8
1 งานวิชาการ: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มคอ. 3 มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชา ศิลปศึกษา หมวดทีข้อมูลทั่วไป . รหัสและชื่อรายวิชา 2071202 วาดเส้น 2 (ภาษาไทย) Drawing 2 (ภาษาอังกฤษ) . จํานวนหน่วยกิต 3 ( 2 2 5 ) . หลักสูตรและประเภทของรายวิชา ชื่อหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต ประเภทของรายวิชา วิชาชีพครู (บังคับเรียนเฉพาะสาขาวิชา) . อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา อาจารย์สุนิษา อัศวินรุ่งโรจน์ . ภาคการศึกษา / ชั้นปีท่เรียน ภาคการศึกษาที2 / 2558/ ชั้นปีท1 . รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มี . รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี . สถานที่เรียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี . วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด 21 ธันวาคม 2558 หมวดทีจุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ . จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1. เพื่อให้นักศึกษาสามรถถ่ายทอดรูปแบบจากต้นแบบลักษณะ 3 มิติได้อย่างถูกต้องสวยงาม 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถถ่ายทอดรู ปแบบจากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างถูกต้องสวยงาม 3. เพื่อให้นั กศึกษาเข้าใจเทคนิคและกรรมวิธีของการวาดเส้น สามารถนําไปใช้ในการออกแบบและสร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะได้อย่างถูกต้องสวยงาม . วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา 1. เพื่อเป็นความรู้พื้นฐานในการนําไปใช้กับรายวิชาอื่น ทางด้านศิลปศึกษา 2. เพื่อเป็นการศึกษาวิธีการวาดภาพอย่างมีขั้นตอนที่อธิบายได้ 1/2558

1 1/2558 มคอ 3 รายละเอียดของรายวิชาedu.pbru.ac.th/TQF/58/58205941-207120255.pdf1 ! ! งานว ชาการ: คณะมน ษยศาสตร

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 1 1/2558 มคอ 3 รายละเอียดของรายวิชาedu.pbru.ac.th/TQF/58/58205941-207120255.pdf1 ! ! งานว ชาการ: คณะมน ษยศาสตร

1    

งานวิชาการ: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร ์ มคอ. 3  

มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุร ีวิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร ์ สาขาวิชา ศิลปศึกษา

หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป

๑. รหัสและชื่อรายวิชา 2071202 วาดเส้น 2 (ภาษาไทย) Drawing 2 (ภาษาอังกฤษ)

๒. จํานวนหน่วยกิต 3 ( 2 – 2 – 5 ) ๓. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา

ชื่อหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต ประเภทของรายวิชา วิชาชีพครู (บังคับเรียนเฉพาะสาขาวิชา) ๔. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา

อาจารย์สุนิษา อัศวินรุ่งโรจน์

๕. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่ 2 / 2558/ ชั้นปีที่ 1

๖. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่ม ี

๗. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (co-requisites) (ถ้ามี) ไม่ม ี ๘. สถานที่เรียน

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุร ี๙. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด 21 ธันวาคม 2558

 

 

หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ ๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

1. เพื่อให้นักศึกษาสามรถถ่ายทอดรูปแบบจากต้นแบบลักษณะ 3 มิติได้อย่างถูกต้องสวยงาม 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถถ่ายทอดรปูแบบจากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างถูกต้องสวยงาม 3. เพื่อให้นกัศึกษาเข้าใจเทคนิคและกรรมวิธีของการวาดเส้น สามารถนําไปใช้ในการออกแบบและสร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะได้อย่างถูกต้องสวยงาม

๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

1. เพื่อเป็นความรู้พื้นฐานในการนําไปใช้กับรายวิชาอื่น ๆ ทางด้านศิลปศึกษา 2. เพื่อเป็นการศึกษาวิธีการวาดภาพอย่างมีขั้นตอนที่อธิบายได้

     

1/2558

Page 2: 1 1/2558 มคอ 3 รายละเอียดของรายวิชาedu.pbru.ac.th/TQF/58/58205941-207120255.pdf1 ! ! งานว ชาการ: คณะมน ษยศาสตร

2    

งานวิชาการ: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร ์ มคอ. 3  

หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดําเนินการ ๑. คําอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติการวาดเส้น โดยถ่ายทอดรูปแบบจากต้นแบบลักษณะ 3 มิติ และธรรมชาติแวดล้อมด้วย เทคนิคและกรรมวิธีต่างๆ ตามความมุ่งหมายและเนือ้หา โดยเน้นความถูกต้องและสวยงาม เพื่อให้ได้ผลสอดคล้อง กับการนําไปใช ้ ๒. จํานวนชั่วโมงที่ใชต้่อภาคการศึกษา

บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน

การศึกษาด้วยตนเอง

30 ชั่วโมง ตามลักษณะการเรียนรู้ของนักศึกษาเป็นรายบุคคล

30 ชั่วโมง 75 ชั่วโมง

๓. จํานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล - อาจารย์ประจํารายวิชา ประกาศเวลาให้คําปรึกษาผ่านการประชุมนักศึกษา และป้ายประชาสัมพันธ์ของสาขาวิชาฯ หรือ ทางอีเมลล์

- อาจารย์จัดเวลาให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการในชั่วโมงที่ว่างจากภาระงานสอน ตามความเหมาะสม

- นักศึกษาจองวันเวลาล่วงหน้า หรือ มาพบตามเวลา

หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา การพัฒนาผลการเรียนรู้ในมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้านที่มุ่งหวัง ซึ่งต้องสอดคล้องกับที่ระบุไว้ในรายละเอียด ของหลักสูตร โดยมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละด้าน ให้แสดงข้อมูลต่อไปนี้

รายวิชา

1. คุณธรรมและจริยธรรม

2. ความรู ้

3. ทักษะทางปัญญา

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข

การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสาร

สนเทศ

6. ทักษะการจัดการเรียนรู ้

1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3

2072201 � � � � � �   �   �   � �   �   �   � �  �  �   � �  �  �

1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

� 1.1.1 คุณธรรมจริยธรรมสําหรับครู เช่น กัลยาณมิตรธรรม ๗ � 1.1.2 จรรยาบรรณวิชาชีพครู ที่กําหนดโดยองค์กรวิชาชีพ คือ คุรุสภา � 1.1.3 คุณธรรมจริยธรรมสําหรับครูสอนศิลปศึกษา

1.2 วิธีการสอนที่จะใช้พัฒนาการเรียนรู้ 1.2.1 สอนเน้นโดยการเน้นความรู้ในศาสตร์ทางการสอนศิลปศึกษา และศาสตร์ที่เกี่ยวข้องให้สามารถ ประยุกต์ใช้ศาสตร์ทางศิลปศึกษา

Page 3: 1 1/2558 มคอ 3 รายละเอียดของรายวิชาedu.pbru.ac.th/TQF/58/58205941-207120255.pdf1 ! ! งานว ชาการ: คณะมน ษยศาสตร

3    

งานวิชาการ: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร ์ มคอ. 3  

1.2.2 มีความรับผิดชอบต่องาน รักษาวินัย จรรยาบรรณ ความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่มีน้ําใจต่อเพื่อน ร่วมงาน เห็นประโยชน์ต่อส่วนรวมมากกว่าตนเอง และเน้นการเข้าชั้นเรียนรวมถึงการส่งงานตรงต่อเวลา

1.3 วิธีการประเมินผล 1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา

1.3.2 พฤติกรรมของนักศึกษาที่เกิดขึ้นระหว่างการทํากิจกรรมในชั้นเรียน 1.3.3 ประเมินผลจากผลงานที่สร้างสรรค์ด้วยตนเอง

2. ความรู้ 2.1 ความรู้ที่จะได้รับ � 2.1.1 ความรู้วิชาชีพคร ู(Pedagogical Knowledge)

l 2.1.2 ความรู้เชิงบูรณาการระหว่างวิชาชีพครูกับวิชาเฉพาะ (Pedagogical-Content Knowledge) 2.2 วิธีการสอน

สอนด้วยการบรรยาย สาธิต การฝึกปฎิบัติด้วยตนเอง โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดทักษะด้านกระบวนการเขียนแบบ ซึ่งประกอบด้วยความรู้ด้านการออกแบบ การจัดองค์ประกอบศิลป์

2.3 วิธีการประเมิน 2.3.1 ทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นทั้งภาคทฤษฎ ีและภาคปฏิบัต ิ 2.3.2 จากชิน้งานที่ได้จากการฝึกปฏิบัติ

3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา

� 3.1.1 สามารถคิดค้นหาข้อเท็จจริง ทําความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ และแนวคิดจากแหล่ง ข้อมูลที่หลากหลายเพื่อนํามาใช้ในการปฏิบัติงานสอนและงานครูรวมทั้งการวินิจฉัยผู้เรียนและการวิจัยเพื่อ พัฒนาผู้เรียน � 3.1.2 สามารถคิดแก้ปัญหาในการจัดการเรียนรู้ที่มีความสลับซับซ้อน เสนอทางออก และนําไปสู่การ แก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ � 3.1.3 มีความเป็นผู้นําทางปัญญาในการคิดพัฒนาการจัดการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์และมีวิสัยทัศน์

l 3.1.4 สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และนําความรู้เกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎีและหลักการที่ เกี่ยวข้องในศาสตร์สาขาวิชาศิลปศึกษาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ แก้ปัญหาพัฒนาผู้เรียน และการวิจัยต่อยอด องค์ความรู้

3.2 วิธีการสอน - ฝึกการมองภาพเป็นมุมมองทัศนียภาพแบบต่างๆ - ฝึกความมีระเบียบ วินัย และความสะอาด - มอบหมายให้ผู้เรียนร่วมแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนร่วมชั้นเรียน และร่วมกันรับผิดชอบต่อสถานที่

ปฎิบัติงาน - มอบหมายให้ผู้เรียนบูรณาการความรู้ร่วมกับรายวิชาอื่นๆ เช่น รายวิชาออกแบบเบื้องต้น

หรือโครงการที่เกี่ยวกับการสร้างสรรค์ศิลปะ 3.3 วิธีการประเมินผลทักษะทางปัญญาของนักศึกษา

Page 4: 1 1/2558 มคอ 3 รายละเอียดของรายวิชาedu.pbru.ac.th/TQF/58/58205941-207120255.pdf1 ! ! งานว ชาการ: คณะมน ษยศาสตร

4    

งานวิชาการ: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร ์ มคอ. 3  

ทดสอบก่อน-หลังเรียน สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และการประยุกต์ ความรู้ที่ศึกษา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา � 4.1.1 มีความไวในการรับความรู้สึกของผู้เรียนด้วยความเข้าใจ และความรู้สึกเชิงบวก มีวุฒิภาวะทางอารมณ์และสังคม � 4.1.2 มีความเอาใจใส่ มีส่วนช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ปัญหาความสัมพันธ์ในกลุ่มและระหว่าง กลุ่มผู้เรียนอย่างสร้างสรรค์ � 4.1.3 มีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน เป็นผู้นําและผู้ตามที่มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวมทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม

� 4.1.4 มีความไวในการรับรู้ความรู้สึกของผู้เรียนศิลปศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา เอาใจใส่ในการรับฟัง และพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างมีความรับผิดชอบ สามารถสื่อสาร กับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ 4.2 วิธีการสอน

4.2.1 ให้ปฏิบัติงานตามขั้นตอนให้มีคุณภาพ และถ่ายทอดวาดเส้นในเนื้อหาที่แสดงถึงการทํางาน เป็นทีมและการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขในสังคม 4.2.2 ให้ปฏิบัติการวาดเส้นโดยการพัฒนาของผลงานขึ้นเป็นลําดับ

4.3 วิธีการประเมิน 4.3.1 ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมาย 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ  

5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา � 5.1.1 มีความไวในการวิเคราะห์และเข้าใจข้อมูลสารสนเทศที่ได้รับจากผู้เรียนอย่างรวดเร็ว

ทั้งที่เป็นตัวเลขเชิงสถิติหรือคณิตศาสตร ์ภาษาพูดหรือภาษาเขียน

� 5.1.2 มีความสามารถในการใช้ดุลยพินิจที่ดีในการประมวลผล แปลความหมาย และเลือกใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับวชิาที่สอน และงานครูที่รับผิดชอบโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ด ี

� 5.1.3 มีความสามารถในการสื่อสารกับผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งการพูด การเขียน และการนําเสนอด้วยรูปแบบที่เหมาะสมกับกลุ่มผู้เรียน

       � 5.1.4 ความไวในการวิเคราะห์สรุปความคิดรวบยอดข้อมูลขา่วสารด้านศิลปะจากผู้เรียนระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา สามารถสื่อสาร มีดุลยพินิจในการเลือกใช้และนําเสนอข้อมูลสารสนเทศสําหรับผู้เรียนระดับประถมศึกษาและ มัธยมศึกษาได้อย่างเหมาะสม  

5.2 วิธีการสอน 5.2.1 มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้ในการเขียนแบบ จากแหล่งข้อมูลต่างๆ 5.2.2 การใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนําเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย 5.3 วิธีการประเมิน 5.3.1 ประเมินจากผลงานและการนําเสนอผลงาน

 

Page 5: 1 1/2558 มคอ 3 รายละเอียดของรายวิชาedu.pbru.ac.th/TQF/58/58205941-207120255.pdf1 ! ! งานว ชาการ: คณะมน ษยศาสตร

5    

งานวิชาการ: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร ์ มคอ. 3  

หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล ๑. แผนการสอน สัปดาห์ที่

หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน ชั่วโมง

กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช ้

ผู้สอน

1 ความสําคัญของการวาดเส้น - วัสดุของการวาดเส้น - วัสดุอุปกรณ์ - เทคนิควิธีการของการวาดเส้น

4

บรรยาย : 2 ปฏิบัติ : 2

ขั้นที่ 1 ทําแบบทดสอบก่อนเรียน ขั้นที่ 2 เข้าสู่บทเรียนโดยให้ผู้เรียนได้ดูภาพตัวอย่างผลงานวาดเส้น เพื่อให้ผู้เรียนเกิดแรงบันดาลใจในการวาดเส้น ขั้นที่ 3 สอนโดยการบรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ สื่อที่ใช ้- แบบทดสอบก่อนเรียน -PowerPoint ประกอบการบรรยาย - ตัวอย่างผลงานสําเร็จ

อ.สุนิษา อัศวินรุ่งโรจน ์

2-3 การวาดเส้นรูปทรงหุ่นนิ่ง - การจัดภาพ - การร่างภาพ - การแรเงา

8

บรรยาย : 4 ปฏิบัติ : 4

ขั้นที่ 1. สอนโดยการบรรยาย และสาธิต ขั้นที่ 2. ให้นักศึกษาฝึกตามขั้นตอนการวัดสัดส่วน และร่างภาพ สื่อที่ใช ้-PowerPoint ประกอบการบรรยาย - ภาพตัวอย่างผลงาน

อ.สุนิษา อัศวินรุ่งโรจน ์

4-7 การวาดหุ่นปูนปลาสเตอร ์ - การจัดภาพ - การร่างภาพ - การสังเกต - การแรเงา

16

บรรยาย :8 ปฏิบัติ : 8

ขั้นที่ 1. สอนโดยการบรรยาย และสาธิต ขั้นที่ 2. ฝึกปฏิบัตริ่างภาพ และลงน้ําหนักแสงเงา สื่อที่ใช ้-PowerPoint ประกอบการบรรยาย - เอกสารประกอบการสอน

อ.สุนิษา อัศวินรุ่งโรจน ์

8-11 การวาดภาพคนเหมือน - กายวิภาคคน - การสังเกตภาพ - การร่างภาพ - การแรเงา

16

บรรยาย : 8 ปฏิบัติ : 8

ขั้นที่ 1. สอนโดยการบรรยาย และสาธิต ขัน้ที่ 2. ฝึกปฏิบัติร่างภาพ และลงน้ําหนักแสงเงา สื่อที่ใช ้-PowerPoint ประกอบการบรรยาย - เอกสารประกอบการสอน

อ.สุนิษา อัศวินรุ่งโรจน ์

12-15 การวาดภาพทิวทัศน์ - การเขียนทัศนียภาพแบบ 1 จุด และ แบบ 2 จุด

- การเลือกมุมภาพ

16 บรรยาย :8 ปฏิบัติ : 8

ขัน้ที่ 1. สอนโดยการบรรยาย และสาธิต ขั้นที่ 2. ให้ วาดเส้นทัศนียภาพสิ่งก่อสร้างแบบ1

อ.สุนิษา อัศวินรุ่งโรจน ์

Page 6: 1 1/2558 มคอ 3 รายละเอียดของรายวิชาedu.pbru.ac.th/TQF/58/58205941-207120255.pdf1 ! ! งานว ชาการ: คณะมน ษยศาสตร

6    

งานวิชาการ: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร ์ มคอ. 3  

- การวาดทิวทัศน์บก ทะเล และสิ่งก่อสร้าง

จุด หรือแบบ2จุด ตามมุมมองที่เห็น ขั้นที่ 3. ให้นักศึกษาปฏิบัติการสอน,การนําเสนอในหัวข้อที่ได้รับมอบหมายและให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการประเมินตนเองรวมทั้งประเมินเพื่อนในชั้นเรียน สื่อที่ใช ้-PowerPoint ประกอบการบรรยาย - เอกสารประกอบการสอน

16 สอบวัดผลการเรียนรู้ภาคทฤษฎีและ ปฏิบัติ ปลายภาคเรียน (สอบนอกตาราง)

*ลักษณะข้อสอบจะรวมทั้งทักษะ ความรู้และการปฏิบัติ - การจัดแสดงงานวาดเส้นประจําปี 2555 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เพิ่มเติมและได้นําผลงานไปเผยแพร่เพื่อการปฏิบัติจริงในอนาคต

อ.สุนิษา อัศวินรุ่งโรจน ์

   2. แผนการประเมินผลการเรียนรู ้

ผลการเรียนรู ้ สิ่งที่ต้องการพัฒนา (100%)

วิธีการสอน

วิธีการประเมิน สัปดาห์ที ่ประเมิน

สัดส่วนของคะแนน

1. คุณธรรมจริยธรรม ( 10 %)

mคุณธรรมจริยธรรมสําหรับครูสอนศิลปศึกษา

ความมีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา

กําหนดข้อตกลงร่วมกันในการเข้าชั้นเรียน

ประเมินการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา และการไม่ลอกแบบ

ทุกสัปดาห ์ 10 คะแนน

2. ความรู ้ ( 45 %) lความรู้เชิงบูรณาการระหว่างวิชาชีพครูกับวิชาเฉ

พาะ (Pedagogical-Content Knowledge)

ทักษะด้านการเขียนแบบ และการถ่ายทอดมุมมองต่างๆด้านการเขียนแบบ ในการประยุกต์ใช้ในวิชาอื่นๆ

สอนด้วยการบรรยาย สาธิต การฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง รวมทั้งการอภิปรายแสดงความคิดเห็นร่วมกัน

- ทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัต ิ- ประเมินทักษะการรายงานนําเสนอ - ประเมินผลงานจากการฝึกปฏิบัต ิ

ทุกสัปดาห ์ 45 คะแนน

3. ทักษะทางปัญญา ( 15 %)

l สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และนําความรู้เกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้องในศาสตร์สาขาวิชาศลิปศึกษาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ แก้ปัญหาพัฒนา

การวิเคราะห์ข้อมูลความรู้ในรายวิชา การประเมินผลงานตามเกณฑ์การประเมินที่พัฒนาขึ้นร่วมกัน การแก้ปัญหาในการทํางานที่ได้รับมอ

- ฝึกวิเคราะห์มุมมองต่างๆ ด้วยการฝึกปฎิบัติด้วยตนเอง

- ทดสอบก่อน-หลังเรียน สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และการประยุกต์ความรู้ที่ศึกษา - ประเมินรูปแบบการนําเสนอหน้าชั้นเรียน

ทุกสัปดาห ์ 15 คะแนน

Page 7: 1 1/2558 มคอ 3 รายละเอียดของรายวิชาedu.pbru.ac.th/TQF/58/58205941-207120255.pdf1 ! ! งานว ชาการ: คณะมน ษยศาสตร

7    

งานวิชาการ: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร ์ มคอ. 3  

ผู้เรียน และการวิจัยต่อยอดองค์ความรู้

บหมาย

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ( 15 %)

mมีความเอาใจใส ่มีส่วนช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ปัญหาความสัมพันธ์ในกลุ่มและระหว่าง กลุ่มผู้เรียนอย่างสร้างสรรค ์

การทํางานร่วมกับผู้อื่น การรู้หน้าที่ ความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวมการทํางานร่วมกับผู้อื่น การรู้หน้าที่ ความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม

- การฝึกปฎิบัติจากสถานที่จริง เพื่อได้มุมมองและรายละเอียดที่สมจริง

ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับ มอบหมาย

สัปดาห์ที่ 13 , 15 และ 16

15 คะแนน

5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ( 15 %)

�มีความไวในการวิเคราะห์และเข้าใจข้อมูลสารสนเทศที่ได้รับจากผู้เรียนอย่างรวดเร็ว ทั้งที่เป็นตัวเลขเชิงสถิติหรือคณิตศาสตร ์ภาษาพูดหรือภาษาเขียน �มีความสามารถในการใช้ดุลยพินิจที่ดีในการประมวลผล แปลความหมาย และเลือกใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกบัวิชาที่สอน และงานครูที่รับผิดชอบโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ด ี

ความรู้ด้านการวิเคราะห์ข้อมูล การสื่อสาร รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

- มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ - การใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนําเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย

- มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้ในการวาดเส้น กระบวนการเทคนิคภาพพิมพ์ จากแหล่งข้อมูลต่างๆ

- การใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนําเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย

สัปดาห์ที ่13 - 16

15 คะแนน

 หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

๑. ตําราและเอกสารหลัก เทียนชัย ตั้งพรประเสริฐ. ทฤษฎีวาดเขียน . กรุงเทพ ฯ : เฟื่องฟ้า พริ้นติ้ง , 2544 เทียนชัย ตั้งพรประเสริฐ. องค์ประกอบศิลป์ 1. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : เฟื่องฟ้า พริ้นติ้ง, 2549 ประเสริฐ ศีลรัตนา . การวาดเขียน . กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์ , 2525. พิษณุ ประเสริฐผล . วาดเส้นด้วยดินสอ . พิมพ์ครั้งที่ 2 . กรุงเทพฯ : เฟิสท์ ออฟเซท , 2549 วัชรพงศ์ หงษ์สุวรรณ . วาดเส้นมัณฑนศิลป์. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2547 วิศิษฐ พิมพ์พิมล. การวาดเส้น. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, ม.ป.ป. เศรษฐมันตร์ กาญจนกุล. แสงเงา 6. กรุงเทพฯ : เศรษฐศิลป์ , 2547 ศุภพงศ์ ยืนยง. หลักการเขียนภาพ . กรงุเทพฯ : โอเดียนสโตร์ , 2547 ๒. เอกสารและข้อมูลสําคัญ เอกสารประกอบการสอนวาดเส้น1

๓. เอกสารและข้อมูลแนะนํา - สํานักวิทยบริการ (ห้องสมุด) - Mini TCDC ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ

Page 8: 1 1/2558 มคอ 3 รายละเอียดของรายวิชาedu.pbru.ac.th/TQF/58/58205941-207120255.pdf1 ! ! งานว ชาการ: คณะมน ษยศาสตร

8    

งานวิชาการ: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร ์ มคอ. 3  

หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา

๑. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา - การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

๒. กลยุทธ์การประเมินการสอน

- ผลการสอบ และผลงานของนักศึกษา - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู ้

๓. การปรับปรุงการสอน

- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน - ปรับปรุงเนื้อหาและเพิ่มการทบทวนการสอบมากขึ้น

๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา

- มีการตั้งคณะกรรมการตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม

๕. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา

- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 7.4