเชิงบริการแบบตางๆ

242-424 การประมวลผลขอมูลและองคความรูแบบกาวหนา 3(3-0-6)

เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู แนวคิดพื้นฐานของเกี่ยวกับการประมวลองคความรูดวยออนโทโลยี การแทนองคความรูดวยออนโทโลยี กระบวนการและวิธีการสําหรับการสรางออนโทโลยี ภาษาสําหรับการสรางออนโทโลยี เครื่องมือชวยการพัฒนาออนโทโลยี การคนหาองคความรูดวยออนโทโลยี เทคโนโลยีเว็บเชิงความหมาย เว็บบริการเชิงความหมาย กรณีศึกษางานประยุกตเกี่ยวกบัออนโทโลยี

242-425 เหมืองขอมูล 3(3-0-6) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู เหมืองขอมูล คณุสมบัติของขอมูล การเตรียมขอมูล วิธีลดขอบเขตของขอมูล การวิเคราะหขอมูล ตนไมสําหรับการตัดสินใจ กฎของความเชื่อมโยง การแบงประเภทของขอมูล การจัดกลุมของขอมูล การคนพบความรูในฐานขอมูล เทคนิคในการประเมินผล

242-427 คอมพิวเตอรแอนิเมชันและเกม 3(3-0-6) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู เทคโนโลยีเกมในแบบตาง ๆ ประเภทของเกมและหลักการการออกแบบ ผลกระทบของเกมตอสังคม เคร่ืองมือและเทคนคิการเขียนโปรแกรมสําหรับสรางเกม ระบบจําลองแบบความจริงเสมือน การเขียนโปรแกรมแบบการวนซ้ําของเหตุการณ การจัดการงานยอย การทําใหสมจริง ภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ การแสดงพื้นพิวและฉากหลัง ตนแบบรูปหลายเหลี่ยม พื้นผิว การตรวจสอบการชน พื้นฐานตนแบบทางฟสิกส ปญญาประดิษฐสําหรับเกม เกมแบบหลายผูเลนผานระบบเครอืขาย

242-429 การรักษาความปลอดภัยโปรแกรมประยุกตเว็บและระบบสารสนเทศ 3(3-0-6)

เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู ประโยชนของการรักษาความปลอดภัยโปรแกรมเว็บและระบบสารสนเทศ เทคนิคการบุกรุกที่ไมไดรับการอนุญาตและเครื่องมือชวย เทคนคิวิธีปลอดภัยเพื่อการยืนยันตัวตน การกําหนดระดับสิทธิใชงาน และการเขารหัสขอมูล กลไกการรักษาความปลอดภัยในระบบธุรกิจพาณิชยอิเล็กทรอนิกส การรักษาความปลอดภัยไฟลเอกสาร XML การออกแบบและพัฒนาโปรแกรมประยุกตเว็บแบบปลอดภัย

Page 130: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 129

ชื่อรายวิชาที่เพิ่มใหม ลักษณะ/เหตุผล

242-438 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมสารสนเทศ 3(2-2-5) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู ปญหาพิเศษใหมๆ ที่นาสนใจของเทคโนโลยีทางสาขาวิศวกรรมสารสนเทศ

242-440 ระบบปฏิบัติการเวลาจริง 3(3-0-6) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู หลักฮารดแวร สัญญาณขัดจังหวะและการจัดการ หลักการจัดกําหนดการแบบเวลาจริงและการนําไปใช ประเด็นเวลาแฝง การจัดการภารกิจ ขอมูลที่ใชรวมกันและซิงโครไนเซชัน ตัวจับเวลา การสงผานขาวสาร ภาวะถวงดุลระหวางเนื้อที่หนวยความจํากับความเร็ว ปริทัศนระบบปฏิบัติการเวลาจริงเชิงพาณิชย

242-441 สถาปตยกรรมและการจัดองคกรคอมพิวเตอรขัน้สูง 3(3-0-6)

เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู การประมวลผลแบบขนานในระดับชุดคําสั่ง มัลติโปรเซสเซอรและการประมวลผลแบบขนานในระดับเธรด สถาปตยกรรมแบบขนานและกระจาย แบบจําลองหนวยความจํา ขั้นตอนวิธีแบบขนาน สมดุลภาระงาน การวิเคราะหประสิทธิภาพ เทคโนโลยีกริดและการประมวลผลแบบเมฆ

242-442 การจัดกําหนดการทรัพยากรและการจัดการ 3(3-0-6) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู การวิเคราะหและเทคนคิการจัดกําหนดการ ลําดับความสําคัญ การจัดลําดับความสําคัญหลายตัว การวัดประสิทธิภาพ การใชงานระบบ ปริมาณงาน วันสิ้นกําหนด ภาวะถวงดุลของประสิทธิภาพ คุณลักษณะของภาระงาน ผลกระทบของคุณลักษณะของภาระงานตอประสิทธิภาพ กรณีศึกษา

242-443 สถาปตยกรรมและทฤษฏีการทดสอบวงจรรวมขนาดใหญมาก 3(3-0-6)

เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู ประวัติของเทคโนโลยีการทดสอบวงจรรวมขนาดใหญมาก การออกแบบสําหรับรองรับการทดสอบได การจําลองการทํางานดานตรรกะ การจําลองการทํางานดานความผิดพลาด การกําเนิดขอมูลสําหรับการทดสอบ การทดสอบภายในตัว การบีบอัดขอมูลทดสอบ

242-444 เครือขายไรสายแบบเฉพาะกิจและตัวตรวจรู: สถาปตยกรรม และโพรโทคอล 3(3-0-6)

เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเทคโนโลยกีารสื่อสารไรสาย เครือขายไรสายแบบแอดฮ็อก เครือขายตวัตรวจรูไรสาย สถาปตยกรรมและโพรโทคอลสําหรับสื่อสารไรสาย การจัดการกําลัง ความเหมาะสมการจัดการพลังงาน เวลาหนวงในการคนหาเสนทาง การออกแบบดวยวิธีแบบเชื่อมตอระหวางระดับชั้นสื่อสาร

242-447 การเขียนโปรแกรมและสถาปตยกรรมมัลติคอร 3(3-0-6) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู สถาปตยกรรมมัลติคอร เกร่ินนํากระบวนการยอย แนวคิดการเขียนโปรแกรมแบบขนาน ปญหาและแนวทางแกไขเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมแบบขนานที่พบบอย เทคนิคการแกจุดบกพรองของโปรแกรมหลายกระบวนการยอย เคร่ืองมือในการพัฒนาโปรแกรม

242-458 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมออกแบบระบบคอมพิวเตอร 3(2-2-5)

เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู ปญหาพิเศษใหมๆ ที่นาสนใจของเทคโนโลยีทางสาขาวิศวกรรมระบบคอมพิวเตอร

Page 131: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 130

ชื่อรายวิชาที่เพิ่มใหม ลักษณะ/เหตุผล 242-462 การออกแบบและบริหารระบบเครือขายคอมพิวเตอร 3(3-0-6)

เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู คุณสมบัติ หนาที่และความรับผิดชอบของผูดูแลระบบ การออกแบบและติดตั้งและบริหารจัดการระบบเครือขาย การติดตั้งระบบปฏิบัติการสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรจํานวนมาก ระบบความปลอดภัยของเครือขายและบริการ การออกแบบและติดตั้งแมขายเราเตอรดีเอน็เอส ไฟลวอลล การติดตั้ง SAMBA เพื่อทําหนาที่เปนโดเมนคอนโทรลเลอร การติดตั้งเครื่องแมขายสําหรับอีเมล การติดตั้งโปรแกรมเพื่อตรวจสอบการทาํงานของอุปกรณเครือขาย การติดตั้งอุปกรณเครือขายเพื่อใชงานกับระบบเครือขายไรสาย

242-463 การบริการรุนตอไปของการสื่อสารเครือขาย 3(3-0-6) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู แนวคิดการสื่อสารระหวางเพียร โอเวอรเลยแบบไรโครงสราง โอเวอรเลยแบบโครงสราง การใชงานการสื่อสารระหวางเพียร การคนหาในเครือขายสื่อสารระหวางเพียร การสงผานขอมูลในเครือขายสือ่สารระหวางเพียร การกระจายขอมูลและการทํามัลติคาสตบนโอเวอรเลย แนวคิดการไหบริการผานโอเวอรเลย การสงเสียงในเครือขายสื่อสารระหวางเพยีร การบริการโดยไอเอ็มเอส แบบจําลองและแนวคิด การบริการไอพีทีวีผานไอเอ็มเอส การประชุมผานไอเอ็มเอส การคํานวณแบบบริบท

242-464 การออกแบบและพัฒนาการสื่อสารเครือขาย 3(3-0-6) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู โพรโทคอลระดับชั้นขนสง ทีซีพี/ไอพี โพรโทคอลระดับชั้นโปรแกรมประยุต เฮชทีทีพี โพรโทคอลที่เกี่ยวของกับอีเมล แอลแด็บ และโพรโทคอลที่ขึ้นอยูกับโปรแกรมประยุกต เทคนิคการเขยีนโปรแกรม รวมไปถึง การเขียนโปรแกรมซ็อกเก็ต ภาวะพรอมกัน และการเก็บขอมูล การนําเสนอขอความ เสียง และภาพเคลื่อนไหว ความปลอดภัยเครือขายที่นําไปใชได การเฝาติดตามผานเครือขาย

242-478 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมเครือขายคอมพวิเตอรและสื่อสาร 3(2-2-5)

เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู ปญหาพิเศษใหมๆ ที่นาสนใจของเทคโนโลยีทางสาขาวิศวกรรมเครือขายคอมพิวเตอรและสื่อสาร

242-481 จักรกลอัจฉริยะ 3(3-0-6) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู วิธีการและเทคโนโลยีที่ทําใหเคร่ืองจักรมีความสามารถในการเรียนรู ปรับตัว ตัดสินใจ และการแสดงออกทางพฤติกรรม ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ การควบคุมแบบชาญฉลาด ปญญาประดิษฐและการคิดแบบเสมือน การตัดสินใจแบบหลายเงื่อนไข การรวมขอมูล ระบบฟซซี่ เครือขายประสาทเทียม เหมืองขอมูล ทฤษฎีของเบย ขั้นตอนวิธีพันธุกรรม ระบบผูเชี่ยวชาญ

242-482 ตัวตรวจรูและการปรับสภาพสัญญาณจากตัวตรวจรู 3(3-0-6)

เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู หลักการของตัวตรวจรู คุณสมบัติของตัวตรวจรู ตัวตรวจรูความเรง ความสั่นสะเทือนและแรงกระแทก ตัวตรวจรูชีวภาพ ตัวตรวจรูแบบคาปาซิทีฟ ตัวตรวจรูสนามแมเหล็กตัวตรวจรูการไหลและระดับ ตัวตรวจรูแรง ภาระและน้ําหนัก ตัวตรวจรูความชื้น ตัวตรวจรูตําแหนงและการเคลื่อนที ่ตรวจรูความดัน ตัวตรวจรูอุณหภูมิ สเตรนเกจ เครือขายตัวตรวจรูไรสาย การปรับสภาพสัญญาณ วงจรขยายเพื่อการปรับสภาพสัญญาณ วงจรแปลงอนาลอกเปนดิจิตอลเพื่อการปรับสภาพสัญญาณ

Page 132: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 131

ชื่อรายวิชาที่เพิ่มใหม ลักษณะ/เหตุผล

242-483 การประมวลผลสัญญาณเสียงพูด 3(3-0-6) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู การกําเนิดเสียงพูด การรับรูเสียงพูด แนะนําระบบรูจําเสียงพูด เทคนิคการสกัดคาลกัษณะเดนของเสียงพูด สัมประสิทธิ์เค็ปสตรัมเมล การเขารหัสแบบทํานายเชิงเสน แบบจําลองฮิดเดนมารคอฟ เครื่องมือสําหรับระบบรูจําเสียงพดู ระบบรูจําเสียงพูดคําตอเนื่องที่มีจํานวนคําศพัทมาก แนะนําการสังเคราะหเสียงพดู เทคนิคการสังเคราะหเสียงพูด ระบบแปลงขอความเปนเสยีงพดู

242-484 สวนควบคุมเครื่องยนตประเภทการสันดาปภายใน 3(3-0-6)

เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู เคร่ืองยนตประเภทสันดาปภายใน องศาการทํางานของเครื่องยนต คากําลังอัดสุดทาย อัตราสวนการเผาไหม สภาวะรวยและจน(น้ํามัน) ระบบควบคุมอัตโนมัติ

242-485 แนะนําวิธีการแบงแยก 3(3-0-6) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู วิธีการพิจราณาความสําคัญขอมูล การลดมิติของขอมูล ผลของการลดมิติของขอมลู ขอเสียของขอมูลที่มีหลายมิติ ความสําคัญของการคัดแยก การแบงแยกประเภทเบื้องตน การกระจายตัวแบบปกติ ทฤษฏีความนาจะของเหตุการณ การประยุกตใชขอมูลทีม่ีผลตอความนาจะเปนของเหตุการณ การแมทชแบบความนาจะเปนสูงสุด ฟงกชั่นความคลายคลึง

242-486 คอมพิวเตอรวิทัศน ทฤษฏีและปฏิบัติ 3(3-0-6) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู แนวคิดหลักทางดานคอมพิวเตอรวิทัศน การสรางภาพ แบบจําลองกลองและการปรับเทียบมาตราฐาน การสกัดคุณลักษณะสําคัญจากภาพ การหาความสัมพันธของคุณลักษณะที่สนใจระหวางภาพ การตรวจจับการเคลื่อนไหว เทคนิคการลบพื้นหลังและเทคนิคออพติคอลโฟลว การติดตามวัตถุคาลแมน และ การกรองเกาะกลุมแนน การจัดแยกและจดจําวัตถุ ระบบสเตอริโอวิชัน เรขาคณิตแบบอปิโพลาร การสรางแบบจําลองสามมิติจากภาพหลายมมุมอง เทคนิคทางพีชคณิตและเทคนิคการหาคาเหมาะสมที่สดุที่เกี่ยวของ คาไอเกน เวกเตอรลักษณะเฉพาะ การแยกคาเอกฐาน การหาคาเหมาะที่สุดดวยกําลังสองนอยที่สุดและวิธีเกรเดียนตดีเซนท

242-487 แนะนําวิธีการจําลองคอมพิวเตอร 3(3-0-6) เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู กระบวนการของระบบจําลองเชิงกายภาพสําหรับการสรางภาพเคลื่อนไหวทางคอมพิวเตอร เชิงปรากฏการณหรือวัสดุ การเปลี่ยนรูปทรงของแข็ง เนื้อเยื้อ ของเหลว การระเบิด วิธีการเชิงตัวเลข ตนแบบเชิงกายภาพ โครงสรางขอมูล ผลการประยุกตใชจากวิธิการตางๆ การสรางระบบจําลอง

242-498 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมควบคุมดวยคอมพิวเตอรและหุนยนต 3(2-2-5)

เพื่อใหนักศึกษาเรียนรู ปญหาพิเศษใหมๆ ที่นาสนใจของเทคโนโลยีทางสาขาวิศวกรรมควบคุมดวยคอมพวิเตอรและหุนยนต

Page 133: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 132

ฉ-6 ตารางสรุปรายวิชาทีม่ีการเปลี่ยนแปลงในหลกัสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับปรุง ลักษณะ/เหตุผล

890-100 ภาษาอังกฤษเตรียมความพรอม 3(2-1-3) 890-100 ภาษาอังกฤษเตรียมความพรอม 3(1-4-4) ปรับรายละเอียดหนวยกิต 890-101 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 3(3-1-3) 890-101 การฟงและการพูดภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(2-2-5) เปลี่ยนชื่อวิชา ปรับเนือ้หา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

890-102 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 3(3-1-3) 890-102 การอานและเขียนภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(3-0-6)

เปลี่ยนชื่อวิชา ปรับเนือ้หา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

322-171 คณิตศาสตรวิทยาศาสตรกายภาพ 1 3(3-0-3)

322-101 คณิตศาสตรพืน้ฐาน 1 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสวิชา ชือ่วิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

322-172 คณิตศาสตรวิทยาศาสตรกายภาพ 2 3(3-0-3)

322-102 คณิตศาสตรพืน้ฐาน 2 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสวิชา ชือ่วิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

322-271 คณิตศาสตรวิทยาศาสตรกายภาพ 3 3(3-0-3)

322-201 คณิตศาสตรพืน้ฐาน 3 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสวิชา ชือ่วิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

324-103 เคมีทั่วไป 3(3-0-3) 324-103 เคมีทั่วไป 3(3-0-6) ปรับปรุงคําอธิบายรายวิชา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 325-103 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 1(0-3-0) 325-103 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 1(0-3-0) ปรับปรุงคําอธิบายรายวิชา 216-111 เขียนแบบวิศวกรรม 1 3(2-3-3) 215-111 เขียนแบบวิศวกรรม 1 3(2-3-4) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 221-102 กลศาสตรวิศวกรรม 1 3(3-0-3) 220-102 กลศาสตรวิศวกรรม 1 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 225-241 สถิติวิศวกรรม 1 3(3-0-3) 242-212 ความนาจะเปนและสถิต ิ 2(2-0-4) เปลียนรหัสวิชา ชือ่วิชา เนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-101 แนะนาํการเขยีนโปรแกรมคอมพิวเตอร 3(2-2-3)

242-101 แนะนาํการเขยีนโปรแกรมคอมพิวเตอร 3(2-2-5)

เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

241-201 ปฏิบัติการซอฟตแวร 1 1(0-3-3) 242-201 ปฏิบัติการซอฟตแวร 1 1(-0-3-0) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-202 ปฏิบัติการฮารดแวร 1 1(0-3-3) 242-202 ปฏิบัติการฮารดแวร 1 1(-0-3-0) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-203 ปฏิบัติการซอฟตแวร 2 1(0-3-3) 242-203 ปฏิบัติการซอฟตแวร 2 1(-0-3-0) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-204 ปฏิบัติการฮารดแวร 2 1(0-3-3) 242-204 ปฏิบัติการฮารดแวร 2 1(-0-3-0) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-205 วงจรไฟฟา 3(3-0-3) 242-205 วงจรไฟฟา 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-206 แนะนาํเครือขายคอมพิวเตอร 3(3-0-3) 242-206 แนะนาํเครือขายคอมพิวเตอร 2(2-0-4) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-207 โครงสรางขอมูลและเทคนิคการโปรแกรมคอมพิวเตอร 3(2-2-3)

242-207 พื้นฐานการเขยีนโปรแกรม 1 3(2-2-5) เปลี่ยนรหัสวิชา ชือ่วิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

241-208 ระบบดิจิตอลและการออกแบบตรรก 3(3-0-3)

242-208 ดิจิตอลตรรกะและการออกแบบ 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสวิชา ชือ่วิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

241-209 อิเล็กทรอนิกสพื้นฐาน 3(3-0-3) 242-209 อิเล็กทรอนิกสพื้นฐาน 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-211 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถ ุ 3(3-0-3) 242-210 พื้นฐานการเขยีนโปรแกรม 2 2(2-0-4) เปลี่ยนรหัสวิชา ชือ่วิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-212 แนะนาํฐานขอมูลและระบบสารสนเทศ 3(3-0-3)

242-305 ระบบฐานขอมูล 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสวิชา ชือ่วิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

241-301 ปฏิบัติการวิศวกรรมคอมพิวเตอรข้ันสูง 1 1(0-3-0)

242-301 ปฏิบัติการวิศวกรรมคอมพิวเตอรข้ันสูง 1 1(0-3-0)

เปลี่ยนรหัสวิชา

241-302 ปฏิบัติการวิศวกรรมคอมพิวเตอรข้ันสูง 2 1(0-3-0)

242-302 ปฏิบัติการวิศวกรรมคอมพิวเตอรข้ันสูง 2 1(0-3-0)

เปลี่ยนรหัสวิชา

241-303 คณิตศาสตรดิสครีต 3(3-0-3) 242-213 คณิตศาสตรดิสครีต 2(2-0-4) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-304 ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร 3(3-0-3) 242-304 ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร 2(2-0-4) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-305 วิศวกรรมซอฟตแวร 3(3-0-3) 242-211 วิศวกรรมซอฟตแวร 2(2-0-4) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-307 โครงสรางและสถาปตยกรรมของระบบคอมพิวเตอร 3(3-0-3)

242-307 สถาปตยกรรมคอมพิวเตอรและระบบ 3(3-0-6)

เปลี่ยนรหัสวิชา ชือ่วิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

241-308 เตรียมการโครงงานวิศวกรรมคอมพวิเตอร 2(0-2-4)

242-308 เตรียมการโครงงานวิศวกรรมคอมพวิเตอร 2(0-2-4)

เปลี่ยนรหัสวิชา

241-320 สถาปตยกรรมการออกแบบและวิศวกรรมสําหรับระบบอัจฉริยะ 3(3-0-3)

242-321 สถาปตยกรรมการออกแบบและวิศวกรรมสําหรับระบบอัจฉริยะ 3(3-0-6)

เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

241-360 ระบบสื่อสารและเครือขาย 3(3-0-6) 242-214 การสื่อสารขอมูล 2(2-0-4) เปลี่ยนรหัสวิชา ชือ่วิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต ปรับจากวิชาบงัคับเลือกแขนงมาเปนวิชาบังคับสาขา

Page 134: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 133

หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับปรุง ลักษณะ/เหตุผล 241-380 หลักการหุนยนต 3(3-0-3) 242-480 หลักการหุนยนต 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-400 การฝกงาน 0(0-40-3) 242-400 การฝกงาน 0(0-40-0) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับปรุงคําอธิบายรายวิชา ปรับรายละเอียด

หนวยกิต 241-401 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 1 3(-0-6-3) 242-401 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 1 3(-0-6-3) เปลี่ยนรหัสวิชา 241-402 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2 3(-0-6-3) 242-402 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2 3(-0-6-3) เปลี่ยนรหัสวิชา 241-404 ประเด็นทางจริยธรรม กฎหมาย และสังคมของวิชาชพีคอมพิวเตอร 2(1-2-2)

242-303 ประเด็นทางจริยธรรม กฎหมาย และสังคมของวิชาชพีคอมพิวเตอร 1(1-1-1)

เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

241-420 เครือขายเทคโนโลยีเว็บและการประยุกตใชงาน 3(3-0-3)

242-420 วิศวกรรมเว็บและการประยุกตใชงาน 3(3-0-6)

เปลี่ยนรหัสวิชา ชือ่วิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

241-421 ระบบกระจายแบบแมขาย/ลูกขาย 3(3-0-3) 242-311 การคํานวณแบบแมขาย/ลูกขายและเทคโนโลยีเว็บ 2(2-0-4)

เปลี่ยนรหัสวิชา ชือ่วิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต ปรับจากวิชาบงัคับเลือกแขนงมาเปนวิชาบังคับสาขา

241-423 โครงสรางขอมูลและกระบวนวิธี 3(3-0-3) 242-426 ข้ันตอนวิธีข้ันสูง 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-427 ความปลอดภยัคอมพิวเตอร 3(3-0-3) 242-312 ความปลอดภยัคอมพิวเตอร 2(2-0-4) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต ปรับ

จากวิชาบงัคับเลือกแขนงมาเปนวิชาบังคับสาขา 241-429 การติดตอระหวางมนุษยและคอมพวิเตอร 3(3-0-3)

242-428 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร 3(3-0-6)

เปลี่ยนรหัสวิชา ชือ่วิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

241-437 หัวขอพิเศษแขนงวิชาวิศวกรรมสารสนเทศ 1 3(3-0-3)

242-439 หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมสารสนเทศ 3(3-0-6)

เปลี่ยนรหัสวิชา ชือ่วิชา ปรับปรุงคําอธิบายรายวิชา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

241-442 การออกแบบวงจรรวมขนาดใหญมาก 3(3-0-3)

242-340 การออกแบบวงจรรวมขนาดใหญมาก 3(3-0-6)

เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

241-443 การออกแบบระบบฝงตัว 3(3-0-3) 242-341 การออกแบบระบบฝงตัว 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-445 การออกแบบรวมกันระหวางฮารดแวรและซอฟตแวร 3(3-0-3)

242-445 การออกแบบรวมฮารดแวรและซอฟตแวร 3(3-0-6)

เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

241-447 การคํานวนแบบกระจาย 3(3-0-3) 242-446 ระบบแบบกระจายและขั้นตอนวิธี 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-449 ไมโครโพรเซสเซอรสมรรถนะสูง 3(3-0-3) 242-449 ไมโครโพรเซสเซอรสมรรถนะสูง 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-450 อัลกอริทึมและการออกแบบวงจรคณิตศาสตรคอมพิวเตอร 3(3-0-3)

242-448 การประมวลผลทางคณิตศาสตรและขั้นตอนวิธี 3(3-0-6)

เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

241-451 โครงสรางคอมพิวเตอรข้ันสูง 3(3-0-3) 242-441 สถาปตยกรรมและการจัดองคกรคอมพิวเตอรข้ันสูง 3(3-0-6)

เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

241-457 หัวขอพิเศษแขนงวิชาวิศวกรรมระบบคอมพิวเตอร 1 3(3-0-3)

242-459 หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมออกแบบระบบคอมพิวเตอร 3(3-0-6)

เปลี่ยนรหัสวิชา ชือ่วิชา ปรับปรุงคําอธิบายรายวิชา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

241-460 แนะนาํทฤษฎคิีว 3(3-0-3) 242-360 การจําลองและการวิเคราะหการสื่อสารเครือขาย 3(3-0-6)

เปลี่ยนรหัสวิชา ชือ่วิชา ปรับ ปรับรายละเอียดหนวยกิต

241-461 วิศวกรรมอินเทอรเน็ต 3(3-0-3) 242-361 วิศวกรรมอินเทอรเน็ต 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-462 เครือขายรวมชนิดแบนดกวาง 3(3-0-3) 242-461 การสื่อสารแบบแบนดกวางและเครือขาย

ความเร็วสูง 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสวิช าชือ่วิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

241-464 เครือขายพหุส่ือ 3(3-0-3) 242-460 เครือขายพหุส่ือ 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-468 การรักษาความปลอดภัยในระบบเครอืขาย 3(3-0-3)

242-465 ความปลอดภยัเครือขายข้ันสูง 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสวิชา ชือ่วิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

241-477 หัวขอพิเศษแขนงวิชาวิศวกรรมเครือขายเครือขายสารสนเทศ 1 3(3-0-3)

242-479 หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมเครือขายคอมพิวเตอรและสื่อสาร 3(3-0-6)

เปลี่ยนรหัสวิชา ชือ่วิชา ปรับปรุงคําอธิบายรายวิชา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

241-480 การประมวลผลภาพ 3(3-0-3) 242-380 การประมวลผลสัญญาณและภาพ 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสวิชา ชือ่วิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-482 ระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอร 3(3-0-3) 242-381 ระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอร 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสวิชา ปรับเนื้อหา ปรับรายละเอียดหนวยกิต 241-497 หัวขอพิเศษแขนงวิชาวิศวกรรมระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอร 3(3-0-3)

242-499 หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมควบคุมดวยคอมพิวเตอรและหุนยนต 3(3-0-6)

เปลี่ยนรหัสวิชา ชือ่วิชา ปรับปรุงคําอธิบายรายวิชา ปรับรายละเอียดหนวยกิต

Page 135: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 134

ภาคผนวก ช. ขอมูลอาจารยประจํา ลําดับ ชื่อ – นามสกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา

สถานศึกษา ผลงานทางวิชาการ

1. รศ.ดร.สินชัย กมลภิวงศ

วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร Ph.D. (Electrical and Communications Engineering) , The University of New south Wales, Australia

1. งานวิจัย: Voice over IP, Next Generation Internet (NGI), Next Generation Networks (NGN), P2P, Context-aware 2. ภาระงานสอน: Multimedia Networks, Broadband and High Speed Networks

2 รศ.ดร.มนตรี กาญจนะเดชะ

วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร Ph.D. (Electrical Engineering) Old Dominion University, USA

1. งานวิจัย: Speech Processing , Image Processing , Embedded Systems 2. ภาระงานสอน: Computer Control Systems, Electric Circuits

3 รศ.ดร.มิตรชัย จงเชี่ยวชํานาญ

วศ.บ. (โทรคมนาคม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณลาดกระบัง M.Sc. (Communication and Signal Processing) Imperial College , UK Ph.D. (Electrical Engineering) University of Surrey, UK

1. งานวิจัย: ส่ือสารความถี่สูง, ส่ือสารไรสาย, เกษตรอิเล ็กทรอนิกส 2. ตํารา: โครงขายส่ือสารและสายสง , 2548, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร 3. ภาระงานสอน: Digital Logic and Design

4 รศ.ทศพร กมลภิวงศ วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร M. Eng. Sc (Communication) The University of New South Wales, Australia

1. งานวิจัย: E-learning , Network Performance and analysis 2. ภาระงานสอน: Probability and Statistics, Modelling Analysis for Network Communications

Page 136: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 135

ลําดับ ชื่อ – นามสกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

5 ผศ.ดร.สุนทร วิทูสุรพจน

วศ.บ (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วศ.ม (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร Ph.D. (Telecommunications) Swinburne University of Technology, Australia

1. งานวิจัย: การจัดการปญหาดานงานขายสินคาและบริการในสถานีบริการน้ํามันดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. ภาระงานสอน: สถาปตยกรรมการออกแบบและวิศวกรรมสําหรับระบบอัจฉริยะ, วิศวกรรมเว็บและการประยุกตใชงาน, วิศวกรรมระบบซอฟตแวรเชิงบรกิาร, การประมวลผลขอมูลและองคความรูแบบกาวหนา

6 ผศ.ดร.ธเนศ เคารพาพงศ

วศ.บ (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร Maitrise (Automatism), UPS, Toulouse, France D.E.A. (Automatism), Institut National Polytechnique de Toulouse, France Doctorat (Systems Automatiques Automatism), Institut National Polytechnique de Toulouse, France

1. งานวิจัย: Computer control and robotic, signal processing 2. ภาระงานสอน: Computer control Systems, Computer Engineering Project Preparation, Signals and System, Mathematic for computer engineering

7 ผศ.ดร.พิชญา ตัณฑัยย วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร M.Phil. (Computer Science) University of Manchester, United Kingdom Ph.D. (Computer Science) University of Manchester, United Kingdom

1. งานวิจัย: ระบบคอมพิวเตอรแบบเบรลล, Parallel and Distributed Computing and Systems 2. ภาระงานสอน: Advanced Computer Architecture and Organization, Distributed Systems and Algorithms, Ethical, Legal and Social Issues in the Computer Profession

8 ผศ.ดร.ทวีศักดิ์ เรืองพีระกุล

วศ.บ (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Ph.D. (Electrical Engineering), Santa Clara University, USA

1. งานวิจัย: Design for Testability, Built-in Self-test 2. ภาระงานสอน: Digital Logic and Design, Architectures and VLSI Test Principles

Page 137: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 136

ลําดับ ชื่อ – นามสกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

9 ผศ.ดร.วรรณรัช สันติอมรทัต

วศบ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วศม. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Ph.D. (Computer Science) University of Manchester, UK

1. งานวิจัย: Wireless sensor network, Embedded system design, Asynchronous VLSI design 2. ภาระงานสอน: VLSI Design, Microcontroller and Interfacing

10 ผศ.ดํารงค เคลาดี วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

1. ตํารา: อิเล็กทรอนิกส ในระบบการวัดทางดิจิตอล, อิเล็กทรอนิกสพ้ืนฐาน 2. ภาระงานสอน : อิเล็กทรอนิกสพ้ืนฐาน, วงจรไฟฟา

11 Dr. Andrew Davison B.Sc (Hons) Computing, University of Manchester Institute of Science and Technology , UK M.Sc (Computer Science), Lehigh, USA Ph.D. (Computer Science), Impreial, UK

1. งานวิจัย: Scripting language for 3D animated models, 3D virtual reality, logic programming and the Internet, Visualization, Teaching methodologies 2. ตํารา: Killer Game Programming in Java, 2005, O'Reilly 3. ภาระงานสอน: Discrete Mathematics, Programming Fundamentals II

12 อ.ไพจิตร กชกรจารุพงศ วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

1. งานวิจัย: Information Engineering 2. ภาระงานสอน: Database Systems,

13 ดร.สมชัย หลิมศิโรรัตน วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร M.Arg. (Agricultural Science), Kyoto University, JAPAN Dr.Arg. (Agricultural Science), Kyoto University, JAPAN

1. งานวิจัย: โปรแกรมชวยนับจํานวน เซลลมะเร็ง, การฝงลายน้ําในเอกสารขอความ 2. ภาระงานสอน: Intelligent System and Management

Page 138: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 137

ลําดับ ชื่อ – นามสกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

14. ดร.อนันท ชกสุริวงค วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร D.E.A. (Imagerie , Vision , Robotique) Institut National Polytechnique de Gronoble, France Ph.D. (Sciences et Technologies industrielles) Universite´ d’Orleans , France

1. งานวิจัย: Realtime face detection/ identification for surveillance system, Machine learning, cognitive system 2. ภาระงานสอน: Programming Foundamentals II, Machine Intelligence

15 ดร.แสงสุรีย วสุพงศอัยยะ

วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร M.S. (Computer Science), California State University Chico, USA Ph.D. (Computer Science), Portland State University, USA

1. งานวิจัย: Resource scheduling and management, computer security, cryptography, engineering education 2. ภาระงานสอน: Computer Security, Computer Operating Systems, Real-time Operating Systems

16 ดร.สกุณา เจริญปญญาศักดิ์

วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสยาม วศ.ม. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร Ph.D. (Network, Telecommunications, System and Architecture) Toulouse University, France

1. งานวิจัย: Ad hoc Networks, Wireless sensor networks, Vehicular Ad hoc Networks, Engineering education 2. ภาระงานสอน: Wireless and Mobile Computing, Co-Curricular Activities, Introduction to Computer Programming

17 ดร.อารีย ธีรภาพเสรี วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร Maitrise (Informatique), University Joseph Fourier , France D.E.A. (Information system and communication) , University Joseph Fourier , France Ph.D.(Computer science), University Joseph Fourier, France

1. งานวิจัย: วิศวศึกษา 2. ภาระงานสอน: Software Engineering, Introduction to Computer Programming

Page 139: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 138

ลําดับ ชื่อ – นามสกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

18 ดร.นิคม สุวรรณวร วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร M.Eng (Electronical and Mechamical Engineering), ESME Sudria, France D.E.A. (Electronical System and Information Processing) Université de Paris – Sud, France Ph.D. (Image processing), Université de Paris – Sud. France

1. งานวิจัย: intelligent surveillance systems 2. ภาระงานสอน: Introduction to Computer Programming, Computer Vision Theory and Practice

19 ดร.ปญญยศ ไชยกาฬ วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง Ph.D. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

1. งานวิจัย: Fingerprint image processing 2. ภาระงานสอน: Computer Architecture and Organization, Advanced Computer Architecture and Organization

20 ดร.วชรินทร แกวอภิชัย วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วศ.ม. (วิศวกรรมระบบควบคุม) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี Ph.D. (วิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

1. งานวิจัย: Machine vision, engine control management, fruit grading 2. ภาระงานสอน: Introduction to Pattern Classifier, Control System for Internal Combusion Engineering

21. อ.ฉัตรชัย จันทรพริ้ม

วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร M.Phil (Computer science) University of Manchester, UK

1. ภาระงานสอน: Computer Engineering Lab I, Computer Engineering Lab II

22 อ.วรพรต ชูกําเนิด วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วศ.ม. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร **

1. งานวิจัย: พัฒนาระบบโทรคมนาคมสําหรับโทรศัพทเคล่ือนที่ รุนที่ 3, คอมพิวเตอรแบบพกพาที่มีคียบอรดและหนวยแสดงแบบเบรลลภาษาไทยและอังกฤษ 2. ภาระงานสอน: Web Engineering and Applications

Page 140: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 139

ลําดับ ชื่อ – นามสกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

23 อ.เสกสรรค สุวรรณมณี วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร M.S. (Computer Science) University of Toulouse III, Toulouse, France M.S. (Computer Science) University of Lyon I, Lyon, France

1. งานวิจัย: Database, Information system, Semantic Web, Ontology 2. ภาระงานสอน: Programming Fundamentals I, Algorithm and Complexity

24 อ.ธัชชัย เองฉวน วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร M.Sc. (Computer Science), National University of Singapore, Singapore

1. งานวิจัย: Next Generation Internet, IPv6 Home Gateway 2. ภาระงานสอน: Introduction to Computer Networks

25 อ.สุธน แซวอง วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร M.Sc. (Computer Science), National University of Singapore, Singapore

1. งานวิจัย: Realtime Communication, Multimedia Services 2. ภาระงานสอน: Programming Fundamentals I

26 อ.มัลลิกา อุณหวิวรรธน วศ.บ. (วิศวกรรมโทรคมนารม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง M.Sc. (Information Technology) สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร

1. งานวิจัย: Wireless Networks 2. ภาระงานสอน: Introduction to Computer Programming, Data Communications

27 อ.เพ็ชรัตน สุริยะไชย* M.Sc. (Electrical and Computer Engineering) Carnegie Mellon University, USA

ลาศึกษาตอ ณ Lancaster University, UK

28 อ.ธรรมรัฏฐ สมิตะลัมพะ

M.Sc. (Computer Information Systems) Eastern Michigan University, USA

ภาระงานสอน: Software Development Methodologies, Intelligent System & Design, Web Engineering & Applications, Information System and Management

29 อ.คมสันต กาญจนสิทธิ์

วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

1. งานวิจัย: การพัฒนาระบบฝงตัวแบบเครือขาย, การออกแบบวงจรรวม 2. ภาระงานสอน: VLSI Design

Page 141: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 140

ลําดับ ชื่อ – นามสกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

30 อ.ฉกาจกิจ แทนชัยกุล วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา โทรคมนาคม) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา โทรคมนาคม) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

1. งานวิจัย: ระบบเครือขายคอมพิวเตอร, เครือขายทองถ่ินไรสาย 2. ภาระงานสอน: Data Communications

31 อ.วิศรุต จันทระ วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วศ.ม. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

1. งานวิจัย: SLIMs: Sign Language Processing and Intellegent Multimedia System 2. ภาระงานสอน: Microcontroller and Interfacing, Digital Logic and Design, Basic Electronics

32 อ.อภิชาต วสุธาพิทักษ วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) สถาบันเทคโนโลยีพะจอมเกลาเจาคุณลาดกระบัง

1. งานวิจัย: RFID Application, Embedded System Design 2. ภาระงานสอน: Digital Logic and Design

33 อ.อัมรินทร ดีมะการ วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วศ.ม. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

1. งานวิจัย: Assistive Technology for disability people, speech recognition, sign language, etc. 2. ภาระงานสอน: Software Development Methodologies, Software Testing

34 อ.ยศวีย แกวมณี วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วศ.ม. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

ภาระงานสอน: Intro to Computer programming, Computer Architectures and Organization, Advance Computer Architectures and Organization

35 อ.พัชรี เทพนิมิตร* วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ลาศึกษาตอ ณ Heriot Watt University, สหราชอาณาจักร

36 อ.วศิมน พาณิชพัฒนกุล*

วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ลาศึกษาตอ ณ มหาวิทยาลัย ENSEEIHT, ประเทศฝรั่งเศส

Page 142: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 141

ลําดับ ชื่อ – นามสกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

37 อ.วโรดม วีระพันธุ* วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วศ.ม. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง

ลาศึกษาตอ ณ มหาวิทยาลัย ENSEEIHT, ประเทศฝรั่งเศส

38 อ.อภิชาติ หีดนาคราม B.Eng. (1st Honour) (Microelectronic Engineering), Griffith University, Australia Ph.D.(Algorithms and Theory), Griffith University, Australia ***

1. งานวิจัย: Parameterized Complexity Theory, Fixed-Parameter Tractable (FPT) Algorithms, and Computational Geometry 2. ภาระงานสอน: Mathematics for Computer Engineering, Algorithm and Complexity, Ethical Legal and Social Issues in Computer Profession

39 อ.นพพณ เลิศชูวงศา* วศ.บ. (โทรคมนาคม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง วศ.ม (ไฟฟา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง

ลาศึกษาตอ ณ Universite Paris - Sud 11, ประเทศฝรั่งเศส

40 Mr. David Arthur Sun B.Business Administration (Accounting Information Systems) Eastern Michigan University, USA M.Sc.(Information Systems) Eastern Michigan University, USA

ภาระงานสอน: Discrete Mathematic, Database Systems

* ลาศึกษาตอในระดับปริญญาเอก ** อยูระหวางการศึกษา คาดวาจะสําเร็จภายในป พ.ศ. 2554

*** รออนุมัติปริญญา คาดวาจะแลวเสร็จภายในป พ.ศ. 2553

Page 143: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 142

ภาคผนวก ซ. สําเนาคาํสั่งแตงตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร

Page 144: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 143

Page 145: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 144

Page 146: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 145

Page 147: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 146

Page 148: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 147

Page 149: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 148

Page 150: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 149

Page 151: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 150

Page 152: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 151

ภาคผนวก ฌ. ความคิดเห็นและขอเสนอแนะของกรรมการผูทรงคุณวุฒิกับการดําเนินการหรือคําชี้แจงของผูรับผิดชอบหลักสูตร

ความเห็นของกรรมการผูทรงคุณวุฒิ การดําเนินการ

1. รศ.ดร.วันชัย ร้ิวไพบลูย ภาพรวมหลักสูตร ภาพรวมหลักสูตรเมื่อพิจารณาตามตลาดแรงงานบานเราก็เห็นวาเหมาะสม แตอาจตองคิดตอไปวาเด็กไทยสามารถไปทํางานตางประเทศไดดวย มอ.ใกลสิงคโปรอาจไดเปรียบ

ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร ถาจะผนวกเรื่องการรับใชสังคม ชุมชน เขาดวยกันก็จะดี ตามที่อาจารยประเวศ วะสี แนะนําไว

โครงสรางหลักสูตร 1) วิชา 242-201 และ 203 ปฏบัิติการซอฟตแวร ผมเขาใจวาสนับสนุนวิชา 242-207 และ 242-210 แตทําไมวิชา 242-207 เปน 3(2-2-5) หรือเปนอยางอื่น แตโดยรวมโครงสรางใชไดครับ

2) โครงงาน (Senior Project) โดยรวมจะไดหนวยกิต 2+3+3 ใชไหมครับ

แผนการศึกษา เห็นชอบครับ

คําอธิบายรายวิชา - เนื้อหาเหมาะสมกับจํานวนหนวยกิต - ภาษาอังกฤษกับภาษาไทย สอดคลองกันดี - เนื้อหาแตละวิชาครอบคลุมองคความรูครบถวน

ขอเสนอแนะอื่น จากขอ 5.5 หนา 3 “ใหมีปริญญาเพียงสาขาเดียว” แตในหลักสูตรมีแขนงวิชา เชน วิศวกรรมสารสนเทศ วิศวกรรมเครือขาย การภายหนาควรแยกสายอาชีพใหชัดเจนก็จะดีมาก เพราะศาสตรดานนี้กวางขวางมาก แต

คําชี้แจงและดําเนินการตอบขอสงสัยดังน้ี หลักสูตรฯ จัดใหมีรายวิชาหัวขอพิเศษ และ ปญหาพิเศษ ในแตละแขนงเพื่อรองรับการจัดสอนหัวขอเนื้อหาที่หลากหลาย อีกทั้งหลายรายวิชามีการจัดการเรียนการสอนเปนภาษาอังกฤษ

หลักสูตรฯ ตอบรับเรื่องการรับใชสังคม ชุมชน โดยจัดรายวิชา 242-001 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 1 ใหนักศึกษาซึ่งเนนเรื่องของจิตสํานึกสาธารณะ อยูดวย

รายวิชา 242-201 และ 242-203 สนับสนุนรายวิชาอื่นๆ ในแผนการศึกษาชั้นปที่ 2 ดวยไมเพียงแตสนับสนุนรายวิชา 242-207 อีกทั้ง 242-207 เปนรายวิชาการเขียนโปรแกรมเริ่มตนของหลักสูตร จึงเนนใหมีการลงปฏิบัติการในรายวิชา

หนวยกิตรวมของรายวิชาโครงงานทั้งหลักสูตร 8 หนวยกิต

-

-

เนื่องจากหลักสูตรปรับปรุงฉบับนี้ ไดดําเนินการตาม มคอ 1 คอมพิวเตอร (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) ซึ่งไมมีการจัดแยกสาขาวิชาเอก ดังนั้นจึงไมมีการแยกสาขาวิชาเอก แตทางภาควิชาฯ จัดแขนงวิชาเลือกเพ่ือสราง

Page 153: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 152

ละแขนงมีเนื้อหาเฉพาะมากมาย ลักษณะนี้จะมีผลดีตอผูประกอบการจะไดผูทํางานที่ตรงความตองการ

2. รศ.ดร.โกสินทร จํานงไทย ภาพรวมหลักสูตร เปนหลักสูตรที่ปรับปรุงไดทันสมัย มีปรัชญาที่ชัดเจนและมีสวนตางกับมหาวิทยาลัยอื่นที่นับไดวาเปนเอกลักษณของมอ. มีวิชาที่ทันสมัยหลายวิชา จากการ scan รายวิชามีบางวิชาที่เปนการรวมศาสตรหลายสาขาเขาดวยกัน นับวาเปน multidisciplinary พอสมควร ทําใหหลักสูตรที่ปรับปรุงอยูในรูปที่ทันสมัย ใหความรูในวงกวางและกระชับ

ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร มีปรัชญาของสาขาวิชาที่เนน เชน Software Eng IT, Communication , Computer system และเนนบุคลากรที่มีความสามารถในการวิเคราะห สราง แกปญหา ประยุกต และวิจัย ซึ่งนับวาครบตามคุณสมบัติของวิศวกรและมีฟงกชันที่เปนเอกลักษณ

โครงสรางหลักสูตร จัดโครงรางไดอยางเหมาะสมและสมดุลยระหวางวิชาในแตละกลุม ทําใหผูเรียนสามารถเรียนรูตามลําดับขั้นตอนของศาสตรและเปนไปไดสําหรับการเรียนของนักเรียนที่มีผลการเรียนกลาง ๆ

แผนการศึกษา เห็นสมควร

คําอธิบายรายวิชา ไมมี Comment เห็นดวย

ขอเสนอแนะอื่น หากมีปรัชญาที่จะสรางฟงกชั่นวิจัยในบัณฑิต อาจตองสอดแทรกเนื้อหา หรือกิจกรรมของการวิจัยลงในวิชาตาง ๆ นอกเหนือจาก senior project

เอกลักษณของหลักสูตร อีกทั้งเปนทางเลือกใหนักศึกษาในการเรียนรายวิชาที่ตนเองถนัด นอกจากนี้เนื้อหาที่อยูในแตละแขนงรวมแลวมีเพียง 18 หนวยกิตเทานั้น

-

-

-

-

-

ในหลายรายวิชาไดกําหนดใหนักศึกษาคนควาวิจัยและเขียนบทความ รายงานเล็กๆ ที่เกี่ยวกับเนื้อหาของรายวิชานั้นๆ รวมอยูดวย ซึ่งเปนแนวทางในการพัฒนาทักษะทางการวิจัยใหแกนักศึกษา

Page 154: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 153

3. รศ.ดร.อนันต ผลเพิ่ม ภาพรวมหลักสูตร มีความเหมาะสม ชัดเจนในการผลิตบัณฑิตวิศวกรคอมพิวเตอรที่มีคุณภาพและคุณธรรม

ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร มีความเหมาะสมในการผลิตบัณฑิตที่มีความรู ความสามารถ ทั้งทางดานทฤษฏีและปฏิบัติ รวมถึงเนนดานคุณธรรมและจริยธรรม

โครงสรางหลักสูตร มีเหมาะสมดี

แผนการศึกษา มีการกระจายวิชาทางดานทฤษฏีและปฏิบัติ ในแตละภาควิชาอยางเหมาะสม ทําใหการศึกษาของนักศึกษาในแตละภาคไมหนัก/เบา เกินไป

คําอธิบายรายวิชา โดยรวมมีความชัดเจน และเหมาะสมทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

ขอเสนอแนะอื่น 1) การจัดการหนวยกิตของวิชาหลัก แบบ 2 หนวยกิต อาจทําใหเนื้อหาของ/เวลาการสอนวิชานั้นลดลง , ตรงนี้เขาใจวานาจะมีการกระจายเปนรายวิชามากขึ้น และกระชับเนื้อหาอยางเหมาะสม

2) ในกลุมวิชาทางดานเครือขาย , วิชาทางดานปฏิบัติการเครือขายจะมีแทรกเนื้อหาบางสวนอยูใน 242-462 ซึ่งเปนวิชาเลือกในป 4 , อาจทําใหนักศึกษาขาดประสบการณดานเครือขาย , การตั้งคาได ถาไมใชนักศึกษาในกลุมเครือขายที่เลือกลงวิชานี้ เสนอใหนาจะมีการแทรกเนื้อหา/ปฏิบัติ ในรายวิชา 242-206 หรือวิชาที่เกี่ยวของใหมีสวนการปฏิบัติที่ชัดเจน

3) ในสวนของซอฟตแวร นาจะมีการเพิ่มเนื้อหาในสวนของ “การพัฒนาซอฟตแวรขนาดใหญ” ซึ่งตองทําเปนทีม เนื่องจากการทํางานจริงในปจจุบันจะเปนซอฟตแวรขนาดใหญ อาจเพ่ิมใน 242-422 เปนตน

-

-

-

-

-

-

การลงปฏิบัติการที่มีเนื้อหาเกี่ยวของกับรายวิชา 242-206 มีอยูในรายวิชา 242-201 และ 242-203

ไดทําการแกไขตามขอเสนอแนะของผูทรงคุณวุฒิแลว

Page 155: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 154

4. คุณอัมพิกา จันทรภักดี ภาพรวมหลักสูตร หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 โดยภาพรวมมีความเหมาะสมสําหรับการศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร

ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตรมีความเหมาะสมตอการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพทั้งในดานความรูในดานวิชาชีพ, ความรูดานมนุษยสัมพันธ และความสามารถในการติดตอส่ือสาร อันเปนที่ตองการของตลาดแรงงาน ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตรมีความสอดคลองกับโครงสรางหลักสูตรและรายวิชาที่จัดสอน

โครงสรางหลักสูตร จํานวนหนวยกิตรวม, สัดสวนของหนวยกิตสําหรับหมวดวิชาศึกษาทั่วไปและหมวดวิชาเฉพาะมีความเหมาะสมสําหรับการศึกษาในระดับปริญญาตรี ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอรไดจัดวิชาบังคับเลือกแขนงวิชาชีพและวิชาเลือกวิชาชีพ ไวไดอยางเหมาะสม ตามแขนงวิชาชีพสําหรับงานดานวิศวกรรมคอมพิวเตอรที่ตลาดแรงงานตองการ

แผนการศึกษา แผนการศึกษาถูกจัดไวไดอยางเหมาะสม มีความสอดคลองพ้ืนฐานความรูจากแตละรายวิชา

คําอธิบายรายวิชา คําอธิบายรายวิชามีความชัดเจน สามารถเขาใจภาพรวมของรายวิชาไดงาย

ขอเสนอแนะอื่น 1 เนื่องดวยคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วเมื่อเปรียบเทียบกับสาขาวิชาอื่นๆ ดังนั้นหลักสูตรและวิชาเรียน สําหรับภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร ควรมีการผนวกขอมูลดานนวัตกรรมและเทคโนโลยีจากผูผลิตเทคโนโลยี เพ่ือใหนักศึกษามีความเขาใจแนวโนม (Trend) ของเทคโนโลยี และสามารถนําความรูที่ไดจากหลักสูตรไปประยุกตใชกับเทคโนโลยีใหมๆได

-

-

-

-

-

ทางภาควิชาฯ รับขอเสนอแนะของผูทรงคุณวุฒิไปดําเนินการในรูปแบบของการจัดบรรยายพิเศษ โดยเชิญผูผลิตเทคโนโลยี ผูประกอบการ มาใหความรูแกนักศึกษา อีกทั้งทางหลักสูตรฯ ไดมีการจัดรายวิชาหัวขอพิเศษและปญหาพิเศษในแตละแขนงเพื่อรองรับการจัดเนื้อหาที่ทันสมัยตามความกาวหนาของเทคโนโลยีอีกดวย

Page 156: หลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มคอ.2

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 155

2 ทักษะดานภาษาตางประเทศมีสวนชวยสรางความไดเปรียบในการแขงขันในตลาดแรงงาน ควรมีทางเลือกในหมวดวิชาจากคณะศิลปะศาสตรที่หลากหลาย

3 นักศึกษาที่จบการศึกษาดานวิศวกรรมคอมพิวเตอร สวนหนึ่งเขาสูตลาดแรงดานภาคการขายและการใหบริการ IT เชน sales engineer, pre-sales, delivery engineer เปนตน ทักษะดาน soft skill เชน การนําเสนองาน (presentation skill), การทํางานรวมกับผูอ่ืน (inter person skill), และ ทักษะการสนทนา (communication skill) มีสวนชวยสรางความไดเปรียบในการแขงขันในตลาดแรงงาน ควรมีทางเลือกในหมวดวิชาจากคณะศิลปศาสตรที่หลากหลาย

4 ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร ควรสงเสริมนักศึกษาในการแขงขันดานเทคโนโลยี ในเวทีตางๆทั้งในและตางประเทศ

5 ปจจุบันแนวโนมที่เจาของกิจการดาน IT จะเปนคนรุนใหมอายุต้ังแต 25-35 ป เพ่ิมขึ้นเปนจํานวนมาก เชน software house, web developer, IT services, หรือ animation house เปนตน ควรเพ่ิมวิชาเลือกดานการบริหารจัดการธุรกิจสําหรับนักศึกษาที่ตองการเปนเจาของกิจการดาน IT ในอนาคต

หลักสูตรฯ ไดเปดกวางในสวนของรายวิชาเลือกเสรี ซึ่งไมมีการกําหนดขอบบน ทําใหนักศึกษาสามารถลงเรียนรายวิชาภาษาตางประเทศ โดยนําหนวยกิตมาจัดอยูในหมวดวิชาเลือกเสรีได นอกจากนี้หลายรายวิชาในหลักสูตรมีการเรียนการสอนเปนภาษาอังกฤษโดยอาจารยชาวตางประเทศและมีอาจารยชาวไทยที่จัดการเรียนการสอนเปนภาษาอังกฤษดวย อีกทั้งเอกสารประกอบการบรรยายในเกือบทุกรายวิชาของหลักสูตรจะเปนภาษาอังกฤษ เพ่ือชวยสงเสริมทักษะทางภาษาใหนักศึกษาอีกทางหนึ่ง

หลักสูตรฯ ไดเปดกวางในสวนของรายวิชาเลือกเสรี ซึ่งไมมีการกําหนดขอบบน สงผลใหนักศึกษาสามารถลงเรียนรายวิชาที่จะชวยเสริมทักษะตางๆ เหลานี้ไดตามความสนใจ นอกจากนี้รายวิชา 242-202 และ 242-204 มีการจัดลงปฏิบัติการเปนกลุมซึ่งนักศึกษาก็จะมีโอกาสเสริมทักษะตางๆดวย อีกทั้งรายวิชาโครงงาน ต้ังแต 242-308, 242-401 และ 242-402 ไดมีการจัดเสริมทักษะการนําเสนอและการรับฟงความคิดเห็นเสริมเชนกัน

ทางภาควิชาฯ รับขอเสนอแนะของผูทรงคุณวุฒิไปดําเนินการเนื่องจากสอดคลองกับแนวนโยบายเดิมของทางภาควิชาฯ อยูแลวที่จะสงเสริมและเปดโอกาสใหนักศึกษาเขารวมการแขงขันตามเวทีตางๆ ตัวอยางเชน การแขงขันโปรแกรมคอมพิวเตอรประเทศไทย (NSC) ซึ่งทางภาควิชาฯ ไดเปนศูนยประสานงานภาคใตมาต้ังแตป พ.ศ. 2550 นอกจากนี้ ภาควิชาฯ ไดเปนผูจัดการแขงขันการเขียนโปรแกรมระดับอุดมศึกษา ACM-ICPC (ACM International Collegiate Programming Contest) ทั้งในระดับประเทศ และระดับนานาชาติ

หลักสูตรฯ ไดเปดกวางในสวนของรายวิชาเลือกเสรี ซึ่งไมมีการกําหนดขอบบน สงผลใหนักศึกษาสามารถลงเรียนรายวิชาที่จะชวยเสริมทักษะตางๆ เหลานี้ไดตามความสนใจ นอกจากนี้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรมีศูนยบมเพาะวิสาหกิจ โดยทางศูนยฯ ไดมีการจัดอบรม สงเสริม และอํานวยความสะดวกแกนักศึกษาที่ตองการเปนเจาของกิจการในอนาคตดวยเชนกัน