15
คำแนะนำสำหรับครูผู้สอน 1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด ภูมิรักษ์นาฏรามัญ จะนาไปใช้กับผู้เรียนประกอบ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(นาฏศิลป์) ชั้นประถมศึกษาปีท5 2. ศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรูจุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรูกระบวนการเรียนรูการวัดผลและประเมินผล ในแต่ละเล่มให้เข้าใจอย่างชัดเจน 3. ตรวจสอบและจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนรู้ เครื่องมือวัดและประเมินผลที่กาหนด ให้พร้อม 4. ก่อนทาการสอน ครูผู้สอนควรชี้แจงบทบาทและหน้าที่ของผู้เรียนและกาหนดข้อตกลง ร่วมกัน 5. ให้นักเรียนทากิจกรรมก่อนเรียนในแต่ละกิจกรรม เพื่อประเมินความรู้พื้นฐานของผู้เรียน 6. ขณะประกอบกิจกรรมครูควรเป็นที่ปรึกษาให้คาแนะนานักเรียนที่มีปัญหา 7. เมื่อเรียนรู้จบแล้วในแต่ละกิจกรรม ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนแต่ละชุด เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจ แล้วนาผลการวัดก่อนและหลังเรียน มาเปรียบเทียบเพื่อทราบ ผลการพัฒนาในแต่ละเรื่อง 1

ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1.pdf · ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1.pdf · ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด

ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน

1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด ภูมิรักษ์นาฏรามัญ จะน าไปใช้กับผู้เรียนประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(นาฏศิลป์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

2. ศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู ้จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล ในแต่ละเล่มให้เข้าใจอย่างชัดเจน

3. ตรวจสอบและจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนรู้ เครื่องมือวัดและประเมินผลที่ก าหนด ให้พร้อม

4. ก่อนท าการสอน ครูผู้สอนควรชี้แจงบทบาทและหน้าที่ของผู้เรียนและก าหนดข้อตกลงร่วมกัน

5. ให้นักเรียนท ากิจกรรมก่อนเรียนในแต่ละกิจกรรม เพื่อประเมินความรู้พื้นฐานของผู้เรียน 6. ขณะประกอบกิจกรรมครูควรเป็นที่ปรึกษาให้ค าแนะน านักเรียนที่มีปัญหา 7. เมื่อเรียนรู้จบแล้วในแต่ละกิจกรรม ให้นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียนแต่ละชุด

เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจ แล้วน าผลการวัดก่อนและหลังเรียน มาเปรียบเทียบเพื่อทราบ ผลการพัฒนาในแต่ละเรื่อง

1

Page 2: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1.pdf · ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด

ค ำแนะน ำส ำหรับนักเรียน

ในกำรเรียนรู้เอกสำรประกอบกำรเรียนในแต่ละเล่ม นักเรียนควรท ำควำมเข้ำใจขั้นตอน

ในกำรใช้ ดังนี้

1. อ่านค าแนะน าการใช้เอกสารประกอบการเรียนในแต่ละเล่มให้เข้าใจ 2. ท ากิจกรรมก่อนเรียน เพื่อวัดความรู้พื้นฐาน 3. ศึกษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการเรียนให้เข้าใจ ถ้านักเรียนไม่เข้าใจให้ขอค าแนะน าจาก

ครูผู้สอน 4. เมื่อศึกษาเนื้อหาเข้าใจแล้ว ให้ท ากิจกรรมหลังเรียน เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจที่ได้รับ

และจะได้น าไปใช้ในชีวิตประจ าวัน

2

Page 3: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1.pdf · ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด

แผนผังที่ 1 ผังมโนทัศน์ควำมเป็นมำของนำฏศิลป์ไทย

ควำมหมำยของนำฏศิลป์ไทย

ควำมเป็นมำของนำฏศิลป์ไทย

ทีม่ำของนำฏศิลปข์องไทย

3

Page 4: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1.pdf · ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด

จุดประสงค์กำรเรียนรู้

เอกสารประกอบการเรียนกลุ่มสาระการเรยีนรู้ศิลปะ(นาฏศิลป์) ชุด ภูมิรักษ์นาฏรามัญ

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1 เรื่อง ความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทย เปน็เอกสารที่เรียบเรียงขึ้นมา เพื่อมุ่งหวังให้นักเรียน ผู้สนใจได้ศึกษาค้นคว้า เสริมความรู้ ความเข้าใจ ตามจุดประสงค์ ต่อไปนี้

1. บอกความหมายของนาฏศิลป์ไทยได ้2. อธิบายที่มาของนาฏศิลป์ไทยได ้

4

Page 5: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1.pdf · ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด

นำฏศิลป์ไทย

ประเทศไทยได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่มีความเป็นเอกราชมาช้านาน มีศิลปวัฒนธรรมที่สะท้อนถึงความเป็นเอกลักษณ์ของชาติ จนเป็นที่ชื่นชอบของนานาชาติที่ ได้พบเห็นความงดงาม ในศิลปวัฒนธรรมไทย แม้ในปัจจุบันประเทศไทยก าลังได้รับอิทธิพลทางด้านวัฒนธรรมจากต่างชาติ ที่หลั่งไหลเข้ามามีบทบาทในสังคมไทย แต่สิ่งหนึ่งที่คนไทยยังสามารถอนุรักษ์และสืบทอดได้ จวบจนถึงปัจจุบัน คือ นาฏศิลป์ไทย ซึ่งเป็นศิลปะการแสดงประจ าชาติ จึงเป็นหน้าที่ของคนไทย ทุกคน ที่ต้องอนุรักษ์ สืบสาน รักษาให้นาฏศิลป์ไทย ท าหน้าที่เป็นกระจกสะท้อนวัฒนธรรมของชาติสืบไป นาฏศิลป์ไทย มีความหมายและที่มาจากการผสมผสานและพัฒนาเรื่อยมาจากอดีตจวบจน ถึงปัจจุบันโดยอธิบายได้ ดังนี้

นาฏศิลป์ มาจากค าที่ประกอบกัน 2 ค า ได้แก่ ค าว่า “นาฏ” หมายถึง การเคลื่อนไหวไปมา และ ค าว่า “ศิลปะ” หมายถึง การแสดงออกมาให้ปรากฏขึ้นอย่างงดงาม น่าพึงชม ก่อให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ ตรงกับภาษาอังกฤษ ค าว่า ARTS ส่วนพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 ให้ความหมายของนาฏศิลป์ ว่า “ศิลปะแห่งการละครหรือการฟ้อนร า”

กล่าวได้ว่า นาฏศิลป์ไทย คือ ศิลปะแห่งการละครฟ้อนร า ที่ก่อให้เกิดสุนทรียะทางอารมณ์ เช่น รื่นเริง เศร้าโศก ยินดี เป็นต้น โดยต้องอาศัยการบรรเลงดนตรีและการขับร้องเข้าร่วมด้วย เพื่อส่งเสริมให้เกิดคุณค่า โดยถูกก าหนดไว้ด้วยขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของชาติไทย

นาฏศิลป์ไทย ยังเป็นแหล่งรวมของศิลปะแขนงต่างๆ เช่น วรรณกรรม เกี่ยวข้องกับการสร้างบทละคร ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม เช่น การสร้างฉาก ด้านดนตรี ได้แก่ การจัดสร้างเพลงร้องและบรรเลง ด้านพัสตราภรณ์ เกี่ยวข้องกับเรื่องเครื่องแต่งกาย ฯลฯ

ภาพที่ 1 การแสดงโขน ซึ่งเป็นการแสดงนาฏศิลป์ประจ าชาติไทย

ที่มา : https://kwenloveyou.files.wordpress.com

5

ควำมหมำยของนำฏศิลป์ไทย

Page 6: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1.pdf · ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด

แต่ละชนชาติมีต านาน ทางด้านนาฏศิลป์ที่แตกต่างกัน แต่สิ่งที่เหมือนกัน คือ เกิดจาก ความเชื่ อ ในอ านาจเหนือธรรมชาติ ที่ มาของนาฏศิลป์ ไทยเกิดจาก 3 สิ่ งส าคัญ ได้แก่ 1.การเลียนแบบธรรมชาต ิ 2.การบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ ์และ 3.การรับอารยะธรรมของอินเดีย

1. กำรเลียนแบบธรรมชำต ิ มนุษย์มีการเลียนแบบ สิ่งแวดล้อมต่างๆ รอบกาย ได้แก่ การแสดงอารมณ์ของมนุษย์ ลักษณะเฉพาะของสัตว์ต่างๆ รวมถึงสภาพแวดล้อมรอบตัวทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต น ามาประกอบสร้างทางสุนทรียะ สู่การเป็นกระบวนท่าร า โดยมีการพัฒนาตามล าดับ 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 เกิดแต่วิสัยสัตว์ เมื่อเวทนาเสวยอารมณ์ ไม่ว่าจะเป็นสุขเวทนาหรอื ทุกขเวทนาก็ตาม ถ้าอารมณ์แรงกล้าไม่กลั้นไว้ได้ ก็แสดงออกมาให้เห็นปรากฏ เช่น เด็กทารกเมื่อพอใจ ก็หัวเราะตบมือ กระโดดโลดเต้น เมื่อไม่พอใจก็ร้องไห้ ขั้นที่ 2 เมื่อคนรู้ความหมายของกิริยาท่าทางมากขึ้น ก็ใชก้ิริยาเหล่านั้นเป็นภาษา สื่อความหมาย ให้ผู้อื่นรู้ความรู้สึกและความประสงค์ เช่น ต้องการแสดงความเสน่หา ก็ยิ้มแย้ม กรุ้มกริ่มชม้อยชม้ายชายตา หรือโกรธเคืองก็ท าหน้าตาถมึงทึง กระทืบเท้า

ขั้นที่ 3 มีผู้ฉลาดเลือกเอากิริยาท่าทาง ซึ่งแสดงอารมณ์ต่างๆ นั้นมาเรียบเรียงสอดคล้อง ติดต่อกันเป็นขบวนฟ้อนร าให้เห็นงาม จนเป็นที่ต้องตาติดใจคน

2. เกิดจำกกำรเซน่ไหว้ บวงสรวง บูชำ

มนุษย์ในอดีตนับถือสิ่งเหนือธรรมชาติ มีการไหว้บูชาเพื่อให้สิ่งที่อยู่เหนือธรรมชาติเกิด ความพึงพอใจ เพื่อให้สิ่งที่ตนเคารพประทานพรให้ตนสมปรารถนา หรือขจัดปัดเป่าสิ่งที่ตน ไม่ปรารถนาให้สิ้นไป มีการน าอาหาร มาเซ่นไหว้ มีการตีเกาะเคาะไม้ และกระโดดโลดเต้นประกอบจังหวะ จนพัฒนามาสู่การร่ายร า ต่อมามีการ ฟ้อนร าบ าเรอถวายกษัตริย์ ด้วยถือว่าเป็นสมมุติเทพที่ช่วยบ าบัดทุกข์บ ารุงสุขให้ราษฎร สู่การฟ้อนร ารับขวัญนักรบผู้กล้าหาญ ที่มีชัยชนะจากสงคราม ต่อมาการฟ้อนร าก็คลายความศักดิส์ิทธิ์ จึงกลายเป็นการแสดงเพื่อความบันเทิงของคนทั่วไป

6

ที่มำของนำฏศิลปไ์ทย

ภาพที่ 2 การร าบวงสรวงพญาศรีสัตตนาคราช สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของประชาชนยังคงพบเห็นได้ในปัจจุบัน

ที่มา : www.matichon.co.th

Page 7: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1.pdf · ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด

3. กำรรับอำรยธรรมของอนิเดีย ในพื้นที่สุวรรณภูมิเดิมนั้น มีชนชาติมอญ และชาติขอมที่ เจริญรุ่งเรืองอยู่ก่อนแล้ว

ชาติทั้งสองนั้น ได้รับอารยธรรมของอินเดียไว้มากมาย จวบจนเมื่อชนชาติไทย เริ่มขยายอาณาเขต การปกครองจึงได้รับอิทธิพลเหล่านั้น รวมถึงนาฏศิลป์ไทย โดยน าอารยธรรมของอินเดีย น ามาปรับให้สวยงามตามประเพณีวัฒนธรรมไทย ของตนเองดังเห็นได้จาก เรื่องรามเกียรติ์ ที่ใช้แสดงโขน วรรณกรรมที่มาจากอินเดีย แต่คนไทยน ามาปรับปรุงให้มีรูปแบบเป็นของตนเอง หรือบางท่าร า มีการปรับเปลี่ยนให้เกิดความสวยงามอย่างไทย ซึ่งกลายเป็นท่าที่แตกต่างจากอินเดียในที่สุด

ภาพที่ 3 กถักกฬิ การแสดงของอินเดียประเภทหนึ่งที่เช่ือว่าเป็นต้นแบบการแสดงโขนไทย

ที่มา : http://mycitipati.blogspot.com

7

Page 8: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1.pdf · ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด

8

กิจกรรม

Page 9: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1.pdf · ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด

กิจกรรมที่ 1 (ก่อนเรียน)

เรื่อง ควำมเป็นมำของนำฏศิลป์ไทย (ควำมหมำยและที่มำของนำฏศิลป์ไทย) ชื่อ....................................................... ชั้น ............... เลขที่ ..........

ค าชี้แจง : ให้นักเรียนท าเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถกูต้อง และใส่เครื่องหมาย หน้าข้อทีผ่ิด ......................1) นาฏ หมายถึง การเคลื่อนไหวไปมาด้วยการเต้นอย่างรวดเร็ว ......................2) นาฏศิลปไ์ทย คือ ศิลปะแห่งการละครฟ้อนร า ......................3) นาฏศิลป ์มีความหมายเฉพาะถึงการร า เต้น โดยไม่เกี่ยวข้องกับการ ร้องและการบรรเลง ......................4) จากการแสดงอากัปกิริยาต่างๆของมนุษย์ในชีวิตประจ าวันน าสู่ท่าทาง นาฏศิลป ์ ......................5) นาฏศิลป์เป็นสิ่งที่มนุษยป์ระดิษฐ์ขึ้นด้วยความประณีตงดงาม ......................6) นาฏศิลป์เกิดจากมนุษย์ต้องการเอาชนะธรรมชาติ ......................7) นาฏศิลป์ไทยได้รับอิทธิพลการแสดงมาจากประเทศเมียนมาร์ ......................8) กริิยา ท่าทาง ความรู้สึกของมนุษย์น ามาประกอบสร้างทางสุนทรียะ และเกิดเป็น ภาษาท่านาฏศิลป์ ...................... 9) สภาพดิน ฟ้า อากาศที่ผันผวนเป็นที่มาของนาฏศิลป์ไทย ......................10) กิริยาของสัตว์ประเภทต่างๆ เป็นบ่อเกิดของท่าทางนาฏศิลป์ไทย

9

Page 10: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1.pdf · ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด
Page 11: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1.pdf · ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด

เฉลยกิจกรรมที่ 1 (ก่อนเรียน)

เรื่อง ควำมเป็นมำของนำฏศิลป์ไทย (ควำมหมำยและที่มำของนำฏศิลป์ไทย) ชื่อ....................................................... ชั้น ............... เลขที่ ..........

ค าชี้แจง : ให้นักเรียนท าเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถกูต้อง และใส่เครื่องหมาย หน้าขอ้ทีผ่ิด ......................1) นาฏ หมายถึง การเคลื่อนไหวไปมาด้วยการเต้นอย่างรวดเร็ว ......................2) นาฏศิลปไ์ทย คือ ศิลปะแห่งการละครฟ้อนร า ......................3) นาฏศิลป ์มีความหมายเฉพาะถึงการร า เต้น โดยไม่เก่ียวข้องกับการ ร้องและการบรรเลง ......................4) จากการแสดงอากัปกิริยาต่างๆของมนุษย์ในชีวิตประจ าวันน าสู่ท่าทาง นาฏศิลป ์ ......................5) นาฏศิลป์เป็นสิ่งที่มนุษยป์ระดิษฐ์ขึ้นด้วยความประณีตงดงาม ......................6) นาฏศิลป์เกิดจากมนุษย์ต้องการเอาชนะธรรมชาติ ......................7) นาฏศิลป์ไทยได้รับอิทธิพลการแสดงมาจากประเทศเมียนมาร์ ............. .........8) กิริยา ท่าทาง ความรู้สึกของมนุษย์น ามาประกอบสร้างทางสุนทรียะ และเกิดเป็น ภาษาท่านาฏศิลป์ ...................... 9) สภาพดิน ฟ้า อากาศที่ผันผวนเป็นที่มาของนาฏศิลป์ไทย ......................10) กิริยาของสัตว์ประเภทต่างๆ เป็นบ่อเกิดของท่าทางนาฏศิลป์ไทย

10

Page 12: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1.pdf · ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด

กิจกรรมที่ 1 (หลังเรียน)

เรื่อง ควำมเป็นมำของนำฏศิลป์ไทย (ควำมหมำยและที่มำของนำฏศิลป์ไทย) ชื่อ....................................................... ชั้น ............... เลขที่ ..........

ค าชี้แจง : ให้นักเรียนท าเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถกูต้อง และใส่เครื่องหมาย หน้าข้อทีผ่ิด ......................1) นาฏ หมายถึง การเคลื่อนไหวไปมาด้วยการเต้นอย่างรวดเร็ว ......................2) นาฏศิลปไ์ทย คือ ศิลปะแห่งการละครฟ้อนร า ......................3) นาฏศิลป ์มีความหมายเฉพาะถึงการร า เต้น โดยไม่เกี่ยวข้องกับการ ร้องและการบรรเลง ......................4) จากการแสดงอากัปกิริยาต่างๆของมนุษย์ในชีวิตประจ าวันน าสู่ท่าทาง นาฏศิลป ์ ......................5) นาฏศิลป์เป็นสิ่งที่มนุษยป์ระดิษฐ์ขึ้นด้วยความประณีตงดงาม ......................6) นาฏศิลป์เกิดจากมนุษย์ต้องการเอาชนะธรรมชาติ ......................7) นาฏศิลป์ไทยได้รับอิทธิพลการแสดงมาจากประเทศเมียนมาร์ ......................8) กริิยา ท่าทาง ความรู้สึกของมนุษย์น ามาประกอบสร้างทางสุนทรียะ และเกิดเป็น ภาษาท่านาฏศิลป์ ...................... 9) สภาพดิน ฟ้า อากาศที่ผันผวนเป็นที่มาของนาฏศิลป์ไทย ......................10) กิริยาของสัตว์ประเภทต่างๆ เป็นบ่อเกิดของท่าทางนาฏศิลป์ไทย

11

Page 13: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1.pdf · ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด

เฉลยกิจกรรมท่ี 1 (หลังเรียน)

เรื่อง ควำมเป็นมำของนำฏศิลป์ไทย (ควำมหมำยและที่มำของนำฏศิลป์ไทย) ชื่อ....................................................... ชั้น ............... เลขที ่

ค าชี้แจง : ให้นักเรียนท าเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถกูต้อง และใส่เครื่องหมาย หน้าข้อทีผ่ิด ......................1) นาฏ หมายถึง การเคลื่อนไหวไปมาด้วยการเต้นอย่างรวดเร็ว ......................2) นาฏศิลปไ์ทย คือ ศิลปะแห่งการละครฟ้อนร า ......................3) นาฏศิลป ์มีความหมายเฉพาะถึงการร า เต้น โดยไม่เกี่ยวข้องกับการ ร้องและการบรรเลง ......................4) จากการแสดงอากัปกิริยาต่างๆของมนุษย์ในชีวิตประจ าวันน าสู่ท่าทาง นาฏศิลป ์ ......................5) นาฏศิลป์เป็นสิ่งที่มนุษยป์ระดิษฐ์ขึ้นด้วยความประณีตงดงาม ......................6) นาฏศิลป์เกิดจากมนุษย์ต้องการเอาชนะธรรมชาติ ......................7) นาฏศิลป์ไทยได้รับอิทธิพลการแสดงมาจากประเทศเมียนมาร์ ............. .........8) กิริยา ท่าทาง ความรู้สึกของมนุษย์น ามาประกอบสร้างทางสุนทรียะ และเกิดเป็น ภาษาท่านาฏศิลป์ ...................... 9) สภาพดิน ฟ้า อากาศที่ผันผวนเป็นที่มาของนาฏศิลป์ไทย ......................10) กิริยาของสัตว์ประเภทต่างๆ เป็นบ่อเกิดของท่าทางนาฏศิลป์ไทย

12

Page 14: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1.pdf · ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด

บรรณำนุกรม

ราชบัณฑิตยสถาน, (2554). พจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑติยสถำน, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. รุจี ศรีสมบัติ. ผู้ช่วยศาสตราจารย์, (2554). สำรำนุกรมนำฏศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ: ธนรัชการพิมพ์.

สมศักดิ์ สินธุเวชญ์และคณะ, (2550). ศิลปะ ป.5. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช สุมิตร เทพวงษ์, (2548). นำฏศิลป์ไทย:นำฏศิลป์ส ำหรับครูประถม-อุดมศึกษำ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์

อรวรรณ ขมวฒันา, (2550). ลีลำท่ำร ำ ๑. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา

เว็ปไซด ์เรื่อง ความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทย. สืบคน้วันที่ 7 พฤษภาคม 2561, จาก

http://lovenattasinthai.blogspot.com

13

Page 15: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1.pdf · ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด